Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 634

เอกสารประกอบการสอน

วิชาการควบคุมคุณภาพ
IM11204

นราธิป ภาวะรี
วศ.ม.(วิศวกรรมอุตสาหการ)

คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
2557
คำนำ
เอกสารประกอบการสอน วิชาการควบคุมคุณภาพ (IM11204) ใช้ประกอบการเรียนการสอนตาม
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี เนื้อหาในเอกสารประกอบการสอน ประกอบด้วย แผนบริหารการสอนที่ได้จัดแบ่งเนื้อหา
ออกเป็น 8 บทเรียน ในแต่ละบทเรียนประกอบด้วยแผนบริหารการสอนประจาบท เนื้อหา และแบบฝึกหัด
ท้ายบท โดยผู้เขียนได้เรียบเรียงจากตาราภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเนื้อหา
สามารถทาแบบฝึกหัด และประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมได้
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control: QC) เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้หลักการสถิติศาสตร์ใน
การดาเนินการควบคุมกระบวนการผลิต เพื่อให้กระบวนการอยู่ภายใต้ข้อกาหนดหรือสภาวะที่เหมาะสม
ซึ่งเนื้ อหาในเล่ มนี้ ได้แบ่งออกเป็น 4 ส่ วน ส่วนแรกจะเป็นพื้นฐานความรู้ทางด้านสถิติศาสตร์ และ
ประยุกต์ใช้เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรม 7 ชนิด โดยเนื้อหาในส่วนที่หนึ่งจะเกี่ยวเนื่อง
กับส่วนที่สอง คือ เรื่องการคานวณแผนภูมิควบคุมหน่วยวัดและหน่วยนับ ถัดมาเนื้อหาในส่วนที่สามเป็น
การวิเคราะห์สมรรถนะของกระบวนการ การใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างที่เหมาะสม และเนื้อหาส่วนสุดท้าย
คือ เรื่องเทคนิคการพัฒนาคุณภาพ และการคานวณค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ โดยเรียบเรียงให้
ครอบคลุมเนื้อหาของรายวิชาการควบคุมคุณภาพ อ่านทาความเข้าใจได้ง่าย และสามารถประยุกต์เป็น
แนวทางของกระบวนการผลิ ตในอุตสาหกรรม เหมาะส าหรับนักศึ กษาสาขาการจัดการอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และผู้ที่สนใจ
ส าหรั บเอกสารประกอบการสอนเล่ มนี้ สมบูรณ์ ได้ ต้องขอขอบพระคุ ณ ท่านดร.ณั ติ เทพ
พิ ทั ก ษานุ รั ต น์ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ดรธานี รองศาสตราจารย์ โ สภณ แดงประวั ติ
รองศาสตราจารย์ ส มชาย ชื่ นวั ฒ นาประณิ ธิ และรองอธิ การบดี ทุ กท่ าน คณบดี คณะเทคโนโลยี
รองคณบดีทุกท่าน และครอบครัวที่น่ารักที่เป็นกาลังใจสนับสนุนให้งานสาเร็จไปด้วยดี ผู้เขียนขอขอบคุณ
เจ้าของงานเขียนทุกท่านที่ได้ ถูกอ้างอิงในเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ ผู้เขียนมิได้มีเจตนาจะละเมิด
ลิขสิทธิ์ของผู้ใด หากมีข้อความหรือรูปภาพบางส่วนที่ไม่ได้อ้างถึง ต้องขออนุญาตมา ณ ที่นี้ด้วย สุดท้าย
ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ได้เคยประสิทธิประสาทความรู้ ความสามารถ และจิตวิญญาณของครู
ให้กบั ผู้เขียน

นราธิป ภาวะรี
กรกฎาคม 2557
สารบัญ
หน้า
คานา................................................................................................................................................ ……(1)
สารบัญ................................................................................................................................................... (2)
สารบัญรูป .............................................................................................................................................. (6)
สารบัญตาราง.......................................................................................................................................(11)
แผนบริหารการสอนประจาวิชา ....................................................................................................... 1
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1 .................................................................................................. 9
บทที่ 1 บทนา ................................................................................................................................... 13
1.1 ความหมายและคาจากัดความของคุณภาพ ...................................................................... 13
1.2 ลักษณะคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ .................................................................... 14
1.3 วิวัฒนาการด้านคุณภาพ .................................................................................................. 15
1.4 ปรัชญาคุณภาพ ............................................................................................................... 17
1.5 คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ..................................................................................................... 21
1.6 การลดต้นทุนการผลิต ..................................................................................................... 23
1.7 สรุป ................................................................................................................................. 28
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 ........................................................................................................... 30
เอกสารอ้างอิง ........................................................................................................................ 32

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2 ................................................................................................ 33
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ ............................................................. 35
2.1 หลักสถิติทั่วไป ................................................................................................................. 35
2.2 การแจกแจงความถี่ ......................................................................................................... 37
2.3 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ......................................................................................... 42
2.4 การวัดการกระจายของข้อมูล .......................................................................................... 49
2.5 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่องที่สาคัญ ............................................................ 53
2.6 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องที่สาคัญ ........................................................ 61
2.7 เครื่องมือควบคุมคุณภาพ ................................................................................................ 66
2.8 สรุป ................................................................................................................................. 96
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 ........................................................................................................... 99
เอกสารอ้างอิง ......................................................................................................................101
(3)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 ..................................................................................103
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด ..................................................105
3.1 แนวความคิดและขอบเขตของแผนภูมิควบคุม ...............................................................105
3.2 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัย ...............................................................................108
3.3 ฟังก์ชั่นลักษณะเฉพาะการดาเนินงานสาหรับแผนภูมิ X และ R ...................................125
3.4 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ..................................................129
3.5 แผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเชิงเดี่ยวและแผนภูมิควบคุมค่าพิสัยเคลื่อนไหว .............136
3.6 แผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเดี่ยว ..............................................................................141
3.7 แผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม .................................................................................144
3.8 สรุป ...............................................................................................................................150
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 .........................................................................................................151
เอกสารอ้างอิง ......................................................................................................................158

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4 ..................................................................................159
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ ..................................................161
4.1 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (p) ................................................................................161
4.2 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิควบคุม p ...........................................................................172
4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนการสร้างแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย ..................175
4.4 แผนภูมิควบคุมจานวนของเสีย (np) ..............................................................................176
4.5 แผนภูมิควบคุมคุณภาพข้อบกพร่องหรือตาหนิ ..............................................................184
4.6 สรุป ...............................................................................................................................193
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 .........................................................................................................195
เอกสารอ้างอิง ......................................................................................................................203
(4)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5 ..............................................................................................205
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ ........................................................................207
5.1 หลักการของขีดจากัดชนิดต่างๆ.....................................................................................207
5.2 ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติและขีดจากัดข้อกาหนด ........................208
5.3 อัตราส่วนสมรรถภาพระบวนการ...................................................................................210
5.4 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ ...........................................................................212
5.5 ขีดจากัดข้อกาหนดสาหรับชิ้นส่วนที่รวมกันอย่างเชิงเส้น ...............................................219
5.6 การวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร ...............................................................................223
5.7 สรุป ...............................................................................................................................228
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 .........................................................................................................229
เอกสารอ้างอิง ......................................................................................................................234

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6 ..............................................................................................235
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง ...................................................................................................237
6.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ ...........................................................................241
6.2 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพ .............................................................................243
6.3 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพชนิดพิเศษ .............................................................375
6.4 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงแปรผัน ..............................................................................381
6.5 สรุป ...............................................................................................................................394
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 .........................................................................................................396
เอกสารอ้างอิง ......................................................................................................................402

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 7 ..............................................................................................403
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ .............................................................................................406
7.1 การจัดการคุณภาพโดยรวม ..........................................................................................406
7.2 กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ .......................................................................................416
7.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ............................................................................................427
7.4 ซิกซ์ซิกมา ....................................................................................................................433
(5)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
7.5 การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ .............................................................................441
7.6 มาตรฐานระบบคุณภาพ ................................................................................................452
7.7 สรุป ...............................................................................................................................458
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 .........................................................................................................459
เอกสารอ้างอิง ......................................................................................................................461

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 8 ..............................................................................................463
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ ...........................................................................................465
8.1 หลักการของความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ ........................................................................465
8.2 การหาความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ .................................................................................466
8.3 เทคนิคการเพิ่มค่าความเชื่อมั่น ......................................................................................470
8.4 การแจกแจงความน่าจะเป็น ..........................................................................................471
8.5 การใช้ตัวแบบเลขชี้กาลังกับความเชื่อถือได้ของผลิตภัณฑ์ .............................................476
8.6 รูปแบบของอัตราความขัดข้อง .......................................................................................478
8.7 กิจกรรมการควบคุมค่าความเชื่อมั่น ..............................................................................482
8.8 เส้นโค้ง OC ...................................................................................................................488
8.9 สรุป ...............................................................................................................................492
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 .........................................................................................................493
เอกสารอ้างอิง ......................................................................................................................496
บรรณานุกรม ....................................................................................................................................497
ภาคผนวก .........................................................................................................................................499
ภาคผนวก ก ตารางสถิติศาสตร์ .........................................................................................501
ภาคผนวก ข ตารางดอดจ์และโรมิก ...................................................................................527
ภาคผนวก ค แบบฟอร์ม ....................................................................................................559
ภาคผนวก ง เฉลยแบบฝึกหัด ............................................................................................563
(6)

สารบัญรูปภาพ
รูปที่ หน้า
1.1 การควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรม................................................................................................. 13
1.2 ระบบการผลิต ................................................................................................................................. 14
1.3 เงื่อนไขที่จาเป็นในการสร้างความพึงพอใจ ....................................................................................... 17
1.4 เงื่อนไขที่ดีพียงพอในการสร้างความพึงพอใจ ................................................................................... 18
1.5 PAF Model .................................................................................................................................... 23
1.6 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการควบคุมคุณภาพ ......................................................................................... 25
1.7 โมเดลต้นทุนคุณภาพในภาวะที่ดีที่สุดของจูราน ............................................................................... 27
1.8 คุณภาพในภาวะที่ดีที่สุดกับของเสียเป็นศูนย์ ................................................................................... 28
2.1 ฮิสโตแกรมแจกแจงความถี่ .............................................................................................................. 39
2.2 ฮิสโตแกรมแสดงความถี่สัมพัทธ์....................................................................................................... 41
2.3 ฮิสโตแกรมแสดงความถี่สะสมสัมพัทธ์ ............................................................................................. 42
2.4 การแจกแจงแบบปกติ...................................................................................................................... 53
2.5 การแจกแจงแบบปกติของประชากร 2 กลุ่ม โดยที่ µ เท่ากัน แต่ σ ต่างกัน .................................... 54
2.6 การแปลงค่าจาก Xi เป็น Zi ............................................................................................................. 55
2.7 การแจกแจงแบบปกติ...................................................................................................................... 56
2.8 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ ......................................................................................................................... 56
2.9 การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง ............................................................................................................ 58
2.10 การแจกแจงแบบไวบูลล์ เมื่อ θ = 1.............................................................................................. 60
2.11 อัตราการมาของรถที่จะชาระผ่านทางด่วน .................................................................................... 64
2.12 ใบตรวจสอบแสดงความผันแปรของตาหนิ ..................................................................................... 67
2.13 ใบตรวจสอบแสดงสาเหตุของความแปรผัน ................................................................................... 68
2.14 ใบตรวจสอบแสดงการกระจายตัวของน้าหนักบรรจุ ...................................................................... 69
2.15 ใบตรวจสอบแสดงแหล่งความผันแปรของความแข็ง ...................................................................... 70
2.16 ใบตรวจสอบแสดงตาแหน่งของความแปรผัน................................................................................. 71
2.17 ฮีสโตแกรมแสดงการกระจายความกว้างช่องว่างของข้อมูล ........................................................... 76
2.18 รูปแบบทั่วๆไปของกราฟฮิสโตแกรม ............................................................................................. 77
2.19 หลักการของแผนภาพพาเรโต ........................................................................................................ 79
2.20 การใช้แผนภาพพาเรโตในการอธิบายความมีเสถียรภาพ ................................................................ 80
2.21 แผนภาพพาเรโตที่แสดงค่าสะสมของข้อมูลทั้งหมด ....................................................................... 81
2.22 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาแบบวิเคราะห์ความผันแปร .......................................................... 84
(7)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
2.23 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาแบบจานวนตามกระบวนการ ....................................................... 85
2.24 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาแบบกาหนดรายการสาเหตุ .......................................................... 85
2.25 กราฟเส้นจานวนแบร์ริ่งทีม่ ีรอยตาหนิระหว่างวันที่ 1–6 เดือนมกราคม ......................................... 89
2.26 กราฟแท่งขนาดของแบร์ริ่งที่ผลิตระหว่างวันที่ 1–20..................................................................... 90
2.27 แผนภูมิควบคุม.............................................................................................................................. 37
2.28 ตัวอย่างแผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด ....................................................................... 92
2.29 ตัวอย่างแผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ ...................................................................... 93
2.30 การกระจายจุดบนแผนภูมิควบคุมที่แสดงความผิดปกติของกระบวนการผลิต ............................... 94
2.31 ผลการทดสอบการยืดของยางรถบรรทุกที่อุณหภูมิต่างๆ ............................................................... 95
2.32 ลักษณะโดยทั่วไปของความสัมพันธ์ร่วมของข้อมูลที่วิเคราะห์โดยแผนภาพการกระจาย ................ 96
3.1 กราฟเส้นแสดงความผันแปร..........................................................................................................106
3.2 แนวความคิดของแผนภูมิควบคุม ...................................................................................................106
3.3 แนวความคิดแผนภูมิควบคุม .........................................................................................................108
3.4 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของน้าหนักผงซักฟอก.............................................................116
3.5 การใช้แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของน้าหนักผงซักฟอก ..............117
3.6 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยน้าหนักผงซักฟอกปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 1) ................................................118
3.7 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยน้าหนักผงซักฟอกปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 2) ................................................119
3.8 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของความยาวก้านวาล์ว...........................................................123
3.9 แบบฟอร์มแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของความยาวก้านวาล์ว ..........................................124
3.10 แสดงค่า β สาหรับเส้นโค้ง OC ของแผนภูมิ X ...........................................................................126
3.11 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิควบคุม X ที่ขีดจากัดควบคุม 3σ ....................................................126
3.12 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิควบคุม R ที่ขีดจากัดควบคุม 3σ......................................................128
3.13 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกาลังบิดเครื่องยนต์ไฮบริดจ์ ..............134
3.14 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยของกาลังบิดเครื่องยนต์ไฮบริดจ์ปรับปรุงใหม่ ..........................................135
3.15 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยเคลื่อนไหวความหนาของเม็ดพลาสติกชนิด B-1E .................140
3.16 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยสาหรับตัวอย่างเดี่ยวค่าออกเทนของน้ามันแก๊ซโซฮอล ..........143
3.17 แผนภูมิควบคุม x ........................................................................................................................147
3.18 แผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม ...............................................................................................150
(8)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
4.1 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียของกระบวนการผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ ................................166
4.2 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียของกระบวนการผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ปรับปรุงใหม่ ............168
4.3 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียของจานวนขดลวดทองแดงเมื่อจานวนตัวอย่างไม่คงที่ ..................170
4.4 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียจานวนขดลวดทองแดงเมื่อจานวนตัวอย่างไม่คงที่ปรับปรุงใหม่ ......172
4.5 เส้นโค้ง OC สาหรับตัวอย่างที่ 4.3 .................................................................................................174
4.6 แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย ..................................................................176
4.7 แผนภูมิควบคุมจานวนของเสียกระบวนการผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ .......................................179
4.8 แผนภูมิควบคุมจานวนของเสียกระบวนการผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ปรับปรุงใหม่ ...................180
4.9 แผนภูมิควบคุมจานวนของเสียแบตเตอรี่รถยนต์ ............................................................................182
4.10 แผนภูมิควบคุมจานวนของเสียแบตเตอรี่รถยนต์ปรับปรุงใหม่......................................................183
4.11 แผนภูมิควบคุมจานวนหมุดย้ารอยตะเข็บที่หายไปในกระบวนการผลิตเรือโดยสาร .....................188
4.12 แผนภูมิควบคุมจานวนหมุดย้ารอยตะเข็บที่หายไปในกระบวนการผลิตเรือโดยสารปรับปรุง
ใหม่…………… .......................................................................................................................................189
4.13 แผนภูมิควบคุมจานวนรอยตาหนิต่อหน่วยในกระบวนการผลิตเสื้อกีฬา ......................................192
5.1 ความขัดแย้งประเภทที่ 1 ...............................................................................................................208
5.2 ความขัดแย้งประเภทที่ 2 ...............................................................................................................209
5.3 ความขัดแย้งประเภทที่ 3 ...............................................................................................................210
5.4 ฮิสโตแกรมสาหรับข้อมูลความทนแรงอัดสูงสุดของแก้วน้า .............................................................213
5.5 แผนภูมิ X และแผนภูมิ R การทดสอบความทนแรงอัดของขวดน้าอัดลม .....................................217
5.6 ชิ้นงานที่ประกอบด้วย 4 ชิ้นส่วน ...................................................................................................220
5.7 ชิ้นงานประกอบด้วยชิ้นส่วนย่อย 3 ชิ้น ..........................................................................................222
6.1 ความสัมพันธ์เชิงทวีประโยชน์ของการควบคุมเพื่อการยอมรับและการควบคุมกระบวนการ .........239
6.2 กระบวนการของการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ ........................................................................242
6.3 ประเภทของการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ ..............................................................................242
6.4 แผนภูมิการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว .................................................................................................244
6.5 โมโนกราฟของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว...............................................................................248
6.6 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ ...........................................................................................................250
6.7 เส้นโค้ง OC รวมของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ ...........................................................................255
6.8 แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง.....................................................................................................255
(9)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
6.9 โครงสร้างของมาตรฐาน MIL-STD-105E.......................................................................................262
6.10 วิธีการของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว ...................................................................................265
6.11 วิธีการของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ ........................................................................................266
6.12 วิธีการวางแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง ..................................................................................267
6.13 กฎการสับเปลี่ยนตามมาตรฐาน MIL-STD-105E ........................................................................272
6.14 ลาดับขั้นตอนสาหรับการตรวจเพื่อเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่าง ..................................................275
6.15 ลักษณะเส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่าง ..........................................................................307
6.16 เส้นโค้ง OC สาหรับการตรวจสอบทั่วไป .....................................................................................356
6.17 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบต่างๆ .................................................................357
6.18 โปรแกรมการกรองคุณภาพ.........................................................................................................358
6.19 เส้นโค้ง ASS สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิง
(แบบปกติและแบบเคร่งครัด)……… ......................................................................................................362
6.20 แผนภูมิการชักสิ่งตัวอย่างโดยลาดับ.............................................................................................369
6.21 กราฟแสดงเส้นการยอมรับ XL และเส้นปฏิเสธ XU ......................................................................371
6.22 กราฟจานวนของเสียสะสม ..........................................................................................................372
6.23 กราฟสาหรับการหาแผนภาพตัวอย่าง CSP-1 ที่ค่า AOQL ใดๆ ..................................................375
6.24 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวกลางของรุ่นกับสัดส่วนของเสียโดยให้ความเบี่ยงเบนคงที่……........ 382
6.25 แสดงความสัมพันธ์ของสัดส่วนของเสียกับความเบี่ยงเบน (σ) เมื่อตัวกลางเท่ากัน .......................382
6.26 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่า Z ประกอบการกาหนดแผนตัวอย่างแบบตัวแปรโดย
ทราบค่า σ………….…….. .......................................................................................................................384
6.27 แสดงพิกัดคู่ที่อยู่ใกล้กัน ...............................................................................................................386
6.28 แสดงพิกัดคู่ห่าง ...........................................................................................................................387
7.1 องค์ประกอบของการจัดการคุณภาพโดยรวม ................................................................................407
7.2 โมเดลการจัดการคุณภาพโดยรวม..................................................................................................408
7.3 วงจร PDSA ...................................................................................................................................412
7.4 PDCA ภายใน PDSA .....................................................................................................................413
7.5 โครงสร้างขั้นพื้นฐานของ QC.Circle .............................................................................................419
7.6 หน้าต่างปัญหาของโฮโซตานิ ..........................................................................................................421
7.7 ขั้นตอนทั่วไปของการทา QC.Circle ..............................................................................................424
(10)

สารบัญรูปภาพ (ต่อ)
รูปที่ หน้า
7.8 ขั้นตอนของการทาให้เป็นมาตรฐาน QC.Circle .............................................................................425
7.9 การนาไคเซนไปใช้ .........................................................................................................................432
7.10 การกระจายภายใต้โค้งปกติบนพื้นฐานของค่าพิสัย 1, 2 และ 3 จากค่าเฉลี่ย ..............................435
7.11 โมเดล DMAIC ............................................................................................................................437
7.12 การบัดกรีด้วยมือ.........................................................................................................................437
7.13 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาปัญหาคุณภาพของการบัดกรี .....................................................439
7.14 CNX Diagram ในการบัดกรีด้วยมือ ...........................................................................................439
7.15 ขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ ...............................................446
7.16 กระบวนการเรียกเก็บเงิน ............................................................................................................447
7.17 ขั้นตอนในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ ...........................................................................448
7.18 รูปแบบการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ ...............................................................................449
7.19 ห่วงโซ่อุปทาน .............................................................................................................................455
7.20 โมเดล ISO 9001 ........................................................................................................................455
8.1 ส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบอนุกรม...................................................................................467
8.2 ส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบขนาน .....................................................................................468
8.3 ส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบผสม .......................................................................................469
8.4 การแจกแจงความน่าจะเป็นที่ประยุกต์ในการศึกษาความเชื่อมั่น ...................................................471
8.5 เส้นโค้งความเชื่อมั่นของการแจกแจงแบบต่างๆ .............................................................................472
8.6 เส้นโค้งอัตราความขัดข้องของการแจกแจงแบบต่างๆ ....................................................................474
8.7 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราความขัดข้องกับระยะเวลา ...................................................................478
8.8 แสดงถึงความเกี่ยวโยงของกิจกรรมสี่อย่าง.....................................................................................482
8.9 การทดสอบค่าความหนืดของผลิตภัณฑ์ .........................................................................................484
(11)

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1.1 วิวัฒนาการด้านคุณภาพ .................................................................................................................. 16
2.1 อายุการใช้งานของยางรถยนต์ชนิดหนึ่งอายุการใช้งาน (ปี) ............................................................... 37
2.2 ความถี่อายุการใช้งานของแบตเตอรี่ ................................................................................................ 37
2.3 เส้นผ่าศูนย์กลางของสปริงจานวน 80 เส้น (มิลลิเมตร) .................................................................... 38
2.4 ความถี่ และจุดกึ่งกลางของเส้นผ่าศูนย์กลางของสปริง 80 เส้น ....................................................... 39
2.5 การแจกแจงความถี่สัมพัทธ์ของจานวนสินค้าที่มีตาหนิ .................................................................... 40
2.6 ความถี่สะสมสัมพัทธ์ของจานวนสินค้าที่มีตาหนิในแต่ละวัน ............................................................ 41
2.7 การหาค่าเฉลี่ยแบบแจกแจงความถี่ระหว่างประชากรและตัวอย่าง .................................................. 44
2.8 ข้อมูลแจกแจงความถี่ของความสูงเด็กแรกเกิด ................................................................................ 44
2.9 ข้อมูลน้าหนักของนักเรียน (กิโลกรัม) ............................................................................................... 46
2.10 ข้อมูลความสูงของนักศึกษา (เซนติเมตร) ....................................................................................... 48
2.11 การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแบบไม่ได้แจกแจงความถี่ระหว่างประชากรและตัวอย่าง ................ 50
2.12 การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแบบแจกแจงความถี่ระหว่างประชากรและตัวอย่าง ........................ 51
2.13 จานวนชั้นที่แนะนาสาหรับการสร้างฮีสโตแกรม ............................................................................ 74
2.14 ข้อมูลแสดงความกว้างของช่องว่างของหัวบันทึกข้อมูล.................................................................. 75
2.15 ตารางแจกแจงความถี่สาหรับข้อมูลในการผลิตหัวบันทึกข้อมูล ..................................................... 76
2.16 ตัวอย่างการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของข้อมูลที่จาแนกประเภท ............................................. 79
3.1 ปริมาณน้าหนักของผงซักฟอกชนิดบรรจุถัง (กิโลกรัม)...................................................................114
3.2 ขนาดความยาวของก้านวาล์วที่วัดได้ (มิลลิเมตร) ...........................................................................120
3.3 กาลังบิดของเครื่องยนต์ไฮบริดจ์ในรถยนต์ประเภทขับเคลื่อนสี่ล้อ 4wd (ฟุต–ปอนด์) ...................131
3.4 ความหนาของเม็ดพลาสติกชนิด B-1E (มิลลิเมตร) ........................................................................138
3.5 ค่าออกเทนของน้ามันแก๊ซโซฮอลที่ผลิตได้ .....................................................................................142
3.6 ข้อมูลน้าหนักบรรจุผงชูรส (ออนซ์) ................................................................................................145
4.1 กระบวนการผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ (ชิ้น) ..............................................................................165
4.2 ข้อมูลผลการตรวจสอบจานวนขดลวดทองแดงที่ผลิต ....................................................................168
4.3 แสดงค่า β สาหรับเส้นโค้ง OC ......................................................................................................173
4.4 จานวนของเสียที่ตรวจพบในกระบวนการผลิตแบตเตอรี่รถยนต์ ....................................................181
4.5 จานวนหมุดย้ารอยตะเข็บที่หายไปในกระบวนการผลิตเรือโดยสาร ................................................187
4.6 จานวนรอยตาหนิของการผลิตเสื้อกีฬาของแต่ละลอต ...................................................................191
(12)

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
5.1 ค่า Cp ต่าสุดที่ควรจะเป็น ........................................................................................................... 211
5.2 แรงอัดสูงสุดที่แก้วน้าทนได้ (psi) ...................................................................................................212
5.3 การแจกแจงความถี่สาหรับข้อมูลความทนแรงอัดที่แก้วน้าทนได้ ...................................................213
5.4 ค่า ppm ของของเสียจากกระบวนการผลิตที่มีค่า PCR ต่างๆ กัน .................................................215
5.5 ข้อมูลความทนแรงอัดของแก้วน้า ..................................................................................................216
5.6 ความยาวของม้วนสายไฟเบอร์ออฟติก 50 เส้น .............................................................................225
5.7 การวิเคราะห์สมรรถนะเครื่องตัดสายไฟ.........................................................................................226
6.1 เกณฑ์การเลือกแผนการโดยใช้ประวัติคุณภาพ ..............................................................................238
6.2 การเปรียบเทียบประเภทของการควบคุมคุณภาพเพื่อการยอมรับ ..................................................240
6.3 สัญลักษณ์สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคุณภาพ .....................................................................243
6.4 สรุปการหาสัดส่วน P /P โดยสมมุติค่า c .....................................................................................246
'
2 1
'

6.5 สรุปผลการชักสิ่งตัวอย่างทั้ง 4 แบบ ..............................................................................................248


6.6 สรุปผลการคานวณ ........................................................................................................................254
6.7 แสดงโอกาสการยอมรับลอต ..........................................................................................................255
6.8 ตัวอย่างแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง ........................................................................................257
6.9 สรุปโอกาสในการยอมรับและปฏิเสธของลอตในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งต่างๆ..................................259
6.10 เปรียบเทียบปัจจัยด้านการจัดการสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างทั้ง 3 แบบ ................................268
6.11 แปลงค่า AQL .............................................................................................................................269
6.12 อักษรรหัสสาหรับขนาดสิ่งตัวอย่าง ..............................................................................................276
6.13-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวการตรวจสอบแบบปกติ ...................................278
6.13-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวการตรวจสอบแบบเคร่งครัด ............................279
6.13-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย ..........................280
6.14-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่การตรวจสอบแบบปกติ ........................................281
6.14-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่การตรวจสอบแบบเคร่งครัด ..................................282
6.14-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย ................................283
6.15-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ ......................284
6.15-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด ................287
6.15-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย ..............290
(13)

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
6.16-A คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องซึ่งมีความน่าจะเป็นในการ
ยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 10%.............................................................................................................293
6.16-B คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของจานวนข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ซึ่งมี
ความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 10 ..............................................................................294
6.17-A คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์ข้อบกพร่องซึ่งมีความน่าจะเป็นในการ
ยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 5% ...............................................................................................................295
6.17-B คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของจานวนข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ซึ่งมี
ความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 5%.............................................................................296
6.18 ตัวเลขพิกัดสาหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย .........................................................................297
6.19-A แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส A...................................................................................308
6.19-A-1 ค่าจากตารางสาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง
เชิงเดี่ยว….. ..........................................................................................................................................309
6.19-A-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง A.........................................................310
6.20-B แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส B ...................................................................................311
6.20-B-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................312
6.20-B-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง B .........................................................313
6.21-C แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส C ..................................................................................314
6.21-C-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ...............315
6.21-C-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง C ........................................................316
6.22-D แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส D ............................................................................... …317
6.22-D-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ...............318
6.22-D-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง D ........................................................319
6.23-E แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส E ...................................................................................320
6.23-E-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................321
6.23-E-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง E .........................................................322
6.24-F แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส F ...................................................................................323
6.24-F-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................324
6.24-F-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง F .........................................................325
(14)

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
6.25-G แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส G ..................................................................................326
6.25-G-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ...............327
6.25-G-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง G ........................................................328
6.26-H แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส H ..................................................................................329
6.26-H-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ...............330
6.26-H-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง H ........................................................331
6.27-J แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส J ....................................................................................332
6.27-J-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................333
6.27-J-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง J ..........................................................334
6.28-K แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส K ...................................................................................335
6.28-K-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................336
6.28-K-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง K .........................................................337
6.29-L แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส L ...................................................................................338
6.29-L-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................339
6.29-L-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง L .........................................................340
6.30-M แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส M .................................................................................341
6.30-M-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ...............342
6.30-M-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง M .......................................................343
6.31-N แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส N ..................................................................................344
6.31-N-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ...............345
6.31-N-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง N ........................................................346
6.32-P แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส P ...................................................................................347
6.32-P-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................348
6.32-P-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง P .........................................................349
6.33-Q แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส Q .................................................................................350
6.33-Q-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ...............351
6.33-Q-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง Q........................................................352
6.34-R แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส R ...................................................................................353
6.34-R-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่าง ................354
6.34-R-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง Q ........................................................355
(15)

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
6.35 แสดงแผนการชักสิ่งตัวอย่างสาหรับอักษรรหัส S .........................................................................356
6.36 ค่า AOQL สาหรับการชักสิ่งตัวอย่างแบบปกติ (แบบการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว) ........................359
6.37 ค่า AOQL สาหรับการชักสิ่งตัวอย่างแบบเคร่งครัด (แบบการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว) ..................360
6.38 ดอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดี่ยวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 1.0%
β = 0.10 ............................................................................................................................................ 367
6.39 ดอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดี่ยวจาก AOQL โดยที่ AOQL = 3.0%.................368
6.40 แสดงความสัมพันธ์ของ ASN กับจุดต่างๆ บนเส้นโค้ง OC ...........................................................373
6.41 เปรียบเทียบ ค่าของ i สาหรับแผน CSP-1 และ CSP-2 ที่ค่า AOQL ใดๆ สาหรับ f ที่ 5%
และ 10% (สมมติค่า i = k ใน CSP-2) ...............................................................................................376
6.42 AQL Conversion Table ...........................................................................................................388
6.43 Sample Size Code Letters ....................................................................................................389
6.44 Master Table for Normal and Tightened Inspection for Plans Based on
Variability Unknown: Range Method............................................................................................390
7.1 เครื่องมือและเทคนิคของการจัดการคุณภาพโดยรวม .....................................................................411
7.2 การสนับสนุนของผู้เชี่ยวชาญคุณภาพสาหรับ TQM.......................................................................411
7.3 ลักษณะการจัดการคุณภาพโดยรวม...............................................................................................415
7.4 การเปรียบเทียบองค์กรที่นาการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) มาใช้กับองค์กรอื่นๆ ...................415
7.5 การปรับปรุงด้วยหลักการของลีน (Principle of Leans)...............................................................423
7.6 ตัวอย่างของการวางแผนการประชุม QC.Circle ............................................................................426
7.7 กิจกรรม 3 MUs ............................................................................................................................429
7.8 เป้าหมายของไคเซน ......................................................................................................................430
8.1 วัฏจักรการทางานของผลิตภัณฑ์....................................................................................................426
8.2 การทดสอบสวิตซ์ไฟฟ้า .................................................................................................................429
8.3 อายุของผลิตภัณฑ์ .........................................................................................................................489
ก-1 ผลรวมความน่าจะเป็นแบบทวินาม ...............................................................................................503
ก-2 การกระจายสะสมแบบปัวส์ซอง ....................................................................................................506
ก-3 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน .......................................................................................................511
ก-4 ตัวประกอบสาหรับการสร้างแผนภูมิควบคุมชนิดแปรผัน...............................................................514
ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต .............................................................................................................515
ก-6 จุดร้อยละของการแจกแจงสาหรับพิสัยสัมพัทธ์ .............................................................................526
(16)

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
ข-1 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 0.5%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 529
ข-2 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 1.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 530
ข-3 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 2.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 531
ข-4 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 3.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 532
ข-5 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 4.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 533
ข-6 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 5.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 534
ข-7 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 6.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 535
ข-8 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 8.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 536
ข-9 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 0.5%,
β = 0.10 . ........................................................................................................................................... 537
ข-10 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 1.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 538
ข-11 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 2.0%,
β = 0.10.. ........................................................................................................................................... 539
ข-12 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 3.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 540
ข-13 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 5.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 541
ข-14 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 6.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 542
ข-15 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 7.0%,
β = 0.10 . ........................................................................................................................................... 543
(17)

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
ข-16 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 10.0%,
β = 0.10. ............................................................................................................................................ 544
ข-17 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=0.10%) .......................545
ข-18 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=0.25%) .......................546
ข-19 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=0.50%) .......................547
ข-20 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=1.0%) .........................548
ข-21 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=2.5%) .........................549
ข-22 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=3.0%) .........................550
ข-23 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=10.0%) .......................551
ข-24 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 0.10%) ........................552
ข-25 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 0.25%) ........................553
ข-26 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 0.50%) ........................554
ข-27 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 1.0%) ..........................555
ข-28 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 2.5%) ..........................556
ข-29 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 3.0%) ..........................557
ข-30 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 10.0%) ........................558
ค-1 แบบฟอร์มเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลแผนภูมิควบคุม ..............................................................561
ค-2 แบบฟอร์มวิเคราะห์สมรรถนะเครื่องจักร ......................................................................................562
แผนบริหารการสอนประจาวิชา

ชื่อสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยี สาขาการจัดการอุตสาหกรรม

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อวิชา
IM11204 การควบคุมคุณภาพ
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต (3-0-6)
3. หลักสูตรและสาขาวิชา
วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม) เป็นวิชาบังคับ
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อ.นราธิป ภาวะรี
5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 1 / ชั้นปีที่ 3
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite)
สถิติอุตสาหกรรม
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
อาคารคณะเทคโนโลยี 6
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา
21 มกราคม 2555
2 การควบคุมคุณภาพ

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ การใช้สถิติควบคุมคุณภาพ เทคนิคการพัฒนา
คุณภาพ และเข้าใจหลักการเครื่องมือควบคุมคุณภาพพื้นฐาน 7 อย่าง
2. สามารถออกแบบแผนภูมิควบคุมคุณภาพในลักษณะต่างๆ เพื่อวางแผนควบคุมกระบวนการผลิต
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการและประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้รับ
4. สามารถเลือกใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างทั้งแบบเชิงคุณภาพ และแบบเชิงแปรผัน
5. เพื่อให้นักศึกษาเห็นความสาคัญของการควบคุมคุณภาพ และสามารถประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรม
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2555 เพื่อให้นักศึกษามี
ความรู้เกี่ยวกับการใช้สถิติเพื่อการควบคุมคุณภาพ และหลักการควบคุมคุณภาพได้อย่างถูกต้อง

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ

1. คาอธิบายรายวิชา
ศึ ก ษาหลั ก การปฏิ บั ติ ง านการควบคุ ม คุ ณ ภาพ ขอบข่ า ยงานควบคุ ม คุ ณ ภาพในงานอุ ต สาหกรรม
การบริหารงานควบคุมคุณภาพ การใช้เทคนิคทางสถิติในการควบคุมคุณภาพ เช่น การศึกษาการแปรผัน
และความสามารถของกระบวนการ แผนภูมิการควบคุม การออกแบบตามข้อกาหนด การควบคุมและ
วิธีการดาเนินการตรวจสอบ วิธีการใช้ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างมาตรฐาน การศึกษาความเชื่อมั่นของ
ผลิตภัณฑ์
2. จานวนชั่วโมงต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง


ภาคสนาม/การฝึกงาน
บรรยาย 48 ชั่วโมง ไม่มี ไม่มี การศึกษาด้วยตนเอง
ต่อภาคการศึกษา 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
นักศึกษาสามารถติดต่อผู้สอน เพื่อขอคาปรึกษาหรือคาแนะนาได้ตลอดเวลาด้วยตนเอง
แผนงานบริหารการสอน 3

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
(1) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามสามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับ
ความสาคัญ เช่น การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล การมีภาวะความเป็นผู้นาและ
ผู้ตามภายใต้สถานการณ์ที่กาหนด เป็นต้น
(2) มีความตรงต่อเวลา เข้าชั้นเรียนโดยสม่าเสมอ และส่งงานตามที่กาหนด
1.2 วิธีการสอน
(1) จัดกลุ่มทาหัวข้อรายงานตามหัวข้อที่กาหนดให้ และนักศึกษาจะต้องมีการนาเสนอในเทอม
ปลายเพื่อฝึกทักษะภาวะความเป็นผู้นา
(2) อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างในเรื่องความตรงต่อเวลา
1.3 วิธีการประเมินผล
(1) พฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานตามที่กาหนด
(2) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
(3) ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
(1) ผู้เรียนมีความรู้ในเรื่องการควบคุมคุณภาพ
(2) ผู้เรียนสามารถเข้าใจทฤษฏีการควบคุมคุณภาพได้อย่างถูกต้อง
(3) ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์เหตุและผล เพื่อนาไปสู่การควบคุมคุณภาพได้อย่างถูกต้อง
2.2 วิธีการสอน
(1) การบรรยายโดยผู้สอน
(2) มอบหมายงานศึกษาค้นคว้าเป็นรายบุคคล
2.3 วิธีการประเมินผล
(1) แบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
(2) นาเสนอ และสรุปจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
(3) วิเคราะห์กรณีศึกษา
4 การควบคุมคุณภาพ

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ)

3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
(1) นักศึกษามีความเข้าใจในหลักการควบคุมคุณภาพ และสามารถประยุกต์แก้ไขปัญหาการควบคุม
คุณภาพในอุตสาหกรรม
(2) มีการคิดเป็นตามหลักขั้นตอน และเป็นระบบ
3.2 วิธีการสอน
(1) การสอนโดยใช้ตัวอย่างปัญหาเป็นพื้นฐาน
(2) นักศึกษาตอบคาถามในแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
(3) วิเคราะห์ปัญหาร่วมกันในชั้นเรียน
3.3 วิธีการประเมินผล
(1) การสอบ ได้แก่ การสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
(1) มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
(2) มีการสร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์ผู้สอน
4.2 วิธีการสอน
(1) ปลูกฝังให้รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(2) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์ปัญหาการควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรม
(3) การนาเสนอผลงานย่อยจากการศึกษาค้นคว้าของกิจกรรมกลุ่ม
4.3 วิธีการประเมินผล
(1) สังเกตพฤติกรรมการเรียน และการทางานกลุ่ม
(2) การนาเสนอ และการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
(1) มีทักษะการคิดคานวณเชิงตัวเลข จากการฝึกทบทวนความรู้ในชั้นเรียน แบบฝึกหัดระหว่าง
บทเรียน และแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
(2) สามารถนาปัญหาการควบคุมคุณภาพ คานวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
5.2 วิธีการสอน
(1) อาจารย์ผู้สอนบรรยาย ยกตัวอย่าง และวิเคราะห์ผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
(2) นักศึกษาสามารถทาแบบฝึกหัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ผลได้
5.3 วิธีการประเมินผล
(1) การการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
(2) การทาแบบฝึกหัดระหว่างบทเรียน และแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
แผนงานบริหารการสอน 5

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
ระบุหัวข้อ/รายละเอียด สัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการสอน (ซึ่งต้องสอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต)
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ รวมทั้งอาจารย์ผู้สอนในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา

1. แผนการสอน
สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน ผู้สอน
การสอน สื่อที่ใช้
1 บทนา หลักการพื้นฐาน 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ความหมายของคุณภาพ งานกลุ่มการสืบค้น
วิวัฒนาการด้านคุณภาพ ข้อมูล
ร่วมแสดงความคิดเห็น
2 วิธีทางสถิติเพื่อการ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ควบคุมคุณภาพ ร่วมแสดงความคิดเห็น
(Statistical QC)
3 เครื่องมือและเทคนิคใน 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
การควบคุมคุณภาพ ร่วมแสดงความคิดเห็น
(7 QC Tools) กรณีศึกษา
4 แผนภูมิควบคุมสาหรับ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ข้อมูลแบบหน่วยวัด ( x -R ร่วมแสดงความคิดเห็น
chart, x -S chart) ทาแบบฝึกหัด
5 แผนภูมิควบคุมสาหรับ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ข้อมูลแบบหน่วยวัด ร่วมแสดงความคิดเห็น
( x -MR chart, แผนภูมิ ทาแบบฝึกหัด
ควบคุมชนิดอื่นๆ)
6 แผนภูมิควบคุมสาหรับ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ข้อมูลแบบหน่วยนับ ร่วมแสดงความคิดเห็น
(n chart, np chart) ทาแบบฝึกหัด
7 แผนภูมิควบคุมสาหรับ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ข้อมูลแบบหน่วยนับ ร่วมแสดงความคิดเห็น
(u chart, c chart) ทาแบบฝึกหัด
8 สอบกลางภาค 2 ข้อเขียน กรรมการคุมสอบ
9 การวิเคราะห์สมรรถนะ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
กระบวนการ (PCA) ร่วมแสดงความคิดเห็น
ทาแบบฝึกหัด
6 การควบคุมคุณภาพ

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ)

1. แผนการสอน
สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน ผู้สอน
การสอน สื่อที่ใช้
10 การวิเคราะห์สมรรถนะ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
กระบวนการ (PCA)(ต่อ) ร่วมแสดงความคิดเห็น
ทาแบบฝึกหัด
11 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
การยอมรับ หลักการและ ร่วมแสดงความคิดเห็น
วิธีการชักสิ่งตัวอย่าง
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิง
คุณภาพ (Attribute)
12 แผนการชักตัวอย่างตาม 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
มาตรฐาน MIL-STD-105E ร่วมแสดงความคิดเห็น
แผนการชักตัวอย่างดอดจ์ ทาแบบฝึกหัด
และโรมิก
(Dodge-Romig)
13 แผนการชักสิ่งตัวอย่างที 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ละชิ้นตามลาดับ ร่วมแสดงความคิดเห็น
การหาแผนตัวอย่าง (SPR) ทาแบบฝึกหัด
การผลิตต่อเนื่อง (CSP)
14 แผนการชักตัวอย่างแบบ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
เชิงแปรผัน (Variables) ร่วมแสดงความคิดเห็น
ทาแบบฝึกหัด
15 เทคนิคการพัฒนาด้าน 3 บรรยาย อ.นราธิป ภาวะรี
คุณภาพ (TQM ยกตัวอย่างกรณีศึกษา
QC.Circle Kaizen ร่วมแสดงความคิดเห็น
Benchmarking เลือกหัวข้อในการทา
6 Sigma และ ISO 9000) รายงาน
16 นาเสนองาน (ส่งรายงาน) 3 การนาเสนอโดย อ.นราธิป ภาวะรี
ในหัวข้อเทคนิคการพัฒนา นักศึกษา และให้
ด้านคุณภาพ คาแนะนาโดยอาจารย์
ผู้สอน
แผนงานบริหารการสอน 7

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ)

1. แผนการสอน
สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จานวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน ผู้สอน
การสอน สื่อที่ใช้
17 ความเชื่อมั่นของ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง อ.นราธิป ภาวะรี
ผลิตภัณฑ์ (Reliablity) ร่วมแสดงความคิดเห็น
ทาแบบฝึกหัด
18 สอบปลายภาค 2 ข้อเขียน กรรมการคุมสอบ

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ที่ กิจกรรมการประเมิน สัปดาห์ สัดส่วนของการ


เกี่ยวข้อง ประเมินผล
ทีป่ ระเมิน

1.1 การเข้าชั้นเรียน 1-17 10%

1.1, 2.1, 3.1, 4.1, - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน


- การทางานกลุ่ม 1-17 10%
และ 5.1
- การนาเสนอรายงานกลุ่ม
1.1, 2.1, 3.1, 4.1,
สอบย่อย 7 และ 14 10%
และ 5.1
1.1, 2.1 และ 3.1 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 30%
1.1, 2.1 และ 3.1 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 18 40%
8 การควบคุมคุณภาพ

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตาราหลัก
ปรียาวดี ผลอเนก. (2556). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.
รศ.ดร. พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2541). การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ผศ. ศรีไร จารุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรี.
รศ. ศุภชัย นาทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
รศ. สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2554). การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติและวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร:
จามจุรีโปรดักท์.
Evan James R., Linsay William M. (2008), The Management and Control of Quality
(7th ed). OH: South-Western.
Montgomery Douglas C. (2009). Introduction to Statistical Quality Control (6th ed).
New York: John Wiley & Sons.

2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ไม่มี
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
- เวปไซต์สานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม
- http://www.sciencedirect.com
- https://www.juse.or.jp/english/education/

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น
จากนักศึกษาได้ดังนี้
(1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
(2) การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
(3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
(1) ผลการเรียนของนักศึกษา
(2) การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
แผนงานบริหารการสอน 9

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงรายวิชา (ต่อ)

3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
(1) สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
(2) การวิจัยในชั้นเรียนและปรับปรุงผลตามผลการวิจัย
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังได้จากการ
สอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลัง
การออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
(1) การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน แต่อาจารย์ที่ทวนสอบต้องมีความรู้ในวิชานี้
(2) มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ
ข้อสอบ รายงานวิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน
และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพดังนี้
(1) คณะกรรมการประเมินหลักสูตรของคณะจัดทารายงานการประเมินผล และเสนอประเด็นที่จาเป็น
ในการปรับปรุงหลักสูตร
(2) ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ และผลการทบทวนผลมาตรฐานสัมฤทธิ์
(3) เปลี่ ย นหรื อ สลั บ อาจารย์ ผู้ ส อน เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ มุ ม มองจากประสบการณ์ ข องผู้ ส อน
หลากหลายท่าน
10 การควบคุมคุณภาพ
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1
บทนา
หัวข้อเนื้อหา
บทนำ
1.1 ควำมหมำยและคำจำกัดควำมของคุณภำพ
1.2 ลักษณะคุณภำพและกำรตรวจสอบคุณภำพ
1.2.1 ลักษณะคุณภำพ
1.2.2 กำรตรวจสอบคุณภำพ
1.3 วิวัฒนำกำรด้ำนคุณภำพ
1.3.1 วิวัฒนำกำรของบุคลำกร และระบบกำรจัดกำรในกำรควบคุมคุณภำพ
1.4 แนวคิดกำรดำเนินกำรคุณภำพ
1.4.1 ระบบกำรบริหำรงำน CWQC (Company Wide Quality Control)
1.4.2 ระบบกำรบริหำรงำน TQM (Total Quality Management)
1.4.3 ระบบ ISO 9000
1.5 คุณภำพของผลิตภัณฑ์
1.6 กำรลดต้นทุนกำรผลิต
1.6.1 ต้นทุนคุณภำพ (Cost of Quality: COQ)
1.6.2 ประเภทของค่ำใช้จ่ำยคุณภำพ
1.6.3 กำรลดต้นทุนแห่งคุณภำพ
1.6.4 โมเดลต้นทุนคุณภำพในภำวะที่ดีที่สุดของจูรำน
1.7 สรุป
แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 1
เอกสำรอ้ำงอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีควำมรู้และทักษะดังนี้
1. เข้ำใจหลักกำร ควำมหมำยของกำรควบคุมคุณภำพในกำรผลิต และระบบกำรบริหำรงำนคุณภำพ
2. อธิบำยวิวัฒนำกำรของกำรควบคุมคุณภำพ
3. อธิบำยระบบกำรบริหำรงำนคุณภำพ
4. อธิบำยลักษณะคุณภำพของผลิตภัณฑ์ได้
5. เข้ำใจหลักกำรลดต้นทุน กำรแยกประเภทต้นทุน และหลักของกำรลดต้นทุนแห่งคุณภำพ
12 กำรควบคุมคุณภำพ

วิธีสอนและกิจกรรม
1. ชี้แจงคำอธิบำยรำยวิชำ วัตถุประสงค์ เนื้อหำ และเกณฑ์กำรให้คะแนนรำยวิชำ
2. นำเข้ำสู่บทเรียนโดยกำรบรรยำย ประกอบรูปภำพใน Power point
3. อธิบำยเนื้อหำทีละหัวข้อแล้วเปิดโอกำสให้ผู้เรียนถำมในแต่ละหัวข้อก่อนข้ำมหัวข้อนั้น
4. ตรวจสอบคำตอบของผู้เรียน และสอบถำมผู้เรียนถ้ำผู้เรียนมีคำถำมสงสัย
5. มอบหมำยให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดท้ำยบทเป็นกำรบ้ำน
6. เสริมสร้ำงคุณธรรม และจริยธรรมให้กับนักศึกษำก่อนเลิกเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสำรประกอบกำรสอนวิชำกำรควบคุมคุณภำพ
2. กระดำนไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ำยบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ำยบท
การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจำกพฤติกรรมและบรรยำกำศระหว่ำงเรียน
2. ถำมตอบระหว่ำงเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมำยให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จำกกำรทำกิจกรรมกลุ่มเสร็จตำมเวลำ
2. ทำแบบฝึกหัดมีควำมถูกต้องไม่น้อยกว่ำ 80%
บทที่ 1 บทนำ 13

บทที่ 1
บทนา
ในบทน ำของเอกสำรประกอบกำรสอนจะกล่ำวถึงควำมหมำยของคุณภำพ ลักษณะคุณภำพและกำร
ตรวจสอบ ประวัติควำมเป็นมำวิวัฒนำกำรของคุณภำพ แนวคิดกำรดำเนินกำรคุณภำพ คุณภำพของผลิตภัณฑ์
และกำรลดต้นทุนกำรผลิต โดยรำยละเอียดของแต่ละหัวข้อดังต่อไปนี้

1.1 ความหมายและคาจากัดความของคุณภาพ
คุณภำพมีผู้ให้ คำจำกัดควำมไว้ หลำกหลำย แต่ที่นิยมใช้ ตำมควำมเข้ำใจ คือ ควำมถูกต้องตรงตำมควำม
ต้องกำรของผู้ใช้ (Fitness for use) (Montgomery D.C., 2009) หรือหมำยถึง กำรมีมำตรฐำนตรงตำม
ข้อกำหนดของสินค้ำนั้นๆ เช่น กำหนดให้หลอดภำพของโทรทัศน์มีอำยุกำรใช้งำนไม่ต่ำกว่ำ 100,000 ชั่วโมง แล้ว
ฝ่ำยผลิตสำมำรถผลิตหลอดภำพของโทรทัศน์สำมำรถใช้งำนได้ไม่ต่ำกว่ำ 100,000 ชั่วโมง แสดงว่ำสินค้ำมี
คุณภำพ เป็นต้น
ศรีไร จำรุภิญโญ (2540) กำรควบคุมคุณภำพจำกคำจำกัดควำมในคู่มือ MIL-STD-109 หมำยถึง กำรควบคุม
คุณภำพเป็ นกำรบริหำรงำนในด้ำนกำรควบคุมวัตถุดิบ และกำรผลิ ต เป็นกำรป้องกันมิให้ ผลิ ตภัณฑ์ที่สำเร็จ
ออกมำมี ข้ อบกพร่ อง และเสี ยหำยได้ เพื่ อให้ ส ำเร็ จตำมควำมหมำยดั งกล่ ำ ว กำรควบคุ มคุ ณภำพ จะต้ อง
จัดรูปแบบกำรบริหำรในกำรป้องกัน ค้นหำ ติดตำม และแก้ไขสิ่งบกพร่อง ซึ่งจะนำไปสู่กำรผลิตที่บกพร่องและ
นำไปสู่ควำมสูญเสียต่ำงๆ

รูปที่ 1.1 กำรควบคุมคุณภำพในอุตสำหกรรม


(ที่มำ: http://www.pip.co.th/?p=63)
14 กำรควบคุมคุณภำพ

1.2 ลักษณะคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ
1.2.1 ลักษณะคุณภำพ
สินค้ำแต่ละชนิ ดจะมีข้อกำหนดที่แตกต่ำงกัน แสดงถึงลั กษณะคุณภำพที่แตกต่ำงกันออกไป เช่น
หลอดไฟฟ้ำ มีสิ่งที่กำหนดถึงคุณภำพ คือ อำยุกำรใช้งำน ควำมสว่ำง อัตรำกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำ หรือโทรศัพท์มีสิ่ง
ที่กำหนดคุณภำพคือ ควำมทนทำน ควำมสวยงำม ควำมง่ำยต่อกำรใช้งำน และน้ำหนักเบำ เป็นต้น สิ่งที่กำหนด
คุณภำพของสินค้ำนี้เรียกว่ำ ลักษณะคุณภำพ (Quality Characteristics) ซึ่งสินค้ำแต่ละชนิดมีลักษณะคุณภำพ
แบ่งได้ ดังนี้
1. คุณภำพด้ำนกำรใช้งำน เช่น ลำโพงเสียงชัดเจนและแสดงย่ำนควำมถี่ของเสียงได้หมด
2. คุณภำพด้ำนควำมทนทำนหรืออำยุกำรใช้งำนที่ยำวนำน
3. คุณภำพด้ำนรูปลักษณ์หรือภำพลักษณ์ที่ติดตำสวยงำม
4. คุณภำพด้ำนควำมสะดวกในกำรใช้งำน เช่น กำรพกพำไปได้สะดวก และง่ำยต่อกำรหยิบใช้
5. คุณภำพด้ำนอื่นๆ เช่น กำรให้บริกำรต้อนรับ กำรซ่อมบำรุงหรือบริกำรหลังกำรขำย
ในกำรจัดระบบของกำรควบคุมคุณภำพในธุรกิจยุคโลกำภิวัฒน์ ไม่สำมำรถใช้แนวควำมคิดของ
ลำดับชั้นในกำรบังคับบัญชำภำยในองค์กร หรือแนวควำมคิดของหน้ำที่กำรทำงำนในแต่ละฝ่ำยงำนได้อีกต่อไป
เนื่องจำกสำเหตุของควำมต้องกำรที่หลำกหลำยของลูกค้ำ จึงมีควำมจำเป็นต้องวำงระบบควบคุมคุณภำพด้วย
แนวควำมคิดแห่งเกลียวคุณภำพคือ ในองค์กรที่ดำเนินระบบกำรควบคุมคุณภำพมีควำมจำเป็น ต้องวำงแผน
งำนเริ่มต้นตั่งแต่ปัจจัยนำเข้ำกำรผลิต กระบวนกำรผลิต ไปจนถึงผลผลิต ซึ่ง แสดงกำรไหลของระบบกำรผลิต
มำตรฐำน ดังแสดงในรูปที่ 1.2 แล้วดำเนินกำรกำหนดนโยบำยในกำรบริหำรคุณภำพ พร้อ มกำหนดวิธีกำรใน
กำรควบคุม และติดตำมต่อไป

ปัจจัยทำงตรง
ข้อมูลข่ำวสำรของลูกค้ำ
วัตถุดิบ แรงงำน เครื่องจักร

ผลผลิต
ปัจจัยทำงอ้อม กระบวนกำรผลิต  สินค้ำ
 สิ่งอำนวย  บริกำร
ควำมสะดวก
 สำธำรณูปโภค
ข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะ
กระบวนการ

รูปที่ 1.2 ระบบกำรผลิต


บทที่ 1 บทนำ 15

ในธุรกิจยุคโลกำภิวัฒน์ ลักษณะคุณภำพสำมำรถแบ่งได้เป็น 4 ชนิด คือ


1. คุณภำพที่บอกกล่ำว (Stated Quality) หมำยถึง คุณภำพที่กำหนดขึ้นระหว่ำงผู้ซื้อ(Customer)
และ ผู้ขำย (Distributor) ผู้ซื้อสินค้ำหรือลูกค้ำจะเป็นผู้กำหนดว่ำอยำกจะได้สินค้ำที่มีคุณภำพตำมควำม
ต้องกำรอย่ำงไร โดยคุณภำพนี้อำจจะกำหนดลงไปในสัญญำกำรซื้อขำย (Buy Sale Contract) เพื่อให้ผู้ผลิต
หรือฝ่ำยโรงงำนทำหน้ำที่ผลิต และให้ได้คุณภำพตำมที่กำหนดด้วย หำกไม่ได้คุณภำพตำมที่กำหนดผู้ซื้ออำจจะ
ไม่ยอมรับผลิตภัณฑ์นั้นๆ ก็ได้ เนื่องจำกไม่ตรงตำมเงื่อนไขที่กำหนด
2. คุณภำพแท้จริง (Real Quality) หมำยถึง คุณภำพในตัวผลิตภัณฑ์เริ่มต้นตั้งแต่เริ่มผลิต และนำ
ผลิตภัณฑ์ไปใช้งำนจนกระทั่งผลิตภัณฑ์หมดอำยุลง ระดับคุณภำพแท้จริงจะมีคุณภำพสูงเพียงใดขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบของกระบวนกำร เช่น กำรออกแบบ วัตถุดิบที่นำมำใช้ กรรมวิธีกำรผลิต และกำรควบคุม
กระบวนกำรผลิต ซึ่งผู้ผลิตจะต้องทำให้ดีที่สุดเพื่อผลผลิตที่จะออกมำดี แต่หำกคุณภำพแท้จริงออกมำต่ำกว่ำ
คุณภำพที่คำดหวังไว้ ผลเสียก็จะตกกับผู้ผลิตและสินค้ำที่ผลิตออกมำก็จะขำยไม่ได้ ผู้บริโภคไม่ไว้วำงใจสินค้ำ
จนในที่สุดเปลี่ยนไปใช้สินค้ำลักษณะเดียวกันในยี่ห้ออื่นๆ
3. คุณภำพจำกกำรโฆษณำ (Advertise Quality) หมำยถึง คุณลักษณะของสินค้ำที่ผู้ผลิตเป็นผู้
กำหนดเอง และโฆษณำทั่วไปตำมวิทยุ หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ต่ำงๆ หรือแม้แต่กล่องบรรจุ
ภั ณ ฑ์ ข องสิ น ค้ ำ นั้ น ๆ คุ ณ ภำพที่ โ ฆษณำนี้ สิ น ค้ ำ บำงอย่ ำ งอำจจะมี ก ำรโฆษณำเกิ น ควำมเป็ น จริ ง ได้
ดังนั้นคุณภำพโฆษณำนี้ผู้บริโภค (Consumer) จะต้องเป็นผู้พิจำรณำเองให้รอบคอบจึงจะสำมำรถซื้อสินค้ำได้
คุณภำพตำมที่ต้องกำร
4. คุณภำพตำมประสบกำรณ์ที่เคยใช้ (Experienced Quality) หมำยถึง คุณภำพที่เกิดขึ้นจำก
ประสบกำรณ์ของผู้ใช้สินค้ำเอง คุณภำพจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับผู้ใช้ หำกผู้ใช้สินค้ำนำสินค้ำไปใช้ผลออกมำดีก็
จะบอกว่ำสินค้ำนั้นดี และอำจจะทำให้ผู้ใช้บอกกันต่อๆ ไปด้วย หำกไม่ดีผู้ใช้ก็จะบอกว่ำสินค้ำนั้นไม่ดี ซึ่งคำว่ำ
ดีไม่ดีนี้จะขึ้นอยู่กับเฉพำะตัวบุคคลเท่ำนั้น ฉะนั้นกำรผลิตสินค้ำหรือผลิตภัณฑ์ผู้ผลิตควรผลิตให้หลำกหลำยใน
สินค้ำเดียวกัน เพื่อให้ผู้บริโภคเลือกใช้ตำมควำมเหมำะสมของตัวเอง เช่น กำรผลิตน้ำยำสระผม ผู้ผลิตอำจจะ
ผลิตหลำกหลำยสูตร อำทิ สูตรสำหรับผมแห้ง สูตรผมขำดกำรบำรุงรักษำ สูตรสำหรับหนังศีรษะมีรังแค
สูตรป้องกันผมร่วง เป็นต้น
1.2.2 กำรตรวจสอบคุณภำพ
หมำยถึง กำรค้นหำส่วนประกอบหรือผลิตภัณฑ์ที่บกพร่อง ซึ่งกำรตรวจสอบจะมำจำกเฝ้ำ ติดตำม
วัด ปรับเทียบ และทดสอบต่ำงๆ เพื่อควบคุมให้ผลิตภัณฑ์ได้คุณภำพตำมมำตรฐำนที่กำหนดไว้

1.3 วิวัฒนาการด้านคุณภาพ
โยชิโอะ คอนโด (2540) ประวัติคุณภำพของมนุษย์มีกำรวิวัฒนำกำรคุณภำพมำกกว่ำ 1 ล้ำนปีมำแล้ว
โดยเชื่อว่ำมนุษย์เริ่มมีเครื่องมือตัดหินได้ที่แอฟริกำเมื่อประมำณ 1.7 ล้ำนปี รวมถึงเครื่องมือต่ำงๆ เช่น หม้อ
ดินเผำ ถ้วยจำน เครื่องประดับ หอก และอื่นๆ ประมำณ 10,000 ปีที่ผ่ำนมำ มนุษย์เริ่มยุติกำรดำรงชีพด้วย
ระบบกำรผลิตแทนซึ่งอยู่ในระบบเกษตรกรรม ต่อมำเปลี่ยนกำรผลิตเชิงอุตสำหกรรมในรูปแบบช่ำงฝีมือ ซึ่ง
ต้องอำศัยแรงงำนที่มีฝีมือ ดังนั้นคุณภำพจึงขึ้นอยู่กับช่ำงฝีมือเป็นสำคัญ
16 กำรควบคุมคุณภำพ

1.3.1 วิวัฒนำกำรของบุคลำกร และระบบกำรจัดกำรในกำรควบคุมคุณภำพ


บุคลำกรในกำรควบคุมคุณภำพ จำเป็นจะต้องมีควำมรู้ในด้ำนกำรตรวจสอบ ด้ำนกำรทดสอบ และ
จะต้องรู้จักคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ในโรงงำนของตนอย่ำงละเอียด ซึ่งควำมรู้เหล่ำนี้ไม่ควรจำกัดเฉพำะกลุ่มใด
กลุ่ มหนึ่ง แต่ควรที่จ ะให้ทุกฝ่ ำยที่เกี่ยวข้องได้รับรู้ด้ว ย บุคลำกรกำรควบคุมคุณภำพควรจะต้องมีควำมรู้
กว้ำงขวำง เช่น สำมำรถดูรอยเชื่อม รอยไหม้ รอยบัดกรี ว่ำดีหรือไม่ อ่ำนฟิล์มเอ็กซเรย์ของโลหะเพื่อดูรอยร้ำว
โครงสร้ำงลักษณะของเกรน เป็นต้น
สำหรับกำรบริหำรงำนในกำรควบคุมคุณภำพ ถ้ำจะให้เกิด ผลดีต้องไม่ให้ฝ่ำยควบคุมคุณภำพอยู่
ภำยใต้กำรบริหำรของฝ่ำยผลิต เนื่องจำกกำรควบคุมคุณภำพจะเข้มงวดอย่ำงไรก็ตำม ผู้บริหำรฝ่ำยผลิตก็มี
สิทธิที่จะสั่งให้เลิกกำรตรวจสอบที่เข้มงวดได้ ฝ่ำยผลิ ตก็สำมำรถผลิตได้เช่นเดิมเปรียบเสมือนไม่มีกำรควบคุม
คุณภำพเลย

ตารางที่ 1.1 วิวัฒนำกำรด้ำนคุณภำพ

ปี วิวัฒนำกำร
ยุคก่อนสงครำมโลกครั้งที่ 2
ค.ศ.18-19 นำเครื่ อ งจั ก รมำใช้ แ ทนแรงงำนคน และเกิ ด ทฤษฏี ก ำรจั ด กำรเชิ งวิ ท ยำศำสตร์ข อง เฟเดอริ ก
เทเลอร์ (Federic Taylor)
ค.ศ.1924 Dr.Walter A. Shewhart แห่ง Bell Lab. ได้ประยุกต์ทฤษฏีกำรทดสอบสมมุติฐำน สำหรับ ลด
สัดส่วนของเสียผลิตภัณฑ์ (Defective Fraction: p) ในรูปของแผนภูมิควบคุม
ค.ศ.1925 Dodge และ Romig แห่ง Bell Lab ได้พัฒนำแผนกำรชักสิ่งตัวอย่ำงเพื่อกำรยอมรับ (Acceptance
Sampling Plan)
ยุคระหว่ำงและหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2
ค.ศ.1941 สหรัฐอเมริกำประกำศเข้ำร่วมสงครำมโลกครั้งที่ 2 กับฝ่ำยพันธมิตร จึงระดมนักวิทยำศำสตร์ จำก
Bell Lab. มำควบคุมคุณภำพกำรผลิตอำวุธ ซึ่งได้พัฒนำแผนกำรชักสิ่งตัวอย่ำงเพื่อกำรยอมรับ ใน
กำรทดแทนกำรตรวจสอบ 100% โดยอำศัยหลักเกณฑ์ ข องควำมน่ำจะเป็น ต่อกำรพัฒนำเป็ น
มำตรฐำน MIL–STD–105A และ ยังมีกำรพัฒนำเทคนิคกำรควบคุมคุณภำพโดยอำศัยสถิต (SQC)
อย่ำงจริงจังผ่ำนกำรฝึกอบรมบุคลำกรจำกผู้เชี่ยวชำญ จำก Bell Lab.
ค.ศ.1945 ฟิลิป ครอสบี้ ( Philip Crosby) ได้เสนอแนวควำมคิดใหม่เกี่ยวกับคุณภำพว่ำเป็น “กำรสร้ำงควำม
พึงพอใจต่อลูกค้ำ” และ Deming ได้กำหนดให้คุณภำพมี 2 มุมมอง คือ คุณภำพด้ำนกำรออกแบบ
และคุณภำพด้ำนควำมถูกต้องในกำรผลิต

ที่มำ: ศรีไร จำรุภิญโญ, 2540


บทที่ 1 บทนำ 17

ตารางที่ 1.1 วิวัฒนำกำรด้ำนคุณภำพ (ต่อ)

ปี วิวัฒนำกำร
ยุคปัจจุบัน
ค.ศ.1960 – อุตสำหกรรมในโลกเสรีได้รับกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดกำรแข่งขันในตลำดอย่ำงมำกโดย
ปัจจุบัน ดร.จูรำน เป็นบุคคลที่มีบทบำทอย่ำงมำกในกำรพัฒนำคุณภำพ และเป็นบุคคลที่อยู่เบื้องหลังของ
อุตสำหกรรมญี่ปุ่น อีกทั้งเป็นรำกฐำนคุณภำพที่เกิดจำกกำรตระหนักถึงควำมสำคัญของผู้บริห ำร
ระดับสูง

ที่มำ: ศรีไร จำรุภิญโญ, 2540

1.4 แนวคิดการดาเนินการคุณภาพ
ในเรื่องของคุณภำพมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงต่อเนื่องจำกอดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีผลโดยตรงต่อกำรบริ หำร
คุณภำพ ทั้งนี้เพรำะหำกผู้ผลิตไม่สำมำรถทรำบได้ว่ำควำมพึงพอใจของลูกค้ำทำได้ระดับใดแล้ว ผู้ผลิตก็ไม่สำมำรถ
บริหำรคุณภำพให้เกิดประสิทธิผลได้เลย จึงมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่ งที่จะต้องทำควำมเข้ำใจถึงควำมพึงพอใจของ
ลูกค้ำทีเ่ รียกว่ำ “แนวคิดกำรดำเนินกำรคุณภำพ”
ประเด็นที่มีควำมสำคัญอย่ำงมำกต่อกำรดำเนินกำรคุณภำพ คือ กำรบริหำรงำนบนพื้นฐำนจะทำอย่ำงไรให้
ผู้ผลิตได้ทรำบว่ำลูกค้ำมีควำมพึงพอใจหรือไม่ พบว่ำควำมพึงพอใจนั้นเป็นผลจำกกำรตอบสนองต่อควำมต้องกำร
(Want หรือ Requirement) และเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นต่อควำมพอเพียง (Necessary Condition)

ควำมสำเร็จแห่งชีวิต

ควำมมีเกียรติ
ระดับของควำมต้องกำร มีส่วนร่วมกับสังคม ลำดับขั้นของควำมจำเป็น

ควำมปลอดภัยและควำมมั่นคง

ควำมจำเป็นขั้นพื้นฐำน

ควำมจำเป็น (Needs) คือ ผลจำกควำมไม่มีและเดือดร้อน

รูปที่ 1.3 เงื่อนไขที่จำเป็นในกำรสร้ำงควำมพึงพอใจ


18 กำรควบคุมคุณภำพ

เงื่อนไขที่จำเป็นสำหรับกำรตอบสนองต่อควำมต้องกำร คือ ควำมจำเป็น (Needs) ของลูกค้ำ โดยควำม


จำเป็นนี้เป็นผลมำจำกที่ลูกค้ำขำดแคลน (Lack) สิ่งใดแล้วเกิดควำมเดือดร้อน (Loss) บำงประกำรแก่ลูกค้ำ
และผลจำกกำรเดือดร้อนจะได้รับกำรจัดแบ่งตำมลำดับชั้น จึงทำให้ควำมจำเป็นของลูกค้ำได้รับกำรกำหนด
เป็นลำดับชั้น (Hierarchy of Needs) ดังทฤษฎีลำดับชั้นแห่งควำมจำเป็นของมำสโลว์ (Maslow) ดังแสดงใน
รูปที่ 1.3 และด้วยลำดับชั้นของควำมจำเป็นนี้ จะทำให้เกิดกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นมำเสนอเพื่อกำรสร้ำง
ควำมพึงพอใจต่อลูกค้ำ
สำหรับเงื่อนไขที่เพียงพอสำหรับกำรตอบสนองต่อควำมต้องกำร คือ ควำมคำดหมำย (Expectation)
และควำมคำดหมำยนี้จะมีระดับ ดังแสดงในรูปที่ 1.4 ซึ่งประกอบด้วย ควำมคำดหมำยชั้นพื้นฐำนที่หมำยถึง
ควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน (Fitness for use) ของลูกค้ำ ส่วนควำมคำดหมำยชั้นมำตรฐำนจะได้มำจำกกำร
เปรียบเทียบ (Benchmarking) กับผลิตภัณฑ์ของคู่แข่ง ขั้นต่อมำคือ ควำมคำดหมำยชั้นปรำรถนำ (Desire)
ซึ่งเป็นควำมคำดหมำยของแต่ละบุคคลที่จะแตกต่ำงกันออกไป และชั้นสุดท้ำยคือ ควำมคำดหมำยแฝงหรือ
ควำมคำดหมำยซ่อนเร้น (Latent) โดยปกติแล้วลูกค้ำจะไม่ทรำบว่ำตนเองคำดหมำยสิ่งนั้นไว้ แต่ถ้ำผู้ผลิต
เสนอให้จะเกิดควำมประทับใจ (Delight) เพรำะได้รับควำมพอใจที่เหนือควำมคำดหมำย
ผลจำกกำรที่ลูกค้ำแต่ละคนมีควำมคำดหมำยที่แตกต่ำงกันออกไป ทำให้คุณภำพได้รับกำรกำหนดเป็น
เกรด (Grade) หรือระดับแห่งคุณภำพ (Quality levels) ซึ่งจะมีควำมสัมพันธ์โดยตรงกับส่วนแบ่งทำงด้ำน
กำรตลำด (Market Segment) โดยที่คุณภำพมีหลำยๆ เกรดตำมควำมจำเป็น และควำมคำดหมำยของลูกค้ำ
นี้เอง ทำให้ผลิตภัณฑ์จึงต้องมีควำมหลำกหลำย (Variety) ค่อนข้ำงมำก จึงต้องมีระบบกำรบริหำรงำนคุณภำพ
ดังนี้

ซ่อนเร้น

ปรำรถนำ ระดับควำมคำดหมำย

มำตรฐำน

พื้นฐำน

ควำมคำดหมำย (Expectation) คือ เงื่อนไขที่เพียงพอต่อควำมจำเป็นของลูกค้ำ

รูปที่ 1.4 เงื่อนไขที่ดีพียงพอในกำรสร้ำงควำมพึงพอใจ


บทที่ 1 บทนำ 19

1.4.1 ระบบกำรบริหำรงำน CWQC (Company Wide Quality Control)


หมำยถึง กิจกรรมในกำรออกแบบ กำรผลิต ส่งมอบสินค้ำ และบริกำร ด้วยคุณภำพที่ลูกค้ำต้องกำร
(ศรีไร จำรุภิญโญ, 2540) โดยยึดหลักให้ควำมสำคัญกับลูกค้ำ ในขณะเดียวกันจะคำนึงถึงผลประโยชน์ของ
ควำมมีส่วนร่วมในองค์กรด้วย ซึ่งพนักงำนทุกคนจะต้องมีควำมเข้ำใจหลักสถิติ และสำมำรถประยุกต์ใช้ ใน
กิจกรรมต่ำงๆได้ เช่น กำรสำรวจ วิจัย พัฒนำ ออกแบบ จัดซื้อ ผลิต ตรวจสอบ กำรตลำด และกิจกรรมอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องทั้งภำยในและภำยนอกองค์กร
1.4.2 ระบบกำรบริหำรงำน TQM (Total Quality Management)
หมำยถึง กำรบริหำรทรัพยำกรด้ำนแรงงำน ทุน ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล ตลอดจน
กำรใช้เทคโนโลยี และองค์ควำมรู้ให้เกิดประโยชน์ ด้วยควำมร่วมมือของทุกคนในองค์กร (เกียรติศักดิ์ จันทร์
แดง, 2549) และมีจุดประสงค์เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำได้อย่ำงดีเยี่ยม หรือกล่ำวง่ำยๆ คือ เป็น
กำรบริหำรธุรกิจเพื่อให้ได้กำไรอย่ำงเป็นธรรม (ศรีไร จำรุภิญโญ, 2540) โดยผ่ำนกำรสร้ำงควำมพึงพอใจให้กับ
บุคลำกรทุกฝ่ำยที่มีส่วนได้เสียกับธุรกิจ ในกำรบริหำรแบบ TQM จะต้องอยู่ภำยใต้ปรัชญำ 3 ประกำร คือ
1. ควำมมีส่วนร่วมจำกบุคลำกรทุกฝ่ำย และทุกระดับทั่วทั้งองค์กร
2. ควำมโปร่งใส คือ กำรบริหำรภำยใต้แนวควำมคิดที่สำมำรถตรวจสอบกลับได้ (Traceability)
โดยไม่มีอุปสรรคจำกหน้ำที่กำรงำน ตำแหน่ง หรือสำยกำรบริหำร
3. กำรตัดสินใจด้วยข้อเท็จจริง (Scientific) อย่ำงมีหลักกำร
ในปั จ จุ บั น อุ ต สำหกรรมของไทยไม่ ส ำมำรถด ำเนิ น กำรควบคุ ม คุ ณ ภำพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก รอย่ ำ งมี
ประสิทธิภำพ มีสำเหตุสำคัญมำจำก
(1) ผู้บริหำรขำดควำมเข้ำใจหลักกำรของ TQM เนื่องจำกขำดทักษะในกำรบริหำรคุณภำพ โดย
มอบหมำยหน้ำที่ให้ผู้จัดกำรด้ำนกำรประกันคุณภำพ หรือฝ่ำยกำรควบคุมคุณภำพทำหน้ำที่แทนซึ่งตนเองไม่มี
ส่ ว นร่ ว ม จึ งทำให้ กำรควบคุม คุณภำพเป็น กิจกรรมของฝ่ ำยควบคุ มคุ ณภำพเท่ ำนั้ น ส่ งผลให้ ไม่ ส ำมำรถ
ดำเนินกำรทั่วองค์กรได้
(2) พนั ก งำนระดั บ กำรจั ด กำรขำดทั ก ษะกำรสอนงำน โดยปกติ พ นั ก งำนระดั บ กำรจั ด กำรใน
อุตสำหกรรมมักเป็นบุคคลที่จบปริญญำตรีจำกสถำบันอุดมศึกษำ ไม่มีประสบกำรณ์ในกำรจัดกำร โดยเฉพำะ
ขำดควำมเข้ำใจในงำน “กำรสอนงำน (Supervise)” ที่เป็นหน้ำที่หลัก จึงทำให้พนักงำนระดับนี้ไม่สำมำรถ
เป็นที่ปรึกษำได้ กล่ำวคืออำจจะเป็นผู้สั่งที่ดีได้แต่ไม่สำมำรถเป็น ผู้สอนที่ดีได้ จึงทำให้สอนงำนไม่ได้เพียงแต่
ดำเนินกำรไปตำมหน้ำที่เท่ำนั้น
(3) กำรขำดสำรสนเทศของพนักงำนระดับกำรจัดกำร ในงำนของพนักงำนระดับ กำรจัดกำรมีควำม
จำเป็นต้องพยำยำมค้นคว้ำข้อเท็จจริงจำกข้อมูลและตรรกะต่ำงๆ แต่ทว่ำพนักงำนระดับนี้ในอุตสำหกรรม
ส่วนมำกจะมีเพียงทักษะ “กำรคำนวณ” และไม่สำมำรถตีควำมหมำยได้ทำให้ไม่สำมำรถเป็นที่ปรึกษำที่ดีได้
1.4.3 ระบบ ISO 9000
เมื่อปี ค.ศ.1987 องค์กรมำตรฐำนระหว่ำงประเทศ (International Organization for Standardization: ISO)
ได้จัดมำตรฐำนเกี่ยวกับระบบคุณภำพและกำรประกันคุณภำพเพื่อใช้เป็นมำตรฐำนโลกมีชื่อว่ำ ISO 9000 Series
ซึ่งมำตรฐำนชุดนี้ระบุถึงข้อกำหนดที่จำเป็นจะต้องมีในระบบคุณภำพ และใช้เป็นบรรทัดฐำนในกำรปฏิบัติเพื่อ
20 กำรควบคุมคุณภำพ

สินค้ำที่ผลิตออกมำมีคุณภำพตำมต้องกำรและสม่ำเสมอ แนวคิดที่สำคัญของ ISO 9000 (ศรีไร จำรุภิญโญ, 2540)


มีดังนี้
1. สำมำรถผลิตสินค้ำ บริกำร ที่มีคุณภำพสม่ำเสมอ
2. สร้ำงควำมมั่นใจให้กับฝ่ำยบริหำรว่ำจะสำมำรถคงไว้ซึ่งคุณภำพที่ดี
3. สร้ำงควำมมั่นใจให้กับผู้ซื้อว่ำจะส่งสินค้ำหรือบริกำรที่มีคุณภำพตำมข้อกำหนด
โดยลักษณะที่สำคัญของ ISO 9000 มีดังนี้
1. เป็นมำตรฐำนเกี่ยวกับระบบงำน มีควำมเชื่อว่ำ “คุณภำพเป็นผลผลิตของระบบงำน”
2. เป็นมำตรฐำนที่เกี่ยวกับทุกแผนกงำน
3. ให้ควำมสำคัญในงำนด้ำนเอกสำร
4. เน้นกำรปฏิบัติตำมข้อกำหนดที่ได้เขียนไว้ในเอกสำร
5. เป็นมำตรฐำนระบบงำนที่เปิดโอกำสให้มีกำรปรับปรุงวิธีปฏิบัติ ขั้นตอนกำรผลิตและมำตรฐำน
กำรทำงำนได้ตลอดเวลำ
มำตรฐำน ISO 9000 จะแจกแจงให้ทรำบถึงควำมจำเป็นในกำรดำเนินตำมนโยบำยของกำรจัดกำร
และกำรประกันคุณภำพ รวมทั้งบ่งบอกควำมสัมพันธ์และควำมแตกต่ำงระหว่ำงแนวคิดและข้อกำหนดต่ำงๆ
ในกำรเลือกใช้มำตรฐำน ISO 9001 ISO 9002 ISO 9003 และ ISO 9004 ดังนั้นผู้ผลิตควรที่จะศึกษำและทำ
ควำมเข้ำใจรำยละเอี ยดขั้นตอนกำรดำเนินกำรอย่ำงละเอียด เพื่อให้ สำมำรถเลื อกองค์ประกอบ ของกำร
ดำเนินกำรที่เหมำะสม ซึ่งจุดประสงค์เพื่อลดค่ำใช้จ่ำยและเป็นกำรเพิ่มผลกำไรด้วย

กิจกรรมระหว่างเรียน
ให้นักศึกษำทำงำนเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5 คน โดยให้ไปเยี่ยมชมองค์กร 1 องค์กรตำมหัวข้อด้ำนล่ำง และจง
อธิบำยตำแหน่ง หน้ำที่กำรทำงำนของพนักงำนในองค์กร และลักษณะกำรบริหำรองค์กรตำมหลักกำรจัดกำร
คุณภำพโดยรวม (TQM)
ก. ธนำคำร ฉ. โรงพยำบำล
ข. มหำวิทยำลัย ช. ห้ำงสรรพสินค้ำ
ค. โรงเรียน ซ. โรงงำน
ง. ร้ำนขำยของชำขนำดใหญ่ ฌ. บริษัทเอกชน
จ. โรงแรม ญ. ห้องสมุดประชำชน
บทที่ 1 บทนำ 21

