Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

3/3/22, 5:06 PM Digitalization คืออะไร?

| Stefan Lindegaard

Stefan Lindegaard

Digitalization คืออะไร?

Digitalization การปรับกระบวนการทำงานเข้าสู่ระบบดิจิทัล

เครื่องมือดิจิทัลได้กลายเป็ นความแข็งแกร่งของสังคมยุคใหม่มาจนถึงจุดที่หลายคนได้นำมาใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งดูเหมือนว่าการแปลงไปสู่จะกลาย


เป็ นข่าวเก่าและองค์กรส่วนใหญ่ก็เปลี่ยนไปสู่ระบบดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบเรียบร้อยแล้ว คำต่างๆ เช่น digitization, digitalization และ digital
transformation มักเข้าใจว่าใช้แทนกันได้ ความจริงที่หลายคนถือว่าคำเหล่านี้เป็ นคำที่ใช้แทนกันได้แสดงให้เห็นถึงความสับสนเกี่ยวกับสิ่งที่แปลงไปสู่
ระบบดิจิทัล นั่นคือปัญหาสำหรับการกำหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน และกลยุทธ์ที่นำไปใช้งานได้

สิ่งสำคัญคือต้องเริ่มต้นด้วยการระบุความแตกต่างระหว่างข้อกำหนดแต่ละข้อ ดังต่อไปนี้

– Digitization (ดิจิไตเซชั่น) คือ การแปลงสัญญาณจากอนาล็อกไปเป็ นดิจิทัล อะตอมกลายเป็ นบิต (เช่นการแปลงข้อมูลเป็ นดิจิทัล) แต่คุณไม่สามารถ
แปลงคนไปเป็ นดิจิทัลได้

– Digitalization (ดิจิทัลไลเซชั่น) คือ กระบวนการในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และผลกระทบที่มีต่อการดำเนินธุรกิจ (เช่นการแปลงกระบวนการทำงานไป


เป็ นดิจิทัล)

– Digital transformation (ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชั่น) คือ วิธีการทำให้ระบบดิจิทัลครอบคลุมธุรกิจทุกประเภท โดยไม่คำนึงถึงว่าจะเป็ นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ


ทางด้านดิจิทัลหรือไม่ ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างตลาดและธุรกิจใหม่ๆ

https://anchalikakhanti.wordpress.com/2017/10/14/digitalization-คืออะไร/ 1/5
3/3/22, 5:06 PM Digitalization คืออะไร? | Stefan Lindegaard

การแปลงสู่ระบบดิจิทัล (Digitization) เป็ นข้อกำหนดที่กว้างที่สุดในสามข้อนี้ และมีความแตกต่างจากระบบดิจิทัลไลเซชั่น (Digitalization) อย่างมาก


ระบบดิจิทัลไลเซชั่นมักเป็ นการปรับปรุงหรือการปรับกระบวนการที่มีอยู่และกระบวนการที่ไม่เป็ นระบบดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่การแปลงไปสู่ระบบ
ดิจิทัลคือ การออกแบบวิธีการใหม่ในการทำสิ่งที่ก่อให้เกิดแหล่งคุณค่าใหม่ๆ มันจึงเกี่ยวข้องกับประสิทธิผลมากขึ้น นอกจากนี้ยังครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร
ไม่ใช่เฉพาะกระบวนการหรือฟังก์ชั่นการทำงานเท่านั้น

โลกปัจจุบันมีการเชื่อมต่อกันมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงด้วยดิจิทัลโดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ในธุรกิจ


เป็ นการสร้างความแตกต่างที่สำคัญที่จะช่วยให้บริษัททั้ง หลายสามารถรักษาความสามารถทางการแข่งขันเอาไว้ได้” การเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัลเป็ นหนึ่งเท
รนด์หลักที่กำลังจะเปลี่ยนโลก และเป็ นแนวคิดสำคัญที่ถูกระบุไว้ในแนวนโยบายประเทศไทย 4.0 เพื่อสร้างความมั่งคั่ง ปลอดภัย และยั่งยืนให้แก่ประเทศใน
ระยะยาว