1.5 คุณภาพของผลิตภัณฑ์
ในกำรสร้ำงควำมพอใจต่อผู้ซื้อ ผู้บริโภค ตลอดจนสังคม (บุคคลที่ 3 ที่มิใช่ผู้ผลิตและผู้ซื้อ) นั้นได้มำจำกกำร
ตอบสนองต่อเงื่ อนไขที่จ ำเป็ น คือ ผลิ ตภัณฑ์ (ทั้งนำมธรรม และรูปธรรม) ตลอดจนกำรตอบสนองต่ อควำม
คำดหมำยด้ำนผลิตภัณฑ์ของลูกค้ำ ได้แก่ คุณลักษณะคุณภำพ (Quality Characteristics) ต้นทุน (Cost) ซึ่งเป็น
ควำมคำดหมำยด้ำนรำคำของผู้ซื้อ และควำมหมำยสุดท้ำยคือ กำหนดกำร (Schedule) ซึ่งเป็นควำมคำดหมำยด้ำน
เวลำส่งมอบ (Delivery) ของผู้ซื้อหรือผู้บริโภค
ดังนั้นกำรปรับปรุงคุณภำพในอีกควำมหมำยหนึ่ง คือ กำรเพิ่มมูลค่ำแก่ผลิตภัณฑ์ในด้ำนคุณลักษณะของ
ผลิตภัณฑ์ (Garvin D.A. อ้ำงอิงในศรีไร จำรุภิญโญ, 2540) ได้ทำกำรวิจัยและจำแนกควำมคำดหมำยเป็น 8
ประกำร (เรียกว่ำมิติ 8 ประกำรของคุณภำพ) ประกอบด้วย
1. สมรรถนะ (Performance)
ควำมคำดหมำยในสมรรถนะ หมำยถึง ควำมคำดหมำยที่ผลิตภัณฑ์สำมำรถทำงำนตำมที่ตั้งไว้หรือไม่
โดยจะกล่ำวถึงหน้ำที่หลักของผลิตภัณฑ์ เช่น ในกรณี เครื่องรับโทรทัศน์ จะหมำยถึง ควำมคำดหมำยด้ำน
ควำมคมชัดของภำพ ควำมไพเรำะของเสียงที่ปรำกฏ เป็นต้น สำหรับในกำรบริกำร เช่น ภัตตำคำร ธนำคำร
จะหมำยถึง ควำมถูกต้องในกำรให้บริกำร ควำมรวดเร็วในกำรบริกำร หรือควำมคำดหมำยที่ไม่ต้องรอคอย
เป็นต้น
2. หน้ำที่เสริม (Feature)
ควำมคำดหมำยในหน้ำที่เสริม หมำยถึง หน้ำที่ด้ำนรองของผลิตภัณฑ์ (แม้จะขำดหำยไป ผลิตภัณฑ์ยังคง
ใช้ งำนได้ เพี ยงแต่ว่ ำไม่ ตรงกั บควำมคำดหมำยของลู กค้ ำ) เช่น ในกรณี เครื่ องรับโทรทั ศน์ อำจจะเป็ นควำม
คำดหมำยด้ำนกำรรับระบบควำมคมชัดของภำพแบบ 1080 HD (High Definition) เป็นต้น ในงำนบริกำร เช่น
ภัตตำคำร อำจหมำยถึง กำรมีบริกำรน้ำดื่มฟรี กำรมีบริกำรผ้ำเย็นฟรี เป็นต้น แต่โดยทั่วไปแล้วกำรจำแนกว่ำ
คุณลักษณะคุณภำพใดเป็นสมรรถนะหรือหน้ำที่เสริมค่อนข้ำงลำบำก เพรำะเครื่องรับโทรทัศน์ด้ำนกำรรับระบบ
ควำมคมชัดของภำพแบบ 1080 HD อำจจะเป็นสมรรถนะของลูกค้ำบำงรำย ในขณะที่ลูกค้ำบำงรำยอำจจัดเป็น
หน้ำที่เสริมก็ได้ เป็นต้น
3. ควำมไว้วำงใจ (Reliability)
ควำมคำดหมำยประกำรนี้จะหมำยถึง ควำมถี่ที่ผลิตภัณฑ์เกิดข้อบกพร่องขึ้นมำ ซึ่งจะประเมินได้ด้วย
ควำมน่ำจะเป็น ที่ผลิ ตภัณฑ์จ ะเกิดข้อบกพร่องช่วงเวลำที่กำหนด เช่น ในกรณีเครื่องรับโทรทัศน์ อำจจะ
ประเมินอยู่ในรูปของเวลำโดยเฉลี่ยระหว่ำงเกิดข้อบกพร่อง (Mean Time Between Failure: MTBF)
4. กำรตรงต่อมำตรฐำนหรือข้อกำหนด (Conformance)
ควำมคำดหมำยในลักษณะคุณภำพข้อนี้ จะหมำยควำมถึง ผลิตภัณฑ์เป็นไปตำมที่ผู้ออกแบบมีควำม
ตั้งใจหรือไม่ โดย Garvin D.A. ได้กำหนดว่ำกำรตรงต่อมำตรฐำนจะแบ่งออกได้ 2 มุมมอง คือ มุมมองแรกเป็น
มุมมองของประเทศทำงตะวันตก หมำยถึง กำรตรงต่อลักษณะหรือข้อกำหนดเฉพำะที่ผู้ออกแบบได้กำหนดไว้
สำหรับมุมมองอีกประกำรหนึ่งของฝั่งตะวันออก เป็นผลงำนวิจัยของวิศวกรไฟฟ้ำชำวญี่ปุ่น ดร.เกนอิจิ ทำกุชิ
(Genichi Taguchi) โดยกำหนดให้ตรงต่อระดับควำมสม่ำเสมอ (Degree of Uniformity) ของคุณลักษณะ
คุณภำพผลิตภัณฑ์นั้นเอง ซึ่งในงำนบริกำรจะพิจำรณำได้จำกหนังสือรับรองจำกสถำบันต่ำงๆ เช่น มำตรฐำน
ของสมำคมโรงแรม มำตรฐำนของสำนักงำนอำหำรและยำ (อย.) เป็นต้น
22 กำรควบคุมคุณภำพ

5. ควำมทนทำน (Durability)
ควำมคำดหมำยในคุ ณลั ก ษณะคุณภำพข้ อนี้ จะเป็นกำรประเมิ นถึง อำยุ กำรใช้ งำนของผลิ ต ภัณ ฑ์
ทำงด้ำนกำยภำพและด้ำนเศรษฐศำสตร์ (เวลำที่ใช้งำนแล้วอย่ำงคุ้มค่ำ ) ถ้ำหำกผลิตภัณฑ์นั้นเสียแล้วต้อง
เปลี่ยน เช่น กรณีหลอดไฟฟ้ำก็สำมำรถประเมินคุณลักษณะด้ำนควำมทนทำนได้ง่ำย แต่อย่ำงไรก็ตำมมีหลำย
กรณีที่ผ ลิตภัณฑ์สำมำรถซ่อมบำรุง ได้ ในสถำนกำรณ์นี้จะทำให้ ประเมินคุณลั กษณะด้ำนควำมทนทำนได้
ค่อนข้ำงยำก เพรำะว่ำคุณภำพนี้จะมีควำมสัมพันธ์คุณลักษณะด้ำนควำมไว้วำงใจ (Reliability) ของผลิตภัณฑ์
ด้วย สำหรับควำมหมำยควำมคำดหมำยในกำรบริกำร จะหมำยถึงควำมสมบูรณ์ (Completeness) ของกำร
บริกำร
6. ควำมสำมำรถในกำรบริกำร (Serviceability)
ควำมคำดหมำยในด้ำนควำมสำมำรถในบริกำรนี้จะหมำยถึง ควำมง่ำยในกำรซ่อมบำรุงผลิตภัณฑ์
ค่ำใช้จ่ำยในกำรซ่อมบำรุง เวลำในกำรซ่อมบำรุง ตลอดจนควำมสุภำพและควำมเป็นมิตรในกำรให้บริกำร ฯลฯ
โดยควำมคำดหมำยข้อ นี้จะเห็นได้ว่ำ ลูกค้ำ ไม่ได้มีควำมคำดหมำยเพียงสมรรถนะหรืออำยุกำรใช้งำนของ
ผลิตภัณฑ์เท่ำนั้น แต่ยังคำดหมำยถึงว่ำหำกมีข้อบกพร่องแล้วจะมีกำรบริกำรอย่ำงไร ในอุตสำหกรรมกำร
บริกำรก็อำจพิจำรณำได้ทำนองเดียวกัน เช่น ระยะเวลำในกำรแก้ไขค่ำสำธำรณูปโภคให้ถูกต้องหลั งจำกตรวจ
พบว่ำคำนวณผิดพลำด เป็นต้น
7. สุนทรียภำพ (Aesthetics)
ควำมคำดหมำยใน 6 ประกำรแรกที่กล่ำวมำแล้ ว ลู กค้ำจะตัดสินใจแบบภำวะวิสั ย คือ สำมำรถ
ประเมินผลด้วยทดสอบหรือตรวจสอบได้ แต่สำหรับควำมคำดหมำยใน 2 ประกำรหลัง คือ สุนทรียภำพและ
ชื่อเสียงนี้ ลูกค้ำจะตัดสินใจแบบอัตวิสัยที่จะขึ้นอยู่กับผู้ใช้ผลิตภัณฑ์แต่ละคน โดยควำมหมำยแล้วสุนทรียภำพ
จะหมำยควำมถึง ควำมดูดี ควำมรู้สึกดี เสียงที่ดี กลิ่นที่ดี รสชำติที่ดี ฯลฯ ของผลิตภัณฑ์ในสำยตำของผู้ใช้
ซึ่งจะเป็นกำรคำดหมำยด้ำนควำมรู้สึกของลูกค้ ำและโดยปกติไม่สำมำรถวัดผลได้ แต่จะสำมำรถประเมินได้
ด้วยบุคลำกรที่ผ่ำนกำรรับรองแล้วว่ำมีควำมสำมำรถในกำรแยกแยะควำมแตกต่ำงในคุณภำพด้ำนสุนทรียภำพ
ได้ เช่น พนั กงำนชิมอำหำรในอุตสำหกรรมอำหำร พนักงำนตรวจสอบด้ ำนคุณภำพด้ำนควำมเรียบร้อ ย
(Appearance) ของผลิตภัณฑ์ หรือกรรมกำรตัดสินในกำรประกวดนำงสำวไทย เป็นต้น
8. ควำมมีชื่อเสียง (Reputation)
ควำมคำดหมำยประกำรสุดท้ำยด้ำนคุณลักษณะคุณภำพนี้ มีผลจำกกำรที่ลูกค้ำไม่สำมำรถประเมิน
คุณภำพทั้ง 7 ประกำรที่ได้กล่ำวมำแล้ว อย่ำงครบถ้วน จนมีควำมจำเป็นต้องพิจำรณำจำกคุณภำพที่รู้จัก
(Perceived Quality) คือ ยี่ห้อ (Brand) หรือควำมมีชื่อเสียงเป็นสำคัญ ซึ่งโดยปกติแล้วลูกค้ำจะพิจำรณำ
คุณลักษณะคุณภำพข้อนี้จำกคุณภำพในอดีตที่สำธำรณชนได้รับรู้ และลูกค้ำจะให้ควำมสนใจต่อคุณลักษณะ
คุณภำพข้อนี้เป็นประกำรแรกเสมอ จึงพิจำรณำคุณลักษณะคุณภำพข้ออื่นๆ ต่อไป
บทที่ 1 บทนำ 23

1.6 การลดต้นทุนการผลิต
ปรียำวดี ผลอเนก (2556) แนวคิดในกำรดำเนินธุรกิจนั้นก็คือลูกค้ำต้องมำก่อนเสมอ เนื่องจำกลูกค้ำเป็นผู้
จ่ำยค่ำจ้ ำงผ่ ำนกำรซื้อสิ น ค้ำและบริ กำรให้ กับธุรกิจ ซึ่งกระบวนกำรที่จะทำให้ เกิดผลส ำเร็จ คือ แนวคิด
กระบวนกำรถัดไปคือลูกค้ำของเรำ (The next process is customer) ซึ่งเป็นกำรต่อยอดแนวคิดลูกค้ำต้อง
มำก่อน อย่ำงไรก็ตำมทุกๆ คนในองค์กรล้วนเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนกำรนี้ และทุกคนในองค์กรต่ำงมีลูกค้ ำ
ภำยในด้วยกันทั้งสิ้น ลูกค้ำทุกคนย่อมต้องกำรได้รับควำมพึงพอใจในด้ำนคุณภำพ ไม่ใช่เฉพำะลูกค้ำภำยนอก
เท่ำนั้น แต่เป็นลูกค้ำในห่วงโซ่อุปทำนตั้งแต่ต้นน้ำจนถึง ปลำยน้ำ ดังนั้นเรำจึงควรที่จะออกแบบและจัดกำร
สินค้ำบริกำรเพื่อให้ลูกค้ำเกิดควำมพึงพอใจในด้ำนคุณภำพอย่ำงสมบูรณ์แบบ ส่งผลให้ลูกค้ำเกิดควำมภักดีใน
ตรำสินค้ำและกลับมำซื้อใหม่อีกครั้ง
1.6.1 ต้นทุนคุณภำพ (Cost of Quality: COQ)
ผลรวมของค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นในองค์ก รเพื่อกำรป้องกันกำรผลิตสินค้ำที่ไม่มีคุณภำพ แบ่งออกเป็น
3 แบบ (Ramasamy อ้ำงอิงในปรียำวดี ผลอเนก, 2556: 190) คือ
1. ต้นทุนกำรป้องกัน (Prevention Costs)
2. ต้นทุนกำรประเมินคุณภำพ (Appraisal Costs)
3. ต้นทุนควำมเสียหำย (Failure Costs)
โดยต้นทุนคุณภำพจึงอธิบำยได้ตำมแผนภำพ PAF Model ดังต่อไปนี้

Prevention Appraisal

Failure
Internal External

รูปที่ 1.5 PAF Model


(ที่มำ: ปรียำวดี ผลอเนก, 2556)

จำกรูปที่ 1.5 ต้นทุนกำรป้องกันจะมีค่ำใช้จ่ำยในกำรวำงแผนที่เกิดขึ้นโดยองค์กร เพื่อให้แน่ใจว่ำไม่


มีข้อบกพร่องใดเกิดขึ้นในกระบวนกำรขั้นตอน เช่น กำรออกแบบ กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ กำรผลิต และกำรส่ง
มอบผลิตภัณฑ์หรือบริกำร ต้นทุนป้องกันที่เกิดขึ้น นี้ก็เพื่อลดกำรตรวจสอบเช่นเดียวกับต้น ทุนกำรประเมิน
คุณภำพ ซึ่งจะต้องคำนึงถึงกำรนำกำรจัดกำรคุณภำพโดยรวม (TQM) มำใช้ และถือเป็นต้นทุนกำรป้องกัน
อย่ ำงไรก็ตำมต้ น ทุนกำรป้องกัน ได้รวมถึงกำรให้ กำรศึกษำและกำรฝึ กอบรมพนักงำน ควำมมุ่งมั่นในกำร
24 กำรควบคุมคุณภำพ

ปรับปรุงกระบวนกำร กำรควบคุมกระบวนกำร กำรทำวิจัยตลำด คุณสมบัติผลิ ตภัณฑ์ กำรทดสอบตลำด


กำรบำรุงรักษำเชิงป้องกัน กำรสอบวัดเครื่องมือ กำรตรวจสอบ (Audit) พนักงำนฝ่ำยประกันคุณภำพ (QA)
เป็นต้น
ต้นทุนกำรประเมินคุณภำพเกิดจำกกำรตรวจสอบ หรือประเมินสินค้ำและบริกำรในขั้นตอนต่ำงๆ
ระหว่ำงกำรผลิตหรือกำรส่งมอบ ต้นทุนนี้เกิดจำกขำดควำมมั่นใจในคุณภำพของผลิตภัณฑ์หรือบริกำรอย่ำงใด
อย่ำงหนึ่ง อันเนื่องมำจำกวัตถุดิบที่เข้ำมำในกระบวนกำร เช่น ต้องมีกำรตรวจสอบ (Inspected) วัตถุดิบที่
รับเข้ำมำ เนื่องจำกฝ่ำยรับวัตถุดิบ (Receiver) ไม่มั่นใจในคุณภำพของวัตถุดิบที่รับเข้ำมำ และมีกำรตรวจสอบ
ในระหว่ำงกระบวนกำรผลิตหลำยครั้ง เนื่องจำกคุณภำพของกระบวนกำรผลิตมีควำมน่ำสงสัย ดังนั้นองค์กร
ควรปรับปรุงคุณภำพในผู้ผลิตหรือซัพพลำยเออร์ทำให้ต้นทุนกำรตรวจสอบลดลงได้ อย่ำงไรก็ตำมต้นทุนกำร
ประเมินคุณภำพได้รวมถึงกำรตรวจสอบวัตถุดิบนำเข้ำ กำรตรวจสอบผลิตภั ณฑ์ภำยใน กำรประเมินซัพพลำย
เออร์ กำรตรวจสอบระหว่ำงกระบวนกำรผลิต และกำรตรวจสอบผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ำย
ต้นทุนควำมเสียหำยเกิดขึ้นโดยองค์กรเอง เนื่องจำกผลิตภัณฑ์หรือกำรบริกำรไม่ตรงตำมข้อกำหนด
และผลิตภัณฑ์นั้นต้องนำกลับมำแก้ไข ต้นทุนควำมเสียหำยมีสำเหตุมำจำกในองค์กรขำดกำรควบคุมผลิตภัณฑ์
ที่มีควำมบกพร่อง ซึ่งนำไปสู่ควำมเสื่อมเสียชื่อเสียงและควำมภักดีต่อสินค้ำ หำกลูกค้ำ 1 คนไม่พึงพอใจใน
สินค้ำหรือบริกำรขององค์กรก็จะบอกต่อ ทำให้เกิดควำมสูญเสียลูกค้ำในปัจจุบันรวมถึงลูกค้ำในอนำคต
1.6.2 ประเภทของค่ำใช้จ่ำยคุณภำพ
ค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นในกำรควบคุมคุณภำพมี 4 ประเภท ดังแสดงในรูปที่ 1.6 ได้แก่ ค่ำใช้จ่ำยในกำร
ป้องกัน ค่ำใช้จ่ำยในกำรประเมินคุณภำพ ค่ำควำมเสียหำยภำยใน และค่ำควำมเสียหำยภำยนอก (Evans and
Lindsay อ้ำงอิงในปรียำวดี ผลอเนก, 2556: 191) โดยมีรำยละเอียดดังนี้
1.6.2.1 ค่ำใช้จ่ำยในกำรป้องกัน
คือ ต้นทุน ที่ต้องจ่ ำยเพื่อใช้ป้องกันเหตุอันที่จะทำให้ ระดับของคุณภำพของสิ นค้ำและ
บริกำรไม่ได้ตำมข้อกำหนด ได้แก่
1. ค่ำใช้จ่ำยในกำรวำงแผนคุณภำพ ได้แก่ เงินเดือนในกำรจ้ำงกลุ่มวำงแผนควบคุมคุณภำพและ
ทีมแก้ไขปัญหำ กำรพัฒนำกระบวนกำรทำงำนใหม่ กำรออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ และกำรศึกษำควำมไว้วำงใจในตัว
ผลิตภัณฑ์
2. ค่ำใช้จ่ำยในกำรควบคุมระบบกำรทำงำน ซึ่งรวมไปถึงค่ำใช้จ่ำยในกำรวิเครำะห์กระบวนกำร
ผลิต และแผนกำรปรับปรุงกระบวนกำรผลิต
3. ค่ำใช้จ่ำยในกำรฝึกอบรมและกำรจัดกำรทั่วไป ซึ่งรวมถึงกำรฝึกอบรมทั้งภำยในและภำยนอก
องค์กร ค่ำใช้จ่ำยทีมงำนในกำรฝึกอบรม และค่ำใช้จ่ำยอื่นๆ
1.6.2.2 ค่ำใช้จ่ำยในกำรประเมินคุณภำพ
เพื่อควำมมั่นใจในสินค้ำและบริกำรที่ผลิตออกมำ และให้ได้ตำมที่มำตรฐำนกำหนด
1. ค่ำใช้จ่ำยกำรตรวจสอบ ซึ่งเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจสอบวัตถุ ดิบนำเข้ำ งำนระหว่ำงทำ
(Work in Process) และสินค้ำสำเร็จรูป รวมไปถึงต้นทุนอุปกรณ์และเงินเดือนของพนักงำนด้วย
2. ค่ำใช้จ่ำยกำรซ่อมบำรุงเครื่องมือ เนื่องมำจำกกำรวัด (Calibration) และกำรซ่อมเครื่องมือ
วัดต่ำงๆ
บทที่ 1 บทนำ 25

3. ค่ำใช้จ่ำยกำรวัดและกำรควบคุม รวมไปถึงเวลำที่คนงำนได้ใช้วิเครำะห์คุณภำพกำรวัด
1.6.2.3 ค่ำควำมเสียหำยภำยใน
คือ ค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นเมื่อสินค้ำหรือบริกำรนั้นได้ถูกผลิตออกมำเรียบร้อยแล้ว และไม่
เป็นไปตำมข้อกำหนดแต่บริษัทสำมำรถพบก่อนที่สินค้ำจะสู่มือผู้บริโภค ได้แก่
1. ค่ำใช้จ่ำยกำรกำจัดทิ้งและกำรแก้ไข รวมไปถึงวัตถุดิบ แรงงำน และค่ำดำเนินงำน
2. ค่ำใช้จ่ำยในกำรแก้ไข เกิดจำกกำรใช้เวลำในกำรค้นหำสำเหตุของควำมเสียหำย และ
กำรแก้ไขปัญหำในกำรผลิต
3. ควำมเสียหำยของกระบวนกำร เช่น กำรไม่ได้วำงแผนหยุดเครื่องจักรในกระบวนกำร
ผลิต กำรไม่ได้วำงแผนในกำรซ่อมบำรุง
1.6.2.4 ค่ำควำมเสียหำยภำยนอก
ค่ำใช้จ่ำยเมื่อผลิตสินค้ำที่บกพร่องออกมำแล้ว และสินค้ำนั้นสำมำรถหลุดกำรตรวจสอบ
จนถึงมือลูกค้ำแล้วก่อให้เกิดควำมเสียหำย คิดเป็นค่ำใช้จ่ำยขององค์กร ได้แก่
1. ค่ำใช้จ่ำยในกำรรับข้อร้องเรียนของลูกค้ำและกำรคืนสินค้ำ รวมถึงกำรทำใหม่เมื่อมีกำร
นำสินค้ำมำส่งคืน กำรยกเลิกคำสั่งซื้อ และกำรขนส่งสินค้ำแบบ Premium เป็นต้น
2. ค่ำใช้จ่ำยกำรเรียกคืนผลิตภัณฑ์และกำรรับประกันคุณภำพ รวมไปถึงค่ำใช้จ่ำยในกำร
ซ่อมแซม หรือรับเปลี่ยนสินค้ำ
3. ค่ำใช้จ่ำยอันเป็นหนี้สินจำกสินค้ำ ซึ่งเป็นผลจำกกำรปฏิบัติตำมกฎหมำย เนื่องมำจำก
กำรทำข้อตกลง

ค่ำใช้จ่ำยในกำรป้องกัน

ค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นใน ค่ำควำมเสียหำยที่
กำรควบคุมคุณภำพ เกิดขึ้นทั้งภำยใน
ขององค์กร และภำยนอก

ค่ำใช้จ่ำยในกำรประเมิน

รูปที่ 1.6 ค่ำใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นในกำรควบคุมคุณภำพ


26 กำรควบคุมคุณภำพ

1.6.3 กำรลดต้นทุนแห่งคุณภำพ
ในกำรลดต้นทุนแห่งคุณภำพมีกำรดำเนินกำร (Ramasamy อ้ำงอิงในปรียำวดี ผลอเนก, 2556: 193)
ดังนี้
1.6.3.1 กำรลดต้นทุนกำรป้องกัน
ทุกๆ กิจ กรรมที่ไ ด้ดำเนินกำรเพื่ อป้องกันเหตุอันที่ ทำให้ ระดับคุณภำพของสิ นค้ำหรื อ
บริกำรไม่ได้ตำมที่กำหนดนั้น จะต้องมีกำรวำงแผนล่วงหน้ำเพื่อหลีกเลี่ยงควำมสูญเปล่ำระหว่ำงกระบวนกำร
ผลิ ต ผู้ บ ริ ห ำรระดับ สู งจะต้ องอุ ทิศ เวลำเพื่ อ ป้อ งกั นและแก้ ไขปั ญหำเหล่ ำนี้ ซึ่ งกำรก ำหนดขั้น ตอนกำร
ดำเนินกำรให้เรียบร้อยนั้น ควรมีระบบเอกสำรที่มีคุณภำพและมีกำรวำงแผนไว้ล่วงหน้ำ
หำกนโยบำยเรื่องเอกสำรและขั้นตอนกำรทำงำนต่ำงๆ ครบถ้วนแล้ว พนักงำนจะสำมำรถ
ปฏิบัติตำมอย่ำงเคร่งครัด ในที่นี้ ต้นทุนป้องกันหมำยถึง ค่ำใช้จ่ำยเพื่อป้องกันเหตุอันที่จะทำให้ระดับคุ ณภำพ
สินค้ำและบริกำรไม่ได้ตำมที่กำหนด ขณะเดียวกันบริษัทไม่ควรลังเลที่จะปรับปรุงกระบวนกำรทำงำนและ
ลดควำมสูญเปล่ำจำกกำรทำงำนลงด้วย
1.6.3.2 กำรลดต้นทุนกำรประเมินคุณภำพ
ในกำรตรวจสอบเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับกำรประเมินผู้จำหน่ำยรำยใหม่ กระบวนกำรทำงำน
ใหม่ๆ หรือสำยกำรผลิตใหม่ ในกำรตรวจสอบนั้นต้องอำศัยข้อมูลหลำยๆ อย่ำงประกอบด้วยกัน ข้อมูลเหล่ำนี้
ควรจะใช้ให้เป็นประโยชน์แก่องค์กรในกำรลดต้นทุนในอนำคต ซึ่งผู้จำหน่ำยรำยใหม่ที่ต้องผ่ำนกำรรับรอง
คุณสมบัติจำกบริษัทนั้นจะต้องถูกตรวจสอบงำน 100% เต็ม และกำรสุ่มตัวอย่ำงเพื่อกำรตรวจสอบนั้นควรจะ
ลดจำนวนลงเรื่อยๆ เพื่อเพิ่มระดับควำมมั่ นใจให้กับบริษัทด้วย นอกจำกนี้ บริษัทควรจะเสำะหำวิธีกำรลด
ต้นทุนในกำรตรวจสอบให้เพิ่มมำกขึ้น ในขณะเดียวกันก็ควรที่จะส่งเสริมซัพพลำยเออร์ให้รักษำระดับกำร
ท ำงำน พร้ อ มทั้ ง ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภำพในกำรด ำเนิ น งำนของเขำเพิ่ ม มำกขึ้ น ซึ่ ง บริ ษั ท ควรจะท ำอย่ ำ งเต็ ม
ควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมูลเรื่องกำรตรวจสอบหน้ำงำน เพื่อนำมำปรับปรุงคุณภำพและลดควำมต้องกำรใน
กำรตรวจสอบลง ต้นทุนเรื่องกำรตรวจสอบที่ดีควรจะลดต้นทุนกระบวนกำรผลิตที่อิ่มตัวลงด้วย
1.6.3.3 กำรลดต้นทุนควำมเสียหำย
กำรผลิต กำรส่งมอบสินค้ำที่มีตำหนิ หรือกำรบริกำรที่มีควำมบกพร่องนั้นถือว่ำเป็นควำม
สูญเปล่ำทั้งสิ้น ซึ่งกำรควบคุมคุณภำพนั้นควรจะทำตั้งแต่ครั้งแรกและทำสม่ำเสมอทุกๆ ครั้ง เพื่อที่จะได้ไม่
ต้องปฏิเสธสินค้ำหรือบริกำรที่ไม่ผ่ำนมำตรฐำนตั้งแต่เริ่มแรก จะทำให้กระบวนกำรผลิตได้รับกำรปรับปรุงให้มี
ประสิทธิภำพมำกขึ้น สินค้ำที่มีปัญหำไม่ผ่ำนมำตรฐำนนั้นควรมีกำรระบุปัญหำที่เกิดขึ้นและหำทำงขจัดปัญหำ
นั้นทิ้ง หำกระบบกำรผลิตมีกำรกำหนดตัวชี้วัดที่เป็นมำตรฐำนแล้ว ระดับควำมเชื่อมั่นในกำรผลิตสินค้ำที่มี
คุณภำพก็จ ะสูงขึ้น ดังนั้น กำรมุ่งเน้นเรื่องคุณภำพจึงควรกำหนดระบบควบคุมกำรผลิ ต โดยนำระบบกำร
ควบคุมกระบวนกำรแบบอัตโนมัติมำใช้ควบคุม กำรผลิตเพื่อไม่ให้มีของเสีย (Scrap) และงำนแก้ไข (Rework)
เป็นจำนวนมำก ซึ่งงำนแก้ไขนั้นจะลดคุณค่ำของสินค้ำลงไป และเพิ่มควำมยุ่งยำกในกำรทำงำน ส่งผลให้เป็น
ปัญหำเรื่องค่ำใช้จ่ำยในกำรเป็นค่ำต้นทุนกำรเก็บรักษำสินค้ำมำกขึ้น
บทที่ 1 บทนำ 27

1.6.3.4 ต้นทุนแฝง
มีต้นทุนมำกมำยในกำรผลิตที่ไม่สำมำรถระบุหรือจำแนกแจกแจงออกมำได้ ซึ่งสิ่งเหล่ำนี้
ถือว่ำเป็นต้นทุนแฝง ซึ่งหมำยถึง ต้นทุนควำมเสียหำยที่เกิดขึ้นกับลูกค้ำ ต้นทุนเรื่องสิน ค้ำเสียชื่อเสียง และ
ต้นทุนเรื่องควำมไม่พึงพอใจของลูกค้ำ ต้นทุนเหล่ำนี้จะมีผลกับธุรกิจโดยตรง ต้นทุนแฝงนี้จะขจัดได้ด้วยกำร
กำจัดต้นทุนควำมเสียหำยภำยนอกออกไป
1.6.4 โมเดลต้นทุนคุณภำพในภำวะที่ดีที่สุดของจูรำน
ปรียำวดี ผลอเนก (2556) ในรูปที่ 1.7 โมเดลต้นทุนคุณภำพในภำวะที่ดีที่สุดของจูรำน พบว่ำเมื่อ
ระดับคุณภำพเพิ่มขึ้น จำนวนของเสียในกำรผลิตสินค้ำหรือบริกำรก็จะลดลง ต้นทุนของควำมไม่สอดคล้องกัน
ในเรื่องของคุณภำพ หรือต้นทุนควำมเสียหำยก็จะลดลงตำมระดับของกำรปรับปรุงคุณภำพ ส่วนระดับกำร
ปรับปรุงคุณภำพจะเพิ่มขึ้นก็ต่อเมื่อต้นทุนในเรื่องควำมสอดคล้องกันของคุณภำพเพิ่มขึ้น (ต้นทุนป้องกันและ
ต้นทุนประเมินคุณภำพ) ในรูปที่ 1.7 ได้แสดงเรื่องคุณภำพ 100% ของต้นทุนคุณภำพรวม ซึ่งเป็นต้นทุนที่อยู่
ในภำวะที่ดีที่สุดโดยในภำพจะแสดงกำรเพิ่มของเสียจำกกำรผลิตด้วย

ต้นทุนของดีต่อ ต้ นทุนคุณภาพรวม
หน่วยผลิตภัณฑ์
ต้ นทุนความ
เสียหาย ต้นทุนกำรประเมิน+ต้นทุนกำรป้องกัน

ของเสีย 0% ระดับคุณภำพ (q) ของดี 100%

รูปที่ 1.7 โมเดลต้นทุนคุณภำพในภำวะที่ดีที่สุดของจูรำน


(ที่มำ: Ramasamy อ้ำงอิงในปรียำวดี ผลอเนก, 2556: 195)

ณ ระดับต้นทุนรวมต่ำสุดนั้น ต้นทุนจะถูกใช้ไปในเรื่องของควำมสอดคล้องในด้ำนคุณภำพภำยใต้
เส้นสภำวะที่ดีที่สุดของคุณภำพ (Optimum) ที่อยู่เส้นล่ำงสุดซึ่งผลตอบแทนจะสูง ส่วนเส้นที่อยู่เหนือขึ้นไป
ผลตอบแทนจะต่ำ โดยเส้นสภำวะที่ดี ที่สุดของคุณภำพจะเกิดขึ้น ณ ระดับคุณภำพ (q) < 100% ดังแสดงใน
รูปที่ 1.8
28 กำรควบคุมคุณภำพ

ต้นทุนควำม
เสียหำย ต้นทุนคุณภำพรวม
ต้นทุนของดีต่อ
ต้นทุนกำรประเมิน +
หน่วยผลิตภัณฑ์
ต้นทุนกำรป้องกัน

ของเสีย 0% ของดี 100%


ระดับคุณภำพ (q)

รูปที่ 1.8 คุณภำพในภำวะที่ดีที่สุดกับของเสียเป็นศูนย์


(ที่มำ: Ramasamy อ้ำงอิงในปรียำวดี ผลอเนก, 2556: 193)

จำกรูปที่ 1.8 ต้นทุนคุณภำพต่ำที่สุดเกิดขึ้น ณ ระดับคุณภำพ 100% แนวคิดนี้คือ ระดับคุณภำพ


ซิกซ์ซิกมำ (Six Sigma) เข้ำใกล้ 100%

1.7 สรุป
1. คุณภำพ หมำยถึง กำรผลิตสิ่งที่มีควำมเพียงพอต่อควำมต้องกำรของลูกค้ำ ทั้งในสิ่งที่จับต้องได้และสิ่ง
ที่จับต้องไม่ได้ ซึ่งในกำรควบคุมกำรผลิตสินค้ำและบริกำร เพื่อให้ได้รับกำรยอมรับและควำมน่ำเชื่อถือจำก
ลูกค้ำจะต้องดำเนินตำมขั้นตอนดังนี้
(1) กำหนดมำตรฐำนกำรผลิตให้แน่นอนและชัดเจน โดยมำตรฐำนที่กำหนดนั้นต้องเกิดจำกควำมพอใจ
ของลูกค้ำ
(2) กำหนดกำรจัดกำรและบริหำรกำรผลิตของโรงงำน เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพระหว่ำงผู้บริหำรและ
ผู้ปฏิบัติงำน โดยให้ผู้ปฏิบัติงำนแสดงควำมคิดเห็นเพื่อแก้ปัญหำในกำรดำเนินกำร หรือเป็นกำรป้องกันควำม
สูญเปล่ำชนิดที่ 8
(3) ให้กำรอบรมควำมรู้กำรปฏิบัติงำน และเทคนิคในกำรพัฒนำคุณภำพแก่คนงำน อีกทั้งปลูกจิตสำนึก
ด้ำนกำรควบคุมคุณภำพ ไม่ให้มีของเสียออกไปสู่ลูกค้ำ
(4) กำรตรวจสอบ ทดสอบ แก้ไขปรับแต่งอย่ำงจริงจัง ก่อนดำเนินกำรส่งต่อกระบวนกำร รวมไปถึง
ออกจำหน่ำยสู่ลูกค้ำ
(5) ปรับปรุงระดับคุณภำพผลิตภัณฑ์ให้เป็นมำตรฐำน และตรงตำมควำมต้องกำรของตลำด อีกทั้งให้
เกิดควำมพอใจทั้งด้ำนคุณภำพ รำคำ และบริกำรทั้งก่อนกำรขำยและหลังกำรขำยต่อผู้บริโภค
นอกจำกนี้มุมมองของคุณภำพในกำรผลิตสินค้ำให้แก่ลูกค้ำ ได้แก่ ประสิทธิภำพ คุณสมบัติควำมน่ำเชื่ อถือ
ควำมสอดคล้อง ควำมทนทำน กำรให้บริกำร สุนทรียภำพ ควำมปลอดภัย และกำรรับรู้อื่นๆ ส่วนมุมมองด้ำนกำร
ให้บริกำรลูกค้ำ ได้แก่ เวลำและควำมทันเวลำ ควำมเหมำะสม ควำมสุภำพ ควำมคงเส้นคงวำ กำรเข้ำถึงและควำม
สะดวกสบำย เป็นต้น
บทที่ 1 บทนำ 29

2. กำรดำเนินกำรคุณภำพ คือ กำรจัดกำรควำมต้องกำรของลูกค้ำ กำรเข้ำใจควำมพึงพอใจของลูกค้ำ และ


สำมำรถตอบสนองต่อควำมคำดหมำยได้ ส่งผลให้ ต้องมีระบบกำรบริหำรคุณภำพ ได้แก่ ระบบกำรบริหำรงำน
CWQC ระบบกำรบริหำรงำน TQM และระบบกำรบริหำรงำน ISO 9000 เป็นต้น
3. ต้นทุนคุณภำพ (Cost of Quality: COQ) ประกอบด้วย
(1) ต้นทุนกำรป้องกัน (Prevention Costs) คือ ต้นทุนที่ใช้ในกำรวำงแผนเพื่อให้แน่ใจว่ำไม่มีข้อบกพร่อง
ใดๆ เกิดขึ้นในกระบวนกำรตั้งแต่เริ่มผลิต จนเป็นผลิตภัณฑ์ส่งถึงมือลูกค้ำ โดยกำรลดต้นทุนในด้ำนนี้ควรจะเน้น
เรื่องกำรจัดกำรเอกสำรและขั้นตอนกำรทำงำนต่ำงๆ อย่ำงครบถ้วน เพื่อให้พนักงำนปฏิบัติงำนอย่ำงมีระบบ
(2) ต้นทุนกำรประเมินคุณภำพ (Appraisal Costs) คือ ต้นทุนที่เกิดจำกกำรตรวจสอบ กำรประเมินสินค้ำ
หรือบริกำรในขั้นตอนต่ำงๆ ในระหว่ำงกำรผลิตหรือกำรส่งมอบ ซึ่งกำรลดต้นทุนด้ำนนี้ควรเน้นกำรรักษำระดับกำร
ทำงำนด้ำนคุณภำพของซัพพลำยเออร์ให้มีควำมสม่ำเสมอ ส่งผลให้ต้นทุนที่ใช้ในกำรตรวจสอบหรือประเมินน้อยลง
(3) ต้นทุนควำมเสียหำย (Failure Costs) คือ ต้นทุนที่เกิดจำกผลิตภัณฑ์ หรือกำรบริกำรไม่ตรงตำม
ข้อกำหนด และต้องนำกลับมำแก้ไข ซึ่งกำรลดต้นทุนด้ำนนี้ควรที่จะกำหนดระบบควบคุมกำรผลิต เช่นนำระบบ
กำรควบคุมกระบวนกำรแบบอัตโนมัติมำใช้ กำรใช้ระบบป้องกันด้วยสำยตำ (Visual Control) หรือกำรนำระบบ
ป้องกันควำมผิดพลำด (Fool Proof) มำใช้ เพื่อป้องกันของเสียที่ก่อนเข้ำสู่กระบวนกำรผลิต
30 กำรควบคุมคุณภำพ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1

1. จงอธิบำยควำมหมำยของหัวข้อต่อไปนี้
1.1 คุณภำพ
1.2 กำรควบคุมคุณภำพ
1.3 กำรตรวจสอบคุณภำพ
2. จงบอกลักษณะคุณภำพแบ่งได้เป็นกี่ชนิด พร้อมทั้งอธิบำย
3. จงอธิบำยแนวควำมคิดที่ว่ำ “คุณภำพเป็นกำรสร้ำงควำมพึงพอใจต่อลูกค้ำ”
(ศรีไร จำรุภิญโญ, 2540)
4. องค์ประกอบที่แตกต่ำงกันของสินค้ำมีอะไรบ้ำง จงอธิบำย
(Gupta R.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 10)
5. จุดประสงค์ของกำรทำ QC คือ (สภำวิศวกร, 2555)
6. ถ้ำจะวำงระบบ QC ในโรงงำน ควรศึกษำหำข้อมูลใดก่อน (สภำวิศวกร, 2555)
7. ตำมแนวคิดของ ดร.โนริอำคิ คำโน (Noriaki Kano) กำหนดให้ผลิตภัณฑ์ควรมีคุณภำพที่จะเป็นจุดขำยเพื่อ
เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันคุณภำพดังกล่ำวคือด้ำนใด (สภำวิศวกร, 2555)
8. ถ้ำต้องกำรเป็นผู้นำทำงด้ำนกำรคิดค้นพัฒนำ หรือนวัตกรรมใหม่ คุณภำพระดับใดทีจ่ ะต้องตอบสนอง
(สภำวิศวกร, 2555)
9. QA และ QC มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร (สภำวิศวกร, 2555)
10. เป้ำหมำยของกำรตรวจสอบคุณภำพคืออะไร (สภำวิศวกร, 2555)
11. ผู้จัดกำรโรงงำนแห่งหนึ่งส่งช่ำงเชื่อมที่ก่อให้เกิดงำนเสีย เนื่องจำกกำรเชื่อมบ่อยเขำฝึกอบรมในหลักสูตร
“กำรเชื่อมเพื่อลดของเสีย” ค่ำใช้จ่ำยในกำรส่งช่ำงเชื่อมเข้ำอบรมจัดเป็นค่ำใช้จ่ำยประเภทใด
(สภำวิศวกร, 2555)
12. กระบวนกำรกลึงเพลำ มีข้อกำหนดขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงกลำง 20±0.2 มิลลิเมตร โดยใช้เครื่องกลึง
แบบกึ่งอัตโนมัติ พนักงำนแผนก QA สุ่มชิ้นงำนที่กลึงแล้วจำนวน 30 ชุดๆละ 4 ชิ้น มำตรวจสอบเพื่อสร้ำง
แผนภูมิควบคุม พบว่ำ กระบวนกำรอยู ภ ำยใต้ กำรควบคุมโดยมีค่ำเฉลี่ ยของเส้ นผ่ำนศูนย์กลำงกลำงและ
ค่ำเฉลี่ยของพิสัยเท่ำกับ 19.99 และ 4.118 มิลลิเมตร ตำมลำดับ เรำควรจะปรับปรุงกระบวนกำรอย่ ำงไร
(สภำวิศวกร, 2555)
13. จงอธิบำยวิวัฒนำกำรด้ำนคุณภำพ
14. จงอธิบำยระบบในกำรบริหำรงำนด้ำนคุณภำพต่อไปนี้
14.1 CWQC
14.2 TQM
14.3 ISO 9000
15. จงอธิบำยตำมควำมหมำยของต้นทุนคุณภำพ (Cost of Quality: COQ)
16. หัวใจของกำรบริหำรคุณภำพแบบ TQM คือ (สภำวิศวกร, 2555)
บทที่ 1 บทนำ 31

17. กำรเริ่มทำ CWQC ควรเริ่มจำกกิจกรรมอะไรก่อน


18. กำรขอรับรองสัญลักษณ์ฉลำกเขียวของสินคที่ผลิตขึ้น แสดงว่ำสินค้ำที่ผลิตมีส่วนช่วยในกำรลดมลภำวะ
จำกสิ่งแวดล้อม และเพื่อผลักดันให้ผู้ผลิตใช้เทคโนโลยี หรือวิธีกำรผลิตที่ให้ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย
จะสำมำรถติดต่อขอรับรองไดจำกหน่วยงำนใดของรัฐ (สภำวิศวกร, 2555)
19. กำรซ่อมของเสียเป็นตัวอย่ำงของต้นทุนคุณภำพในด้ำนใด (สภำวิศวกร, 2555)
20. กำรแบ่งลูกค้ำเป็นลูกค้ำภำยในและลูกค้ำภำยนอกเพื่อวัตถุประสงค์ใดเป็นสำคัญ (สภำวิศวกร, 2555)
21. ต้นทุนกำรประเมินคุณภำพ (Appraisal Costs) เกิดจำกสำเหตุใด (ปรียำวดี ผลอเนก, 2556)
22. ต้นทุนแฝงสำมำรถขจัดออกได้โดยวิธีใด
23. ต้นทุนควำมเสียหำยภำยในสำมำรถกำรลดต้นทุนได้โดยวิธีใด
24. จงบอกสำเหตุที่ทำให้อุตสำหกรรมไทยไม่สำมำรถดำเนินกำรควบคุมคุณภำพทั่วทั้งองค์กร (TQM) ได้อย่ำง
มีประสิทธิภำพ
25. ลูกค้ำภำยในบริษัทคืออะไร ทำไมจึงมีควำมสำคัญด้ำนคุณภำพ
(Montgomery D.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 10)
32 กำรควบคุมคุณภำพ

เอกสารอ้างอิง

เกียรติศักดิ์ จันทร์แดง. (2549). การบริหารหารผลิตและการปฏิบัติการ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหำนคร:


วิตตี้กรุ๊ป
ปรียำวดี ผลอเนก. (2556). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพมหำนคร: จำมจุรีโปรดักท์.
ศรีไร จำรุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหำนคร: มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี.
โยชิโอะ คอนโด. (2540). การควบคุมคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (แปลจำก Total Quality Control
โดย วรภัทธ์ ภู่เจริญ). กรุงเทพมหำนคร: สมำคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
สภำวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหำนคร: ผู้แต่ง.
Evan James R., Linsay William M. (2008). The Management and Control of Quality
(7th ed). OH: South-Western.
Garvin D.A. (1988). Managing Quality: The strategic and competitive edge. New York:
Harvard Business School.
Gupta R.C. (1988). Statistical Quality Control (3rd ed). Delhi: J.N.Printers.
Montgomery D.C. (2009). Introduction to Statistical Quality Control (6th ed). New York:
John Wiley & Sons
Ramasamy Subburaj. (2009). Total Quality Management. India: Tata McGraw-Hill.
http://www.pip.co.th/?p=63
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2
สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ
หัวข้อเนื้อหา
2.1 หลักสถิติทั่วไป
2.1.1 ลักษณะและชนิดของข้อมูล
2.1.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1.3 การนาเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์
2.1.4 การตีความหมายและแปรผลทางสถิติ
2.2 การแจกแจงความถี่
2.2.1 กราฟการแจกแจงความถี่สัมพัทธ์
2.2.2 กราฟการแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ์
2.3 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
2.3.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
2.3.2 มัธยฐาน
2.3.3 ฐานนิยม
2.4 การวัดการกระจายของข้อมูล
2.4.1 พิสัย
2.4.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.4.3 สัมประสิทธิ์ความแปรผัน
2.5 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่องที่สาคัญ
2.5.1 การแจกแจงแบบปกติ
2.5.2 การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง
2.5.3 การแจกแจงไวบูลล์
2.6 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องที่สาคัญ
2.6.1 การแจกแจงทวินาม
2.6.2 การแจกแจงปัวส์ซอง
2.7 เครื่องมือควบคุมคุณภาพ
2.7.1 ใบตรวจสอบ
2.7.2 ฮิสโตแกรม
2.7.3 แผนภาพพาเรโต
2.7.4 แผนภาพเหตุและผล
2.7.5 กราฟ
2.7.6 แผนภูมิควบคุม
2.7.7 แผนภาพการกระจาย
34 การควบคุมคุณภาพ

2.8 สรุป
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2
เอกสารอ้างอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีความรู้และทักษะดังนี้
1. อธิบายหลักสถิติเบื้องต้น การจาแนกสถิติ และลักษณะชนิดของข้อมูล
2. คานวณความน่าจะเป็นของการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่อง การแจกแจงความน่าจะเป็น
แบบไม่ต่อเนื่อง และการนาไปประยุกต์ใช้
3. อธิบายลักษณะการประยุกต์ใช้ เครื่องมือควบคุมคุณภาพ 7 ชนิด ในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
เบื้องต้นของกระบวนการผลิต
4. สามารถคานวณ สร้างผังพาเรโต และวิเคราะห์ข้อมูลสาเหตุที่เกี่ยวกับปัญหาในกระบวนการผลิต
5. อธิบายหลักการของแผนภูมิควบคุม ลักษณะการใช้แผนภูมิควบคุมชนิดต่างๆ
วิธีสอนและกิจกรรม
1. ทบทวนเนื้อหาในบทที่ 1 และเฉลยการบ้านในบทที่ 1
2. นาเข้าสู่บทเรียนโดยการอธิบายวัตถุประสงค์ ภาพรวมเนื้อหาในบทที่ 2 และบรรยายประกอบสื่อ
Power point
3. อธิบายเนื้อหาทีละหัวข้อแล้วเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามในแต่ละหัวข้อก่อนข้ามหัวข้อนั้น
4. ทาแบบฝึกหัดระหว่างบทเรียน และตรวจสอบคาตอบของผู้เรียน
5. สอบถามผู้เรียนถ้าผู้เรียนมีคาถามสงสัย
6. มอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 เป็นการบ้าน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ
2. กระดานไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ายบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมและบรรยากาศระหว่างเรียน
2. ถามตอบระหว่างเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมายให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จากการทากิจกรรมกลุ่มเสร็จตามเวลา
2. ทาแบบฝึกหัดมีความถูกต้องไม่น้อยกว่า 80%
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 35

บทที่ 2
สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ
ในการควบคุมคุณภาพของกระบวนการผลิต หลักสถิติศาสตร์นั้นถือเป็นหัวใจที่สาคัญของการควบคุม
คุณภาพ เนื่องจากสามารถนาผลข้อมูลของกระบวนการผลิต สามารถไปตีความหมายและวิเคราะห์ผล เพื่อ
แก้ไขปัญหาของกระบวนการผลิต ซึ่งเครื่องมือควบคุมคุณภาพที่เกี่ยวข้องกับหลักสถิติศาสตร์ ได้แก่ เครื่องมือ
ควบคุมคุณภาพ 7 ชนิด แผนภูมิควบคุม และแผนการชักสิ่งตัวอย่าง เป็นต้น

2.1 หลักสถิติทั่วไป
สถิติ (Statistics) หมายถึง ข้อมูลข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข หรือลายลักษณ์อักษรที่เก็บรวบรวมมาได้
(วิสาข์ เกษประทุม, 2550) เช่น การเกิด การตาย ผู้ป่วยเป็นโรคต่างๆ การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน เป็นต้น
ศิวดล กัลยาคา (2548) จากการศึกษาและวิจัยต่างๆ พบว่าวิธีการทางสถิติสามารถนามาช่วยในการตัดสินใจ
เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ โดยอาศัยเครื่องมือและเทคนิคทางสถิติเพื่อแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สาหรับ
สถิติในเชิงของอุตสาหกรรม หมายถึง ศาสตร์ (Science) สาหรับใช้ในการตัดสินใจปัญหาภายใต้ความไม่แน่นอน
ต่างๆ โดยใช้ข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลขและที่ไม่เป็นตัวเลขมาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการตัดสินใจ (อัจฉริยา รักมิตร,
2543) และสถิติสามารถจาแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551) คือ
1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง สถิติที่บรรยายและวิเคราะห์ทั้งประชากร
2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) หมายถึง สถิติที่สรุปผลข้อมูลทั้งหมดหรือประชากร (Population)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีจานวนจากัดหรือตัวอย่าง (Sample) โดยประยุกต์ความน่าจะเป็นเพื่อการสรุปผล
โดยการอนุมานไม่สามารถที่จะอธิบายผลลัพธ์ที่สมบูรณ์ทั้ง 100% ได้
2.1.1 ลักษณะและชนิดของข้อมูล (Data)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ข้อมูลถือเป็นสิ่งที่สาคัญมากสาหรับกระบวนการตัดสินใจทางสถิติ เพราะ
ข้อมูล คือ สิ่งที่รวบรวมไว้ซึ่งข้อเท็จจริง (Fact) เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการตัดสินใจ ดังนั้นการรวบรวมข้อมูล จะต้อง
มีจุดประสงค์ก่อนว่าต้องการตัดสินใจเกี่ยวกับข้อเท็จจริงใดของประชากร และต้องให้ความสนใจต่อวิธีการ
เลือกสิ่งตัวอย่าง ขนาดสิ่งตัวอย่าง ความถี่ของการชักสิ่งตัวอย่า ง ซึ่งการพิจารณาประเด็นนี้จะต้องอาศัยหลัก
ความน่าจะเป็น โดยข้อมูลนั้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
(1) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพ คุณลักษณะ หรือ
คุณสมบัติ ซึ่งเกี่ยวข้องกับตัวแปรที่แสดงกลุ่ม หมวดหมู่ (Categorical Variables) เช่น เพศ เชื้อชาติ ศาสนา
เป็นต้น
(2) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่อยู่ในรูปตัวเลข (Numerical Data)
ที่แสดงถึงปริมาณ อาจเป็นค่าไม่ต่อเนื่อง (Discrete) คือ ค่าจานวนเต็มหรือจานวนนับ เช่น จานวนบุตร หรือ
ค่าต่อเนื่อง (Continues) คือ ค่าที่มีจุดทศนิยม เช่น ความสูง น้าหนัก อายุ อัตราเงินเฟ้อ เป็นต้น
36 การควบคุมคุณภาพ

2.1.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data)


เป็นขั้นตอนแรกของระเบียบวิธีวิจัยหรือกระบวนการทางสถิติ ซึ่งลักษณะของค่าสิ่งที่สนใจศึกษาบันทึก
ได้จากแต่ละหน่วยที่สังเกต (Observation Unit) อาจเป็นแต่ละราย เช่น คน ทัศนคติ เหตุการณ์ ข้อมูลที่รวบรวม
อาจมีหลายตัวแปร (Variables) เช่น เพศ อายุ ความสูง น้าหนัก ระดับ ความคิดเห็น การเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็นต้น ซึ่งเทคนิคการรวบรวมข้อมูลในระยะหลังถูกใช้อย่างแพร่หลาย คือ การรวบรวมโดยนักวิจัยทางการตลาด
และทีมสารวจความคิดเห็นของคนทั่วไป (Pollsters) ซึ่งถูกรวบรวมสาหรับจุดประสงค์ในการควบคุมคุณภาพจะถูก
เก็บรวบรวมโดยการสังเกตโดยตรง
2.1.3 การนาเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์
การนาเสนอข้อมูลเป็นวิธีการนาข้อมูลที่ได้รวบรวมนาเสนอ หรื อเผยแพร่ให้ผู้สน ใจในข้อมูลนั้น ๆ
ทราบ หรือเพื่อความสะดวกในการคานวณ หรือวิเคราะห์หาสิ่งที่ต้องการ เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
โดยทั่วไปการนาเสนอข้อมูลอาจทาได้ 2 ลักษณะ คือ
(1) การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน หมายถึง การนาเสนอข้อมูลโดยไม่มีกฎเกณฑ์ทแี่ น่นอน
(2) การน าเสนอข้อมูลอย่างเป็ นแบบแผน หมายถึง การนาเสนอข้อมูลที่มีกฎเกณฑ์ และจะต้อง
ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่ว างไว้เป็น มาตรฐาน เช่น การนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง การนาเสนอข้อมูล ในรูป
แผนภูมหิ รือแผนภาพ และการนาเสนอข้อมูลในรูปกราฟ สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลควรนาข้อมูลมาวิเคราะห์
หารูปแบบ แนวโน้ม และความแตกต่างด้านอื่นๆ ที่สามารถเสนอแนะ สนับสนุน หรือปฏิเสธแนวความคิด
เกี่ยวกับสาเหตุของความบกพร่อง (Pande et al., 2002) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการวิเคราะห์สูงสุด ผู้วิจัย
ต้องเลือกใช้สถิติให้ เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการวิจัย และลักษณะของข้อมูลสถิติที่ได้รับ เช่น
สถิติที่ใช้ทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มเดียว (T-test one Group)
2.1.4 การตีความหมายและแปรผลทางสถิติ
Harrison M.W. (1989) การแปรผลการวิเคราะห์ทางสถิตินับเป็นส่วนสาคัญไม่ควรมองข้ามในการ
ทางานวิ จั ย นอกจากขั้ น ตอนการวางแผนที่ ดี การจัด การข้ อ มูล ที่ ดี การวิ เ คราะห์ ที่ มี ป ระสิ ทธิ ภ าพแล้ ว
การแปลผลที่ถูกต้องและแม่นยาจะนาไปสู่การสรุปผล และนาไปใช้ได้อย่างไม่ผิดพลาดด้วยเช่นกัน การนาผล
การวิเคราะห์ไปปฏิบัติในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นขั้นตอนที่สาคัญมากของวิธีการทางสถิติ
โดยผู้ที่ทาการวิเคราะห์จะต้องนาผลที่ได้ซึ่งอยู่ในรูปของตัวเลขทางคณิตศาสตร์มาแปรผลเป็นแนวทางหรือ
วิธีการที่จะนาไปทาการตัดสินใจแก้ปัญหา หากการแปรผลการวิเคราะห์ทางสถิติไม่ถูกต้องจะทาให้การนาผล
การวิเคราะห์ไปปฏิบัติไม่เกิดประสิทธิภาพ
กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ (2540) ได้สรุปสาเหตุของการไม่สามารถแปรผลการวิเคราะห์ข้อมูลทาง
สถิติได้สองประการ คือ การขาดความเข้าใจกลไกทางคณิตศาสตร์ และการขาดความเข้าใจทางกระบวนการ
หรือระบบที่ศึกษาอย่างละเอียด เมื่อแปรผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลแล้วต้องทาการยืนยันผลการวิเคราะห์อีก
ครั้งก่อนนาไปสู่การตัดสินใจแก้ปัญหา
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 37

2.2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution)


ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) การแจกแจงความถี่ เป็นการนาเสนอข้อมูลเมื่อข้อมูลมีจานวนมาก หรือมีค่า
ตัวเลขซ้ากันมาก โดยใช้กราฟเป็นวิธีที่ช่วยให้เ ห็นถึงลักษณะการกระจายของข้อมูล ความเหมะสมในการ
สรุ ป ผลหรื อวิเคราะห์ ข้อมูล จึ งจั ดแบ่ งข้อมูล ออกเป็นกลุ่ มๆ เช่น ค่าเฉลี่ ย ค่ามัธ ยฐาน ค่าส่ ว นเบี่ยงเบน
มาตรฐาน เป็นต้น
การแบ่ ง ชุ ด ข้ อ มู ล ออกเป็ น กลุ่ ม ๆ เพื่ อ สะดวกต่ อ การวิ เ คราะห์ เ ราเรี ย กว่ า การแจกแจงความถี่
ความถี่ (Frequency) คือ จานวนที่แสดงว่าค่าที่เป็นไปได้แต่ละค่าเกิดขึ้นกี่ครั้ง เช่น ผลสารวจอายุการใช้งาน
ของยางรถยนต์ชนิดหนึ่งจานวน 40 เส้น วัดอายุการใช้งานมีหน่วยเป็นปี ดังตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 อายุการใช้งานของยางรถยนต์ชนิดหนึ่งอายุการใช้งาน (ปี)

2 4 4 3 4 3 5 3 5 4
3 2 3 3 4 5 4 3 3 3
3 4 3 4 3 3 4 3 4 3
3 3 4 4 3 4 2 3 4 4

พบว่าค่าสูงสุดของข้อมูลมีค่าเท่ากับ 5 และค่าต่าสุดของข้อมูลเท่ากับ 2 เมื่อนาค่าของข้อมูลมาจัดเรียงจาก


น้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย เพื่อความเข้าใจและง่ายต่อการวิเคราะห์จึงดาเนินการบันทึกรอยขีด
เท่าจานวนความถี่ของแต่ละค่าจะได้การแจกแจงความถี่ ตัวอย่างอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ในตารางที่ 2.2

ตารางที่ 2.2 ความถี่อายุการใช้งานของแบตเตอรี่

อายุการใช้งาน ความถี่
2 /// 3
3 //// //// //// //// 19
4 //// //// //// 15
5 /// 3

สาหรับกรณีข้อมูลสูงสุดและข้อมูลต่าสุดมีค่าแตกต่างกันมาก วิธีการสร้างตารางแจกแจงความถี่ของค่าใน
แต่ละช่วง มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1) หาพิสัย โดยการพิจารณาการกระจายของข้อมูล หรือความแตกต่างระหว่างค่าของข้อมูลว่ามีค่าแตกต่าง
กันมากหรือน้ อย ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการกาหนดช่วงหรืออันตรภาคชั้นของข้อมูล กล่าวคือ ถ้าข้อมูลมีการ
กระจายมากควรกาหนดจานวนอันตรภาคชั้นให้น้อย เพื่อให้มีข้อมูลทุกช่วง
พิสัย = ค่าของข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ค่าของข้อมูลที่มีค่าต่าสุด
2) หาช่วงระหว่างชั้น โดยกาหนดจานวนช่วง หรืออันตรภาคชั้น (Class Interval) ของข้อมูลจานวน ช่วงจะมี
มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับผู้กาหนดโดยทั่วไปมักกาหนดจานวนช่วงประมาณ 7-10 ช่วง
38 การควบคุมคุณภาพ

3) คานวณความกว้างของช่วงแต่ละช่วง (i) โดยคานวณจากสูตร


ความกว้างของช่วง (i) = (ข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ข้อมูลที่มีค่าต่าสุด) / จานวนช่วง
4) เขียนช่วงข้อมูลในแต่ละชั้น โดยอาจเริ่มจากชั้นของข้อมูลที่มีค่าต่าสุด (X1) ไปหาชั้นของข้อมูลที่มีค่าสูงสุด
(Xn) หรือเริ่มจากชั้นของข้อมูลที่มีค่ามากไปหาชั้นของข้อมูลที่มีค่าน้อยก็ได้
5) นับจานวนค่าของข้อมูลที่ตกอยู่ในแต่ละช่วง โดยทาเครื่องหมายขีด (/) แทนค่าของข้อมูลเช่นเดียวกับการ
สร้างตารางแจกแจงความถี่ของค่าแต่ละค่า
เมื่อเราหาความกว้างของช่วงแต่ ละช่ วงได้ แล้ ว เราก็สามารถสร้างตารางแจกแจงความถี่ ได้ เช่น การวั ด
เส้นผ่าศูนย์กลางของสปริงจากโรงงานผลิตแห่งหนึ่งจานวน 80 เส้น โดยวัดอย่างละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 2.3

ตารางที่ 2.3 เส้นผ่าศูนย์กลางของสปริงจานวน 80 เส้น (มิลลิเมตร)

5.350 5.366 5.374 5.381 5.375 5.382 5.358 5.366 5.896 5.351
5.366 5.374 5.375 5.380 5.367 5.376 5.381 5.396 5.351 5.366
5.383 5.361 5.369 5.377 5.374 5.382 5.354 5.366 5.383 5.377
5.369 5.361 5.374 5.382 5.354 5.366 5.369 5.361 5.378 5.383
5.384 5.378 5.370 5.362 5.362 5.365 5.373 5.388 5.365 5.373
5.380 5.390 5.363 5.372 5.373 5.387 5.384 5.362 5.372 5.378
5.379 5.372 5.379 5.364 5.384 5.389 5.373 5.362 5.385 5.364
5.379 5.373 5.372 5.379 5.384 5.385 5.385 5.365 5.372 5.379

พิสัย = ค่าของข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ค่าของข้อมูลที่มีค่าต่าสุด


= 5.396-5.350
= 0.046
กาหนดชั้นไว้ 10 ชั้น (C)
ความกว้างของช่วง (i) = (ข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ข้อมูลที่มีค่าต่าสุด) / จานวนช่วง
= 0.046 / 10
= 0.0046

ขีดจากัดล่างชั้นแรก = X1 – (( (i x C) – พิสัย) / 2 )
= 5.350 – (((0.0046 x 10) – 0.046) / 2)
= 5.350

เมื่อได้ขีดจากัดชั้นแรกแล้ว สามารถสร้างตารางแจกแจงความถี่ ดังตารางที่ 2.4


บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 39

ตารางที่ 2.4 ความถี่ และจุดกึ่งกลางของเส้นผ่าศูนย์กลางของสปริง 80 เส้น

อันตรภาคชั้น รอยขีด ความถี่ จุดกึ่งกลาง


5.350-5.354 //// 4 5.352
5.355-5.359 / 1 5.357
5.360-5.364 //// //// / 11 5.362
5.365-5.369 //// //// /// 13 5.367
5.370-5.374 //// //// //// 15 5.372
5.375-5.379 //// //// /// 13 5.377
5.380-5.384 //// //// /// 13 5.382
5.385-5.389 //// / 6 5.387
5.390-5.394 / 1 5.392
5.395-5.399 // 2 5.397

18
15
16

14 13 13 13
12 11
10

8 6
6
4
4
2
2 1 1
0
5.395-5.399
5.390-5.394
5.385-5.389
5.380-5.384
5.355-5.359

5.365-5.369
5.360-5.364
5.350-5.354

5.370-5.374

5.375-5.379

รูปที่ 2.1 ฮิสโตแกรมแจกแจงความถี่


40 การควบคุมคุณภาพ

การแจกแจงความถี่สามารถนาเสนอได้โดยประยุกต์กราฟการแจกแจงความถี่ เช่น ฮิสโตแกรม


(Histogram) กราฟแท่ง (Bar Graph) รูปหลายเหลี่ยมความถี่ (Frequency Polygon) และเส้นโค้งความถี่
สะสม (Ogive) เป็นต้น
2.2.1 กราฟการแจกแจงความถี่สัมพัทธ์
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) การแจกแจงความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency Distribution)
สามารถนาเสนอข้อมูลได้โดยฮิสโตแกรมแสดงความถี่สัมพัทธ์ ซึ่งความถี่สัมพัทธ์ (Relative) หมายถึง สัดส่วน
หรือเศษส่วนของผลรวม และความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency) คานวณได้จากการหาสัดส่วนของ
ความถี่ในแต่ละค่าของข้อมูลด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด ซึ่งเป็นผลรวมของความถี่โดยค่าความสัมพัทธ์ทั้งหมด
เท่ากับ 1 ดังแสดงในตารางที่ 2.5

ตารางที่ 2.5 การแจกแจงความถี่สัมพัทธ์ของจานวนสินค้าที่มีตาหนิ

จานวนสินค้าที่มีตาหนิ ค่าความถี่ ค่าความถี่สัมพัทธ์


1 10 10 ÷ 60 = 0.17
2 25 25 ÷ 60 = 0.42
3 5 5 ÷ 60 = 0.08
4 15 15 ÷ 60 = 0.25
5 4 4 ÷ 60 = 0.07
6 1 1 ÷ 60 = 0.01
รวม 60 1.00

ความถี่สัมพัทธ์ใช้ในการนาเสนอข้อมูล เช่น สัดส่วนจานวนสินค้าที่มีตาหนิ 4 ชิ้นต่อวัน มีจานวน


15 ครั้ง มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 0.25 หรือ 25% และสามารถนาเสนอได้ในรูป ของฮิสโตแกรมแสดงความถี่
สัมพัทธ์ ดังแสดงในรูปที่ 2.2
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 41

ค่าความถี่สัมพัทธ์
0.45
0.42
0.4

0.35

0.3
0.25
0.25

0.2 0.17

0.15
0.08
0.1
0.07
0.05 0.01

0
1 2 3 4 5 6 จานวนสินค้าที่มีตาหนิ

รูปที่ 2.2 ฮิสโตแกรมแสดงความถี่สัมพัทธ์

2.2.2 กราฟการแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ์
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) ความถี่สะสมสัมพัทธ์ (Relative Cumulative Frequency) เป็นการคิด
คานวณโดยการหาสัดส่วนของแต่ละค่าความถี่สะสมด้วยจานวนข้ อมูลค่าความถี่ทั้งหมด ค่าความถี่สะสม
สัมพัทธ์แสดงในช่องสุดท้ายของตารางที่ 2.6

ตารางที่ 2.6 ความถี่สะสมสัมพัทธ์ของจานวนสินค้าที่มีตาหนิในแต่ละวัน

จานวนสินค้าที่มีตาหนิ ค่าความถี่ ค่าความถี่สะสม ความถี่สะสมสัมพัทธ์


1 10 10 10/60 = 0.17
2 25 35 35/60 = 0.58
3 5 40 40/60 = 0.67
4 15 55 55/60 = 0.92
5 4 59 59/60 = 0.98
6 1 60 60/60 = 1
รวม 60
42 การควบคุมคุณภาพ

ความถี่สะสมสัมพัทธ์ในการนาเสนอข้อมูล เช่น สัดส่วนของจานวนสินค้าที่มีตาหนิใน 5 ชิ้นต่อวัน


เท่ากับ 0.98 หรือ 98% เป็นต้น กราฟการแจกแจงความถี่สะสมสั มพัทธ์ สามารถนาเสนอได้ในรูปแบบ
ฮิสโตแกรมแสดงความถี่สะสมสัมพัทธ์ ดังแสดงในรูปที่ 2.3
ค่าความถี่สะสมสัมพัทธ์

1.00
1.0 0.98
0.92

0.8
0.67

0.6 0.58

0.4

0.2 0.17

1 2 3 4 5 6 จานวนสินค้าที่มีตาหนิ

รูปที่ 2.3 ฮิสโตแกรมแสดงความถี่สะสมสัมพัทธ์

2.3 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measure of Central Tendency)


โดยทั่วไปจะประกอบด้วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ฐานนิยม และมัธยฐาน ซึ่งการใช้ค่ากลางเหล่านี้จะขึ้นอยู่กับ
ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นหลัก (อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์, 2535) กล่าวคือ ถ้าข้อมูลนั้นมีลักษณะการ
กระจายที่มีสมมาตรกันทั้งสองข้างของกราฟข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางก็จะวัดด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิต
แต่ถ้ากราฟของข้อมูลมีลักษณะเบ้ไปทางใดทางหนึ่ง การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางจะวัดด้วยมัธยฐาน และถ้า
ข้อมูลมีค่าของจานวนข้อมูลที่เกิดบ่อยที่สุด เราจะวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางด้วยฐานนิยม จากที่กล่าวมานี้
ในการสร้างแผนภูมิเพื่อควบคุมคุณภาพสินค้า ส่วนใหญ่จะวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ทั้งนี้เนื่องจากการตรวจสอบคุณภาพสินค้าจากกระบวนการผลิตจะใช้ขนาดตัวอย่างที่นามาตรวจสอบมาก
พอสมควร ซึ่งการใช้ขนาดตัวอย่างมากจะทาให้ข้อมูลมีลักษณะการกระจายสมมาตรกันทั้งสองข้าง ดังนั้นการ
สร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพสินค้าจึงนิยมวัดค่ากลางของข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตส่วนของการวัดค่ากลาง
ของข้อมูลด้วยมัธยฐานและฐานนิยม จะมีความสัมพันธ์กับแผนภูมิควบคุมคุณภาพสินค้าน้อยมาก ซึ่งถ้าจะใช้
ค่ามัธยฐาน และฐานนิยมในการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ แล้วจะต้องมีการปรับค่าความถี่ของข้อมูลก่อน
จึงจะสามารถสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพสินค้าได้อย่างเหมาะสม
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 43

2.3.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean)


โดยทั่วไปจะหมายถึง ค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ต้องการศึกษา หาได้จากการนาเอาผลรวมของข้อ มูลทุก
ตัวหารด้วยจานวนหรือความถี่ของข้อมูลทั้งหมด ซึ่งเรียกว่า ค่าเฉลี่ย (Mean หรือ Average) สัญลักษณ์ที่ใช้
แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิต แบ่งตามลักษณะของข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้จากกลุ่มตัวอย่างแทนด้วย x และ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้จากประชากรแทนด้วย 
การคานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต จะแบ่งเป็น 2 กรณี คือ กรณีข้อมูลยังไม่ได้แจกแจงความถี่ของ
ข้อมูล และกรณีข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่ของข้อมูล ดังนี้
2.3.1.1 กรณีข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่ของข้อมูล (Ungrouped Data)
N

x i
ค่าเฉลี่ยของประชากร μ = i=1
: เมื่อ N แทนจานวนข้อมูลทั้งหมดของประชากร
N
n

x i
ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง x = i=1
: เมื่อ n แทนจานวนข้อมูลทั้งหมดของตัวอย่าง
n
ตัวอย่างที่ 1
พนักงาน 5 คน ทางานในโรงงานแห่งหนึ่ง แผนกซ่อมบารุงเครื่องจักร พบว่ามีเงินเดือนดังนี้ 9,000,
8,000, 7,700, 8,500 และ 8,200 บาท จงหาเงินเดือนเฉลี่ยของทั้ง 5 คน
วิธีทา
5

x i
9,000 + 8,000 +...+ 8,200
μ= i=1
=
N 5
= 41,400/5
= 8,280

ดังนั้น เงินเดือนเฉลี่ยของพนักงานบริษัททั้ง 5 คน เท่ากับ 8,280 บาท

ตัวอย่างที่ 2
จากการสุ่มเลือกเด็กไทยอายุ 16 ปี จานวน 18 คน เพื่อคานวณหาน้าหนักเฉลี่ย มีดังนี้ 45, 32, 71,
51, 51, 49, 54, 61, 51, 63, 39, 47, 59, 61, 5, 49, 53 และ 47 กิโลกรัม จงหาน้าหนักเฉลี่ยของเด็กไทย
อายุ 16 ปี
วิธีทา
18

x
i=1
i
45 + 32 +...+ 47
x= =
n 18
= 937/18
= 52
ดังนั้น เด็กไทยอายุ 16 ปี จะมีน้าหนักโดยเฉลี่ย เท่ากับ 52 กิโลกรัม
44 การควบคุมคุณภาพ

2.3.1.2 กรณีข้อมูลแจกแจงความถี่ของข้อมูล (Grouped Data)


ถ้ากาหนดให้ข้อมูลแต่ละชุดของประชากร แทนด้วย xi โดยที่ i = 1, 2, 3, …, n และความถี่
k
ของข้อมูลแต่ละชุดแทนด้วย fi โดยที่ i = 1, 2, 3, …n ซึง่ N =  fi ดังแสดงในตารางที่ 2.7
i=1
ตารางที่ 2.7 การหาค่าเฉลี่ยแบบแจกแจงความถี่ระหว่างประชากรและตัวอย่าง

ประชากร ตัวอย่าง
k k k k

 fi x i  fi x i  fi x i f x i i
μ = i=1
k
= i=1
x = i=1
k
= i=1

f f
n n
i i
i=1 i=1

เมื่อ
fi แทนความถี่ในชั้นที่ i
Xi แทนจุดกลางชั้นที่ i
k แทนจานวนชั้น
N, n แทนจานวนข้อมูลทั้งหมดของประชากรและตัวอย่าง ตามลาดับ

ตัวอย่างที่ 3
ในการศึกษาเกี่ย วกับความสู งของเด็กแรกเกิ ดในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งจานวน 100 คน ได้ข้อมูล
ดังแสดงในตารางที่ 2.8 จงคานวณหาความสูงโดยเฉลี่ยของเด็กแรกเกิดทั้ง 100 คน

ตารางที่ 2.8 ข้อมูลแจกแจงความถี่ของความสูงเด็กแรกเกิด

ความสูง (ซม.) จานวน (คน)


60-62 5
63-65 18
66-68 42
69-71 27
72-74 8
รวม 100
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 45

วิธีทา
5
 fi x i (5 x 61) + (18 x 64) + (42 x 67) + (27 x 70) + (8 x 73)
μ = i=1
=
100 100
305 + 1,152 + 2,814 + 1,890 + 584
=
100

= 67.45

ดังนั้น ความสูงเฉลี่ยของเด็กแรกเกิดทั้ง 100 คน เท่ากับ 67.45 ซม

คุณสมบัติของค่าเฉลี่ยเลขคณิต
(1) ในข้อมูลแต่ละชุดที่เป็นตัวเลขหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้เสมอ และมีได้เพียงค่าเดียวเท่านั้น
(2) ถ้าข้อมูลมีค่าสูงหรือต่าเกินไปจากค่าอื่นๆ การคานวณค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะไม่เหมาะสม
(3) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้เมื่อทราบค่าทุกค่าของข้อมูล
n
(4) ค่าของ (x - μ)
i=1
i = 0
n
(5) ค่าของ  (x - μ) จะมีค่าน้อยสุด
i=1
i
2

(6) นาค่าคงที่ไปบวกหรือลบข้อมูลแต่ละตัว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตชุดใหม่จะเพิ่มหรือลดเท่ากับค่าคงที่นั้น


(7) ถ้าคูณข้อมูลด้วย m หรือ 1/m เมื่อ m ≠ 0 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตชุดใหม่จะเป็น m เท่าหรือ 1/m
เท่า ของค่าเฉลี่ยเลขคณิตชุดเดิม
2.3.2 มัธยฐาน (Median)
มัธยฐาน คือ ค่าของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง เมื่อมีการจัดเรียงข้อมูลทั้งหมดจากน้อยไปหามาก หรือจาก
มากไปหาน้อยสัญลักษณ์ที่ใช้ แทนด้วย Med มัธยฐานใช้ได้ดีกับข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพที่
สามารถกาหนดความสาคัญของข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อยได้ การหามัธยฐานจะแบ่ง
ตามลักษณะของข้อมูล ดังนี้
2.3.2.1 มัธยฐานของข้อมูลที่มิได้มีการแจกแจงความถี่
การหามัธยฐานของข้อมูลที่มิได้มีการแจกแจงความถี่ โดยวิธีการเรียงข้อมูลจากน้อยไปหา
มาก หรือจากมากไปหาน้อยก็ได้ แล้วนับจานวนข้อมูล ถ้าเป็นจานวนคี่ มัธยฐาน คือ ค่าของข้อมูลที่อยู่ตรง
กลาง แต่ถ้าข้อมูลเป็นจานวนคู่ มัธยฐาน คือ ค่าเฉลี่ยของข้อมูลสองค่าซึ่งอยู่ตรงกลางของข้อมูลทั้งหมด

ตัวอย่าง 4
จงหามัธยฐานของข้อมูล 25 26 27 26 22 24 28 29 29
วิธีทา เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก ดังนี้ 22 24 25 26 26 27 28 29 29
ดังนั้น จะเห็นว่ามัธยฐาน คือ 26
46 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่าง 5
จงหามัธยฐานของข้อมูล 11 13 16 15 14 12 15 17
วิธีทา
เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก ดังนี้ 11 12 13 14 15 15 16 17
ดังนั้น จะเห็นว่ามัธยฐาน คือ (14+15)/2 = 14.5

2.3.2.2 มัธยฐานของข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่
การหาค่ามัธยฐานของข้อมูล ที่มีการแจกแจงความถี่ ต้องหาค่า N/2 ก่อนเพื่อจะได้ทราบ
ว่ามัธยฐานตกอยู่ชั้นคะแนนใด ซึ่งชั้นที่มีมัธยฐานอยู่ คือ ชั้นแรกที่มีความถี่สะสมมากกว่า N/2 ต่อไป
คานวณหาค่ามัธยฐานจากสูตร

N - F
 
Med = L +  2  I
f
 med 
โดยที่
L คือ ขีดจากัดล่างจริงของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด
F คือ ความถี่สะสมของชั้นข้อมูลก่อนถึงชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
I คือ ขนาดอันตรภาคชั้น

ตัวอย่าง 6
โรงเรียนแห่งหนึ่ งสารวจน้าหนักของนักเรียน จานวน 40 คน ปรากฏดัง แสดงในตารางที่ 2.9
จงหามัธยฐานของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มนี้

ตารางที่ 2.9 ข้อมูลน้าหนักของนักเรียน (กิโลกรัม)

น้าหนัก (กิโลกรัม) จานวน


20 – 24 9
25 – 29 12
30 – 34 10
35 – 39 7
40 – 44 2
รวม 40
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 47

วิธีทา
สร้างตารางแจกแจงความถี่สะสม และหา N/2 = 40/2 = 20

น้าหนัก (กิโลกรัม) จานวน (fi) ความถี่สะสม (F)


20 – 24 9 9 F
25 – 29 12 fmed 21 ชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
L 30 – 34 10 31
35 – 39 7 38
40 – 44 2 40
40

N - F
 
Med = L +  2  I
f
 med 

= 24.5 + 
20 - 9 
 5
 12 
= 24.5 +  
55
 12 
= 29.08

ดังนั้น มัธยฐานของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มนี้ คือ 29.08 กิโลกรัม

2.3.3 ฐานนิยม (Mode)


คือ ข้อมูลที่เกิดขึ้นซ้ากัน มากที่สุด หรือมีความถี่มากที่สุดในข้อมูลชุดนั้นสัญลักษณ์ที่ใช้ คือ Mo
การหาฐานนิยมสามารถหาโดยพิจารณาตามลักษณะของข้อมูล ดังนี้
2.3.3.1 ฐานนิยมของข้อมูลที่ยังมิได้มีการแจกแจงความถี่
ฐานนิยมของข้อมูลที่ยังมิได้มีการแจกแจงความถี่ ให้พิจารณาค่าที่ซ้ากันมากที่สุด หรือมี
ความถี่สูงที่สุด เช่น ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 1 1 2 3 2 3 4 1 2 3 1 ฐานนิยมของข้อมูล
ชุดนี้คือ 1 ข้อมูลบางชุดอาจไม่มีฐานนิยม เช่น 1 5 1 5 6 7 6 7 9 9 หรือข้อมูลบางชุดอาจมี
ฐานนิยม 2 ค่า เช่น 1 1 3 4 5 6 6 ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ คือ 1 และ 6 นั่นเอง
48 การควบคุมคุณภาพ

2.3.3.2 ฐานนิยมของข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่
ฐานนิ ย มของข้ อ มู ล ที่ มี ก ารแจกแจงความถี่ นั้ น จะอยู่ ใ นชั้ น คะแนนที่ มี ค วามถี่ สู ง ที่ สุ ด
คานวณหาฐานนิยม ดังนี้

  
Mod = L +  1  I
 1 +2 
โดยที่
Lคือ ขีดจากัดล่างจริงของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่
1 คือ ผลต่างของความถี่ของชั้นที่มีฐานนิยมกับความถี่ของชั้นถัดไปทางคะแนนน้อย
2 คือ ผลต่างของความถี่ของชั้นที่มีฐานนิยมกับความถี่ของชั้นถัดไปทางคะแนนมาก
I คือ ขนาดอันตรภาคชั้น

ตัวอย่าง 7
จากการสารวจความสูงของพนักงานมหาวิทยาลัย จานวน 100 คน ดังแสดงในตารางที่ 2.10 จงหา
ฐานนิยมของความสูงของนักศึกษากลุ่มนี้

ตารางที่ 2.10 ข้อมูลความสูงของพนักงานมหาวิทยาลัย (เซนติเมตร)

ความสูงของพนักงานมหาวิทยาลัย (เซนติเมตร) จานวน (คน)


134 – 144 5
145 – 154 18
155 – 164 42
165 – 174 27
175 – 184 8
รวม 100

วิธีทา
จากตารางจะเห็นว่าชั้นที่มีความถี่มากที่สุด คือ 155 – 164 ซึ่งเป็นชั้นที่มีมัธยฐานอยู่ และได้ว่า
L = 154.5, I = 11, 1 = 42 – 18 = 24 และ 2 = 42 – 27 =15 จะได้ว่า

  
Mod = L +  1  I
 1 +2 
= 154.5 + 
24 
11
 24+15 
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 49

= 154.5 + 6.77
= 161.27

ดังนั้น ค่าฐานนิยมความสูงของพนักงานมหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ คือ 161.27 เซนติเมตร

2.4 การวัดการกระจายของข้อมูล
ในการวิเคราะห์ค่าการกระจายข้อมูล จะบรรยายถึงการกระจายของข้อมูลในแต่ละข้างของค่าแนวโน้มสู่
ศูนย์กลางว่ามากน้อยเพียงใด เช่น ค่าแรงเฉลี่ยของพนักงานในแผนกพ่นสีเท่ากับแผนกประกอบ ซึ่งได้ค่าแรง
เท่ากับ 4,950 บาท อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาค่าแรงสูงสุดของแผนกพ่นสี คือ 5,400 บาท และค่าแรงต่าสุด
คือ 4,500 บาท ส่วนค่าแรงสูงสุดของพนักงานในแผนกประกอบคือ 6,000 บาท และค่าแรงต่าสุด คือ 3,900
บาท สรุปได้ว่าค่าแรงของพนักงานในแผนประกอบมีการกระจายมากกว่าแผนกพ่นสี เป็นต้น
2.4.1 พิสัย (Range: R)
คือ ผลต่างระหว่างข้อมูลที่มีค่ามากที่กับข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุด R = Xmax – Xmin ในเรื่องของการ
ควบคุมคุณภาพ เมื่อต้องการวิเคราะห์การกระจายตัวของข้อมูล พิสัยจะเป็นตัววิเคราะห์ที่นิยมใช้เนื่องจากง่าย
ต่อการคานวณและเหมาะสาหรับข้อมูลที่คานวณจานวนน้อยมาก (ไม่เกิน 10 จานวน) โดยที่จานวนข้อมูลที่
วิเคราะห์ยิ่งมากขึ้นก็ยิ่งจะทาให้ความถูกต้องของการวิเคราะห์น้อยลง เพราะการวิเคราะห์ที่เกิดขึ้นนั้น เกิดจาก
การน าข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดกับมูล ที่มีค่าน้อยที่สุดมาคิดเท่านั้น เช่น การประยุกต์พิสัยในแผนภูมิควบคุม
(Control Chart) เป็นต้น
2.4.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S)
คือ ค่าที่เป็นตัวเลขและมีหน่วยเดียวกับข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ค่าการกระจาย ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานที่มีค่าน้อยแสดงว่ามีการกระจายตัวน้อย กล่าวคือ สินค้าที่มีค่าส่วนเบี่ยงเบนของผลิตภัณฑ์น้อย
แสดงว่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นั้ น มี คุ ณ ภาพสู ง เนื่ อ งจากค่ า ที่ วั ด ได้ ก ระจายใกล้ กั บ ค่ า แนวโน้ ม สู่ ศู น ย์ ก ลางมาก
ดังนั้นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะใช้วิเคราะห์ข้อมูลที่ต้องการความแม่นยามากกว่าพิสัย เมื่อข้อมูลมีค่ามากหรือ
น้อยเกินไป และมีการกระจายที่ไม่สมมาตร
50 การควบคุมคุณภาพ

2.4.2.1 กรณีข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่ (Ungrouped Data)

ตารางที่ 2.11 การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแบบไม่ได้แจกแจงความถี่ระหว่างประชากรและตัวอย่าง

ประชากร ตัวอย่าง
N n
 ( X i  ) 2 ( X i  X ) 2
i 1 i 1
2  S2 
N n 1
N n

N
(X i) 2 n
(X i) 2
 X i2  i 1
N
 X i2  i 1
n
i 1 i 1
 
N n 1
N n n
 X i2 n  X i2  (  X i ) 2
i 1 i 1 i 1
  2 
N n(n 1)

  2 S  S2

*เมื่อ N, n แทนจานวนข้อมูลทั้งหมดของประชากรและตัวอย่างตามลาดับ

ตัวอย่างที่ 8
จงหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของการหดตัวที่มีในตัวอย่างกระดาษห่อพัสดุสีเหลือง ซึ่งถูกวัดค่า 6
แผ่น ค่าที่วัดได้คือ 6.7, 6.0, 6.4, 5.9 และ 5.8 เปอร์เซ็นต์
วิธีทา
2
n
 n 
n x -   xi 
2
i
S= i=1  i=1 
n(n  1)

6  231.26    37.2 
2

=
6(6  1)

= 0.35
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการหดตัวเท่ากับ 0.35 เปอร์เซ็นต์
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 51

2.4.2.2 กรณีข้อมูลแจกแจงความถี่ (Grouped Data)

ตารางที่ 2.12 การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแบบแจกแจงความถี่ระหว่างประชากรและตัวอย่าง

ประชากร ตัวอย่าง
k k
 f i ( X i  ) 2 fi( X i  X ) 2
i 1 i 1
2  S2 
N n 1
k k

k
( fiX i) 2 k
( fiX i) 2
 f i X i2  i 1
N
 f i X i2  i 1
n
i 1 i 1
 
N n 1
k k k
 f i X i2 n  f i X i2  (  f i X i ) 2
i 1 i 1 i 1
  2 
N n(n 1)

  2 S  S2

เมื่อ
fi แทนความถี่ในชั้นที่ i
xi แทนจุดกลางชั้นที่ i
k แทนจานวนชั้น
N, n แทนจานวนข้อมูลทั้งหมดของประชากรและตัวอย่าง ตามลาดับ

ตัวอย่างที่ 9
จากการบันทึกของเจ้าหน้าที่หอสมุดปรากฏว่ามีจานวนนักศึกษาเข้าใช้บริการของหอสมุดตั้งแต่วัน
จันทร์ถึงศุกร์ ในช่วงปิดเทอมเป็น 90, 74, 80, 110 และ 96 ตามลาดับ จงคานวณหาค่าเฉลี่ยและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้บริการในห้องสมุดทั้ง 5 วัน
วิธีทา
5

X i
90  74  80  110  96
μ  i =1

5 5

= 450/5
= 90
52 การควบคุมคุณภาพ
N

 (X -μ)
i
2

σ2 = i =1
N
(90  90)2  (74  90)2  (80  90)2  (110  90)2  (96  90)2

5
0  256  100  400  36

5
 158.4

σ  158.4  12.5857  12.59

ดังนั้น ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้บริการในห้องสมุดทั้ง 5 วัน เท่ากับ 90 คน และ 12.59 คน


ตามลาดับ

คุณสมบัติของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(1) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะมีค่าเป็นบวกเสมอ
(2) ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าสังเกตเท่ากันหมด แสดงว่าไม่มีการกระจายของข้อมูล จะมีส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0
(3) ถ้าค่าของส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานมีค่า มาก แสดงว่าข้อมูล มีการกระจายมาก ถ้าค่าของส่ ว น
เบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อย แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายน้อย
(4) ถ้านาค่าคงที่ไปบวกหรือลบกับค่าสังเกตทุกค่าในข้อมูลชุดเดิม ค่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ของข้อมูลชุดใหม่จะเท่ากับส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดเดิม
1
(5) ถ้านาค่าคงที่ไปคูณกับค่าสังเกตทุกค่าในข้อมูลชุดเดิม ด้วย m หรือ เมื่อ m ≠ 0 ค่าของส่วน
m
1
เบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดใหม่จะเท่ากับ ImI เท่าหรือ เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด
m
1
เดิม ค่าความแปรปรวนของข้อมูลชุดใหม่จะเป็น m2 เท่า หรือ เท่าของความแปรปรวนชุดเดิม
m2
2.4.3 สัมประสิทธิ์ความแปรผัน (Coefficient of Variance: C.V.)
คือ เป็นค่าที่ใช้วัดการกระจายของข้อมูลที่ไม่มีหน่วย หรือ อัตราส่วนระหว่างส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
กับค่าเฉลี่ยของข้อมูล ใช้ในการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุดขึ้นไป ถ้าข้อมูลใดมีค่า C.V. มาก
แสดงว่ามีการกระจายของข้อมูลมาก ทานองเดียวกันถ้าข้อมูลใดมีค่า C.V. น้อยแสดงว่ามีการกระจายของ
ข้อมูลน้อย
C.V. = (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน/ค่าเฉลี่ย) x 100 = σ x100 หรือ S x100
μ x
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 53

ตัวอย่างที่ 10
ความสูงของลูกนกมีค่าเฉลี่ย 3 เซนติเมตร ความแปรปรวน 1 ตารางเซนติเมตร ความสูงของช้างมี
ค่าเฉลี่ย 2.65 เมตร ความแปรปรวน 0.64 ตารางเมตร ให้ทาการเปรียบเทียบว่านก หรือช้างที่มีการกระจาย
ของความสูงมากกว่ากัน
วิธีทา
สัมประสิทธิ์การแปรผันของลูกนก (C.V.) = (1/3) x 100 = 33.33%
สัมประสิทธิ์การแปรผันของช้าง (C.V.) = (0.8/2.65) x 100 = 30.189%
ดังนั้น ความสูงของลูกนกมีการกระจายมากกว่าความสูงของช้างเพราะมีค่ามากกว่า

2.5 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่องที่สาคัญ
ศุ ภ ชั ย นาทะพั น ธ์ (2551) การควบคุ ม คุ ณ ภาพในส่ ว นของแผนการชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งเพื่ อ การยอมรั บ
(Acceptance Sampling Plan) และการควบคุมกระบวนการผลิตสาหรับข้อมูลที่มีค่าอย่างต่อเนื่อง เช่น
ข้อมูลที่มีหน่อยวัดเป็นมิลลิเมตร กรัม และโอห์ม เป็นต้น จะประยุกต์กลวิธีทางสถิติเฉพาะการแจกแจงปกติ
เท่านั้น ส่วนในเรื่องของความน่าเชื่อถือ จะประยุกต์การแจกแจงปกติ การแจกแจงแบบชี้กาลัง และการแจก
แจงไวบูลล์ เป็นต้น
2.5.1 การแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)
การแจกแจงปกติ มีลักษณะเป็นเส้นโค้งที่มีความสมมาตรรูปทรงระฆั งคว่า (Bell Shape) หรือ
เรียกว่า เส้นโค้งปกติ (Normal Curve) รอบค่ากลางค่าหนึ่ง โดยมีพารามิ เตอร์ที่น่าสนใจ 2 ตัว คือ µ และ σ
ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกถึงค่าเฉลี่ยและรูปทรง หรือความกว้างของโค้งของการแจกแจงปกติ ดังแสดงในรูปที่ 2.4

f(x)

X
µ

รูปที่ 2.4 การแจกแจงแบบปกติ

ถ้าให้ x เป็นตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงกระจายตัวเป็นเส้นโค้งปกติแล้ว จะเรียก x ว่าเป็นตัวแปร


สุ่มปกติที่มีการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( ) หมายถึง ค่าเฉลี่ย
54 การควบคุมคุณภาพ

เป็นได้ทั้งทั้งจานวนจริงลบจานวนเต็มศูนย์ หรือ จานวนจริงบวก และความแปรปรวนเป็น σ (σ ) ซึ่งมี


ฟังก์ชันความหนาแน่น คือ
2
1  x μ 
1  
f x  e 2 σ 
;   x   …(2.1)
σ 2π

การแจกแจงปกติสามารถเขียนขึ้น ได้สั้นๆ ด้วยสัญลักษณ์ x ( σ ) พื้นที่ใต้เส้ นโค้งปกติแทน


จานวนความถี่ทั้งหมด N ตัว
คุณสมบัติของการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบปกติ

(1) พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมีค่าเท่ากับ 1 หน่วยเสมอ นั่นคือ  f(x)dx = 1 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติทางซ้าย


ของค่าเฉลี่ยจะเท่ากับ 0.5 และพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติทางขวาของค่าเฉลี่ยก็จะเท่ากับ 0.5 เช่นกัน


(2) f(x)≥0 สาหรับทุกค่าของ X
(3) ปลายเส้นโค้งปกติ 2 ข้าง ซึ่งห่างจากค่าเฉลี่ยจะเข้าใกล้แกนนอน แต่จะไม่ตัดแกนนอน กล่าวคือ
limx f(x)  0 และ limx f(x)  0
(4) f [(µ + x)] = f [(µ - x)] คือ ฟังก์ชันความหนาแน่นสมมาตรรอบค่า µ
(5) ค่าสูงสุดของ f(x) จะปรากฏเมื่อ x = µ และเรียกจุดที่ x = µ ว่าแกนสมมาตร ซึ่งเป็นจุดที่แบ่ง
พื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน คือ 50% ของพื้นที่ใต้โค้งทั้งหมด
(6) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม จะมีค่าเท่ากัน ณ ค่าสูงสุดของ f(x)
(7) จุดเปลี่ยนโค้งของ f(x) อยู่ที่จุด x = μ ± σ ถ้าค่าเฉลี่ยเท่ากันและค่าของ σ มากจะทาให้โค้ง
กว้างกว่าค่าของ σ มาก ดังแสดงในรูปที่ 2.5
σ=5

σ = 10

x
µ
รูปที่ 2.5 การแจกแจงแบบปกติของประชากร 2 กลุ่ม โดยที่ µ เท่ากัน แต่ σ ต่างกัน
(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 55

2.5.1.1 ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของการแจกแจงปกติ
กาหนดให้
ค่าเฉลี่ย (Mean) คือ E(X) = µ …(2.2)
ความแปรปรวน (Variance) คือ V(X) = σ2 …(2.3)

การแจกแจงปกติสะสม เป็นการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ เท่ากับ


2
x 1  x-μ 
1 - 
σ 
F(x) = P(X  x)   e 2 dx …(2.4)
 σ 2π

เนื่องจากการหาปริพันธ์ (Integration) ทาได้ยากจึงมีความจาเป็นจะต้องแปลงรูปฟังก์ชันให้


อยู่ ในรู ป ที่ส ามารถหาปริ พันธ์ได้ง่ายขึ้น ด้ว ยการแปลงค่าเฉลี่ ยของคะแนนดิบให้ เป็น 0 และทาค่าความ
แปรปรวนของคะแนนดิบให้มีค่าเท่ากับ 1 ดังแสดงในรูปที่ 2.6 และจะเรียกตัวแปรสุ่มว่า ตัวแปรสุ่มแบบปกติ
มาตรฐาน (Standard Normal Random Variable) แทนสัญลักษณ์ด้วย Z~N(0,1) ทั้งนี้ด้วยการนาค่าเฉลี่ย
µ ลบออกจากทุกค่าของตัวแปร และนาค่า σ มาหารออกจากทุกค่าของตัวแปร ดังแสดงในรูปที่ 2.7

Z= x-μ …(2.5)
σ

X1 X2 Xi
Zi
Z1 0 Z2

รูปที่ 2.6 การแปลงค่าจาก Xi เป็น Zi


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
56 การควบคุมคุณภาพ

ϕ(z)

σ=1

รูปที่ 2.7 การแจกแจงแบบปกติ


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)

ผลจากการหาปริพันธ์แสดงแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งเฉพาะค่า ที่เป็นบวก การหาพื้นที่ใต้เส้นโค้ง


ปกติ ใ นช่ ว ง -1≤Z≤1 จะมี ค่ า ประมาณ 68.26% -2≤Z≤2 มี ค่ า ประมาณ 95.46% และ -3≤Z≤3
มีค่าประมาณ 99.73% ดังแสดงในรูปที่ 2.8

μ 3σ μ 2σ μ 1σ μ + 1σμ + 2σ μ + 3σ
μ
68.26%

95.46%
99.73%

รูปที่ 2.8 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ


บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 57

ตัวอย่างที่ 11
ค่าเฉลี่ยน้าหนักของมะม่วงฟ้าลั่นคือ 0.300 กิโลกรัม ซึ่งมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.030
กิโลกรัม สมมติว่ามีการแจกแจงปกติ จงหาเปอร์เซ็นต์ที่มะม่วงฟ้าลั่นจะมีน้าหนัก
วิธีทา
1. ต่ากว่าขีดจากัดล่าง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.260 กิโลกรัม

σ = 0.03

µ= 0.300
x = 0.260

P(X<0.274) = P( x - μ < 0.260  0.300 )


σ 0.03
= P(Z<-1.33)
= 0.918
ดังนั้น จะมีมะม่วงฟ้าลั่น 16.65 เปอร์เซ็นต์ที่จะมีน้าหนักน้อยกว่า 0.260 กิโลกรัม

2. เกินขีดจากัดบนซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.350 กิโลกรัม

σ = 0.03

µ= 0.300 x = 0.350
58 การควบคุมคุณภาพ

P(X>0.350) = P( x - μ < 0.350  0.300 )


σ 0.03
= 1- P(Z<1.67)
= 1-0.9525
= 0.0475
ดังนั้น จะมีมะม่วงฟ้าลั่น 4.75 เปอร์เซ็นต์ ที่จะมีน้าหนักมากกว่า 0.350 กิโลกรัม

2.5.2 การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง (Exponential Distribution)


ในการแจกแจงแบบเลขชี้กาลังหรือการแจกแจงแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล นิยมใช้ในหัวข้อความน่าเชื่อถือ
(Reliability) ความน่าเชื่อถือเป็นการศึกษาถึงอายุของผลิตภัณฑ์ ที่สามารถใช้งานได้ก่อนที่จะไม่เหมาะสมต่อการ
ใช้งาน (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551) โดยการประยุกต์การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง เพื่อจาลองพฤติกรรมของตัวแปร
ที่เกิดขึ้นอย่างสุ่ม เช่น อายุการใช้งาน ช่วงเวลาการรับบริการ จากนั้นจึงหาค่าความน่าจะเป็นที่ผลิตภัณฑ์ยังคง
ทางานได้ หรือการหาค่าความน่าจะเป็นที่ผลิตภัณฑ์จะเกิดการเสียหาย (Probability of Failure) ของอุปกรณ์
หรือเครื่องจักรก่อนช่วงเวลาที่กาหนด การแจกแจงแบบเลขชี้กาลังมีฟังก์ชันความหนาแน่นคือ

f(x) = λe-λx : x≥0


=0 : x มีค่าอื่นๆ …(2.6)

โดยที่ x ใช้แทนอายุการใช้งานที่ไม่เป็นจานวนลบ และ λ ใช้แทนอัตราความขัดแย้ง (Failure Rate)


ที่เป็นจานวนจริงบวก ซึ่งเป็นส่วนกลับของเวลา กราฟของการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง ดังแสดงในรูปที่ 2.9

f(x)

รูปที่ 2.9 การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 59

ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง
ค่าเฉลี่ย (Mean) คือ E(x) = 1/ λ …(2.7)
ความแปรปรวน (Variance) คือ V(x) = 1/ λ2 …(2.8)

การหาค่าความน่าจะเป็นของการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง เพื่อหาพื้นที่ด้านขวาของรูปที่ 2.9 สามารถ


คานวณได้เท่ากับ

P(X>t) = e-λt : t≥0 …(2.9)


ตัวอย่างที่ 12
ผลการทดสอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ทางไฟฟ้า พบว่าอัตราความขัดแย้งโดยเฉลี่ยเท่ากับ 1 ชิ้น ทุก ๆ
1,000 ชั่วโมง สมมติว่าใช้การแจกแจงแบบเลขชี้กาลังอธิบายอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเหล่านี้ จงหาความ
น่าจะเป็นที่ชิ้นส่วนดังกล่าวจะมีอายุการใช้งานมากกว่า 3,000 ชั่วโมง
วิธีทา
เนื่องจาก λ = 1/103 ชิ้นต่อชั่วโมง
-3
P(X>3,000) = e-10 x 3,000
= 0.0497
ดังนั้น ประมาณ 4.97 เปอร์เซ็นต์ ของชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าจะมีอายุการใช้งานมากกว่า 3,000 ชั่วโมง

2.5.3 การแจกแจงไวบูลล์ (Weibull Distribution)


มีการประยุ กต์อย่ างแพร่ ห ลายเนื่ องจากสามารถจาลองปรากฏการณ์ ต่างๆ ได้ เช่น เวลาเฉลี่ ย
จนกระทั่งเสียของชิ้นส่วนเครื่องจักร ตลับลูกปืน วัสดุสิ่งของ หรือตัวเก็บประจุไฟฟ้า เป็นต้น ฟังก์ชันความ
หนาแน่นของความน่าจะเป็น คือ
β
β-1 x
f(x)   
β x  - θ 
  e : x≥0, θ≥0 และ β≥0 …(2.10)
 θ  θ 

โดยที่ θ เป็นพารามิเตอร์มาตราส่วนโดย θ>0 และ β เป็นพารามิเตอร์เกี่ยวกับรูปทรง โดยที่ β>0


เช่น β>1จะได้ฟังก์ชันที่มียอดเพียงยอดเดียว β<1 จะได้ฟังก์ชันที่มีการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง และจะได้
ฟังก์ชันที่มีลักษณะคล้ายตัว J แต่กลับด้าน ดังแสดงในรูปที่ 2.10
60 การควบคุมคุณภาพ

2.0

1.8

1.6

β= 4, θ = 1
1.4

1.2

1.0
β= 1, θ = 1
0.8

0.6 β= 2, θ = 1

0.4 β= 0.5, θ = 1

0.2 0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0

รูปที่ 2.10 การแจกแจงแบบไวบูลล์ เมื่อ θ = 1


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)

ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของการแจกแจงแบบไวบูลล์
 
ค่าเฉลี่ย (Mean) คือ E(x) = θ   1  1 …(2.11)
β 

  2    1 2  
ความแปรปรวน (Variance) คือ V(x) = θ     1     1  
2
…(2.12)
  β    β   


กาหนดให้   t  แทนฟังก์ชันแกมมา (Gamma Function) โดยที่ Γ  t    e-x x t-1dx
0

การแจกแจงไวบูลล์สะสม (Distribution Function for Weibull Random Variable) เป็นการหา


พื้นที่ใต้เส้นโค้งดังนี้
F(X) = P(X ≤ x)
β
β-1 x
x
β  x  - θ 
= 0 θ  θ  e dx
β
x
- 
= 1- e θ
…(2.14)
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 61

ตัวอย่าง 13
หลอดรังสีแคโทดชนิดหนึ่ง ถูกทดสอบอายุการใช้งานโดยมีหน่วยเป็นปี สมมติว่ามีการแจกแจงไวบูลล์
โดยมี β = 2 และ θ = 8 จงหาความน่าจะเป็นที่ความขัดข้องของหลอดรังสีแคโทดจะเกิดขึ้นครั้งแรกในช่วง
4 ปี
2
 4
- 
วิธีทา P(X≤4) = 1- e 8

= 0.221

ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่หลอดรังสีแคโทดจะขัดข้องครั้งแรกในช่วง 4 ปี เท่ากับ 0.221

2.6 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องที่สาคัญ
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) การควบคุมคุณภาพในส่วนของการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ และการ
ควบคุมกระบวนการผลิตสาหรับข้อมูลที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง จะประยุกต์กลวิธีทางสถิติเฉพาะการแจกแจงทวินาม
(Binomial Distribution) และการแจกแจงปัวส์ซอง (Poisson Distribution)
2.6.1 การแจกแจงทวินาม (Binomial Distribution)
การแจกแจงทวินามจะใช้กับสายการผลิตที่รุ่นสินค้า (Lot: N) มีขนาดใหญ่มาก หรือ สายการผลิต
สินค้าที่สม่าเสมอ การทดสอบจะสุ่มตัวอย่างจานวน n ชิ้น ซึ่งการสุ่มแต่ละครั้งจะเป็นอิสระต่อกัน และจะมี
ผลลัพธ์เกิดขึ้นได้เพียง 2 ลักษณะคือ ความสาเร็จ (Success) หรือความล้มเหลว (Failure) เช่น ผ่าน (Pass)
หรือ ไม่ผ่าน (Fail) ผลิตภัณฑ์ตรงตามข้อกาหนด (Conforming) หรือผลิตภัณฑ์ไม่ตรงตามข้อกาหนด
(Nonconforming) เป็นต้น
ความน่าจะเป็นของความสาเร็จ (สัดส่วนของผลิตภัณฑ์บกพร่องหรือเสีย) ในการกระทาแต่ละครั้ง
คงที่ทุ กครั้ ง เท่ากั บ p การแจกแจงทวินามขึ้นอยู่กั บจ านวนครั้งที่ กระท าซ้า และความน่ าจะเป็นของ
ความสาเร็จในการกระทาแต่ละครั้ง

 n  x n-x
P(x) =  p q : x = 0, 1, 2, …, n
x
= 0 : x = ค่าอื่นๆ …(2.15)

หมายเหตุ:
1. N แทนจานวนเต็มบวก และเนื่องจากการแจกแจงทวินามใช้กับสายการผลิตที่รุ่นสินค้าที่มีขนาด
ใหญ่ ดังนั้นจึงไม่มีค่า N ในสูตร
2. จะอยู่ในช่วงของการควบคุมคุณภาพ ส่วนใหญ่จะมีค่าน้อยกว่า 0.15
3. q = 1 – p
4. ถ้าค่า p = q แล้วการกระจายจะมีลักษณะที่สมมาตร (Symmetry) แต่ถ้าค่า p ≠ q แล้ว
การกระจายอาจจะมีลักษณะไม่สมมาตร (Asymmetry) ขึ้นอยู่กับค่า n และ p จากทฤษฏีบททวินาม
62 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 14
สายการผลิตบานพับที่คงที่โดยการปั๊มขึ้นรูป มีสัดส่วนของเสียเนื่องจากความแข็งต่ากว่าที่กาหนด
เท่ากับ 0.1 เมื่อทาการชักตัวอย่างบานพับจานวน 5 ชิ้น มาทดสอบความแข็ง (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
1. จงหาความน่ าจะเป็น ที่จะพบบานพับเสีย 1 ชิ้น จากโจทย์เป็นการแจกแจงทวินาม เพราะว่า
สายการผลิตคงที่ แสดงว่า N มีขนาดใหญ่มาก โดยมี n = 5 และ p = 0.1
 n  x n-x
วิธีทา P(X=1) = xp q
 
 5
=   0.110.951
1 
= 0.33
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่บานพับเสีย 1 ชิ้น เท่ากับ 0.33

2. จงหาความน่าจะเป็นที่จะพบบานพับเสียไม่เกิน 1 ชิ้น
1
5 
วิธีทา P(X=1) =    0.1x 0.95-x
x
x=0  
= 0.59+0.33
= 0.92
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่บานพับเสียไม่เกิน 1 ชิ้น เท่ากับ 0.92

3. จงหาความน่าจะเป็นที่จะพบบานพับเสียอย่างน้อย 2 ชิ้น
วิธีทา P(X≥2) = 1-P(X≤1)
= 1-0.92
= 0.08
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่บานพับเสียอย่างน้อย 2 ชิ้น เท่ากับ 0.08

2.6.2 การแจกแจงปัวส์ซอง (Poisson Distribution)


ในปี พ.ศ. 2380 การแจกแจงปัวส์ซองนั้นได้รับการพัฒนาขึ้นครั้งแรกโดย ซีมอง ดี. ปัวส์ซอง ซึ่งเป็น
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม x โดยที่ x แทนจานวนของความสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการทดลองสุ่มต่อ
ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือต่อบริเวณใดบริเวณหนึ่ง ตัวอย่างของคาว่าต่อช่วงเวลา เช่น ต่อนาที ต่อวัน ต่อสัปดาห์
ต่อเดือน ต่อปี เป็นต้น ตัวอย่างของตัวแปรสุ่ม x เช่น อัตราการมาของรถที่ชาระค่าผ่านทางด่วนต่อนาที จานวน
รถที่มาสถานีบริการล้างรถต่อชั่วโมง จานวนเครื่องจักรเสียต่อวัน จานวนลูกค้าที่เข้ารับบริการต่อวัน จานวนจุดที่
ต้องซ่อมแซมบนพื้นถนนในช่วงความยาว 1,000 เมตร จานวนรอยตาหนิที่เกิดขึ้นบนผ้า 1,000 ตารางเมตร
จานวนรอยรั่วที่ท่อขนส่งน้ามันในช่วงความยาว 160 เมตร หรือจานวนตัวอักษรที่พิมพ์ผิดต่อหนึ่งหน้ากระดาษ
เป็นต้น
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 63

การแจกแจงปัวส์ซองจะใช้กับสายการผลิตที่ถูกสุ่มตัวอย่าง (n) เป็นจานวนมาก และสัดส่วนของ


ผลิตภัณฑ์บกพร่องมีค่าน้อยมาก

ดังนั้น สมการการแจกแจงปัวส์ซอง คือ


λ x ×e-λ
px = : x = 0, 1, 2, .., n
x!
=0 : x มีค่าอื่นๆ …(2.16)

กาหนดให้ λ = np
การเกิดขึ้นของแต่ละผลลัพธ์ในช่วงเวลาหนึ่งๆ หรือต่อบริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นอิสระต่อกัน โดย
แต่ละผลลัพธ์จะมีโอกาสเกิด ข้อบกพร่องเท่าๆ กัน ค่า λ คือ จานวนของอัตรา (ราคา ค่าใช้จ่าย ระดับ หรือ
ขนาด) เฉลี่ยต่อหน่วยเวลา หรือต่อหน่วยพื้นที่ และต้องมีค่าเป็นบวก ส่วน e แทนค่าลอการิทึมธรรมชาติ
(Natural Logarithm) มีค่าประมาณ 2.71828

ตัวอย่างที่ 15
จานวนความผิดพลาดของการพิมพ์รายชื่อลูกค้าผิดเฉลี่ยต่อกะคือ 2
1. จงหาความน่าจะเป็นที่จะพิมพ์รายชื่อลกค้าผิดเท่ากับ 2
x -λ
วิธีทา P(X = 2) = λ ×e
x!

=  2 ×e2
2

2!
= 0.27
ดังนั้น ความน่าจะเป็นทีจ่ ะพิมพ์รายชื่อลกค้าผิดเท่ากับ 2 คือ 0.27

2. จงหาความน่าจะเป็นที่จะพิมพ์รายชื่อลูกค้าผิดไม่เกิน 1
1
λx ×e-λ
วิธีทา P(X ≤ 1) = 
x=0 x!
= 0.135 + 0.736
= 0.871
ดังนั้น ความน่าจะเป็นทีจ่ ะพิมพ์รายชื่อลูกค้าผิดไม่เกิน 1 คือ 0.871
64 การควบคุมคุณภาพ

3. จงหาความน่าจะเป็นที่พิมพ์รายชื่อลูกค้าผิดอย่างน้อย 1
P(X ≥ 2) = 1-  λ ×e
1 x -λ
วิธีทา
x=0 x!
= 1 – 0.871
= 0.129
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่พิมพ์รายชื่อลูกค้าผิดอย่างน้อย 1 คือ 0.129
ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของการแจกแจงปัวส์ซอง
ค่าเฉลี่ย (Mean) คือ E(X) = λ = np …(2.17)
ค่าความแปรปรวน (Variance) คือ V(X) = λ = np …(2.18)
ถ้าค่า np มีค่าสูงแล้ว การแจกแจงปัวส์ซองจะมีการกระจายที่สมมาตร ตัวอย่ างเช่น อัตราการมา
เฉลี่ยของรถทีจ่ ะชาระค่าผ่านทางด่วนเท่ากับ 0.2, 0.5, 1 และ 2 คันต่อนาที ดังแสดงในรูปที่ 2.11

ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น


1.00 1.00 1.00 1.00
0.8 0.6 np = 2.0
np = 0.2 0.6 np = 0.5 np = 1.0 0.6
0.5 0.5
0.4 0.4
0.2
0.2 0.2 0.2

0 1 2 3 0 1 2 3 4 0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5 6 7

จานวนรถต่อนาที

รูปที่ 2.11 อัตราการมาของรถที่จะชาระผ่านทางด่วน


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)

ตัวอย่างที่ 16
จงพิสูจน์ในการหาค่าเฉลี่ยของการแจกแจงปัวส์ซอง
λ x ×e-λ
วิธีทา การแจกแจงปัวส์ซอง คือ p(x) =
x!
 x -λ
ค่าเฉลี่ย คือ E(X) =  x  λ ×e
x 1 x!
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 65

 x -λ
=  x  λ ×e
x 1  x-1!
 λx
= e-λ × 
x 1  x-1!
 λ λ2 λ3 
= λ×e-λ × 1+ + + +... 
 1! 2! 3! 
 
λ λ2 λ3
เนื่องจาก e =1+ λ + + +.... ดังนั้น
2! 3!
E(X) = λ × e-λ × eλ
= λ

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 2

1. ถ้าความน่าจะเป็นที่ได้ของซีพียูที่ชารุด 1 ชิ้น ในตัวอย่างขนาด 2 จากรุ่นของซีพียูเป็น 0.18 และความ


น่าจะเป็นที่ได้ของซีพียูที่เสีย 2 ชิ้น เป็น 0.25 จงหาความน่าจะเป็นที่ไม่ได้ซีพียูที่ชารุดเลย
2. จงหาความน่าจะเป็นที่เครื่องกลึงใช้งานไม่ได้ 3 เครื่อง หรือมากกว่า เมื่อสุ่มตัวอย่างเครื่องกลึงมา 8 เครื่อง
ในการหาอัตราการใช้งานพบว่ามีเครื่องกลึงที่เสียประมาณ 12% เนื่องจากอะไหล่ไม่ได้คุณภาพ โดยใช้การ
แจกแจงแบบทวินาม
3. อัตราการคลาดเคลื่อนชิ้นส่วนคอยล์ร้อนของเครื่องปรับอากาศมีการแจกแจงแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล พบว่ามี
ค่าเฉลี่ย 5,568 ชั่วโมง จงหาความน่าจะเป็นที่อายุการใช้งานน้อยกว่า 5,000 ชั่วโมง
4. ชิ้นส่วนสินค้าส่งมาตรวจที่ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพพบว่ามีการแจกแจงแบบปัวส์ซองด้วยอัตราเฉลี่ย 1.2 ชิ้น
ต่อนาที จงหาความน่าจะเป็นที่
4.1 ไม่มีชิ้นส่วนสินค้าส่งมาตรวจที่ฝ่ายตรวจคุณภาพในอีก 1 นาที ถัดไป
4.2 ไม่มีชิ้นส่วนสินค้าส่งมาตรวจที่ฝ่ายตรวจคุณภาพในอีก 2 นาที ถัดไป
5. เครื่องมือทางการแพทย์ชนิดหนึ่งพบว่า อัตราความขัดแย้งโดยเฉลี่ยเท่ากับ 1 ชิ้น ทุกๆ 100 ชั่วโมง สมมติ
ว่าใช้การแจกแจงแบบเลขชี้กาลังอธิบายอายุการใช้งานของชิ้นส่วนชนิดนี้ จงหาความน่าจะเป็นที่ เครื่องมือ
ทางการแพทย์ดงั กล่าวจะมีอายุการใช้งานมากกว่า 200 ชั่วโมง
66 การควบคุมคุณภาพ

2.7 เครื่องมือควบคุมคุณภาพ
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) ในความเป็นจริงไม่มีสิ่งใดในโลกที่จะเหมือนกันทุกประการแม้แต่กระบวนการ
ผลิตในโรงงาน พบว่าชิ้นงานที่ผลิตออกจากเครื่องจักรเครื่องเดียวกัน ใช้คนคนเดียวกัน และในเวลาไล่เลี่ยกัน
ก็จะไม่มีชิ้นงานใดที่มีขนาดหรือคุณสมบัติเหมือนกันทุกประการ ชิ้นงานที่มีคุณสมบัติผิดจากมาตรฐานในที่
กาหนดจะถูกคัดออกไปเป็ น ของเสี ย และชิ้นงานที่อยู่ในค่าพิกัดความเผื่อ หรือข้อกาหนดทางเทคนิคตาม
มาตรฐานก็จะถูกจัดว่าเป็นของดี สาเหตุ คือ การแปรผัน (Variation) ในกระบวนการผลิตซึ่งมีสาเหตุมาจาก
ปัจจัยที่สาคัญ 6 อย่าง คือ
1. ความบกพร่องที่เกิดจากการกระทาของบุคคล (Manmade Error) หรือเกิดจากการขาดความชานาญ
ซึ่งสามารถแก้ไขความบกพร่องดังกล่าวได้ด้วยการส่งพนักงานเข้ารับการฝึกอบรม
2. เครื่องจักรกล (Machinery) เกิดการสึกหรอเนื่องจากการใช้งาน แก้ไขโดยการซ่อมบารุง
3. วิธีการทางาน (Method of Work) ภายใต้กระบวนการผลิตเหมือนกัน แต่มีขั้นตอนภารปฏิบัติงาน
ต่างกัน แก้ไขโดยการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน
4. วัตถุดิบ (Material) แตกต่างกัน เพราะมาจากต้น เหตุที่แตกต่างกัน แก้ไขโดยการควบคุมคุณภาพ
วัตถุดิบ
5. เครื่องมือวัด (Measurements) เกิดความคลาดเคลื่อน แก้ไขโดยการสอบเทียบเครื่องมือ
6. สภาพสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิต (Environment) ไม่คงที่เก็บได้โดยการควบคุม เช่น อุณหภูมิไม่
คงที่แก้ไขด้วยการติดตั้งระบบปรับอากาศ หรือความชื้นสูงแก้ไขด้วยการติดตั้งเครื่องควบคุมความชื้น เป็นต้น
ความแปรผัน (Variation) ในกระบวนการผลิต มีทั้งที่สามารถควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ ซึ่งในสิ่งที่เรา
สามารถควบคุมได้ เราต้องควบคุมเพื่อป้องกันให้ไม่มผี ลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพ ซึ่งเป็นหลักการของการควบคุม
คุณภาพ (Quality Control) ขั้นตอนการควบคุมคุณภาพมีดังต่อไปนี้
(1) การระบุตัวปัญหาให้ชัดเจน
(2) การสารวจหรือการสังเกตหาลักษณะจาเพาะของปัญหา
(3) การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา
(4) การกาจัดสาเหตุแห่งปัญหา
(5) การตรวจสอบเพื่อสร้างความมั่นใจว่าปัญหาได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดซ้า
(6) การจัดทามาตรการป้องกันปัญหาให้เป็นมาตรฐานปฏิบัติ
(7) การสรุปผล
ในการควบคุมคุณภาพ ต้องอาศัยการควบคุมกระบวนการผลิตโดยใช้กลวิธีทางสถิติ (Statistical Process
Control: SPC) เป็นเครื่องมือที่ใช้แก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง ในกระบวนการผลิตไม่เปลี่ยนแปลงและมีสมรรถภาพ
สูงขึ้น ซึ่งประกอบด้วยเครื่องมือควบคุมคุณภาพ 7 อย่าง (7 QC Tools) ดังต่อไปนี้ ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
ฮิสโตแกรม (Histogram) แผนภาพพาเรโต (Pareto Diagram) แผนผังก้างปลา (Fishbone Diagram) แผนภูมิ
ควบคุม (Control Chart) แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram) และกราฟ (Graph) คาโอรุ อิชิกาวา ได้เป็น
ผู้ให้นิยามเครื่องมือควบคุมคุณภาพ 7 อย่าง แต่เขาไม่ได้เป็นผู้พัฒนาทุกเครื่องมือ โดยเชื่อว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของ
ปัญหาสามารถแก้ไขได้ด้วยการประยุกต์เครื่องมือควบคุมคุณภาพ 7 อย่าง แผนภูมิควบคุมน่าจะเป็นเครื่องมือที่
ซับซ้อนที่สุด โดยเครื่องมือควบคุมคุณภาพมีหน้าที่ดังนี้
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 67

1. ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ใบตรวจสอบ


2. ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ฮิสโตแกรม แผนภาพพาเรโต แผนผังก้างปลา แผนภาพการกระจาย และ
แผนภูมิควบคุม
3. ใช้ในการแสดงผลของข้อมูล คือ ฮิสโตแกรม และกราฟ
ทั้งนี้ในการใช้เครื่องมือทั้ง 7 อย่าง จะต้องคานึงถึงลักษณะชนิดของข้อมูลที่ได้ รวมถึงความเหมาะสมกับ
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เพื่อให้การวิเคราะห์ที่ได้ใกล้เคียงกับความจริ งและเกิดความถูกต้องมากที่สุด จึงจะ
สามารถนาไปใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์กรที่ประยุกต์ SPC จะทาให้สภาพแวดล้อม
ในการทางานของแต่ละหน่วยงานเกิดการปรับปรุงคุณภาพและผลิตผล (Quality and Productivity) อย่าง
ต่อเนื่อง โดยสภาพแวดล้อมดังกล่าวพัฒนาได้โดยผู้บริหาร
2.7.1 ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล และนาวิเคราะห์ความแปรผันที่เกิดขึ้น ความหมายของใบ
ตรวจสอบที่นิยามโดยสถาบันจูราน คือ ฟอร์มสาหรับการทาการบันทึกข้อมูล ซึ่งได้รับการออกแบบพิเศษเพื่อ
การตีความหมายของผลการบันทึกข้อมูลทันทีที่กรอกแบบฟอร์มดังกล่าวเสร็จสิ้น (กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ,
2540) ใบตรวจสอบจะมีช่องให้ผู้ตรวจสอบบันทึกค่าต่างๆ ของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้นที่สามารถนับจานวน
ข้อบกพร่องหรือรอยตาหนิได้ หรือสามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ เพื่อพิจารณาคุ ณภาพของผลิตภัณฑ์นั้นๆ
เช่น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง น้าหนัก ความแข็ง ความเหนียว และความเค้น เป็นต้น อาจจาแนกประเภทของ
ใบตรวจสอบตามประเภทข้อมูลได้เป็น 3 ประเภท คือ

1. ใบตรวจสอบแสดงข้อมูลแบบนับ ดังแสดงในรูปที่ 2.12 และ 2.13

บริษัท XYZ จากัด


ใบตรวจสอบข้อบกพร่องของเครื่องรับโทรทัศน์
Model 1013 ผู้ตรวจสอบ กิรติ
เวลาตรวจสอบ 18-22 เมษายา 49 ช่างเทคนิคผู้แก้ไข กิติพล
IC //// /
Capacitors //// //// //// //// //// /
Resistors //
Transformers ////
ชุดคาสั่ง ///
จอภาพ (CRT) /
อื่นๆ /

รูปที่ 2.12 ใบตรวจสอบแสดงความแปรผันของตาหนิ


(ที่มา: กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, 2540)
68 การควบคุมคุณภาพ

บริษัท ก อุตสาหกรรมอาหาร จากัด


ใบตรวจสอบสาหรับสารวจจากการแจกแจงน้าหนักบรรจุ
ชื่อผลิตภัณฑ์ ผักกาดหอม (ธรรมดา) ผู้ตรวจสอบ กิติศักดิ์
ข้อกาหนดเฉพาะ 82±5 กรัม ช่วงเวลา 18-22 เมษายน 39
 ให้ทาการสุ่มตรวจครั้งละ 5 กระป๋อง ทุกชั่วโมง
 หากพบสิ่งผิดปกติ ให้ทาการบันทึกลงในช่องหมายเหตุ
 ให้ทาเครื่องหมาย ลงตามช่องทันทีที่ตรวจสอบเสร็จสิ้น

40
35 หมายเหตุ
30
25
ความถี่

20
15
10
5
75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89
น้าหนักบรรจุ (กรัม)

รูปที่ 2.13 ใบตรวจสอบแสดงสาเหตุของความแปรผัน


(ที่มา: กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, 2540)
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 69

2. ใบตรวจสอบแสดงข้อมูลวัด ดังแสดงในรูปที่ 2.14 และ 2.15

บริษัท ก อุตสาหกรรมอาหาร จากัด


ใบตรวจสอบข้อบกพร่องการบรรจุผลไม้กระป๋อง
ชื่อผลิตภัณฑ์ ผักกาดดอก (ธรรมดา) ผู้ตรวจสอบ กิติศักดิ์
ข้อกาหนดเฉพาะ 82 ± 5 กรัม ช่วงเวลา 18-22 เมษายน 39
จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์
เครื่องจักร พนักงาน เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย เช้า บ่าย

#01 ข

#02 ง

หมายเหตุ น้าหนักผิดข้อกาหนด กระป๋องบรรจุชารุด


พิมพ์ฉลากผิด อื่น ๆ

รูปที่ 2.14 ใบตรวจสอบแสดงการกระจายตัวของน้าหนักบรรจุ


(ที่มา: กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, 2540)
70 การควบคุมคุณภาพ

บริษัท ก.การหล่อ จากัด


ใบตรวจสอบค่าความแข็งของสปริงสาหรับแหนบรถบรรทุก
ผูต้ รวจสอบ เกจวัด

วัน/ ประเภท กะ ลอด ตาแหน่ง หมาย


เดือน/ปี สปริง งาน ที่ P1 P2 เหตุ
เช้า 1 396 420
1 เม.ย. A1 2 396 421
37 บ่าย 3 408 423 460
4 408 438
เช้า 5 393 400
2 เม.ย. A1 6 401 399
37 บ่าย 7 404 438 450
8 396 429
เช้า 9 985 410
4 เม.ย. A1 10 391 432
37 407

เช้า 29 394
9 เม.ย. A2 30 397 419
37 บ่าย 31 409 406
32 397 404

* ให้ตรวจสอบความแข็งสปริงทุกตัวที่มีการแตกร้าว

รูปที่ 2.15 ใบตรวจสอบแสดงแหล่งความแปรผันของความแข็ง


(ที่มา: กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, 2540)
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 71

3. ใบตรวจสอบแสดงตาแหน่งการเกิดปัญหา ดังแสดงในรูปที่ 2.16

Check Sheet สาหรับการสารวจตาแหน่งของเสีย ช่วงเวลาสารวจ: 1 – 15 กรกฎาคม


ชนิดของรถยนต์: AL 23 ตาแหน่งของจุดตรวจสอบ: จุดมุ่งหมายของการสารวจ: การพ่นสีบกพร่อง
จุด H
ผู้ตรวจสอบ: Hatano จานวนเครื่องที่สารวจ: 2,139 คัน ประทับ
ตรา

ด้านขวา

หัวข้อเพิ่มเติมพิเศษ สีเป็นก้อน
1. 10 ก.ค. ทาความสะอาด Line พ่นสี สีย้อย
2. 12 ก.ค. Compressor เสีย สีสกปรก

รูปที่ 2.16 ใบตรวจสอบแสดงตาแหน่งของความแปรผัน


(ที่มา: กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, 2540)

2.7.1.1 วิธีการสร้างใบตรวจสอบ
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) บุคคลทั่วไปที่ไม่ได้อยู่ในวงการการควบคุมคุณภาพ อาจจะมีความรู้สึก
ครั้งแรกเมื่อเห็นตัวอย่างใบตรวจสอบ (ดังแสดงในรูปที่ 2.12 ถึง 2.16 ) ว่าเป็นใบรวบรวมข้อมูลธรรมดาที่ไม่
จาเป็นต้องมีขั้นตอนการสร้างหรือการออกแบบใดๆ ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิดพลาดเพราะในความเป็นจริงนั้นการ
จะสร้างใบตรวจสอบให้อยู่ในลักษณะใดมีสารสนเทศใดบ้างนั้น ต้องเกิดมาจากการสังเกตของผู้วิเคราะห์ว่าอะไร
คือความแตกต่าง (ความแปรผัน) และความแตกต่างนั้นควรจะมีสาเหตุมาจากอะไร (แหล่งความแปรผัน) เมื่อได้
สั งเกตและประเมินสิ่ งดังกล่ าวได้ครบถ้วนแล้ วจึงออกแบบใบตรวจสอบให้ ได้สารสนเทศตามที่กาหนด โดย
คานึงถึงความง่ายในการกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์มด้วย โดยพิจารณาประเด็นเพื่อการออกแบบใบตรวจสอบนี้
จะประกอบด้วยสิ่งที่แสดงความแตกต่าง (What) ตาแหน่งเกิด (Location) ที่พิจารณาได้ทั้งระดับภูมิทัศน์และ
ตาแหน่งที่ตัวงาน (Where) และเวลาที่เกิด (Timing) ที่พิจารณาถึงเวลา (When) ที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมี
ความแปรผัน
72 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างเช่น ในการสังเกตการณ์เกี่ยวกับความแปรผันของค่าความแข็งในกระบวนการทาง
ความร้อน (Heat Treatment) สปริงสาหรับใช้ในรถบรรทุกนั้น ผู้วิเคราะห์ได้ตั้งข้อสังเกตว่าค่าความแข็งที่มี
ความแตกต่างกันน่าจะมีผลมาจากมีการใช้สปริงคนละประเภทในกระบวนการเดียวกัน ตลอดจนตาแหน่งการ
วางสปริงในเตาอบ (อันเป็นผลมาจากความแปรผันของอุณหภูมิในเตาอบ) นอกจากนี้แล้วยังมีความเชื่อว่า
ค่าความแข็งน่าจะมีความแตกต่างกันที่คนละกะงาน ดังนั้นจึงสามารถออกแบบใบตรวจสอบได้ดังรูปที่ 2.15
2.7.1.2 การตีความหมายใบตรวจสอบ
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เนื่องจากใบตรวจสอบเป็นเครื่องสาหรับการแก้ปัญหาที่มุ่งเน้นการ
วิเคราะห์ความแปรผัน ดังนั้นในการตีความใบตรวจสอบจึงจาเป็นต้องพิจารณาว่าอะไรคือความแตกต่าง
และความแตกต่างดังกล่าวมีสาเหตุมาจากอะไร ซึ่งสารสนเทศที่ได้มาจากการตีความหมายใบตรวจสอบนี้จะมี
ผลต่อการตั้งสมมุติฐานของสาเหตุในการวิเคราะห์เพื่อการแก้ไขปัญหาต่อไป
ตัวอย่างเช่น จากใบตรวจสอบรูปที่ 2.13 จะสามารถตีความหมายได้ว่า ข้อบกพร่องจาก
น้าหนักไม่ได้ตามข้อกาหนด และการพิมพ์ฉลากผิด มีจานวนที่มากกว่าข้อบกพร่องอื่นๆ อย่างชัดเจน โดยใน
การผลิตต้นสัปดาห์ คือ วันจันทร์และอังคารนั้น การผลิตในกะเช้าจะมีข้อบกพร่องมากกว่าการผลิตในกะบ่าย
ในขณะที่การผลิ ตในปลายสั ปดาห์ คือ วัน พฤหั สบดีและวันศุกร์ นั้นการผลิตในกะบ่ายกลับมีข้อบกพร่ อง
มากกว่าการผลิตในกะเช้า ซึ่งมีความจาเป็นต้องพิจารณาต่อไปว่าสาเหตุแห่งความแตกต่างควรจะมาจากอะไร
นอกจากนี้แล้วยังสังเกตได้ว่าเครื่องจัก รที่ 1 มีข้อบกพร่องประเภทน้าหนัก ไม่ได้ตามข้อกาหนดค่อนข้างมาก
ในขณะที่เครื่องจักรที่ 2 มีข้อบกพร่องประเภทการพิมพ์ฉลากผิด ค่อนข้างมาก ซึ่งมีความจาเป็นต้องพิจารณา
ต่อไปว่าสาเหตุที่ทาให้เครื่องจักรที่ 2 เครื่องมีความแตกต่างกันคืออะไร และอาจจะตั้งข้อสังเกตได้ว่าพนักงาน
ที่เ ดิ น เครื่ อ งจั ก รนี้ เ ป็ น สาเหตุ ข องการเกิ ด ข้ อ บกพร่อ ง เนื่ อ งจากพนั ก งานแต่ล ะคนท าการผลิ ต แล้ ว เกิ ด
ข้อบกพร่องกับผลิตภัณฑ์แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาความแตกต่างที่เกิดขึ้นจากใบตรวจสอบได้แล้ว ควรจะ
มีการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของข้อมูล เพื่อยืนยันสาเหตุที่ตั้งข้อสัง เกตไว้นี้ด้วยแผนภาพพาเรโตและ
การวิเคราะห์ พบว่าข้อมูลที่แสดงในใบตรวจสอบยังแสดงสภาวะไร้เสถียรภาพควรดาเนินการเก็บข้อมูลต่อไป
2.7.1.3 ประโยชน์ของใบตรวจสอบ
1. ช่วยให้ผู้ตรวจสอบบันทึกผลการตรวจสอบได้สะดวก เพราะการออกแบบใบตรวจสอบ
จะต้องคานึงถึงความสะดวกของผู้ใช้ เช่น กรอกตัวเลขลงในช่องที่มีข้อความกากับไว้แล้ว ทาให้ไม่ต้องเขียน
ข้อความให้เสียเวลาอีก เป็นต้น
2. ช่วยให้ การตรวจสอบหรือสรุปการตรวจสอบรวดเร็ว ขึ้น เพราะใบตรวจสอบจะทาให้
ผู้ตรวจสอบทราบว่าต้องตรวจสอบอะไร ใบตรวจสอบที่ดีจะช่วยชี้แนะการตรวจสอบ และกาหนดลาดับขั้นการ
ตรวจสอบ ซึ่งจะทาให้การตรวจสอบรวดเร็ว
3. ช่วยให้การสื่อข้อความและการตัดสินใจในการดาเนินงานควบคุมคุณภาพเป็นไปได้อย่าง
ถูกต้อง ใบตรวจสอบจะช่วยลดการใช้ถ้อยคาที่ยืดยาว อันอาจจะทาให้เกิดความสับสนหรือไขว้เขว ทาให้การ
ตัดสินใจและการดาเนินการอาจเกิดความผิดพลาดได้ การใช้ใบตรวจสอบจะทาให้จะทาให้การตีความหรือ
สรุปผลการตรวจสอบ เพื่อเป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจในงานควบคุมคุณภาพทาได้รวดเร็วและถูกต้อง ซึ่งจะ
นาไปสู่การตัดสินใจเพื่อการดาเนินการที่ถูกต้อง
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 73

4. ทาให้การตรวจสอบเป็นไปอย่างมีระบบ เนื่องจากใบตรวจสอบจะช่วยกาหนดประเด็นที่
จะตรวจสอบได้ ซึ่งผู้ตรวจต้องตรวจสอบรายการตามที่กาหนดไว้ในใบตรวจสอบ ทาให้ข้อมูลที่ได้อยู่ในแนวที่
ต้องการ แม้ว่าผู้ตรวจจะเป็นคนละคนกันก็ตาม แต่การดาเนินงานยังคงต่อเนื่องส่งผลให้เกิดระบบงานที่ดี
2.7.1.4 ข้อควรระวังในการประยุกต์ใบตรวจสอบ
ใบตรวจสอบเป็นเครื่องมือทางสถิติชนิดหนึ่งที่มีการประยุกต์ใช้ในวงการควบคุมคุณภาพของ
อุตสาหกรรมไทยอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตามมีหลายกรณี พบว่ามีการใช้ใบตรวจสอบเป็นเพียงใบบันทึก
ข้อมูลเท่านั้นโดยปราศจากการตีความหมายแหล่งความแปรผันใดๆ เลย เช่น ใบตรวจสอบตามรูปที่ 2.14
ผู้วิเคราะห์อาจจะได้สารสนเทศเพียงว่าข้อบกพร่องในการผลิตลาไยในน้าเชื่อม มีอะไรบ้างมากน้อยเพียงไร
พบว่ามีข้อบกพร่องประเภทน้าหนักไม่ได้ตามกาหนดมีจานวนมากที่สุดคือ 16 ครั้ง ข้อบกพร่องประเภทพิมพ์
ฉลากผิดมีจานวน 14 ครั้ง ข้อบกพร่องประเภทกระป๋องบรรจุชารุดมีจานวน 9 ครั้ง และข้อบกพร่องอื่นๆ อีก
2 ครั้งเท่านั้น โดยผู้วิเคราะห์อาจจะมิได้ใช่ประโยชน์จากใบตรวจสอบในด้านของการวิเคราะห์ความแปรผัน
ดังที่กล่าวมาแล้วในหัวข้อ 2.7.1.2 เลย
นอกจากนี้ แล้ว ในการประยุกต์ใบตรวจสอบเพื่อการวิเคราะห์ความแปรผัน นี้ ควรใช้ให้ มี
ประสิทธิผลยิ่งขึ้นด้วยการใช้คู่กับแผนภาพพาเรโตและแผนภูมิควบคุมในการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของ
ข้อมูลเพื่อการพิสูจน์สาเหตุและผลได้
2.7.2 ฮิสโตแกรม (Histogram)
หลังจากรวบรวมข้อมูล แล้ว จะมีการนาเสนอข้อมูล ให้ อยู่ในรูปของกราฟ ตารางแจกแจงความถี่
แผนภูมหิ รือแผนภาพต่างๆ เพื่อง่ายต่อการตีความหมายและตัดสินใจ
ในการศึกษาถึงความแปรผันนั้น มีความจาเป็นต้องทาการศึกษาทั้งรูปทรงของความแปรผันค่าการ
กระจายที่ร ะบุ ถึงขนาดความแปรผั น และแนวโน้มสู่ ศูนย์กลางเครื่องมือตัว หนึ่งในชุดเครื่องมือแก้ปัญหา
7 อย่าง ที่สามารถใช้อธิบายความแปรผันตามลักษณะดังกล่าวได้ดีมากคือ ฮีสโตแกรม (Histogram) โดย
นอกจากนั้นจะใช้ฮิสโตแกรมในการอธิบายความแปรผันแล้วยังสามารถประยุกต์ใช้ฮิสโตแกรมในการพิสูจน์
สาเหตุของปัญหาได้ (หรือการพิสูจน์ก้างปลาด้วยการพิจารณาฮิสโตแกรมของหัวปลาเมื่อมีการเปลี่ยนระดับ
ของก้างปลาไป)
2.7.2.1 ความหมายของฮีสโตแกรม
กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ (2540) ได้ให้ความหมายของฮิสโตแกรม คือ กราฟที่แสดงความ
แปรผันของข้อมูลทั้งแนวโน้มสู่ศูนย์กลาง ค่าการกระจายและรูปทรงความแปรผัน โดยฮิสโตแกรมนี้ได้รับการ
พัฒนาขึ้นมาครั้งแรกโดยนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่ งเศส เอ.เอ็ม เกอรี่ (A.M. Guerry) และสถาบันจูรานได้ให้
แนวความคิดสาคัญสาหรับการวิเคราะห์ด้วยฮิสโตแกรม คือ
1. ค่าของข้อมูลทางสถิติจะแสดงถึงความแปรผันเสมอ
2. ความแปรผันจะปรากฏเป็นตัวแบหนึ่งที่แน่นอนเสมอ
3. ตัวแบบของความแปรผันจะพิจารณาได้ยากมากหากพิจารณาพิจารณาเพียงตัวเลขของ
ข้อมูล
4. การพิจารณาตัวแบบของความแปรผันจะสามารถทาได้ง่ายมาก หากสรุปให้อยู่ในรูปของ
ฮิสโตแกรม
74 การควบคุมคุณภาพ

2.7.2.2 วิธีการสร้างฮิสโตแกรม
ในการสร้างฮิสโตแกรม จะมีลาดับขั้นตอนดังนี้ คือ
1. ทาการรวบรวมข้อมูล โดยมีข้อแนะนาว่าจานวนของข้อมูลไม่ควรต่ากว่า 50 ตัว เพราะ
จะทาให้ไม่ปรากฏรูปทรงความแปรผันและไม่ควรเกิน 200 ตัว เพราะว่ามีโอกาสสูงที่ข้อมูลจะล้าสมัยหรือมา
จากคนละกระบวนการ
2. หาค่าพิสัยของข้อมูล จากสูตร พิสัย = ข้อมูลที่มีค่ามากที่สุด – ข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุด
3. กาหนดขนาดอันตรภาคชั้น (Class Interval) ที่มีความสะดวกต่อการพลอตกราฟ คือ
ตัวเลขจานวนเต็ม หรือตัวเลขที่มีค่าเพิ่มครั้งละ 1⁄2 ของค่าส่วนเพิ่มเติม
4. พิจารณาความเหมาะสมของอันตรภาคชั้น โดยพิจารณาว่าจานวนชั้น (ตามที่มีการกาหนด
อันตรภาคชั้น) อยู่ในช่วงเหมาะสมหรือไม่ โดยการพิจารณาจากตารางที่ 2.13 ข้างล่างนี้ จากความสัมพันธ์
จานวนชั้น = พิสัย/ขนาดอันตรภาคชั้น

ตารางที่ 2.13 จานวนชั้นที่แนะนาสาหรับการสร้างฮีสโตแกรม


จานวนข้อมูล จานวนชั้น
ต่ากว่า 50 ตัว 5 ถึง 7
50 ถึง 100 6 ถึง 10
101 ถึง 150 7 ถึง 12
มากกว่า 150 10 ถึง 20

5. ทาการสร้ างตารางแจกแจงความถี่โ ดยที่ต้องมีการก าหนดขอบเขตของแต่ ล ะชั้นให้


ละเอียดกว่าหน่วยที่วัดได้ละเอียดที่สุดของข้อมูลครึ่งหนึ่งเสมอ เช่น ถ้าข้อมูลเป็นเลขจานวนเต็มที่มีค่าเพิ่มขึ้น
ครั้งละ 1 ก็ควรจะให้ขอบเขตชั้นมีความละเอียด 1⁄2 (1) = 0.5 ทั้งเพื่อป้องกันปัญหาข้อมูลที่มีค่าเท่ากับ
ขอบเขตชั้นบนของชั้นหนึ่ง และขอบเขตชั้นล่างของอีกชั้นหนึ่ง
6. ทาการเขียนกราฟแสดงฮิสโตกราฟแสดงฮิสโตแกรมโดยอาศัยข้อมูลจากตารางแจกแจง
ความถี่และกาหนดให้แกนนอน (X) แทนข้อมูล และแกนตั้ง (Y) แทนความถี่ในแต่ละชั้นของข้อมูล
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 75

ตัวอย่าง 2.17
จากข้อมูล ในตารางที่ 2.14 ข้างล่ างแสดงถึงความกว้างของช่องในการผลิตหัวบันทึกข้อมูล
(Magnetic Recording Head: MR)

ตารางที่ 2.14 ข้อมูลแสดงความกว้างของช่องว่างของหัวบันทึกข้อมูล

1.39 1.40 1.60 1.41 1.43 1.56 1.35 1.52 1.51 1.25
1.46 1.30 1.50 1.34 1.47 1.39 1.55 1.59 1.50 1.66
1.61 1.32 1.46 1.30 1.51 1.38 1.48 1.42 1.60 1.35
1.52 1.48 1.38 1.40 1.55 1.38 1.55 1.46 1.58 1.34
1.41 1.29 1.41 1.42 1.43 1.40 1.35 1.48 1.42 1.30
1.39 1.33 1.46 1.43 1.35 1.52 1.25 1.48 1.60 1.43
1.51 1.35 1.40 1.46 1.57 1.57 1.50 1.20 1.48 1.41
1.65 1.51 1.42 1.60 1.29 1.62 1.46 1.51 1.24 1.50
1.56 1.30 1.40 1.55 1.50 1.38 1.46 1.39 1.42 1.46
1.69 1.55 1.46 1.52 1.33 1.52 1.43 1.39 1.41 1.38

วิธีทา
จากตารางที่ 2.14 ได้ค่ามากที่สุด 1.69 และค่าน้อยสุ ด 1.20 ซึ่งทาให้ คานวณค่าพิสั ยได้ เท่ากับ
1.69–1.20 หรือ 0.49 และจากการที่ข้อมูลมีจานวน 100 ตัว พบว่าจานวนชั้นที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง
6 ถึง 10 ชั้น ถ้ากาหนดขนาดอันตรภาคชั้น 0.05 จะได้ว่า

จานวนชั้น = 0.49/0.05
= 9.8 หรือ 10 ชั้น

ดังนั้น จะสามารถสร้างตารางแจกแจกความถี่ได้ ดังตารางที่ 2.15 และสามารถสร้างกราฟฮิสโต


แกรมได้ ดังรูปที่ 2.17
76 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 2.15 แจกแจงความถี่สาหรับข้อมูลในการผลิตหัวบันทึกข้อมูล

ชั้นที่ อันตรภาคชั้น ค่ากลาง รอยขีด ความถี่


1 1.195-1.245 1.220 // 2
2 1.245-1.295 1.270 //// 4
3 1.295-1.345 1.320 //// //// 9
4 1.345-1.395 1.370 //// //// //// 15
5 1.395-1.445 1.420 //// //// //// 20
////
6 1.445-1.495 1.470 //// //// //// 15
7 1.495-1.545 1.520 //// //// //// 15
8 1.545-1.595 1.570 //// //// / 11
9 1.595-1.645 1.620 //// / 6
10 1.645-1.695 1.670 /// 3
ผลรวม 100

25
20
20
15 15
15
15
11
9
10

4 6
5 2 3

0
1.246-1.295

1.296-1.345

1.495-1.545
1.346-1.395

1.396-1.445
1.195-1.245

1.646-1.695
1.446-1.495

1.546-1.595

1.596-1.645

รูปที่ 2.17 ฮีสโตแกรมแสดงการกระจายความกว้างช่องว่างของข้อมูล


บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 77

2.7.2.3 การวิเคราะห์ข้อมูลจากฮีสโตแกรม
การตีความหมายด้านรูปทรงการกระจายของฮีสโตแกรม (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540) ดังต่อไปนี้

(ก) (ข) (ช)

(ค) (ง) (ซ)

(จ) (ฉ)

รูปที่ 2.18 รูปแบบทั่วๆไปของกราฟฮิสโตแกรม


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
1.รูประฆังคว่า (Bell Shaped Distribution ) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ก) หมายถึง
ความปกติของข้อมูล กล่าวคือข้อมูลมีค่าส่วนใหญ่เท่ากับค่าค่าหนึ่งตรงกลางแล้วมีการกระจายออกไปอย่าง
สมมาตรซ้ายและขวา เนื่องจากสาเหตุความแปรผันแบบธรรมชาติในกรณีที่ฮิสโตแกรมไม่ได้แสดงรูปทรงระฆัง
คว่าแล้ว มีความจาเป็นที่ต้องวิเคราะห์สาเหตุของความผันดังกล่าวมีความผิดปกติเสมอไป
2. รูปทรงภูเขาสองยอด (Double Peaked Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ข) ซึ่งจะมี
ความหมายว่า ข้อมูลดังกล่าวมาจากแหล่งความแปรผัน 2 แหล่งที่มีความแตกต่างกันชัดเจน โดยอาจจะ
หมายถึง เครื่องจักร กะงาน วัตถุดิบ ในกรณีนี้มีความจาเป็นต้องแยกข้อมูลทั้งสองชุดออกจากกันก่อนที่จะมี
การวิเคราะห์ใดๆ ต่อไป
3. รูปทรงที่ราบสูง (Plateau Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ค) ซึ่งเป็นรูปทรงที่ไม่มี
ฐานนิยมอย่างชัดเจน โดยพื้นฐานแล้วเกิดมาจากข้ อมูลที่พิจารณามาจากแหล่งความแปรผันหลายแหล่งที่มี
ความใกล้เคียงกันมาก จึงจาเป็นต้องกาหนดก่อนว่าข้อมูลดังกล่าวมีความแปรผันมาจากแหล่งใด
78 การควบคุมคุณภาพ

4. รูปทรงหวีหัก (Comb Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ง) ที่มีลักษณะรูปทรงสูงๆ


ต่าๆ สลับกันไปไม่แน่นอนคล้ายกับหวีที่มีซี่หัก โดยทั่วไปแล้วรูปทรงแบบหวีหักมักเกิดมาจากความผิดพลาดใน
การกาหนดชั้นฮิสโตแกรมก็ได้ ดังนั้น จึงควรมีการทบทวนถึงการได้มาซึ่งข้อมูลใหม่รวมถึงการทบทวนวิธีการ
สร้างฮิสโตแกรม
5. รูปทรงเบ้ (Skewed Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (จ) ซึ่งเป็นรูปทรงที่มีฐานนิยม
อยู่ทางด้านซ้ายขวา เช่น ในรูปที่ 2.18 (จ) ที่มีค่าฐานนิยมของรูปอยู่ทางซ้ายจะเรียกรูปดังกล่าวว่ารูปทรงเบ้
ขวา แต่ถ้าหากฐานนิยมอยู่ด้านขวาของรูป ก็จะเรียกว่ารูปทรงดังกล่าวว่ารูปทรงเบ้ซ้าย ในการตีความหมาย
รูปทรงประเภทนี้มักจะเกิดจากการมีพิกัดควบคุมที่ด้านหนึ่งของการได้มาซึ่งข้อมูล เช่น พิกัดของสเปค หรือ
พิกัดควบคุมอื่นในงานวิศวกรรม ซึ่งโดยมากจะเกิดจากข้อมูลที่ประกอบด้วยการวัดเวลาหรือการนับจานวน
เช่น การเก็บข้อมูลในช่วงระยะเวลาสั้นๆ ของการดาเนินงาน หรือการนับจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องของระบบ
ที่มีการควบคุมดีมาก เป็นต้น
6. รูปทรงถูกตัด (Truncated Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ฉ) ที่มีลักษณะคล้าย
รูปทรงระฆังคว่าและโดยตัดออกไปข้างหนึ่ง โดยการตีความหมายจะต้องพิจารณาถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดการตัด
ความเบี่ยงเบนของข้อมูลออกไปว่าเกิดมาจากอะไร และมีความหมายประการใด เช่น อาจจะเกิดจากข้อมูลที่
ผ่านการตรวจสอบ 100% หรือเป็นข้อมูลที่ได้มาจากข้อมูลที่ผ่านระบบควบคุมอัตโนมัติ เป็นต้น
7. รูปทรงเกาะแก่ง (Isolated Peak Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ช) ซึ่งมีลักษณะที่
กลุ่ มข้อมูล จ านวนไม่มากนั กแยกออกไปจากข้อมูล กลุ่มใหญ่คล้ ายรูปเกาะแก่ง โดยปกติมักเกิดจากความ
ผิดพลาดในการตรวจสอบหรืออุปกรณ์ควบคุม หรือความไม่สมบรูณ์ของกระบวนการ เป็นต้น
8. รูปทรงหน้าผา (Edge Peak Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 2.18 (ช) ซึ่งมีรูปทรงที่ด้าน
หนึ่งสูงโด่งขึ้นมามาก ในขณะที่อีกด้านหนึ่งมีการกระจายเป็นไปอย่างปกติ ซึ่งโดยปกติแล้วข้อมูลที่มีรูปทรง
แบบนี้มีสาเหตุมาจากความไม่ถูกต้องของข้อมูล เช่น ความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล เป็นต้น
2.7.3 แผนภาพพาเรโต (Pareto Diagram)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) หลักการของพาเรโตมีใจความว่า ในปัญหาใดๆ ที่เกิดขึ้นย่อมมีมาจาก
สาเหตุหลายๆ อย่าง และในสาเหตุหลายๆ อย่างนี้จะมีสาเหตุใหญ่เพียงไม่กี่อย่างที่มีบทบาทสาคัญที่ทาให้เกิด
ปัญหา ดังนั้นถ้าจะแก้ปัญหาให้สาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพต้องไปแก้ที่สาเหตุใหญ่ก่อน ซึ่งการลดสาเหตุใหญ่
ให้เหลือครึ่งหนึ่งจะง่ายกว่าการลดสาเหตุเล็กให้หมดไป
จากงานวิจัยของ ดร. โจเซฟ จูราน (ค.ศ.1925-1950) พบว่าตัวแบบของความมีเสถียรภาพของ
ข้อมูลนั้นจะมีลักษณะที่ข้อมูลมีความสาคัญมาก (ประมาณ 80% ของตัววัดความสาคัญทั้งหมด) จะมาจาก
ประเภทข้อมูลจานวนเพียงเล็กน้อย (ประมาณ 20% ของประเภทข้อมูลทั้งหมด) อาจเรียกกฎสาหรับหลักการ
พาเรโตนี้ว่า “กฎ 80–20”
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 79

100%
100%
Trivial
มีความสาคัญเล็กน้อยประมาณ 80%
จานวน Many Trivial Many
มาก
80%
Vital มีความสาคัญมาก
20%
ประมาณ 20% Few Vital Few
จานวนเล็กน้อย

จานวนของประเภทข้อมูล ความสาคัญของข้อมูล
(แกนนอนของแผนภาพ) (แกนตั้งของแผนภาพ)

รูปที่ 2.19 หลักการของแผนภาพพาเรโต


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

ตารางที่ 2.16 ตัวอย่างการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของข้อมูลที่จาแนกประเภท

กรณี กรณีข้อมูลมีเสถียรภาพ กรณีข้อมูลไม่มีเสถียรภาพ


ประเภท ระยะเวลา 1 2 1 2 1 2 1 2
ก 18 20 18 20 18 20 18 20
ข 15 14 15 14 15 14 15 14
ค 10 7 10 7 10 7 10 7
ง 6 7 6 7 6 7 6 7
จ 2 3 2 3 2 3 2 3

ในขณะเดีย วกัน จะสั งเกตพบว่า ในกรณีข้อมู ล ไม่เสถียรภาพที่ไม่ส ามารถคาดการณ์ได้ ในแต่ล ะ


ช่วงเวลาจะไม่สามารถกาหนดได้ว่าข้อมูลแบบใดจะมีความถี่มากที่สุด เช่น ในระยะที่ 1 ข้อมูลแบบ ก อาจจะ
มีค่ามากที่สุด ในขณะที่ข้อมูลแบบ ง อาจจะมากที่สุด ในระยะเวลาที่ 2 และ 3 ข้อมูลแบบ ข อาจจะมากที่สุด
ซึ่งเป็นลักษณะของความไร้เสถียรภาพ โดยลักษณะดังกล่าวจะพบว่าข้อมูลจะมีการสะสมแล้วค่าสะสมมีค่าที่
ใกล้เคียงกัน คือแตกต่างกันอย่างไรไม่เด่นชัด โดยการแยกแยะความแปรผันในข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ความมี
เสถียรภาพสาหรับการเลื อกประเภทของข้อมูลนี้ ดร.จูราน ได้แสดงด้วยกราฟแท่งแสดงลาดับตามค่าสะสม
ดังแสดงในรูปที่ 2.20 และ ดร.จูราน ได้เรียกชื่อว่า แผนภาพพาเรโต (Pareto Diagram)
80 การควบคุมคุณภาพ

(ก) แสดงความเป็นไปตามหลักการของพาเรโต้
สิ่งสาคัญมีจานวนเล็กน้อย

60 (63)
(42) จานวนอีกมากมายมีความสาคัญเล็กน้อย
(23) (20)
30
(10)
10

ก ข ค ง จ

(ข) แสดงความไม่เป็นไปตามหลักการของพาเรโต้
สิ่งสาคัญมีจานวนมาก
(47)
50 (37)
(32) (32)
30
(10)
10

ข ค ก ง จ

รูปที่ 2.20 การใช้แผนภาพพาเรโตในการอธิบายความมีเสถียรภาพ


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

จากกฎ 80–20 ของ ดร. จูรานนี้เอง ทาให้การอ่านเพื่อตีความหมายตามหลักพาเรโตด้วยแผนภาพ


พาเรโตดังรูปที่ 2.20 จะมีความง่ายขึ้นถ้าหากมีการใช้กราฟแสดงค่าสะสมของข้อมูลทุกประเภทแล้วประยุกต์
กฎ 80–20 ดังแสดงในรูปที่ 2.21
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 81

(ก) แสดงความเป็นไปตามหลักการของพาเรโต้

150 Trivial Many 100%


A
80%
Vital Few
70%
100
B B
(63) A
(42)
30 (23) (20)
(10)

(ข) แสดงความไม่เป็นไปตามหลักการของพาเรโต้

150 100%
A
80%
Vital Many
70%
100
B B
A
(47)
(37)
(32) (32)
30
(10)

รูปที่ 2.21 แผนภาพพาเรโตที่แสดงค่าสะสมของข้อมูลทั้งหมด


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

ในรูปที่ 2.21 (ก) เมื่อใช้กฎ 80–20 ด้วยการลากเส้น A จะพบว่ามิได้เป็นไปตามหลักการพาเรโต เมื่อ


ลากเส้น B ที่ 70 % จะพบว่าสามารถอธิบายด้วยหลักการพาเรโต แสดงว่าข้อมูลดังกล่าวอยู่ในเสถียรภาพที่
82 การควบคุมคุณภาพ

สามารถทานายได้ สาหรับรูปที่ 2.21 (ข) ไม่ว่าจะใช้เส้น A หรือ B ก็ตาม จะพบว่าสิ่งที่มีความสาคัญจะมี


จานวนมากเสมอ ซึ่งขัดแย้งกับหลักพาเรโตจึงถือได้ว่าข้อมูลไม่ได้อยู่ในสภาวะเสถียรภาพและทาให้ไม่สามารถ
คาดการณ์ ดังนั้นขอให้สังเกตว่าแผนภาพพาเรโตนี้จะมีเส้นโค้งของค่าสะสมหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าหากมีเส้นโค้งก็
ช่วยให้สามารถตีความหมายได้ง่ายขึ้นเท่านั้น และเมื่อผู้วิเคราะห์มีประสบการณ์มากขึ้นอาจจะละเส้นโค้ง
สะสมนี้ไว้ก็ได้
2.7.3.1 วิธีการสร้างแผนภาพพาเรโต
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในการสร้างแผนภาพพาเรโตดังที่กล่าวมานี้ จะดาเนินการได้ตามลาดับ
ขั้นดังนี้
(1) ทาตารางแจกแจงโดยเรียงลาดับของข้อมูลตามเกณฑ์ที่ใช้วัดความรุนแรงหรือความสาคัญ
ของข้อมูล อาทิ จานวนครั้ง มูลค่าเงิน (บาท) เวลา (นาที) จานวนรายการ แล้วคิดค่าสะสม ดังตารางที่ 2.21 ทั้งนี้
ไม่จาเป็นต้องสร้างค่าร้อยละ และค่าร้อยละสะสมแต่อย่างใด
(2) ทาการแบ่งสเกลในกระดาษกราฟให้แนวนอน (ออร์ดิเนต) แทนประเภทของข้อมูล และ
ให้แนวตั้ง (แอบซิสซ่า) แทนเกณฑ์วัดความรุนแรงหรือความสาคัญ
(3) ทากราฟแท่งที่แสดงประเภทของข้อมูลกับความรุนแรงหรือความสาคัญ
(4) เขียนกราฟสะสม โดยให้จุดสุดท้ายของค่าสะสมมีค่าเท่ากับ 100%
(5) ทาการอ่านค่าจากสเกลค่าร้อยละสะสมที่ค่าประมาณ 80% ก่อน (ใช้กะประมาณการ
โดยไม่จาเป็นต้องแบ่งสเกลให้ยุ่งยาก) แล้วพิจารณาว่าข้อมูลดังกล่าวมาจากรายการจานวนเล็กน้อยหรือไม่
(ประมาณ 20%) ถ้าหากไม่ได้ก็ทดลองค่าอื่นๆ บ้าง อาทิ 75% 70% หรือ 65% เป็นต้น
(6) สรุปความหมาย แล้วปฏิบัติการตามการตัดสินใจ
2.7.3.2 การวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุง
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) แผนภาพพาเรโตใช้ในการตีความหมายมีเสถียรภาพหรือไม่ของข้อมูลที่
พิจารณาโดยมีข้อกาหนด คือ ถ้าตัวแบบของข้อมูลเป็นไปตามหลักการพาเรโตแล้ว แสดงว่าข้อมูลนั้นอยู่ในสภาวะ
เสถียรภาพและสามารถใช้คาดการณ์ได้ แต่ถ้าหากตัวแบบของข้อมูลมิได้เป็นไปตามหลักการของพาเรโตแล้ว แสดง
ว่าข้อมูลไร้เสถียรอันเนื่องจากข้อมูลที่เก็บอยู่ในสภาวะการปรับตัว (Transient State) เข้าสู่สภาวะเสถียรภาพ จึง
ควรมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอีก หรืออีกกรณีข้อมูลมาจากกระบวนการที่ไร้เสถียรภาพมีความจาเป็นต้องแก้ไขด้วย
การทาให้กระบวนการมีมาตรฐาน
แผนภาพพาเรโตจะมีประโยชน์ค่อนข้างมากต่อการควบคุมคุณภาพในขั้นตอนการเลื อก
ปัญหาตามเกณฑ์ที่ว่า ปัญหามีจานวนมากมายแต่ปัญหาที่มีความสาคัญจะมีจานวนเพียงเล็กน้อย โดยที่ปัญหา
หนึ่งปัญหามีอาการของปัญหามากมายแต่อาการที่สาคัญจะมีจานวนเพียงเล็กน้อย และอาการปัญหาหนึ่ง
ปัญหาจะมีสาเหตุมากมาย สาเหตุที่สาคัญจะมีจานวนเพียงเล็กน้อย ซึ่งจะใช้หลักดังกล่าวนี้ต่อการวิเคราะห์
ปัญหาและสาเหตุเสมอ นอกจากนี้ยังต้องใช้แผนภาพพาเรโตในขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อมูลภายหลักการ
แก้ไข เพื่อการพิจ ารณาว่าในการติดตามผลของมาตรการแก้ไขนั้น พนักงานสามารถปฏิบัติการแก้ไขตาม
มาตรการตอบโต้ที่เสนอได้อย่ างมีเสถีย รภาพแล้ ว หรือไม่เพื่ อการสรุปผล แต่ถ้าหากยังมิ ได้อยู่ใ นสภาวะ
เสถีย รภาพก็ มี ความจ าเป็ น ต้ อ งหาสาเหตุจ ากแรงต่ อต้ า นและแก้ไ ขต่อ ไป จึง นั บว่ าแผนภาพพาเรโตนี้ มี
ประโยชน์อย่างมากต่อกระบวนการแก้ปัญหา
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 83

2.7.3.3 ข้อควรระวังในการประยุกต์ใช้แผนภาพพาเรโต
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) แม้ว่าคนไทยในอุตสาหกรรมต่างๆ ในวงการควบคุมภาพจะรู้จัก
แผนภาพพาเรโตดีมากก็ตาม แต่ก็น่าเสียดายที่ส่วนมากคนไทยจะรู้จักแผนภาพพาเรโตในด้านการแสดงผล
ข้อมูลเท่านั้น โดยไม่มีการวิเคราะห์ใดๆ โดยที่พบเห็นมากที่สุด คือ การแสดงว่าข้อมูลใดมากน้อยกว่ากันเท่าใด
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละเท่าใดของทั้งหมดแล้ว ก็หยิบแท่งแรกมาพิจารณาโดยไม่สนใจว่าตัวแบบจะเป็นอย่างไร
เช่น ในรูปที่ 2.21 ไม่ว่า (ก) หรือ (ข) ก็ตามจึงส่งผลให้คนไทยไม่สามารถใช้ประโยชน์จากแผนภาพพาเรโตได้
เต็มที่ และผู้วิเคราะห์ขาดความตระหนักในการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมาก
ต่อการศึกษาทางสถิติ นอกจากข้อควรระวังดังกล่าวแล้วก็ขอให้ระวังเกี่ยวกับการตีความหมายกฎ 80–20 ที่
บังเอิญร่วมกันได้ 100 แท้จริงอาจจะเป็น 80–25 หรือ 75–30 ก็ได้ โดยข้อให้เข้าใจว่า “80” ในกฎ 80–20
นั้น แทนความหมายของคาว่า “มีความสาคัญมาก” ซึ่งอาจจะเท่ากับ 82, 75, 70 หรือแม้แต่ 65 ก็ได้ โดยไม่
จาเป็นต้อง 80% เสมอไปรวมถึง “20” ในกฎ 80-20 ก็จะแทนความหมายคาว่า มีจานวนเพียงเล็กน้อย ซึ่ง
อาจจะเท่ากับ 15, 18, 25, 30 หรือ แม้แต่ 35% ก็ได้โดยไม่ต้องมีความจาเป็นจะต้องเท่ากับ 20% เสมอไป
2.7.4 แผนภาพเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในการวิเคราะห์ความแปรผันเพื่อการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
เหตุและผลนั้น มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดาเนินการระดมสมอง (Brainstorming) ถึงสาเหตุต่างๆ ของ
ความแปรผันเพื่อการพิสูจน์ตามข้อเท็จจริงสาหรับการแก้ไขต่อไป ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาที่เลือกมาเป็นหัวข้อนั้น
เป็นปัญหาที่ไม่ทราบสาเหตุแท้จริงและวิธีการแก้ไขมาก่อน เครื่องมือสาคัญตัวหนึ่งที่ใช้แสดงผลและใช้ในการ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผล คือ แผนผังก้างปลา (Fish bone Diagram) และอาจเรียกชื่อ
อื่นๆ ได้อีก อาทิ แผนภาพอิชิกาว่า (Ishikawa Diagram) หรือแผนภาพสาเหตุและผล (Cause and Effect
Diagram)
แผนภาพก้างปลา เป็ น แผนภาพที่มีประโยชน์ส าหรับนาเสนอความสั มพันธ์ระหว่างเหตุ และผล
สาหรับประเด็นปัญหาที่พิจารณาโดยแผนภาพนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นครั้งแรกโดย ดอกเตอร์คาโอรุ อิชิกาว่า
เป็นรูปภาพประกอบด้วยเส้นและสัญลักษณ์ (สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554) และได้ใช้แผนภาพนี้ในการ
อธิบายความสัมพันธ์ของของปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อคุณภาพในการผลิตวิศวกรจาก บริษัท คาวาซากิสติลเวิร์ค
จากัด
สานักมาตรฐานอุสาหกรรมแห่งญี่ปุ่น (JIS) ได้นิยามความหมายของแผนภาพก้างปลาไว้ว่าเป็น
แผนภาพที่แสดงความสั มพันธ์อย่างมีระบบระหว่างผลที่แน่นอนประการหนึ่งกับสาเหตุต่างที่เกี่ยวข้องได้
จาแนกแผนภาพก้างปลาออกเป็น 3 ประเภท คือ
(1) แผนภาพก้างปลาแบบการวิเคราะห์ความแปรผัน (Dispersion Analysis)
โดยก้ างปลาประเภทนี้ จะแสดงสาเหตุ ของการเกิ ดการแปรผั นในคุ ณภาพที่ แสดงด้ วยหั วปลา
ตามลาดับก่อนหลัง ด้วยการตั้งคาถามทาไมจึงเกิดความแปรผันขึ้นเป็นเช่นนี้เรื่อยๆ โดยผู้สร้างก้างปลาประเภทนี้
จะต้องระลึกไว้เสมอว่าความแปรผันทุกตัวสามารถตรวจและทาให้ลดลงได้ โดยจุดแข็งของก้างปลาประเภทนี้จะ
ช่วยแสดงอย่างเป็นระบบถึงปัจจัยที่มีผลต่อความแปรผัน แต่อย่างไรก็ตามก้างปลาแบบนี้จะมีจุดอ่อนคือ ขึ้นอยู่กับ
วิ ธี คิ ดของผู้ สร้ างค่ อนข้ างมาก ถ้ าหากมี การถามตอบโดยขาดวิ ธี การคิ ดอย่ างเป็ นระบบคื อถามตอบแบบ
84 การควบคุมคุณภาพ

“ปากพาไป” ก็จะทาให้แผนภาพก้างปลานี้ไม่มีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์ปัญหาแต่อย่างใด แผนก้างปลาแบบนี้จะ


พบเห็นมากที่สุดในวงการควบคุมคุณภาพสาหรับอุตสาหกรรมไทย ดังแสดงในรูปที่ 2.22

สาเหตุหลัก สาเหตุหลัก

ปัญหา

ระดับที่ 3

ระดับที่ 1 ของสาเหตุ

ระดับที่ 2

สาเหตุหลัก สาเหตุหลัก

รูปที่ 2.22 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาแบบวิเคราะห์ความแปรผัน