Digital Economy

          ภายใต้ Digital Economy องค์กรต้องปรับตัวไปเป็ น Digital Organization โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยงาน 4 ประเภท ได้แก่ Social, Mobility,
Analytics และ Cloud Technologies สถาบันอนาคตศึกษา เช่น The Institute for the Future (IFTF) ได้ระบุว่าปัจจัยที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและ
ส่งผลต่อรูปแบบการทำงานขององค์กรในอนาคต คือ

https://anchalikakhanti.wordpress.com/2017/10/14/digitalization-คืออะไร/ 2/5
3/3/22, 5:06 PM Digitalization คืออะไร? | Stefan Lindegaard

การใช้ Social Technology แบบผสมผสานสำหรับการสื่อสารในองค์กรเพื่อสร้างการร่วมมือ


(Collaboration)
การใช้อุปกรณ์ เช่น Tablet และ Smart Phone เพื่อสร้างความคล่องแคล่วสนองตอบการทำงาน
ที่ไหนก็ได้ เวลาใดก็ได้ (Any place, Any time)
การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ให้เป็ นระบบเพื่อช่วยการวิเคราะห์ (Analytics)

องค์กรที่ปรับเปลี่ยนไปเป็ น Digital Organization สามารถลดต้นทุนจากการเลิกจ้างพนักงานที่ไม่


จำเป็ น คนรุ่นใหม่แม้จะมีพื้นฐานในสิ่งที่เรียกว่า “ดิจิทัลเนทีฟ” (Digital Natives) สามารถใช้
เครื่องมือสื่อสารที่หลากหลาย เชื่อมต่อกับสังคมออนไลน์เพื่อสนองตอบความต้องการในชีวิต
ประจำวัน แต่เมื่อเป็ นพนักงานก็ยังจำเป็ นต้องพัฒนาทักษะให้รองรับการเป็ น Digital
Organization

  ยุคเศรษฐกิจที่มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็ นตัวนำ (Digital Economy) ในการสร้างการเติมโตทางธุรกิจ มีลักษณะเด่นอยู่ 3 ประการคือ

1. การใช้ทรัพยากรเมื่อต้องการ (Resource on Demand) ภายใต้เศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) ซึ่งเป็ นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากกำลัง


การผลิตที่เหลือของทรัพยากรหรือสินทรัพย์ทีมีอยู่ เช่น บริษัท Airbnb ที่เชื่อมโยงคนที่มีที่พักว่างกับคนที่กำลังมองหาที่พักเข้าหากัน ปัจจุบันมีเครือ
ข่ายการให้บริการใน 65,000 เมืองและ 191 ประเทศทั่วโลก
2. การใช้ศักยภาพของบุคลากรเมื่อต้องการ (Talent on Demand) ในรูปแบบของแรงงานอิสระ (Freelance Workforce) คำว่า “Freelance” หรือ
“Workforce” คือผู้ที่มีอาชีพอิสระไม่ขึ้นตรงต่อหน่วยงานองค์กรใดๆ ในปี 2015 ประเทศสหรัฐอเมริกามีสัดส่วนของ Freelance สูงถึง 54 ล้านคน หรือคิด
เป็ น 34% จำนวนประชากร
3. การแสวงหาความรู้และข้อมูลที่จำเป็ นเมื่อต้องการ (Intelligence on Demand) ผ่านทาง Crowds และ Cloud โดยการกระจายปัญหาไปยังชุมชน
Online หรือในโลก Cyber เพื่อค้นหาคำตอบและวิธีการในการแก้ปัญหาทางธุรกิจ เรียกว่า Crowdsourcing ส่วนระบบ Cloud คือ แอพพลิเคชั่นที่ช่วย
เก็บข้อมูล ตรวจสอบที่ต้องการด้วยรูปแบบ Saas (Software as a Service) ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานได้ทุกที่ ลดความยุ่งยาก ไม่ต้องดูแลระบบ IT ปล่อย
ให้เป็ นหน้าที่ของผู้ให้บริการ

https://anchalikakhanti.wordpress.com/2017/10/14/digitalization-คืออะไร/ 3/5
3/3/22, 5:06 PM Digitalization คืออะไร? | Stefan Lindegaard