(2) แผนภาพก้างปลาแบบการจาแนกตามกระบวนการผลิต (Process Classification)


แผนภาพก้างปลาประเภทนี้ใช้สาหรับการแสดงความสัมพันธ์ของสาเหตุและผลโดยมีการจาแนก
ตามกระบวนการย่อยต่างๆ เช่น ในตัวอย่างของกระบวนการประกอบงาน ดังรูปที่ 2.23 แผนภาพก้างปลา
ประเภทนี้จะมีจุดเด่นคือ สามารถสร้างได้ง่ายและสื่อข้อความได้ความหมายดี เพราะสร้างแผนภาพก้างปลา
สาเหตุและผลที่แต่ละกระบวนการย่อยแล้วจึงนามาต่อกระบวนการนาแต่มีจุดอ่อนคือ ทาให้ดูเหมือนว่ามี
สาเหตุซ้อนสาเหตุ (สาเหตุของกระบวนการย่อยต้นน้า (Upstream) จะเป็นสาเหตุของกระบวนการท้ายน้า
(Downstream) ด้วย) ทาให้มีสาเหตุมากกว่าหนึ่งปัจจัย ซึ่งทาให้ยากต่อการวิเคราะห์
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 85

กระบวนการ ปัญหา
กระบวนการ 1 กระบวนการ 2
สุดท้าย

รูปที่ 2.23 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาแบบจานวนตามกระบวนการ

(3) แผนภาพก้างปลาแบบการกาหนดรายการของสาเหตุ (Cause Enumeration)


แผนภาพก้างปลาประเภทนี้จะมีโครงสร้าง ดังรูปที่ 2.24 เหมือนภาพกรณีการวิเคราะห์ความแปร
ผัน แต่จะมีความแตกต่างกันตรงที่ว่า แผนภาพก้างปลาประเภทนี้จะม่งสู่ รายการสาเหตุที่ ทาให้เกิดปัญหา
(ตามหัวปลา)
แผนภาพก้างปลาประเภทกาหนดรายการของสาเหตุนี้จะมีประโยชน์ คือ ทาให้ทราบรายการของ
สาเหตุทั้งหมด ส่ งผลให้ พิสู จ น์ห าสาเหตุได้ค่อนข้างง่าย แต่มีข้อเสียคือ ต้องมีความพยายามในการสร้าง
ค่อนข้างมาก เพราะนอกจากจะต้องพยายามระดมสมองหาสาเหตุ ที่คาดว่าจะเป็นไปได้ทั้งหมดแล้ ว ยัง
จาเป็นต้องมีการทบทวนอยู่เสมอด้วย เพื่อให้มั่นใจว่าสาเหตุหลักๆ ไม่ได้ตกหล่นไปจากการพิจารณา
ในการวิเคราะห์ปัญหาโดยคิวซีเซอร์เคิลนั้น จะถือว่าก้างปลาประเภทของการวิเคราะห์ความ
แปรผันนี้มีประโยชน์มากที่สุด เพราะใช้วิเคราะห์ปัญหาที่ ที่มีความแปรผัน (หัวปลาส่าย) ในขณะที่แผนภาพ
ก้างปลากาหนดรายการของสาเหตุใช้วิเคราะห์ปัญหาที่เรื้อรังเหมาะกับปัญหาการปรับปรุงคุณภาพ และการ
ควบคุม

ปัญหา

รูปที่ 2.24 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาแบบกาหนดรายการสาเหตุ

2.7.4.1 การสร้างแผนภาพก้างปลา
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในการสร้างแผนภาพก้างปลา จาเป็นต้องดาเนินการผ่านวิธี การ
ระดมสมองที่ประกอบด้วยหลักการ 4 ประการ คือ
1. ห้ามวิพากษ์วิจารณ์ ทั้งนี้เพราะการวิจารณ์ใดๆ ก็ ตามจะทาให้หยุดเสนอความคิดได้
นอกจากนี้อาจทาให้การเสนอความคิดเห็นจะไม่เป็นไปอย่างตรงไปตรงมา
86 การควบคุมคุณภาพ

2. ความอิสระและเสรี โดยในกรณีนี้มีความจาเป็นต้องทาบรรยากาศให้เสรีในแนวทางหนึ่ง
คือ การระดมสมองผ่านแผ่นกระดาษหรือการ์ด (Card)
3. เน้นปริมาณความคิดมากกว่าคุณภาพ ซึ่งในกรณี นี้จาเป็นต้องกาหนดเบื้องต้นว่าสมาชิก
แต่ละคนจะต้องเสนอความคิดเห็นอย่างน้อยคนละกี่ความคิดเห็น โดยไม่คานึงว่าความคิดเห็นดังกล่าวจะมี
คุณภาพหรือไม่
4. นามารวมและปรับปรุง โดยการระดมสมองจะต้องมีรวบรวมความคิดเห็นทั้งหมด และนา
ความคิดเห็นที่ได้ (อาจจะเป็นของคนอื่น) มาปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเป็นความคิดใหม่
ในการสร้างแผนภาพก้างปลาจะมีลาดับขั้นตอน ดังนี้
(1) ให้การนิยามปัญหาชัดเจน หมายถึง การนิยามปัญหาให้อยู่ในรูปปริมาณมิใช่อยู่ในรูป
เชิงคุณภาพ โดยควรจะมีการอภิป รายในกลุ่ มให้ เข้าใจกันก่อนการระดมสมองจะเริ่มขึ้น เช่น ผลิ ตภัณฑ์
บกพร่องถือว่าไม่ชัดเจน เพราะอาจจะมีผลิตภัณฑ์หลายประเภท หลายรุ่น แต่ละประเภทมีข้อพกพร่องหลาย
กฎเกณฑ์ ควรระบุลงไปว่ากฎเกณฑ์ใด หรือเป็นผลิตภัณฑ์บกพร่องแบบใด
(2) ให้ทาการระดมสมองจากสมาชิกโดยผ่านวิธีการใช้การ์ด ภายใต้ข้อตกลงเบื้องต้น
ก่อนว่าสมาชิกแต่ละคนจะต้องออกความคิดกี่ข้อ แล้วให้เขียนความคิดเห็นลงในการ์ดเตรียมไว้แผ่นละหนึ่งข้อ
การระดมสมองแบบวิเคราะห์ความแปรผันจะต้องดาเนินการผ่านหลักการ 3 จริง คือ ระดมสมองผ่านสังเกตที่
หน้างานจริง ในสภาพแวดล้อมหรือสภาวะจริง ด้วยของจริง โดยพยายามหลีกเลี่ยงการระดมสมองในห้ อง
ประชุมที่อาศัยเพียงสามัญสานึก เพราะจะทาให้ไม่ได้สาเหตุ ที่แท้จริง ทั้งนี้มีข้อสังเกตว่าถ้าหากมีการระดม
สมองโดยไม่ผ่ า นหลั กการ 3 จริ งแล้ ว จะทาให้ แผนภาพก้า งปลาที่ ได้เป็น แผนภาพก้างปลาประเภทการ
วิเคราะห์ความแปรผันเสมอ เนื่องจากเป็นคาตอบมาจากการถามคาถามว่า “ทาไมจึงเกิดการแปรผัน” โดย
แผนภาพก้างปลานี้อาจจะมีความเหมาะสมกับการแก้ปัญหาในระดับหน้างานมาก แต่อาจจะไม่มีประโยชน์กับ
ผู้บริหารหรือวิศวกรมากนัก
(3) เมื่อได้ดาเนินการระดมความคิดจากสมาชิกได้ครบถ้วนแล้ว จะต้องทาการกาหนด
“แนวความความคิดของการจาแนกสาเหตุ ” เช่น อาจจะเป็นแนวความคิดตามแหล่งกาเนิดของสาเหตุ หรือ
4M (คน เครื่องจักร วัตถุดิบ และวิธีการ) แนวความคิดด้านการตลาดหรือ 4P (ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการ
จั ด จ าหน่ า ย และการส่ ง เสริ ม การตลาด) แนวความคิ ด ด้ า นการบริ ห าร (การวางแผน การจั ด องค์ ก ร
การมอบหมายงาน การอานวยการ และการควบคุม) แนวความคิดด้ านสายบังคับบัญชา (ผู้ จัดการฝ่ าย
ผู้จัดการแผนก หัวหน้างาน และพนักงาน) หรือแนวความคิดด้านโลจิสติก (Logistics ) มีมากมายที่สอดคล้อง
กับสาเหตุที่กลุ่มได้ระดมความคิดออกมา โดยขอให้ตั้งข้อสังเกตว่า จากการควบคุมคุณภาพมีจุดเริ่มต้นทั้งใน
ญี่ปุ่นและไทยที่งานด้านการผลิตก่อน จึงมักจะมีแนวความคิดที่เหมาะสม คือ 4M แต่ก็มิได้หมายความว่า
แนวความคิดดังกล่าวจะเหมาะสมกับกลุ่มอื่นๆ ที่เป็นงานด้านการบริการ งานบุคคล งานด้านการขาย
งานธุรการ เป็นต้น
(4) ให้นาแผ่นกระดาษที่ผ่านกราระดมสมองมาจัดกลุ่มแนวความคิดตามสาเหตุที่กาหนด
ไว้ ทั้งนี้ในช่วงแรกอาจจะทาในแผ่นกระดาษดาก็ได้ โดยการจัดกลุ่มความคิดในช่วงนี้ยังไม่ควรเขียนลงไป
เพราะว่ายังมาทราบสาเหตุทั้งหมด มีอะไรบ้าง
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 87

(5) เมื่ อ น าแผ่ น กระดาษที่ ร ะดมสมองมาจั ด ท าแผ่ น ภาพก้ า งปลา เรี ย บร้ อ ยแล้ ว
จาเป็นต้องมีการตรวจสอบอีกครั้งว่าความเป็นสาเหตุและผลซึ่งกันและกันว่ามีความถูกต้องหรือไม่ และการจัด
กลุ่มสาเหตุถูกต้องหรือไม่ ทั้งนี้เพราะว่าการจัดกลุ่มต้องจัดตามสาเหตุรากเหง้า มิใช่จัดตามสาเหตุเบื้องต้น
เช่น แม้ว่าจะระบบสามารถเกิดจากพนัก งานประกอบงานผิ ดพลาด ก็ไม่จาเป็น ต้องอยู่ในกลุ่มสาเหตุของ
“คน” ถ้าหากปรากฏว่าสาเหตุรากเหง้า คือ การขาดมาตรฐานของวิธีการทางาน เป็นต้น
(6) ดาเนินการทบทวน “ข้อความ” ของสาเหตุรากเหง้าหรือสาเหตุเบื้องต้นที่ระบุใน
แผนภาพก้างปลาด้วยการพิจารณาจาแนกสาเหตุต่างๆ แบ่งออกเป็น สาเหตุที่ผู้บริหารควบคุมได้ สาเหตุที่
พนักงานควบคุมได้ และสาเหตุที่ไม่สามารถควบคุมได้ แล้วให้เปลี่ยนมุมมองเพื่อเปลี่ยนข้อความจากสาเหตุที่
ไม่สามารถควบคุมได้ให้เป็นสาเหตุที่ผู้บริหารสามารถควบคุมได้ หรือสาเหตุที่พนักงานสามารถควบคุมได้ เช่น
สาเหตุจากเครื่องจักรสึกหรอ อาจจะต้องพิจารณาเปลี่ยนเป็นการเลือกชิ้นส่วนไม่เหมาะกับแรงเสียดทาน หรือ
ขาดการบารุงรักษาเชิงป้องกัน เป็นต้น ทั้งนี้การเปลี่ยนข้อให้อยู่ในข้อความใดต้องอยู่ภายใต้หลักการ 3 จริง
เป็นสาคัญ ไม่ใช่เปลี่ยนแปลงด้วยอาศัยสามัญสานึก
2.7.4.2 การนาแผนภาพก้างปลาไปใช้
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในการตีความหมายแผนภาพก้างปลาจะอยู่บนพื้นฐานของการ
วิเคราะห์ความแปรผัน กล่าวคือ ทาการพิจารณาว่าเมื่อมีการปรับ ระดับของสาเหตุ (ขยับก้างปลา) จะทาให้
ลักษณะคุณภาพที่ระบุปัญหาเปลี่ยนแปลง (หัวปลาส่าย) หรือไม่ ถ้าหากมีการปรับระดับสาเหตุแล้วไม่มีผลใดๆ
ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะด้านคุณภาพ ก็จะแสดงว่าสาเหตุและผลนั้นมิได้มี่ความสัมพันธ์ใดๆ ต่อกันควร
จะมีการทบทวนก้างปลาใหม่
ในการตีความหมายแผนภาพก้างปลามีข้อควรระวัง คือ ถ้าหากละเลยต่อแนวความคิดด้าน
ความแปรผันแล้ว จะทาให้แผนภาพก้างปลาดังกล่าวเป็นเพียงแผนภาพที่แสดงผลเพื่อการสื่อสารความหมาย
ธรรมดาเท่านั้น ไม่สามารถใช้วิเคราะห์ในการควบคุมคุณภาพได้
2.7.4.3 ข้อความระวังในการประยุกต์แผ่นภาพก้างปลา
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) แม้ว่าในวงการการควบคุมคุณภาพของประเทศไทยมี การใช้
แผนภาพก้างปลาค่อนข้างมากก็ตาม แต่ก็พบว่าแผนภาพก้างปลาที่ใช้กันนั้นมีประโยชน์ในการวิเคราะห์ไม่มาก
นัก โดยมีคาแนะนาที่พึ่งระวังในการประยุกต์ใช้หลายประการด้วยกันดังนี้
(1) อย่าระดมสมองเพื่อสร้างแผนภาพก้างปลาภายใต้เงื่อนไข “ถ้าสาเหตุนี้เกิดแล้วจะทาให้
เกิดปัญหา” โดยขาดการพิจารณาถึงความจริงทั้ง 3 ประการที่กล่าวแล้ว เช่น อย่าเสนอความคิดว่า (ถ้า)
พนักงานตาบอดสีจะทาให้เกิดปัญหา คือ พนักงานใส่ตัวต้านทานในแผนวงจรพิมพ์ (PCB) ผิดพลาดเพราะใน
ความเป็น จริง แล้ ว ไม่มีพนั กงานคนใดในสายประกอบมี่ คุณสมบัติตาบอดสีเลยโดยการออกความคิดเห็ น
ภายใต้เงื่อนไข “ถ้าเกิด” สิ่งนี้ จะทาให้แผนภาพก้างปลาขาดคุณค่าอย่างมากต่อการวินิจฉัยสาเหตุที่แท้จริง
ของปัญหา เพราะที่คาดว่าจะเป็นผลต่อปัญหาโดยคานึงถึงข้อเท็จจริงมากกว่า
(2) อย่าใช้คาพูดสับเปลี่ยนระหว่างสาเหตุของปัญ หากับแนวทางแก้ปัญหาในแผนภาพ
ก้างปลา เพราะจะสรุปประเด็นได้ลาบากโดยทั่วไปไม่มีข้อแนะนาว่าควรจะมีการใช้ “สาเหตุ” ในก้างปลาของ
แผนภาพก้ า งปลาเท่า นั้ น อย่ า งไรก็ต ามผู้ อ่า นอาจจะพบเห็ น แผนภาพก้า งปลาที่ แ สดงแนวแก้ ไขมาบ้ า ง
88 การควบคุมคุณภาพ

จึงเข้าใจว่าแผนภาพดังกล่าวเป็นแผนภาพเพื่อการวางแผนมากกว่าแผนภาพการค้นหาสาเหตุของการควบคุม
คุณภาพที่มีการระบุปัญหาที่ไม่ทราบทั้งสาเหตุที่แท้จริง และมาตรการแก้ไขที่แท้จริง
(3) อย่าสร้างโครงร่างของแผนภาพก้างปลาก่อนการระดมสมอง โดยตัวแบบที่พบเห็นกันเป็น
ประจาในอุตสาหกรรมไทยคือ ผู้ สร้างมักขึ้นก้างปลาไว้ก่อนแล้ว เช่น 4M โดยการทาเช่นนี้จะขัดแย้งต่อการ
ออกความคิดเห็นอย่างเสรีในการระดมสมองเนื่องจากถ้าหากมีการจาแนกเป็นสาเหตุ 4M ไว้ก่อนแล้วสมาชิก
ทุกคนที่ระดมสมองก็จะพยายามระบุสาเหตุของปัญหาในรูปของ 4M ทั้งๆ ที่ปัญหาดังกล่าวอาจจะมีสาเหตุมา
จากการบริหารงานก็ได้
(4) สิ่งที่ระบุในแผนภาพก้างปลาเป็นเพียง “สมมุติฐานของสาเหตุ” เท่านั้น การดาเนินการ
แก้ไขจะต้องดาเนินผ่านการพิสูจน์ความเป็นสาเหตุที่แท้จริง ด้วยหลักการบริหารโดยข้อเท็จจริงทั้งการใช้
ตรรกะและกลวิธีทางสถิติต่างๆ อาทิ กราฟ ฮีสโตแกรม ใบตรวจสอบ หรือแผนภาพการกระจาย เป็นต้น
2.7.5 กราฟ (Graph)
เป็นส่วนหนึ่งของรายงานต่างๆ ที่ใช้สาหรับนาเสนอข้อมูล สามารถทาให้ผู้อ่านเข้าใจข้อมูลต่างๆ ได้ดี
สะดวกต่อการแปลความหมาย และสามารถให้รายละเอียดของการเปรียบเทียบได้ดีกว่าการนาเสนอข้อมูล
ด้วยวิธีอื่น ทั้งนี้เพราะกราฟทาให้ ทราบลักษณะของข้อมูลต่างๆ ได้ทันทีจากเส้น รูปภาพ แท่ง สี่เหลี่ยม และ
วงกลม โดยกราฟมีคุณลั กษณะที่จ าเป็น คือ ทาให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย อ่านได้อย่างรวดเร็ว หรือสามาร ถ
เปรียบเทียบข้อมูลได้อย่างชัดเจน
ในเครื่องมือควบคุมคุณภาพ 7 อย่าง กราฟเป็นเครื่องมือที่ง่ายที่สุด และเป็นที่คุ้นเคยมากที่สุ ด
เนื่องจากมีโอกาสได้เห็นและได้ใช้เกือบทุกวัน เนื่องจากข้อมูลทุกประเภทสามารถเสนอในรูปของกราฟได้
ประโยชน์ 4 ประการของกราฟ คือ
1. ใช้วิเคราะห์ข้อมูล กราฟจะแสดงความหมายของตัวเลขออกมา และสามารถชี้ให้เห็นข้อเท็จจริง
ซึ่งเราอาจมองข้ามไปได้หากดูจากตัวเลขโดยตรง ดังนั้นกราฟจึงมีประโยชน์มากในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งใน
อดีตและปัจจุบัน เพื่อขุดค้นหาสาเหตุและมาตรการในการแก้ไขปรับปรุง
2. ใช้อธิบายกราฟช่วยให้สามารถอธิบายหรือชี้แจงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ให้แก่ผู้อื่นเข้าใจได้ ดีกว่า
การอธิบายโดยใช้ข้อมูลหรือตัวเลขโดยตรง
3. ใช้ควบคุมกราฟที่เขียนแสดงอัตราการหยุดงานหรือของเสียตามเวลาที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งกราฟเป็น
อุปกรณ์สาคัญที่จะทาให้ทราบว่าอะไรที่ต้องควบคุม
4. ใช้บันทึกข้อมูลที่ได้จัดเก็บสามารถบันทึกเป็นกราฟได้เลย การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟนี้ กราฟที่
นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมีอยู่ 3 ประเภท คือ กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม ซึ่งกราฟแต่ละชนิดจะมี
ประโยชน์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน
2.7.5.1 กราฟเส้น
กราฟเส้นเป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว เช่น ใช้สาหรับแสดงแนวโน้ม
ที่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ใช้สาหรับสังเกตการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลเมื่อ อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป หรือใช้
สาหรับเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการแก้ไข เป็นต้น ดังแสดงในรูปที่ 2.25 โดยวิธีการเขียนกราฟเส้นมี
ดังต่อไปนี้
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 89

1. ให้แกนนอนแทงค่าของตัวแปรอิสระ (x) และแกนตั้งแทนค่าของตัวแปรตาม (y) ซึ่งแทน


จานวนหรือปริมาณแกนทั้งสองต้องมีเส้นแบ่งหน่วยเป็นขีดเส้นเล็กๆ ระยะห่างเท่าๆ กัน
2. จดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองหรือทดสอบ กล่าวคือ รู้ลาดับ (x, y)
3. ลากเส้นต่อจุดคู่ลาดับทั้งหมดก็จะได้กราฟเส้น กรณีที่มีหลายเส้นในกราฟเดียวกัน ต้องใช้
สัญลักษณ์ เช่น วงกลม สามเหลี่ยม หรือสี่เหลี่ยม เป็นต้น เพื่อให้ง่ายต่อการเปรียบเทียบ
ประโยชน์ของกราฟเส้นมีดังต่อไปนี้
1. ใช้สาหรับการควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้ นตามการเวลา เช่น คุณภาพสินค้า ต้นทุน
จานวนการผลิต อัตราการมาทางาน หรืออัตราความปลอดภัย เป็นต้น การวิเคราะห์ภายหลังการสร้างกราฟ
คือ การเปรียบเทียบผลลัพธ์กับค่าเป้าหมายหรือค่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ ดังนั้นจึงสามารถทราบถึงปัญหาได้
รวดเร็ว และสามารถกาหนดมาตรการป้องกันได้ทันท่วงที
2. ใช้อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวเลข เช่น ผลการขาย ผลผลิต และคุณภาพสินค้า
เป็นต้น การใช้กราฟเส้นสามารถดึงดูดเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจได้ง่าย เนื่องจากเห็นผลจากการเปรียบเทียบข้อมูล
ก่อนกับหลังการกาหนดมาตรการชัดเจน

จานวนแบร์ริ่งที่มีรอยตาหนิ
30

25

20

15

10

0 วันที่
1 2 3 4 5 6

รูปที่ 2.25 กราฟเส้นจานวนแบร์ริ่งที่มีรอยตาหนิระหว่างวันที่ 1–6 เดือนมกราคม

2.7.5.2 กราฟแท่ง
กราฟแท่งจะมีลักษณะเดียวกับฮิสโตแกรม ประกอบด้ว ยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหลายแท่งที่มี
ความกว้างเท่ากันอยู่บนแท่งแนวนอนหรือแนวตั้งก็ได้ (ช่องว่างระหว่างแท่งจะมีหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าจะมีช่องว่าง
ไม่ควรกว้างกว่าความกว้างของกราฟแท่ง) โดยส่วนใหญ่กราฟแท่งใช้สาหรับเปรียบเที ยบปริมาณมาก-น้อย
หรือขนาดใหญ่-เล็ก ดังแสดงในรูปที่ 2.26 การนาเสนอควรเรียงจากแท่งสูงไปแท่งต่า ยกเว้นกรณีที่เป็นข้อมูล
เกี่ยวกับเวลา และตัวเลขบอกขนาดต้องเขียนด้านซ้าย เมื่อกราฟแท่งอยู่บนแกน x แต่เขียนตัวเลขบอกขนาด
ด้านล่าง เมื่อกราฟแท่งอยู่บนแกน y
90 การควบคุมคุณภาพ

รูปที่ 2.26 กราฟแท่งขนาดของแบร์ริ่งที่ผลิตระหว่างวันที่ 1–20

2.7.6 แผนภูมิควบคุม (Control Chart)


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) คือ แผนภูมิที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต ลักษณะของแผนภูมิจะ
เป็นกราฟของสิ่งที่ต้องการควบคุม เพื่อให้ทราบปัญหาและปรับปรุงให้ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด โดยใช้วิธีการ
ทางสถิติเข้ามาช่วย ซึง่ จะสามารถติดตามกระบวนการในช่วงเวลาต่างๆ และศึกษาแนวโน้มในการเปลี่ยนแปลง

UCL

CL

LCL

รูปที่ 2.27 แผนภูมิควบคุม


บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 91

จากรูปที่ 2.27 แสดงถึงแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยที่ใช้บันทึกความแปรผันจากค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง


แกนนอน (Horizontal Axis) แทนกลุ่มตัวอย่างซึ่งถูกสุ่มด้วยจานวนที่เท่ากัน และแกนตั้ง (Vertical Axis)
แทนผลลัพธ์ เช่น น้าหนักขวดนมมีหน่วยเป็นกรัม หรือความหนักของสังกะสีที่เคลือบผิวสายรัดโลหะ เป็นต้น
จุดแต่ละจุด แทนค่าเฉลี่ยของแต่ละกลุ่มตัวอย่าง เส้นกึ่งกลาง (Center Line) แทนค่าเฉลี่ยของจุด หรือแทน
ค่าเป้าหมายของข้อกาหนดที่ลูกค้าต้องการ ส่วนเส้นขีดจากัดควบคุม (Control Limits) ถูกสร้างเพื่อช่วย
ตัดสินว่า ความแปรผันระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่เกิดขึ้นนั้น มีนัยสาคัญต่อค่าคุณภาพหรือไม่ หากพิจารณาการ
แจกแจงปกติ ในบทนี้ จะพบว่ า พื้น ที่ ใต้ เส้ นโค้ งปกติ ที่อ ยู่ร ะหว่ าง µ±3 σ จะที ค่า ประมาณ 99.73%
(Oakland S. J, 2003) กล่าวคือ มีกลุ่มตัวอย่างหรือจุดประมาณ 997 จุด จาก 1,000 จุด จะตกอยู่ระหว่าง
ขีดจากัดควบคุมบนและล่าง หมายความว่า กระบวนการผลิตอยู่ภายใต้สภาวะการควบคุม แต่หากมีจุดใดจุด
หนึ่งตกออกนอกขีดจากัดควบคุม จะแปลความได้ว่า กระบวนการผลิตอยู่นอกสภาวะการควบคุม แสดงว่าเกิด
ความแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ในทางปฏิบัติจะใช้แผนภูมิควบคุมกับทุกเครื่องจักรต่อหนึ่งลักษณะ
คุณภาพที่ต้องการควบคุม
เนื่องจากฮิสโตแกรมไม่สามารถแปรเปลี่ยนได้ตามเวลา เพราะทุกกระบวนการผลิตต้องมีความแปรผันที่
เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ (Chance Cause) ซ่อนอยู่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ขณะที่การประยุกต์แผนภูมิควบคุม จะทาให้
ทราบถึงความแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ (Assignable Cause) และสามารถกาจัดความแปรผันดังกล่าวได้
การปรับปรุงและแก้ไขข้อข้อบกพร่องจากความแปรผันของส่วนต่างๆ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพเท่านั้น ที่จะ
ให้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตรงตามความต้องการของลูกค้า เพราะผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจะมีความแปรผันน้อยจากค่าเฉลี่ยของ
ขนาด (Nominal Dimension)
2.7.6.1 การจาแนกแผนภูมิควบคุม
แผนภูมิควบคุมจาแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด (Control Chart for Variable) เป็นวิธีการ
ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยการวัดผลิตภัณฑ์ในเชิงปริมาณ ดังแสดงในรูปที่ 2.28 เช่น กรัม เซนติเมตร หรือ
กิ โ ลกรั ม เป็ น ต้ น แผนภู มิ ค วบคุ ม ส าหรั บ ข้ อ มู ล แบบหน่ ว ยวั ด หรื อ ข้ อ มู ล มี ค่ า ต่ อ เนื่ อ งประกอบด้ ว ย
แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัย ( x and R Control Chart) แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ( x and S Control Chart) แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยเคลื่อนที่ ( x and MR Control
Chart) และแผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม (Cumulative Sum Control Chart) ซึ่งสามารถพิจารณา
รายละเอียดได้ในบทที่ 3
92 การควบคุมคุณภาพ

รูปที่ 2.28 ตัวอย่างแผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด

2. แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ (Control Chart for Attribute) เป็นวิธีการ


ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยการนับผลิตภัณฑ์เชิงคุณภาพ ดังแสดงในรูปที่ 2.29 เช่น ผลิตภัณฑ์ดี ผลิตภัณฑ์เสีย
หรือผลิตภัณฑ์ใช้ได้หรือผลิตภัณฑ์ ใช้ไม่ได้ เป็นต้น ในทางปฏิบัติ นิยมใช้วิธีการตรวจสอบนี้มากเพราะโรงงาน
เก็บ รวบรวมข้อมูล ในลั กษณะนี้ อยู่ แล้ ว ดังนั้นโรงงานจึงไม่จาเป็นต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบเพื่อ
สามารถสร้างแผนภูมิควบคุม สามารถพิจารณารายละเอียดได้ในบทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบ
หน่วยนับมีดังต่อไปนี้
(1) แผนภูมิที่ใช้วิเคราะห์ของเสีย (Defective) ประกอบด้วย แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของ
เสีย (p chart) และแผนภูมิควบคุมจานวนของเสีย (np Chart)
(2) แผนภูมิที่ใช้วิเคราะห์ข้อบกพร่อง (Defects) ประกอบด้วย แผนภูมิควบคุมจานวน
ข้อบกพร่องต่อหน่วยการทดสอบ (c Chart) และแผนภูมิควบคุมจานวนข้อบกพร่องเฉลี่ยต่อหน่วย (u Chart)
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 93

รูปที่ 2.29 ตัวอย่างแผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ

2.7.6.2 การเขียนจุดและวิเคราะห์แผนภูมิควบคุม
พิชิต สุขเจริญพงษ์ (2541) เมื่อได้แผนภูมิควบคุมแล้วจากนั้นทาการวิเคราะห์แผนภูมิ
ควบคุม การกระจายของจุดบนแผนภูมิจะแสดงถึงสภาพของกระบวนการผลิตว่าอยู่ภายใต้ควบคุมหรือไม่ และ
ควรหยุดกระบวนการผลิตเพื่อ ตรวจสอบการปรับตั้งกระบวนการผลิตใหม่หรือยัง โดยปกติถ้าจุดบนแผนภูมิ
ควบคุ ม แสดงลั ก ษณะใดลั ก ษณะหนึ่ ง ดั ง ต่ อ ไปนี้ ผู้ ค วบคุ ม กระบวนการผลิ ต ควร ด าเนิ น การตรวจสอบ
กระบวนการผลิต เพราะกระบวนการผลิตอาจผิดปกติไปจากเดิม คือ
1. มี 1 จุดตกนอก UCL หรือ LCL
2. มี 2 จุดติดต่อกันเกาะอยู่ใกล้ขีดจากัดควบคุมบนหรือขีดจากัดควบคุมล่าง
3. มี 5 จุดติดต่อกันอยู่ที่ด้านใดด้านหนึ่งของเส้นกึ่งกลาง
4. มี 5 จุดติดต่อกันที่แสดงแนวโน้มขึ้นหรือลงตลอด
5. มีจุดที่เปลี่ยนระดับอย่างรวดเร็ว
6. มีจุดที่แสดงวัฏจักร
ตัว อย่ า งของลั ก ษณะจุ ด บนแผนภู มิ ค วบคุ ม ที่ แ สดงความผิ ด ปกติ ข องกระบวนการผลิ ต
ดังแสดงในรูปที่ 2.30
94 การควบคุมคุณภาพ

UCL UCL UCL

CL
CL CL

LCL LCL
LCL
1 จุดตกนอก UCL 1 จุดตกนอก LCL 2 จุดตกใกล้ UCL
UCL
UCL UCL
CL
CL CL

LCL LCL
LCL
2 จุดตกใกล้ LCL 5 จุดเหนือ CL 5 จุดใต้ CL
UCL
UCL UCL
CL
CL CL
LCL
LCL LCL
5 จุดแนวโน้มขึน้ 5 จุดแนวโน้มลง เปลี่ยนระดับอย่างรวดเร็ว

UCL

CL

LCL
จุดแสดงวัฏจักร

รูปที่ 2.30 การกระจายจุดบนแผนภูมิควบคุมที่แสดงความผิดปกติของกระบวนการผลิต


(ที่มา: พิชิต สุขเจริญพงษ์, 2541)

2.7.6.3 ประโยชน์ของแผนภูมิควบคุม
1. สามารถควบคุมกระบวนการได้อย่างทันท่วงที เมื่อจุดที่ลงบนแผนภูมิออกนอกการ
ควบคุมหรือมีความผิดปกติ ผู้ควบคุมกระบวนการสามารถดาเนินการปรับปรุงและแก้ไขกระบวนการได้ทันที
2. สามารถใช้เพื่อการพยากรณ์สภาพของการผลิตในอนาคตจากการดูแนวโน้มของจุดที่
แสดงบนแผนภูมิควบคุม
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 95

3. ทาให้ทราบความสามารถของกระบวนการว่ายังอยู่ในการควบคุมตามมาตรฐานหรือ
ข้อกาหนดหรือไม่ เพื่อทาการตัดสินใจปรับปรุงกระบวนการให้อยู่ในข้อกาหนด
4. ช่วยเพิ่มอัตราผลิตภาพ (Productivity) เนื่องจากแผนภูมิควบคุมช่วยลดของเสียใน
กระบวนการและลดเวลาสูญเปล่าจากการทาซ้า
5. ช่วยป้องกันปัญหาด้านคุณภาพ แผนภูมิควบคุมจะช่วยให้กระบวนการอยู่ในการควบคุม
ตลอดเวลาจึงช่วยลดปัญหาผลิตภัณฑ์ที่คุณภาพต่า
2.7.7 แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram)
คือ แผนภาพที่ใช้แสดงถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ชุด เพื่อที่จะศึกษาแนวโน้มว่ามีทิศทางใด โดย
แกน X แทนตัวแปรชุดหนึ่ง และแกน Y แทนตัวแปรอีกชุดหนึ่ง ซึ่งข้อมูลที่ได้จะนามาเขียนเป็นจุดลงกราฟ
แล้วดูความสัมพันธ์กัน เช่น การหาความสัมพันธ์ร่วมของข้อมูลการวัดขนาดเส้นใยระหว่างพนักงานตรวจสอบ
คุณภาพ 2 คน การลดความเร็วรอบกับอายุการใช้งานของเครื่องจักร อุณหภูมิกับความแข็งของพลาสติก
อุณหภูมิกับเปอร์เซ็นต์ฟองในน้าอัดลม หรือจานวนเครื่องเสียกับอายุการใช้งานของเครื่องมือ เป็นต้น ดังแสดง
ในรูปที่ 2.31
การยืดของยางรถบรรทุก (มิลลิเมตร)

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

รูปที่ 2.31 ผลการทดสอบการยืดของยางรถบรรทุกที่อุณหภูมิต่างๆ

2.7.7.1 ขั้นตอนการสร้างแผนภาพการกระจาย
1. เลือกปัจจัยของปัญหาที่ต้องการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ร่วม ซึ่งอาจจะได้จากสาเหตุใน
แผนภาพสาเหตุและผลก็ได้
2. รวบรวมข้อมูลของปัจจัยทั้งสองที่ต้องการวิเคราะห์
3. สร้างแผนภาพและกาหนดสเกล (Scale) ของแกนที่เหมาะสมเพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถ
มองเห็นการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลได้ โดยแกนแนวราบ (Horizontal) ควรเป็นปัจจัยอิสระ เช่น เวลา เป็นต้น
4. ลงจุด (Plot) ของข้อมูลที่สัมพันธ์กันบนแผนภาพ
5. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ร่วมของข้อมูลจากแผนภาพ โดยทั่วไปจะมีความสัมพันธ์สามแบบ
คือ ความสัมพันธ์เชิงบวก (Positive correlation) ความสัมพันธ์เชิงลบ (Negative correlation) และไม่มี
ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน (Non correlation) ดังแสดงในรูปที่ 2.32
96 การควบคุมคุณภาพ

ปัจจัยที่ 1 ปัจจัยที่ 1 ปัจจัยที่ 1

ปัจจัยที่ 2 ปัจจัยที่ 2 ปัจจัยที่ 2

ความสัมพันธ์เชิงบวก ความสัมพันธ์เชิงลบ ไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน


(ก) (ข) (ค)

รูปที่ 2.32 ลักษณะโดยทั่วไปของความสัมพันธ์ร่วมของข้อมูลที่วิเคราะห์โดยแผนภาพการกระจาย

รูปแบบที่ง่านต่อการเข้าใจจะประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ รูปแบบ (ก) ความสัมพันธ์เชิงบวก


ระหว่างตัวแปร 2 ตัว เพราะขณะที่ค่าของ x เพิ่มขึ้น ค่าของ y ก็เพิ่มขึ้น รูปแบบ (ข) ความสัมพันธ์กันเชิ งลบ
ระหว่ า งตั ว แปร 2 ตั ว แปร เพราะขณะที่ ค่ า ของ x เพิ่ ม ขึ้ น ค่ า ของ y กลั บ ลดลง และรู ป แบบ (ค) ไม่ มี
ความสัมพันธ์กัน รูปแบบนี้มีลักษณะคล้ายกับลูกกระสุนปืนที่ยิงเข้าเป้า
2.7.7.2 ประโยชน์ของแผนภาพการกระจาย
1. เพื่อหาความสัมพันธ์ของข้อมูล 2 ชุด หรือตัวแปร 2 ตัว
2. เพื่อตรวจสอบว่าผลของตัวแปรชุดที่หนึ่ง มีผ ลต่อตัว แปรอีกชุดหนึ่งหรือไม่ และมีผ ล
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด (เพิ่มขึ้นตามกัน หรือตัวหนึ่งเพิ่มอีกตัวหนึ่งลด)

2.8 สรุป
1. สถิติสามารถจาแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง สถิติที่บรรยายข้อเท็จจริงของข้อมูลที่
รวบรวมมา เช่น การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างง่าย โดยไม่ต้ออาศัยทฤษฏีเข้ามา
ช่วยในการวิเคราะห์
1.2 สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) หมายถึง สถิติที่ใช้ในการอ้างอิงสรุปผล และการอนุมาน
ของประชากรจากกลุ่มตัวอย่าง โดยอาศัยทฤษฏีความน่าจะเป็น การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
2. หลักการของสถิติประกอบด้วย
2.1 ลักษณะและชนิดของข้อมูล จาแนกได้ดังนี้
(1) ข้อมูล จากการวัด ทาการวัด ด้ว ยอุปกรณ์วัด และทดสอบ เช่ น น้าหนัก ปริมาตร ความสู ง
ความเร็ว เป็นต้น
(2) ข้อมูลจากการนับ เป็นข้อมูลที่ได้จากการนับสิ่งที่สนใจเมื่อเทียบกับเกณฑ์ เช่น จานวนของเสีย
จานวนประชากร เป็นต้น
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 97

2.2 การเก็บรวบรวมข้ อมูล คือ การรวบรวมข้อมูลโดยตรงหรือทางอ้อม เช่น การสอบถาม การ


สัมภาษณ์ การรวบรวมความคิดเห็น เป็นต้น
2.3 การนาเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ คือ วิธีการนาข้อมูลที่ได้รวบรวมนาเสนอหรือเผยแพร่ให้
ผู้สนใจในข้อมูลนั้นๆ ทราบส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลนั้น คือ การนาข้อมูลนั้นๆ มาประมวลผลและนาไปใช้
ประโยชน์
2.4 การตีความหมายและแปรผลทางสถิติ คือ การนาผลของข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปทาการ
ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา
3. การแจกแจงความถี่ คือ การแจกแจงข้อมูล และการนาเสนอข้อมูลด้วยรูปแบบของกราฟ โดยแสดงให้
ทราบถึงลักษณะการกระจายของข้อมูลเพื่อใช้ในการตีความหมายของข้อมูล โดยกราฟของการแจกแจงความถี่
เช่น กราฟการแจกแจงความถี่สัมพัทธ์ กราฟการแจกแจงความถี่สะสม และกราฟการแจกแจงความถี่สะสม
สัมพัทธ์ เป็นต้น
4. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง จะนิยมใช้วิธีการวัดค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่า มัธยฐาน และค่าฐานนิยม เพื่อ
ดูแนวโน้มของกระบวนการในการตรวจสอบคุณภาพสินค้า
5. การวัดการกระจายของข้อมูล ใช้วิเคราะห์ค่าการกระจายของข้อมูล เช่น ค่าพิสัย (ค่า ผลต่างระหว่าง
ข้อมูล ที่มีค่ามากที่กับข้อมูลที่มีค่าน้ อยที่สุด ) ส่ว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าที่เบี่ยงเบนไปจากค่าศูนย์กลาง)
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าที่ใช้เปรียบเทียบข้อมูล ของการกระจาย 2 ชุด)
เป็นต้น
6. การแจกแจงความน่าจะเป็นที่สาคัญใช้ในส่วนของแผนการชัก สิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับลอต หรือ
ปฏิเสธลอต มีทั้งเป็นการแจกแจงแบบต่อเนื่อง และการแจกแจงแบบไม่ต่อเนื่อง
6.1 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่อง
ใช้สาหรับวิเคราะห์ข้อมูลที่มีความต่อเนื่องกันหรือเรียกว่าข้อมูลหน่วยวัด เช่น ความสูง ความยาว
อุณหภูมิ ปริมาตร เป็นต้น การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่อง ได้แก่ การแจกแจงแบบปกติ การแจก
แจงแบบเลขชี้กาลัง การแจกแจงไวบูลล์ เป็นต้น
6.2 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่อง
ใช้สาหรับวิเคราะห์ ปัญหาที่เป็นคุณลักษณะ หรือเรียกว่าข้อมูลหน่วยนับ เช่น จานวนประชากร
ของจังหวัดอุดรธานี จานวนรถยนต์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นต้น การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบ
ไม่ต่อเนื่อง ได้แก่ การแจกแจงทวินาม การแจกแจงปัวส์ซอง เป็นต้น
7. เครื่องมือควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรม และการใช้งานมีดังนี้
7.1 ใบตรวจสอบ ใช้สาหรับเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการผลิต รวมไปถึงปัญหาหรือสิ่งที่สนใจ
7.2 ฮิสโตแกรม ใช้สาหรับวิเคราะห์แนวโน้มหรือทิศทางที่แสดงความแปรผันของข้อมูล
7.3 พาเรโต ใช้สาหรับการนาเสนอข้อมูลที่รวบรวมมาได้ ในรูปแบบที่ง่ายต่อการศึกษา วิเคราะห์ หรือ
ง่ายต่อการทาความเข้าใจเมื่ อต้องการอธิบายสภาพของข้อมูลนั้นๆ แต่มีลักษณะพิเศษด้วยการเรียงลาดับ
ขนาดของข้อมูลจากมากไปหาน้อย พร้อมแสดงสัดส่วนของข้อมูล
98 การควบคุมคุณภาพ

7.4 แผนผังก้างปลา เป็น เครื่องมือที่ใช้ในการระดมสมอง เพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหาอย่างมีระบบ


โดยสามารถแสดงให้เห็นถึงหมวดหมู่ของสาเหตุตา่ งๆ รวมถึงแสดงให้เห็นความต่อเนื่อง หรือความสัมพันธ์ของ
สาเหตุต่างๆ นั้นด้วย
7.5 กราฟ ใช้สาหรับนาเสนอข้อมูล หรือวิเคราะห์ข้อมูล ในรูปแบบที่ง่ายต่อการศึกษา เพื่อง่ายต่อการ
ทาความเข้าใจเมื่อต้องการอธิบายสภาพของข้อมูลนั้นๆ
7.6 แผนภูมิควบคุม ใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจจับสาเหตุของความแปรผันที่ขาดการควบคุม ที่เกิดมี
ขึ้นในกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง
7.7 แผนภาพการกระจาย คือ กราฟที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่อเนื่อง 2 ตัวแปรที่คู่กัน
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 99

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2

1. จงให้คาจากัดความของสถิติ และสามารถจาแนกสถิติได้กี่ประเภทอะไรบ้าง
2. ทาไมวิธีการทางสถิติของการควบคุมคุณภาพจึงมีความสาคัญ
(Gupta R.C. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 10)
3. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างข้อมูลเชิงคุณภาพ กับข้อมูลเชิงปริมาณ
4. ถ้าความน่าจะเป็นที่ได้วงแหวนลูกสูบที่เสีย 1 อัน ในตัวอย่างขนาด 2 จากรุ่นของวงแหวนลูกสูบขนาดใหญ่
เป็น 0.18 และความน่าจะเป็นที่ได้แหวนลูกสูบที่เสีย 2 อัน เป็น 0.25 จงหาความน่าจะเป็นที่ไม่ได้วงแหวน
ลูกสูบที่เสียเลย
5. จงหาความน่าจะเป็นที่มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่ได้ 2 เครื่อง หรือมากกว่า เมื่อสุ่มตัวอย่างคอมพิวเตอร์มา
5 เครื่อง จากกองหนึ่งที่ทราบว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่ได้ 6%
6. ข้อสอบวิชาการควบคุมคุณภาพชุดหนึ่งประกอบด้วยคาถามถูกผิดจานวน 9 ข้อ จงหาความน่าจะเป็นที่ตอบ
คาถามได้ถูกต้อง (Besterfield D. H. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 85)
6.1 4 ข้อ
6.2 อย่างมาก 6 ข้อ
6.3 อย่างน้อย 2 ข้อ
7. ในการสุ่มตัวอย่างเครื่องปั้มน้า 10 เครื่อง มาจากสายการผลิตหนึ่ง พบว่ามีเครื่องปั้มน้าเสีย 5% จงใช้การ
แจกแจงแบบปัวส์ซองหาความน่าจะเป็นที่สุ่มได้เครื่องปั้มน้าที่เสีย 2 เครื่อง
8. การผลิตอย่างต่อเนื่องของหลอดไฟพบว่ามีหลอดเสีย 0.09 ถ้าสุ่มตัวอย่างหลอดไฟมา 67 หลอด จงหา
ความน่าจะเป็นที่สุ่มได้หลอดไฟเสีย 3 หลอด
(Besterfield D. H. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 85)
9. สมมติว่าในการผลิตโคมไฟรุ่นหนึ่งจานวน 100 ชิ้น พบว่ามีของเสีย 5 ชิ้น จงใช้การแจกแจงแบบทวินามหา
ความน่าจะเป็นที่ในตัวอย่างสุ่มโคมไฟ 10 อัน จะพบของเสียไม่มากกว่า 1 อัน
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 86)
10. ความทนแรงกระแทกของกล่องพบว่ามีการแจกแจงแบบปกติที่มีค่าเฉลี่ย 160 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และ
ความแปรปรวน 25 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ผู้ซื้อกล่องรายหนึ่งต้องการกล่องที่มีความทนทานแรงกระแทกอย่าง
น้อย 150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 86)
10.1 จงหาความน่าจะเป็นที่กล่องใบหนึ่งจะทนแรงกระแทกมากกว่าข้อกาหนด
10.2 จงหาความน่าจะเป็นที่กล่องจะทนแรงกระแทกได้ระหว่าง 150 ถึง 165 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
11.ระยะเวลาที่แบตเตอรี่ลิเธียมลูกหนึ่งเสียพบว่ามีการแจกแจงแบบไวบูลล์ที่มีค่าเฉลี่ย  = 0.5 ปี, β = 1/3
และ α = 2/3 ปี (Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง,
2554: 87)
11.1 จงหาสัดส่วนแบตเตอรี่ที่คาดว่าจะเสียก่อน 2.5 ปี
11.2 จงหาสัดส่วนแบตเตอรี่ที่คาดว่าจะเสียนานกว่าอายุการใช้งานเฉลี่ย
11.3 จงหาสัดส่วนแบตเตอรี่ที่คาดว่าจะเสียระหว่าง 2 และ 3 ปี
100 การควบคุมคุณภาพ

12. เครื่องมือควบคุมคุณภาพ 7 ชนิด ได้แก่อะไรบ้าง


13. ฮิสโตแกรม ช่วยในการควบคุมคุณภาพอย่างไรบ้าง (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
14. ในกรณีที่ฮิสโตแกรม แสดงตัวแบบความแปรผันแบบทรงภูเขาสองยอดมีสาเหตุมาจากอะไร
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
15. จงอธิบายถึงแนวคิดในการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิพาเรโต (Pareto analysis) (สภาวิศวกร, 2555)
16. กลุ่มคุณภาพประชุมระดมสมองและพยายามระบุปัจจัย ที่มีอาจจะมีผลต่อข้อบกพรองของผลิตภัณฑ์
ในขั้นตอนดังกล่าวควรใช้เครื่องมือใด (สภาวิศวกร, 2555)
17. ความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) สามารถแสดงโดยใช้เครื่องมือคุณภาพใดประกอบ
(สภาวิศวกร, 2555)
18. ชิ้นงานเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการพ่นสี เกิดขึ้นไดจากข้อบกพรองหลายอย่าง เช่น สีเป็นเม็ด สีย้อย
ความหนาสีมากเกินไป หากต้องการทราบว่าควรจะต้องแก้ไขในข้อบกพร่องใดก่อน ควรจะใช้เครื่องมือใดช่วย
ในการเก็บและบันทึกข้อมูล (สภาวิศวกร, 2555)
19. เครื่องมือใดที่มคี วามหมายว่า Vital Few and Trivial Many (สภาวิศวกร, 2555)
20. จงอธิบายข้อควรระวังในการประยุกต์ใช้แผนภาพพาเรโตในการควบคุมคุณภาพ
21. จงเขี ย นแผนภู มิ พ าเรโต และวิ เ คราะห์ ว่ า จะแก้ ไ ขสาเหตุ ใ ดบ้ า ง จากการตรวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี
ข้อบกพร่องต้องคัดทิ้งในแต่ละสัปดาห์ ได้ข้อมูลดังนี้
สัปดาห์ที่
สาเหตุ รวม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ตะเข็บไม่ดี 3 1 6 5 2 2 1 4 7 1 32
ลืมหมุด 0 1 1 1 1 1 0 0 1 2 8
การหมุนไม่ถูกต้อง 7 3 16 5 11 9 4 12 18 6 91
ช่องว่างไม่ถูกต้อง 2 3 4 1 3 2 0 2 5 3 25
แผ่นรองพื้นแตก 3 10 7 4 5 3 6 2 3 8 51
แรงบิดไม่ดี 0 2 0 2 1 1 2 3 1 0 12
มุมไม่ถูก 1 1 2 1 1 0 1 1 2 0 10
สาเหตุอื่นๆ 1 5 4 2 3 6 2 7 5 6 41
รวม 270

22. ความหมายของแผนภาพก้างปลาในมุมมองของ JIS คืออะไร (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)


23. หลักในการสร้างแผนภาพก้างปลา จาเป็นต้องดาเนินการผ่านวิธีการระดมสมองควรอยู่ภายใต้หลักการ
ใดบ้าง
24. แผนภูมิควบคุม (Control Chart) จาแนกออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
25. แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram) มีประโยชน์อย่างไร
บทที่ 2 สถิติและเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ 101

เอกสารอ้างอิง

กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2540). สถิติสาหรับงานวิศวกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร:


สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2541). การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วิสาข์ เกษประทุม. (2550). ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: พ.ศ.พัฒนา.
ศรีไร จารุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศิวดล กัลยาคา. (2548). รูปแบบการควบคุมคุณภาพของพรมทอมือ โดยประยุกต์ใช้การควบคุม
กระบวนการเชิงสถิติ: กรณีศึกษาโรงงานผลิตพรม. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิศวกรรมศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศุภชัย นาทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สภาวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2554). การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติและวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร:
จามจุรีโปรดักท์.
อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์. (2535). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
Banks J. (1989). Principles of Quality Control. New York: John Wiley & Sons.
Besterfield D. H. (2004). Quality Control. (7th ed). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Gupta R.C. (1988). Statistical Quality Control. (3rd ed). Delhi: J.N.Printers.
Harrison M.W. (1989). Statistical Methods for Engineers and Scientists.
New York: McGrawHill.
Oakland S.J. (2003). Statistical Process Control (4th ed). Oxford: Butterworth Heinemann.
Pande P.S., Neumen R.P., Cavanaugh R.R. (2002). The Six Sigma way: team field book.
New York: McGraw-Hill.
102 การควบคุมคุณภาพ
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3
แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด
หัวข้อเนื้อหา
3.1 แนวความคิดและขอบเขตของแผนภูมิควบคุม
3.2 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัย
3.2.1 กรณีไม่ทราบค่า µ และ σ
3.2.2 กรณีทราบค่า µ และ σ
3.3 ฟังก์ชั่นลักษณะเฉพาะการดาเนินงานสาหรับแผนภูมิ X และ R
3.4 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3.5 แผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเชิงเดี่ยวและแผนภูมิควบคุมค่าพิสัยเคลื่อนไหว
3.6 แผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเดี่ยว
3.7 แผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม
3.8 สรุป
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
เอกสารอ้างอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีความรู้และทักษะดังนี้
1. อธิบายหลักการการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ แนวคิดแผนภูมิควบคุม และขอบเขตของแผนภูมิ
ควบคุม
2. สามารถคานวณขีดจากัด สร้างแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัย
3. สามารถคานวณขีดจากัด สร้างแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4. สามารถคานวณขีดจากัด สร้างแผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเชิงเดี่ยวและแผนภูมิควบคุมค่าพิสัย
เคลื่อนไหว
5. สามารถคานวณขีดจากัด และสร้างแผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม
วิธีสอนและกิจกรรม
1. ทบทวนเนื้อหาในบทที่ 2 และเฉลยการบ้านในบทที่ 2
2. นาเข้าสู่บทเรียนโดยการบรรยายแนวคิดและขอบเขตของแผนภูมิควบคุม พร้อมรูปภาพประกอบ
ใน Power point
3. อธิบายเนื้อหาและทาแบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนทีละหัวข้อ แล้วเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามในแต่ละ
หัวข้อก่อนข้ามหัวข้อนั้น
4. ตรวจสอบคาตอบของผู้เรียน และสอบถามผู้เรียนถ้าผู้เรียนมีคาถามสงสัย
5. มอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 เป็นการบ้าน
6. เสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรมให้กับนักศึกษาก่อนเลิกเรียน
104 การควบคุมคุณภาพ

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ
2. กระดานไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ายบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมและบรรยากาศระหว่างเรียน
2. ถามตอบระหว่างเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมายให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จากการทากิจกรรมกลุ่มเสร็จตามเวลา
2. ทาแบบฝึกหัดมีความถูกต้องไม่น้อยกว่า 80%
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 105

บทที่ 3
แผนภูมคิ วบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด
ในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม ความเบี่ยงเบนหรือความแปรปรวนของกระบวนการผลิตย่อมเกิดขึ้น
ได้ตลอดเวลาไม่ว่าระบบการผลิตนั้นจะออกแบบไว้ได้ดีเพียงใด หรือผู้ควบคุมการผลิตได้เอาใจใส่ตรวจสอบ
อย่างเข้มงวดเพียงใดก็ตาม ความแปรปรวนต่างๆ มีผลมาจากปัจจัยมากมายทั้งที่สามารถควบคุมได้ และไม่
สามารถควบคุมได้ ทั้งปัจจัยที่มีผลกระทบมากและปัจจัยที่มีผลกระทบน้อย ความแปรปรวนเหล่านี้ส่งผล
กระทบถึงคุณภาพของสินค้าที่ทาการผลิต ถ้าความแปรปรวนน้อยและไม่ส่งผลกระทบต่อระดับ คุณภาพสินค้า
กล่าวได้ว่ากระบวนการผลิตยังอยู่ภายใต้การควบคุม แต่เมื่อใดกระบวนการผลิตเกิดความแปรปรวนมาก
แสดงให้เห็นว่ากระบวนการผลิตไม่ได้อยู่ ภายใต้การควบคุมหรืออีกนัยหนึ่ง คือ กระบวนการผลิตได้ผิดปกติไป
จากที่ควรจะเป็น
สาเหตุที่ทาให้กระบวนการผลิตเกิดผิดปกติ อาจเกิดจากเครื่องจักร คนทางาน หรือวัตถุดิบ ตัวอย่างเช่น
เครื่องจักรอาจเสื่อมสภาพ การตั้งเครื่องไว้ไม่ถูกต้อง พนักงานไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดในการผลิต วัตถุดิบมี
คุณภาพไม่สม่าเสมอ เป็นต้น โดยทั่วไปกระบวนการผลิตจะอยู่ภายใต้การควบคุม อย่างไรก็ตามปัจจัยการผลิต
อาจเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้กระบวนการผลิตเปลี่ยนแปลงไปจากที่กาหนดทาให้ผลิตชิ้ นงานหรือสินค้าไม่ตรง
ตามข้อกาหนดหรือสินค้าที่มีคุณภาพลดลงนั่นเอง เพื่อควบคุมกระบวนการผลิตให้อยู่ภายใต้การควบคุมจึงต้อง
มีวิธีการเชิงสถิติเพื่อเตือนให้ผู้ผลิตทราบว่า กระบวนการผลิตได้เปลี่ยนแปลงไปจากที่กาหนดไว้ วิธีการเชิงสถิติ
ที่ใช้ในการควบคุมการผลิต คือ แผนภูมิควบคุม ซึ่งเป็นเครื่องมือตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงไปของ
กระบวนการผลิต และแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสินค้าที่ผลิต
นอกจากนี้แผนภูมิควบคุมยังสามารถใช้เป็นตัวกาหนดความสามารถของกระบวนการผลิต ทาให้ผู้ผลิตสามารถ
ปรับปรุงคุณภาพสินค้าที่ผลิตให้ดียิ่งขึ้นตลอดเวลา

3.1 แนวความคิดและขอบเขตของแผนภูมิควบคุม
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) แผนภูมิควบคุมจะช่วยในการวิเคราะห์ความแปรผันของข้อมูลว่ามาจากสาเหตุ
ธรรมชาติหรือไม่ โดยที่ข้อมูลดังกล่าวจะเป็นค่าตามลาดับเวลาของค่า y ที่อาจจะหมายถึง ค่าใช้จ่ายรายวัน
ค่าแรงดึง จานวนพนักงานขาดงานต่อวัน จานวนความผิดพลาดในบัญชี สัดส่วนข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์
ฯลฯ และควรพิจารณาคุณสมบัติอะไรก่อนเป็นอันดับแรกด้วยเหตุผลอะไร พบว่าผู้วิเคราะห์จานวนมากไม่ได้
ให้ความสนใจต่อตัวแบบความแปรผันเลย นอกจากการหาค่าเฉลี่ย ( X ) แล้วนาค่าเฉลี่ยไปตัดสินใจต่อไปซึ่ง
ย่อมจะมีโอกาสผิดพลาดสูงมาก ทั้งนี้เพราะว่าค่าเฉลี่ยจะมีความหมายก็ต่อเมื่อ ความแปรผันดังกล่าวต้องมี
สาเหตุมาจากธรรมชาติเท่านั้น และด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้เองทาให้การตีความหมายเพื่อค้นหาสารสนเทศจาก
ข้อมูลดังแสดงในรูปที่ 3.1 นี้จะต้องพิจารณาความแปรผันของข้อมูลมาจากสาเหตุธรรมชาติหรือไม่
ความแปรผั น จากสาเหตุ ธ รรมชาติ จ ะมี พ ฤติ กรรมแบบสุ่ ม อย่ างสม่ าเสมอรอบค่ า คงที่ และสามารถ
คาดการณ์ได้ว่าความแปรผันมีขนาดเท่าไร ดังนั้นการวิเคราะห์จาเป็นต้องเริ่มต้นจากพื้นฐานก่อนว่าถ้าข้อมูล
อยู่ภายใต้ความแปรผันจากสาเหตุธรรมชาติแล้วตัวแบบควรเป็นอย่างไร โดยการกาหนดข้อสมมุตินี้อยู่ภายใต้
เงื่อนไขที่ได้มีการทาให้กระบวนการที่ศึกษาเป็นมาตรฐานแล้ว และมิใช่ข้อสมมติที่กาหนดขึ้นตามใจชอบ
106 การควบคุมคุณภาพ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 t

รูปที่ 3.1 กราฟเส้นแสดงความแปรผัน

UCL

CL

LCL
ความแปรผันจากสาเหตุผิดธรรมชาติ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 t

รูปที่ 3.2 แนวความคิดของแผนภูมิควบคุม

ภายใต้ข้อสมมติว่าข้อมูลอยู่ภายใต้ความแปรผันจากสาเหตุธรรมชาติจะสามารถคาดการณ์ได้ว่าความแปร
ผันมีขนาดหนึ่ง ดังแสดงในรูปที่ 3.2 โดยจะเรียกเส้นพิกัดด้านบนว่า UCL (Upper Control Limit) เส้นพิกัด
ล่าง LCL (Lower Control Limit) และเส้นกลางคือ CL (Control Line) ซึ่งมีความหมายว่าถ้าข้อมูลอยู่
ภายใต้ความแปรผันจากสาเหตุธรรมชาติ ข้อมูลจะมีพฤติกรรมแบบสุ่มรอบค่า CL และมีขนาดความแปรผัน
ภายในช่วง UCL–LCL โดยจากความหมายนี้สิ่งแรกที่ต้องพิจารณา คือ ตัวแบบของข้อมูลมีพฤติกรรมแบบสุ่ม
รอบค่า CL หรือไม่ ด้วยการพิจารณาว่าข้อมูลมีแนวโน้มหรือไม่ เป็นวัฏจักรหรือไม่ เป็นต้น พบว่าถ้าข้อมูลมี
พฤติกรรมแบบสุ่มรอบค่า CL จริง จากนั้นจึงพิจารณาต่อไปว่าขนาดความแปรผันอยู่ภายในช่วง UCL–LCL
หรือไม่ ซึ่งจะเห็นว่าข้อมูลตัวที่ 2 มีความแปรผันออกนอกช่วงดังกล่าว โดยต่ากว่า LCL จึงสรุปว่าข้อมูลตัวที่ 2
มีความแปรผันจากสาเหตุผิดธรรมชาติทาให้ไม่สามารถนามาพิจารณาค่า ( X ) ได้ ดังนั้นในกรณีมีความ
จาเป็นต้องตัดข้อมูลชุดที่ 2 ออกจากการพิจารณาหาค่า ( X ) และ ถ้าเป็นกรณีวิเคราะห์หาสาเหตุแห่งปัญหา
ก็ควรจะมีการวินิจฉัยต่อว่าสาเหตุความแปรผันที่ผิดธรรมชาติที่เกิดกับข้อมูลชุดที่ 2 นั้นมาจากสาเหตุอะไร
ด้วยแนวความคิดของแผนภูมิควบคุมที่กล่าวมานี้ อาจสรุปได้ว่ากลไกส าคัญของแผนภูมิ ควบคุม คือ การ
พิจารณาแยกความแปรผันจากสาเหตุแบบผิดธรรมชาติ ออกจากสาเหตุแบบธรรมชาติด้วยพิกัดควบคุมของ
แผนภูมิควบคุม แต่โดยที่ความแปรผันจากสาเหตุแบบธรรมชาติมีพฤติกรรมแบบสุ่มรอบค่าค่าหนึ่ง จึงมีความ
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 107

จาเป็นต้องพลอตข้อมูลตามลาดับเวลาเพื่อดูว่ามีความสุ่มจริงหรือไม่ (แม้ว่าจะมีความแปรผันอยู่ภายใต้พิกัด
ควบคุมก็ตาม)
แม้ว่าแผนภูมิควบคุมจะมีหลายชนิดก็ตาม แต่หลักการในการสร้างขีดจากัดควบคุมมีเพียงหลักการเดียว
คือ การสร้างแผนภูมิควบคุมให้มีระยะห่างของขีดจากัดควบคุมบน (Upper Control Limit: UCL) กับ
เส้นกึ่งกลาง (Center Line: CL) เท่ากับ 3σ หรือ 3S กล่าวคือ ความน่าจะเป็นของการเกิดความผิดพลาด
ชนิดที่ 1(α) เท่ากับ 0.0027 หรือการเกิดสัญญาณที่กระบวนการผลิตออกนอกสภาวะการควบคุมผิดพลาด
(False Alarm) จะเกิดขึ้นเพียง 27 จุด ใน 10,000 จุด ดังนั้น Zα/2= 3 เมื่อ σ หรือ S คือ ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของข้อมูลจากกระบวนการผลิต ซึ่งเกิดจากสาเหตุที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในกระบวนการผลิตนั้น
และมีระยะห่างของขีดจากัดควบคุมล่าง (Lower Control Limit: LCL) กับเส้นกึ่งกลาง เท่ากับ 3σ หรือ 3S
เช่นกัน แผนภูมิควบคุมจะอยู่บนแนวความคิดสาคัญ ดังแสดงในรูปที่ 3.3 ซึ่งจะพบว่าในขั้นตอนแรกต้อง
ดาเนินการให้กระบวนการที่เก็บข้อมูลเป็นมาตรฐานก่อนเสมอจึงสามารถประยุกต์แผนภูมิควบคุมได้ และใน
การประยุกต์แผนภูมิควบคุมจะใช้ได้ทั้งการวิเคราะห์ความเสถียรภาพของกระบวนการผ่านการวิเคราะห์ข้อมูล
และถ้าหากกระบวนการมีเสถียรภาพจะสามารถใช้แผนภูมิควบคุมในการคาดการณ์ขนาดความแปรผันภายใต้
สาเหตุธรรมชาติซึ่งสามารถใช้ควบคุมกระบวนการต่อไปได้ ซึ่งโดยปกติใน QC.Circle จะมีการใช้แผนภูมิ
ควบคุมในการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของขั้นตอนการสังเกตการณ์ การวิเคราะห์สาเหตุ และการติดตาม
ผล ในขณะที่ใช้แผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุมกระบวนการของขั้นตอนการค้นหาปัญหา และขั้นตอนการทาให้
เป็นมาตรฐาน
108 การควบคุมคุณภาพ

ข้อสมมุต:ิ กระบวนการเสถียรภาพ

ประมาณค่าความแปรผันจากสาเหตุธรรมชาติ
(คานวณพิกัด UCL, LCL และ CL)
การวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของข้อมูล

สุม่

แก้ ไข ไม่สมุ่ ลักษณะสุม่


การควบคุมกระบวน การ

ของตัวแบบข้อมูล

ส่วนใหญ่อยูภ่ ายใน เปรียบเทียบข้อมูล อยู่นอกพิกัดค่อนข้างมาก


กับพิกัดควบคุม

กระบวนการมีเสถียรภาพ กระบวนการไม่เสถียร

ประมาณการความแปรผัน หาความผิดพลาด
จากสาเหตุธรรมชาติจาก และแก้ไขเพื่อปรับ
พิกัดควบคุม (ทบทวนใหม่) ให้เป็นมาตรฐาน

ควบคุมกระบวนการ

รูปที่ 3.3 แนวความคิดแผนภูมิควบคุม


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

3.2 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัย (Control Charts for x and R)


ในการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ จาเป็นต้องทราบค่าความแปรผันที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
(Chance Cause หรือ Natural Variation) ในกระบวนการผลิต ส่วนการเก็บรวบรวมข้อมูล ต้องแบ่งข้อมูลที่
ต้องการวิเคราะห์ออกเป็นกลุ่มย่อยๆ (Subgroups) โดยต้องควบคุมปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์
(ค่าการปรับตั้งของเครื่องจักร) ให้คงที่จึงจะสามารถวิเคราะห์ค่าความแปรผันภายในกลุ่มย่อย และระหว่าง
กลุ่มย่อยได้
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและแผนภูมิควบคุมพิสัย จะใช้เมื่อต้องการวิเคราะห์
ลักษณะ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ในเชิงปริมาณหรือเชิงตัวเลข เช่น เส้นผ่านศูนย์กลางของแหวนลูกสูบสาหรับ
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 109

เครื่องยนต์ ความต้านทานของขดลวดเหนี่ยวนา ความหนาของการชุบเคลือบสายรัดโลหะด้วยสังกะสี น้าหนักลูก


โบว์ลิ่ง เป็นต้น จานวนตัวอย่างหรือข้อมูลภายในกลุ่มตัวอย่างที่จะเก็บต้องพิจารณาจากต้นทุนการสุ่ มตัวอย่าง
และต้นทุนการตรวจสอบ จานวนตัวอย่างขนาด 2 ถึง 6 จะเหมาะสาหรับการตรวจสอบความแตกต่างระหว่าง
กลุ่มตัวอย่าง กับค่าเฉลี่ยกระบวนการในระดับ 2σ ขึ้นไป แต่หากต้องการตรวจสอบความแตกต่างในระดับน้อย
กว่า 2σ ควรกาหนดจานวนตัวอย่างประมาณ 15 ถึง 25 ตัวอย่าง
ในทางปฏิบัติมักเลือกใช้กลยุทธ์สุ่มตัวอย่างน้อยแต่สุ่มบ่อยๆ เพื่อป้องกันการเกิดของเสียในช่วงระหว่าง
กลุ่มตัวอย่ าง ดีกว่ากลยุทธ์สุ่มตัวอย่ างมากๆ แต่นานๆ ครั้ง เพราะจะทาให้แผนภูมิส ามารถตรวจพบการ
เปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นหากกระบวนการผลิตที่ศึกษามีอัตราการผลิตสูง
การสุ่มตัวอย่างต้องสุ่มบ่อยๆ เพราะโอกาสที่ผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดจะเกิดสูงขึ้นในช่วงเวลาอันสั้น
ในการประยุกต์แผนภูมิต้องประยุกต์ 1 แผนภูมิต่อ 1 ลักษณะคุณภาพที่ต้องการศึกษาเท่านั้น ดังนั้นถ้า
ต้องการควบคุมศึกษาลักษณะคุณภาพหลายอย่าง ก็จะต้องใช้แผนภูมิควบคุม X และ R หลายแผนภูมิ ซึ่ง
แผนภูมิควบคุม X และ R จะใช้ควบคู่กันไปในการควบคุมกระบวนการผลิตโดยที่แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ย
( X Control Chart) จะใช้สาหรับควบคุมหรือตรวจสอบคุณภาพโดยเฉลี่ยของกระบวนการผลิต ดังนั้นกลุ่ม
ตัวอย่างควรสุ่มในช่วงเวลา ซึ่งจะทาให้เกิดโอกาสที่ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างเกิดความแตกต่างจากค่าเฉลี่ยของ
กระบวนการหรือเกิดความแตกต่างจากค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างข้างเคียงมากที่สุด กล่าวคือ แผนภูมิควบคุม
ค่าเฉลี่ย ( X Chart) ใช้ตรวจสอบความแปรผันระหว่างกลุ่มตัวอย่าง แผนภูมิควบคุมพิสัย (R Chart ) จะใช้
สาหรับควบคุมหรือตรวจสอบความแปรผันภายในแต่ล่ะกลุ่มตัวอย่าง
ในทานองเดียวกันกลุ่มตัวอย่างควรสุ่มในช่วงเวลาซึ่งจะทาให้เกิดโอกาสที่พบกับความแปรผันภายในกลุ่ม
ตัวอย่างมากที่สุดเช่นกัน กล่าวคือ R Chart ใช้ตรวจสอบความแปรผันภายในกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากค่าพิสัยใช้
เป็นตัวประมาณความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งตามหลักการทางสถิติประสิทธิภาพของตัวประมาณพิสัยจะลดลง
เมื่อจานวน n เพิ่มมากขึ้น กล่าวคือ ถ้าสุ่มตัวอย่าง n>10 ก็ควรใช้แผนภูมิควบคุมค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S Control Chart) แทนกระบวนการผลิตจะถือว่าอยู่ภายใต้สภาวะการควบคุม ถ้าทั้งแผนภูมิควบคุม X
และแผนภูมิควบคุม R อยู่ภายใต้สภาวะการควบคุมแต่ถ้าแผนภูมิใดอยู่นอกสภาวะการควบคุม ก็ตัดสินได้ว่า
กระบวนการผลิตอยู่นอกสภาวะการควบคุม ซึ่งผู้วิเคราะห์ต้องค้นหาและจัดการสาเหตุที่ก่อให้เกิดการออก
นอกสภาวะการควบคุม
3.2.1 กรณีไม่ทราบค่า µ และ σ
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) ในช่วงการผลิตของกระบวนการผลิตหนึ่งๆ ซึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ
ด้วยค่าเฉลี่ย µ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ ซึ่งในทางปฏิบัติจะไม่ทราบค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ดังนั้นสามารถประมาณได้โดยการสุ่มประมาณ 20 ถึง 25 กลุ่มตัวอย่าง (̅ ̅ ̅ ̅ ) แล้ว
บันทึกข้อมูลลงแผ่นบันทึก โดยที่แต่ล่ะกลุ่มตัวอย่างจะสุ่มตรวจประมาณ 2 ถึง 6 ชิ้น (
110 การควบคุมคุณภาพ

แผนภูมิควบคุม X

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : ̿ + ̅

เส้นกึ่งกลาง (CL) : ̿ …(3.1)


ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : ̿ - ̅

โดยที่ค่าเฉลี่ยของกระบวนการผลิต
̅ ̅ ̅ ̅
X =

R =

โดยที่ A2 คือ ค่าคงที่ (เปิดหาค่าจากตารางที่ ก-4 ในภาคผนวก ก.)

พิสูจน์ความน่าจะเป็นที่ค่าเฉลี่ย ของตัวอย่างจะตกอยู่ระหว่าง µ ± Zα/2σ/ n เท่ากับ 1-α จะ


วิเคราะห์ได้ถ้าทราบค่า µ และ σ ในการควบคุมคุณภาพค่า Zα/2=3 แต่ในทางปฏิบัติจะไม่ทราบค่า µ และ σ
ดังนั้นจึงใช้ X เป็นตัวประมาณค่าเฉลี่ย µ และใช้ X /d2 เป็นตัวประมาณ σ ของการแจกแจงแบบปกติ โดยที่
d2 คือ ค่าเฉลี่ยของการแจกแจงของพิสัยสัมพัทธ์ (Relative Range: W) เนื่องจาก W = R/σ

เนื่องจาก ̿-3 · σ ̅ ̿+ 3 · σ̅

̿-3 · √ ̿+ 3 ·

̅ ̅
̿-3 · √
̿+ 3 ·

กาหนดให้ A2 คือ √

ดังนั้น ̿ - ̅ µ ̿+ ̅
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 111

แผนควบคุม R
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : ̅

เส้นกึ่งกลาง (CL) : ̅ ...(3.2)


ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : ̅

โดยที่ D3 และ D4 คือค่าคงที่ (เปิดหาค่าจากตารางที่ ก-4 ในภาคผนวก ก.)

พิสูจน์ สมมติว่าคุณลักษณะทางคุณภาพที่ต้องการศึกษามีการแจกแจงแบบปกติ เนื่องจากการแจก


แจงของพิสัยสัมพัทธ์ W = R/σ มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ d3 การประมาณ σ̂ สามารถประมาณ
ได้จาก σ

เนื่องจาก ̅– 3 · σ
̂ ̂
̅ ̅+ 3 · σ
̂

̅– 3 · σ ̂
̅ ̅+ 3 · σ

̅ ̅
̅– 3 · ̂
̅ ̅+ 3 ·

กาหนดให้ D3 คือ max (0, 1-3 ) และ D4 คือ 1+3


ดังนั้น ̅ ̅̂ ̅

ในกรณีที่มี 1 จุด หรือมากกว่าของแผนภูมิ X หรือแผนภูมิ R พล็อตออกนอกขีดจากัดควบคุม


เบื้องต้น (Trial Control Limit) จึงต้องมีการปรับปรุงแผนภูมิควบคุม X หรือแผนภูมิ R ซึ่งแบ่งออกได้เป็น
2 กรณี คือ
1. ถ้าพบค่าความแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ (Assignable Cause) จุดดังกล่าวสามารถ
ตัดทิง้ แล้วต้องคานวณค่าขีดจากัดควบคุมและเส้นกึ่งกลางใหม่จากจุดที่เหลือ
การปรับปรุงแผนภูมิควบคุมวิธีนี้ดาเนินการโดยตัดจุดของ X และ R ที่รู้สาเหตุความผิดปกติออก
โดยทั่วไปทาได้ 2 วิธีคือ วิธีที่ 1 ตัดทิ้งจุดบนแผนภูมิ X และ R สาหรับจุดที่ค้นหาสาเหตุของความผิดปกติได้
วิธีที่ 2 คือตัดเฉพาะจุดบนแผนภูมิ X ถ้าจุดบน X มีความผิดปกติ แต่บนแผนภูมิ R ไม่แสดงความผิดปกติก็
ให้คงจุดนั้นไว้ในแผนภูมิ R ในทานองเดียวกันคือ ถ้าจุดแสดงความผิดปกติบนแผนภูมิ R แต่ไม่แสดงความ
ผิดปกติบนแผนภูมิ X ก็ตัดเฉพาะจุดบนแผนภูมิ R ออก แล้วทาการคานวณขีดจากัดควบคุมของแผนภูมิ
ควบคุมใหม่โดยอาศัยความสัมพันธ์ คือ
112 การควบคุมคุณภาพ

x0 =
x - x d

m - md

R0 =
R - R d

m - md

x0 = เป็นค่าของ µ หลังปรับปรุง
R0 = เป็นค่าของ R หลังปรับปรุง
x = เป็นผลรวม X ทั้งหมดก่อนปรับปรุง
x d
= เป็นผลรวมของค่า X ที่ถูกตัดออก
R = เป็นผลรวม R ทั้งหมดก่อนปรับปรุง
 Rd = เป็นผลรวมของค่า R ที่ถูกตัดออก
m = เป็นจานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดก่อนปรับปรุง
md = เป็นจานวนตัวอย่างที่ถูกตัดออก
R0
และ σ0 =
d2
แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : x 0 + Aσ0


เส้นกึ่งกลาง (CL) : x0 …(3.3)
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : x 0 - Aσ0

แผนภูมิควบคุม R ปรับปรุงใหม่

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : D2σ0


เส้นกึ่งกลาง (CL) : R0 ….(3.4)
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : D1σ0

เมื่อ d2 เป็นค่าคงที่จากตารางที่ ก-4 ในภาคผนวก ก. เพื่อใช้ประมาณค่า σ0 ขีดจากัดควบคุมของ


แผนภูมิควบคุม X และ R
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 113

2. ถ้าไม่พบค่าความแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ จุดดังกล่าวไม่สามารถตัดทิ้งได้ แล้วต้อง


คานวณค่าขีดจากัดควบคุมและเส้นกึ่งกลางเช่นเดิม
เมื่อต้องการเปลี่ยนขนาดของตัวอย่างในแผนภูมิควบคุม X - R โดยปกติขนาดของกลุ่มตัวอย่างจะ
สุ่มด้วยจานวนที่คงที่ เพราะขีดจากัดควบคุมจะเปลี่ยนแปลงตามขนาดของ n เว้นแต่ต้องการลดขนาดตัวอย่าง
ถาวร เนื่องจากงบประมาณในการทดสอบลดลงหรือกระบวนการผลิตมีเสถียรภาพ ในทางปฏิบัติ การปรับแก้
แผนภูมิควบคุม (Revision of Control Chart) อาจกาหนดช่วงเวลาที่แน่นอน เช่น ปรับทุกสัปดาห์ สาหรับ
การประยุกต์แผนภูมิควบคุมในระยะเริ่มต้น ปรับทุกเดือนสาหรับข้อมูลของกระบวนการผลิตที่เสถียร ปรับทุก
ไตรมาสสาหรับข้อมูลที่อยู่ภายใต้สภาวะการควบคุม เป็นต้น ผลของตัวอย่างที่มีขนาดเล็กจะทาให้ขีดจากัด
ควบคุมกว้างกว่าตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ และทาให้เส้นกึ่งกลางของ R Chart เปลี่ยนแปลงด้วย ส่งผลให้การ
แปลความเป็นไปได้ยาก ดังนั้นหากค่า n ไม่คงที่ ควรใช้ S Chart แทนการคานวณขีดจากัดควบคุมใหม่
สามารถกระทาได้โดยปรับแก้ค่าขีดจากัดควบคุมเดิม

แผนภูมิควบคุม x ปรับปรุงใหม่
ใหม่
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : ̿ + (ใหม่) [ เก่า
]̅ เก่า

เส้นกึ่งกลาง (CL) : ̿ …(3.5)


ใหม่
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : ̿ - (ใหม่) [ เก่า
]̅ เก่า

แผนภูมิควบคุม R ปรับปรุงใหม่
ใหม่
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : (ใหม่) [ เก่า
]̅ เก่า

ใหม่
เส้นกึ่งกลาง (CL) : [ เก่า
]̅ เก่า …(3.6)
ใหม่
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : max { ใหม่ [ เก่า
]̅ เก่า }
114 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 3.1
จากข้ อมู ลสุ่ มการชั่ งน้ าหนั กของผงซั กฟอกชนิ ดบรรจุ ถั ง 13 กลุ่ มตั วอย่ าง กลุ่ มตั วอย่ างละ 3 ถั ง
ดังแสดงในตารางที่ 3.1 จงสร้างแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยน้าหนักผงซักฟอก และแผนภูมิควบคุมการกระจายน้าหนัก
ผงซักฟอก โดยพิจารณาว่ากระบวนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุมหรือไม่ ถ้ากระบวนการอยู่นอกการควบคุมให้
ปรับปรุงพิกัดควบคุมใหม่

ตารางที่ 3.1 ปริมาณน้าหนักของผงซักฟอกชนิดบรรจุถัง (กิโลกรัม)

น้าหนัก (กิโลกรัม)
กลุ่มตัวอย่าง
ถังที่ 1 ถังที่ 2 ถังที่ 3 ถังที่ 4

1 11.65 11.70 11.70 11.60


2 11.75 11.70 11.60 11.65
3 11.50 11.60 11.65 11.60
4 11.70 11.65 11.70 11.60
5 11.65 11.60 11.80 11.60
6 11.70 11.60 11.70 11.55
7 11.70 11.60 11.55 11.90
8 11.80 11.90 11.90 11.70
9 11.90 11.60 11.70 11.50
10 11.50 11.65 11.50 11.70
11 11.70 11.70 11.70 11.70
12 11.90 11.60 11.60 11.70
13 11.43 11.80 11.49 11.70

วิธีทา
จากโจทย์ พบว่าค่า n = 4 ดังนั้น A2 = 0.729, D4 = 2.282, D3 = 0 เปิดหาค่าจากตารางที่ ก-4 ใน
ภาคผนวก ก.
x =  x /13 = (11.6625+11.675+11.5875+…+11.605)/13 = 11.67
R =  R/13 = (0.1+0.15+0.15+…+0.37)/13 = 0.20
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 115

น้าหนัก (กิโลกรัม) ค่าเฉลี่ย ค่าพิสัย


กลุ่มตัวอย่าง
ถังที่ 1 ถังที่ 2 ถังที่ 3 ถังที่ 4 (x) (R)
1 11.65 11.7 11.7 11.6 11.66 0.1
2 11.75 11.7 11.6 11.65 11.67 0.15
3 11.5 11.6 11.65 11.6 11.58 0.15
4 11.7 11.65 11.7 11.6 11.66 0.1
5 11.65 11.6 11.8 11.6 11.66 0.2
6 11.7 11.6 11.7 11.55 11.63 0.15
7 11.7 11.6 11.55 11.9 11.68 0.35
8 11.8 11.9 11.9 11.8 11.85 0.1
9 11.9 11.6 11.7 11.5 11.67 0.4
10 11.5 11.65 11.5 11.7 11.58 0.2
11 11.7 11.7 11.7 11.7 11.7 0
12 11.9 11.6 11.6 11.7 11.7 0.3
13 11.43 11.8 11.49 11.7 11.60 0.37
รวม 11.67 0.20

แผนภูมิควบคุม x

ขีดจากัดควบคุมบน คือ ̅ = ̿+ ̅
= 11.67+ 0.729 (0.2)
= 11.82
เส้นกึ่งกลาง คือ ̅ = ̿
= 11.67
ขีดจากัดควบคุมล่าง คือ ̅ = ̿- ̅
= 11.67 – 0.729 (0.2)
= 11.53

แผนภูมิควบคุม R
ขีดจากัดควบคุมบน คือ = ̅
= 2.282 (0.20)
= 0.46
เส้นกึ่งกลาง คือ ̅ = ̅
= 0.2
ขีดจากัดควบคุมล่าง คือ = ̅
= 0 (0.2)
= 0
116 การควบคุมคุณภาพ

แผนภูมิควบคุม X

จุดผิดปกติ

แผนภูมิควบคุม R

รูปที่ 3.4 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของน้าหนักผงซักฟอก


บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 117

รูปที่ 3.5 การใช้แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของน้าหนักผงซักฟอก

จากตัวอย่างที่ 3.1 แผนภูมิควบคุม X - Chart พบว่าในกลุ่มตัวอย่างที่ 8 อยู่นอกเหนือการควบคุม


ของกระบวนการ และไม่พบค่าความแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และสามารถค้นหาสาเหตุความ
ผิดปกตินั้นได้ ส่งผลให้จุดดังกล่าวสามารถตัดทิ้งได้ ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงพิกัดควบคุมใหม่ โดยตัดเฉพาะ
จุดบนแผนภูมิควบคุม X คือ กลุ่มตัวอย่างที่ 8 ซึ่งมีความผิดปกติ แต่บนแผนภูมิ ควบคุม R ไม่แสดงความ
ผิดปกติก็ให้คงจุดนั้นไว้ในแผนภูมิควบคุม R

แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 1)

x0 =  x - xd , = 151.64 11.85 = 11.65


m - md 13 1

จากโจทย์ n = 4 ดังนั้น A = 1.500, d2 = 2.326, R0 = 0.20 ดังนั้น σ0 = R 0 = 0.20/2.326 = 0.086:


d2
118 การควบคุมคุณภาพ

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) = x 0 + A σ0
= 11.65 + 1.500 (0.086)
= 11.78

เส้นกึ่งกลาง (CL: x 0 ) = 11.65

ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) = x0 - A σ0
= 11.65 - 1.500 (0.086)
= 11.51

แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 1)

รูปที่ 3.6 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยน้าหนักผงซักฟอกปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 1)

จากแผนภูมิควบคุม X - Chart พบว่าในกลุ่มตัวอย่างที่ 8 อยู่นอกเหนือการควบคุมของกระบวนการ


และไม่พบค่าความแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ จุดดังกล่าวไม่สามารถตัดทิ้งได้ ดังนั้นพนักงาน วิศวกร
การผลิต วิศวกรรมคุณภาพ และตัวแทนฝ่ายบริหาร ต้องร่วมกันค้นหาและกาจัดความแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้น
โดยธรรมชาติ จึงต้องมีการปรับปรุงพิกัดควบคุมใหม่ โดยดาเนินการลดขนาดตัวอย่างที่นามาสุ่มเป็น 2 กลุ่ม
ตัวอย่าง
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 119

แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 2)


ใหม่
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) = ̿+ (ใหม่) [ เก่า
]̅ เก่า

= 11.67 + 1.880 (1.128/2.059) (0.20)


= 11.67 + 0.21
= 11.88

เส้นกึ่งกลาง (CL) = 11.67


ใหม่
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) = ̿- (ใหม่) [ เก่า
]̅ เก่า

= 11.67 - 1.880 (1.128/2.059) (0.20)


= 11.45

แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 2)

รูปที่ 3.7 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยน้าหนักผงซักฟอกปรับปรุงใหม่ (กรณีที่ 2)

3.2.2. กรณีทราบค่า µ และ σ


ในกรณีที่ทราบค่า µ และ σ หรือกรณีที่ฝ่ายบริ หารต้องกาหนดค่าเฉลี่ยของกระบวนการผลิต
(Process Mean: µ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: σ) เพื่อให้ทราบว่ากระบวนการผลิตที่
เป็นอยู่ในปัจจุบันตรงกับค่าเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ การบันทึกข้อมู ลให้ลงในแผ่นบันทึกส่วนการคานวณค่า
ขีดจากัดควบคุมสามารถทาได้โดยไม่จาเป็นต้องวิเคราะห์ข้อมูลเดิม ดังแสดงในสมการที่ 3.7 และ 3.8
120 การควบคุมคุณภาพ

แผนภูมิควบคุม X

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : µ + Aσ
เส้นกึ่งกลาง (CL) : µ …(3.7)
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : µ - Aσ
กาหนดให้ A คือ 3/ n (เปิดหาค่าจากตารางที่ 4 ในภาคผนวก ก.)
แผนภูมิควบคุม R
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : D2σ
เส้นกึ่งกลาง (CL) : d2σ …(3.8)
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : D1σ
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพิสัย (σR) มีค่าเท่ากับ d3σ และ σ = R /d2

ตัวอย่างที่ 3.2
โรงงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่เครื่องจักรกลขนาดเล็กแห่งหนึ่งมีกระบวนการผลิตก้านวาล์ว ความยาว
เป็นสิ่งที่ต้องการศึกษา ผลการวัดขนาดก้านวาล์วจานวน 10 ตัวอย่าง ตัวอย่างละ 5 ก้าน ซึ่งข้อมูลที่แสดงใน
ตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 3.2 ขนาดความยาวของก้านวาล์วที่วัดได้ (มิลลิเมตร)

ค่าที่วัดได้ (มิลลิเมตร)
กลุ่มตัวอย่าง
X1 X2 X3 X4 X5
1 46 39 38 42 45
2 39 38 43 44 42
3 43 45 35 48 46
4 38 40 45 37 38
5 42 41 43 34 37
6 46 37 36 41 42
7 48 49 59 47 55
8 43 30 32 38 33
9 39 38 43 44 42
10 40 38 47 35 41
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 121

จงสร้างแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยความยาวของก้านวาล์ว และแผนภูมิควบคุมค่าพิสัยความยาวของก้าน
วาล์ว และกระบวนการอยู่ภายใต้การควบคุมหรือไม่
วิธีทา
ค่าที่วัดได้ (มิลลิเมตร) ค่าเฉลี่ย ค่าพิสัย
กลุ่มตัวอย่าง
X1 X2 X3 X4 X5 (x) (R)
1 46 39 38 42 45 42 8
2 39 38 43 44 42 41.2 6
3 43 45 35 48 46 43.4 13
4 38 40 45 37 38 39.6 8
5 42 41 43 34 37 39.4 9
6 46 37 36 41 42 40.4 10
7 48 49 44 47 43 46.2 6
8 43 44 32 38 33 38 12
9 39 38 43 44 42 41.2 6
10 40 38 47 35 41 40.2 12
รวม 411.6 90

จากโจทย์ สมมติว่าทราบค่าเฉลี่ย (µ) คือ 41 มิลลิเมตร และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของ


กระบวนการผลิต (σ) เท่ากับ 4.2 มิลลิเมตร
พบว่าค่า n = 5 ดังนั้น A = 1.342, D2 = 4.918, D1 = 0 และ d2 = 2.326 เปิดหาค่าจากตารางที่
ก-4 ในภาคผนวก ก.
x = x/10 = (42+41.2+43.4+…+40.2)/10 = 41.16
R= R/10 = (8+6+13+…+12)/10 = 9

แผนภูมิควบคุม X

ขีดจากัดควบคุมบน คือ UCLX = µ + Aσ


= 41 + 1.342 (4.2)
= 46.64

เส้นกึ่งกลาง (CL) คือ µ = 41

ขีดจากัดควบคุมล่าง คือ LCLX = µ - Aσ


= 41 – 1.342 (4.2)
= 35.36
122 การควบคุมคุณภาพ

แผนภูมิควบคุม R
ขีดจากัดควบคุมบน คือ UCLR = D2σ
= 4.918 (4.2)
= 20.66

เส้นกึ่งกลาง คือ CLR = d2σ


= 2.326 (4.2)
= 9.77

ขีดจากัดควบคุมล่าง คือ LCLR = D1σ


= 0 (4.2)
= 0
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 123

แผนภูมิควบคุม X

แผนภูมิควบคุม R

รูปที่ 3.8 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของความยาวก้านวาล์ว


124 การควบคุมคุณภาพ

รูปที่ 3.9 แบบฟอร์มแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยของความยาวก้านวาล์ว

การใช้แผนภูมิควบคุม X และ R ในกรณีทราบค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการนั้น


สามารถสร้างแผนภูมิควบคุมโดยคานวณขีดจากัดควบคุมจากสมการที่ 3.7 และ 3.8 โดยไม่ต้องเก็บรวบรวมข้อมูล
จากผู้ควบคุมเครื่องจักรหรือกระบวนการผลิตต้องเก็บตัวอย่างครั้งละ n ตัวอย่าง ให้สอดคล้องกับแผนภูมิควบคุมที่
สร้างไว้จากตัวอย่างให้คานวณค่า X และ R ของกลุ่มตัวอย่างแล้วเขียนจุดลงในแผนภูมิควบคุม ถ้าจุดตกอยู่ภายใน
ขีดจากัดควบคุมบนและล่างโดยไม่แสดงภาวะความผิดปกติต่างๆ ก็แสดงว่ากระบวนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุม
แต่ถ้าจุ ดที่เขียนลงในแผนภูมิตกออกนอกขีดจากัดควบคุมบนและล่ างหรือแสดงภาวะความผิดปกติ แสดงว่า
กระบวนการผลิตไม่อยู่ภายใต้การควบคุมผู้ควบคุมเครื่องจักรหรือกระบวนการผลิตจะต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชา
ทราบ เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้กระบวนการผลิตเปลี่ยนแปลงไป และทาการปรับปรุงแก้ไขให้กระบวนการ
ผลิตกลับสู่สภาวะปกติต่อไป
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 125

3.3 ฟังก์ชั่นลักษณะเฉพาะการดาเนินงานสาหรับแผนภูมิ X และ R


พิชิต สุขเจริญพงษ์ (2541) ความสามารถของแผนภูมิ X และ R ในการจับการเปลี่ยนแปลงไปของ
คุณภาพสินค้าพิจารณาได้จากเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการดาเนินงาน (Operating Characteristic Curve)
หรือเส้นโค้ง (OC Curve)
การสร้างเส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิ X เมื่อรู้คา่ σ และถือว่า σ มีค่าคงที่ ทาได้โดยคานวณค่า ความ
น่าจะเป็นที่จุดตกออกนอกขีดจากัดควบคุม เมื่อกระบวนการผลิตเริ่มเปลี่ยนแปลงไป เส้นโค้ง OC ที่สร้างขึ้นนี้
จะใช้เพื่อควบคุมคุณภาพสินค้ าและกระบวนการในระหว่างการผลิต ไม่ได้ใช้วิเคราะห์ผลการผลิตในอดีต
พิจารณาการเปลี่ยนแปลงไปของค่าเฉลี่ยกระบวนการจากเดิม µ0 ไปเป็นค่าใหม่ µ1 = µ0 + δσ เมื่อ δ เป็น
ค่าคงที่ค่าหนึ่ง ค่าความน่าจะเป็นที่จุดจะตกออกนอกขีดจากัดควบคุม หรือความน่าจะเป็นที่แผนภูมิควบคุมไม่
สามารถจับการเปลี่ยนแปลงได้ กาหนดให้ β ดังแสดงในสมการที่ 3.9 ใช้แสดงการเปลี่ยนแปลงไปของค่าเฉลี่ย
กระบวนการ เมื่อ δ มีค่าบวกพื้นที่แรเงาคือความน่าจะเป็นที่ค่า X จากการสุ่มชักตัวอย่างจะตกอยู่ในขีดจากัด
ควบคุมหรือเขียนได้เป็น

β = P LCLX  X  UCLX μ=μ1  …(3.9)

เนื่องจาก X มีการแจกแจงแบบปกติดังนั้นค่าของ β เท่ากับ


 UCLx - μ1   LCLx - μ1 
β =    
 σ/ n   σ/ n 

ดังนั้น

UCLx = µ0 +
n


LCLx = µ0 -
n

และ µ1 = µ0 + δσ

ดังนั้น
0 0     0 
 µ +3σ/ n - µ +δσ    µ -3σ/ n - µ +δσ  
β =
0
  …(3.10)
 σ/ n   σ/ n 
   

สามารถเขียนได้เป็น   
β =  3-δ n   -3-δ n  …(3.11)
126 การควบคุมคุณภาพ

σ/ n
0
1

LCLx UCLx

รูปที่ 3.10 แสดงค่า β สาหรับเส้นโค้ง OC ของแผนภูมิ X


(ที่มา: พิชิต สุขเจริญพงษ์, 2541)
ตัวอย่างที่ 3.3
แผนภูมิควบคุม X สร้างจากการสุ่มตัวอย่าง n = 4 ต้องการหาค่าความน่าจะเป็นที่แผนภูมิควบคุม
ไม่สามารถจับการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยกระบวนการได้ ถ้าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม 2σ
วิธีทา β =   3-δ n     -3-δ n 

=  3  2 4     3  2 4 
= 0.1587-0 = 0.1587
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่แผนภูมิควบคุมไม่สามารถจับการเปลี่ยนแปลงไปของกระบวนการผลิต คือ
0.1587 หรืออีกนัยหนึ่งคือ ค่าความน่าจะเป็นที่แผนภูมิควบคุม X จะสามารถจับการเปลี่ยนแปลงได้ เท่ากับ
1-β = 1-0.1587 = 0.8413 ซึ่งคือค่าความสามารถในการจับการเปลี่ยนแปลงไปนี้เรียกว่า กาลัง (Power)

δ
รูปที่ 3.11 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิควบคุม X ที่ขีดจากัดควบคุม 3σ
(ที่มา: Montgomery D.C., 2009)
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 127

เส้นโค้ง OC นี้ นอกจากใช้ประโยชน์เพื่อหาค่าความน่าจะเป็นในการจับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการ


ผลิตแล้ว ยังสามารถใช้เพื่อกาหนดจานวนตัวอย่าง n เช่น ถ้าต้องการสร้างแผนภูมิควบคุมที่สามารถจับการ
เปลี่ยนแปลงไปของกระบวนการผลิต 2σ ด้วยความน่าจะเป็น 0.82 จากรูปที่ 3.11 จะได้ว่าจานวนตัวอย่างที่
ต้องการคือ n = 4 โดยทั่วไปจานวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คาดคะเนการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ย
สามารถคานวณได้จากค่าจานวนครั้งเฉลี่ย (Average Run Length: ARL) ดังแสดงในสมการที่ 3.12

1
ARL = …(3.12)
1 - β

ยกตัวอย่างเช่น 1- β มีค่าเท่ากับ 0.25 จะทาให้ค่า ARL เท่ากับ 4 หมายความว่า ต้องอาศัย 4 กลุ่มตัวอย่าง


จึงจะตรวจพบการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยไป 1σ โดยใช้จานวนตัวอย่างต่อกลุ่มเท่ากับ 5
การสร้างเส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิ R ที่ขีดจากัดบนเป็น 3σR เฉพาะกรณีเมื่อจานวนตัวอย่างในแต่ละ
ครั้งไม่เกิน 6 ทาได้โ ดยวิเคราะห์ค่าความแจกแจงของพิสั ยสัมพัทธ์ W=R/σ โดยเริ่มจากการคานวณ
β = P R  UCLR σ0 = σ1  เมื่อ σ0 หมายถึงค่าที่อยู่ในขีดจากัดควบคุมและ σ1 คือค่าที่เปลี่ยนแปลงของ
σ ถ้าคูณทั้งสองข้างของอสมการด้วย 1/σ จะได้

β = P R/σ  UCLR /σ

=P W  UCLR /σ
การหาค่าความน่าจะเป็นที่ต้องการสามารถเปิดค่าได้จากตารางที่ ก-6 ในภาคผนวก ก. วิธีการสร้างเส้น
โค้ง OC ดังแสดงในตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 3.4
แผนภูมิ R ที่สร้างจากการชักตัวอย่างครั้งละ 5 หน่วย มีค่าขีดจากัดควบคุม คือ
UCLR = 0.057
CLR = 0.027
LCLR = 0
วิธีทา
ค่าประมาณการความเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ σ = CLR/d2 = 0.027/2.326 = 0.0116
128 การควบคุมคุณภาพ

คานวณค่าอัตราส่วน คือ
UCLR/σ = 0.057/0.0116 = 4.91
จากตารางที่ ก-6 ในภาคผนวก ก. เมื่อ n = 5 จะได้ว่าค่าความน่าจะเป็นที่ทาให้ β = P W  4.9 คือ 0.995
ซึ่งก็คือจุดหนึ่งบนเส้นโค้ง OC ดังแสดงในรูปที่ 3.12
ถ้า σ1 /σ0 = 1.20 ดังนั้น σ1 = 0.01392 จะได้
UCLR/σ = 0.057/0.01392 = 4.09
จากตารางที่ ก-6 ในภาคผนวก ก. จะได้ค่าความน่าจะเป็นจากการประมาณค่า คือ 0.967

σ1 /σ0

รูปที่ 3.12 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิควบคุม R ที่ขีดจากัดควบคุม 3σ


(ที่มา: Montgomery D.C., 2009)
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 129

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 3

1. จงบอกหลักการในการสร้างแผนภูมิควบคุม
2. จากข้อมูลสุ่มการวัดปริมาตรน้าตาลในเครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ได้ข้อมูลดังตาราง

ปริมาณน้าตาล (กรัม)
กลุ่มตัวอย่าง
1 2 3 4

1 165 170 170 160


2 175 170 160 165
3 150 160 165 160
4 170 165 170 160
5 165 160 180 160
6 170 160 170 155
7 170 160 200 190
8 180 190 190 170
9 190 160 170 150
10 150 165 150 170

จงสร้ างแผนภูมิควบคุ มค่าเฉลี่ ย ปริ มาตรน้ าตาล และแผนภูมิควบคุมการกระจายปริม าตรน้าตาล


โดยพิจารณาว่ากระบวนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุมหรือไม่
3. จงหาค่า β การสุ่มตัวอย่าง n = 4 ต้ องการหาค่าความน่าจะเป็ นที่แผนภูมิควบคุมไม่สามารถจับการ
เปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยกระบวนการได้ ถ้ าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม 3σ

3.4 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Control Charts for X and S)


ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) นอกจากแผนภูมิ X และแผนภูมิ R แผนภูมิควบคุมชนิดแปรผันที่นิยมใช้อีก
ประเภทคือ แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้ S ประมาณ σ โดยตรง แทนที่จะใช้
R ประมาณ σ แผนภูมิประเภทนี้ใช้ดีกว่าแผนภูมิควบคุม X-R เมื่อค่าขนาดตัวอย่างสุ่ม (n) มีค่ามาก
(n>10 หรือ 12) หรือมีค่าไม่คงที่ เพราะเป็นการวิเคราะห์ ข้อมูลทุกตัว ขณะที่แผนภูมควบคุม R วิเคราะห์
ข้อมูลเพียง 2 ค่าจากจานวนตัวอย่างสุ่มเท่านั้น จึงง่ายต่อการสร้างและการใช้งานแต่ประสิทธิภาพลดลงเมื่อ
ขนาดตัวอย่างใหญ่ กล่าวคือแผนภูมคิ วบคุม X-S ต้ องคานวณมากกว่าแผนภูมิควบคุม X-R
วิธีการสร้างแผนภูมคิ วบคุม X-S เหมือนกับวิธีการสร้ างแผนภูมิควบคุม X-R เพียงแต่แผนภูมิที่วิเคราะห์
ความแปรผัน จะใช้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นตัววิเคราะห์แทนค่าวิสัย แผนภูมิควบคุม S ใช้สาหรับวิเคราะห์
ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่วัดในช่วงเวลาที่ผลิ ตใกล้ เคียงกัน ซึ่งการคานวณส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่ ม
ตัวอย่างคานวณได้จากสมการที่ 3.13 และ 3.14
130 การควบคุมคุณภาพ

2
n
 n 
n x -   xi 2
i
S= i=1  i=1 
n  n-1

เมื่อ S คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง


xi คือ ค่าที่วัดได้ของแต่ละตัวอย่าง
n คือ จานวนตัวอย่างในแต่ละกลุ่มตัวอย่าง

แผนภูมิควบคุม X

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : x + A3 S

เส้นกึ่งกลาง (CL) :x …(3.13)

ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : x - A3 S
แผนภูมิควบคุม S
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : B4 S
เส้นกึ่งกลาง (CL) : S …(3.14)
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : B3 S
โดยค่าของ A3, B3 และ B4 เปิดได้จากตารางที่ ก-4 ในขั้นตอนของการปรับปรุงแผนภูมิควบคุม ขีดจากัด
ของแผนภูมิควบคุมประกอบด้วย

แผนภูมิควบคุม x ปรับปรุงใหม่
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : x 0 + A σ0

เส้นกึ่งกลาง (CL) : x0 …(3.15)

ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : x 0 - A σ0
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 131

แผนภูมิควบคุม S ปรับปรุงใหม่
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : B6 σ0

เส้นกึ่งกลาง (CL) : S0 …(3.16)


ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : B5 σ 0

x0 = x - x d

m - md

S0 = S - S d

m - md

เมื่อ xd คือ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ถูกตัดออก


Sd คือ ค่า S ของกลุ่มตัวอย่างที่ถูกตัดออก
md คือ จานวนตัวอย่างของกลุ่มตัวอย่างที่ถูกตัดออก
S0
และ σ0 =
C4
ค่าของ A, B5 และ C4 เป็นค่าคงที่ขึ้นอยู่กับจานวนตัวอย่างในแต่ละกลุ่มตัวอย่างซึ่งเปิดค่าได้จาก
ตารางที่ ก-4 ในภาคผนวก ก.
ตัวอย่างที่ 3.5
การวัดกาลังบิดของเครื่องยนต์ ไฮบริดจ์ในรถยนต์ประเภทขับเคลื่อนสี่ล้อ 4wd (ฟุต–ปอนด์) โดยวัด
ชุดละ 8 ข้อมูล เมื่อทาการสุ่มตรวจวัดจานวน 28 กลุ่มตัวอย่าง ตัวอย่างละ 5 ครั้ง ข้อมูลการวัดกาลังบิดของ
เครื่องยนต์ไฮบริดจ์จากตัวอย่างสุ่ม ดังแสดงในตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 3.3 กาลังบิดของเครื่องยนต์ไฮบริดจ์ในรถยนต์ประเภทขับเคลื่อนสี่ล้อ 4wd (ฟุต–ปอนด์)

กลุ่ม ค่าที่วัดได้ (หน่วย ฟุต–ปอนด์) ค่าส่วน


วันที่ เวลา ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน
ตัวอย่าง S1 S2 S3 S4 S5 มาตรฐาน
1 12/6 8.00 42 43 40 46 46 43.4 2.61
2 10.00 44 44 50 42 46 45.2 3.03
3 15.00 48 46 46 48 44 46.4 1.67
4 16.20 40 48 46 46 48 45.6 3.29
5 13/6 8.40 44 40 41 44 43 42.4 1.82
132 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 3.3 กาลังบิดของเครื่องยนต์ไฮบริดจ์ในรถยนต์ประเภทขับเคลื่อนสี่ล้อ 4wd (ฟุต–ปอนด์)(ต่อ)

กลุ่ม ค่าที่วัดได้ (หน่วย ฟุต–ปอนด์) ค่าส่วน


วันที่ เวลา ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน
ตัวอย่าง S1 S2 S3 S4 S5 มาตรฐาน
6 9.00 46 44 46 45 45 45.2 0.84
7 10.00 46 46 50 48 48 47.6 1.67
8 11.40 46 48 46 45 46 46.2 1.10
9 14.20 44 44 44 46 46 44.8 1.10
10 17.00 45 44 46 44 42 44.2 1.48
11 15/6 9.30 46 46 44 44 44 44.8 1.10
12 10.30 46 48 46 46 46 46.4 0.89
13 11.30 43 44 43 45 46 44.2 1.30
14 13.30 44 44 46 48 44 45.2 1.79
15 14.20 44 43 46 46 45 44.8 1.30
16 16.00 44 44 43 42 41 42.8 1.30
17 19/6 8.10 46 48 48 48 46 47.2 1.10
18 8.55 46 46 48 48 46 46.8 1.10
19 9.43 42 44 42 44 47 43.8 2.05
20 11.20 46 46 44 46 46 45.6 0.89
21 13.00 45 45 46 48 48 46.4 1.52
22 15.42 48 48 46 46 44 46.4 1.67
23 21/6 9.00 48 48 50 46 50 48.4 1.67
24 10.00 48 48 46 48 44 46.8 1.79
25 11.20 44 46 43 44 40 43.4 2.19
26 13.12 42 45 46 44 45 44.4 1.52
27 14.22 46 44 48 44 45 45.4 1.67
28 15.00 48 45 44 50 47 46.8 2.39

วิธีทา
จากโจทย์ พบว่าค่า n = 5 ดังนั้น A3 = 1.427, B3 = 0, B4 = 2.089:
x =  x /28 = (1270.6)/28 = 45.38
S = S/28 = (45.85)/28 = 1.64
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 133

แผนภูมิควบคุม X

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) = x + A3 S
= 45.38 + 1.427 (1.64)
= 47.72

เส้นกึ่งกลาง (CL) = x
= 45.38

ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) = x - A3 S
= 45.38 - 1.427 (1.64)
= 43.04

แผนภูมิควบคุม S
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) = B4 S
= 2.089 (1.64)
= 3.43

เส้นกึ่งกลาง (CL) = S
= 1.64

ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) = B3 S
= 0 (1.64)
= 0

จากนั้นเขียนจุดของ X และ S ลงในแผนภูมิควบคุมดังแสดงในรูปที่ 3.12 จะพบว่าแผนภูมิควบคุม


X มีจุดตกนอกขีดจากัดควบคุม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ 5, 16 และ 23 และค้นหาสาเหตุได้จึงตัดออกเพื่อปรับปรุง
แผนภูมิควบคุมใหม่
134 การควบคุมคุณภาพ

แผนภูมิควบคุม X
จุดผิดปกติ

UCL
47.72

CL
45.38

จุดผิดปกติ LCL
43.04

จุดผิดปกติ

แผนภูมิควบคุม S

3.43 UCL

1.64 CL

0 LCL

รูปที่ 3.13 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกาลังบิดเครื่องยนต์ไฮบริดจ์


บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 135

จึงตัดออกเพื่อทาการปรับปรุงแผนภูมิควบคุมใหม่ สาหรับแผนภูมิ S นั้นไม่มีจุดของกลุ่มตัวอย่างตก


นอกขีดควบคุม ดังนั้นจึงทาการปรับปรุงเฉพาะแผนภูมิควบคุม X ดังนี้
x0 =
 x - x = 1270.6  42.4  42.8  48.4 = 45.48
d

m-m d 28  3
S0
n = 5 ดังนั้น C4 = 0.9400, A = 1.342, σ0 = = 1.64/0.94 =1.74
C4

แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่

ขีดจากัดควบคุมบน UCL = x 0 + A σ0
= 45.48 + 1.342 (1.74)
= 47.82

เส้นกึ่งกลาง CL = x0
= 45.48

ขีดจากัดควบคุมล่าง LCL = x 0 - A σ0
= 45.48 - 1.342 (1.74)
= 43.14

แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่

47.82 UCL

45.48
CL

43.14 LCL

รูปที่ 3.14 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยของกาลังบิดเครื่องยนต์ไฮบริดจ์ปรับปรุงใหม่


136 การควบคุมคุณภาพ

แผนภูมิ ควบคุ มหลั ง การปรั บ ปรุ ง สามารถน าไปประยุกต์ ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิ ตได้


เช่นเดียวกับแผนภูมิ X และ R ทุกประการ
ในกรณีที่รู้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการผลิตแผนภูมิควบคุม X และ S
สามารถสร้างได้โดยตรงจากค่าเฉลี่ย ( μ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ ) ของกระบวนการผลิต คือ

แผนภูมิควบคุม X ปรับปรุงใหม่
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : µ + Aσ
เส้นกึ่งกลาง (CL) :µ …(3.17)
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : µ - Aσ

แผนภูมิควบคุม S ปรับปรุงใหม่

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : B6σ

เส้นกึ่งกลาง (CL) : C4σ …(3.18)


ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : B5 σ

ส่วนการใช้แผนภูมิควบคุม X และ S ในกรณีรู้ค่าเฉลี่ย ( μ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) ก็มี


ลักษณะเช่นเดียวกับการใช้แผนภูมิควบคุม X และ R เมื่อรู้ค่าเฉลี่ย ( μ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ) คือ
สามารถสร้ า งแผนภู มิ ค วบคุ ม X และ S ได้ โ ดยตรงไม่ ต้ อ งเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ก่ อ น ส่ ว นการควบคุ ม
กระบวนการผลิตก็ทาได้เช่นเดียวกับวิธีที่กล่าวมาแล้วของแผนภูมิควบคุม X และ R
อย่ า งไรก็ ต ามแม้ แ ผนภู มิ ค วบคุ ม X และ S จะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในเชิ ง สถิ ติ แต่ ไ ม่ นิ ย มใช้ กั น ใน
QC.Circle เนื่องจากมีความยากในการคานวณทางสถิติและขัดแย้งกับหลักการทาให้ง่าย (Simplify)

3.5 แผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเชิงเดี่ยวและแผนภูมิควบคุมค่าพิสัยเคลื่อนไหว (Control Chart for


X and Control Chart for Moving Ranges: X-MR)
แผนภูมิชนิดนี้จะใช้เมื่อไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลเป็นกลุ่มตัวอย่างได้ กล่าวคือ เก็บข้อมูลครั้งละ 1 ค่า
เท่านั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถคานวณความแปรผันในกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากกระบวนการผลิตมีอัตราการผลิตช้า
มาก หรือปริมาณที่ต้องการศึกษาแปรเปลี่ยนตลอดเวลา ซึ่งทาให้การจดบันทึกข้อมูลต้องบันทึกค่าที่ดีที่สุด
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 137

วิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวจึงต้องปลอมกลุ่มตัวอย่างจากข้อมูลที่บันทึกครั้งละ 1 ค่าลงในแผ่นบันทึก ข้อมูล


(ดังแสดงในภาคผนวก ค.) แล้วคานวณพิสัยของแต่ละกลุ่มตัวอย่างด้วยพิสัยเคลื่อนไหว
ค่าพิสัยเคลื่อนไหว (MR) เป็นตัวประมาณค่าพิสัย (R) ที่ดี กล่าวคือ σ̂ = MR/d ภายใต้สมมติฐานว่า
2

ข้อมูลมีการแจกแจงปกติ ขนาดตัวอย่าง (n) ที่ใช้ในการควบคุมเท่ากับ 1 หากกระบวนการควบคุมใช้พิสัย


เคลื่อนไหวครั้งละ 2 ค่าสังเกตเพื่อประมาณความแปรผันของกระบวนการ กล่าวคือ , , ,…, เป็น
ข้อมูลที่บันทึกได้ ดังนั้นค่า d2 จะมีค่าคงที่เท่ากับ 1.128 ส่วนค่าพิสัยเคลื่อนไหวสามารถคานวณได้จาก
| |, | |, | |, …., | | ส่วนค่าเฉลี่ยของพิสัยเคลื่อนไหวได้จากสมการที่ 3.19

1 n-1
MR=  Xi+1 -Xi
n i=1
…(3.19)

แผนภูมิควบคุม x สาหรับข้อมูลที่สุ่มเพียงค่าเดียว (Individual Observation) ซึ่งแผนภูมินี้มีลักษณะ


คล้ายแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ย โดยเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างมีเพียง 1 ตัวอย่างเท่านั้น ขีดจากัดควบคุมสามารถ
คานวณได้ ดังแสดงในสมการที่ 3.20 และ 3.21

แผนภูมิควบคุม x
MR
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : X +3
d2

เส้นกึ่งกลาง (CL) : X …(3.20)


MR
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : X -3
d2

แผนภูมิควบคุม MR

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) : D4 MR

เส้นกึ่งกลาง (CL) : MR …(3.21)

ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) : D3 MR

การตีความหมายแผนภูมิ MR
1. ถ้าค่า MR มีค่าเพียง 1 ค่า 2 ค่า หรือ 3 ค่า แสดงว่าข้อมูลขาดคุณสมบัติในการแยกแยะความแปรผัน
(Resolution) ที่แสดงว่าข้อมูลที่พิจารณาไร้คุณภาพต้องกลับไปแก้ไขระบบการวัด
2. ถ้าค่า MR ไม่สุ่ม ให้พิจารณาคุณภาพของข้อมูลใหม่ เพราะข้อมูลขาดคุณสมบัติด้านความสอดคล้อง
(Consistency)
3. ถ้า MR ออกนอกพิกัดควบคุม ให้ตัดข้อมูลชุดนั้นออกและพิจารณาคานวณค่าใหม่
138 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 3.6
ในกระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก พบว่าขั้นตอนการทดสอบความหนาที่มีอิทธิพลต่อคุณสมบัติเชิงกล
ของแรงกระแทกของเม็ดพลาสติก ชนิ ด B-1E (มิล ลิ เมตร) ซึ่งจะมีผ ลในงานฉีดพลาสติกและขึ้นรูปใน
อุตสาหกรรมผลิตเครื่องมือสื่อสาร โดยทาการจดบันทึกเป็นเวลา 20 วัน ข้อมูลความหนาของเม็ดพลาสติก
ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 3.4 ความหนาของเม็ดพลาสติกชนิด B-1E (มิลลิเมตร)
38 42 29 50 37 37 41 47 39 30
41 43 46 48 52 55 39 39 36 44
31 32 35 45 51 27 26 48 42 25
43 38 26 46 51 30 41 49 41 33
37 39 40 42 33 30 46 47 51 45

วิธีทา
เมื่อทาการบันทึกข้อมูลเรียบร้อย สามารถสร้างแผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเชิงเดี่ยวและแผนภูมิ
ควบคุมค่าพิสัยเคลื่อนไหว (X-MR) ดังต่อไปนี้ พบว่าค่าเฉลี่ยของกระบวนการเท่ากับ 40.06 มิลลิเมตร
เปิดตารางหาค่า d2 ต้องใช้ค่า n = 2 จะได้ค่า d2 = 1.128 และค่าเฉลี่ยพิสัยเคลื่อนไหว ( MR ) เท่ากับ
1 n-1
MR=  Xi+1 -Xi
n i=1

= 397/50 = 7.94
แผนภูมิควบคุม x

MR
ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) = X +3
d2

= 40.06 + 3  7.94 
 1.128 
= 61.18

เส้นกึ่งกลาง (CL) = X = 40.06

MR
ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) = X -3
d2

= 40.06 - 3  7.94 
 1.128 
= 18.94
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 139

แผนภูมิควบคุม MR
เปิดตาราง ก-4 ในภาคผนวก ก. หาค่า D4 และ D3 ใช้ค่า n = 2 จะได้ค่า D4 = 3.267, D3 = 0:

ขีดจากัดควบคุมบน (UCL) = D4 MR
= 3.267(7.94)
= 25.93

เส้นกึ่งกลาง (CL) = MR = 7.94

ขีดจากัดควบคุมล่าง (LCL) = D3 MR
= 0(7.94)
= 0
140 การควบคุมคุณภาพ

แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ย ( X ) ความหนาของเม็ดพลาสติกชนิด B-1E

61.18 UCL

40.06 CL

18.94 LCL

แผนภูมิควบคุมค่าพิสัยเคลื่อนไหว (MR) ความหนาของเม็ดพลาสติกชนิด B-1E


จุดผิดปกติ
25.93 UCL

7.94 CL

0 LCL

รูปที่ 3.15 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยเคลื่อนไหวความหนาของเม็ดพลาสติกชนิด B-1E


บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 141

3.6 แผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเดี่ยว
มีหลายกรณีที่กลุ่มตัวอย่างมีจานวนตัวอย่างเดียว หรือ n = 1 เช่นการวัดผลที่ได้จากกระบวนการผลิตที่
ใช้เครื่องจักรอัตโนมัติ และวัดผลทุกชิ้นที่ผลิตได้ หรืออาจเกิดจากการผลิตที่มีอัตราการผลิตซ้า ซึ่งกว่าจะรอ
เพื่อเก็บตัวอย่างหลายตัวอย่างจะเสียเวลามาก ในกรณีเช่นนี้อาจสร้างแผนภูมิควบคุมสาหรับตัวอย่างเดี่ยว
โดยสร้างแผนภูมิ X และใช้ค่าพิสัยเฉลี่ย R หรือจากผลต่างระหว่างข้อมูลเดี่ยวที่ติดกัน

ขีดจากัดควบคุมสาหรับตัวอย่างเดี่ยว ในกรณีที่ไม่รู้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ

3R
UCLX = X +
d2
CLX = X …(3.22)
3R
LCLX = X -
d2

ในกรณีที่รู้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของกระบวนการ ขีดจากัดควบคุม คือ

UCLX = X + 3σ

CLX = X …(3.23)
LCLX = X- 3σ

ส่วนแผนภูมิ R ขีดจากัดควบคุม คือ

UCLR = ̅

CLR = ̅ …(3.24)
LCLR = ̅

ตัวอย่าง 3.7
ค่าออกเทนของน้ามันแก๊ซโซฮอลที่โ รงกลั่ นแห่งหนึ่ง จากกระบวนการผลิตในแต่ละวันและความ
แตกต่างของค่าออกเทนในช่วงเวลาที่เก็บข้อมูลใกล้กัน ดังแสดงในตารางที่ 3.5
142 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 3.5 ค่าออกเทนของน้ามันแก๊ซโซฮอลที่ผลิตได้

วันที่ผลิต ค่าออกเทน ค่าที่แตกต่าง


1 87.3 -
4 86.6 0.7
5 87.5 0.9
8 87.3 0.2
9 86.2 1.1
11 85.9 0.3
12 86.8 0.9
15 87.3 0.5
17 86.1 1.2
19 86.7 0.6
21 88.1 1.4
23 87.8 0.3
รวม 1,043.6 8.1

วิธีทา
จากข้อมูลในตารางที่ 3.5 สามารถคานวณค่าเฉลี่ยและค่าพิสัย ดังนี้
1, 043.6 8.1
X = = 86.97 และ R = = 0.74
12 11
ขีดจากัดควบคุมสาหรับแผนภูมิ X คานวณได้ดังนี้ คือ เนื่องจากการคานวณพิสัยใช้ข้อมูล 2 ค่าที่อยู่ติดกัน
ดังนั้น การเปิดตารางหาค่า d2 ต้องใช้ค่า n = 2 จากตารางที่ ก-4 ในภาคผนวก ก. จะได้ค่า d2 = 1.128
ดังนั้น
3R
UCLX = X +
d2

= 86.97 + 3  0.74 
 1.128 
= 88.94

CLX = X = 86.97

3R
LCLX = X
d2

= 86.97 - 3  0.74  = 85.00


 1.128 
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 143

ส่วนแผนภูมิ R เนื่องจาก n = 2 จากตาราง ก-4 ในภาคผนวก ก. จะได้ค่า D3 = 0 และ D4 = 3.267:

UCLR = ̅
= 3.267(0.74)
= 2.42

CLR = ̅ = 0.74

LCLR = ̅
= 0(0.74)
= 0
แผนภูมิควบคุม X
UCLX = 88.94

CLX = 86.97

LCLX = 85.00

แผนภูมิควบคุมค่าพิสัย
UCLR = 2.42

CLR = 0.74

LCLR = 0

รูปที่ 3.16 แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัยสาหรับตัวอย่างเดี่ยวค่าออกเทนของน้ามันแก๊ซโซฮอล


144 การควบคุมคุณภาพ

3.7 แผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) แผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม (Cumulative-Sum: Cusum Control
Chart) ถูกนาเสนอโดย เพจ อี.เอส. (พ.ศ. 2497) หรือเรียกว่า แผนภูมิควบคุม Cusum ต่างจากแผนภูมิใน
หัวข้อแผนภูมิควบคุม X - R แผนควบคุม X - S และหัวข้อแผนภูมิควบคุม X-MR เนื่องจากแผนภูมิควบคุมนี้
สามารถตรวจสอบความไวของข้อมูลว่า มีการเลื่อนจากเส้นกึ่งกลางที่ระดับน้อยกว่า 1.5σ ได้ เนื่องจากเป็น
การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมด นอกจากนั้นแผนภูมิควบคุม Cusum สามารถประยุกต์ได้ประสิทธิภาพมากกว่า
แผนภูมิแบบอื่น เมื่อ n=1 ส่วนแผนภูมิควบคุมในหัวข้อก่อนๆ จะมีประสิทธิภาพมากสาหรับการตรวจสอบ
การเลื่ อนจากเส้ น กึ่ งกลางที่ ร ะดับ ตั้ งแต่ 1.5σ เป็นต้ นไป กล่ าวได้ว่ าแผนภูมิ ควบคุม ชนิ ดนี้ เหมาะกั บ
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางเคมี เช่น การควบคุม ค่าความร้อน ค่าความหนืด ณ อุณหภูมิ
หนึ่งๆ เป็นต้น หนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึงเฉพาะแผนควบคุม Cusum สาหรับการตรวจสอบค่าเฉลี่ยกระบวนการ
สาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัดเท่านั้น
แผนภูมคิ วบคุม Cusum เป็นการวิเคราะห์ผลของค่าลาดับของข้อมูลทั้งหมด เริ่มจากการพล็อตค่าผลรวม
สะสมของค่าความเบี่ยงเบนของข้อมูลที่มีต่อค่าเฉลี่ย (Ci) หาได้จากสมการที่ 3.25 กับจานวนตัวอย่างเมื่อ
n≥1 ถูกรวบรวม และหาค่าขีดจากัดควบคุม

 X 
i

Ci = j - μ0 …(3.25)
j=1

กาหนดให้ Xj คือ ค่าเฉลี่ยตัวอย่างที่ j


µ0 คือ ค่าเฉลี่ยของกระบวนการผลิต
จากสมการที่ 3.25 ในกรณีที่มีเพียงตัวอย่างเดียว (n=1) จะแทนด้วย Xj ด้วย Xj นอกจากนั้นแล้วยัง
สามารถหาค่า Cj ได้จาก

 
i
Ci =  X j -μ0
j=1

=  X -μ  +C
j 0 i-1

หมายเหตุ: ค่าเริ่มต้นของผลรวมสะสม (C0) กาหนดให้ค่าเท่ากับ 0 ตลอด


ถ้ากระบวนการผลิตซึ่งมีการแจกแจงปกติอยู่ภายใต้สภาวะควบคุมที่ µ0 แปลความได้ว่า ค่าของข้อมูลที่ได้
จากการสุ่มอยู่รอบค่าเฉลี่ยซึ่งมีค่าเท่ากับ 0 อย่างไรก็ตาม ถ้าค่าเฉลี่ย µ1>µ0 แปลความได้ว่า ค่าของข้อมูลที่
ได้จากการสุ่มอยู่รอบค่าเฉลี่ยซึ่งมีค่าเท่ากับ 0 อย่างไรก็ตาม ถ้าค่าเฉลี่ย µ1<µ0 แปลความได้ว่า ค่าของข้อมูล
เลื่อนต่ากว่าค่าเฉลี่ย 0 (เห็นแนวโน้มการเลื่อนลง) เมื่อเกิดการเลื่อนผู้วิเคราะห์ต้องค้นหาสาเหตุของความแปร
ผันที่ไม่ได้เกิดโดยธรรมชาตินี้ (Assignable Cause) และกาจัดทิ้ง เพื่อให้ค่าของข้อมูลย้อนกลับสู่ค่าเฉลี่ยที่
ควรจะเป็น
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 145

ขีดจากัดควบคุมของแผนภูมควบคุม Cusum (H) หาได้จากสมการที่ 3.26 กาหนดให้ Xi แทน


ข้อมูลที่ i เมื่อกระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติที่มีค่าเฉลี่ย µ0 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ (ในกรณีที่
ไม่ทราบค่า σ ให้ประมาณโดยอาศัยหลักการทางสถิติ)

H = 5σ …(3.26)

ถ้าค่าสถิติของผลบวกสะสมบน (Upper Cusum: C ) หรือผลบวกสะสมล่าง (Lower Cusum: C )


+
i

i

มีมากกว่าค่า H จะแปลความได้ว่า กระบวนการผลิตออกนอกสภาวะการควบคุม โดยที่ C และ C หาได้จาก +


i

i

สมการที่ 3.27 และสมการที่ 3.28 ตามลาดับ

Ci+ = max(0, xi -(μ0 +K) + Ci-1


+
) …(3.27)
Ci- = max(0, (μ0 -K) -xi + Ci-1
-
) …(3.28)

กาหนดให้ Ci+ คือ ค่าเบี่ยงเบนสะสมจากค่าเฉลี่ยซึ่งอยู่เหนือค่าเฉลี่ย


C
i
คือ ค่าเบี่ยงเบนสะสมจากค่าเฉลี่ยซึ่งอยู่ต่ากว่าค่าเฉลี่ย
K คือ ค่าเผื่อ (Allowance Value) ซึ่งมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของขนาดการเลื่อนออกจากค่าเฉลี่ย

δ μ1 -μ 0 
 σ=  …(3.29)
2 2 

หมายเหตุ : Ci+ และ Ci เท่ากับ 0

ตัวอย่างที่ 3.8
ข้อมูลของการเก็บข้อมูลการชั่งน้าหนักบรรจุผงชูรส (ออนซ์) จงสร้างแผนภูมิควบคุมแบบผลบวก
สะสมสาหรับ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์ว่ากระบวนการผลิ ตอยู่ภายใต้ส ภาวะการควบคุมหรือไม่ เมื่อต้องการ
ตรวจสอบความไวที่ 1.5σ กาหนดให้ µ0 = 17 และ σ = 5.5 จากการสุ่มข้อมูลแสดงดังต่อไปนี้

ตารางที่ 3.6 ข้อมูลน้าหนักบรรจุผงชูรส (ออนซ์)

ตัวอย่าง (i) Xi
1 12
2 17
3 22
146 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 3.6 ข้อมูลน้าหนักบรรจุผงชูรส (ออนซ์) (ต่อ)

ตัวอย่าง (i) Xi
4 9
5 18
6 13
7 25
8 32
9 6
10 19
11 20
12 24
13 13
14 30
15 26
16 10
17 14
18 11
19 26
20 28

วิธีทา
จากข้อมูลข้างต้น พบว่าทราบค่าเฉลี่ย (µ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ)

UCLX = X + 3σ
= 17 + 3(5.5)
= 33.5

CLX = X
= 17

LCLX = X - 3σ
= 17 - 3(5.5)
= 0.5
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 147

UCLX = 33.5

CLX = 17

LCLX = 0.5

รูปที่ 3.17 แผนภูมิควบคุม x


พล็อตค่าของแผนภูมิ CUSUM ก่อนเริ่มการวิเคราะห์ต้องเริ่มจากการสร้างช่อง xi - µ0 และช่อง Ci ดัง
ตารางต่อไปนี้
Xi Xi - µ0 Ci = (Xi - 10) + Ci-1
12 -5 -5
17 0 -5
22 5 0
9 -8 -8
18 1 -7
13 -4 -11
25 8 -3
32 15 12
6 -11 1
19 2 3
20 3 6
24 7 13
13 -4 9
30 13 22
26 9 31
10 -7 24
14 -3 21
11 -6 15
26 9 24
28 11 35
148 การควบคุมคุณภาพ

กาหนดความไวที่ 1.5σ เท่ากับ 1.5(5.5) = 8.25 , H = 5σ = 5 (5.5) = 27.5


เนื่องจากกาหนดความไวที่ 1.5σ ทาให้ค่า µ1 ที่สนใจมีค่าเท่ากับ µ0 + 1.5σ = 17 + 1.5(5.5)
= 25.25
μ1 - μ0 25.25 - 17
ค่า K = = = 4.125 และสามารถคานวณค่า Ci+ และ Ci ดังต่อไปนี้
2 2
Ci+ = max(0, xi -(μ0 +K)+Ci-1
+
)

Ci- = max(0, (μ0 -K)-xi +Ci-1


-
)

ดังนั้น X1 = 12

Ci+ = max (0, 12-(17+4.125)+0)


= max (0, -9.125)
= 0

Ci = max (0, (17-4.125)-12+0)


= max (0, 0.875)
= 0.875

X2 = 17

Ci+ = max (0, 17-(17+4.125)+0)


= max (0, -4.125)
= 0

Ci = max (0,(17-4.125)-17+0.875)


= max (0, -3.25)
= 0

สาหรับตัวอย่างที่เหลือสามารถพิจารณาได้ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ ส่วนค่า N+ และ N- แสดงถึงจานวน


Ci+ และ Ci ที่มีค่ามากกว่า 0
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 149

a b
ตัวอย่าง Xi Xi-21.125 N +
12.875-Xi N-
C +
i Ci
1 12 -9.125 0 0 0.875 0.875 1
2 17 -4.125 0 0 -4.125 0 0
3 22 0.875 0.875 1 -9.125 0 0
4 9 -12.125 0 0 3.875 3.875 1
5 18 -3.125 0 0 -5.125 0 0
6 13 -8.125 0 0 -0.125 0 0
7 25 3.875 3.875 1 -12.125 0 0
8 32 10.875 14.75 2 -19.125 0 0
9 6 -15.125 0 0 6.875 6.875 1
10 19 -2.125 0 0 -6.125 0.75 2
11 20 -1.125 0 0 -7.125 0 0
12 24 2.875 2.875 1 -11.125 0 0
13 13 -8.125 0 0 -0.125 0 0
14 30 8.875 8.875 1 -17.125 0 0
15 26 4.875 13.75 2 -13.125 0 0
16 10 -11.125 2.625 3 2.875 2.875 1
17 14 -7.125 0 0 -1.125 1.75 2
18 11 -10.125 0 0 1.875 3.625 3
19 26 4.875 4.875 1 -13.125 0 0
20 28 6.875 11.75 2 -15.125 0 0

จากตารางพบว่าไม่มีจานวน Ci+ และ Ci มีค่ามากกว่า 27.5 ซึ่งเป็นขีดจากัดควบคุมกระบวนการผลิต


ดังนั้นกระบวนการชั่งน้าหนักบรรจุผงชูรสอยู่ภายใต้สภาวะการควบคุมทั้งหมด สามารถเขียนแผนภูมิควบคุม
Cusum โดยการพล็อตจุดด้วยกราฟแท่งของแต่ละตัวอย่าง และแสดงค่าของข้อมูลด้วยจุด ดังแสดงในรูปที่
3.18
150 การควบคุมคุณภาพ

รูปที่ 3.18 แผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม

3.8 สรุป
แม้ว่าแผนภูมิควบคุมลักษณะข้อมูลการวัดมีประโยชน์ในการเก็บข้อมูลคุณภาพที่วัดได้ ทาให้สามารถนา
ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และควบคุมกระบวนการผลิต แต่ก็มีข้อจากัดอยู่เช่นกัน คือ แผนภูมิควบคุมลักษณะข้อมูล
การนับไม่สามารถใช้ในการควบคุมลักษณะคุณภาพที่ไม่สามารถวัดได้ เช่น ความสวยงาม ความถูกต้องของสี
สภาพความเก่าใหม่ หรือความต้องการของลูกค้า เป็นต้น
ข้อจากัดประการที่สอง คือ สินค้าหนึ่งๆ จะประกอบด้วยคุณภาพมากมายหลายชนิด สินค้าบางชนิดอาจมี
คุณภาพนับร้อยอย่าง เนื่องจากแผนภูมิควบคุมชนิดนี้จะใช้ควบคุมลักษณะคุณภาพได้เพียงหนึ่งอย่างต่อ 1 อย่าง
ต่อ 1 แผนภูมิควบคุม ดังนั้นถ้าสินค้าที่มีลักษณะคุณภาพนับร้อยอย่างจาเป็นจะต้องมีแผนภูมิควบคุมจานวนนับ
ร้อยเช่นเดียวกัน จึงทาให้ต้องมีการใช้แผนภูมิควบคุมลักษณะข้อมูลการวัดควบคู่ไปกับแผนภูมิควบคุมลักษณะ
ข้อมูลการวัด ดังจะกล่าวในบทต่อไปเพื่อช่วยลดความจาเป็นในการใช้แผนภูมิควบคุมหลายๆ แผ่นลงได้ โดยอาจ
ใช้แผนภูมิเพียงแผนภูมิเดียว เพื่อควบคุมลักษณะคุณภาพหลายๆ อย่างไปพร้อมกัน
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 151

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3

1. จงอธิบายการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ
2. ในการวิเคราะห์ข้อมูลความหนาของแผ่นยางด้วยแผนภูมิควบคุม ควรใช้แผนภูมิประเภทใด
3. ในการวิเคราะห์ข้อมูลแผ่นวงจรไฟฟ้าที่ต้องนากลับมาแก้ไข (Rework) ด้วยแผนภูมิควบคุม ควรใช้แผนภูมิ
ประเภทใด
4. ถาคุณลักษณะที่ต้องการควบคุม คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของชิ้นงาน ซึ่งวัดโดยใช้ไมโครมิเตอร จานวนกลุ่ม
ตัวอย่าง 30 กลุม่ ๆ ละ 5 ชิ้นงาน เพื่อนามาสร้างแผนภูมิควบคุมควรจะใช้แผนภูมิควบคุมชนิดใด
(สภาวิศวกร, 2555)
5. โดยปกติแล้วขีดจากัดการดาเนินการ (Action Limit) ของแผนภูมิควบคุมอยูที่ (สภาวิศวกร, 2555)
6. ถา X = 23 ออนซ์ σ = 0.4 ออนซ์ และ n = 16 แล้วเส้นพิกัดควบคุมที่ ±3σ จะมีค่าเท่าไร
(สภาวิศวกร, 2555)
7. ในการตรวจสอบความเสถียรภาพ (Stable) ของรายจ่ายในแต่ละเดือนควรใช้เครื่องมือใด
(สภาวิศวกร, 2555)
8. ในการใช้แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัยในการตรวจสอบกระบวนการผลิตชิ้นงานประเภทหนึ่ง จากการ
ตรวจสอบติดตามที่ผ่านมา พบว่ากระบวนการอยูภายใต้การควบคุมอย่างสม่าเสมอ (ขนาดตัวอย่าง n = 5,
X = 10, R = 0.5815) วิศวกรต้องการออกแบบแผนภูมิ ควบคุมค่าเฉลี่ยใหม่โดยให้มีค่า α = 0.05 แผนภูมิ
ควบคุมใหม่นี้จะมี UCL เท่าไร (สภาวิศวกร, 2555)
9. จากข้อมูลตรวจวัดเส้นผ่านศูนย์กลางกลางของลูกปืนของกระบวนการผลิตตลับลูกปืน ข้อมูลแสดงดังตาราง
(ข้อมูลกลุ่มละ 5 ตัวอย่าง) จงประมาณค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการผลิตตลับ ลูกปืนที่ผลิตจาก
กระบวนการผลิตนี้โดย X = 34, R = 4.71
Sample No. x R Sample No. x R
1 34.5 3 13 35.4 8
2 34.2 4 14 34 6
3 31.6 4 15 37.1 5
4 31.5 4 16 34.9 7
5 35.0 5 17 33.5 4
6 34.1 6 18 31.7 3
7 32.6 4 19 34 8
8 33.8 3 20 35.1 4
9 34.8 7 21 33.7 2
10 33.6 8 22 32.8 1
11 31.9 3 23 33.5 3
12 38.6 9 24 34.2 2
(สภาวิศวกร, 2555)
152 การควบคุมคุณภาพ

10. เมื่อใช้ x และ R Chart ในการควบคุมกระบวนการผลิต และพบว่า x Chart มีข้อมูล 9 จุด ที่ต่อเนื่องกัน
อยู่ใต้เส้นกึ่งกลางของแผนภูมิควบคุม แสดงว่ากระบวนการมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
(สภาวิศวกร, 2555)
11. กระบวนการผลิตกุญแจลิ้นชักรถยนต์ประกอบด้วยการปั๊มโครงการของกุญแจ เซาะร่องกุญแจ ทารอย
บาก และชุบดอกกุญแจ ซึ่งขั้นตอนการเซาะและบากร่องกุญแจเป็นขั้นตอนวิกฤตต่อการใช้งานของกุญแจ
ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ ได้จากการวัดขนาดของขั้นตอนการเซาะร่อง เนื่องจากปริมาณการผลิตกุญแจต่อชั่วโมง
สูง ดังนั้นจึงสุ่มตัวอย่างกุญแจ 5 ดอกทุกๆ 20 นาที

กลุ่มที่ (i) ขนาดของร่อง (นิ้ว)


1 0.0061 0.0084 0.0076 0.0044
2 0.0088 0.0083 0.0074 0.0059
3 0.008 0.008 0.0075 0.007
4 0.0067 0.0076 0.0071 0.0088
5 0.0087 0.0084 0.0094 0.0086
6 0.0071 0.0052 0.0088 0.0052
7 0.0078 0.0089 0.0065 0.0068
8 0.0087 0.0094 0.0073 0.0071
9 0.0074 0.0081 0.0083 0.0087
10 0.0081 0.0065 0.0089 0.0097
11 0.0078 0.009 0.0062 0.0084
12 0.0089 0.0098 0.0087 0.009
13 0.0087 0.0075 0.0076 0.0081
14 0.0084 0.0083 0.01 0.0069
15 0.0074 0.0091 0.0078 0.0077
16 0.0069 0.0093 0.006 0.0064
17 0.0077 0.0089 0.0068 0.0094
18 0.0089 0.0081 0.0091 0.0079
19 0.0081 0.009 0.0087 0.008
20 0.0074 0.0092 0.0074 0.0103

จงคานวณค่าเส้นกึ่งกลางและขีดจากัดความควบคุม x และ R พร้อมทั้งสรุป (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)


บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 153

12. ในการผลิตลูกโบว์ลิ่งของโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ผลิตสนใจคุณภาพของลูก โบว์ลิ่งโดยพิจารณาจากน้าหนั ก


บริสุทธิ์ (กรัม) ตารางต่อไปนี้แสดงค่าวัดที่ได้จากการจดบันทึก 20 ครั้ง ครั้งละ 5 ลูก (อ่านค่าตามแนวตั้งจาก
ซ้ายไปขวา) บันทึกเฉพาะค่าของน้าหนักที่เบี่ยงเบนไปจากค่าเป้าหมายนั้น

ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
2 1 3 0 3 3 1 1 2 2
1 0 0 0 2 0 1 0 0 1
0 -2 -1 -2 1 0 0 0 0 0
-1 -3 -2 -2 0 0 0 0 -1 -1
-2 -3 -3 -3 -1 -1 -1 -1 -1 -3
x 0.0 -1.4 -0.6 -1.4 1.0 0.4 0.2 0.0 0.0 -0.2
R 4 4 6 3 4 4 2 2 3 5
ครั้งที่ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
1 3 2 2 2 1 2 5 1 4
0 1 2 1 -1 1 1 2 1 1
0 1 1 0 -2 0 -1 2 -1 0
-1 1 1 -1 -2 -1 -1 1 -1 0
-1 -1 1 -2 -3 -2 -3 -1 -2 0
x -0.2 1.0 1.4 0.0 -1.2 -0.2 -0.4 1.8 -0.4 1.0
R 2 4 1 4 5 3 5 6 3 4

จงสร้างแผนภูมิควบคุมให้กับกระบวนการผลิตลูกโบว์ลิ่ง (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)

13. แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัยเกี่ยวกับปริมาณกรดในหน่วยมิลลิลิตรเป็นดังตาราง
กลุ่มตัวอย่างที่ 1 2 3 4
1 0.85 0.65 0.65 0.70
2 0.75 0.85 0.75 0.85
3 0.80 0.80 0.75 0.70
4 0.65 0.75 0.60 0.70
5 0.75 0.70 0.65 0.80
6 0.60 0.75 0.75 0.70
7 0.80 0.75 0.65 0.75
8 0.70 0.60 0.75 0.75
9 0.75 0.85 0.85 0.80
10 0.60 0.70 0.60 0.80
154 การควบคุมคุณภาพ

กลุ่มตัวอย่างที่ 1 2 3 4
11 0.80 0.75 0.90 0.50
12 0.75 0.85 0.85 0.65
13 0.70 0.70 0.75 0.70
14 0.65 0.70 0.85 0.75
15 0.85 0.75 0.80 0.80
16 0.80 0.75 0.75 0.80
17 0.70 0.85 0.75 0.70
18 0.70 0.60 0.70 0.70
19 0.65 0.65 0.85 0.65
20 0.65 0.60 0.60 0.65
21 0.55 0.50 0.65 0.80
22 0.75 0.65 0.65 0.80
23 0.80 0.65 0.75 0.65
24 0.65 0.60 0.65 0.60
25 0.65 0.70 0.70 0.60

13.1 จงสร้างแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัยจากกลุ่มย่อยที่ 1-21 ทาการปรับปรุง ถ้ามีจุดตกข้าง


นอกพิกัดควบคุม และคานวณค่าเฉลี่ยและพิสัยของกลุ่มย่อยที่ 22-25 แล้วพล็อตลงในแผนภูมิควบคุมที่
ปรับปรุง แล้ววิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพิจารณาว่ากระบวนการผลิตอยู่สภาวะเสถียรหรือไม่ เพราะเหตุใด
13.2 จงสร้างแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยพิสัยจากกลุ่มย่อยที่ 1-25 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพิจารณาว่า
กระบวนการผลิตอยู่ในสภาวะเสถียรหรือไม่ เพราะเหตุใด
(Besterfield D.H. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 158)

14. ในกระบวนการผลิตก้านวาล์ว สามารถวัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ดังนี้ (หน่วยเป็นมิลลิเมตร)

ค่าที่วัดได้
กลุ่มตัวอย่างที่ วันที่
X1 X2 X3 X4
1 1/8 6.35 6.40 6.32 6.33
2 6.46 6.37 6.36 6.41
3 6.34 6.40 6.34 6.36
4 6.69 6.64 6.68 6.59
5 5/8 6.38 6.34 6.44 6.40
6 6.42 6.41 6.43 6.34
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 155

ค่าที่วัดได้
กลุ่มตัวอย่างที่ วันที่
X1 X2 X3 X4
7 6.44 6.41 6.41 6.46
8 6.33 6.41 6.38 6.36
9 6.48 6.52 6.59 6.51
10 10/8 6.47 6.43 6.36 6.42
11 6.38 6.41 6.39 6.38
12 6.37 6.37 6.41 6.37
13 6.40 6.38 6.47 6.35
14 6.38 6.39 6.45 6.42
15 11/8 6.50 6.42 6.43 6.45
16 6.33 6.35 6.29 6.39
17 6.41 6.40 6.29 6.34
18 6.38 6.44 6.28 6.58
19 15/8 6.33 6.32 6.37 6.38
20 6.56 6.55 6.45 6.48
21 6.38 6.40 6.45 6.37
22 22/8 6.39 6.42 6.35 6.40
23 6.42 6.39 6.39 6.36
24 6.43 6.36 6.35 6.38
25 6.39 6.38 6.43 6.44

จงสร้ างแผนภูมิควบคุ มค่าเฉลี่ ย และค่าส่ ว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้ ว วิเคราะห์ ข้อมูล เพื่อพิจารณาว่า


กระบวนการผลิตอยู่ในสภาวะเสถียรหรือไม่ เพราะเหตุใด
15. ข้อมูลต่อไปนี้แทนค่าสังเกตของน้าหนักของอณูแต่ละตัว ที่สุ่มมาวัดทุกชั่วโมงจากกระบวนการทางเคมี
ค่าสังเกตที่ น้าหนัก (x) ค่าสังเกตที่ น้าหนัก (x)
1 1,045 11 1,139
2 1,055 12 1,169
3 1,037 13 1,151
4 1,064 14 1,128
5 1,095 15 1,238
6 1,008 16 1,125
7 1,050 17 1,163
8 1,087 18 1,188
9 1,125 19 1,146
10 1,146 20 1,167
156 การควบคุมคุณภาพ

กาหนดให้ค่าเฉลี่ยของน้าหนักของอณูที่ควรจะเป็นคือ 1,050 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการ


(σ) มีค่าปริมาณ 25 จงสร้างแผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสมสาหรับค่าเฉลี่ ยของกระบวนการนี้เพื่อ
ตรวจสอบความไวของข้อมูลว่ามีการเลื่อนจากค่าเฉลี่ยควรจะเป็นที่ระดับ 1σ หรือไม่ และถ้ามีเกิดขึ้นที่จุดใด
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
16. แผนภูมิควบคุม x สร้างจากการสุ่มตัวอย่าง n = 5 ต้องการหาค่าความน่าจะเป็นที่แผนภูมิควบคุมไม่
สามารถจับการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยกระบวนการได้ ถ้าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม 2σ
17. ในการหากระบวนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุมหรือไม่ จึงสุ่มกลุ่มย่อยมา 30 กลุ่ม ที่มีกลุ่มตัวอย่าง
เท่ากับ 4 ลักษณะคุณภาพที่สนใจคือ ความกว้างของชิ้นงานพบว่า X = 2.326, R = 0.005
17.1 จงประมาณค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความกว้างของชิ้นงาน
17.2 ถ้ากระบวนการอยู่ภายใต้การควบคุม จงหาขีดจากัดควบคุมบนและล่างสาหรับค่าเฉลี่ยและพิสัยของ
กลุ่มย่อย
18. จากการเก็บข้อมูลของเหลวทุกๆ ครึ่งชั่วโมงในระหว่าง 3 วัน พบว่ามีข้อมูลดังนี้
39 42 38 37 41 40 38 36
39 34 38 36 32 37 35 34
35 34 31 33 35 32 36 31
40 36 35 38 34 35 37 36
33 35 32 32 38 34 37 35
29 33 32 31 30 32 32 29
40 36 35 38 34 35 37 36
33 35 32 32 38 34 37 35

18.1 จงหาแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่และพิสัยเคลื่อนที่สาหรับ 3 ช่วง


18.2 จงหาแผนภูมิควบคุม X และ MR
19. แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัยที่มี n = 4 ใช้เพื่อเตือนกระบวนการซึ่งพบว่าลักษณะคุณภาพมีการแจก
แจงแบบปกติ ค่าพารามิเตอร์ของแผนภูมิควบคุมเป็นดังนี้

แผนภูมิคา่ เฉลีย่ แผนภูมิพสิ ัย


UCL = 815 UCL = 46.98
CL = 800 CL = 20.59
LCL = 785 LCL = 0

แผนภูมิทั้งสองอยู่ภายใต้การควบคุม จงหาความน่าจะเป็นที่การเปลี่ยนแปลงในค่าเฉลี่ยของกระบวนการ
ไปเป็น 790 จะถูกตรวจจับในตัวอย่างแรก ที่มีการเปลี่ยนแปลง
(Montgomery D.C. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 165)
บทที่ 3 แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด 157

20. กาหนดให้ข้อมูลเป็นดังนี้ เมื่อ n = 5


̅ = 0.4451 ̅ = 0.4382 ̅ = 0.4312 = 0.0255 = 0.0121 =0
20.1 ถ้าค่าเฉลี่ยกระบวนการเปลี่ยนแปลงเป็น 0.4315 จงหาสัดส่วนของเสีย โดยที่ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานยังคงเดิม
20.2 จงหาความน่าจะเป็นที่จะสามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงบนแผนภูมิควบคุมในตัวอย่างแรก
หลังจากการเปลี่ยนแปลงเดิม
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 166)
158 การควบคุมคุณภาพ

เอกสารอ้างอิง

พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2541). การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.


ศรีไร จารุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศุภชัย นาทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สภาวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
Banks J. (1989). Principles of Quality Control. New York: John Wiley & Sons.
Besterfield D. H. (2004). Quality Control (7th ed). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Montgomery D.C. (2009). Introduction to Statistical Quality Control (6th ed). New York:
John Wiley & Sons.
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4
แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ
หัวข้อเนื้อหา
4.1 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (p)
4.2 เส้นโค้ง OC สำหรับแผนภูมิควบคุม p
4.3 แบบฟอร์มทั่วไปที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนกำรสร้ำงแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของ
เสีย
4.4 แผนภูมิควบคุมจำนวนของเสีย (np)
4.5 แผนภูมิควบคุมคุณภำพข้อบกพร่องหรือตำหนิ
4.5.1 ขอบเขตควบคุมคุณภำพสำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภำพ c
4.5.2 ขอบเขตควบคุมคุณภำพสำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภำพ u
4.6 สรุป
แบบฝึกหัดท้ำยบท
เอกสำรอ้ำงอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีควำมรู้และทักษะดังนี้
1. อธิบำยหลักกำรแผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ
2. สำมำรถคำนวณขีดจำกัด และสร้ำงแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย
3. สำมำรถคำนวณขีดจำกัด และสร้ำงแผนภูมิควบคุมจำนวนของเสีย
4. สำมำรถคำนวณขีดจำกัด และสร้ำงแผนภูมิควบคุมข้อบกพร่องหรือตำหนิ
5. สำมำรถคำนวณขีดจำกัด และสร้ำงแผนภูมิควบคุมข้อบกพร่องหรือตำหนิต่อหน่วย
วิธีสอนและกิจกรรม
1. ทบทวนเนื้อหำในบทที่ 3 และเฉลยกำรบ้ำนในบทที่ 3
2. นำเข้ำสู่บทเรียนโดยกำรบรรยำย ประกอบรูปภำพใน Power point
3. อธิบำยเนื้อหำทีละหัวข้อแล้วเปิดโอกำสให้ผู้เรียนถำมในแต่ละหัวข้อก่อนข้ำมหัวข้อนั้น
4. แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดระหว่ำงเรียน และสอบถำมผู้เรียนถ้ำผู้เรียนมีคำถำมสงสัย
5. มอบหมำยให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 4 เป็นกำรบ้ำน
6. เสริมสร้ำงคุณธรรม และจริยธรรมให้กับนักศึกษำก่อนเลิกเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสำรประกอบกำรสอนวิชำกำรควบคุมคุณภำพ
2. กระดำนไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ำยบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ำยบท
160 กำรควบคุมคุณภำพ

การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจำกพฤติกรรมและบรรยำกำศระหว่ำงเรียน
2. ถำมตอบระหว่ำงเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมำยให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จำกกำรทำกิจกรรมกลุ่มเสร็จตำมเวลำ
2. ทำแบบฝึกหัดมีควำมถูกต้องไม่น้อยกว่ำ 80%
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 161

บทที่ 4
แผนภูมคิ วบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ
แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ หรือเรียกอีกอย่ำงว่ำแผนภูมิควบคุมคุณลักษณะ โดยคำว่ำ
ลักษณะจะได้ยินบ่อยๆ ในคำว่ำของดี (Good) แทนสินค้ำที่มีคุณภำพเป็นไปตำมข้อกำหนด และใช้คำว่ำของ
เสีย (Defective) แทนสินค้ำที่มีคุณภำพไม่เป็นไปตำมข้อกำหนด เช่น กำรตรวจสอบควำมสว่ำงของหลอดไฟ
กำรตรวจสอบรอยไหม้ของกำรเชื่อมแผงวงจรในฮำร์ดดิสก์ กำรควบคุมรอยตะเข็บบนเสื้อผ้ำสำเร็จรูป หรือกำร
ควบคุมกำรผลิตกระป๋องไม่ให้รอยรั่วตำมแนวเชื่อมต่อ เป็นต้น แต่ในปัจจุบันคำว่ำ ใช้ได้ (Conforming) และ
ใช้ไม่ได้ (Nonconforming) จะนิยมใช้และเข้ำใจได้ง่ำยกว่ำ ซึ่ง สิ่งที่แตกต่ำงระหว่ำงแผนภูมิควบคุมสำหรับ
ข้อมูลแบบหน่วยนับกับแผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด ได้แก่ คุณสมบัติที่ไม่สำมำรถวัดเป็นตัวเลข
ได้สะดวก สำรสนเทศจำกแผนภูมิควบคุมข้อมูลแบบหน่วยนับมีน้อยกว่ำแผนภูมิ ควบคุมสำหรับข้อมูลแบบ
หน่วยวัด และจำนวนตัวอย่ำงของแผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับจะใช้มำกกว่ำแผนภูมิควบคุม
สำหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด
ในบำงครั้งลักษณะของกระบวนกำรสำมำรถวัดได้โดยข้อมูลคุณลักษณะ (Attribute Data) โดยผังควบคุม
สำหรั บ ข้อมูล คุณลั กษณะสำมมำรถนั บได้ในประเภทที่แตกต่ำงกัน แต่ไม่ส ำมำรถวัดข้อมู ลที่เป็นมำตรวัด
แบบต่อเนื่องได้ ยกตัวอย่ำงเช่น องค์กรสนใจที่จะติดตำมลูกค้ำที่โทรมำใช้บริกำรศูนย์ให้บริกำรลูกค้ำแล้วไม่พึง
พอใจในกำรใช้บริกำร (ระยะเวลำกำรรอคอยวัดได้โดยข้อมูลควำมผันแปรที่ต่อเนื่อง) ดังนั้นลูกค้ำแต่ละคน
จะต้องถูกนับทั้งควำมพอใจและควำมไม่พอใจก่อนที่ จะนำผังกำรควบคุมเชิงสถิติมำใช้ เหตุผลหลักที่บริษัทจะ
นำผังคุณลักษณะมำใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล เนื่องจำกข้อมูลของคำตอบมี 2 ตัวแปร (Bivariate) โดยทุก
คำตอบของลูกค้ำจะทำกำรบันทึกด้วยคำว่ำใช้หรือไม่ เช่น ลูกค้ำมีควำมพึงพอใจหรือไม่ ระยะเวลำในกำร
ให้บริกำรนำนหรือไม่ เป็นต้น ข้อเสียเปรียบของข้อมูลคุณลักษณะ คือ ข้อมูลคุณลักษณะจะนำเสนอด้วยข้อมูล
ที่เป็นรำยละเอียดเฉพำะ ยกตัวอย่ำงเช่น กำรวัดควำมยำว (เป็นฟุตหรือเป็นเมตร) กำรวัดควำมเร็ว (ไมล์ต่อ
ชั่วโมงหรือกิโลเมตรต่อชั่วโมง) เป็นต้น
ดังนั้นแผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ (Control Charts for Attributes) จำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มแรกเป็นแผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุมจำนวนของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนกำรผลิต แผนภูมิควบคุม p ซึ่งแผนภูมิ
ชนิ ด นี้ จ ะเกี่ ย วข้ อ งกั บ สั ด ส่ ว นของเสี ย หรื อ สิ น ค้ ำ ที่ ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้ ที่ ก ระบวนกำรผลิ ต ผลิ ต ออกมำ ( Fraction
Nonconforming) แผนภูมิควบคุม np ซึ่งใช้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ กับมำตรฐำนด้วยกำรนับจำนวนสินค้ำที่เสีย
(Defective Product) ส่วนกลุ่มที่ 2 คือ แผนภูมิควบคุม c ใช้สำหรับควบคุมรอยตำหนิในสินค้ำ เช่น รอยตำหนิใน
ม้วนผ้ำ รอยตำหนิในแผ่นกระจก เป็นต้น และแผนภูมิควบคุม u ซึ่งได้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์กับมำตรฐำนด้วยกำร
นับผลิตภัณฑ์ว่ำเป็นสินค้ำที่มีข้อบกพร่อง(ตำหนิ) (Defect Product) หรือไม่มีข้อบกพร่อง (No Defect)

4.1 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (Control Charts for Fraction Nonconforming: p Chart)


ศุภชัย นำทะพันธ์ (2551) แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (p chart) จะใช้ควบคุมกระบวนกำรผลิตหรือ
ต้องกำรวิเครำะห์ลักษณะคุณภำพของผลิตภัณฑ์ในเชิงคุณภำพ ถ้ำผลิตภัณฑ์ใดเมื่อผลิตแล้วมีคุณภำพไม่ตรง
กับมำตรฐำนที่โรงงำนกำหนดจะจำแนกผลิตภัณฑ์นั้นเป็นของเสีย (Defective หรือ Nonconforming) ใน
162 กำรควบคุมคุณภำพ

กำรสร้ำงแผนภูมิจะเริ่มจำกกำรสุ่มกลุ่มตัวอย่ำง (n) ประมำณ 20 ถึง 25 กลุ่มตัวอย่ำง ทั้งที่ขนำดตัวอย่ำงไม่


คงที่และคงที่ โดยกำหนดให้
p = np
n

ตัวอย่ำงเช่น ในกำรตรวจสอบคุณภำพของแตรรถยนต์ที่ผลิตได้ พบว่ำมีแตรรถยนต์ที่ใช้งำนไม่ได้ 5 ชิ้น


จำกจำนวนตัวอย่ำง 100 ชิ้น คิดเป็นสัดส่วนของเสีย คือ

p = np = 5
= 0.05
n 100

ค่ำสัดส่วนของเสียโดยทั่วไปจะมีค่ำน้อย โดยทั่วไปจะต่ำกว่ำ 0.15 หรือ 15 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจำกค่ำของ p


มีค่ำน้ อย ดังนั้ น จ ำนวนตัว อย่ ำงในแต่ล ะกลุ่ มตัว อย่ำ งส่ ว นใหญ่จะมีค่ำ มำก จึง สำมำรถสร้ำงแผนภูมิได้ ดี
ซึ่งสัดส่วนของเสีย p1 , p2 , p3, ..., pn นั้นสำมำรถคำนวณขีดจำกัดควบคุมแล้วแต่กรณี พร้อมทั้งพล็อตตัว
สถิติ pi ลงในแผนภูมิ ถ้ำไม่มีจุดใดออกนอกขีดจำกัดควบคุมและจุดทั้งหมดไม่เกิดรูปแบบ จึงจะสรุปว่ำ
กระบวนกำรผลิตอยู่ภำยใต้สภำวะกำรควบคุมที่ระดับ p หรือ p แล้วแต่กรณี
แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียใช้หลักทำงสถิติเพื่อพัฒนำขีดจำกัดควบคุมภำยใต้พื้นฐำนของกำรแจกแจง
ทวินำม (Binomial Distribution) ดังแสดงในสมกำรที่ 4.1

 n  x n-x
p(x) = xp q : x = 0, 1, 2, 3, …, n
 

= 0 : x มีค่ำอื่นๆ …(4.1)

ค่ำเฉลี่ยควำมแปรปรวนของกำรแจกแจงทวินำม
ค่ำเฉลี่ย (Mean) คือ E(X) = np
ควำมแปรปรวน (Variance) คือ V(X) = npq

แผนภูมิ p เป็นแผนภูมิที่ใช้ได้อย่ำงกว้ำงขวำง อำจใช้ในกำรควบคุมลักษณะคุณภำพสินค้ำเพียงลักษณะ


เดียวกับแผนภูมิ X และ R หรือใช้ควบคุมลักษณะคุณภำพกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือควบคุมลักษณะคุณภำพ
หลำยๆ อย่ำงของสินค้ำพร้อมกันได้ แผนภูมิ p สำมำรถใช้เพื่อควบคุมเครื่องจักร หน่วยกำรผลิต หรือทั้ง
โรงงำน นอกจำกนี้แผนภูมิควบคุม p ยังสมำรถใช้เพื่อเปรียบเทียบผลกำรทำงำนของพนักงำนหรือกลุ่ม
พนักงำนเพื่อประโยชน์ในกำรประเมินควำมสำมำรถในกำรผลิต
ข้อมูลสำหรับกำรสร้ำงแผนภูมิ p เพื่อควบคุมเครื่องจักร หน่วยงำนผลิต กะกำรผลิต สำมำรถเก็บรวบรวม
โดยตรวจสอบคุณภำพสินค้ำที่ผลิตโดยเครื่องจักร หน่วยผลิต กะกำรผลิต หรือโรงงำนนั้นๆ ในกรณีนี้เรำนิยม
กำหนดให้จำนวนตัวอย่ำงในแต่ละกลุ่มตัวอย่ำงมีจำนวนเท่ำๆ กันทุกกลุ่มตัวอย่ำง นอกจำกนี้ข้อมูลสำหรับ
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 163

แผนภูมิ p อำจเก็บรวบรวมจำกแผนภูมิ p อื่นๆ หรือจำกแผนภูมิ X และ R ซึ่งในกรณีนี้จำนวนตัวอย่ำงของ


แต่ละกลุ่มตัวอย่ำงอำจไม่เท่ำกัน ซึ่งกำรสร้ำงแผนภูมิ p มีขั้นตอนดังนี้
1. กำหนดวัตถุประสงค์ คือ กำรกำหนดกำรใช้เพื่อควบคุมสัดส่วนของเสีย เช่น ลักษณะคุ ณภำพอย่ำงใด
อย่ำงหนึ่งของสินค้ำ ชิ้นส่วนสินค้ำ หรือจำนวนของสินค้ำ เป็นต้น
2. กำหนดตัวอย่ำง จำนวนตัวอย่ำงของแต่ละกลุ่มตัวอย่ำง ขึ้นอยู่กับค่ำของสัดส่วนของเสียในกระบวนกำร
ผลิต เช่น ถ้ำสัดส่วนของเสียในกระบวนกำรผลิตสินค้ำเท่ำกับ 0.002 และจำนวนตัวอย่ำงเป็น 1,000 หน่วย
ดังนั้นจำนวนเฉลี่ยที่พบของเสียในตัวอย่ำงจะมี 2 หน่วยเท่ำนั้น ซึ่งจะทำให้แผนภูมิควบคุมมีช่วงขีดจำกัด
ควบคุมแคบ แผนภูมิควบคุมจะใช้งำนได้ไม่ดี แต่ถ้ำสัดส่วนของเสียในกระบวนกำรผลิตมีค่ำ 0.10 และจำนวน
ตัวอย่ำงเป็น 100 หน่วย ดังนั้นจำนวนเฉลี่ยที่จะพบของเสียในตัวอย่ำงเท่ำกับ 10 ซึ่งจะได้แผนภูมิควบคุมที่ใช้
งำนได้ดี ดังนั้นกำรกำหนดจำนวนตัวอย่ำงจึงต้องรู้สัดส่วนของเสียโดยประมำณของกระบวนกำรเสียก่อน เพื่อ
ทำให้กำรสร้ำงแผนภูมิ p ได้แผนภูมิที่ใช้งำนได้ดี กำรประมำณสัดส่วนของเสียอำจทำได้โดยสุ่มเก็บตัวอย่ำง
เริ่มต้นแล้วทดลองสร้ำงแผนภูมิ p จนได้แผนภูมิที่ใช้งำนได้ดี จึงทำกำรเก็บข้อมูลเพื่อสร้ำงแผนภูมิต่อไป
3. กำรเก็บข้อมูล เพื่อสร้ำงแผนภูมิ p ประมำณ 20 ถึง 25 กลุ่มตัวอย่ำง ควรครอบคลุมช่วงเวลำกำรผลิต
ไม่ต่ำกว่ำ 1 เดือน ในทำงปฏิบัติมักเก็บข้อมูลวันละ 1 กลุ่มตัวอย่ำง และเก็บข้อมูลติดต่อกันทุกวัน
4. คำนวณขีดจำกัดควบคุมของแผนภูมิ p ดังแสดงในสมกำรที่ 4.2 คือ

ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : p + 3 p(1-p)


n
เส้นกึ่งกลำง (CL) : p …(4.2)

ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : p - 3 p(1-p)


n

เมื่อ p เป็นค่ำเฉลี่ยของสัดส่วนของเสียในแต่ละกลุ่มตัวอย่ำง
n เป็นจำนวนตัวอย่ำงในแต่ละกลุ่มตัวอย่ำง

p=
 np
n

พบว่ำค่ำของขีดจำกัดควบคุมล่ำงที่ได้จำกกำรคำนวณอำจจะมีค่ำติดลบ หรือน้อยกว่ำศูนย์แต่ในควำม
เป็นจริงค่ำของสัดส่วนของเสียจะน้อยกว่ำศูนย์ไม่ได้ ดังนั้นถ้ำค่ำของขีดจำกัดควบคุมล่ำงที่คำนวณได้มีค่ำน้อย
กว่ำศูนย์จะต้องปรับค่ำให้เป็นศูนย์ ซึ่งกรณีขีดจำกัดควบคุมล่ำงมีค่ำเป็นบวกอำจกำหนดให้เป็นศูนย์ได้ ทั้งนี้
เพรำะถ้ำหำกแผนภูมิควบคุ มอ่ำนแผนภูมิโ ดยคนควบคุมเครื่องจักร ซึ่งไม่เข้ำใจลึ กซึ้งอำจเป็นกำรยำกต่อ
ผู้บริหำรที่จะอธิบำยว่ำทำไมจุดสัดส่วนของเสียที่ตกอยู่ต่ำกว่ำขีดจำกัดควบคุมล่ำง จึงเป็นจุดที่แสดงถึ งสภำพที่
ไม่อยู่ภำยใต้กำรควบคุมหรืออีกนัยหนึ่งก็คือทำไมเมื่อมีของเสียน้อยกว่ำปกติ จึงได้ บอกว่ำกระบวนกำรผลิตไม่
164 กำรควบคุมคุณภำพ