ในด้าน HR ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน สัญญาจ้าง พนักงานจ้างเหมา และพนักงานจ้างงานตามความจำเป็ น เช่น ข้อมูลด้านกายภาพ ข้อมูลเกี่ยวกับ


ครอบครัว การศึกษา ทักษะ ประสบการณ์ สุขภาพ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเป็ นข้อมูลจำนวนมาก แต่ส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกจัดเก็บเป็ นระบบและอยู่หลาก
หลายรูปแบบ การบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ในงาน HR จึงต้องนำข้อมูลทั้งหมดมาใส่ในถังข้อมูลกำจัดข้อมูลที่ซับซ้อน (Data Cleansing) จัดระบบและ
ประมวลผลโดยใช้เครื่องมือ Big Data & Analytics และนำผลที่ได้ไปคาดการณ์ปัจจัยที่ HR หรือผู้บริหารต้องการเพื่อประกอบการตัดสินใจที่สำคัญ

ในปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอยู่บ้างแล้ว เช่น ระบบบริการงาน HR ด้วยตัวเอง (Employee Self-Service Online) ระบบการสรรหาและ Branding


โดยใช้ Social Media ระบบการเรียนรู้ผ่าน e-Learning เมื่อปรับเปลี่ยนเป็ น Digital HR ระบบต่างๆ เหล่านี้ต้องพัฒนาต่อยอดให้เป็ น Mobile Application
เครื่องมือสำคัญที่ Digital HR ต้องนำมาใช้ควบคู่ไปด้วย คือ ระบบเครือข่ายสังคมในองค์กร (Social networking) เพื่อสร้างความร่วมมือและผูกพันใน
องค์กร (Collaboration) นอกจากนี้เครื่องมือที่สามารถใช้ร่วมกับ Mobile Application และทำให้ระบบเครือข่ายสังคมน่าสนใจยิ่งขึ้น คือ Gamification ซึ่ง
ทำให้การเรียนรู้เป็ นเสมือนเกมการแข่งขันและใช้งานง่ายมีระบบเก็บคะแนนที่ชัดเจนและการใช้ Gamification ไม่ใช่จำกัดเฉพาะการเรียนรู้และพัฒนา
เท่านั้น ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน HR อื่นๆ เพื่อสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์เป็ น Achievement ย่อยๆ ที่พนักงานสามารถบรรลุและให้ Feedback
ได้ง่าย

ที่มา:

ณัฐวุฒิ  พงศ์สิริ. (2558). Digital Economy Digital HR. สืนค้นเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2560, จากเว็บไซต์:

http://library.baac.or.th/bookimg/summarybook_20150110104943_1.pdf
(http://library.baac.or.th/bookimg/summarybook_20150110104943_1.pdf).

ณัฐวุฒิ  พงศ์สิริ. (2560). การบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ในงาน HR Big Data & Analytics.


https://anchalikakhanti.wordpress.com/2017/10/14/digitalization-คืออะไร/ 4/5
3/3/22, 5:06 PM Digitalization คืออะไร? | Stefan Lindegaard

HR Society Magazine, 15(173), 18-21.

Bertrand. (2017). What is the Digital Transformation of Procurement Really About.

Retrieved October 10, 2017 from https://www.ibisworld.com/media/2017/05/25/ (https://www.ibisworld.com/media/2017/05/25/)

digital-transformation-procurement-really.

โฆษณา

REPORT THIS AD
Posted on ตุลาคม 14, 2017 by anchalikasite | ใส่ความเห็น

สร้างเว็บไซต์หรือบล็อกฟรีที่ WordPress.com.

https://anchalikakhanti.wordpress.com/2017/10/14/digitalization-คืออะไร/ 5/5

You might also like