อยู่ภำยใต้กำรควบคุม เพื่อหลีกเลี่ยงกำรอธิบำยในสิ่งที่ยำกแก่กำรเข้ำใจจึงนิยมกำหนดให้เส้นขีดจำกัดควบคุม
ล่ำงของแผนภูมิควบคุม p เป็นศูนย์แต่สำหรับผู้บริหำรคุณภำพ กำรคงเส้นขีดจำกัดควบคุมล่ำงที่มีค่ำมำกกว่ำ
ศูนย์ไว้มีประโยชน์ในด้ำนกำรวิเครำะห์ เช่น ถ้ำเมื่อใดที่มีจุดตกต่ำกว่ำขีดจำกัดควบคุมล่ำง แสดงว่ำวันนั้นมี
ของเสียที่ต่ำกว่ำปกติที่เคยผลิต ผู้บริหำรควรวิเครำะห์หำสำเหตุที่ทำให้เกิดสภำพเช่นนั้น
5. เขียนจุดลงในแผนภูมิควบคุม นำค่ำ p ที่ได้ของแต่ละกลุ่มตัวอย่ำงเขียนลงในแผนภูมิแล้วทำกำร
วิเครำะห์แผนภูมิควบคุม ซึ่งโดยทั่วไปจะสนใจในจุดที่ตกออกนอกขีดจำกัดควบคุมบน หรือจุดที่ตกออกนอก
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (จุดที่อยู่บนเส้นขีดจำกัดหรือแนวเดียวกับเส้นขีดจำกัดให้ถือว่ำเป็นที่ตกออกนอกพิกัด
ควบคุม)
6. กำรปรับปรุงแผนภูมิควบคุม กำรปรับปรุงแผนภูมิควบคุมทำโดยตัดจุดที่ตกนอกขีดจำกัดควบคุมบน
หรือจุดที่ตกออกนอกขีดจำกัดควบคุมล่ำง แล้วทำกำรคำนวณขีดจำกัดควบคุมใหม่

P0 =  np - npd
 n - nd
เมื่อ p0 เป็นค่ำเฉลี่ยของ p หลังกำรปรับปรุง
 np เป็นผลรวมของจำนวนของเสียก่อนปรับปรุง
n เป็นผลรวมของจำนวนตัวอย่ำงทั้งหมดก่อนกำรปรับปรุง
 np d เป็นผลรวมของจำนวนของเสียที่ถูกตัดออก
 nd เป็นผลรวมของจำนวนตัวอย่ำงที่ถูกตัดออก

p0 (1-p0 )
ดังนั้น ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : p0 + 3
n

เส้นกึ่งกลำง (CL) : p0 …(4.3)


p0 (1-p0 )
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : p0 - 3
n

แผนภูมิควบคุมที่ปรับปรุงแล้วจะใช้ควบคุมกระบวนกำรผลิตในอนำคต และใช้เพื่อเป็นพื้นฐำนสำหรับ
กำรปรับปรุงคุณภำพสินค้ำ โดยกำรลดจำนวนของเสียลง
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 165

ตัวอย่างที่ 4.1
กระบวนกำรผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ พบสินค้ำมีของเสียในแต่ละลำดับของกระบวนกำรผลิตโดย
สุ่มตัวอย่ำงมำ 200 ชิ้น จำกแต่ละกระบวนกำรผลิต ดังแสดงในตำรำงที่ 4.1
ตารางที่ 4.1 กระบวนกำรผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ (เครื่อง)

ลำดับที่กระบวนกำรผลิต 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
จำนวนตัวอย่ำง 200 200 200 200 200 200 200 200 200 200 200 200
จำนวนของเสีย 23 15 17 15 41 0 25 31 29 0 8 16

จงเขียนแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียพร้อมทั้งพิจำรณำว่ำกระบวนกำรผลิตอยู่ภำยใต้กำรควบคุมหรือไม่
ถ้ำกระบวนกำรอยู่นอกกำรควบคุม และสำมำรถตรวจสอบหำสำเหตุได้ให้ปรับปรุงพิกัดควบคุมใหม่

วิธีทำ
ข้อมูลเบื้องต้นในตำรำงสำมำรถตรวจสอบเพื่อพิจำรณำว่ำกระบวนกำรผลิ ตอยู่ภำยใต้ส ภำวะควบคุม
หรือไม่ ดังต่อไปนี้

สัดส่วนของเสีย
ลำดับที่กระบวนกำรผลิต จำนวนตัวอย่ำง จำนวนของเสีย
(p)
1 200 23 0.115
2 200 15 0.075
3 200 17 0.085
4 200 15 0.075
5 200 41 0.205
6 200 0 0
7 200 25 0.125
8 200 31 0.155
9 200 29 0.145
10 200 0 0
11 200 8 0.04
12 200 16 0.08

p=
 np =  23  15  17  ...  16 = 0.092 เมื่อ n = 200 สำมำรถคำนวณขีดจำกัดควบคุม
n (200  200  ...  200)
ของแผนภูมิ p ดังต่อไปนี้
166 กำรควบคุมคุณภำพ

p (1-p)
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = p+3
n

0.092(1  0.092)
= 0.092  3
200

= 0.153
เส้นกึ่งกลำง (CL) = p = 0.092

p(1- p)
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = p-3
n

0.092(1  0.092)
= 0.092  3
200

= 0.031
แผนภูมิควบคุม p

จุดผิดปกติ จุดผิดปกติ
สัดส่วนของเสีย

จุดผิดปกติ
จุดผิดปกติ

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.1 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียของกระบวนกำรผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์


บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 167

จำกแผนภูมิควบคุม p พบว่ำมี 4 จุดคือ ตัวอย่ำงที่ 5 ตัวอย่ำงที่ 6 ตัวอย่ำงที่ 8 และ ตัวอย่ำงที่ 10 พล็อต


ออกนอกขีดจำกัดควบคุมบนและขีดจำกัดควบคุมล่ำง สรุปได้ว่ำกระบวนกำรผลิตไม่ได้อยู่ในสภำวะกำรควบคุม
เมื่อทำกำรวิเครำะห์ควำมแปรผันที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชำติ (Assignable Cause) พบว่ำวัตถุดิบที่ใช้
ผลิตหลอด LED มีกำรทดแทนเปลี่ยนเจ้ำผู้จัดส่งใหม่ (Supplier) ซึ่งมีคุณภำพด้อยกว่ำเจ้ำเดิมส่งผลให้วัตถุดิบ
ในช่วงเวลำนั้นหมดชั่วครำว (จุดที่ 5, 8) ซึ่งสมรรถนะในกำรผลิตเปลี่ยนแปลง และจ้ำงพนักงำนชั่วครำวที่มี
ประสบกำรณ์น้อยลงไปคุมเครื่องจักรแทนพนักงำนเดิมที่ลำพักร้อน (จุดที่ 6, 10) ซึ่งส่งผลให้สัดส่วนของเสีย
เกิดมำกขึ้นจำกเหตุผลดังกล่ำว
เนื่องจำกทรำบสำเหตุของควำมแปรผัน กำรปรับปรุงแผนภูมิควบคุมสำมำรถกระทำได้ด้วยกำรตัดจุดที่
5, 6, 8 และ 10 ซึ่งตกนอกขีดจำกัดควบคุมทิ้ง จึงคำนวณขีดจำกัดควบคุมใหม่ดังนี้

P0 =   d
np - np
 n - n d

220- 41 - 0 - 31 - 0
P0 =
2400 - 200 - 200 - 200 - 200

P0 = 0.092

แผนภูมิควบคุม p ปรับปรุง

p0 (1-p0 )
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = p0 + 3
n

0.092(1-0.092)
= 0.092+ 3
200

= 0.153
เส้นกึ่งกลำง (CL) = p0
= 0.092
p0 (1- p0 )
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = p0 - 3
n
0.092(1  0.092)
= 0.092  3
200

= 0.031
168 กำรควบคุมคุณภำพ

แผนภูมิควบคุม p ปรับปรุงใหม่

สัดส่วนของเสีย

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.2 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียของกระบวนกำรผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ปรับปรุงใหม่

เนื่องจำกค่ำเฉลี่ยของแผนภูมิปรับปรุงใหม่มีค่ำเท่ำเดิม ส่งผลให้ขีดจำกัดควบคุมบนและขีดจำกัดควบคุม
ล่ำงจึงมีค่ำเท่ำเดิม ในกรณีที่จำนวนตัวอย่ำงไม่เท่ำกันหรือมีค่ำไม่คงที่ เช่น กรณีที่กลุ่มตัวอย่ำงเป็นจำนวน
ทั้งหมดที่ได้ในแต่ละวัน และจำนวนที่ผลิตได้ในแต่ละวันไม่เ ท่ำกัน ส่งผลให้จำนวนของแต่ละกลุ่มตัวอย่ำงที่ได้
นั้นไม่คงที่ ดังนั้นขีดจำกัดควบคุมจะไม่เป็นเส้นตรง และจะต้องคำนวณขีดจำกัดควบคุมบนและล่ำงสำหรับแต่
ละกลุ่มตัวอย่ำง

ตัวอย่างที่ 4.2
กระบวนกำรผลิตขดลวดทองแดงในหม้อแปลงไฟฟ้ำ เดือนเมษำยนจำนวนของเสียและกำรตรวจสอบ
แสดงในตำรำงที่ 4.2 ซึ่งพบว่ำจำนวนกำรผลิตในแต่ละวันนั้นไม่เท่ำกัน จึงทำให้จำนวนตัวอย่ำงของแต่ละกลุ่ม
ตัวอย่ำงไม่คงที่

ตารางที่ 4.2 ข้อมูลผลกำรตรวจสอบจำนวนขดลวดทองแดงที่ผลิต

กลุ่มตัวอย่ำง จำนวนตัวอย่ำง จำนวนของเสีย (np)


1 เม.ย. 2,385 47
2 เม.ย. 1,451 18
3 เม.ย. 2,450 42
4 เม.ย. 1,997 39
5 เม.ย. 2,168 52
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 169

ตารางที่ 4.2 ข้อมูลผลกำรตรวจสอบจำนวนขดลวดทองแดงที่ผลิต (ต่อ)

กลุ่มตัวอย่ำง จำนวนตัวอย่ำง จำนวนของเสีย (np)


8 เม.ย. 1,941 47
9 เม.ย. 1,962 34
10 เม.ย. 2,244 29
11 เม.ย. 1,238 39
12 เม.ย. 1,935 74

วิธีทำ

กลุ่มตัวอย่ำง จำนวนตัวอย่ำง จำนวนของเสีย สัดส่วนของเสีย ขีดจำกัดควบคุม ขีดจำกัดควบคุม


(np) (p) บน (UCL) ล่ำง (LCL)
1 เม.ย. 2,385 47 0.0197 0.030 0.012
2 เม.ย. 1,451 18 0.0124 0.033 0.010
3 เม.ย. 2,450 42 0.0171 0.030 0.013
4 เม.ย. 1,997 39 0.0195 0.031 0.012
5 เม.ย. 2,168 52 0.0239 0.031 0.012
8 เม.ย. 1,941 47 0.0242 0.031 0.011
9 เม.ย. 1,962 34 0.0173 0.031 0.012
10 เม.ย. 2,244 29 0.0129 0.030 0.012
11 เม.ย. 1,238 39 0.0315 0.034 0.009
12 เม.ย. 1,935 74 0.0382 0.031 0.011
19,771 421

เส้นกึ่งกลำง (CL) = p =  np = 421 = 0.0213


 n 19, 771
จำกนั้นคำนวณขีดจำกัดควบคุมบนโดยใช้ควำมสัมพันธ์ คือ
p(1- p)
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = p+3
n

0.0213(1 - 0.0213)
= 0.0213  3
n

0.433
= 0.0213 +
n
170 กำรควบคุมคุณภำพ

ขีดจำกัดควบคุมบนของแต่ละกลุ่มตัวอย่ำง สำมำรถคำนวณได้โดยแทนค่ำจำนวนตัวอย่ำงในแต่ละวันลงใน
สมกำร ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) จะได้ขีดจำกัดควบคุมบน เช่น ในวันที่ 5 เมษำยน มีจำนวนตัวอย่ำง
2,168 หน่วย ดังนั้น
p (1-p)
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = p+3
n

0.433
= 0.0213+
2,168

= 0.031
ในขณะเดียวกัน ก็สำมำรถคำนวณขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) ได้โดยแทนค่ำจำนวนตัวอย่ำงในแต่ละวัน
เช่น วันที่ 5 เมษำยน โดยใช้ควำมสัมพันธ์ คือ

p(1-p)
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = p-3
n

0.0213(1-0.0213)
= 0.0213  3
2,168

= 0.012
จุดผิดปกติ
แผนภูมิควบคุม p
สัดส่วนของเสีย

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.3 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียของจำนวนขดลวดทองแดงเมื่อจำนวนตัวอย่ำงไม่คงที่


บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 171

จำกกำรวิเครำะห์ควำมแปรผันจุดตกนอกขีดควบคุม พบว่ำในช่วงวันที่ 12 เมษำยน พนักงำนไม่มีสมำธิใน


กำรทำงำนเนื่องจำกใกล้กับช่วงเทศกำลสงกรำนต์ ดังนั้นกำรปรับปรุงแผนภูมิควบคุมจะตัดจุด ดังกล่ำวในช่วง
วันที่ 12 เมษำยนออก แล้วคำนวณค่ำเฉลี่ยสัดส่วนของเสียใหม่และขีดควบคุมบนและล่ำงดังนี้

P0 =  np - npd
 n - nd
421  74
P0 =
19, 771  1,935

P0 = 0.0195

ดังนั้น
p0 (1-p0 )
ปรับปรุงขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = p0 + 3
n

0.0195(1-0.0195)
= 0.0195+ 3
n

0.415
= 0.0195 +
n

p0 (1-p0 )
ปรับปรุงขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = p0 + 3
n

0.0195(1-0.0195)
= 0.0195  3
n

0.415
= 0.0195 -
n

0.415
สำมำรถคำนวณขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) ปรับปรุง ในวันที่ 5 เมษำยน คือ 0.0195 + =
n
0.415
0.0195 + = 0.028 และขี ด จ ำกั ด ควบคุ ม ล่ ำ ง (LCL) ปรั บ ปรุ ง ในวั น ที่ 5 เมษำยน คื อ
2,168
0.415 0.415
0.0195 - = 0.0195 - = 0.011 ซึ่งสำมำรถแสดงกำรคำนวณกลุม่ ตัวอย่ำง ดังต่อไปนี้
n 2,168
172 กำรควบคุมคุณภำพ

กลุ่มตัวอย่ำง จำนวนตัวอย่ำง จำนวนของเสีย สัดส่วนของเสีย ขีดจำกัดควบคุม ขีดจำกัดควบคุม


(np) (p) บน (UCL) ล่ำง (LCL)
1 เม.ย. 2,385 47 0.0197 0.028 0.011
2 เม.ย. 1,451 18 0.0124 0.030 0.009
3 เม.ย. 2,450 42 0.0171 0.028 0.011
4 เม.ย. 1,997 39 0.0195 0.029 0.010
5 เม.ย. 2,168 52 0.0239 0.028 0.011
8 เม.ย. 1,941 47 0.0242 0.029 0.010
9 เม.ย. 1,962 34 0.0173 0.029 0.010
10 เม.ย. 2,244 29 0.0129 0.028 0.011
11 เม.ย. 1,238 39 0.0315 0.033 0.008

แผนภูมิควบคุม p ปรับปรุง
สัดส่วนของเสีย

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.4 แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียจำนวนขดลวดทองแดงเมื่อจำนวนตัวอย่ำงไม่คงที่ปรับปรุงใหม่

4.2 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนภูมิควบคุม P


พิชิต สุขเจริญพงษ์ (2541) เป็นเส้นโค้งระหว่ำงควำมน่ำจะเป็นในกำรยอมรับว่ำกระบวนกำรผลิตอยู่
ภำยใต้กำรควบคุม เมื่อกระบวนกำรผลิตจริงได้เปลี่ยนไปเส้นโค้ง OC หรือควำมผิดพลำดแบบที่ 2 (ค่ำควำม
น่ำจะเป็ น ที่จุ ดยั งคงอยู่ ภ ำยในขีดจำกัดควบคุมบนและล่ ำง) วัดควำมสำมำรถของแผนภูมิควบคุมในกำร
ตรวจจับกำรเปลี่ยนแปลงไปของกระบวนกำรผลิตจำกค่ำเฉลี่ย p ไปเป็นค่ำ p ใดๆ เมื่อกำหนดให้สัดส่วนของ
เสียเป็น p ดังนี้
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 173

β = P(p  UCLp p )  P(p  LCLp p )

D
เนื่องจำก p=
n
= จำนวนของเสีย/จำนวนตัวอย่ำง

ดังนั้น D = p n
ซึ่งสำมำรถเขียนสมกำรของ β ได้ เป็ น
β = P(D  nUCLp p )  P(D  nLCLp p ) …(4.4)
เนื่องจำก D มีกำรแจกแจงทวินำม ดังนั้นค่ำของ β จึงสำมำรถเปิดจำกตำรำงกำรแจกแจงทวินำมสะสม

ตัวอย่างที่ 4.3
แผนภูมิควบคุม p ที่มีจำนวนตัวอย่ำง n = 30 และขีดจำกัดควบคุม คือ UCLp = 0.551, LCLp = 0.049
สำมำรถคำนวณเส้นโค้ง OC จำกสมกำรที่ 4.4 ดังต่อไปนี้ คือ
วิธีทำ
β = P(D  nUCLp p )  P(D  nLCLp p )
= P  D  30(0.551) P    D  30(0.049) P 
= P  D  16.53 P    D  1.47 P 
เนื่องจาก D ต้ องเป็ นจานวนเต็ม ดังนัน้ β = P  D  16 P    D  1P  จำกนั้นให้แปรค่ำ P ไปโดยเริ่ม
จำกค่ำที่ใกล้ศูนย์ แล้วเพิ่มค่ำขึ้นเรื่อยๆ ได้ผลลัพธ์ดังตำรำงที่ 4.3
ตารางที่ 4.3 แสดงค่ำ β สำหรับเส้นโค้ง OC
P  D  16.53 P  D  1.47  P
β

0.01 1.0000 0.9639 0.0361


0.05 1.0000 0.5570 0.4430
0.10 1.0000 0.1837 0.8163
0.20 1.0000 0.0105 0.9895
0.40 0.9519 0.0000 0.9519
0.50 0.7077 0.0000 0.7077
0.60 0.2855 0.0000 0.2855
0.70 0.0401 0.0000 0.0401
174 กำรควบคุมคุณภำพ

ตัวอย่ำงกำรคำนวณค่ำ β เช่น เมื่อ p = 0.45 จะใช้กำรแจกแจงแบบทวินำม ดังนั้น


 30 
16

P D  16 p = 0.45    i   0.45i  0.5530-i = 0.8644
i0  

สำหรับกรณีที่ p มีค่ำน้อย เช่นเมื่อ p ≤ 0.10 อำจประมำณค่ำควำมน่ำเป็นด้วยกำรแจกแจงปัว ส์ซอง


ตัวอย่ำงเช่น ถ้ำ p = 0.05, λ = 30(0.05) = 1.5 ดังนั้น


P D  1 λ=0.45  = 0.557
ในกรณีที่ p มีค่ำมำก เช่น p = 0.50 ค่ำควำมน่ำจะเป็น β ของสมกำรที่ 3.10 (ในบทที่ 3) อำจประมำณ
ได้ด้วยควำมแจกแจงปกติ คือ
   
 0.551  0.50   0.049  0.50 
  Z        ดังนั้น  1.11 = 0.7077
 0.50  0.55   0.50  0.55 
 30   30 

เส้นโค้ง OC สำหรับตัวอย่ำงที่ 4.3 แสดงในรูปที่ 4.4 เส้นโค้ง OC แสดงถึงควำมไวในกำรตรวจจับกำร


เปลี่ยนแปลงไปของสัดส่วนของเสียจำกกระบวนกำรผลิต ตัวอย่ำงเช่น ถ้ำค่ำของ p เพิ่มขึ้นจำก 0.2 เป็น 0.6
โอกำสที่จะไม่สำมำรถตรวจจับกำรเปลี่ยนแปลงไป ในครั้งแรกของกำรชักตัวอย่ำงจะเท่ำกับ 0.2855 โดยอ่ำนค่ำได้
จำกตำรำงที่ 4.3 หรือรูปที่ 4.5 แต่ถ้ำค่ำ p ลดลงเหลือ 0.10 โอกำสที่จะสำมำรถตรวจจับกำรเปลี่ยนแปลงจะมีค่ำ
เท่ำกับ 1-0.8163 = 0.1837

1.0
0.9
0.8
0.7
0.6
0.5
0.4
0.3
0.2
0.1
0.0 0.10 0.20 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 0.80
P

รูปที่ 4.5 เส้นโค้ง OC สำหรับตัวอย่ำงที่ 4.3


บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 175

4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนการสร้างแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย
ในกำรเก็บรวมรวบข้อมูลนั้น แบบฟอร์มที่ใช้บันทึกข้อมูลสำหรับแผนภู มิควบคุมคุณภำพของสัดส่วนของ
เสียจะประกอบด้วยข้อมูลต่ำงๆ ที่ง่ำยต่อกำรเปรียบเทียบ (อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์, 2535) และสร้ำงแผนภูมิ
ควบคุมด้วยตนเอง ดังแสดงในรูปที่ 4.6
ขั้นตอนในกำรเริ่มสร้ำงแผนภูมิควบคุมคุณภำพ
1. เก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับแต่ละกลุ่มย่อยด้วยกำรตรวจสอบผลิตภัณฑ์และดูจำนวนผลิตภัณฑ์ของเสีย
จำกกำรตรวจสอผลิ ต ภัณฑ์ทั้ งหมดบั น ทึก ข้อมู ล จำนวนผลิ ตภัณ ฑ์เสี ย และจ ำนวนที่ตรวจสอบทั้งหมดใน
ช่วงเวลำหนึ่งลงในแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลแผนภูมิควบคุม พร้อมทั้งหมำยเหตุกำรณ์ตรวจสอบลงในช่องหมำย
เหตุไว้ด้วย
2. คำนวณค่ำสัดส่วนของเสียเฉลี่ย

p=
 np
n

เมื่อ p เป็นค่ำเฉลี่ยของสัดส่วนของเสียในแต่ละกลุ่มตัวอย่ำง
n เป็นจำนวนตัวอย่ำงในแต่ละกลุ่มตัวอย่ำง

3. คำนวณขอบเขตควบคุมคุณภำพจำกกำรทดลองสำหรับแต่ละกลุ่มย่อยบนพื้นฐำนค่ำสังเกตสัดส่วน
ของเสียเฉลี่ย p
4. เลือกใช้สัดส่วนของเสียที่มำตรฐำน (p0 ใหม่) สำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภำพ จะได้จำกกำรทำขอบเขต
ควบคุมคุณภำพจำกกำรทดลองกล่ำว คือ
4.1 ถ้ำทำขอบเขตควบคุมคุณภำพจำกกำรทดลองแล้ว ไม่มีกลุ่มใดตกนอกขอบเขตควบคุมคุณภำพ
ค่ำ p0 จะเท่ำกับค่ำ p ที่หำได้แล้วนำไปใช้หำขอบเขตควบคุมคุณภำพของเดือนถัดไปหรือช่วงเวลำถัดไป
4.2 ถ้ำทำขอบเขตควบคุมคุณภำพจำกกำรทดลอง (Trial Control Limit) แล้วมีกลุ่มใดตกนอกเขต
ควบคุมคุณภำพจะต้องมีกำรปรับค่ำ p ด้วยกำรตัดค่ำของสัดส่วนเสียที่ตกอยู่นอกขอบเขตควบคุมคุณภำพออก
แล้วนำค่ำ p ที่ปรับแล้วมำปรับค่ำใหม่เป็น p0 ใหม่ และต้องไม่ต่ำกว่ำค่ำ p0 เดิม แล้วนำไปใช้หำขอบเขต
ควบคุมคุณภำพในเดือนถัดไปหรือช่วงเวลำถัดไป
5. คำนวณขอบเขตควบคุมคุณภำพใต้พื้นฐำน 3 σ ของค่ำมำตรฐำนสัดส่วนของเสีย p0 ใหม่
6. เขียนค่ำสัดส่วนของเสียที่ได้จำกกำรตรวจสอบแต่ละวันลงในแผนภูมิควบคุมคุณภำพที่สร้ำงขึ้น พร้อม
ทั้งสรุปผล
176 กำรควบคุมคุณภำพ

แผ่นบันทึกข้อมูลสาหรับแผนภูมคิ วบคุมสัดส่วนของเสีย
ผลิตภัณฑ์………………………………………………………………………………หมำยเลข……………………………………………………............
ลักษณะกำรวัด……………………………………………………………เครื่องมือที่ใช้วัด…………………………………………........................
ผู้บันทึกข้อมูล………………………………………………………………………………แผนก……………………………………………………………...
กลุ่ม วัน/เดือน/ปี จำนวน จำนวน ร้อยละของ ขอบเขตควบคุม หมำยเหตุ
ตัวอย่ำง ตัวอย่ำง ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ ขอบเขตบน ขอบเขตล่ำง
เสีย เสีย

รูปที่ 4.6 แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย

4.4 แผนภูมิควบคุมจานวนของเสีย (Control Charts for the Number of Nonconforming: np


Chart)
ศุภชัย นำทะพันธ์ (2551) แผนภูมิควบคุมจำนวนของเสีย คือ แผนภูมิควบคุมที่ได้จำกกำรปรับแก้แผนภูมิ
ควบคุมสัดส่วนของเสียเพียงเล็กน้อยใช้เพื่อควบคุมจำนวนของเสีย โดยใช้กำรบันทึกค่ำของ np แทน p และ
จ ำนวน np ต้ อ งเป็ น จ ำนวนเต็ ม ส ำหรั บ ผู้ ค วบคุ ม เครื่ อ งจั ก รจ ำนวนของเสี ย นั้ น สำมำรถนั บ ได้ อ ำจสื่ อ
ควำมหมำยได้ดีกว่ำสัดส่วนของเสียและสะดวกกว่ำ เนื่องจำกเป็นกำรบันทึกจำนวนของเสียโดยตรง ทำให้
เข้ำใจผลกำรเปรียบเทียบจำนวนของเสียระหว่ำงกลุ่มตัวอย่ำงได้ง่ำยกว่ำภำยใต้ขนำดของกลุ่มตัวอย่ำง (n) ที่
เท่ำกัน กำรประยุกต์ใช้มีขั้นตอนและวิธีกำรเหมือนแผนภูมิ p ทุกประกำรเพียงแต่คูณค่ำของ UCL, LCL และ
CL ด้วยจำนวนตัวอย่ำง n ก็ได้ขีดจำกัดควบคุม ส่วนกำรพิจำรณำว่ำกระบวนกำรผลิตออกนอกสภำวะกำร
ควบคุมจะพิจำรณำจำกจุดที่พล็อตบนเส้น UCL หรือบนเส้น LCL นอกจำกนั้นยังรวมถึงจุดที่พล็อตออกนอก
ขีดจำกัดกำรควบคุมด้วย
คำนวณขีดจำกัดควบคุมของแผนภูมิ np ดังแสดงในสมกำรที่ 4.5 คือ

ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : np+3 np(1-p)

เส้นกึ่งกลำง (CL) : np …(4.5)

ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : np-3 np(1-p)


บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 177

เมื่อ np เป็นจำนวนของเสียที่พบในกลุ่มตัวอย่ำง
n เป็นจำนวนตัวอย่ำงในแต่ละกลุ่มตัวอย่ำง
p เป็นสัดส่วนของเสีย

p=
 np
n
ในกรณีปรับปรุงแผนภูมิ np และทรำบค่ำของสัดส่วนของเสียขีดจำกัดควบคุมของแผนภูมิ np ดังแสดงใน
สมกำรที่ 4.6 คือ

ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : np0 +3 np0 (1-p0 )


เส้นกึ่งกลำง (CL) : np0 …(4.6)
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : np0 -3 np0 (1-p0 )

P0 =  np - np d

 n - n d

เมื่อ p0 เป็นค่ำเฉลี่ยของ p หลังกำรปรับปรุง


 np เป็นผลรวมของจำนวนของเสียก่อนปรับปรุง
 n เป็นผลรวมของจำนวนตัวอย่ำงทั้งหมดก่อนกำรปรับปรุง
 npd เป็นผลรวมของจำนวนของเสียที่ถูกตัดออก
 nd เป็นผลรวมของจำนวนตัวอย่ำงที่ถูกตัดออก
178 กำรควบคุมคุณภำพ

ตัวอย่างที่ 4.4
จำกข้อมูลตำรำงที่ 4.1 คำนวณขีดจำกัดควบคุมของแผนภูมิ np คือ

ลำดับที่กระบวนกำรผลิต จำนวนตัวอย่ำง จำนวนของเสีย


1 200 23
2 200 15
3 200 17
4 200 15
5 200 41
6 200 0
7 200 25
8 200 31
9 200 29
10 200 0
11 200 8
12 200 16

วิธีทำ
จำนวนของเสียเฉลี่ย ( np ) เท่ำกับ  23+15+17+...+16 = 18.4
12

หรืออีกวิธี คือ จำนวนตัวอย่ำงเท่ำกับ n = 200, p=


 np =  23  15  17  ...  16 = 0.092
 n (200  200  ...  200)
ดังนั้น np = 200 x 0.092 = 18.4

เส้นกึ่งกลำง (CL) = np

= 18.4
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = np + 3 np(1-p)

= 18.4 + 3 18.4(1-0.092)

= 30.7
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = np - 3 np(1-p)

= 18.4 - 3 18.4(1-0.092)
= 6.1
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 179

แผนภูมิควบคุม np

จุดผิดปกติ
จุดผิดปกติ
จำนวนของเสีย

จุดผิดปกติ
จุดผิดปกติ

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.7 แผนภูมิควบคุมจำนวนของเสียกระบวนกำรผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์

จำกแผนภูมคิ วบคุมจำนวนของเสีย กระบวนกำรผลิตอยู่นอกกำรควบคุมมีจุดตกนอกพิกัดควบคุม คือ ตัวอย่ำง


ที่ 5 ตัวอย่ำงที่ 6 ตัวอย่ำงที่ 8 และ ตัวอย่ำงที่ 10 เนื่องจำกทรำบสำเหตุของควำมแปรผันกำรปรับปรุงแผนภูมิ
ควบคุมสำมำรถกระทำได้ด้วยกำรตัดจุดที่ 5, 6, 8 และ 10 ซึ่งตกนอกขีดจำกัดควบคุมทิ้ง จึงคำนวณขีดจำกัด
ควบคุมใหม่ดังนี้

P0 = 
np - npd 220   41+0+31+0 
= = 0.093
 n - nd 2400   200  200  200  200 

แผนภูมิควบคุม np ปรับปรุง

เส้นกึ่งกลำง (CL) = np0

= 200 x 0.093
= 18.6
180 กำรควบคุมคุณภำพ

ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = np0 + 3 np0 (1-p0 )

= 18.6+ 3 18.6(1-0.093)

= 30.92
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = np0 - 3 np0 (1-p0 )

= 18.6  3 18.6(1-0.093)

= 6.28

แผนภูมิควบคุม np ปรับปรุงใหม่
จำนวนของเสีย

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.8 แผนภูมิควบคุมจำนวนของเสียกระบวนกำรผลิตหลอด LED ในโทรทัศน์ปรับปรุงใหม่


บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 181

ตัวอย่างที่ 4.5
โรงงำนผลิตแบตเตอรี่รถยนต์ยี่ห้อหนึ่ง สุ่มตัวอย่ำงจำกกระบวนกำรผลิต 15 ครั้ง ครั้งละ 100 ชิ้น
ผลกำรบันทึกของเสียแสดงในตำรำงที่ 4.4 ดังนี้
ตารางที่ 4.4 จำนวนของเสียที่ตรวจพบในกระบวนกำรผลิตแบตเตอรี่รถยนต์
ตัวอย่ำงที่ จำนวนของเสีย
1 16
2 19
3 22
4 17
5 27
6 42
7 49
8 36
9 17
10 20
11 35
12 32
13 25
14 16
15 13

วิธีทำ
จำนวนของเสียเฉลี่ย ( np ) เท่ำกับ 
16+19+22+...+13
= 25.73
15

p=
 np = 16  19  22  ...  13
= 0.2573
 n (100  100  ...  100)

เส้นกึ่งกลำง (CL) = np

= 25.73
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = np + 3 np(1-p)

= 25.73 + 3 25.73(1-0.2573)

= 38.84
182 กำรควบคุมคุณภำพ

ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = np - 3 np(1-p)

= 25.73 - 3 25.73(1-0.2573)

= 12.62

แผนภูมิควบคุม np

จุดผิดปกติ
จำนวนของเสีย

จุดผิดปกติ

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.9 แผนภูมิควบคุมจำนวนของเสียแบตเตอรี่รถยนต์

จำกแผนภูมิควบคุมจำนวนของเสีย กระบวนกำรผลิตอยู่นอกกำรควบคุมมีจุดตกนอกพิกัดควบคุม คือ


ตัวอย่ำงที่ 6 ตัวอย่ำงที่ 7 และตัวอย่ำงที่ 15 เนื่องจำกทรำบสำเหตุของควำมแปรผัน เนื่องจำกควำมผิดปกติ
ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชำติ กำรปรับปรุงแผนภูมิควบคุมสำมำรถกระทำได้ด้วยกำรตัดจุด ของตัวอย่ำงที่ 6, 7
และ 15 ซึ่งตกนอกขีดจำกัดควบคุมทิ้ง จึงคำนวณขีดจำกัดควบคุมใหม่ดังนี้

P0 =   d =
np - np 386   42+49+13
=0.235
 n - n d 1500  100  100  100 
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 183

แผนภูมิควบคุม np ปรับปรุง
เส้นกึ่งกลำง (CL) = np0

= 100 x 0.235
= 23.5
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = np0 +3 np0 (1-p0 )

= 23.5+3 23.5(1-0.235)

= 36.22
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = np0 -3 np0 (1-p0 )

= 23.5-3 23.5(1-0.235)

= 10.78

แผนภูมิควบคุม np ปรับปรุงใหม่
จำนวนของเสีย

กลุ่มตัวอย่ำง

รูปที่ 4.10 แผนภูมิควบคุมจำนวนของเสียแบตเตอรี่รถยนต์ปรับปรุงใหม่


184 กำรควบคุมคุณภำพ

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 4

1. โรงงำนผลิตหัวเตำแก๊ส สุ่มตัวอย่ำงจำกกระบวนกำรผลิต 10 ครั้ง ครั้งละ 1,000 ชิ้น ผลกำรบันทึกของเสีย


แสดงในข้อมูลด้ำนล่ำง จงสร้ำงแผนภูมิสัดส่วนของเสีย พร้อมทั้งปรับปรุงกระบวนกำรผลิตถ้ำอยู่นอกเหนือ
กำรควบคุม

ตัวอย่ำงที่ จำนวนของเสีย
1 26
2 39
3 44
4 53
5 98
6 42
7 40
8 36
9 17
10 28

2. จำนวนชิ้นงำนสำหรับประกอบเครื่องดูดฝุ่นผลิตได้ 400 ชิ้นต่อวัน จำกรุ่นที่มีขนำด 10,000 ชิ้น


ในกำรเก็บข้อมูลจำกอดีตพบว่ำสัดส่วนของเสียเท่ำกับ 0.021 จงคำนวณหำเส้นขีดกลำงและเส้นขีดจำกัด
ควบคุมของแผนภูมิจำนวนของเสีย
3. จงหำแผนภูมิควบคุม np ที่สอดคล้องกับแผนภูมิควบคุม p ซึ่งมีขีดจำกัดควบคุมต่อไปนี้ โดยที่จำนวน
ตัวอย่ำงเท่ำกับ 100 UCLP = 0.19, CLP = 0.10, LCLP = 0.01

4.5 แผนภูมิควบคุมคุณภาพข้อบกพร่องหรือตาหนิ
แผนภูมิควบคุมคุณภำพ x และ R เป็นกำรประยุกต์ใช้กับกำรตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่วัดได้เป็นหน่วยต่ำงๆ
ที่มีจำนวนของผลิตภัณฑ์มำกกว่ำหนึ่งหน่วยและแผนภูมิควบคุม p จะประยุกต์กับผลลัพธ์ที่ตรวจสอบด้วย
คุณลักษณะที่แสดงผลว่ำดีหรือเสีย โดยมีจำนวนผลิตภัณฑ์ที่ทำกำรตรวจสอบเป็นชิ้นเป็นโหลมำกกว่ำ 1 หน่วย
ขึ้นไป จำกแผนภูมิควบคุมคุณภำพดังกล่ำวจะเห็นว่ำ ถ้ำผลิตภัณฑ์ที่ตรวจสอบต่อหน่วยโดยพิจำรณำจำนวน
ตำหนิที่เกิดขึ้นต่อหน่วยเรำจะใช้แผนภูมิควบคุมคุณภำพดังกล่ำวไม่ได้
แผนภูมิควบคุมคุณภำพข้อบกพร่องหรือตำหนิ จะเป็นแผนภูมิควบคุมคุณภำพที่ใช้ควบคุมจุดบกพร่องของ
ผลิตภัณฑ์ต่อหนึ่งหน่วย เช่น ตำหนิที่เกิดขึ้นจำกกำรผลิตโต๊ะ 1 ตัว ซึ่งแผนภูมิควบคุมคุณภำพข้อบกพร่อง
หรือตำหนิ ยังจำแนกได้เป็น 2 แผนภูมิคือ
1. แผนภูมิควบคุมคุณภำพข้อบกพร่องหรือตำหนิต่อหน่วยหรือเรียกว่ำ แผนภูมิควบคุมคุณภำพ c เป็น
แผนภูมิที่ใช้เพื่อทดสอบจำนวนข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์เป็น 1 หน่วยคงที่ตลอด
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 185

2. แผนภูมิควบคุมคุณภำพข้อบกพร่อง หรือตำหนิเมื่อขนำดตัวอย่ำงที่นำมำตรวจสอบต่อหน่วยไม่คงที่
เรียกว่ำ แผนภูมิควบคุมคุณภำพ u เป็นแผนภูมิที่ใช้เพื่อตรวจสอบจำนวนข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์ เมื่อขนำด
ของตัวอย่ำงที่นำมำตรวจสอบต่อหน่วยไม่คงที่
วัตถุประสงค์ที่สำคัญของแผนภูมิควบคุมประเภทนี้ประกอบด้วย
(1) เพื่อกำหนดระดับคุณภำพเฉลี่ยของสินค้ำ
(2) เพื่อดึงดูดควำมสนใจของฝ่ำยบริหำร เมื่อเกิดกำรเปลี่ยนแปลงไปของระดับคุณภำพเฉลี่ย จะได้หำ
แนวทำงกำรปรับปรุงกระบวนกำรผลิต เพื่อผลิตสินค้ำที่มีคุณภำพสูง
(3) เพื่อปรั บ ปรุ งคุณภำพสิ น ค้ำ ควำมรู้ในระดับคุ ณภำพที่ผ ลิ ตได้จำกกระบวนกำรผลิ ตจะช่ว ยให้
ผู้บริ หำรและคนทำงำน เกิดแรงจูงใจในกำรหำทำงปรับปรุงกระบวนกำรผลิ ตให้ ดีขึ้นตลอดเวลำ แผนภูมิ
ควบคุมจะบอกได้ว่ำแนวทำงปรับปรุงที่กำลังดำเนินกำรอยู่นั้นถูกต้องหรือไม่ กำรใช้แผนภูมิควบคุมอย่ำง
ต่อเนื่องจะช่วยปรับปรุงกระบวนกำรผลิต
(4) เพื่อประเมินควำมสำมำรถในกำรผลิตและกำรจัดกำร ตรำบใดที่กระบวนกำรผลิตยังอยู่ภำยใต้กำร
ควบคุม ย่อมแสดงว่ำผู้ควบคุมเครื่องและฝ่ำยบริหำรทำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ เนื่องจำกแผนภูมิควบคุมรอย
ตำหนิสำมำรถประยุกต์ใช้ในกำรควบคุมจำนวนควำมผิดพลำดในกำรทำงำน ดังนั้ นแผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ
จึงสำมำรถประยุกต์ใช้ในงำนกำรควบคุมด้ำนอื่นๆ เช่น กำรเงิน กำรบริกำร กำรขำย กำรบริหำร และอื่นๆ
กำรตรวจสอบคุณภำพของผลิตภัณฑ์ด้วยกำรนับจำนวนขอบกพร่องหรือตำหนิที่เกิดขึ้นของผลิตภัณฑ์ต่อ
หนึ่งหน่วยนี้ จะมีลักษณะกำรแจกแจงเป็นปัวส์ซอง (Poisson Distribution) ซึ่งมีกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็น
คือ

e-λ (λ)c
P(c, λ) = : c = 0, 1, 2, 3, … …(4.7)
c!
โดยที่
ค่ำเฉลี่ย (Mean) คือ E(X) = λ หรือ c
ควำมแปรปรวน (Variance) คือ V (X) = λ หรือ c

เมื่อ c = จำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิของกำรผลิตหนึ่งหน่วย
λ = จำนวนข้อบกพร่อง หรือตำหนิโดยเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของประชำกร
e = 2.718281828……

4.5.1 ขอบเขตควบคุมคุณภำพสำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภำพ c
เป็นขอบเขตควบคุมคุณภำพสำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภำพ c เป็นขอบเขตที่ได้จำกกำรตรวจสอบ
จำนวนข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์ เป็น 1 หน่วยคงที่ตลอด เช่น กำรตรวจสอบข้อบกพร่องชิ้นส่วนของวิทยุ
หนึ่งเครื่อง กำรตรวจสอบเพื่อหำตำหนิของกำรชุบโลหะ เป็นต้น
186 กำรควบคุมคุณภำพ

c เป็นจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิของกำรผลิตหนึ่งหน่วย จะมีขอบเขตควบคุมคุณภำพ 3σ สำหรับ


แผนภูมิควบคุณภำพ c ดังแสดงในสมกำรที่ 4.8 คือ

ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : c+3 c

เส้นกึ่งกลำง (CL) : c …(4.8)

ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : c-3 c

โดยที่
c แทนจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิโดยเฉลี่ยต่อหน่วยที่ตรวจสอบ
n แทนจำนวนหน่วยของผลิตภัณฑ์ที่ตรวจสอบ

c=
c
n

ในกรณีปรับปรุงแผนภูมิ c ขีดจำกัดควบคุม ดังแสดงในสมกำรที่ 4.9 คือ


ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : c0 +3 c0

เส้นกึ่งกลำง (CL) : c0 …(4.9)


ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : c0 -3 c0

c0 =   d
c- c
 n - n d

เมื่อ
c0 เป็นค่ำเฉลี่ยของ c หลังกำรปรับปรุง
c เป็นผลรวมของจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิก่อนปรับปรุง
n เป็นผลรวมของจำนวนตัวอย่ำงทั้งหมดก่อนกำรปรับปรุง
 cd เป็นผลรวมของจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิที่ถูกตัดออก
n d
เป็นผลรวมของจำนวนตัวอย่ำงที่ถูกตัดออก
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 187

ตัวอย่างที่ 4.6
กระบวนกำรตรวจสอบจำนวนหมุดย้ำรอยตะเข็บที่หำยไปในกระบวนกำรผลิตเรือโดยสำรแต่ละลำ
ดังแสดงในตำรำงที่ 4.5 จงเขียนแผนภูมิควบคุมกระบวนกำรผลิต

ตารางที่ 4.5 จำนวนหมุดย้ำรอยตะเข็บที่หำยไปในกระบวนกำรผลิตเรือโดยสำร

ลำที่ จำนวนหัวหมุดย้ำที่หำยไป ลำที่ จำนวนหัวหมุดย้ำที่หำยไป


1 6 11 25
2 15 12 15
3 12 13 10
4 15 14 10
5 17 15 8
6 23 16 27
7 22 17 16
8 30 18 14
9 20 19 9
10 18 20 21

วิธีทำ
c=
c
n
= 333/20
= 16.65
เส้นกึ่งกลำง (CL) = 16.65
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = c+3 c

= 16.65 + 3 16.65

= 28.89
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = c-3 c

= 16.65 - 3 16.65

= 4.41
188 กำรควบคุมคุณภำพ

แผนภูมิควบคุม c

จุดผิดปกติ
จำนวนหมุดย้ำทีห่ ำย

ลำที่

รูปที่ 4.11 แผนภูมิควบคุมจำนวนหมุดย้ำรอยตะเข็บที่หำยไปในกระบวนกำรผลิตเรือโดยสำร

จำกแผนภูมิควบคุมจำนวนตำหนิของกระบวนกำรผลิตอยู่นอกกำรควบคุมมีจุดตกนอกพิกัดควบคุม
คือ ตัวอย่ำงที่ 8 สำมำรถปรับปรุงแผนภูมิควบคุมด้ วยวิธีกำรตัดจุดของตัวอย่ำงที่ 8 ออกซึ่งตกนอกขีดจำกัด
ควบคุมทิ้ง จึงคำนวณขีดจำกัดควบคุมใหม่ดังนี้

c0 =   d = 333   30 = 15.95


c- c
 n - n d 20  1

แผนภูมิควบคุม c ปรับปรุง
เส้นกึ่งกลำง (CL) = c0 = 10.45

ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) = c0 + 3 c0
= 15.95 + 3 15.95

= 27.93
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 189

ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) = c0 -3 c0

= 15.95 - 3 15.95

= 3.97
แผนภูมิควบคุม c ปรับปรุงใหม่
จำนวนหมุดย้ำทีห่ ำย

ลำที่

รูปที่ 4.12 แผนภูมิควบคุมจำนวนหมุดย้ำรอยตะเข็บที่หำยไปในกระบวนกำรผลิตเรือโดยสำรปรับปรุงใหม่

4.5.2 ขอบเขตควบคุมคุณภำพสำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภำพ u
ค่ำ c เป็นจำนวนบกพร่องหรือตำหนิของกำรผลิตหนึ่งหน่วย เช่น กำรตรวจสอบวิทยุ 1 เครื่อง
จะถือว่ำเป็นกำรตรวจสอบวิทยุหนึ่งเครื่อง ถ้ำกำรตรวจสอบเท่ำกันโดยตลอดก็จะใช้แผนภูมิควบคุม c แต่ถ้ำ
ขนำดตัวอย่ำงที่ตรวจสอบไม่เท่ำกัน ก็จะใช้แผนภูมิควบคุม u เข้ำมำใช้
190 กำรควบคุมคุณภำพ

c
ค่ำ u เป็นจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิต่อกำรผลิตหนึ่งหน่วย เมื่อ c เป็นจำนวนข้อบกพร่อง
n
หรือตำหนิของกำรผลิตหนึ่งหน่วย ซึ่งมีขอบเขตควบคุมคุณภำพ 3 σ สำหรับแผนภูมิควบคุมคุณภำพ u ดัง
แสดงในสมกำรที่ 4.10 คือ

u
ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : u +3
n
เส้นกึ่งกลำง (CL) : u …(4.10)
u
ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : u -3
n

 c แทนจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิที่ตรวจพบทั้งหมด
n แทนจำนวนหน่วยของผลิตภัณฑ์ที่ตรวจสอบทั้งหมด
u=
c
n
ในกรณีปรับปรุงแผนภูมิ u ขีดจำกัดควบคุม ดังแสดงในสมกำรที่ 4.11 คือ

ขีดจำกัดควบคุมบน (UCL) : u0 + 3 u0
n
เส้นกึ่งกลำง (CL) : u0 …(4.11)

ขีดจำกัดควบคุมล่ำง (LCL) : u0 - 3 u0
n

u0 = n - nd
c- c
  d

เมื่อ u0 เป็นค่ำเฉลี่ยของ u หลังกำรปรับปรุง


 c เป็นผลรวมจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิที่ตรวจพบทั้งหมดก่อนปรับปรุง
 n เป็นผลรวมจำนวนหน่วยของผลิตภัณฑ์ที่ตรวจสอบทั้งหมดก่อนกำรปรับปรุง
 c เป็นผลรวมของจำนวนข้อบกพร่องหรือตำหนิที่ตรวจพบถูกตัดออก
d

 nd เป็นผลรวมจำนวนหน่วยของผลิตภัณฑ์ที่ตรวจสอบทั้งหมดที่ถูกตัดออก
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 191

ตัวอย่างที่ 4.7
กระบวนกำรผลิตเสื้อกีฬำเก็บตัวอย่ำงมำ 10 ลอต ได้ผลดังตำรำงที่ 4.6
ตารางที่ 4.6 จำนวนรอยตำหนิของกำรผลิตเสื้อกีฬำของแต่ละลอต

ลอตที่ จำนวนตัวอย่ำง จำนวนรอยตำหนิ


1 200 5
2 200 7
3 250 7
4 300 9
5 100 3
6 250 5
7 90 2
8 120 4
9 90 1
10 80 1

จงเขียนแผนภูมิควบคุมกระบวนกำรผลิต พร้อมทั้งสรุปผล

วิธีทำ
u=
c
n

=
5  7  7  ...  1
 200  200  250  ...  80

44
=
1,680

= 0.0262
192 กำรควบคุมคุณภำพ

จำนวนรอยตำหนิตอ่
จำนวนตัวอย่ำง จำนวนรอยตำหนิ u u
ลอตที่ c UCL = u+3 *
LCL = u-3
(n) (c) หน่วย (u = ) n n
n
1 200 5 5/200 = 0.025 0.0262 0
0.0262+3
200
= 0.0605
2 200 7 7/200 = 0.035 0.0605 0
3 250 7 7/250 = 0.028 0.0569 0
4 300 9 0.030 0.0542 0
5 100 3 0.030 0.0748 0
6 250 5 0.020 0.0569 0
7 90 2 0.022 0.0774 0
8 120 4 0.033 0.0705 0
9 90 1 0.011 0.0774 0
10 80 1 0.013 0.0805 0
รวม 1680 44 44/1680 = 0.0262
*หมำยเหตุ ค่ำที่ได้จำกกำรคำนวณถ้ำติดลบให้ปัดเป็น 0

แผนภูมิควบคุม u
จำนวนรอยตำหนิต่อหน่วย

ลอตที่

รูปที่ 4.13 แผนภูมิควบคุมจำนวนรอยตำหนิต่อหน่วยในกระบวนกำรผลิตเสื้อกีฬำ


บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 193

4.6 สรุป
1. กำรสร้ำงแผนภูมิควบคุมคุณภำพชนิดหน่วยนับในผลิตภัณฑ์บำงชนิด ไม่จำเป็นต้องทรำบถึงรำยละเอียด
ผลิตภัณฑ์ในเชิงปริมำณมำกนัก เพียงแต่ทรำบถึงคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ว่ำ ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้ มีข้อบกพร่องหรือ
ตำหนิตรงใด เช่น กำรตรวจสอบตำหนิของเก้ำอี้ที่เกิดจำกกำรผลิต กำรตรวจสอบสวิตซ์ไฟฟ้ำ เป็นต้น จำกกำร
ตรวจสอบคุณลักษณะที่กล่ำวมำข้ำงต้นนี้เป็นเพียงกำรตรวจสอบที่หยำบๆ เท่ำนั้น แต่สิ่งที่สำคัญคือ กำรที่สำมำรถ
ก่อให้เกิดควำมสะดวกและควำมเข้ำใจง่ำยของผู้เก็บบันทึกข้อมูล
2. กำรตรวจสอบคุณภำพของผลิตภัณฑ์ ด้วยกำรตรวจสอบคุณลักษณะสำมำรถสร้ำงแผนภูมิควบคุมได้
ดังนี้
(1) แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (p chart)
(2) แผนภูมิควบคุมจำนวนของเสีย (np chart)
(3) แผนภูมิควบคุมข้อบกพร่อง หรือจำนวนตำหนิ (c chart)
(4) แผนภูมิควบคุมข้อบกพร่อง หรือจำนวนตำหนิต่อหน่วย (u chart)
อย่ำงไรก็ตำมกำรนำแผนภูมิควบคุมคุณภำพทั้ง 2 ชนิด (แผนภูมิควบคุมคุณภำพชนิดหน่วยวัด และ
แผนภูมิควบคุณภำพชนิดหน่วยนับ) ไปใช้จะขึ้นอยู่กับควำมเหมำะสมของลักษณะงำนที่จะทำกำรวัด ลักษณะ
ของผลิตภัณฑ์ กำรวิเครำะห์ผล หรืองบประมำณและค่ำใช้จ่ำย ดังนั้นต้องมีกำรเลือกใช้งำนตำมชนิดของ
แผนภูมิให้ถูกต้องเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้ใช้งำน ซึ่ง สำมำรถสรุปวิธีกำรสร้ำงขีดควบคุมของแผนภูมิ
ควบคุม ดังแสดงในตำรำงด้ำนล่ำง

กำรสร้ำงขีดควบคุมของแผนภูมิควบคุมชนิดต่ำงๆ

เริ่มต้น ปรับปรุง
ชนิด ลักษณะ
ลักษณะ เส้น เส้น
แผน กำร ขีดจำกัดควบคุมบน ขีดจำกัดควบคุมล่ำง ขีดจำกัดควบคุมบน ขีดจำกัดควบคุมล่ำง
แผนภูมิ กึ่งกลำง กึ่งกลำง
ภูมิ ควบคุม (UCL) (LCL) (UCL) (LCL)
(CL) (CL)
แผนภูมิ
ควบคุม ค่ำเฉลี่ย ̿+ ̅ ̿ ̿- ̅ x 0 + A σ0 x0 x 0 - A σ0
x
หน่วย แผน
วัด ควบคุม ค่ำพิสัย ̅ ̅ ̅ D2 σ0 R0 D1 σ0
R
แผนภูมิ ค่ำส่วน
ควบคุม เบี่ยงเบน B4 S S B3 S B6 σ0 S0 B5 σ0
S มำตรฐำน
194 กำรควบคุมคุณภำพ

กำรสร้ำงขีดควบคุมของแผนภูมิควบคุมชนิดต่ำงๆ (ต่อ)

เริ่มต้น ปรับปรุง
ชนิด ลักษณะ
ลักษณะ เส้น เส้น
แผน กำร ขีดจำกัดควบคุมบน ขีดจำกัดควบคุมล่ำง ขีดจำกัดควบคุมบน ขีดจำกัดควบคุมล่ำง
แผนภูมิ กึ่งกลำ กึ่งกลำง
ภูมิ ควบคุม (UCL) (LCL) (UCL) (LCL)
ง (CL) (CL)
แผนภูมิ
สัดส่วน p (1-p) p (1- p) p 0 (1-p 0 ) p 0 (1-p 0 )
ควบคุม
ของเสีย p+ 3 p p- 3 p0 + 3 p0 p0 - 3
p n n n n
แผนภูมิ
จำนวน np0 +3 np0 (1-p0 ) np0 -3 np0 (1-p0 )
ควบคุม
ของเสีย np+3 np(1-p) np np-3 np(1-p) np0
np
หน่วย แผนภูมิ จานวน
นับ ควบคุม รอย c c0 + 3 c0 c0 c0 - 3 c0
c +3 c c -3 c
c ตาหนิ
จานวน
แผนภูมิ รอย u u u0 u0
ควบคุม
ตาหนิต่อ u +3 u u -3 u0 + 3 u0 u0 - 3
u n n n n
หน่วย
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 195

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4

1. แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ จำแนกได้กี่ประเภท อะไรบ้ำง


2. ในกำรสร้ำงขีดจำกัดควบคุม (Trial Control Limit) จำนวนกลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ควรมีอย่ำงน้อยกี่กลุ่ม
(สภำวิศวกร, 2555)
3. ค่ำส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (Standard Deviation) ที่ใช้คำนวณขอบเขตควบคุมสำหรับสร้ำง Control
chart for nonconforming units อำศัยกำรกระจำย (Distribution) แบบใด (สภำวิศวกร, 2555)
4. ถ้ำต้องกำรประยุกต์ใช้ แผนภูมิควบคุม p chart และไมต้องกำรให้มีควำมผิดพลำดในกำรตรวจจับควำม
ผิดปกติเกินกว่ำ 4.56% ควรใช้ขอบเขตควบคุมขนำดเท่ำใด (สภำวิศวกร, 2555)
5. ข้อมูลในตำรำงไดจำกกำรตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตไดในระยะเวลำสำมวันที่ผ่ำนมำสัดส่วนของ
เสียเฉลี่ยเป็นเท่ำใด

วันที่ จำนวนหน่วยที่ตรวจสอบ จำนวนเครื่องเสีย


1 80 8
2 80 4
3 60 6
(สภำวิศวกร, 2555)
6. ควรใช้แผนภูมิควบคุมประเภทใดในกำรควบคุมอัตรำกำรเกิดอุบัติเหตุในโรงงำนแต่ละเดือน
(สภำวิศวกร, 2555)
7. โรงงำนแห่งหนึ่งต้องกำรประยุกต์ใช้ p chart ในกำรควบคุมกระบวนกำรโดยเก็บตัวอย่ำงเพื่อใช้ในกำรสร้ำง
แผนภูมคิ วบคุมค่ำ Control limits ที่คำนวณไดในช่วงเริ่มต้นเรียกว่ำอะไร (สภำวิศวกร, 2555)
8. ในกำรตรวจสอบจำนวนรูพรุนบนผิวชิ้นงำนหลอโลหะโดยกำรสุ่มชิ้นงำนหล่อมำชุดละ 30 ชิ้น ถ้ำชิ้นใดมี
จำนวนรูพรุนมำกกว่ำ 3 จุดชิ้นงำนนั้นจะเป็นของเสีย ในกำรตรวจติดตำมควำมผันแปรของกระบวนกำรหลอ
ด้วยวิธีดังกล่ำวนี้ ท่ำนคิดว่ำควรใช้แผนภูมิควบคุมประเภทใด (สภำวิศวกร, 2555)
9. บริษัทอิเล็กทรอนิกส์ผลิตแผงวงจรสำหรับโทรศัพท์มือถือ ตองกำรสร้ำงแผนภูมิควบคุมจำนวนของเสียใน
กระบวนกำรผลิตดังกล่ำว โดยเก็บตัวอย่ำงกลุ่มละ 200 แผงวงจร จำนวน 22 กลุ่มย่อย แสดงผลดังตำรำง
ข้ำงล่ำง จงคำนวณขอบเขตควบคุมบน (Upper Control Limit) และ (Lower Control Limit) ของแผนภูมิ
ควบคุม p-chart
196 กำรควบคุมคุณภำพ

กลุ่มย่อยที่ ของเสีย กลุ่มย่อยที่ ของเสีย


1 19 12 18
2 7 13 17
3 11 14 21
4 29 15 16
5 24 16 16
6 24 17 23
7 15 18 14
8 25 19 4
9 11 20 21
10 10 21 24
11 37 22 10
(สภำวิศวกร, 2555)
10. ในโรงงำนแห่งหนึ่งผลิตหัวเทียนเครื่องยนต์ จำนวนหัวเทียนที่เสียที่พบในโรงงำน 20 รุ่นๆ ละ 100 ชิ้น
ดังแสดงในตำรำงข้ำงล่ำงนี้

หมำยเลขรุ่น จำนวนหัวเทียนที่เสีย สัดส่วนหัวเทียนที่เสีย


1 5 0.05
2 10 0.1
3 12 0.12
4 8 0.08
5 6 0.06
6 5 0.05
7 6 0.06
8 3 0.03
9 3 0.03
10 5 0.05
11 4 0.04
12 7 0.07
13 8 0.08
14 2 0.02
15 3 0.03
16 4 0.04
17 5 0.05
18 8 0.08
19 6 0.06
20 10 0.1
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 197

10.1 จงสร้ำงแผนภูมิควบคุมที่เหมำะสม และกระบวนกำรอยู่ภำยใต้กำรควบคุมหรือไม่


10.2 นอกเหนือจำกแผนภูมิในข้อ 10.1 แล้ว สำมำรถใช้แผนภูมิควบคุมอื่นได้หรือไม่
(Gupta R.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 219)
11. บริษัท The King Tire ในประเทศอังกฤษต้องกำรตรวจสอบคุณภำพยำงที่ผลิตในโรงงำน โดยในแต่ล ะวัน
ผู้จัดกำรฝ่ำยตรวจสอบคุณภำพได้ชักตัวอย่ำงยำงรถยนต์จำนวน 100 batched เพื่อนำมำทดสอบ และระบุ
จำนวนของเสีย ผลกำรตรวจสอบคุณภำพพบว่ำมีของเสียจำนวน 20 ตัวอย่ำงซึ่งมีรำยละเอียดดังต่อไปนี้

กลุ่มตัวอย่ำง จำนวนของเสีย
1 13
2 11
3 12
4 11
5 9
6 6
7 8
8 12
9 15
10 17
11 21
12 11
13 17
14 22
15 18
16 16
17 18
18 24
19 27
20 28

จงสร้ำงแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (p chart) โดยใช้ขีดควบคุมจำกัด 2σ สำหรับกระบวนกำร แล้ว


วิเครำะห์ข้อมูลเพื่อพิจำรณำว่ำกระบวนกำรผลิตอยู่ในสภำวะเสถียรหรือไม่ เพรำะเหตุใด

12. จำกข้อ 11 จงสร้ำงแผนภูมิควบคุมจำนวนของเสีย (np chart) โดยใช้ขีดควบคุมจำกัด 3σ สำหรับ


กระบวนกำร แล้ววิเครำะห์ข้อมูลเพื่อพิจำรณำว่ำกระบวนกำรผลิตอยู่ในสภำวะเสถียรหรือไม่ ถ้ำกระบวนกำร
อยู่นอกกำรควบคุมให้ปรับปรุงกระบวนกำร
198 กำรควบคุมคุณภำพ

13. จงสร้ำงแผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลหน่วยนับในกำรตรวจสอบเครื่องเป่ำผมไฟฟ้ำของโรงงำนแห่งหนึ่งโดย
ตรวจลอตละ 300 ชิ้น พบจำนวนของเสียดังนี้

ลอตที่ จำนวนของเสีย ลอตที่ จำนวนของเสีย


1 12 14 3
2 3 15 0
3 9 16 5
4 4 17 7
5 0 18 8
6 6 19 16
7 6 20 2
8 1 21 5
9 8 22 6
10 11 23 0
11 2 24 3
12 10 25 2
13 9

13.1 จงเขียนแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียพร้อมทั้งพิจำรณำว่ำกระบวนกำรผลิตอยู่ภำยใต้กำร
ควบคุมหรือไม่ ถ้ำกระบวนกำรอยู่นอกกำรควบคุม และสำมำรถตรวจสอบหำสำเหตุได้ให้ปรับปรุงพิกัดควบคุม
ใหม่
13.2 จงเขียนแผนภูมิควบคุม จำนวนของเสียพร้อมทั้งพิจำรณำว่ำกระบวนกำรผลิตอยู่ภำยใต้ก ำร
ควบคุมหรือไม่ ถ้ำกระบวนกำรอยู่นอกกำรควบคุม และสำมำรถตรวจสอบหำสำเหตุได้ให้ปรับปรุงพิกัดควบคุม
ใหม่
14. บริษัท The National Bread ได้ส่งมอบสินค้ำตำมคำสั่งซื้อ โดยใช้รถบรรทุกจำกศูนย์กระจำยสินค้ำใน
ภูมิภำคไปส่งยังร้ำนซูเปอร์มำร์เก็ตตำมสำขำที่อยู่ในเมืองหนึ่งในกำรวัดประสิทธิภำพของห่วงโซ่อุปทำนของ
บริษัท คือ จำนวนกำรส่งมอบสินค้ำที่ล่ำช้ำ โดยเป้ำหมำยของบริษัทคือกำรส่งมอบสินค้ำตำมคำสั่งซื้อทั้งหมด
ภำยใน 1 วัน จำนวนกำรส่งมอบสินค้ำที่ล่ำช้ำในแต่ล่ะวันที่ผ่ำนมำมีจำนวนเท่ำกับ 20 วัน โดยรำยละเอียดมี
ดังต่อไปนี้
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 199

กลุ่มตัวอย่ำง กำรส่งมอบสินค้ำที่ล่ำช้ำ
1 7
2 16
3 14
4 8
5 19
6 12
7 10
8 14
9 8
10 7
11 6
12 12
13 15
14 10
15 17
16 16
17 14
18 12
19 18
20 20

จงสร้ำงผัง c chart สำหรับกำรส่งมอบสินค้ำที่ล่ำช้ำด้วยขีดควบคุมจำกัด 3σ เพื่อระบุว่ำหำ


กระบวนกำรส่งมอบสินค้ำออกนอกเส้นควบคุม ณ เวลำใด
15. กระบวนกำรหนึ่งอยู่ภำยใต้กำรควบคุมด้วยแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย ถ้ำค่ำเฉลี่ยของกระบวนกำรอยู่
ที่ 0.07 ใช้ขีดจำกัดควบคุม 3σ และขนำดตัวอย่ำง 400 ชิ้น
15.1 จงคำนวณขีดจำกัดควบคุมบน และขีดจำกัดควบคุมล่ำง
15.2 ถ้ำค่ำเฉลี่ยของกระบวนกำรเปลี่ยนแปลงไปที่ 0.10 จงหำควำมน่ำจะเป็นที่กำรเปลี่ยนแปลงจะถูก
ตรวจจับในตัวอย่ำงต่อมำเป็นครั้งแรก
15.3 จงหำควำมน่ำจะเป็นที่เปลี่ยนแปลงในข้อ 15.2 จะถูกตรวจจับในตัวอย่ำงแรกหรือตัวอย่ำงที่สองหลัง
กำรเปลี่ยนแปลง
(Montgomery D.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 223)
200 กำรควบคุมคุณภำพ

16. กระบวนกำรผลิตสำยคำดเข็มขัดนิรภัยในลอตที่มีขนำด 2,500 ชิ้น จำกกำรบันทึกผลกำรตรวจสอบล่ำสุด


20 รุ่น ข้อมูลเป็นดังนี้

รุ่นที่ จำนวนเข็มขัดนิรภัยที่ชำรุด รุ่นที่ จำนวนเข็มขัดนิรภัยที่ชำรุด


1 230 11 456
2 435 12 394
3 221 13 285
4 346 14 331
5 230 15 198
6 327 16 414
7 285 17 131
8 311 18 269
9 342 19 221
10 308 20 407

16.1 จงคำนวณขีดจำกัดควบคุมสำหรับแผนภูมิควบคุมสวดส่วนของเสีย
16.2 ถ้ำต้องกำรสร้ำงแผนภูมิควบคุมสำหรับควบคุมกำรผลิตในอนำคต จะใช้ข้อมูลเหล่ำนี้เพื่อหำเส้นกลำง
และขีดจำกัดควบคุมสำหรับแผนภูมิควบคุมได้อย่ำงไร
(Montgomery D.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 222)
17. ตัวอย่ำงผ้ำ 20 ตัวอย่ำง มีควำมยำวและควำมกว้ำงเท่ำๆกัน ถูกตรวจสอบเพื่อเริ่มเข้ำสู่โปรแกรมควบคุม
คุณภำพ จำนวนรอยตำหนิที่สังเกตได้ต่อตัวอย่ำง ดังแสดงในตำรำง

ตัวอย่ำง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
จำนวนรอย
1 4 4 1 6 3 5 10 7 3
ตำหนิ
ตัวอย่ำง 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
จำนวนรอย
2 5 9 8 4 2 7 2 6 4
ตำหนิ

จงคำนวณแผนภูมิที่เหมำะสม และกระบวนกำรผลิตอยู่ภำยใต้กำรควบคุมหรือไม่
(Gupta R.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 226)
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 201

18. แผงวงจรไฟฟ้ำในตัวอย่ำงที่ต่อเนื่องกัน 26 แผง จำกจำนวนตัวอย่ำง 100 แผง ดังแสดงในตำรำง จงสร้ำง


แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิ และวิเครำะห์ว่ำกระบวนกำรผลิตอยู่ภำยใต้กำรควบคุมหรือไม่

ตัวอย่ำงที่ จำนวนแผงวงจรไฟฟ้ำที่ขัดข้อง ตัวอย่ำงที่ จำนวนแผงวงจรไฟฟ้ำที่ขัดข้อง


1 21 14 19
2 24 15 10
3 16 16 17
4 12 17 13
5 15 18 22
6 5 19 18
7 28 20 39
8 20 21 30
9 31 22 24
10 25 23 16
11 20 24 19
12 24 25 17
13 16 26 15
(Montgomery D.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 226)
19. โรงทอผ้ำแห่งหนึ่งตรวจสอบผ้ำย้อมสีต่อ 100 ตำรำงเมตร จำนวน 10 ผืน ดังแสดงในตำรำง จงสร้ำง
แผนภูมิควบคุมรอยตำหนิต่อหน่วย

ม้วนที่ พื้นที่ (ตำรำงเมตร) จำนวนรอยตำหนิทั้งหมด


1 500 14
2 400 12
3 650 20
4 500 11
5 475 7
6 500 10
7 600 21
8 525 16
9 600 19
10 625 23
(Montgomery D.C. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 230)
20. แผนภูมิควบคุม u ที่มีขนำดตัวอย่ำงคงที่ มีค่ำขีดจำกัดควบคุมดังนี้ UCLU = 4.12, LCLU = 0
จงหำค่ำเฉลี่ยของกระบวนกำรและขนำดตัวอย่ำง n
(Banks J. อ้ำงอิงใน สำยชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 232)
202 กำรควบคุมคุณภำพ

21. แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียในกระบวนกำรผลิต พบว่ำสัดส่วนของเสียโดยเฉลี่ย มีค่ำเท่ำกับ 0.03 และ


ขนำดของกลุ่มตัวอย่ำงย่อยที่ใช้ในกำรสร้ำงแผนภูมิควบคุมคือ 200 ตัวอย่ำง ตอกลุม (n=200) จงคำนวณหำ
UCL และ LCL ของแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (สภำวิศวกร, 2555)
22. ถ้ำต้องกำรควบคุมกระบวนกำรผลิตโดยศึกษำจำนวนข้อบกพรองบนเครื่องทำน้ำร้อนโดยในหนึ่งวันจะ
สุ่มตรวจและนับจำนวนข้อบกพรองจำกเครื่องทำน้ำร้อนจำนวน 3 เครื่อง ท่ำนจะแนะนำให้ใช้แผนภูมิชนิดใด
(สภำวิศวกร, 2555)
23. บริษัทขนส่งพัสดุต่ำงชำติตรวจสอบจำนวนพัสดุที่ส่งล่ำช้ำ (สำยเกิน 30 นำทีของเวลำที่สัญญำกับลูกค้ำต่อ
วัน) บริษัทคำดว่ำจะใช้แผนภูมิควบคุมในกำรแสดงผล แผนภูมิควบคุมชนิดใดที่ควรแนะนำให้บริษัทใช้
(สภำวิศวกร, 2555)
24. แผนภูมิควบคุม c-chart จะแสดงสัญญำณว่ำมีสิ่งปกติเกิดขึ้นเมื่อใด (สภำวิศวกร, 2555)
25. ในกำรสร้ำงแผนภูมิ ควบคุมสั ดส่ว นของเสียในกระบวนกำรผลิต พบว่ำสัดส่ วนของเสียโดยเฉลี่ ย มี ค่ำ
เท่ำกับ 0.03 และขนำดตัวอย่ำงที่ ใช้ในกำรสร้ำงแผนภูมิควบคุมคือ 200 ชิ้นงำนต่อกลุ่มตัวอย่ำง (n=200)
จงคำนวณหำ LCL ของแผนภูมิควบคุมจำนวนของเสีย (สภำวิศวกร, 2555)
บทที่ 4 แผนภูมิควบคุมสำหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ 203

เอกสารอ้างอิง
พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2541). การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหำนคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ศุภชัย นำทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหำนคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สภำวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหำนคร: ผู้แต่ง.
สำยชล สินสมบูรณ์ทอง. (2554). การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติและวิศวกรรม. กรุงเทพมหำนคร:
จำมจุรีโปรดักท์.
อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์. (2535). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหำนคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ
Banks J. (1989). Principles of Quality Control. New York: John Wiley & Sons.
Gupta R.C. (1988). Statistical Quality Control (3rd ed). Delhi: J.N.Printers.
Montgomery D.C. (2009). Introduction to Statistical Quality Control (6th ed). New York:
John Wiley & Sons.
204 กำรควบคุมคุณภำพ
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5
การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ
หัวข้อเนื้อหา
5.1 หลักการของขีดจากัดชนิดต่างๆ
5.2 ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติและขีดจากัดข้อกาหนด
5.3 อัตราส่วนสมรรถภาพระบวนการ
5.4 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ
5.4.1 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการโดยใช้ฮิสโตแกรม
5.4.2 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการโดยใช้แผนภูมิควบคุม
5.5 ขีดจากัดข้อกาหนดสาหรับชิ้นส่วนที่รวมกันอย่างเชิงเส้น
5.6 การวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร
5.7 สรุป
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5
เอกสารอ้างอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีความรู้และทักษะดังนี้
1. อธิบายขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติและขีดจากัดข้อกาหนด และจาแนกความ
ผิดพลาดแบบต่างๆ ได้
2. สามารถคานวณหาขีดจากัด ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคานวณค่าอัตราส่วนสมรรถภาพ
กระบวนการ
3. สามารถคานวณการวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการโดยใช้แผนภูมิควบคุม
4. สามารถคานวณหาขีดจากัดข้อกาหนดสาหรับชิ้นส่วนที่รวมกันเชิงเส้น
5. สามารถคานวณวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร เพื่อปรั บปรุ งค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวนใน
กระบวนการผลิต
วิธีสอนและกิจกรรม
1. ทบทวนเนื้อหาในบทที่ 4 และเฉลยการบ้านในบทที่ 4
2. นาเข้าสู่ บทเรีย นโดยอธิบายวัตถุประสงค์ หลักการของขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตาม
ธรรมชาติและขีดจากัดข้อกาหนด และการประยุกต์ใช้วิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการในงานอุตสาหกรรม
3. อธิบายเนื้อหาทีละหัวข้อแล้วเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามในแต่ละหัวข้อก่อนข้ามหัวข้อนั้น
4. แบ่งกลุ่มทาแบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนหรือทดสอบย่อย และตรวจสอบคาตอบของผู้เรียน
5. มอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 เป็นการบ้าน
6. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถามหากมีข้อสงสัย
206 การควบคุมคุณภาพ

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ
2. กระดานไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ายบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมและบรรยากาศระหว่างเรียน
2. ถามตอบระหว่างเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมายให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จากการทากิจกรรมกลุ่มเสร็จตามเวลา
2. ทาแบบฝึกหัดถูกต้องไม่น้อยกว่า 80%
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 207

บทที่ 5
การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ
การวิเคราะห์สมรรถภาพของกระบวนการ (Process Capability Analysis) เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้เพื่อกาหนด
ความสามารถของกระบวนการผลิตว่าสามารถผลิตตามข้อกาหนดได้หรือไม่ ซึ่งในปัจจุบัน อุตสาหกรรมการ
ผลิต พบว่าลาดับขั้นในการดาเนินงานที่สาคัญ มี 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบ การผลิต และการตรวจสอบ
ข้อกาหนดของสินค้าจะกาหนดในขั้นตอนการออกแบบ ในขั้นตอนการผลิตผู้ควบคุมการผลิตจะต้องควบคุมให้
สินค้าที่ผลิตตรงตามข้อกาหนด และในขั้นตอนการตรวจสอบเป็นขั้นตอนการยืนยันให้สินค้าที่ผลิตมีลักษณะ
คุณภาพตามข้อกาหนด
วิธีหนึ่งที่ใช้เพื่อกาหนดความสามารถของกระบวนการผลิตว่าสามารถผลิตตามข้อกาหนดได้หรือไม่ คือ
การวิเคราะห์ค่าอัตราส่วนสมรรถภาพกระบวนการ (Process Capacity Ratio: PCR) หรือ ค่า Cp ได้รับความ
สนใจเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากสภาพการแข่งขันในตลาดการค้าปัจจุบันที่จะมีการแข่งขันสูงขึ้น ในบทนี้
จะกล่าวถึงวิธีการวิเคราะห์ค่า Cp ที่สาคัญๆ และนิยมใช้ในอุตสาหกรรมโดยทั่วไป ความสามารถในการผลิต
สินค้าให้ตรงตามข้อกาหนด สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการตั้งค่าของข้อกาหนดของสินค้าและชิ้นส่วนต่างๆ

5.1 หลักการของขีดจากัดชนิดต่างๆ
ในบทที่ 3 กล่าวถึงขีดจากัดที่สาคัญคือขีดจากัดควบคุม (Control Limits) และขีดจากัดข้อกาหนด
(Specification Limits) นอกจากขีดจากัดทั้งสองดังกล่าวข้างต้น ยังมีขีดจากัดที่สาคัญอีกคือ ขีดจากัดเกณฑ์
ความคลาดเคลื่อน (Tolerance Limits) และขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติ (Natural Process Limits)
ขีดจ ากัดข้อกาหนดและขีดจ ากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่ อนมักใช้แทนกัน อยู่เสมอ คาจ ากัดความของ
ขีดจากัดทั้งสองคือ“ขอบเขตเพื่อการยินยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อน สาหรับกระบวนการผลิตหรือบริการ”
อย่างไรก็ตามขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนนิยมใช้เพื่อประเมินสภาพการดาเนินงานของกระบวนการผลิต
หรือบริการ ในขณะที่ขีดจากัดข้อกาหนดนิยมใช้เพื่อการจาแนกชิ้นส่วนสินค้า หรือบริการว่าถูกต้องตามความ
ต้องการหรือไม่
ตัวอย่างเช่น ผู้ซื้อสินค้ารายหนึ่งออกข้อกาหนดในการซื้อแกนเหล็ กกลมเพื่อใช้ในการทาขาตั้งโคมไฟ
ข้อกาหนดคือต้องเป็นเหล็ก และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1±0.2 เซนติเมตร ข้อกาหนดในเรื่องขนาดของเส้นผ่าน
ศูนย์กลางถือได้ว่าเป็นค่าเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนจะหมายความเฉพาะแต่ค่าที่วัดได้
เชิงกายภาพเท่านั้น ในเกณฑ์ข้อกาหนดหมายรวมถึงลักษณะทุกอย่างทั้งที่สามารถวัดได้เชิ งกายภาพ และไม่
สามารถวัดได้เชิงกายภาพดังนั้นเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนจึงเป็นส่วนหนึ่งของข้อกาหนดนั้นเอง
ขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติ โดยทั่วไปคานวณจากค่าพารามิเตอร์ของประชากร หรือจากกลุ่ม
ตัวอย่างที่มีจานวนมาก ขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติมีค่าห่างจากค่าเฉลี่ยของประชากร ±3 σ
อย่างไรก็ตามจะต้องไม่สับสนระหว่างขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเชิงสถิติ และขีดจากัดเกณฑ์ความ
คลาดเคลื่อน ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนจะถูกกาหนดโดยผู้ออกแบบสินค้า และปรากฏในแบบวิศวกรรมเพื่อ
การผลิต ส่วนขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติเป็นค่าที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างจากกระบวนการผลิต
208 การควบคุมคุณภาพ

ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนอาจมีทั้งขีดจากัดบนและล่าง ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนบน
(หรือขีดจากัดข้อกาหนดบน) คือ ค่าสูงสุดของลักษณะคุณภาพที่สินค้าจะมีค่าได้ ต้องไม่เกินค่าขีด จากัดบนนี้
ส่วนขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนล่าง (ขีดจากัดข้อกาหนดล่าง) คือ ค่าต่าสุดของลักษณะคุณภาพที่สินค้า
จะมีค่าได้ คือ ต้องมีค่าไม่ต่ากว่าค่าขีดจากัดล่างนี้

5.2 ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติและขีดจากัดข้อกาหนด
จากที่กล่าวมาสมรรถภาพกระบวนการ หมายถึง ความสามารถในการที่จะผลิตสินค้าที่อยู่ภายในขีดจากัด
ข้อกาหนด ซึ่งเป็นเรื่องที่ผู้บริหารคุณภาพต้องให้ความสนใจ เพื่อพิจารณารายละเอียดในเรื่องนี้จะกาหนด
สัญลักษณ์ต่างๆ ดังต่อไปนี้
USL (Upper Specification Limit) คือ ขีดจากัดข้อกาหนดบน
LSL (Lower Specification Limit) คือ ขีดจากัดข้อกาหนดล่าง
UNTL (Upper Natural Tolerance Limit) คือ ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติบน
LNTL (Lower Natural Tolerance Limit) คือ ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติล่าง
โดยทั่ว ไปอาจมีความขัดแย้ งระหว่างขีดจากัดข้อกาหนด และขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่ อนตาม
ธรรมชาติ ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้ 3 กรณี (สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554) คือ
(1) ความขัดแย้งประเภทที่ 1: ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนกว้างเกินกว่าขีดจากัดข้อกาหนด
สภาพของความขัดแย้งแบบที่ 1 แสดงในรูปที่ 5.1 ในสภาพเช่นนี้กระบวนการผลิตจะผลิตสินค้าไม่
ตรงตามข้อกาหนด โดยมีสัดส่วนของเสียดังแสดงในพื้นที่ใต้เส้นโค้งส่วนที่แรเงา เพื่อลดสัดส่วนของเสียลง
กระบวนการผลิตจะต้องปรับปรุงในด้านความแปรปรวนของกระบวนการผลิตลดลง ขีดจากัด เกณฑ์ความ
คลาดเคลื่อนก็จะเข้าใกล้ขีดจากัดข้อกาหนด การลดความแปรปรวนของกระบวนการผลิตอาจทาได้โดยการ
เปลี่ ยนเครื่องจั กรใหม่ ฝึกอบรมพนั กงานให้ มีความชานาญมากขึ้น เลือกวัตถุดิบที่เหมาะสม และปรับตั้ง
เครื่องจักรใหม่ เป็นต้น

LNTL LSL μ USL UNTL


3σ 3σ
รูปที่ 5.1 ความขัดแย้งประเภทที่ 1
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 209

แนวทางการแก้ปัญหาอีกทางหนึ่งคือ การพิจารณาปรับปรุงหรือเปลี่ ยนขีดจากัดข้อกาหนด โดย


อาจจะตั้งขึ้นจากผู้ออกแบบที่ไม่มีความเข้าใจกระบวนการผลิต หรืออาจตั้งขึ้นตามทฤษฎีซึ่งกระบวนการผลิต
ที่ใช้อยู่ไม่สามารถจะทาได้ นอกจากนี้ผู้ออกแบบอาจตั้งข้อกาหนดเพื่อป้องกันตนเอง ทาให้ยากแก่การผลิตให้
ได้ตามข้อกาหนดนั้นๆ
ถ้าหากการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทั้ง 2 วิธี ดังกล่าวข้างต้นไม่ประสบผลสาเร็จก็อาจแก้ปัญหาได้อีกวิธี
คือ การวางระบบเพื่อคัดสินค้าที่ไม่ได้ตามข้อกาหนดออก แล้วนากลับมาทาการแก้ไขใหม่ให้ได้ตามข้อกาหนด
ส่วนวิธีการสุดท้ายสาหรับการแก้ปัญหาความขัดแย้งประเภทที่ 1 คือการปรับค่าเฉลี่ยของกระบวนการ
เพื่อลดต้นทุนในการผลิตให้เกิดต้นทุนของเสียน้อยที่สุด ตัวอย่างเช่น ถ้าสินค้าที่เกินขีดจากัดข้อกาหนดบนจะเกิด
ต้นทุนสูงกว่าการผลิตสินค้าที่ต่ากว่าขีดจากัดข้อกาหนดล่าง ในกรณีนี้อาจจะลดค่าเฉลี่ยกระบวนการผลิตให้เกิด
ข้อเสียในขีดจากัดข้อเสียล่างมาก แต่เกิดของเสียที่เกินกว่ากว่าขีดจากัดข้อกาหนดบนน้อย
(2) ความขัดแย้งประเภทที่ 2: ค่าเฉลี่ยของกระบวนการไม่เหมาะสมกับขีดจากัดข้อกาหนด
สาหรับกรณีที่ขีดจากัดข้อกาหนดมีเพียงด้านเดียว อาจเป็นขีดจากัดบนหรือขีดจากัดล่าง ถ้าค่าเฉลี่ย
ของกระบวนการปรับตั้งไม่ดีจะก่อให้เกิดปัญหาการผลิตของเสียออกมา ดังแสดงในรูปที่ 5.2

Z
2

μ
USL UNTL

รูปที่ 5.2 ความขัดแย้งประเภทที่ 2

วิธีการแก้ปัญหาส าหรับ ส าหรั บกรณีนี้ทาได้โ ดยปรับตั้งค่าเฉลี่ ยของกระบวนการผลิ ตเสี ยใหม่ให้


เหมาะสมกับขีดจากัดข้อกาหนดนี้ที่วางไว้ ในกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนค่าเฉลี่ยของกระบวนการผลิต ก็อาจต้อง
มีระบบการคัดสินค้าที่ไม่ได้ตามขีดจากัดข้อกาหนดแล้วนากลับมาแก้ไขใหม่ หรื ออาจเปลี่ยนแปลงขีดจากัด
ข้อกาหนดให้สอดคล้องกับความสามารถของกระบวนการผลิต
(3) ความขัดแย้งประเภทที่ 3: ขีดจากัดข้อกาหนดกว้างเกินไป
ความขัดแย้งประเภทที่ 3 แสดงดังรูปที่ 5.3 โดยทั่วไปไม่เป็นปัญหาสาหรับผู้ผลิตสินค้า ยกเว้น
ขีดจากัดข้อกาหนดนั้นทาให้การใช้งานของสิน ค้าไม่ดีเท่าที่ควร หรืออาจนาไปประกอบกับชิ้นส่วนอื่นไม่ได้
ขีดจากัดข้อกาหนดนี้อาจได้มาจากการเปิดตาราหรือคู่มือ ถึงแม้ว่าจะเกิดปัญหาการใช้งานของสินค้า แต่
กระบวนการผลิตก็อาจไม่จาเป็นต้องปรับตั้งใหม่ ทั้งนี้เพราะผู้ออกแบบสินค้าสามารถเปลี่ยนแปลงขีดจากัด
ข้อกาหนดให้แคบลง
210 การควบคุมคุณภาพ

μ
LSL LNTL UNTL USL
3σ 3σ

รูปที่ 5.3 ความขัดแย้งประเภทที่ 3

5.3 อัตราส่วนสมรรถภาพระบวนการ
ในการวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการสิ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ อัตราส่วนสมรรถภาพระบวนการ
การคานวณหาค่านั้นจะแสดงในสมการที่ 5.1

USL - LSL
Cp = …(5.1)

สาหรับกรณีที่ขีดจากัดข้อกาหนดมีเพียงด้านเดียว อัตราส่วนสมรรถภาพกระบวนการคานวณได้จาก
ความสัมพันธ์คือ

USL - μ
สาหรับขีดจากัดควบคุมบน : Cpu = …(5.2)

μ - LSL
สาหรับขีดจากัดควบคุมล่าง : Cpl = …(5.3)

เมื่อ μ เป็นค่าเฉลี่ยของกระบวนการผลิต
σ เป็นค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการผลิต
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 211

พิชิต สุขเจริญพงษ์ (2541) ค่า Cp มีประโยชน์อย่างมากในการช่วยประเมินความสามารถของกระบวนการผลิต


เมื่อเทียบกับขีดจากัดข้อกาหนด นอกจากนี้ค่า Cp ยังใช้เป็นเกณฑ์ในการตั้งขีดจากัดข้อกาหนด และความต้องการ
ของกระบวนการ
ถ้า Cp = 1 แสดงว่าขีดจากัดข้อกาหนดมีค่าเท่ากับขีดจากัดกระบวนการธรรมชาติพอดี ถ้า Cp มากกว่า1
แสดงว่าขีดจากัดข้อกาหนดมีค่ามากกว่าขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีสาหรับผู้ผลิต ถ้า Cp มี
ค่ามาก เช่น Cp 2 ความขัดแย้งประเภทที่ 3 อาจเกิดขึ้นได้ ถ้า Cp มีค่าน้อยกว่า 1 แสดงว่าเกิดความขัดแย้ง
ประเภทที่ 1 ค่า Cp ควรมีค่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง 2 ค่าแนะนาที่กระบวนการผลิตใดๆ ควรจะเป็น แสดงในตรารางที่
5.1 ตัวอย่างเช่น สาหรับโรงงานซึ่งผลิตหมุดเย็บลาตัวเครื่ องบินค่า Cp ของกระบวนการผลิตที่ทาอยู่ในปัจจุบัน
จะต้องมีค่าต่ากว่า 1.45 สาหรับขีดจากัดข้อกาหนดด้านบนความแข็งแรงของตัวหมุด
ส่วน Cpk คือ อัตราส่วนสมรรถภาพกระบวนการด้านเดียว สาหรับขีดจากัดข้อกาหนดที่อยู่ใกล้กับค่าเฉลี่ย
กระบวนการ (Process Average)

USL - μ μ - LSL
Cpk  min( , ) …(5.4)
3σ 3σ

ตารางที่ 5.1 ค่า Cp ต่าสุดที่ควรจะเป็น

สินค้าที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ข้อกาหนดสองด้าน ข้อกาหนดด้านเดียว


กระบวนการผลิตที่ทาอยู่ 1.33 1.25
กระบวนการใหม่ 1.50 1.45
ความแข็งแรงและลักษณะคุณภาพที่สาคัญ ข้อกาหนดสองด้าน ข้อกาหนดด้านเดียว
กระบวนการผลิตที่ทาอยู่ 1.50 1.45
กระบวนการใหม่ 1.67 1.60

ที่มา: พิชิต สุขเจริญพงษ์, 2541

ตัวอย่างที่ 5.1
จากค่า Cp ของกระบวนการผลิ ต สามารถนาไปสู่ การคานวณสั ดส่ ว นของเสี ยที่ผ ลิตได้จาก
กระบวนการผลิต ตัวอย่างเช่น สาหรับกระบวนการผลิตที่ดี ค่า Cp = 1.25 ในกรณีของขีดจากัดข้อกาหนด
สองด้าน
วิธีทา
USL - LSL
Cp = =1.25

จะได้ว่า USL – LSL = 7.5σ
7.5 σ
และ Z= x = 3.75
2 σ
212 การควบคุมคุณภาพ

จากตารางการแจกแจงปกติจะได้ค่าพื้นที่แจกแจงจะได้ค่าพื้นที่ใต้เส้นโค้งที่ค่า Z น้อยกว่า -3.75 และ Z


มากกว่า 3.75 เท่ากับ 2(0.00009) = 0.00018 ดังนั้น สัดส่วนของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตนี่จะเป็น
0.00018 หรือ 0.018% หรือ 180 ส่วนในล้านส่วน หรือ 180 ppm (part per million)

5.4 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ
สมรรถภาพกระบวนการผลิตสามารถวิเคราะห์ได้หลายวิธี ในที่นี้จะกล่าวถึงวิธีที่นิยมใช้โดยทั่วไป เพื่อเป็น
แนวทางการวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ คือ
5.4.1 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการโดยใช้ฮิสโตแกรม
ค่าการแจกแจงความถี่สามารถใช้เพื่อประมาณการค่าสมรรถภาพกระบวนการ เพื่อการนี้ข้อมูลที่ใช้
อย่างน้อยควรไม่ต่ากว่า 50 ข้อมูล ถึง 100 ข้อมูล ขั้นตอนการเก็บข้อมูล ขั้นตอนการเก็บข้อมูลควรดาเนินการ
ดังต่อไปนี้
1. เลือกเครื่องจักรหรือกรุ่มเครื่องจักร ที่จะวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ ถ้าเครื่องจักรที่จะ
เลือกใช้เป็นตัวแทนของกลุ่มเครื่องจักร จะต้องมีเครื่องจักรหรือกลุ่มเครื่องจักร ที่เป็นตัวแทนของกระบวนการ
ผลิตทั้งหมดอย่างแท้จริง
2. เลื อ กสภาพการด าเนิ น การผลิ ต ก าหนดสภาพการท างานต่ า งๆ เช่ น ความเร็ ว ของเครื่ อ ง
อุณหภูมิขณะเดินเครื่อง อัตราเร็วในการป้อนงาน และอื่นๆ เพื่อใช้เป็นข้ออ้างอิงในอนาคต และอาจใช้เพื่อการ
ปรับเปลี่ยนปัจจัยต่างๆ เหล่านี้เพื่อศึกษาสมรรถภาพกระบวนการ
3. เลือกคนคุมเครื่องที่เป็นตัวแทนของกลุ่ม ในการวิ เคราะห์บางกรณีอาจจาเป็นต้องประมาณการ
ความสามารถของคนคุมเครื่องด้วย ซึง่ คนคุมเครื่องควรเลือกจากพนักงานที่เป็นตัวแทนของกลุ่มอย่างแท้จริง
4. เก็บข้อมูลอย่างละเอียด โดยบันทึกเวลาที่บันทึกข้อมูลตลอดจนสภาพการทางานต่างๆ

ตัวอย่างที่ 5.2
พิจารณาอย่างการวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการของกระบวนการผลิต แก้วน้า ข้อมูลของการ
ทดสอบความสามารถในการทนแรงอัดสูงสุดของแก้วน้า จากการทดสอบ 100 ขวด ดังแสดงในตารางที่ 5.2
ตารางที่ 5.2 แรงอัดสูงสุดทีแ่ ก้วน้าทนได้ (psi)

265 197 346 280 265 200 221 265 261 278
205 286 317 242 254 235 176 262 248 250
263 274 242 260 281 246 248 271 260 265
307 243 258 321 294 328 263 245 274 270
220 231 276 228 223 296 231 301 337 298
268 267 300 250 260 276 334 280 250 257
260 281 208 299 308 264 280 274 278 210
234 265 187 256 235 269 265 253 254 280
299 214 264 267 283 235 272 287 274 269
215 318 293 293 277 290 283 258 275 251
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 213

ข้อมูลของความทนแรงอัดสูงสุดนามาสร้างเป็น ตารางการแจกแจงความถี่ได้ ดังแสดงในตารางที่ 5.3


และเขียนเป็นฮิสโตแกรมได้ ดังแสดงในรูปที่ 5.4

จากการวิเคราะห์ข้อมูลจะได้
X = 264.06 psi
S = 32.02 psi

ตารางที่ 5.3 การแจกแจงความถี่สาหรับข้อมูลความทนแรงอัดที่แก้วน้าทนได้

อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์สะสม


170≤ x <190 2 0.02 0.02
190≤ x <210 4 0.04 0.06
210≤ x <230 7 0.07 0.13
230≤ x <250 13 0.13 0.26
250≤ x <270 32 0.32 0.58
270≤ x <290 24 0.24 0.82
290≤ x <310 11 0.11 0.93
310≤ x <330 4 0.04 0.97
330≤ x <350 3 0.03 1.00
100 1.00

รูปที่ 5.4 ฮิสโตแกรมสาหรับข้อมูลความทนแรงอัดสูงสุดของแก้วน้า


214 การควบคุมคุณภาพ

สมรรถภาพกระบวนการประมาณการได้จาก
X ± 3S

ในตัวอย่างข้างต้น สมรรถภาพกระบวนการคือ

264.06 ± 3 (32.02) = 264 ± 96 psi

พิจารณารูปร่างของฮิสโตแกรมจะเห็นได้ว่า การแจกแจงของความทนแรงอัดมีลักษณะเป็นการแจก
แจงปกติ ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า แก้วที่ผลิตได้จากกระบวนการผลิตนี้ร้อยละ 99.73 ที่สามารถทนแรงอัดได้
ระหว่าง 168 ถึง 360 psi สังเกตว่าเราสามารถประมาณการสมรรถภาพกระบวนการโดยอิสระไม่ขึ้นกับ
ข้อจากัดการทนแรงอัดของขวดน้าอัดลม
ข้อได้เปรีย บของการวิเคราะห์ส มรรถภาพกระบวนการ โดยวิธีฮิสโตแกรมคือการวิเ คราะห์ ทาได้
รวดเร็ว และสามารถเห็นรูปร่างการแจกแจงของลักษณะคุณภาพที่ต้องการ
ถ้าข้อกาหนดการผลิตของกระบวนการผลิต คือ แก้วน้าต้องทนแรงอัดได้ไม่ต่ากว่า 200 psi หรือ
LSL = 200 psi อัตราสมรรถภาพการผลิต หรือ PCR คานวณได้คือ

μ - LSL
PCR =

264  200
=
3(32)
= 0.67

ซึง่ สัดส่วนของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตนี้คานวณได้โดยการคานวณค่า Z คือ

Z = μ - LSL

264 - 200
=
32
=2

จากตารางการแจกแจงปกติ จะได้ว่าพื้นที่ใต้เส้นโค้งส่วนที่ต่ากว่า Z = 2 มีค่าเป็น 0.0228 หรือ


2.28 % หรือ 22,800 ppm คือมีแก้วที่ไม่ได้ตามข้อกาหนด 22,800 ใบ ใน 1,000,000 ขวด ซึ่งค่า ppm ที่ได้
จากกระบวนการผลิตที่มีค่า PCR ต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 5.4
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 215

ตารางที่ 5.4 ค่า ppm ของของเสียจากกระบวนการผลิตที่มีค่า PCR ต่างๆ กัน

จานวนของเสีย ppm
PCR
ข้อกาหนดด้านเดียว ข้อกาหนดสองด้าน
0.50 66,800 133,600
0.75 12,200 24,400
1.00 1,350 2,700
1.10 483 966
1.20 159 318
1.30 48 96
1.40 13 26
1.50 3.40 6.80
1.60 0.80 1.60
1.70 0.17 0.34
1.80 0.03 0.06
2.00 0.0009 0.0018

5.4.2 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการโดยใช้แผนภูมิควบคุม
ฮิส โตแกรมสรุป สมรรถนะของกระบวนการผลิ ต โดยไม่ได้แสดงถึง ศักยภาพหรือแนวโน้มของ
สมรรถภาพกระบวนการ ทั้งนี้เพราะฮีสโตแกรมไม่แสดงถึงสภาพการผลิตว่าอยู่ภายใต้การควบคุมหรือไม่
อย่างไร จึงอาจมีข้อมูลบางจานวนที่นามาใช้ในการสร้างฮีสโตแกรมที่ได้มาจากกระบวนการผลิตที่ไม่อยู่ภายใต้
การควบคุม เพื่อขจัดข้อมูลที่ได้จากกระบวนการผลิตที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของแผนภูมิควบคุม
แผนภูมิควบคุมที่จะใช้อาจเป็นแผนภูมิควบคุมชนิดแปรผัน หรือแผนภูมิควบคุมตามลักษณะก็ได้
แต่แผนภูมิ X และ R มักเป็นแผนภูมิที่นิยมใช้โดยทั่วไปอย่างไรก็ตามทั้งแผนภูมิ p แผนภูมิ c และแผนภูมิ u
ก็สามารถใช้เพื่อวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการได้เ ช่นเดียวกัน แผนภูมิ X และแผนภูมิ R สามารถใช้เพื่อ
ประโยชน์ในการวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการทั้งในระยะสั้นและยาว การใช้แผนภูมิ X และ แผนภูมิ R
เพื่อวิเคราะห์สมรรถภาพการผลิตนั้นควรเก็บข้อมูลจากกระบวนการผลิตจากช่ว งเวลาที่ต่างกัน เช่น ต่างวัน
หรือ กะการทางาน

ตัวอย่างที่ 5.3
จากตารางที่ 5.5 แสดงผลการทดสอบความทนแรงอัดของแก้วน้าที่เก็บไว้ 20 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่ม
ตัวอย่างละ 5 ใบ ขีดจากัดควบคุมของแผนภูมิ X และแผนภูมิ R คานวณได้ดังต่อไปนี้
216 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 5.5 ข้อมูลความทนแรงอัดของแก้วน้า

ตัวอย่าง ข้อมูล X R
1 265 205 263 307 220 252.0 102
2 268 260 234 299 215 255.2 84
3 197 286 274 243 231 246.2 89
4 267 281 265 214 318 269.0 104
5 346 317 242 258 276 287.8 104
6 300 208 187 264 271 246.0 113
7 280 242 260 321 228 266.2 93
8 250 299 258 267 293 273.4 49
9 265 254 281 294 223 263.4 71
10 260 308 235 283 277 272.6 73
11 200 235 246 328 296 261.0 128
12 276 264 269 235 290 266.8 55
13 221 176 248 263 231 227.8 87
14 334 280 265 272 283 286.8 69
15 265 262 271 245 301 268.8 56
16 280 274 253 287 258 270.4 34
17 261 248 260 274 337 276.0 89
18 250 278 254 274 275 266.2 28
19 278 250 265 270 298 272.2 48
20 257 210 280 269 251 253.4 70
X = 264.06 R = 77.3

แผนภูมิ R UCLR = D4 R

= (2.115) (77.3)
= 163.49 psi
CLR = R

= 77.3 psi
LCLR = D3 R

= (0) (77.3)
= 0 psi
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 217

แผนภูมิ X ̅ = ̿+ ̅

= 264.06 + (0.577) (77.3)


= 308.66 psi
̅ = X

= 264.06 psi
̅ = ̿- ̅

= 264.06 – (0.577) (77.3)


= 210.46 psi
จากตารางนั้นสร้างแผนภูมิควบคุมแล้วเขียนจุดลงบนแผนภูมิควบคุมได้ผลลัพธ์ ดังแสดงในรูปที่ 5.5
ซึ่งพบว่าไม่มีจุดใดตกนอกขีดจากัดควบคุม แสดงว่า กระบวนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุม ดังนั้นค่าของ X
และ R สามารถนาไปใช้เพื่อประมาณการสมรรถภาพกระบวนการได้เลย

รูปที่ 5.5 แผนภูมิ X และแผนภูมิ R การทดสอบความทนแรงอัดของขวดน้าอัดลม


218 การควบคุมคุณภาพ

การประเมิน การสมรรถภาพกระบวนการ เริ่ มจากการประมาณการค่ าเฉลี่ ยและค่า เบี่ ยงเบน


มาตรฐานของกระบวนการผลิตคือ
μ = X

= 264.06 psi

R
σ =
d2

77.3
=
2.326

= 33.23 psi
ดังนั้นสมรรถภาพกระบวนการคือ μ ±3 σ คือ 264.06 ± 3(33.23) psi สาหรับขีดจากัดข้อกาหนด
เดียวเมื่อ LSL = 200 psi ค่าของสมรรถภาพกระบวนการของกระบวนการผลิตของแก้วน้านี้คือ

μ - LSL
Cp =

264.06 - 200
=
3(33.23)

= 0.64
ซึ่งจะได้เห็นว่ามีค่าใกล้เคียงกับการวิเคราะห์ด้วยฮิสโตแกรม
ในกรณีที่แผนภูมิควบคุมมีบางจุดที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุม จะต้องทาการปรับปรุงแผนภูมิควบคุมเสีย
ใหม่ก่อน จึ งจะนาค่าเฉลี่ยกระบวนการและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานกระบวนการมาใช้ เพื่อวิเคราะห์สมรรถภาพ
กระบวนการได้
นอกจากการวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการด้วยวิธีฮิสโตแกรม และแผนภูมควบคุมแล้วยังมีวิธีอื่น
เช่น การเขียนค่าความน่าจะเป็น (Probability Plot) และการใช้วิธีการออกแบบการทดลอง (Design of
Experimental) เป็นต้น
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 219

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 5

1. ในกระบวนการผลิตหม้อแปลงไฟฟ้าดัชนีความสามารถก่อนปรับปรุงกระบวนการผลิตมีค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.008 และหลังกระบวนการผลิตเท่ากับ 0.0064 โดยกาหนดให้ขนาดของความยาวหม้อ
แปลงเท่ากับ 4.10±0.04 นิ้ว จงหาค่าสมรรถนะกระบวนการทั้งก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง
2. จากแผนภูมิค่าเฉลี่ย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7,805 และจากแผนภูมิค่าพิสัย มีค่าเฉลี่ยของพิสัยเท่ากับ 1,200
ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 7 และมีกลุ่มย่อย 35 กลุ่ม ถ้าลักษณะการควบคุมคุณภาพมีการแจกแจงแบบปกติ และ
ข้อกาหนดเท่ากับ 220±35 กระบวนการผลิตนี้จะเป็นไปตามข้อกาหนดหรือไม่ และประมาณค่าสัดส่วนของ
เสีย
3. แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัยมีพารามิเตอร์ดังนี้

แผนภูมิค่าเฉลี่ย แผนภูมิค่าพิสัย
UCL = 363.0 UCL = 16.18
CL = 360.0 CL = 8.91
LCL = 357.0 LCL = 1.64
ขนาดตัวอย่างคือ n = 9 แผนภูมิทั้งสองอยู่ภายใต้การควบคุม ลักษณะคุณภาพมีการแจกแจงแบบปกติ
3.1 ถ้าข้อกาหนดลักษณะคุณภาพ คือ 358±6 จงสรุปผลโดยพิจารณาจากความสามารถของกระบวนการ
เพื่อผลิตชิ้นส่วนให้อยู่ภายในข้อกาหนด
3.2 สมมติค่าเฉลี่ยเคลื่อนย้ายไปที่ 357 จงหาความน่าจะเป็นที่การเปลี่ยนแปลงไม่ถูกตรวจจับในตัวอย่าง
แรก
3.3 จงหาขีดจากัดควบคุมที่เหมาะสมสาหรับแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ย ถ้าความคลาดเคลื่อนชนิดที่ 1 มีค่า
เป็น 0.01

5.5 ขีดจากัดข้อกาหนดสาหรับชิ้นส่วนที่รวมกันอย่างเชิงเส้น
พิชิต สุขเจริญพงษ์ (2541) ข้อมูลด้านสมรรถภาพกระบวนการนับเป็นปัจจัยที่สาคัญในการศึกษาต่อการ
กาหนดขีดจากัดข้อกาหนดของสินค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าที่ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนที่ได้จากกระบวนการ
ผลิตที่มีสมรรถภาพกระบวนการแตกต่างกัน ชิ้นงานหรือชิ้นส่วนบางชนิดเกิดจากการนามาประกอบกัน ส่งผล
ให้เกิดการรวมกันอย่างเชิงเส้น (Linear combination) ถ้ากาหนดให้ x1, x2, x3, …, xn เป็นค่าของมิติสาหรับ
ชิ้นส่วนที่ 1, 2, 3, …, n เช่น ความยาว หรือความหนาของแผ่นโลหะที่ 1, 2, 3, …, n ตามลาดับ ดังนั้นมิติของ
ชิ้นส่วนที่ประกอบจากชิ้นส่วนย่อย คือ

Y = a1x1 + a2x2 + a3x3 + …..+ anxn …(5.5)


220 การควบคุมคุณภาพ

เมื่อ Y เป็นมิติของชิ้นส่วนที่ประกอบกันขึ้น a1, a2, …., an เป็นค่าคงที่ใดๆ


ถ้า Xi มีการแจกแจงแบบปกติ และเป็นอิสระจากกันและกัน โดยมีค่าเฉลี่ยเป็น μi และความแปรปรวน
σi2 ดังนั้น y จะมีการแจกแจงแบบปกติที่มีค่าเฉลี่ยและความแปรปรวน คือ
n
μ y = aiμi …(5.6)
i=1

n
σ2y = ai2σi2 …(5.7)
i=1

ดังนั้นถ้ารู้ค่าของ μi และ σi2 ของแต่ละชิ้นส่วนก็สามารถวิเคราะห์สัดส่วนของเสียที่อยู่นอกขีดจากัด


ข้อกาหนดได้

ตัวอย่างที่ 5.4
พิจารณาตัวอย่างชิ้นงานในรูปที่ 5.6 ซึ่งประกอบด้วยชิ้นส่วน 4 ชิ้น ความยาว x1, x2, x3 และ x4 มี
การแจกแจงแบบปกติ คือ
x1 – N (2.0, 0.0004)
x2 – N (4.5, 0.0009)
x3 – N (3.0, 0.0004)
x4 – N (2.5, 0.0001)
ความยาวของชิ้นส่วนแต่ละชิ้นเป็นอิสระจากกัน เนื่องจากผลิตโดยเครื่องจักรต่างชนิดกัน ความยาวแต่ละ
ชิ้นส่วนมีหน่วยเป็นนิ้ว (พิชิต สุขเจริญพงษ์, 2541)

X1 X2 X3 X4

รูปที่ 5.6 ชิ้นงานที่ประกอบด้วย 4 ชิ้นส่วน

ความยาวของชิ้นงานตามข้อกาหนด คือ 12 ± 0.10 นิ้ว หรือขีดจากัดข้อกาหนดเป็น 11.90 ถึง 12.10


นิ้ว ต้องการวิเคราะห์ว่าชิ้นงานที่ประกอบขึ้นมีโอกาสเท่าใดที่จะอยู่ในขีดจากัดข้อกาหนด
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 221

เนื่องจากความยาวของชิ้นส่วน y มีการแจกแจงแบบปกติโดยมีค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนเป็น
μ y = 2.0 + 4.5 + 3.0 + 2.5 = 12.0 นิ้ว

และ
σ2y = 0.0004 + 0.0009 + 0.0004 + 0.0001 = 0.0018 นิ้ว
ดังนั้น σy = 0.0424 นิ้ว
ซึ่งขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติของความยาวชิ้นงาน คือ
y = μy ± σy

= 12.0 ± (3)(0.0424)
= 12.0 ± 0.1272
เนื่องจากขีดจากัดข้อกาหนดความยาวคือ 12 ± 0.10 นิ้ว จะเห็นว่าเกิดความขัดแย้งประเภทที่ 1 คือ
ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนกว้างกว่าขีดจากัดข้อกาหนด จึงมีชิ้นส่วนจานวนหนึ่งที่ไม่ได้ตามข้อกาหนด
เพื่อวิเคราะห์สัดส่วนของเสียจากกระบวนการผลิต จะต้องคานวณค่าความน่าจะเป็นดังนี้ คือ

P(11.90≤y≤12.10) = P(y≤12.10) – P(y≤11.90)

=   12.10  12.0     11.90  12.0 


 0.0018   0.0018 

=   2.36    2.36
= 0.99086 – 0.00914
= 0.98172

ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่าร้อยละ 98.172 ของชิ้นงานประกอบได้จะอยู่ภายใต้ขีดจากัดข้อกาหนด โดยมี


สัดส่วนของเสียร้อยละเท่ากับ 100–98.172 = 1.828
ในกรณีที่ขีดจ ากัดข้อกาหนดของชิ้นงานสุ ดท้ายมีค่าตามที่ต้องการ เราต้องวิเคราะห์ เพื่อนาไปสู่ การ
กาหนดขีดจากัดข้อกาหนดของชิ้นส่วนต่างๆ เพื่อให้ได้ขีดจากัดของชิ้นงานขั้นสุดท้ายตามต้องการ
222 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 5.5
พิจารณาชิ้นงานที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนย่อย 3 ชิ้น (พิชิต สุขเจริญพงษ์, 2541) ดังแสดงในรูปที่ 5.7

X1 X2 X3

รูปที่ 5.7 ชิ้นงานประกอบด้วยชิ้นส่วนย่อย 3 ชิ้น

กาหนดให้ข้อกาหนดของชิ้นงานจะต้องมีความยาว y = 6.00 ± 0.06 นิ้ว ถ้าความยาวของชิ้นส่วนย่อย


X1, X2, และ X3 มีการแจกแจงแบบปกติโดยค่ามีค่าเฉลี่ยของกระบวนการผลิตเป็น μ1 = 1.00 นิ้ว, μ 2 =
3.00 นิ้ว และ μ3 = 2.00 นิ้ว ตามลาดับ สมมติให้ขีดจากัดเกณฑ์คลาดเคลื่อนตามธรรมชาติสาหรับแต่ละ
ชิ้นส่วน และชิ้นงานขั้นสุดท้าย ถูกกาหนดให้มีค่าที่ทาให้สัดส่วนของเสีย หรือที่ตกนอกขีดจากัดข้อกาหนด
เป็น 0.0027 นอกจากนี้ผู้บริหารการกาหนดว่า ค่าอัตราสมรรถภาพกระบวนการหรือ PCR จะต้องมีค่าเป็น 1
เนื่องจากความยาวของชิ้นงานขั้นสุดท้ายมีการแจกแจงแบบปกติ และถ้ากาหนดให้สัดส่วนของเสียเป็น
0.0027 ดังนั้นขีดจากัดเกณฑ์คลาดเคลื่อนตามธรรมชาติจะต้องเป็น μ y ± 3σ เนื่องจาก μ y = μ1 + μ 2 + μ3
= 1.00 + 3.00 + 2.00 = 6.00 ดังนั้นค่าเฉลี่ยกระบวนการผลิตอยู่ตรงกลาง
y = μ y ± 3σ

พบว่า y = 6 ± 0.06
ดังนั้น 3 σy = 0.06
σy = 0.06/3
= 0.02

ถ้า σ y ≤0.02 ขีดจากัดข้อกาหนดก็จะมีค่าเท่ากับ หรือกว้างกว่าขีดจากัดเกณฑ์คลาดเคลื่อนตามธรรมชาติ


ของกระบวนการผลิต และสัดส่วนของเสียก็จะน้อยกว่า 0.0027
ขั้น ต่อไปถ้าพิจารณาข้อกาหนดส าหรั บแต่ละชิ้นส่ วนย่อยๆ เนื่องจากความแปรปรวนของชิ้นงานขั้น
สุดท้าย คือ

σ2y = σ1
2
 σ22  σ32 ≤ (0.02)2
= 0.0004
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 223

และความแปรปรวนของแต่ละชิ้นส่วนกาหนดให้มีค่าเท่ากัน คือ σ12 +σ22 +σ32 = σ2 ดังนั้น σ2y = 3σ2 ซึ่ง


ค่าสูงสุดของ σ2 สาหรับแต่ละชิ้นส่วน คือ
σ2y 0.0004
σ2 = 
3 3
= 0.000133
ขีดจากัดข้อกาหนดสาหรับความยาวของแต่ละชิ้นส่วนย่อย คือ
ชิ้นส่วนที่ 1; X1 = μ1 ± 3σ

= 1.00 ± 3 0.000133

= 1.00 ± 0.0346 นิ้ว


ชิ้นส่วนที่ 2; X2 = μ2 ± 3σ

= 3.00 ± 3 0.000133

= 3.00 ± 0.0346 นิ้ว


ชิ้นส่วนที่ 3; X3 = μ3 ± 3σ

= 2.00 ± 3 0.000133

= 2.00 ± 0.0346 นิ้ว

5.6 การวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) การทราบสมรรถภาพเครื่องจักร (Machine Capability: Cm) ทาให้ผู้จัดการ
โรงงานสามารถกาหนดเครื่องจักร หรือกระบวนการผลิตให้ผลิตผลิตภัณฑ์ตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ได้ก่อนทาการผลิตจริง ในการศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องจักรมักศึกษาในช่วงเวลาสั้น (Short term study)
เริ่มจากการชักสิ่งตัวอย่างจากกสุ่มของชิ้นงานที่ได้จาก กระบวนการผลิตที่ปราศจากความไม่แน่นอน เช่น
ไม่สุ่มตัวอย่างตอนเริ่มเปิดเครื่องจักรใหม่ๆ หรือไม่เปลี่ยนค่าปัจจัยของเครื่องจักร โดยทั่วไปนิยมที่จานวน 50
ค่า หลังจากนั้นให้วัดค่าที่ต้องการ เช่น น้าหนัก ขนาด หรือความแข็ง เป็นต้น
ขั้นตอนการวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร
1. เขียนรอยขีด
2. หาค่า f,  f และ  f %
3. พล็อตค่า  f % ลงในกระดาษวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร
4. ลากเส้นตรงผ่านจุดโดยประมาณ
224 การควบคุมคุณภาพ

5. คานวณหาค่า UTL (Upper Tolerance Limit) และ LTL (Lower Tolerance Limit) โดยการนาค่าเฉลี่ย
บวกหรือลบด้วยค่าเผื่อที่ลูกค้ากาหนด แล้วลากเส้น UTL และ LTL ลงในกระดาษวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร
6. คานวณค่า S จากสูตร S = (ค่าที่ขอบขวา – ค่าที่ขอบซ้าย)/8
7. คานวณค่าเผื่อจาก ±4S และคานวณค่าเปอร์เซ็นต์ความเผื่อที่ออกนอกขอบบนและขอบล่าง
8. ประมาณค่าเฉลี่ยจากกราฟ ค่าบริเวณวิกฤตบน (เกินเส้น UTL) และค่าบริเวณวิกฤตล่าง (ต่ากว่าเส้น LTL)
9. สรุปผลโดยการเทียบค่าเฉลี่ยจากกราฟกับค่าเฉลี่ยที่ลูกค้ากาหนด และเทียบค่าเผื่อที่คานวณได้กับค่า
เผื่อที่ลูกค้ากาหนด หรือสรุปผลโดยการคานวณได้ดังนี้ (คานวณค่า Cm จากสูตร)

UTL  LTL
Cm =
6S

โดยที่ถ้าประสิทธิภาพเครื่องจักรเหมาะสม ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานไม่ควรเกินค่าพิกัดความเผื่อ (Tolerance


Limits) กล่าวคือ Cm ที่คานวณได้ควรมีค่ามากกว่า 8S/6S = 1.33 (8S ได้จากการพิจารณากระดาษวิเคราะห์
สมรรถภาพเครื่องจักร นั่นคือ X ± 4S) แต่ถ้าค่า Cm มีค่าน้อยกว่า 1.33 ต้องคานวณค่า Cmk จากสูตร

Cm = min (Cmku, Cmkl)

UTL  X
โดยที่ Cmku =
3S
X  LTL
Cmkl =
3S

ถ้า Cmk = Cmku สรุปได้ว่าเส้นโค้งปกติเลื่อนไปทางขวา แสดงว่าต้องปรับเส้นโค้งให้เลื่อนกลับไปทางซ้าย


ในขณะเดียวกันถ้า Cmk= Cmkl สรุปได้ว่าเส้นโค้งปกติเลื่อนไปทางซ้าย แสดงว่าต้องปรับเส้นโค้งให้เลื่อนกลับไป
ทางขวา
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 225

ตัวอย่างที่ 5.6
ผลการวัดความยาว (นิ้ว) ของม้วนสายไฟเบอร์ออฟติกยี่ห้อหนึ่ง โดยที่ไม่มี การปรับค่าปัจจัยของ
เครื่องตัดสายไฟจานวน 50 เส้น มีค่าดังต่อไปนี้

ตารางที่ 5.6 ความยาวของม้วนสายไฟเบอร์ออฟติก 50 เส้น

52 49 48 52 52 50 54 50 49 52
51 52 51 49 52 52 53 52 53 51
51 51 53 50 48 50 51 49 52 52
50 50 51 52 51 52 54 51 52 53
49 53 51 53 51 53 54 53 54 53

ถ้าค่าเฉลี่ยและค่าเผื่อความยาวของม้วนสายไฟเบอร์ออฟติกที่ลูกค้าต้องการคือ 50 นิ้ว และ ±5 นิ้ว


ตามลาดับแล้ว จงวิเคราะห์สมรรถภาพของเครื่องตัดสายไฟที่ใช้ในการผลิตม้วนสายไฟเบอร์ออฟติก

วิธีทา
บันทึกเฉพาะจานวนทศนิย มลงในกระดาษวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักร เนื่องจากจานวนเต็มมีค่า
เท่ากัน แล้วเขียนรอยขีด (ค่าบนแกน y ให้กาหนด 50 อยู่กลางแกน) พร้อมทั้งหาค่า f,  f (ให้รวมจากล่าง
ขึ้นบน) และ  f % ดังนี้
f f f%

Scale 99.997 99.87 99.5 99 98 95 90 80 70 60 50 40 30 20 10 5 2 1 0.5 0.13 ค่าที่ขอบขวา


58
226

57
56
55
54 4 50 100 UTL = 55
53 9 46 92
52 13 37 74
51 11 24 48
CL = 51.5
50 6 13 26
49 5 7 14
48 2 2 4
47 𝑥

46 LTL = 45
45
ตารางที่ 5.7 การวิเคราะห์สมรรถนะเครื่องตัดสายไฟ

44 X̅ 𝑥 + 4s
ค่าที–่ข4sอบซ้าย ̅
0.03 0.13 0.5 1 2 5 10 20 30 40 50 60 70 80 90 95 98 99 99.5 99.87
99.997
value value value value value value value value value value
Dimension: ความยาว Specified Mean: 50 Specified Tolerance: ±5
การควบคุมคุณภาพ

52 50 51 52 49 53 50 51 52 49
Action to be taken Estimated Mean: 51.5 Estimated Capability
52 51 53 51 48 51 51 53 51 48
Of Tolerance
52 52 50 49 52 53 52 50 49 52 Top % Capable Not Capable
52 51 48 52 52 51 51 48 52 52 Bottom %
52 52 50 52 50 53 52 50 52 50 Action to be taken: ปรับค่าเฉลี่ย และลดความแปรผัน
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 227

พล็อตค่า  f % ลงในกระดาษวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักรตามแนวหัวลูกศร ยกเว้นที่ 100% ต้องหา


ค่าเฉลี่ย ระหว่าง  f % ที่ 100% และ  f % ก่อนหน้า ผลที่ได้คือ (100 + 92)/2 = 96% จากนั้นลากเส้น
ตรงให้ผ่านจุดทั้งหมดให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ดังนี้

จากนั้นคานวณหาค่า UTL และ LTL ได้ดังนี้


UTL = 50 + 5 = 55 เซนติเมตร
และ LTL = 50 – 5 = 45 เซนติเมตร

และคานวณค่าประมาณสมรรถภาพ ได้ดังนี้
พิจารณาปลายเส้นตรงที่ลากโดยประมาณ (วงกลม) ตัดแกน y ด้านซ้ายและด้านขวาประมาณ 0.447
และ 0.577 ตามลาดับ S = (ค่าที่ขอบขวา – ค่าที่ขอบซ้าย)/8 = (58 - 44)/8 = 1.75 นิ้ว
และค่าประมวลสมรรถภาพเท่ากับ ±4S = ± 4 x (1.75) = ±7

พิจารณากราฟจาก X ลากไปตัดเส้นตรงแล้วอ่านค่าบนแกน y จะประมาณค่าเฉลี่ยได้เท่ากับ 51.5


เซนติเมตร ส่วนค่าวิกฤตบนหาได้จากการพิจารณาจุดตัดระหว่างเส้นตรงและ UTL แล้วอ่านค่าเปอร์เซ็นต์บน
แกน X จะได้ 0.8% ค่าวิกฤตล่างได้จากการพิจารณาจุดตัดระหว่างเส้นตรงและ LTL แล้วอ่านค่าเปอร์เซ็นต์
บนแกน X จะได้ < 0.13%

ค่าเฉลี่ยเกินกว่าที่ลูกค้ากาหนดเท่ากับ 51.5 - 50 = 1.5 และค่าเผื่อก็เกินที่ลูกค้ากาหนดเท่ากับ


7 - 5 = 2 นอกจากนั้น เมื่อวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักรจะพบว่า

UTL  LTL
Cm =
6S
55 - 45
=
6 x (1.75)
= 0.9524

เนื่องจาก Cm < 1.33 ดังนั้นคานวณค่า Cmk ได้ดังนี้

UTL  X
Cmku =
3S
55  51.5
=
3 x 1.75
= 0.67
228 การควบคุมคุณภาพ

X  LTL
Cmkl =
3S
51.5  45
=
3 x 1.75
= 1.24

ดังนั้น Cm = min (Cmku, Cmkl) = Cmku

สรุปได้ว่า ม้วนสายไฟเบอร์ออฟติกที่ผลิตต้องปรับค่าปัจจัยให้ค่าเฉลี่ย และค่าความแปรปรวนลดลง

5.7 สรุป
1. ในอุตสาหกรรมมีกระบวนการผลิตที่สาคัญ 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบ การผลิต และการตรวจสอบ
2. ขีดจากัดข้อกาหนดแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
2.1 ขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติ จะคานวณจากค่าพารามิเตอร์ของประชากร หรือจากกลุ่ม
ตัวอย่างที่มีจานวนมีค่าห่างจากค่าเฉลี่ยของประชากร ±3σ
2.2 ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน จะถูกกาหนดโดยผู้ออกแบบสินค้า
3. ค่าที่ใช้ในการวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ เรียกว่า ค่า PCR หรือค่า Cp ซึ่งในกระบวนการผลิต
ใดๆ ค่า Cp ควรมีค่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง 2 จึงจะถือว่ากระบวนการผลิตนั้นมีความเป็นปกติ
4. ความขัดแย้งในกระบวนการผลิต คือ สิ่งที่ผิดปกติในกระบวนการผลิต อาจจะเกิดจากปัจจัยทั้งภายใน
ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงาน เครื่องจักร วิธีการทางาน ส่วนปัจจัยภายนอก คือ กระบวนการผลิตตามธรรมชาติ ความไม่
มีคุณภาพของผู้จัดส่งวัตถุดิบ ซึ่งความขัดแย้งในกระบวนการผลิตแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
4.1 ความขัดแย้งประเภทที่ 1 ขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติกว้างเกินกว่าขีดจากัดเกณฑ์ความ
คลาดเคลื่อน สภาพนี้กระบวนการผลิตจะผลิตสินค้าไม่ตรงตามที่กาหนด
4.2 ความขัดแย้งประเภทที่ 2 ค่าเฉลี่ยกระบวนการไม่เหมาะสมกับ ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน
สภาพนี้ค่าเฉลี่ยของกระบวนการไม่ดีก่อให้เกิดปัญหาในการผลิต
4.3 ความขัดแย้งประเภทที่ 3 ขีดจากดข้อกาหนดกว้างเกินไป สภาพนี้ไม่เป็นปัญหากับผู้ผลิตสินค้าแต่
อาจจะดาเนินการตามมาตรฐานบางประการไม่ได้
จากความขัดแย้งทั้ง 3 ประเภท ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบในกระบวนการผลิตจะเกิดจากความผิดพลาด
ประเภทที่ 1 และ 2 ส่วนประเภทที่ 3 เกิดขึ้นเป็นส่วนน้อย
5. การวิเคราะห์สมรรถภาพเครื่องจักรจะทาให้ทราบความผิดปกติของกระบวนการผลิตที่อยู่ภายใต้เส้น
โค้งปกติ ถ้าวิเคราะห์ได้ว่าเส้นโค้งปกติเลื่อนไปทางขวามากเกินไปต้องปรับมาทางด้านซ้าย ในทานองเดียวกัน
ถ้าวิเคราะห์ได้ว่าเส้นโค้งปกติเลื่อนไปทางซ้ายมากเกินไปต้องปรับมาทางด้านขวา อาจจะปรับได้โดยควบคุม
กระบวนการผลิตให้เข้มงวดกว่าเดิม ลดความแปรปรวนของเครื่องจักร หรืออาจจะต้องปรับเปลี่ยนการทางาน
ร่วมกับเครื่องจักรให้มีความเหมาะสมมากขึ้น
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 229

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5

1. เมื่อกาหนดให้ LSL = 75, USL = 85 และกระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติ เมื่อสุ่มตัวอย่าง 25 ชิ้นมา


ตรวจ พบว่ากระบวนการผลิตมีการแจกแจงอยู่กึ่งกลางขีดจากัดข้อกาหนด และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S)
เท่ากับ 1.5 จงหาค่าอัตราส่วนสมรรถภาพกระบวนการ (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
2. เมื่อกาหนดให้ LSL = 90, USL = 100 และกระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติ เมื่อสุ่มตัวอย่าง 30 ชิ้นมา
ตรวจพบว่ากระบวนการผลิตมีค่าเฉลี่ย ( x ) เท่ากับ 97 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) เท่ากับ 1.6 จงหา
อัตราส่วนสมรรถภาพกระบวนการ (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
3. ข้อแตกต่างระหว่างความขัดแย้งชนิดที่ 1 กับ ความขัดแย้งชนิดที่ 2 คือ
4. Cp แตกต่างจาก Cpk อย่างไร (สภาวิศวกร, 2555)
5. ถากระบวนการผลิตมีค่า Cp=Cpk หมายถึงกระบวนการผลิตใด (สภาวิศวกร, 2555)
6. บริษัทแห่งหนึ่งผลิตเครื่องเชื่อมโลหะพบว่าค่าเฉลี่ยของประชากรเป็น 49.15 มิลลิเมตร ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.51 มิลลิเมตร และข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ ถ้า ID ของเครื่องเชื่อมโลหะนี้ต่ากว่า
ขีดจากัดข้อกาหนดล่างเท่ากับ 47.80 มิลลิเมตร จะต้องนากลับไปทาใหม่ อย่ างไรก็ตาม ถ้าอยู่เหนือกว่า
ขีดจากัดข้อกาหนดบนคือ 49.80 มิลลิเมตร จะใช้งานไม่ได้ จงหาเปอร์เซ็นต์ของเครื่องเชื่อมโลหะที่ต้องนามา
ประกอบใหม่ (Besterfield D.H. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 349)
7. จงหาค่าสมรรถภาพกระบวนการก่อนปรับปรุง กระบวนการ (σ0 = 0.038) และหลังปรับปรุงกระบวนการ
(σ0 = 0.030) สาหรับตัวอย่างปัญหาการใช้ข้อกาหนดของ 6.40±0.15 มิลลิเมตร
(Besterfield D.H. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 349)
8. จงหาค่า Cpk หลังจากปรับปรุงสาหรับข้อที่ 5 เมื่อศูนย์กลางการผลิตคือ 6.40 และเมื่อศูนย์กลาง
กระบวนการผลิตคือ 6.30 จงอธิบาย (Besterfield D.H. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 349)
9. ชิ้นส่วนหนึ่งผลิตจากเครื่องจักรมีข้อกาหนดคือ 100 ±10 การวิเคราะห์แผนภูมิควบคุมระบุว่ากระบวนการ
อยู่ภายในการควบคุมที่มี x = 104 และ R = 9.30 แผนภูมิควบคุมใช้ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 5 ถ้าสมมติว่า
ลักษณะมีการแจกแจงแบบปกติ ค่าเฉลี่ยสามารถตั้งอยู่ (โดยการปรับตาแหน่งเครื่องมือ) เพื่อทาให้ผลิตภัณฑ์
ทั้งหมดเป็นไปตามข้อกาหนดหรือไม่ จงหาค่าอัตราส่วนสมรรถภาพกระบวนการ
(Montgomery D.C.อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 349)
230 การควบคุมคุณภาพ

10. กระบวนการอบให้แข็งใช้ในกระบวนการผลิตกึ่งตัวนาไฟฟ้า ต้องการสร้างการควบคุมเชิงสถิติของความ


กว้างในการไหลของการต้านทานในกระบวนการนี้โดยใช้แผนภูมิค่าเฉลี่ยและพิสัย นาตัวอย่างมา 25 กลุ่ม โดย
ที่แต่ละขนาดใช้แผ่นกลมบาง 5 ชิ้น ช่วงเวลาระหว่างตัวอย่างหรือกลุ่มย่อยคือ 1 ชั่วโมง ข้อมูลการวัดความ
กว้างในการไหล (หน่วย: ไมครอน) จากตัวอย่างเหล่านี้ดังแสดงในตารางข้างล่างนี้

แผ่นกลมบาง
ตัวอย่างที่ x R
1 2 3 4 5
1 1.3235 1.4128 1.6744 1.4573 1.6914 1.5119 0.3679
2 1.4314 1.3592 1.6075 1.4666 1.6109 1.4951 0.2517
3 1.4284 1.4871 1.4932 1.4324 1.5674 1.4817 0.139
4 1.5028 1.6352 1.3841 1.2831 1.5507 1.4712 0.3521
5 1.5604 1.2735 1.5265 1.4363 1.6441 1.4882 0.3706
6 1.5955 1.5451 1.3574 1.3281 1.4198 1.4492 0.2674
7 1.6274 1.5064 1.8366 1.4177 1.5144 1.5805 0.4189
8 1.4190 1.4303 1.6637 1.6067 1.5519 1.5343 0.2447
9 1.3884 1.7277 1.5355 1.5176 1.3688 1.5076 0.3589
10 1.4039 1.6697 1.5089 1.4627 1.5220 1.5134 0.2658
11 1.4158 1.7667 1.4278 1.5928 1.4181 1.5242 0.3509
12 1.5821 1.3355 1.5777 1.3908 1.7559 1.5284 0.4204
13 1.2856 1.4106 1.4447 1.6398 1.1928 1.3947 0.447
14 1.4951 1.4036 1.5893 1.6458 1.4969 1.5261 0.2422
15 1.3589 1.2863 1.5996 1.2497 1.5471 1.4083 0.3499
16 1.5747 1.5301 1.5171 1.1839 1.8662 1.5344 0.6823
17 1.3680 1.7269 1.3957 1.5014 1.4449 1.4874 0.3589
18 1.4163 1.3864 1.3057 1.6210 1.5573 1.4573 0.3153
19 1.5796 1.4185 1.6541 1.5116 1.7247 1.5777 0.3062
20 1.7106 1.4412 1.2361 1.3820 1.7601 1.5060 0.524
21 1.4371 1.5051 1.3485 1.5670 1.4880 1.4691 0.2185
22 1.4738 1.5936 1.6583 1.9973 1.4720 1.6390 0.5253
23 1.5917 1.4333 1.5551 1.5295 1.6866 1.5592 0.2533
24 1.6399 1.5243 1.5705 1.5563 1.5530 1.5688 0.1156
25 1.5797 1.3663 1.6240 1.3732 1.6887 1.5264 0.3224
รวม 37.64 8.1302

10.1 จงสร้ างแผนภูมิ เฉลี่ ย และพิสั ย ในกระบวนการนี้ กระบวนการอยู่ ภ ายใต้ การควบคุ มหรือ ไม่
ถ้าจาเป็นต้องปรับปรุงแผนภูมิควบคุม จงสร้างขีดจากัดควบคุมที่ปรับปรุงแล้ว
10.2 จงประมาณส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในกระบวนการนี้
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 231

10.3 ถ้าขีดจากัดข้อกาหนดของความกว้างในการไหลคือ 1.50±0.50 ไมครอน และความกว้างในการไหล


เป็ น ตัวแปรสุ่ มที่มีการแจกแจงแบบปกติ ที่มีค่าเฉลี่ย 1.5056 และค่า ส่ ว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.1398
จงประมาณค่าสัดส่วนของแผ่นกลมบางที่เสียที่ผลิตได้
10.4 จงหาค่าอัตราส่วนสมรรถภาพกระบวนการ
(Montgomery D.C.อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 350)

11. ความยาวชิ้นส่วนที่ประกอบกันดังแสดงในรูปมีการแจกแจงแบบปกติ N(μ, σ2 ) มีหน่วยเป็นเซนติเมตร

X1 X2 X3 X4

X1 ~ N(2.3, 0.06) X2 ~ N(2.6, 0.05) X3 ~ N(2.6, 0.08) X4 ~ N(3.4, 0.03)


ถ้าขีดจากัดข้อกาหนดของความยาวรวม Y คือ 11.0±0.5 เซนติเมตร จงหาสัดส่วนของเสียที่อยู่ภายใน
ขีดจากัดข้อกาหนด (Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 357)
12. จากข้อ 11 ขีดจากัดข้อกาหนดควรจะเป็นเท่าไหร่สาหรับขีดจากัดที่
12.1 ±2σ จากค่าเฉลี่ย
12.2 ±3σ จากค่าเฉลี่ย
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 357)
13. จากข้อ 11 ถ้าขีดจากัดข้อกาหนดเป็น 10.9±0.2 เซนติเมตร ความยาวชิ้นส่วนแต่ละชิ้นมีการแจกแจง
แบบปกติที่มีค่าเฉลี่ย μ1 = 2.3 เซนติเมตร, μ2 = 2.6 เซนติเมตร, μ3 = 2.6 เซนติเมตร และ μ4 = 3.4
เซนติเมตร สมมติสัดส่วนของเสียที่ตกนอกขีดจากัดเป็น 0.01 และ PCR = 1.3 ถ้าความแปรปรวนของแต่ละ
ชิ้นส่วนเท่ากัน จงหาค่าความแปรปรวนนี้ (Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 357)
232 การควบคุมคุณภาพ

14. ความแข็ง (Hardness) ที่วัดในแบบร็อคเวลล์สเกลซี (Rockwell C–Scale: HRC) ของชิ้นงานที่ได้จากการ


อบชุบจากเตาอบแบบอัตโนมัติ มีค่าดังต่อไปนี้

77 78 76 79 79 79 79 77 80 79
78 79 78 80 77 79 77 78 80 78
79 79 79 79 78 78 80 78 79 80
79 80 79 78 80 78 79 79 79 79
80 80 81 81 82 79 80 81 80 79

กาหนดให้ชิ้นงานทุกชิ้นมีส่วนผสมและคุณสมบัติอื่นๆ เท่ากันทุกประการ และเครื่องมือวัดได้ผ่านการสอบ


เทียบเรียบร้อยแล้ว และค่าความคลาดเคลื่อนไม่สูงพอที่จะส่งผลให้เกิดความแปรปรวนในการวัด ดังนั้นค่า
ความแข็งที่คลาดเคลื่อนจึงเกิดจากความไม่สม่าเสมอของอุณหภูมิเตาอบที่ใช้ในการอบชุบ โดยที่ถ้าอุณหภูมิ
สม่าเสมอแล้วค่าเฉลี่ยและค่าเผื่อที่ควรจะเป็นของความแข็งของชิ้นงานคือ 80 HRC และ ±5 HRC ตามลาดับ
จงวิเคราะห์สมรรถภาพของเตาอบดังกล่าว (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
15. จงใช้ ข้ อมู ล ต่อ ไปนี้ ต อบค าถาม โรงงานผลิ ต ยางในจั ก รยานแห่ ง หนึ่ ง มีค่ า เฉลี่ ยของการทนความดั น
(Bursting pressure) ของผลิตภัณฑ์เป็น 150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi) และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 15.2
psi ถ้าข้อกาหนดของผู้นาเข้าในประเทศระบุว่ายางในต้องมี Bursting pressure ไมต่ากว่า 100 psi
กระบวนการผลิตในโรงงานนี้มีของเสียอยู่ในช่วงใด (สภาวิศวกร, 2555)
16. จงคานวณค่าสมรรถภาพกระบวนการ ในกระบวนการชุบเคลือบผิวสายรัดโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
13-19 มิลลิเมตร ให้ไดค่าความหนาของสังกะสีที่ชุบเคลือบผิว 3±0.5 ไมโครเมตร ผลการชักตัว อย่าง 50 ชิ้น
แล้ววัดค่าความหนาของสังกะสีที่เคลือบผิวสายรัดโลหะ ผลแสดงดังตารางต่อไปนี้

ค่าความหนา (ไมโครเมตร)
3.0 2.8 3.0 2.9 3.0 3.0 2.9 2.9 3.0 2.9
2.9 2.9 3.1 3.1 2.9 3.1 3.0 2.8 3.1 3.0
3.0 3.0 3.1 3.0 3.0 2.9 2.9 2.9 3.1 2.9
2.0 3.1 2.9 3.1 3.1 2.9 3.1 3.0 3.0 3.1
3.0 2.9 3.0 2.9 3.1 3.0 3.2 3.1 3.1 2.9
(สภาวิศวกร, 2555)
17. ถ้าหากต้องการให้กระบวนการที่ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพสม่าเสมอที่สุด ต้องปรับปรุงค่าผลต่างระหว่าง
ขีดจากัดบนและขีดจากัดล่าง (USL-LSL) กับ ขีดจากัดกระบวนการตามธรรมชาติ (6σ) ให้เป็นอย่างไร
บทที่ 5 การวิเคราะห์สมรรถภาพกระบวนการ 233

18. แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัย สาหรับแผนกชิ้นส่วนรถยนต์ โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ


ขนาดความกว้างของชิ้นงาน โดยใช้ข้อมูลจานวน 25 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัวอย่าง เพื่อสร้างแผนภูมิควบคุม
สรุปผลดังตาราง

x R
UCL 626 37.5
LCL 602 0
̿ = 614 R = 16.5

Specification ความกว้างของชิ้นงาน คือ 610±15 ถากระบวนการผลิ ตอยู ภ ายใต้การควบคุม


จงคานวณหาเปอร์เซ็นต์ชิ้นส่วนรถยนต์ทไี่ มตรงตามข้อกาหนด (สภาวิศวกร, 2555)
19. จากข้อมูลในตาราง ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกปืนมีขนาดเล็กกว่าข้อกาหนด 34.0±1.5 จะต้องนาไปอัด
เป็นเศษเหล็กขายก่อให้เกิดความสูญเสียประมาณ 4 บาทต่อชิ้น โดยปกติบริษัทผลิต 20,000 ชิ้นต่อวัน ดังนั้น
บริษทั จะสูญเสียต่อวันเท่าใด ในกรณีนี้ถ้าสมมติกระบวนการอยูภายใต้การควบคุมจากข้อมูลตรวจลักษณะทาง
คุณภาพของกระบวนการผลิตตลับลูกปืน โดยตรวจวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของลูกปืนข้อมูลแสดงตัว อย่าง ข้อมูล
กลุ่มละ 5 ตัวอย่าง โดย x = 34, R = 4.71

Sample No. x R Sample No. x R


1 34.5 3 13 35.4 8
2 34.2 4 14 34.0 6
3 31.6 4 15 37.1 5
4 31.5 4 16 34.9 7
5 35.0 5 17 33.5 4
6 34.1 6 18 31.7 3
7 32.6 4 19 34.0 8
8 33.8 3 20 35.1 4
9 34.8 7 21 33.7 2
10 33.6 8 22 32.8 1
11 31.9 3 23 33.5 3
12 38.6 9 24 34.2 2
(สภาวิศวกร, 2555)
20. ถากระบวนการทีม่ ีข้อกาหนดควบคุมทั้งสองด้าน มีค่า PCR เป็น 1 จะมีของเสียเท่าไร
(สภาวิศวกร, 2555)
234 การควบคุมคุณภาพ

เอกสารอ้างอิง

พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2541). การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.


ศุภชัย นาทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สภาวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2554). การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติและวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร:
จามจุรีโปรดักท์.
Banks J. (1989). Principles of Quality Control. New York: John Wiley & Sons.
Besterfield D. H. (2004). Quality Control (7th ed). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Montgomery D.C. (2009). Introduction to Statistical Quality Control (6th ed). New York:
John Wiley & Sons
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6
แผนการชักสิ่งตัวอย่าง
หัวข้อเนื้อหา
6.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
6.2 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพ
6.2.1 แผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว
6.2.2 แผนการชักตัวอย่างเชิงคู่
6.2.3 แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง
6.2.4 แผนการชักสิ่งตัวอย่างมาตรฐาน 105 อี
6.2.5 แผนการชักตัวอย่างดอดจ์และโรมิก
6.2.6 แผนการชักสิ่งตัวอย่างทีละชิ้นตามลาดับ
6.3 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพชนิดพิเศษ
6.3.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างของการผลิตต่อเนื่อง
6.4 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงแปรผัน
6.4.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบตัวแปร
6.5 สรุป
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6
เอกสารอ้างอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีความรู้และทักษะดังนี้
1. อธิบายเกี่ยวกับแนวความคิดของการจัดการแผนการชักสิ่งตัวอย่าง การจาแนกแผนการชักสิ่ ง
ตัวอย่างและวิธีการชักสิ่งตัวอย่าง
2. สามารถคานวณ วิเคราะห์ และออกแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว เชิงคู่ และหลายเชิง
3. สามารถคานวณโอกาสในการยอมรับลอตของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว เชิงคู่ และหลายเชิง
4. อธิบายเกี่ยวกับแนวความคิด หลักการ ขอบเขตของแผนการชักสิ่งตัวอย่างมาตรฐาน 105 อี และ
ข้อแตกต่างระหว่างระหว่างมาตรฐาน MIL-STD-105E กับ ANSI/ASQC Z1.4
5. สามารถคานวณ วิเคราะห์ ออกแบบ และหาขนาดสิ่งตัวอย่างโดยเฉลี่ย ของแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
มาตรฐาน 105 อี
6. สามารถใช้ตารางแผนการชักตัวอย่างดอดจ์-โรมิก สาหรับแผน LTPD และ แผน AOQL
7. สามารถสร้างแผนการชักสิ่งตัวอย่างทีละชิ้นตามลาดับ และกาหนดตารางในการยอมรับและ
ปฏิเสธ
8. อธิบายหลัก วิธีการสร้างแผนการชักสิ่งตัวอย่างของการผลิตต่อเนื่องชนิด CSP-1, CSP-2 และ
CSP-3 และสามารถคานวณ วิเคราะห์ และออกแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างของการผลิตต่อเนื่อง
236 การควบคุมคุณภาพ

9. สามารถคานวณโอกาสในการยอมรับหรือปฏิเสธ และการสุ่มตัวอย่างของแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
แบบตัวแปร
วิธีสอนและกิจกรรม
1. ชี้แจงคาอธิบายแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ วัตถุประสงค์ เนื้อหา การประยุกต์ใช้ในงาน
อุตสาหกรรม และภาพรวมของบทที่ 6
2. นาเข้าสู่บทเรียนโดยการบรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมทั้งอธิบายการใช้ตารางของแผนการ
ชักสิ่งตัวอย่างแบบต่างๆ
3. แบ่งกลุ่มผู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 และตรวจคาตอบพร้อมทั้งอธิบายอย่างละเอียด
4. สอบถามผู้เรียนถ้าผู้เรียนมีคาถามสงสัย
5. มอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 (ทาต่อ) เป็นการบ้าน
6. เสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรมให้กับนักศึกษาก่อนเลิกเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ
2. กระดานไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ายบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมและบรรยากาศระหว่างเรียน
2. ถามตอบระหว่างเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมายให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จากการทากิจกรรมกลุ่มเสร็จตามเวลา
2. ทาแบบฝึกหัดถูกต้องไม่น้อยกว่า 80%
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 237

บทที่ 6
แผนการชักสิ่งตัวอย่าง
ปัจจุบันกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนั้น การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ ถือเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อมี
การยอมรับหรือปฏิเสธวัตถุดิบที่จะนาเข้าสู่กระบวนการผลิตต่อไป ซึ่งการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์จะ
จาแนกเป็นชนิดใหญ่ๆ ได้ คือ 1. การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ด้วยตัวแปร 2. การตรวจสอบคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์ด้วยลักษณะ
ในการใช้แผนชักสิ่งตัวอย่า งให้มีประสิทธิผลนั้นจึงต้องพยายามดาเนินการให้มีสารสนเทศป้อนกลับโดย
ได้ชี้ให้เห็นว่า Schilling E.G. (อ้างอิงใน ศรีไร จารุภิญโญ, 2540) มีวิธีการมาตรฐาน 2 วิธี ที่สามารถใช้เพื่อ
การวิเคราะห์กระบวนการผลิต คือ
1. จุดตรวจสอบในสายการผลิต (On–Line Inspection Stations) ซึ่งเป็นการตรวจสอบแบบ 100%
2. แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับในสายการผลิต (On–Line Acceptance Sampling Plans)
ซึ่งโดยปกติจะทาหน้าที่ในการป้องกันมิให้ข้อบกพร่องจากกระบวนการก่อนหน้าถูกส่งไปยังกระบวนการถัดไป
โดยไม่มีวิธีการป้อนกลับสารสนเทศ ดังนั้นในขั้นต้นนั้นผู้ใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับย่อมสามารถ
วางระบบป้อนกลับสารสนเทศจากการใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างในสายการผลิตนี้ได้ และจะเห็นได้ว่าหากมีการ
ใช้แผนชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับให้ได้ผลดีแล้ ว จะต้องกาหนดแนวคิดเบื้องต้น ว่า แผนการชักสิ่งตัวอย่าง
ไม่ใช่เครื่องมือประกันคุณภาพของลูกค้าแต่อย่างใด หากแต่เป็นเครื่องมือที่ผู้ผลิ ตใช้ในวิธีการส่ง เสริมการ
พัฒนาการควบคุมกระบวนการ ซึ่งการใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับนี้ จะสามารถใช้ได้ 2 แนวทาง
ที่แตกต่างกัน คือ
1. การควบคุมผลิตภัณฑ์ หมายถึง การยอมรับลอตหรือแบช (Batch) จานวนหนึ่ง โดยวิธีการนี้จะประยุกต์ใช้
กับลอตหรือแบชที่มีการระบุจานวนไว้ชัดเจน
2. การควบคุมกระบวนการ หมายถึง การยอมรับกระบวนการ โดยวิธีนี้แผนการชักสิ่งตัวอย่างจะป้อนกลับ
สารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการของผู้ผลิต ซึ่งเปรียบเหมือนถ่ายภาพ (Snapshot) ของกระบวนการ ในขณะที่
แผนภูมิควบคุมจะเปรียบเหมือนฟิล์มภาพยนตร์ของกระบวนการ
Schilling and Neubauer (2009) ได้นาเสนอว่าหากมีการจัดแผนการชักสิ่งตัวอย่างที่ดีแล้ว แผนการชัก
สิ่งตัวอย่างนี้จะเหมาะสาหรับ
(1) การป้องกันผู้บริโภคจากการรับของไร้คุณภาพ
(2) การป้องกันผู้ผลิตจากการผลิตของไร้คุณภาพ
(3) ทาประวัติคุณภาพเพื่อการตัดสินใจ
(4) การป้อนกลับสารสนเทศเพื่อการควบคุมกระบวนการ
(5) สร้ า งอ านาจทางเศรษฐศาสตร์ จิ ตวิ ท ยา และกลยุ ทธ์ ส าหรับ ผู้ ผ ลิ ตในการปรับ ปรุ งคุ ณ ภาพของ
กระบวนการผลิต
238 การควบคุมคุณภาพ

อย่างไรก็ตามในการดาเนินการใช้แผนชักสิ่งตัวอย่างให้เกิดผลดังกล่าวนี้ จะต้องมีการดาเนินการดังนี้
1. การมีข้อมูลที่ดี
2. การได้รับมาซึ่งสารสนเทศที่รวดเร็ว
3. การสร้างแรงจูงใจต่อผู้ผลิตให้ได้คุณภาพที่ระดับพึงพอใจ
4. การมีประวัติคุณภาพที่ดี ซึ่งได้มาจากการจดบันทึกตามปริมาณการตรวจสอบ

ตารางที่ 6.1 เกณฑ์การเลือกแผนการโดยใช้ประวัติคุณภาพ

ประวัติคณ
ุ ภาพ
ผลที่ผา่ นมา เกณฑ์
เล็กน้อย ปานกลาง มาก
เกือบไม่มีการ
แผนการ AQL
ดีเลิศ แผนการ AQL เลิกตรวจสอบ ปฎิเสธลอต
พร้อมทาการสะสมผล
(< 1% )
มีลอตเพียงเล็กน้อย
แผนการ AQL
พอใช้ แผนการ LQ แผนการ AQL ได้รับการปฎิเสธ
พร้อมทาการสะสมผล
(< 10%)
ยุติการตรวจสอบเพื่อการ มีลอตจานวนมากได้รับ
แย่ ตรวจสอบ 100% LQ ยอมรับ การปฎิเสธ
( ≥ 10% )
จานวน < 10 ลอต 10-50 ลอต >50 ลอต

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540

ในการสร้างประวัติคุณภาพตามการตรวจสอบนี้ สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เพื่อการยอมรับที่เหมาะสมได้ และถ้าหากผู้ผลิตมีการวางแผนค่าพิกัดของระดับคุณภาพที่ไม่สามารถให้การ
ยอมรับได้ (Limiting Quality: LQ) แล้วเปลี่ยนเป็นแผนการชักตัวอย่างระบุโดยขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ
(Average Quality Level: AQL) ภายหลังการพัฒนาจนได้คุณภาพที่ดีแล้ว และเมื่อคุณภาพได้รับการพัฒนา
จนอยู่ในระดับดีเลิศแล้ว ก็ให้เปลี่ยนการตรวจสอบจากแบบลอตต่อลอต (Lot by Lot) เป็นแผนการตรวจสอบ
แบบบางลอต (Skip Lot) ดังแสดงในตารางที่ 6.1
อย่างไรก็ตามเนื่องจากมาตรฐาน MIL-STD-105E (ดังจะกล่าวต่อไป) เป็นมาตรฐานที่เน้น AQL ซึ่งเท่ากับเป็น
การประกันคุณภาพในการยอมรับเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีนั้น จะใช้อย่างได้ผลก็ต่อเมื่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค
มีการควบคุมคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมแล้ว ดังแสดงในรูปที่ 6.1
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 239

100

สัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่อง
เนื้อหาของการควบคุม

50

0
AQL LQ

ทิศทางการตรวจสอบตามประสบการณ์

Skip-lot AQL AOQL


เลิกตรวจสอบ ตรวจสอบ 100%

รูปที่ 6.1 ความสัมพันธ์เชิงทวีประโยชน์ของการควบคุมเพื่อการยอมรับและการควบคุมกระบวนการ


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

จากรูปดังกล่าวจะพบว่า ในขณะที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับคุณภาพของลอตที่ทาการตรวจสอบเลยควรจะ
เริ่มต้นการตรวจสอบ 100% พร้อมกับการทาประวัติคุณภาพไปด้วย และควรจะเริ่มต้นใช้แผนการตรวจสอบ
แบบชักสิ่งตัวอย่างลอตต่อลอตด้วยการประกันไม่ยอมลอตคุณภาพที่ไม่ดี คือ LQ ในขณะที่มีการประกัน
คุณภาพดังกล่าวจะต้องมีการประเมินด้วยระดับ AOQL ควบคู่ไปกับการกระตุ้นให้ผู้ผลิตลอตทาการปรับปรุง
คุณภาพ และเมื่อระดับของการควบคุมคุณภาพอยู่ครึ่ง ต่อครึ่งระหว่างการควบคุมคุณภาพของกระบวนการ
(ผู้ผลิต) กับการควบคุมคุณภาพเพื่อการยอมรับ (ผู้ซื้อ) จึงสามารถใช้ การตรวจสอบแบบชักสิ่งตัวอย่างลอต
ต่อลอตด้วยแผนการ AQL ตามมาตรฐาน MIL-STD-105E ได้ และหากว่าเมื่อใดที่มีการพัฒนาคุณภาพด้วย
การควบคุมคุณภาพของกระบวนการผลิตมากยิ่งขึ้นก็จะสามารถทาการตรวจสอบแบบตรวจบางลอตได้โดย
ปกติ ประเภทการควบคุมคุณภาพเพื่อการยอมรับจาแนกเป็น 4 ประเภท คือ
1. การตรวจสอบแบบ 100% หมายถึง การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทีละหน่วย
2. การตรวจสอบแบบครั้งคราว (Spot–check Inspection) หมายถึง การตรวจสอบแบบเลือกตามใจ
ชอบโดยมิได้วางอยู่บนเกณฑ์ด้านวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การตรวจสอบงานชิ้นแรก (First–item Inspection)
การตรวจสอบงานชิ้นสุดท้าย (End–item Inspection) และการตรวจสอบแบบสุ่ม (Random Inspection)
เป็นต้น
3. การให้คารับรอง (Certification) หมายถึง การควบคุมคุณภาพเพื่อการยอมรับโดยการให้วิศวกร หรือ
สถาบันที่ลูกค้าให้ยอมรับเป็นผู้ออกใบประกาศนียบัตรรับรองคุณภาพให้ ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยยังมีสถาบัน
240 การควบคุมคุณภาพ

ดังกล่าวไม่มากนัก โดยส่วนใหญ่จะเป็นสถาบันภาคราชการ แต่ในอนาคตจะมีสถาบันเอกชนที่ทาธุรกิจด้านนี้


เพิ่มมากขึ้นตามจานวนความต้องการที่มีแนวโน้มขึ้นโดยลาดับ
4. การชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ (Acceptance Sampling) หมายถึง การตรวจสอบสิ่งตัวอย่าง
(Sample) ที่เลือกขึ้นมาจากงานทั้งหมดด้วยวิธีทางสถิติ ตามกฎของความน่าจะเป็น (Probability) และอาศัย
คุณลักษณะของสิ่งตัวอย่างที่ตรวจสอบได้ในการอธิบายคุณลักษณะของชิ้นงานทั้งหมดที่ต้องการตัดสินใจ
การเลื อ กวิ ธี ก ารควบคุ ม คุ ณ ภาพเพื่ อ การยอมรั บ ที่ เ หมาะสมนั้ น จะต้ อ งอาศั ย การวิ เ คราะห์ ท าง
เศรษฐศาสตร์ โดยกาหนดจุดคุณภาพเท่ากัน (Break–even Quality) ได้จาก
I
Pb = …(6.1)
A

เมื่อ Pb คือ ระดับคุณภาพที่ทาให้วิธีการตรวจสอบคุณภาพให้ผลเหมือนกัน


I คือ ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบต่อหน่วย
A คือ ความเสียหายอันเนื่องมาจากมีข้อบกพร่องหลุดรอดจากการตรวจสอบ

โดยถ้าหากไม่ได้มีการตรวจสอบหรือการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ และระดับคุณภาพของลอต (P) มี


ค่าต่ากว่า Pb แล้วค่าใช้จ่ายทั้งหมดจะต่าที่สุด แต่ถ้าหากระดับของลอตมีค่ามากกว่า Pb แล้วการตรวจสอบ
แบบ 100% จะให้ผลดีที่สุดในเชิงเศรษฐศาสตร์

ตารางที่ 6.2 การเปรียบเทียบประเภทของการควบคุมคุณภาพเพื่อการยอมรับ

ประเภทของ ข้อดี ข้อเสีย


การควบคุม
การตรวจสอบ  ในทางทฤษฎีแล้วเชื่อว่าจะเป็นวิธที ี่ทาให้  ในทางปฏิบัติแล้วไม่สามารถประกันได้
แบบ 100% ได้ผลที่ปลอดข้อบกพร่อง ว่าไม่มีข้อบกพร่อง เนื่องจากความล้า
ของพนักงานและการเสื่อมสภาพของ
อุปกรณ์
 ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสูงมาก
การตรวจสอบ  ใช้ได้ในกรณีที่มผี ลการตรวจมิได้มผี ลทาง  ผลการตรวจสอบไม่สามารถอธิบายถึง
เป็นครั้งคราว คุณภาพที่รุนแรงมากนัก คุณลักษณะของชิ้นงานทั้งหมดที่
 ประหยัดที่สุด ต้องการตัดสินใจได้

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540


บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 241

ตารางที่ 6.2 การเปรียบเทียบประเภทของการควบคุมคุณภาพเพื่อการยอมรับ (ต่อ)

ประเภทของ ข้อดี ข้อเสีย


การควบคุม
การให้คา  ไม่มีปญ ั หาในการจัดการ เนื่องจากเป็น  มีความเสี่ยงต่อการทาธุรกิจ ทั้งนี้เพราะว่า
รับรอง วิธีที่ขึ้นอยู่กับความเชื่อถือเป็นลูกค้ามี คุณภาพของยี่ห้อจะมีผลอย่างมากต่อการ
ต่อตรา (Mark) หรือคารับรองสถาบัน ตัดสินใจทาธุรกิจของลูกค้า
ที่ออกให้
การชักสิ่ง  เป็นวิธีการที่ค่อนข้างประหยัด  มีความเสี่ยงในการตัดสินใจเกี่ยวกับ
ตัวอย่างเพื่อ  เป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะใช้เวลาในการ คุณลักษณะของชิ้นงานทั้งหมดที่ตอ้ งการ
การยอมรับ ตรวจสอบน้อย ทาให้พนักงานไม่ลา้  ไม่ได้ให้รายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับ
 ให้ผลที่น่าเชื่อถือโดยการอธิบายผ่าน คุณลักษณะของชิ้นงานที่ต้องการตัดสินใจ
กฎของความน่าจะเป็น
 การทาลายผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้รับการ
ตรวจสอบต่า
 ให้ผู้ผลิตและผูซ้ ื้อสามารถเจรจาต่อรอง
ราคากันได้โดยอาศัยการพิจารณาจาก
ความเสีย่ งของแผนการ
 เหมาะกับกรณีการตรวจสอบแบบ
ทาลาย

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540

6.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เทคนิคของการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ เป็นเทคนิคที่ประยุกต์หลัก
สถิติศาสตร์และความน่าจะเป็นในการเลือกสิ่งตัวอย่างที่ต้องการตัดสินใจ (ทางสถิติเรียกว่า ประชากร) และ
อาศัย การอนุมานทางสถิติ ศาสตร์ (Statistical Inference) เพื่อการตัดสินใจโดยวิธีการทดสอบสมมุติฐาน
(Test of Hypothesis) เพื่อพิจารณาว่าคุณสมบัติของประชากรนั้นควรได้รับการยอมรับ (Accept) หรือไม่
ดังแสดงในรูปที่ 6.2
242 การควบคุมคุณภาพ

ประชากร การชักสิ่งตัวอย่าง สิ่งตัวอย่าง


(ลอต/กระบวนการ)  กฎของการสุ่ม
 ขนาดสิ่งตัวอย่าง

การตัดสินใจเพื่อการยอมรับ การนับการวัด

ข้อมูล
บทสรุป
การทดสอบสมมติฐาน  เชิงคุณภาพ
 เชิงผันแปร
 ความน่าจะเป็น

รูปที่ 6.2 กระบวนการของการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

จากรูปที่ 6.2 แสดงถึงกระบวนการของการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ หากจะจาแนกเทคนิคของแผนการ


ชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับด้วยลักษณะของประชากรและประเภทของข้อมูล สามารถจาแนกได้ ดังรูปที่ 6.3

แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

แบบเชิงคุณภาพ (Attribute) แบบเชิงแปรผัน (Variable)

ลอตต่อลอต แบบต่อเนื่อง ลอตต่อลอต กระบวนการผลิต

รูปที่ 6.3 ประเภทของการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับแบบเชิงคุณภาพ หมายถึง แผนการชักสิ่งตัวอย่างที่ใช้การนับสิ่งตัวอย่าง


ด้วยการจาแนก (Classification) ออกตามลักษณะทางคุณภาพ ซึ่งมีความเหมาะสมอย่างมากต่อคุณลักษณะทาง
คุณภาพประเภทอาศัยความรู้สึก (Sensory) และประเภทความสวยงาม (Cosmetic) โดยสามารถใช้ได้กับลักษณะ
ทางคุณภาพทางเคมี กายภาพ และจุลชีววิทยา ที่ต้องการความรวดเร็วในการตรวจสอบ กล่าวคือมีการจาแนก
ออกเป็น ผ่าน (Go) กับไม่ผ่าน (No Go) เท่านั้น อย่างไรก็ตามแผนการชักสิ่งตัวอย่างประเภทนี้มีข้อเสียที่ไม่
สามารถให้รายละเอียดเกี่ยวกับคุณลักษณะทางคุณภาพที่ต้องการตัดสินใจมากนัก
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 243

สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับแบบเชิงแปรผัน หมายถึง แผนการวัดสิ่งตัวอย่างที่ต้องอาศัย


หลักในการวัด ดังนั้นคุณลักษณะทางคุณภาพจึ งต้องเป็นคุณลักษณะทางด้านเคมี กายภาพ และจุลชีววิทยา
โดยแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบนี้จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับคุณลักษณะทางคุณภาพที่ต้องการตัดสินใจได้มาก
แต่ก็มีข้อเสีย คือ ข้อมูลทีใ่ ช้สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างประเภทนี้จะมีค่าใช้จ่าย และเวลาที่สูงกว่าข้อมูลเชิง
คุณภาพ

6.2 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพ
6.2.1 แผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว (Single Sampling Plans)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) การสร้างแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคุณภาพ (Attribute) กระทาได้จาก
การคานวณ และใช้กราฟ โดยสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องจะมีดังนี้
ตารางที่ 6.3 สัญลักษณ์สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคุณภาพ

คาศัพท์ สัญลักษณ์หรือคาย่อ คาจากัดความ


Lot size N จานวนหน่วยของลอต
Sample size n จานวนหน่วยของตัวอย่าง
Fraction Defective P อัตราส่วนของเสียในลอต
Probability of acceptance Pa โอกาสที่จะยอมรับสินค้าทั้งลอตหรือของกระบวนการผลิต
Operating Characteristic Curve OC Curve กราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสการยอมรับกับ
คุณภาพของลอตหรือกระบวนการผลิต
Acceptance number Ac จานวนของเสียมากที่สุดที่จะยอมให้มีได้ในการตรวจรับ
เพื่อการยอมรับสินค้าในลอตนั้น
Rejection number Re จานวนของเสียต่าสุด ในการตรวจรับ เมื่อพบของเสียใน
ขณะนี้หรือมากกว่า จะปฏิเสธสินค้าทั้งลอต
Acceptable Quality Level AQL or P1 เปอร์ เซ็ นต์ ของเสียมากที่สุ ดยอมให้มีไ ด้ในกระบวนการ
ผลิต หรือนั่นคือระดับคุณภาพที่ยอมรับได้
Producer’s Risk PR or α โอกาสหรื อ ความเสี่ ย งของผู้ ผ ลิ ต ที่ จ ะถู ก ปฏิ เ สธสิ น ค้ า
ในลอตนั้ น ๆ ที่ เ ป็ น สิ น ค้ า มี คุ ณ ภาพดี ห รื อ เรี ย กว่ า ความ
ผิดพลาดแบบที่ 1 ( ใช้ร่วมกับ AQL)
Average Outgoing Quality AOQ คุ ณ ภาพโดยเฉลี่ ย ของสิ น ค้ า ลอตที่ ถู ก ปฏิ เ สธจากการ
ตรวจสอบ 100% และของเสียนั้นได้ถูกแทนที่โดยของดี
แล้ว
Average Outgoing Quality AOQL ค่าสูงสุดของ AOQ สาหรับแผนการสุ่มตัวอย่างหนึ่ง
Limit

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540


244 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 6.3 สัญลักษณ์สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคุณภาพ (ต่อ)

คาศัพท์ สัญลักษณ์หรือคาย่อ คาจากัดความ


Indifference Quality P0.5 เปอร์เซ็นต์ของเสียที่มีโอกาสยอมรับ 50%
Average Sampling Number ASN จานวนตัวอย่างโดยเฉลี่ยของการชักสิ่งตัวอย่างจนกระทั่ง
ทราบผลว่ายอมรับหรือปฏิเสธ
Average Total Inspection ATI จานวนตรวจสอบโดยเฉลี่ยต่อลอตรวมทั้งจานวนทั้งหมด
ในลอตที่ ถู ก ปฏิ เ สธด้ ว ย (จะใช้ เ มื่ อ ผู้ ผ ลิ ต ขอให้ ท าการ
ตรวจสอบลอตที่ถูกปฏิเสธแบบตรวจสอบ 100%)
Process Average 1 จ านวนของเสี ย โดยเฉลี่ ย ของตั ว อย่ า งที่ ต รวจสอบ
P (คานวณจากตัวอย่างแรกเท่านั้น)
Lot Tolerance Percent LTPD or P2 เปอร์เซ็นต์ของเสียที่ปนอยู่ในลอตที่ได้รับการยอมรับ ทั้งๆ
Defective ที่ควรปฏิเสธ
Consumer’s Risk CR or β โอกาสหรือความเสี่ยงของผู้บริโภคในการยอมรับสินค้าที่มี
คุณภาพต่าทั้งๆที่ควรปฏิเสธ เป็นความผิดพลาดแบบ 2
(นิยมใช้ร่วมกับ LTPD)

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540


6.2.1.1 หลักการของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว
เมื่อแบ่งสิน ค้าออกเป็นลอตๆ แล้ว จะมีการสุ่มตัวอย่างขึ้นมาเท่ากับจานวน n ชิ้นแล้ว
ตรวจดูว่าในตัวอย่างนี้มีสินค้าที่ แย่ (คุณภาพเป็นที่ไม่ยอมรับหรือถือว่าเป็นของเสีย) มีอยู่จานวนกี่ชิ้น หรือถ้า
เกินกว่า c ชิ้น จะปฏิเสธหรือไม่ยอมรับสิ นค้านั้นทั้งลอต ซึ่งสินค้าลอตอื่นๆ ก็ตรวจสอบในทานองเดียวกัน
การตรวจรับสินค้าลักษณะนี้เรียกว่า แผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว เขียนเป็นแผนภูมิดังแสดงในรูปที่ 6.4
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว
n, c
P

ลอตสินค้า จานวนชิ้นเสีย: x ยอมรับ

X: จานวนของเสียที่พบในตัวอย่าง
ปฏิเสธ P: อัตราส่วนของเสียของสินค้าในลอต

รูปที่ 6.4 แผนภูมิการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 245

6.2.1.2 การสร้างแผนภาพชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (Design of Sampling Plan)


การหาค่าของ n และ c ถ้าหากไม่ได้มีการตรวจสอบหรือการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
ลักษณะของแผนการชักสิ่งตัวอย่างจะมีค่าที่สาคัญอยู่ 4 ค่า คือ
AQL หรือ P1 เป็นเปอร์เซ็นต์ของเสียที่จะปนอยู่ในสินค้าที่ผลิตได้ ผู้ผลิตจึงพยายามให้มี
เปอร์เซ็นต์ต่า
α หรือ ความเสี่ยงของผู้ผลิต คือ โอกาสที่จะถูกปฏิเสธสินค้าตอลดทั้งที่ควรยอมรับ
LTPD หรือ P2 เป็นเปอร์เซ็นต์ของเสียที่ปนอยู่ในสิ นค้าลอตที่ได้รับการยอมรับทั้งๆ ที่ควร
ถูกปฏิเสธ ทาให้ผู้บริโภคต้องยอมรับสินค้าคุณภาพที่ต่ากว่ากาหนดจึงควรให้ P2 มากกว่า P1 มากๆ เพื่อให้มี
โอกาสยอมรับต่า
β หรือ ความเสี่ยงของผู้บริโภค คือ โอกาสที่จะยอมรับสินค้าคุณภาพต่า
ดังนั้น ในการกาหนดแผนการชักสิ่งตัวอย่างจึงต้องตกลงกันระหว่างผู้ผลิต และผู้บริโภค
กาหนดค่าต่างๆ ขึ้นให้เป็นที่พอใจกันทั้งสองฝ่าย

ตัวอย่างที่ 6.1
กาหนดให้ค่า AQL= P1 = 0.02 หรือ 2% และ α = 0.05 (นั่นคือถ้าฝ่ายผลิตกาหนดคุณภาพลอต
ที่จะยอมรับเป็น 0.02 แล้วต้องการให้ 5 จาก100 ลอตเท่านั้นที่จะถูกปฏิเสธ)
ให้ LTPD = P2 = 0.06 หรือ 6% และ β = 0.10 (นั่นคือฝ่ายผู้บริโภคกาหนดคุณภาพขั้นต่าที่จะ
ยอมรั บ เพีย ง 0.06 แล้ ว ต้องการให้ 10 จาก 100 ลอตเท่านั้นที่จะผิ ดพลาดยอมรับรุ่ นคุณภาพต่า) จงหา
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (ให้หา n, c นั่นเอง) (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
วิธีทา
วิธีการหาแผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ ทดลองกาหนดค่า c ขึ้นมาเป็น 0, 1, 2, … (เรียกว่าการ Trial
and Error) แล้วหาค่า nP จากตารางปัวส์ซอง (ภาคผนวก ก.) และจากนั้นหาสัดส่วนของ P2/P1 ใกล้เคียง
กับที่โจทย์กาหนดแล้วหาค่า n ได้ จากนั้นเลือกค่า n, c ที่จะให้ค่าผิดพลาด (Error) ของ α และ β น้อยที่สุด
ดังวิธีต่อไปนี้
กาหนด AQL = P1 = 0.02, LTPD = P2 = 0.06, α = 0.05, β = 0.10
LTPD P 0.06
= 2 = =3
AQL P1 0.02

1. ให้ c = 0, α = 0.05, β = 0.10


เมื่อ α = 0.05 ได้ (Pa)P = 1-α = 1-0.05 = 0.95
2

เมื่อ β = 0.10 ได้ (Pa) = β = 0.01


P2

จากตารางปัวส์ซองเมื่อ Pa = 0.95, c = 0 จะได้ค่า nP1' = 0.05


nP2' P2' 2.31
อัตราส่วน '
= '
= = 46.20
nP1 P1 0.05
246 การควบคุมคุณภาพ

2. ให้ c = 1, α = 0.05, β = 0.01


(Pa) p = 1 - 0.05 = 0.95
1

(Pa) P = β = 0.10
2

จากตารางปัวส์ซอง Pa = 0.95, c = 1 จะได้ค่า nP1' = 0.35


Pa = 0.10, c = 1 จะได้ค่า nP2' = 3.89
nP2' P2' 3.89
อัตราสัดส่วน '
= '
= = 11.11
nP1 P1 0.35
P2'
จะเห็นว่า ลดลงเมื่อ c สูงขึ้น
P1'
ในทานองเดียวกัน กาหนดค่า c = 2, 3, 4,… และหาค่า nP จากตารางปัวส์ซองและเมื่อเทียบกับ
'

อัตราส่วน P /P แล้วได้ค่าใกล้เคียงกับ 3 เมื่อไหร่ให้หยุด ดังผลสรุปในตารางที่ 6.4


'
2 1
'

ตารางที่ 6.4 สรุปการหาสัดส่วน P2' /P1' โดยสมมุติค่า c

' '
nP1 nP2
c ' '
P2 /P1
(Pa = 0.95) (Pa = 0.10)

0 0.05 2.31 46.20


1 0.35 3.89 11.11
2 0.82 5.33 6.50
3 1.36 6.68 4.91
4 1.97 8.00 4.06
5 2.61 9.30 3.56
6 3.28 10.54 3.21
7 3.98 11.79 3.96

จากตารางที่ 6.4 จะเห็นว่าสัดส่วน P /P จะใกล้เคียงกับโจทย์ คือ 3 เมื่อ c = 6 และ 7 ขั้นต่อไปคือ


'
2
'
1

หาค่า n โดยกาหนดค่า α ค่าคงที่หนึ่ง และหาค่า β' จากตารางปัวส์ซอง แล้วเทียบกับค่า β จากที่


กาหนดให้ หรือหาค่า n โดยกาหนด β คงที่ค่าหนึ่ง แล้วหาค่า α' จากตารางปัวส์ซองแล้วเทียบกับค่าจากที่
กาหนดให้ จากนั้นเลือกแผนการชักตัวอย่าง (n, c) จากผลต่าง ( Δα หรือ Δβ ) ที่ให้ผิดพลาดน้อยที่สุด
รายละเอียดการคานวณเป็นดังนี้
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 247

แผนที่ 1 เลือก c = 6 กาหนด α = 0.05 ที่ P1 = 0.02 (กาหนด α จะหา β ) '

nP1 3.28
ดังนั้น n= = = 164
P1 0.02

nP2 = 164(0.06) = 9.84

จากตารางปัวส์ซองเมื่อ c = 6, nP2 = 9.84 จะได้ค่า Pa = 0.141 = β


'

แผนที่ 2 เลือก c = 6 กาหนด β = 0.10 ที่ P2 = 0.06 (กาหนด β เพื่อหา α' )


nP2 10.54
ดังนั้น n= = = 175.67  176
p2 0.06

nP2 = 176(0.02) = 3.52

จากตารางปัวส์ซองเมื่อ c = 6, nP1 = 3.52 ได้ Pa = 0.933

α' = 1 - Pa = 1 - 0.933 = 0.067

แผนที่ 3 เลือก c = 7 กาหนด α = 0.05 ที่ P1 = 0.02


nP1 3.98
ดังนั้น n= = = 199
p1 0.02

nP2 = 199(0.06) = 11.94

จากตารางปัวส์ซองเมื่อ c = 7, nP2 = 11.94 ได้ค่า Pa = 0.093 = β'

แผนที่ 4 เลือก c = 7 กาหนด β = 0.10 ที่ P2 = 0.06


nP2 11.79
ดังนั้น n= = = 196.5  197
P2 0.06

nP1 = 197(0.02) = 3.94

จากตารางปัวส์ซองเมื่อ c = 7, nP1 = 3.94 ได้ Pa = 0.952 α' = 1 - Pa = 1 - 0.952 = 0.952


248 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 6.5 สรุปผลการชักสิ่งตัวอย่างทั้ง 4 แบบ

แผน c, n α ที่ P1 β ที่ P2 Δα หรือ Δβ

1 c = 6, n = 164 0.050 0.141 Δβ = 0.041


2 c = 6, n = 176 0.067 0.100 Δβ = 0.017
3 c = 7, n = 199 0.050 0.093 Δβ = 0.007
*4 c = 7, n = 197 0.048 0.100 Δα = 0.002* ต่าสุด

จากตารางที่ 6.5 จะเห็นว่าจากตารางแผนทั้ง 4 แผนที่ 4 ให้ค่าผลต่างน้อยที่สุดหรือค่าผิดพลาดต่าสุด


จึงเลือกแผนนี้เป็นแผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ ชักตัวอย่างขนาด 197 ชิ้นจากลอต
ถ้าพบว่ามีของเสียเกิน 7 ชิ้น ก็ให้ปฏิเสธลอตนั้นเสีย
ถ้าของเสียมีน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 ชิ้น จะยอมรับสินค้าทั้งลอต ให้ใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างกับสินค้า
ทุกๆ ลอตตลอดไปสาหรับเงื่อนไข AQL = 0.02, LTPD = 0.06, α = 0.05, β = 0.10 จนกว่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขใหม่จึงจะเปลี่ยนแผนใหม่
6.2.1.3 การออกแบบแผนชักตัวอย่างเชิงเดียวด้วยโนโมกราฟ
พิชิต สุขเจริญพงษ์ (2541) โนโมกราฟ (Nomograph) ใช้เพื่อช่วยในการออกแบบแผนชัก
ตัวอย่างเชิงเดี่ยวซึ่งมีการแจกแจงแบบทวินาม ดังแสดงในรูปที่ 6.5 การใช้โนโมกราฟทาโดยลากเส้น 2 เส้น
เส้นหนึ่งเชื่อมระหว่าง p1 และ (1-α) อีกเส้นหนึ่งเชื่องระหว่าง p2 และ β แล้วอ่านค่า n และ c จากเส้นตัดใน
กราฟ

รูปที่ 6.5 โมโนกราฟของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว


(ที่มา: Montgomery D.C., 2009)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 249

ตัวอย่างที่ 6.2
ถ้าต้องการแผนชักตัวอย่างที่มีข้อกาหนดดังต่อไปนี้ คือ α = 0.05, β = 0.20, AQL = 0.02 และ
LTPD = 0.08
วิธีทา จากโนโมกราฟรูปที่ 6.5 จะได้จุดตัดของเส้นตรงทั้งสองที่ n = 80 และ c = 3

P n = 80 และ c = 3

Pa

6.2.2 แผนการชักตัวอย่างเชิงคู่ (Double Sampling plan)


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่มีโอกาสที่จะตัดสินจากการชักตัวอย่างถึงสอง
ครั้ง ลอตของสินค้าจะได้รับการยอมรับทันทีในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกถ้ามีคุณภาพดีพอ และจะถูกปฏิเสธ
ในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกนี้เช่นกันถ้าคุณภาพแย่เกินไป แต่ถ้าการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกจะยังตัดสินใจไม่ได้
จึงต้องชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่สองเพื่อการตัดสิน จึงต้องชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่สองเพื่อการตัดสินใจ
250 การควบคุมคุณภาพ

โดยทั่ว ไปแผนการชักสิ่งตัว อย่ างเชิงคู่ใช้จานวนตัวอย่างในการตรวจสอบน้อยกว่าแผนการชักสิ่ ง


ตัวอย่างเชิงเดี่ยว และอีกอย่างหนึ่งในการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ยังมีผลเชิงจิตวิทยาด้วย ในเมื่อถูกปฏิเสธทาให้
ต้องชักตัวอย่างถึงสองครั้งแต่ก็ได้มีความยุ่งยากกว่า ดังแสดงในรูปที่ 6.6
แผน แผน
n1, c1 n2, c2

x1 + x2 ≤ c2

P ตัวอย่าง c1 < x1 ≤ c2 Pa2


ลอตของสินค้า: N ตัวอย่างครั้งที่ 2 ยอมรับลอต
ครั้งที่ 1
x1 ≤ c1 x1 > c2 x1 + x2 > c2
Pr2
Pa1 Pr1
ยอมรับลอต ปฏิเสธลอต ปฏิเสธลอต

รูปที่ 6.6 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
n1 = จานวนชิ้นในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรก
c1 = จานวนของเสียที่ยอมให้มีได้ในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกถ้าจานวนตัวอย่างที่ชัก
ขึ้นมาครั้งแรก จานวน n1 ชิ้น มีของเสียอยู่เท่ากับหรือน้อยกว่า c1 ชิ้นก็จะยอมให้
รับของนั้นทั้งลอต
x1 = จานวนของเสียที่พบในการชักตัวอย่างครั้งแรก
Pa1 = โอกาสในการยอมรับสินค้าในการชักตัวอย่างครั้งแรกเมื่อ x1≤c1
c2 = จ านวนของเสี ย ทั้ งหมดในการชั กตั ว อย่ า งทั้ ง สองครั้ ง ที่ ยอมให้ มี ได้ ใ นสิ น ค้า ถ้ า
จานวนของเสียในการชักทั้งสองครั้งรวมกันน้อยกว่าหรือเท่ากับ c2 ก็จะยอมรับ
สินค้าทั้งลอต แต่ถ้ามากกว่า c2 ก็จะปฏิเสธ
Pr1 = โอกาสในการปฏิเสธสินค้าทั้งลอตในการชักตัวอย่างครั้งที่หนึ่ง เมื่อ x1>c2
n2 = จานวนตัวอย่างในการชักตัวอย่างครั้งที่สอง
Pa2 = โอกาสในการยอมรับสินค้าในการชักตัวอย่างครั้งที่สอง เมื่อ x1+x2≤c2
Pr2 = โอกาสในการปฏิเสธสินค้าทั้งลอตในการชักตัวอย่างครั้งที่สองเมื่อ x1+x2>c2
x2 = จานวนของเสียที่พบในการชักตัวอย่างครั้งที่สอง
ถ้าแผนการชักตัวอย่างเป็นดังนี้ n1 = 36, c1 = 0, n2 = 59, c2 = 3 โอกาสในการยอมรับลอตอาจ
เกิดขึ้นได้ในกรณีหนึ่งกรณีใดดังนี้
1. การชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกพบของเสียศูนย์ชิ้น
2. การชักตัวอย่างครั้งแรกพบของเสีย 1 ชิ้น การชักสิ่งตัวอย่างที่ 2 พบของเสีย 0, 1 หรือ 2 ชิ้น
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 251

3. การชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกพบของเสีย 2 ชิ้น การชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 2 พบของเสีย 0 หรือ 1 ชิ้น


4. การชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกพบของเสีย 3 ชิ้น การชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 2 พบของเสีย 0 ชิ้น
6.2.2.1 การหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) การหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ที่กาหนดค่า AQL(P1), LTPD
(P2), α และ β นั้นมีลักษณะเหมือนกับการหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว คือ ต้องหาอัตราส่วน P2/P1 ว่า
เป็นเท่าไร แล้วทดลองสมมติค่าจนกว่าได้อัตราส่วน P2/P1 ที่ใกล้เคียงกับโจทย์ แต่การหาแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างเชิงคู่มีความยุ่งยากกว่าของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวมาก และค่าที่กาหนดมาคือ P1, P2, α
และ β ยังไม่พอต้องกาหนดความสัมพันธ์ของ n1 และ n2 ด้วยว่าเป็นเท่าใด เช่น n2 = an1 (a เป็นเลขจานวน
เต็มบวกใดๆ) จากนั้นจึงสมมติค่า c1 และ c2 จนกว่าจะได้อัตราส่วน P2/P1 ใกล้เคียงกับโจทย์กาหนด
โดยพิจารณาจากตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 6.3
จงหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ (n1, c1, n2, c2) กาหนดให้ AQL(P1 ) = 1%, LTPD(P2) = 8%,
α = 0.05 และ β = 0.10 โดยมี n2 = 2n1
วิธีทา
เริ่มต้นโดยการหาอัตราส่วน P2/P1 ของโจทย์ จากนั้นให้สมมติค่า c1 และ c2 เพื่อหาค่า n1P1 และ
n1P2 จะได้ค่า P2/P1 ค่า c1, c2 ใดให้อัตราส่วน P2/P1 ใกล้เคียงกับโจทย์ก็เลือกใช้คู่นั้น ความสัมพันธ์ของ c1
และ c2 จะเป็นอย่างไรให้ดูจากความสัมพันธ์ของ n1 + n2
จากโจทย์ให้ n2 = 2n1
n1 + n2 = n1 + 2n1 = 3n1

นั่นคือ n1 + n2 เป็น 3 เท่าของ n1 ดังนั้นกาหนดให้ c2 มากกว่าหรือเท่ากับ 3 เท่า ของ c1 เช่น

c1 = 0, c2 จะเป็น 1, 2, 3, ...
c1 = 1, c2 จะเป็น 3, 4, 5, ...
c1 = 2, c2 จะเป็น 6, 7, 8, ...
เหตุผลก็คือ ถ้า c2 น้อยกว่า 3 เท่าของ c1 หมายความว่าเราจะยอมรับลอตจากตัวอย่าง n1 ชิ้น ด้วย
สัดส่วนของเสียสูงกว่าการยอมรับลอตจากการรวมทั้งสองตัวอย่าง 3n1 ชิ้น
การคานวณหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ โอกาสในการยอมรับลอต Pa = Pa1 + Pa2 โดยการหาค่า
ความน่าจะเป็นของการกระจายแบบปัวส์ซอง

e-n P  n1P   e-n P  n1P x c - x e-n P  n 2 P y 


c1 x1 c2 2

 +   
1 1 2 2 2

Pa =  …(6.2)
x1 = 0 x1! 2 
x = c +1  1
x 2! y=0 y! 
252 การควบคุมคุณภาพ

เมื่อ n 2 = 2n1

e-n P  n1P   e-n P  n1P x e-n P  2n1P  


.
c1 x1 c2 2 c2 - x 2 y

 +  
1 1 2

Pa = 
x1 = 0 x1! 
x = c +1  2
x 2!1 y=0 y! 
ให้ Z = n 1P

e-Z  Z   e-Z Zx c - x e-2Z  2Zy 


c1 x1 c2

 +   
2 2 2

Pa =  …(6.3)
x1 = 0 x1! x = c +1 
2  x 2!1 y=0 y! 

โดยวิธี Trial & Error สมมติ ให้ c1 = 0, c2 =1 แทนในสมการที่ 6.3

e-z  Z   e-z Zx e-2z  2Z  


.
x1 1 - x2 y
0 1

 + 
2

Pa = 
x1 = 0 x1!  x 2!
x =1 2 y=0 y! 
เพราะว่า 0! มีค่าเท่ากับ 1 และยกกาลังศูนย์มีค่าเท่ากับ 1
Pa = e-z + e-z Z  e-2z
= e-z + Z  e-3z …(6.4)
เมื่อ AQL = P1 = 0.01, α = 0.05
ที่ P1: Pa = 1 - 0.05 = 0.95
แทนค่า Pa ในสมการที่ 6.4 จะได้สมการที่ 6.5
0.95 = e-z + Z  e-3z …(6.5)
โดยการทดลองใส่ค่า Z พบว่า Z = 0.16 จะได้ e-z + Z  e-3z = 0.95
 Z = n1P1 = 0.16
เมื่อ LTPD = P2 = 0.08, β = 0.10
ที่ P2: Pa = 0.01
แทนค่า Pa ในสมการที่ 6.4 จะได้สมการที่ 6.6
0.10 = e-z + Z  e-3z ...(6.6)
ทดลองใส่ค่า Z พบว่า Z = 2.32 จะให้ค่าทางขวามือของสมการที่ 6.6
เท่ากับ 0.10
 Z = n1P2 = 2.32
n1P2 2.32
ดังนั้น = = 14.50
n1P1 0.16
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 253

P2
เพราะว่าที่ c1 = 0, c2 = 1 ให้ค่า = 14.50
P1
P2
แต่จากโจทย์ =8 ซึ่งไม่ใกล้เคียงกัน ดังนั้นให้การทดลองเปลี่ยนค่า c1, c2 ใหม่แล้วแทนค่าใน
P1
สมการที่ 6.3 สมมติให้ c1 = 1, c2 = 3 หมายความว่า การชักสิ่งตัวอย่างมีโอกาสที่จะพบของเสียดังนี้
1. เมื่อ x1 = 0
หรือ 2. เมื่อ x1 = 1
หรือ 3. เมื่อ x1 = 2 และ x2 = 0
หรือ 4. เมื่อ x1 = 2 และ x2 = 1
หรือ 5. เมื่อ x1 = 3 และ x2 = 0
e-Zz2  -2Z e-z .z3  -2Z
จะได้ e  2z  + e  2z    e  2z  
0 1 0
Pa = e + e  z +
-Z -Z -2Z

2!   3!  

= e-z 1+z  + e-3z  z2  1 +z+ z 


2 6

= e-z 1+z  + e-3z  z2  1 + z z ...(6.7)


2 6 
ที่ AQL = P1 = 0.01, α = 0.05

 Pa = 1- 0.05 = 0.95
แทน Pa ในสมการที่ 6.7 จะได้
1 7 
0.95 = e-z 1+z  +e-3Z  z2  + z  …(6.8)
2 6 
สมมติค่า Z = 0.5 จะได้ค่าทางขวาของสมการ = 0.97
Z = 0.6 จะได้ค่าทางขวาของสมการ = 0.95
ดังนั้น Z = 0.6 จะได้ Pa = 0.95 n1P1 = 0.16

เมื่อ LTPD = P2 = 0.08, β = 0.10


ที่ P2 = Pa = 0.10

แทน Pa = 0.10 ในสมการที่ 6.7 จะได้สมการที่ 6.9


1 7 
0.10 = e-Z (1+z) + e-3Z Z2  + z  …(6.9)
2 6 
254 การควบคุมคุณภาพ

สมมติ Z = 4.0 ลงในสมการที่ 6.9 ได้ค่าทางขวามือ = 0.093


Z = 3.89 ลงในสมการที่ 6.9 ได้ค่าทางขวามือ = 0.100
ดังนั้น z = n1P2 = 3.89
n1P2 P 3.89
= 2 = = 6.48 (ไม่เท่ากับ 8)
n1P1 P1 0.16
ทดลองสุ่มค่า c1, c2 ใหม่แล้วแทนค่าในสมการ 6.3 จนกว่าจะได้ค่า P2/P1 = 8 จึงจะหยุดสมมติ
ได้ผลการทดลองสรุป ดังแสดงในตารางที่ 6.6

ตารางที่ 6.6 สรุปผลการคานวณ

n1P1 n1P2
ทดลองครั้งที่ C1 C2 P2/P1
Pa = 0.95 Pa = 0.10
1 0 1 0.16 2.32 14.50
2 0 2 0.30 2.42 8.07*
3 0 3 0.49 2.62 5.39
4 1 3 0.60 3.89 6.48

จากตารางที่ 6.6 จะเห็นว่าค่า P2/P1 = 8.07 ใกล้เคียงกับโจทย์ที่กาหนดให้ คือ 8 มากที่สุดจึงเลือก


การทดลองที่ 2 เป็นแผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ c1 = 0, c2 = 2
n1P1 0.30
จะได้ n1 = = = 30
P1 0.01
n1P2 2.42
หรือ n1 = = = 30.25  30
P2 0.08
n1 = 2n1 = 2 30 = 60
 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ คือ n1 = 30, c1 = 0, n2 = 60, c2 = 2

6.2.2.2 การเขียนเส้นโค้ง OC รวมของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เส้นโค้ง OC รวมเกิดจากจุดของโอกาสในการยอมรับลอตของ
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ สามารถหาค่าได้จากสมการที่ 6.10

e-n P  n1P   e-n P  n1P x c - x e-n P  n 2 P y 


c1 x1 c2 2

 +   
1 1 2 2 2

Pa =  …(6.10)
x1 = 0 x1! x = c +1 
2  1
x 2! y=0 y! 
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 255

โดยการสมมติ ค่ า P ต่ างๆ จะหาโอกาสยอมรั บลอตจากตารางแจกแจงความน่ าจะเป็ น


แบบปัวส์ซองจะได้ผลลัพธ์ ดังตารางที่ 6.7

ตารางที่ 6.7 แสดงโอกาสการยอมรับลอต Pa %

Pa 1.0
P
ที่สัดส่วนของเสีย
0 1 0.8
0.01 0.95
0.02 0.80 0.6
0.03 0.61
0.04 0.43
0.05 0.30 0.4
0.06 0.21
0.07 0.14 0.2
0.08 0.10
0.09 0.08 0.0 P
0.10 0.05 0.02 0.04 0.06 0.08 0.1
n1 = 30, c1 = 0, n2 = 60, c2 = 2

รูปที่ 6.7 เส้นโค้ง OC รวมของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่

6.2.3 แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง (Multiple Sampling Plans)


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่มีโอกาสให้ตัดสินใจที่จะยอมรับหรือปฏิเสธ
ลอตโดยการชักสิ่งตัวอย่างมากกว่าสองครั้งอาจจะเป็น 3, 4, 5, ..... k ครั้ง เรียกแผนการนี้ว่า แผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างหลายเชิง เขียนเป็นแผนภูมิ ดังแสดงในรูปที่ 6.8

n1, c1 nk, ck
n2, c2 n3, c3
c1 < x1 ≤ c2 c2 < x1 ≤ c3 x ≤ c2
N, p ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ยอมรับลอต
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ n

x1 > ck x3 ≤ c3
x1 ≤ c1 x 3 > ck
x2 ≤ c2 x 2 > ck x > ck

ยอมรับ ปฏิเสธ ยอมรับ ปฏิเสธ ยอมรับ ปฏิเสธ ปฏิเสธ

รูปที่ 6.8 แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
256 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 6.4
จงเขียนเส้นโค้ง OC รวมของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ (n2, c1: n2, c2 = 30, 0: 60, 2) แผนการ
ชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่นี้ จะหมายความว่า
วิธีทา
1. ชักตัวอย่างขึ้นมาครั้งแรก 30 ชิ้น
2. ถ้าผลิตภัณฑ์ที่ชักมาครั้งแรกนี้ไม่พบของเสียจะยอมรับลอต แต่ถ้าพบของเสียมากกว่า 2 ชิ้นจะ
ปฏิเสธลอต
3. ถ้าผลิตภัณฑ์ที่ชักมาครั้งแรกนี้พบของเสียอยู่ระหว่าง 1 กับ 2 ชิ้น ต้องชักตัวอย่างครั้งที่ 2 มาอีก
60 ชิ้น
4. เมื่อชักตัวอย่างครั้งที่ 2 พบของเสียร่วมกับครั้งแรกไม่เกิ น 2 ชิ้น ให้ยอมรับผลิตภัณฑ์นั้ นทั้งลอต
แต่ถ้าพบของเสียรวมกันเกิน 2 ชิ้น จะไม่ปฏิเสธลอตนั้น
ให้ x1 และ x2 แทนจานวนของเสียที่ตรวจพบในการชักตัวอย่างชุดแรกและชุดที่ 2 ตามลาดับ ดังนั้น
การยอมรับผลิตภัณฑ์ตามแผนนี้ ถ้า
1. x1 = 0
หรือ 2. x1 = 1 และ x2 = 0
หรือ 3. x1 = 1 และ x2 = 1
หรือ 4. x1 = 2 และ x2 = 0

โดยใช้การแจกแจงปัวส์ซองตามสมการที่ 6.10 หาโอกาสในการยอมรับของเหตุการณ์ทั้ง 4 นี้ จะได้


e-30P  30P  e-30P  30P   e-30P  60P  e-60P  60P   e-30P  30P  e-60P  60P 
0 1 0 1 2 0

Pa = +  + +  
0! 1!  0! 1!  2! 0!

  30P 
2

1+30P  e 1+60P  +  e-60P 
-30P -60P
=e
 2 
= e-30P 1+30P  e-60P 1+60P+15P 
= e-30P +30P  e-90P 1+75P 

เส้นโค้ง OC รวมของแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิงสามารถสร้างได้ในทานองเดียวกับแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างเชิงคู่ คือ ใช้โอกาสที่จะยอมรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างรวมที่สัดส่วนของเสียต่างๆ
สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิงโดยทั่วไปแล้วการนา n และ c มาอธิบาย ดังตารางที่ 6.8
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 257

ตารางที่ 6.8 ตัวอย่างแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง


การชักสิ่งตัวอย่าง ขนาดของ จานวนตัวอย่าง จานวนของเสีย จานวนของเสียที่
ครั้งที่ ตัวอย่าง สะสม ที่ยอมรับได้ ปฏิเสธ
1 20 20 * 2
2 20 40 0 3
3 20 60 1 3
4 20 80 2 4
5 20 100 2 4
6 20 120 2 4
7 20 140 3 4
หมายเหตุ* การชักสิ่งตัวอย่างนี้ครัง้ แรกยังไม่มีการยอมรับลอต

6.2.3.1 การคานวณโอกาสในการยอมรับหรือปฏิเสธลอต

ตัวอย่างที่ 6.5
จากแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิงในตารางที่ 6.8 จงทาการคานวณโอกาสที่จะเกิดการยอมรับหรือ
ปฏิเสธลอตโดยคานวณที่สัดส่วนของเสีย 2% และคานวณโอกาสในการยอมรับหรือปฏิเสธของการชักสิ่งตัวอย่าง
แต่ละครั้ง (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
วิธีทา
เพื่อความสะดวกสมมติให้ขนาดของลอตนี้ใหญ่มาก เมื่อเทียบกับขนาดของตัวอย่างเมื่อชักสิ่งตัวอย่าง
ไปแล้วทาให้ของเสียในลอตมีค่าใกล้ 2% จึงสะดวกที่จะใช้ค่า nP = (20)(0.02) = 0.4 เมื่อเปิดตารางปัวส์ซอง
จะได้ค่าต่างๆ ดังนี้
โอกาสที่จะพบของเสีย 0 ชิ้น P0 = 0.670
โอกาสที่จะพบของเสีย 1 ชิ้น P1 = 0.938 – 0.670 = 0.268
โอกาสที่จะพบของเสีย 2 ชิ้น P2 = 0.992 – 0.938 = 0.054
โอกาสที่จะพบของเสีย 3 ชิ้น P3 or more = 1 – 0.992 = 0.008
การชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 1
P0 = 0.670 (ทาการชักสิ่งตัวอย่างต่อไป โดยมีของเสียที่สะสม 0 ชิ้น)
P1 = 0.268 (ทาการชักสิ่งตัวอย่างต่อไป โดยมีของเสียที่สะสม 1 ชิ้น)
P2 or more = 0.054 + 0.008 = 0.062(ปฏิเสธ) หรือ 1-0.938 = 0.938
258 การควบคุมคุณภาพ

การชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 2
P0-0 =  0.670 0.670 = 0.449 (ยอมรับ)
P0-1 =  0.670 0.268 = 0.1795
P1-0 =  0.268 0.670 = 0.1795
= 0.359 (ชักตัวอย่างต่อไป โดยมีของเสียสะสม 1 ชิ้น)
P0-2 =  0.670 0.054 = 0.036
P1-1 =  0.268 0.268 = 0.072
= 0.108 (ชักตัวอย่างต่อไป โดยมีของเสียสะสม 2 ชิ้น)
P0-3 or more =  0.670 0.008 = 0.005
P1-2 or more =  0.268 0.062 = 0.017
= 0.022 (ปฏิเสธ)
ตรวจสอบ 0.449 + 0.359 + 0.108 + 0.022 = 0.938
หมายเหตุ: โอกาสในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งต่อไป = 0.359 + 0.108 = 0.467

การชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 3
P1-0 =  0.359 0.670 = 0.241 (ยอมรับ)
P1-1 =  0.359 0.268 = 0.096
P2-0 =  0.108 0.670 = 0.072
= 0.168 (ชักตัวอย่างต่อไป โดยมีของเสียสะสม 2 ชิ้น)
P1-2 or more =  0.359 0.062 = 0.022
P2-1 or more =  0.108 0.330 = 0.036
= 0.058 (ปฏิเสธ)
ตรวจสอบ 0.241 + 0.168 + 0.058 = 0.468
โอกาสในการยอมรับหรือปฏิเสธของลอตในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งต่อไปคานวณได้ในทานองเดียวกัน
ผลสรุปได้ ดังตารางที่ 6.9
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 259

ตารางที่ 6.9 สรุปโอกาสในการยอมรับและปฏิเสธของลอตในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งต่างๆ

ตัวอย่าง โอกาส
Pa + Pr
ครั้งที่ ยอมรับ (Pa) ปฏิเสธ (Pr)
1 0.000 0.062 0.062
2 0.449 0.022 0.471
3 0.241 0.058 0.299
4 0.113 0.010 0.123
5 0.000 0.015 0.015
6 0.000 0.010 0.010
7 0.013 0.007 0.020
รวม 0.816 0.184 1.000

6.2.3.2 จานวนตัวอย่างที่ชักมาตรวจสอบโดยเฉลี่ย (Average Sampling Number: ASN)


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในการชักสิ่งตัวอย่างแบบหลายเชิงจานวนตัวอย่างที่ใช้ในการ
ตรวจสอบ อาจจะเท่ากับ n1 ถ้าหากมีการยอมรับลอตหรือปฏิเสธลอตในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 1แต่ถ้ายังไม่
มีการยอมรับหรือปฏิเสธก็จะต้องทาการชักตัวอย่างครั้งที่ 2 โดยจานวนตัวอย่างเท่ากับ n2 ซึ่งรวมทั้งสองครั้งก็
จะได้จานวนตัวอย่างเท่ากับ (n1+n2) และจะเป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีการยอมรับหรือปฏิเสธลอต
ดังนั้นจานวนตัวอย่างที่ใช้ในการตรวจสอบโดยเฉลี่ย จะคานวณได้จากโอกาสที่จะเกิดการ
ยอมรับหรือปฏิเสธลอตในการชักสิ่งตัวอย่างในแต่ละครั้งได้ดังนี้

จานวนตรวจสอบโดยเฉลี่ย (ASN) = (n)(โอกาสที่จะตัดสินไดในครั้งที่ 1) +(n1+n2)(โอกาสที่จะตัดสินได้ใน


ครั้งที่ 2) +.... +(n1+n2+ …+nk) (โอกาสที่จะตัดสินไดในครั้งที่ k)
=  n1  Pa +Pr  +  n1 +n2  Pa +Pr  +  n1 +n2 +n3  Pa + Pr  +
1 1 2 2 3 3

……. +  n1 +n2 +...+nk  Pa + Pr 


k k

…(6.11)

จากตัวอย่างที่ 6.5 จะคานวณจานวนตัวอย่างตรวจสอบโดยเฉลี่ยได้ดังนี้


ดังนั้น ASN = (20)(0.062) + (40)(0.471) + (60)(0.29) + (80)(0.123) +
(100)(0.015) + (120)(0.010) + (140)(0.020)
= 53.36 ชิ้น
260 การควบคุมคุณภาพ

6.2.4 แผนการชักสิ่งตัวอย่างมาตรฐาน 105 อี


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) มาตรฐาน MIL-STD-105E เป็นมาตรฐานที่ประกันคุณภาพด้วยระดับ AQL ซึ่ง
มีจุดเริ่มต้นจากตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างของกรมสรรพาวุธแห่งสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ.2485 จากนั้นได้มีการ
พัฒนาแผนการดังกล่าวอีกเล็กน้อยในปี พ.ศ.2488 โดยกลุ่มนักวิจัยด้านสถิติแห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย และได้มี
การพัฒนาต่อโดยกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ.2492 โดยใช้ชื่อว่า มาตรฐาน JAN (Joint Army
Navy) 105 และในปี พ.ศ.2493 มีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดของมาตรฐานเล็กน้อย
มาตรฐาน MIL-STD-105A ได้รับการเปลี่ยนแปลงอีกครั้งละเล็กน้อยในปี พ.ศ.2501 และในปี พ.ศ.2504
ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อเป็น MIL-STD-105B และ MIL-STD-105C ในระหว่างปี พ.ศ.2503 ถึง พ.ศ.2505 ได้ตั้ง
คณะทางานขึ้นมาหนึ่งชุดประกอบด้วยผู้แทนจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และแคนนาดา โดยมี G.J Keefe เป็น
ประธานคณะทางาน เพื่อทาหน้าที่ยกร่องการชักสิ่งตั วอย่างเพื่อการยอมรับสาหรับใช้ร่วมกันในประเทศทั้งสาม
และเรียกมาตรฐานนี้ว่า ABC-STD-105 (ABC มาจากภาษาอังกฤษตัวแรกของประเทศทั้งสาม คือ America Britain
Canada) และทางกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศใช้เป็นมาตรฐาน MIL-STD-105D เมื่อวันที่
29 เมษายน พ.ศ.2506 พร้อมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงอีกเล็กน้อยในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 และวันที่ 20
มีนาคม พ.ศ.2507
ในปี พ.ศ.2514 สานักมาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกาได้ยอมรับมาตรฐาน MIL-STD-105D เป็นมาตรฐาน
แห่งชาติภายใต้ชื่อ ANSI Z1.4 ต่อมาได้รับการพัฒนาแก้ไขอีกครั้งในปี พ.ศ.2524 และครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ.2536
ทางสานักงานระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน โดย ISO/TC69 ได้มีการศึกษามาตรฐาน ANSI Z1.4 พร้อมทั้งแก้ไข
อีกเล็กน้อย และประกาศเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศภายใต้ชื่อว่า ISO-2859 ในปี พ.ศ.2517 และมีการแก้ไข
ครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ.2528 สาหรับงานมาตรฐานแห่งชาติญี่ปุ่น ได้ทาการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน MIL-STD-105D
ในส่ วนของความหมายและวิ ธีการในแผนการที่ง่ายขึ้น และได้ประกาศเป็ นมาตรฐานแห่ งชาติ JIS Z9015
ในปี พ.ศ.2523
สาหรับประเทศไทยสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้มีการประกาศใช้มาตรฐาน
มอก. 465-2527 ซึ่งมีพื้นฐานจาก ISO 2859 และ MIL-STD-105D ตามประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อ
วันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2527 และยังไม่มีการแก้ไขอีกจนถึงปัจจุบันนี้ จากที่กล่าวจะเห็นว่ามาตรฐานการชักสิ่ง
ตัวอย่างเชิงคุณภาพที่มีใช้กันอยู่ทั่วไปในเวลานี้ล้วนแต่เป็นมาตรฐานที่มีความเหมือนกับมาตรฐาน MIL-STD-105D
ทั้งสิ้น
มาตรฐาน MIL-STD-105D ได้รั บการประกาศให้ เปลี่ ยนแปลงอี กครั้ ง เมื่ อวันที่ 10 พฤษภาคม
พ.ศ.2532 โดยใช้ชื่อว่า มาตรฐาน MIL-STD-105E แต่อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ.2538 ทางกระทรวงกลาโหมแห่ง
สหรัฐอเมริกาได้ประกาศเลิกใช้ MIL-STD-105E ทั้งนี้เพราะว่ามาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา คือ ANSI Z1.4
ฉบับปี พ.ศ.2536 มีความใกล้เคียงกับ MIL-STD-105E มากและแนะนาให้องค์กรคู่ค้าของกระทรวงกลาโหมหันไป
ควบคุมตามมาตรฐาน ANSI/ASQC Z1.4 แทน อย่างไรก็ตามการประกาศดังกล่าวไม่มีผลต่อองค์กรอื่นๆ แต่อย่าง
ใด
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 261

6.2.4.1 ความหมาย หลักการ และขอบเขต


Schilling and Neubauer (2009) ได้กาหนดนิยามสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่าง (Sampling
Plan) และแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่าง (Sampling Scheme) ไว้ ซึ่งเป็นนิยามที่กาหนดขึ้นโดย (Hill I. D, 1961)
ดังนี้
แผนการชักสิ่งตัวอย่าง หมายถึง ข้อกาหนดเฉพาะของกฎเกณฑ์ (Specification of the
Rules) ซึ่งใช้ในการตัดสินคุณภาพของสินค้าที่ระบุไว้ หรือหมายถึงกลยุทธ์โดยรวม (Overall Strategy) ที่ใช้
ในการกาหนดแนวทางในการใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่าง
ดังนั้นระบบการชักสิ่งตัวอย่าง (Sampling System) หมายถึง บทรวม (Collection) ของ
แบบแผนการชั ก สิ่ ง ตัว อย่ างที่ ใ ช้เ ป็ น กฎเกณฑ์ใ นการเลื อ กแผนการชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งที่เ หมาะสมมาตรฐาน
MIL-STD-105E นี้จัดได้ว่าเป็นระบบของการชักสิ่งตัวอย่าง โดยมีการรวบรวมแผนการชักตัวอย่างไว้ 15 แบบ
แผน ซึ่งแสดงการใช้อักษรในภาษาอังกฤษ A ถึง R (ยกเว้น I และ O) และ S (เฉพาะกรณีการตรวจสอบแบบ
เคร่งครัด) โดยแต่ละแบบแผนประกอบด้ วยแผนการชักสิ่งตัวอย่างจานวนมากขึ้นอยู่กับขนาด AQL ที่กาหนด
และการกาหนดให้มีกฎการสับ เปลี่ยน (Switching Rule) เป็นกลยุทธ์ที่กาหนดถึงแนวทางในการใช้แบบ
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อที่จะป้องกันลูกค้าจากการยอมรับผลิตภัณฑ์ที่บกพร่อง ตลอดจนกระตุ้นให้ผู้ผลิต
ดาเนินการปรับปรุงคุณภาพของตัวเอง ทั้งนี้เพราะโดยธรรมชาติของมาตรฐาน MIL-STD-105E ซึ่งเป็นระบบ
AQL เป็นการป้องกันความเสี่ยงของผู้ผลิตในการปฏิเสธผลิตภัณฑ์ที่ดีเท่ านั้น โดยจะไม่ป้องกันลูกค้าเลยหาก
มิได้ประยุกต์ใช้กฎการสับเปลี่ยน
ตาราง MIL-STD-105E ได้กาหนดถึงวัตถุประสงค์ของมาตรฐานนี้ไว้อย่างชัดเจนว่า เป็น
มาตรฐานที่ได้รั บการจัดทาขึ้น เพื่อใช้เป็นวิธีการและแผนในการชักสิ่งตัวอย่างจากลอตหรือแบช เพื่อการ
ตรวจสอบแบบเชิงคุณภาพ (Attribute) ซึ่งหมายถึง การตรวจสอบเพียงเพื่อระบุว่า หน่วยผลิตภัณฑ์ (Unit of
Product) ที่ได้รับการตรวจสอบเป็นผลิตภัณฑ์ที่บกพร่องหรือไม่ หรื อบ่งชี้ถึงจานวนข้อบกพร่องในหน่วย
ผลิตภัณฑ์เมื่อเปรียบเทียบกับคุณลักษณะที่กาหนดเท่านั้น (กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, 2542) นอกจากนี้แล้ว
ในมาตรฐานนี้ยังได้ระบุไว้ชัดเจนถึงการไม่ให้ใช้มาตรฐานนี้ในการตีความให้ขัดแย้งกับคู่สัญญาการค้าใดๆ และ
คาว่า การยอมรับ (Accept) ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ จะมีความหมายเพียงการยอมรับตามความต้องการของ
มาตรฐาน แต่มิได้ครอบคลุ มถึงการยอมรับทางกฎหมายหรือกฎระเบียบใดๆ ของทางราชการรวมทั้งคู่สัญญา
การค้าใดๆ แผนการชักสิ่งตัวอย่างที่ระบุในมาตรฐานฉบับนี้ ได้รับการออกแบบขึ้นเพื่อการตรวจสอบสิ่งต่อไปนี้
(1) ผลิตภัณฑ์ขั้นสาเร็จรูป (Finished Goods)
(2) ชิ้นส่วนสาหรับประกอบ และวัตถุดิบ
(3) การปฏิบัติการหรือการบริการ
(4) วัสดุในระหว่างผลิต (Material in Process)
(5) สินค้าในคลังที่รอการส่งมอบ (Supplies in Storage)
(6) การบารุงรักษา (Maintenance Operation)
(7) ข้อมูลหรือบันทึก (Data or Records)
(8) กระบวนวิธีที่ใช้ในการบริหาร (Administrative Procedures)
262 การควบคุมคุณภาพ

แผนการตรวจสอบมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ได้รับการออกแบบเพื่อการตรวจสอบลอต


หรือแบช (Lot or Batch) ที่ต่อเนื่องแล้ว จะต้องมีการใช้เส้นโค้งโอซี (OC Curve) เพื่อให้แผนการที่มีระดับ
ความคุ้มครองตามที่กาหนดไว้
6.2.4.2 โครงสร้างของมาตรฐาน
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) โครงสร้างของมาตรฐาน MIL-STD-105E ได้รับการปรับเปลี่ยนไป
จาก MIL-STD-105D พอสมควรเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการใช้ โดยแบ่งออกเป็น 6 หัวข้อหลักดังนี้
ตารางที่ 1 อักษรรหัส (Code Letter) ของขนาดตัวอย่าง 1. ขอบเขต
ปกติ

เคร่งครัด ตารางที่ 2 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว 2. เอกสารอ้างอิง

ผ่อนคลาย

ปกติ
3. นิยาม
เคร่งครัด ตารางที่ 3 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่
ผ่อนคลาย
ปกติ 4. ความต้องการทั่วไป
เคร่งครัด ตารางที่ 4 แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง
ผ่อนคลาย

ตารางที่ 5 AOQL 5. ตารางและเส้นโค้ง

ตารางที่ 6 LQ ของตาหนิ

ตารางที่ 7 LQ ของของเสีย

ตารางที่ 8 เลขพิกัดสาหรับตรวจแบบผ่อนคลาย
6. หมายเหตุ
ตารางที่ 9 เส้นโค้งแสดงขนาดสิ่งตัวอย่างโดยเฉลี่ย

ตารางที่ 10 แสดงตัวอย่างของแต่ละอักษร
รหัส (Code Letter) (เส้นโค้งโอซี)

รูปที่ 6.9 โครงสร้างของมาตรฐาน MIL-STD-105E


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 263

1. ขอบเขต (Scope)
2. เอกสารอ้างอิง (Referenced Documents)
3. นิยาม (Definitions) ซึ่งเป็นส่วนที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ จาก MIL-STD-105D ทั้งนี้เพื่อให้เกิด
ความสะดวกยิ่งขึ้นในการใช้มาตรฐานนิยามของคาว่า การตรวจสอบ (Inspection) การตรวจสอบแบบคุณภาพ
(Inspection by Attributes) หน่วยผลิตภัณฑ์ ข้อบกพร่องสาคัญ (Major Defect) ขนาดของลอตหรือแบช
(Lot or Batch Size) จานวนข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ (Defects per hundred units) ค่าร้อยละของ
ผลิตภัณฑ์บกพร่อง (Percent Defective) สิ่งตัวอย่าง และแผนการชักสิ่งตัวอย่างในมาตรฐาน MIL-STD-105E
ยังคงเหมือนกับมาตรฐานเดิม คือ MIL-STD-105D ทุกประการ
นิยามที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากมาตรฐาน MIL-STD-105D บ้างเล็กน้อย ได้แก่ นิยามของ
ข้อบกพร่องวิกฤต (Critical Defect) ผลิตภัณฑ์บกพร่องวิกฤต (Critical Defective) คุณภาพจ่ายออกโดยเฉลี่ย
(Average Outgoing Quality: AOQ) และพิกัดคุณภาพจ่ายออกโดยเฉลี่ย (Average Outgoing Quality Limit:
AOQL)
สาหรั บนิ ยามที่ได้รับการเปลี่ ยนแปลงไปค่อนข้างมากในมาตรฐานนี้ คือ ระดับคุณภาพที่
ยอมรับ (Acceptable Quality Level: AQL) ข้อบกพร่อง (Defect) และค่าเฉลี่ยของความบกพร่อง (Process
Average)
นอกจากนี้ในมาตรฐาน MIL-STD-105E ยังได้เพิ่มนิยามใหม่จากเดิมอีก 2 คา คือ อักษรรหัส
ของขนาดสิ่งตัวอย่าง (Sample Size Code Letter) และการจาแนกข้อบกพร่อง (Classification of Defect)
4. ความต้องการโดยทั่วไป (General Requirements) ซึ่งส่วนใหญ่ยังคงเหมือนมาตรฐาน
MIL-STD-105D โดยมีการแก้ไขในส่วนของกฎการสับเปลี่ยนภายใต้หลักการที่มุ่งประกันคุณภาพให้กับลูกค้าเพิ่ม
มากขึ้น
5. ตารางและเส้นโค้ง (Tables and Curves) ซึ่งยังคงเหมือนกับมาตรฐาน MIL-STD-105D
ทุกประการ
6. หมายเหตุ (Notes)
6.2.4.3 การใช้แผนการมาตรฐาน MIL-STD-105E
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E กาหนดให้มีการ
เลือกหน่วยผลิตภัณฑ์ที่จะทาการตรวจสอบแบบสุ่ม (Random) จากลอตหรือแบชที่กาหนดโดยที่ไม่เกี่ยวข้อง
กับคุณภาพใดๆ ของลอตหรือแบชนั้นๆ และจะเรียกหน่วยผลิตภัณฑ์ที่ได้รับเลือกมาตรวจสอบนี้ว่า สิ่งตัวอย่าง
(Sample) จะเลือกวิธีการเลือกหน่วยผลิตภัณฑ์จากลอตหรือแบชนี้ว่า การชักสิ่งตัวอย่าง (Sampling) และจะ
เรี ย กจ านวนหน่ ว ยผลิ ต ภัณฑ์ในสิ่ งตัว อย่ างว่ า ขนาดสิ่ งตัว อย่ าง (Sample Size) โดยในมาตรฐาน
MIL-STD-105E ได้กาหนดให้อยู่ในรูปของอักษรรหัส (Code Letter) ซึ่งในมาตรฐานนี้ได้กาหนดอักษรตั้งแต่
A ถึง R (ยกเว้น I และ O) และ S (เฉพาะการตรวจสอบแบบเคร่งครัด) รวมทั้งหมด 15 อักษรรหัส
อักษรรหัสตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ ได้รับการกาหนดขึ้นเพื่อใช้
เป็นเครื่องมือในการเลือกชักสิ่งตัวอย่าง (Sample Plan) ตามตารางของมาตรฐานโดย MIL-STD-105E
ได้นิยามความหมายของการชักสิ่งตัวอย่างไว้ว่า คือ แผนที่กาหนดไว้ถึงขนาดสิ่งตัวอย่างหรืออนุกรมของขนาด
264 การควบคุมคุณภาพ

สิ่งตัวอย่าง (Series of Sample Size) พร้อมตัวเลขแห่งการยอมรับ (Acceptance Number) และตัวเลข


แห่งการปฏิเสธ (Rejection Number) ซึ่งใช้เป็นกฎเกณฑ์ของการพิจารณาการยอมรับ (Acceptability)
นอกจากนี้ ในการชักสิ่ งตัว อย่างตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E ยัง
กาหนดให้ใช้วิธีการชักสิ่งตัวอย่างแบบการสุ่ม (Random Sampling) แล้ว และยังได้กาหนดถึงเวลาใน
การชักสิ่งตัวอย่าง (Time of Sampling) ไว้ด้วย
การชักสิ่งตัว อย่ างแบบสุ่ มที่กล่ าวถึงนี้ หมายถึง การชักสิ่งตัว อย่างให้ โอกาสแก่ห น่ว ย
ผลิตภัณฑ์ทุกหน่วยในลอตหรือแบชที่จะได้รับเลือกมาเป็นสิ่งตัวอย่างเท่ากัน ดังนั้นการใช้วิธีการชักสิ่งตัวอย่าง
แบบนี้จะต้องมีความใกล้เคียงกันมาก (Homogeneous) ทั้งนี้ด้วยผลจากการศึกษา และกาหนดมาตรฐานของ
กระบวนการของผู้ผลิตทีผ่ ลิตลอตหรือแบชนั้น
สาหรับกรณีที่ไม่ทราบประวัติคุณภาพของกระบวนการผู้ผลิตลอตหรือแบชมาก่อน มีความ
จาเป็นอย่างยิ่งต้องทาการตรวจสอบแบบ 100% ก่อน (ถ้าทาได้) ทั้งนี้เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับประวัติคุณภาพ
ตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ ได้แบ่งแผนการชักสิ่งตัวอย่างออกเป็น 3 แบบ คือ
1. แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (Sample Sampling Plan)
2. แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ (Double Sampling Plan)
3. แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง (Multiple Sampling Plan)
ในการตั ด สิ น ว่ า จะใช้ แ ผนการชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งแบบใดนั้ น จะพิ จ ารณาโดยขึ้ น อยู่ กั บ การ
เปรียบเทียบกันระหว่างความยากง่ายในการบริหาร (Administrative Difficulty) และขนาดสิ่งตัวอย่างโดย
เฉลี่ย (Average Sample Size) ของแต่ละแผนการโดยทั่วไปแล้ว แผนการในการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวจะมี
ความง่ายในการบริหารมากกว่าแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิง รวมทั้งต้นทุนในการตรวจสอบต่อ
หน่วยจะต่ากว่าด้วย
6.2.4.4 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) หมายถึง กฎเกณฑ์ที่กาหนดให้จานวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ
ตรวจสอบเท่า กับ ขนาดของสิ่ งตัว อย่ างที่ร ะบุไว้ใ นแผนการ ถ้ าหากจ านวนของบกพร่องหรือจานวนของ
ผลิตภัณฑ์บกพร่อง ไม่เกินค่าของตัวเลขแห่งการยอมรับที่ระบุไว้ในแผนการ ทาให้การยอมรับลอตหรือแบชนั้น
ถ้าหากจานวนของข้อบกพร่องหรือจานวนของผลิตภัณฑ์บกพร่องไม่ต่ากว่าค่าของตัวเลขแห่งการปฏิเสธที่ระบุ
ไว้ในแผนการทาให้ทาการปฏิเสธลอตหรือแบชนั้น ดังแสดงในรูปที่ 6.10

พารามิเตอร์ของแผนการ: n = ขนาดสิ่งตัวอย่าง (Sample Size)


Ac = ตัวเลขแห่งการยอมรับ (Acceptance Number)
Re = ตัวเลขแห่งการปฏิเสธ (Rejection Number)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 265

วิธีการ :
ชักสิ่งตัวอย่างขนาด n
พบจานวนของเสีย d

≤ c

การยอมรับลอต การปฏิเสธลอต

รูปที่ 6.10 วิธีการของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

ตัวอย่างที่ 6.6
จงบอกความหมายของ n = 150, Ac = 3, Re = 4
วิธีทา
หมายถึง การชักสิ่งตัวอย่างขนาดลอตละ 150 หน่วย ถ้าพบข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่อง 0, 1,
2 หรือ 3 ให้ทาการยอมรับลอต มิฉะนั้นให้ปฏิเสธลอต

6.2.4.5 แผนการชักตัวอย่างเชิงคู่
สามารถอธิบายด้วยรูปภาพ ดังแสดงในรูปที่ 6.11 และแสดงในตัวอย่างที่ 6.7
พารามิเตอร์ของแผนการ:
n1 = ขนาดสิ่งตัวอย่างในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 1
n2 = ขนาดสิ่งตัวอย่างในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 2
Ac1, Ac2 = ตัวเลขแห่งการยอมรับการชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 1, 2 โดยลาดับ
Re1, Re2 = ตัวเลขแห่งการปฏิเสธสากรับการชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 1, 2 โดยลาดับ
266 การควบคุมคุณภาพ

วิธีการ : ชักสิ่งตัวอย่างขนาด n1
พบจานวนของเสีย 1
1 ≤ c1 c1 < 1 < 1 1 1

ชักสิง่ ตัวอย่างขนาด n2
พบจานวยของเสีย 2

1 + 2 ≤ c2 1 + 2 2

การยอมรับลอต การปฏิเสธลอต

รูปที่ 6.11 วิธีการของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

ตัวอย่างที่ 6.7
จงบอกความหมายของ n1 = 9, n2 = 9, Ac1 = 0, Ac2=1, Re1 = 2, Re2 = 2
วิธีทา
หมายถึง ให้ชักสิ่งตัวอย่างขนาดลอตละ 9 หน่วย ถ้าพบข้อบกพร่อง 0 ให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้า
พบข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องตั้งแต่ 2 หน่วย ขึ้นไป ให้ปฏิเสธลอต
ถ้าหากพบข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่อง 1 ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างจากลอตเดิมอีก 9 หน่วย และถ้า
หากพบข้อบกพร่ องหรื อผลิตภัณฑ์อีก 1 ให้ยอมรับลอต แต่ถ้าพบข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องตั้งแต่
2 หน่วย ขึ้นไป ให้ปฏิเสธลอตนั้น
โดยทั่วไปแล้วไม่มีความจาเป็นที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างคู่จะต้องมีขนาดสิ่งตัวอย่างทั้งครั้งแรกและครั้ง
ที่สองเท่ากัน ในที่นี้เป็นเฉพาะมาตรฐาน MIL-STD-105E เท่านั้นที่ได้กาหนดให้ขนาดสิ่งตัวอย่างทั้งสองครั้งมี
ค่าเท่ากัน
6.2.4.6 แผนการชักตัวอย่างหลายเชิง
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) จะมีวิธีการเหมือนกับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ที่กาหนดในหัวข้อ
6.2.3 ทุกประการ นอกจากจานวนหน่วยของผลิตภัณฑ์ที่จะได้รับการตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจเท่านั้นที่
อาจจะมีอย่างต่อเนื่องจนถึงครั้งที่ 7 ดังแสดงวิธีการโดยทั่วไปในรูปที่ 6.12
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 267

พารามิเตอร์ของแผนการ :
n1, n2 …, nk คือ ขนาดของสิ่งตัวอย่างในการชักสิ่งตัวอย่าง ครั้งที่ 1, 2…, k โดยลาดับ
Ac1, Ac2 …, Ack คือ ตัวเลขแห่งการยอมรับสาหรับการชักสิ่งตัวอย่าง ครั้งที่ 1, 2…, k โดย
ลาดับ
Re1, Re2 …, Rek คือ ตัวเลขแห่งการปฏิเสธสาหรับการชักสิ่งตัวอย่าง ครั้งที่ 1, 2…, k
โดยลาดับ
วิธีการ
ชักสิ่งตัวอย่างขนาด n1
พบจานวนของเสีย 1
c1 < 1 < 1

1 ≤ c1 1 1
ชักสิ่งตัวอย่างขนาด n2
พบจานวนของเสีย 2
1 + 2 ≤ c2 c2 < 1 + 2 < 2 1 2

ชักสิ่งตัวอย่างขนาด n
พบจานวนของเสีย

∑ 1 ≤ c c <∑ 1 < ∑ 1

ชักสิ่งตัวอย่างขนาด nk
พบจานวนของเสีย

∑ 1 ≤ ck ∑ 1 k

ยอมรับลอต ปฏิเสธลอต

รูปที่ 6.12 วิธีการวางแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

โดยทั่วไปแล้วไม่มีความจาเป็นที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิงจะต้องมีขนาดสิ่งตัวอย่าง
เท่ากัน ทุกครั้ ง และก็ไม่มีความจาเป็นที่แผนการชักสิ่ งตัวอย่างแบบหลายเชิงจะต้องทาการตัดสินใจอย่าง
268 การควบคุมคุณภาพ

ต่อเนื่องถึง 7 ครั้ง ทั้งนี้เพียงแต่เป็นเฉพาะข้อกาหนดของมาตรฐาน MIL-STD-105E เท่านั้น ที่กาหนดให้มีการ


ตัดสินใจอย่างต่อเนื่องถึง 7 ครั้ง ด้วยขนาดสิ่งตัวอย่างเท่ากันทุกครั้ง
ภายใต้มาตรฐาน MIL-STD-105E มิได้มีการระบุถึงเกณฑ์หรือข้อแนะนาในการเลือกแผนการชัก
สิ่งตัวอย่างทั้ง 3 แบบแต่อย่างใด ทั้งนี้เป็นไปตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ ผลิตและผู้ซื้อ อย่างไรก็ตามการ
พิจารณาเลือกใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบใดนั้น ให้ดาเนินการเปรียบเทียบด้วยปัจจั ยด้านการจัดการ (ดังแสดง
ในตารางที่ 6.10) โดยทั่วไปเป็นการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวจะได้รับความนิยมมากที่สุดด้วยเหตุผลของความง่ายใน
การจัดการ แต่อย่างไรก็ตามถ้าหากประวัติคุณภาพแสดงให้เห็นว่าคุณภาพของลอตหรือแบชอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก
หรือไม่ดีมาก รวมถึงความสามารถในการฝึกฝนพนักงานตรวจสอบให้สามารถตัดสินใจตามวิธีการของแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างเชิงคู่ และแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิงได้แล้ว ก็แนะนาว่าควรมีการเปลี่ยนแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เชิงเดี่ยวเป็นแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิงแทน เพราะจะให้ผลทางเศรษฐศาสตร์
ที่ดีกว่า
ตารางที่ 6.10 เปรียบเทียบปัจจัยด้านการจัดการสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างทั้ง 3 แบบ

ปัจจัยด้านการจัดการ เชิงเดี่ยว เชิงคู่ หลายเชิง


ขนาดสิ่งตัวอย่างโดยเฉลี่ย
มากที่สุด น้อย ค่อนข้างจะน้อย
(Average Sample Size: ASS)

จานวนครั้งของการชักสิ่งตัวอย่างต่อลอตหรือ หลายครั้ง
หนึ่งครั้ง สองครั้ง
แบช (7 ครั้งสาหรับ MIL-STD-105E)

จานวนหน่วยผลิตภัณฑ์ทสี่ ูงที่สุดทีอ่ าจจะได้รับ


น้อยที่สุด มาก ค่อนข้างมาก
การตรวจสอบ

ความไม่แน่นอนของจานวนหน่วยผลิตภัณฑ์ที่
ไม่มี มีมาก มีค่อนข้างมาก
ได้รับการตรวจสอบ

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540


6.2.4.7 ระดับคุณภาพที่ยอมรับ (Acceptable Quality Level: AQL)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) หมายถึง ระดับคุณภาพที่ใช้เป็นจุดประสงค์ของการตรวจสอบ
แผนการชักสิ่งตัวอย่าง ซึ่งถือให้เป็นค่าเฉลี่ยความบกพร่อง (Process Average) ที่ยอมให้เกิดในผลิตภัณฑ์เมื่อ
มีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง
ในการกาหนดค่า AQL จะกาหนดภายใต้ค่าความเสี่ยง (Risk) ที่ยอมให้เกิดจากการชักสิ่ง
ตัวอย่างโดยค่า AQL จะหมายถึง ข้อบกพร่องต่อร้อยหน่ วยของผลิตภัณฑ์บกพร่องที่มีในลอต ซึ่งจะทาให้มี
โอกาสมากที่สุดในการยอมรับลอต ในความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E กาหนดให้มีการใช้ AQL
กับอักษรรหัสของขนาดสิ่งตัวอย่าง และโดยเจตนาของมาตรฐานมิได้มีความหมายให้ผู้ส่งมอบทาผลิตภัณฑ์ที่
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 269

บกพร่องมารวมไว้ในลอตที่ทาการตรวจสอบ แต่ทั้งนี้เป็นเพียงการยอมให้เกิดเพียงเพื่อยอมรับความไม่แน่นอน
(Variability) จากกระบวนการผลิตที่อยู่ภายใต้การควบคุมนั้นแล้ว
นอกจากนี้ AQL ในมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ ยังสามารถกาหนดเป็น AQL รวมของกลุ่ม
ข้อบกพร่องหรือแยกเป็น AQL ของข้อบกพร่องแต่ละรายการ แต่ถ้ากาหนด AQL ของข้อบกพร่องแต่ละ
รายการแล้วควรเพิ่ม AQL รวมของกลุ่มข้อบกพร่องไว้ด้วย ค่าของ AQL ที่ไม่เกิน 10% นั้น สามารถใช้ได้กับ
จานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องคิดเป็นร้อยละหรือข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยของผลิตภัณฑ์ สาหรับกรณีที่ AQL
มากกว่า 10% ให้ระบุเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยของผลิตภัณฑ์เท่านั้น ค่า AQL ที่ระบุในมาตรฐาน
MIL-STD-105E เป็นค่า AQL ที่นิยม (Preferred AQL) ซึ่งมีการกาหนดตามอนุกรมเรขาคณิตขนาด 5 10
หรือเท่ากับ 1.58489 โดยเริ่มจาก 0.01%
ในกรณีที่ค่า AQL ที่ระบุ (Specifying AQL) มีค่าไม่ตรงกับ AQL ที่นิยม ซึ่งระบุไว้ในมาตรฐานก็
ไม่สามารถใช้มาตรฐานนี้ได้ จึงมีความจาเป็นต้องปรับให้ค่า AQL ที่ระบุให้ตรงกับค่า AQL ในมาตรฐาน โดย
แนะนาว่าอาจจะทาการปรับค่าโดยการใช้ตารางที่ 6.11 ซึ่งเป็นตารางแปลงค่า AQL ของมาตรฐาน ANSI/ASQC
Z1.9
ในการตรวจสอบเกี่ยวกับข้อบกพร่องนั้น การกาหนดค่า AQL จะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรง
ของข้อบกพร่องที่ตรวจ โดยให้ใช้ค่า AQL ไม่เกิน 0.10% สาหรับข้อบกพร่องวิกฤต 1.0% สาหรับข้อบกพร่อง
สาคัญ และ 2-4 % สาหรับข้อบกพร่องย่อย และถ้ามีการตรวจสอบพร้อมกันให้กาหนดขนาดตัวอย่างเท่ากับ
ขนาดตัวอย่างที่ใหญ่ที่สุดของแต่ละระดับความรุนแรงของข้อบกพร่อง

ตารางที่ 6.11 แปลงค่า AQL

สาหรับค่า AQL ที่ระบุ


ค่า AQL ที่ให้ใช้
ซึ่งตกในช่วงต่อไปนี้
- ถึง 0.109 0.10
0.110 ถึง 0.164 0.15
0.165 ถึง 0.279 0.25
0.280 ถึง 0.439 0.40
0.440 ถึง 0.699 0.65
0.700 ถึง 1.09 1.0
1.10 ถึง 1.64 1.5
1.65 ถึง 2.79 2.5
2.80 ถึง 4.39 4.0
4.40 ถึง 6.99 6.5
7.00 ถึง 10.90 10.0
270 การควบคุมคุณภาพ

6.2.4.8 การตรวจสอบ (Inspection)


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) มาตรฐาน MIL-STD-105E ได้ให้คาจากัดความคาว่า การตรวจสอบ
หมายถึง กระบวนการในการวัด (Measuring) การสอบ (Examining) และการทดสอบ (Testing) ตลอดจน
วิธีการอื่นๆ ในอันที่จะเปรียบเทียบคุณภาพของหน่วยผลิตภัณฑ์กับความต้องการ
ส าหรั บ การตรวจสอบตามมาตรฐาน MIL-STD-105E จะเป็ นการตรวจสอบเชิ งคุณ ภาพ
(Inspection by Attributes) ซึ่งหมายถึง การตรวจสอบที่มีการจาแนกคุณภาพของหน่วยผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ
การตรวจออกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ดีกับผลิตภัณฑ์บกพร่อง หรืออาจหมายถึง การตรวจสอบที่มีการนับจานวน
ข้อบกพร่องของหน่วยผลิตภัณฑ์ที่ตรวจ ทั้งนี้โดยการพิจารณาเปรียบเทียบกับความต้องการที่กาหนดให้ตาม
ความต้องการด้านแผนการชัดสิ่งตัวอย่างของมาตรฐาน MIL-STD 105E ได้กาหนดให้มีระดับของการ
ตรวจสอบ (Inspection Level) โดยระดับของการตรวจสอบนี้จะเป็นตัวบ่งชี้ ถึงความสัมพันธ์ระหว่างขนาด
ของลอตหรือแบชกับขนาดสิ่งตัวอย่าง และระดับการตรวจสอบที่แ ตกต่างกันจะทาให้มีความเสี่ยงสาหรับ
ผู้บริโภคที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้การกาหนดระดับการตรวจสอบจะต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษรใน
คู่สัญญาหรือในคู่มือคุณภาพ
ในความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E ได้แบ่งระดับการตรวจสอบออกเป็น 3 ระดับ คือ
ระดับที่ I II และ III โดย Juran and Gryna (1988) เสนอว่าแนวคิดของระดับของการตรวจสอบนี้ เป็นการยอมให้
ผู้ใช้มาตรฐานตัดสินใจเลื อกบนความสมดุลระหว่างค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบกับความเสียหายที่เกิดขึ้นหากมี
ข้อบกพร่องหลุดออกจากการตรวจสอบออกไป โดยปริมาณของการตรวจสอบทั้งสามระดับนี้จะมีค่าอย่างหยาบๆ
ทีส่ ัดส่วน 0.4: 1.0: 1.6 โดยปกติแล้วหากมิได้มีการระบุระดับใดๆ ในคู่สัญญาจะใช้ระดับการตรวจสอบที่ II ในกรณี
ที่ต้องการลักษณะแตกต่างกันน้อยลง (Less Discrimination) จะใช้ระดับการตรวจสอบที่ I และในกรณีที่ต้องการ
ลักษณะแตกต่างกันมากขึ้น (Greater Discrimination) แล้วจะใช้ระดับการตรวจสอบที่ III
นอกจากนี้ในความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E ยังได้กาหนดให้มีระดับการตรวจสอบ
พิเศษอีก 4 ระดับ คือ S-1, S-2, S-3 และ S-4 โดยระดับดังกล่าวนี้จะใช้ในกรณีที่จาเป็นต้องใช้สิ่งตัวอย่างขนาด
เล็กกว่าการตรวจสอบทั่วไป และจะต้องยอมให้มีความเสี่ยงในการชักสิ่งตัวอย่าง (Sampling Risk) มากขึ้น
ในกรณีที่เลือกระดับการตรวจสอบ S-1 ถึง S-4 นี้ จะต้องเพิ่มความระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยง
กรณี AQL ไม่เป็นไปตามระดับการตรวจสอบเหล่านี้ หรืออีกนัยหนึ่ง คือ จุดประสงค์ของการใช้ระดับการ
ตรวจสอบพิเศษนี้ก็เพื่อให้มีขนาดสิ่งตัวอย่างเล็ก ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เช่น ถ้าหากใช้ S-1 ขนาดสิ่งตัวอย่าง
จะไม่ใหญ่กว่าอักษรรหัส D ซึ่งจะเทียบเท่ากับขนาดสิ่งตัวอย่าง 8 แต่ถ้าหาก AQL เท่ากับ 0.10% แล้วจะไม่
เคยได้ใช้ระดับการตรวจสอบ S-1 เลยทั้งนี้เพราะขนาดสิ่งตัวอย่างที่ต่าจะเท่ากับ 125 เป็นต้น
6.2.4.9 วิธีการตรวจสอบและกฎการสับเปลี่ยน (Inspection Procedures and Switching Rule)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E ได้แบ่งความ
เข้มงวดของการตรวจสอบออกเป็น 3 แบบ คือ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 271

1. แบบปกติ (Normal Inspection)


2. แบบเคร่งครัด (Tightened Inspection)
3. แบบผ่อนคลาย (Reduced Inspection)
โดยทั่วไปเริ่มต้นตรวจสอบด้วยแผนการที่มีความเข้มงวดของการตรวจสอบแบบปกติเสมอ
แล้วจึงให้ใช้กฎการสับเปลี่ยน
กฎการสับเปลี่ยนตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ ให้ประยุกต์ใช้กับแต่ละ
ระดับของข้อบกพร่องและผลิตภัณฑ์บกพร่องอย่างอิสระต่อกัน ตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E
ได้กาหนดกฎเกณฑ์ โดยสรุปได้ดังรูปที่ 6.13 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. การสับเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบแบบปกติเป็นแบบเคร่งครัด
ในขณะที่มีการตรวจสอบแบบปกตินั้น ถ้ามีลิตหรือแบชได้รับการปฏิเสธ 2 ลอตหรือแบช
ในจานวนตรวจสอบที่ต่อเนื่องกัน 2, 3, 4 และ 5 ลอตหรือแบชในการตรวจสอบแรกเริ่ม แล้วให้สับเปลี่ยนไป
ใช้การตรวจสอบแบบเคร่งครัด
2. การสับเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบแบบเคร่งครัดเป็นแบบปกติ
ในขณะที่มีการตรวจสอบแบบเคร่งครัดนั้น ถ้ ามีลอตหรือแบชจานวน 5 ลอตหรือแบชที่
ต่อเนื่องกันได้รับการยอมรับจากการตรวจสอบแรกเริ่ม แล้วให้สับเปลี่ยนไปใช้การตรวจสอบแบบปกติ
3. การสับเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบแบบปกติเป็นแบบผ่อนคลาย
ในขณะที่ มี ก ารตรวจสอบแบบปกติ นั้ น ถ้ า เงื่ อ นไขที่ พ บต่ อ ไปนี้ ทั้ ง หมดเป็ น จริ ง
แล้วให้สับเปลี่ยนไปใช้การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย
(1) มีลอตหรือแบชจานวน 10 ลอตหรือแบชที่ต่อเนื่องกัน (หรืออาจจะมากกว่า 10 ลอต
หรือแบช) ได้รับการยอมรับจากการตรวจสอบแรกเริ่ม
(2) จานวนทั้งหมดของข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องในขนาดสิ่งตัวอย่างทั้งหมดของ
10 ลอตหรือแบชนั้น (อาจจะมากกว่า 10 ลอต) ไม่เกินตัวเลขพิกัดตามจานวนที่กาหนดไว้ในตารางที่ 6.18
ซึ่งกรณีที่ใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิ งคู่หรือหลายเชิง ให้ทาการรวมสิ่งตัวอย่างทั้งหมดที่ได้รับการตรวจสอบ
ไม่ใช่เฉพาะสิ่งตัวอย่างครั้งแรกเท่านั้น
(3) กระบวนการผลิตลอตหรือแบชนั้นอยู่ภายใต้การควบคุม
(4) นโยบายในการตรวจสอบยอมให้มีการใช้การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย (โดยกรณีนี้
ควรมีการระบุเงื่อนไขในคู่สัญญาด้วย)
272 การควบคุมคุณภาพ

เงื่อนไข “และ”
 เมื่อมี 10 ลอตที่ต่อเนื่องกันได้รับการยอมรับ
จากการตรวจสอบแรกเริ่ม และ
 จานวนข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องที่ เริ่มต้น เมื่อมี 2 ลอตจาก 2, 3
ตรวจพบโดยรวมไม่เกินเลขพิกัดและ 4 หรื อ 5 ลอต ได้ รั บ
 การผลิตอยูภ่ ายใต้การควบคุม และ การปฏิเสธ
 นโยบายที่ยอมให้มีการตรวจแบบผ่อนคลาย
เคร่งครัด
ผ่อนคลาย ปกติ
เงื่อนไข “หรือ” เมื่ อ มี 5 ลอตที่
ต่อเนื่องกันได้รับการ
 เมื่อมีการปฏิเสธลอต หรือ ย อ ม รั บ จ า ก ก า ร
 มีการยอมรับลอต ในกรณีจานวน ตรวจสอบ
ข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องอยู่
ระหว่าง Ac และ Re หรือ
 การผลิตอยู่นอกการควบคุม หรือ เมื่อมีจานวนลอตที่ได้รับการปฏิเสธจาก
 เงื่อนไขอื่นที่จะทาให้มีการประกันคุณภาพ การตรวจสอบแรกเริ่มรวมกันถึง 5 ลอต
โดยการตรวจสอบแบบปกติ จากการตรวจลอตที่ต่อเนื่องกัน

ระงับการตรวจสอบ
จนกว่าจะมีการแก้ไข
ให้ดีขึ้น

หมายเหตุ * หากกรณีใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงคู่หรือหลายเชิงให้รวมสิ่งตัวอย่างทั้งหมดที่ได้รับการตรวจสอบ ไม่ใช่เฉพาะครั้งแรกเท่านั้น

รูปที่ 6.13 กฎการสับเปลี่ยนตามมาตรฐาน MIL-STD-105E

6.2.4.10 การสับเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบแบบผ่อนคลายเป็นแบบปกติ
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในกรณีที่มีการตรวจสอบแบบผ่อนคลายนั้น ถ้าเงื่อนไขต่อไปนี้
เพียงข้อใดข้อหนึ่งเป็นจริงสาหรับการตรวจสอบแรกเริ่มแล้ว ให้สับเปลี่ยนไปใช้การตรวจสอบแบบปกติ
1. มีลอตใดลอตหนึ่งหรือแบชใดแบชหนึ่ง ได้รับการปฏิเสธ
2. มีการยอมรับลอตหรือแบชในกรณีที่มีข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องที่ได้จากการ
ตรวจสอบ ตามขนาดตัวอย่างอยู่ระหว่างตัวเลขแห่งการยอมรับและตัวเลขแห่งการปฏิเสธ
3. กระบวนการผลิตลอตหรือแบชนั้นอยู่ภายนอกการควบคุม ทาให้เกิดความผิดปกติบาง
ประการหรือความล่าช้าในการผลิต
4. เงื่อนไขอื่นๆ ที่จะทาให้มีการประกันคุณภาพโดยการตรวจสอบแบบปกติ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 273

6.2.4.11 การระงับการตรวจสอบ
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในกรณีที่มีการตรวจสอบแบบเคร่งครัดในการตรวจสอบแรกเริ่มนั้น
ถ้าจานวนสะสมของลอตหรือแบชได้รับการปฏิเสธถึง 5 ลอตหรือแบชจากการตรวจสอบลอตหรือแบชที่ต่อเนื่อง
แล้วให้ทาการระงับการตรวจสอบไว้ จากนั้นดาเนินการค้นหาสาเหตุของข้อบกพร่องในขบวนการผลิตลอตหรือแบช
นั้นพร้อมทาการแก้ไขให้ถูกต้องและเมื่อมีการแก้ไขให้ถูกต้องแล้ว จึงให้เริ่มทาการตรวจสอบใหม่อีกครั้งโดยยังคง
ใช้การตรวจสอบแบบเคร่งครัด
จากที่ได้กล่าวมามาตรฐาน MIL-STD-105E เป็นระบบ AQL จึงทาให้มาตรฐานดังกล่าวเป็น
ระบบในการป้องกันความเสี่ยงแก่ผู้ผลิตต่อการปฏิเสธลอตที่ดีเท่านั้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้วค่าความเสี่ยงที่ AQL จะอยู่
ประมาณ 5% แต่จากการศึกษาของ (Schilling and Sheesley, 1978) พบว่าความเสี่ยงจะอยู่ระหว่าง 1% ถึง
12% ดังนั้นในการป้องกันความเสี่ยงแก่ผู้บริโภคหรือลูกค้าต่อการยอมรับลอตที่บกพร่อง จะต้องดาเนินการด้วย
การใช้กฎของการสับเปลี่ยนเท่านั้น โดยได้ทาการศึกษาและแสดงถึงคุณภาพของแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างทุกๆ
แบบแผนทั้ ง 15 อั กษรรหั ส (ในปั จ จุ บั นผลการศึ กษาดั งกล่ าวได้ รั บการยอมรั บจากส านั กมาตรฐานของ
สหรัฐอเมริกา และได้ตีพิมพ์ผลการศึกษาดังกล่าวในมาตรฐาน ANSI/ASQC Z1.4 จากการศึกษาดังกล่าวสรุปได้ว่า
ในการใช้กฎการสับเปลี่ยนนี้จะขยายการป้องกันความเสี่ยงในการตัดสินใจของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคหรือลูกค้า โดย
พบว่าที่ระดับคุณภาพแย่ (พิจารณาจากโอกาสในการยอมรับลอตหรือแบชดังกล่าวมีไม่เกิน 50%) โอกาสในการ
ยอมรับลอตหรือแบชตามแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างดังกล่าวจะเท่ากับแผนการตรวจสอบแบบเคร่งครัด และที่
ระดับคุณภาพดี (พิจารณาจากโอกาสในการยอมรับลอตหรือแบชดังกล่าวมีไม่ต่ากว่า 90%) โอกาสในการ
ยอมรับลอตหรือแบชตามแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างดังกล่าวจะมีค่าสูงกว่าเล็กน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้
แผนการตรวจสอบแบบปกติโดยลาพัง
6.2.4.12 การเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่าง ในกรณีลอตหรือแบชมีความต่อเนื่อง
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) กรณีที่ลอตหรือแบชที่มีความต่อเนื่อง ซึ่งมีผลทาให้ผู้ตรวจสอบ
คุ้นเคยกับลอตหรือแบชนั้นแล้ว จะดาเนินการเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับได้ตามลาดับขั้นตอนที่
แสดงในรูปที่ 6.14 โดยมีลาดับขั้นต่อโดยละเอียดดังนี้
1. ให้ดาเนินการพิจารณาถึงความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) ของผู้ผลิต
ลอตหรือแบช ทั้งนี้การกาหนดจะเป็นเกณฑ์ตัดสินใจเกี่ยวกับ AQL โดยการศึกษาดังนี้อาจจะทาการศึกษาผ่าน
เทคนิคของแผนภูมิควบคุม (Control Chart) ก็ได้ ถ้าหากผู้ผลิตลอตหรือแบชนั้นมีการควบคุมกระบวนการด้วย
สถิติ (Statistical Process Control: SPC) แล้ว
2. ให้กาหนดขนาดของลอตหรือแบช โดยคานึงถึงความสม่าเสมอจากคุณภาพในกระบวนการ
ผลิตจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบการตัดสินใจ 3 ประการ คือ
(1) ลอตหรือแบชที่มีขนาดใหญ่จะทาให้มีความประหยัดในการตรวจสอบ เนื่องจากมีขนาด
สิ่งตัวอย่างที่เล็กกว่าเชิงสัมพันธ์เมื่อเปรียบเทียบกับขนาดลอตหรือแบชที่มีขนาดเล็ก
(2) ลอตหรือแบชจะต้องมีคุณภาพที่สม่าเสมอและใกล้เคียงกันมาก
(3) ลอตหรือแบชจะต้องคานึงถึงวิธีการในการขนถ่ายวัสดุ ทั้งนี้เพื่อป้องกันความเสียหาย ซึ่ง
อาจจะเกิดกับลอตหรือแบชในขณะทาการขนถ่ายวัสดุนั้น
274 การควบคุมคุณภาพ

3. การกาหนดค่า AQL โดยค่า AQL ที่เหมาะสมนั้น จะต้องมีขนาดที่สอดคล้องกับความสามารถ


ของกระบวนการผลิตที่ได้จากข้อ 1
4. การกาหนดระดับตรวจสอบว่าจะให้เป็นระดับทั่ วไปหรือระดับพิเศษ (ในกรณีที่มีในคู่มือ
สัญญาหรือคู่มือวิธีการตรวจสอบให้ถือเป็นระดับทั่วไปที่ 2)
5. เลือกอักษรรหัส จากตารางที่ 6.12
6. กาหนดแบบของแผนการชักสิ่งตัวอย่างที่เหมาะสมว่าจะเป็น แบบเชิงเดี่ยว เชิงคู่
หรือหลายเชิง โดยคานึงถึงความยากง่ายในการจัดการ
7. ทาการเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ สาหรับความเข้มงวดทั้ง 3 แบบ คือ
แบบปกติ (ตาราง A) แบบเคร่งครัด (ตาราง B) และแบบผ่อนคลาย (ตาราง C) โดยใช้ตารางที่ 6.13, 6.14 หรือ
6.15 แล้วแต่ว่าเป็นแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว เชิงคู่ หรือหลายเชิง โดยลาดับ
8. เริ่มการตรวจสอบ โดยครั้งแรกให้เริ่มต้นด้วยการชักสิ่งตัวอย่างแบบปกติก่อนเสมอแล้วให้
มีการสับเปลี่ยนตามกฎการสับเปลี่ยน
9. ทาการประเมินแบบแผนการชักสิ่ งตัวอย่างเพื่อประเมินถึงการประกันคุณภาพโดยอาจ
พิจารณาถึงความเสี่ยง (Risk) ในการตัดสินใจจากเส้นโค้งโอซี (OC Curve) คุณภาพจ่ายออกโดยเฉลี่ย (Average
Outgoing Quality)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 275

เริ่มต้น

พิจารณาความสามารถของกระบวนการผู้ผลิต (อาศัยแผนภูมิควบคุม)

การกาหนดขนาดของลอตหรือแบช และ AQL (พิจารณาจากคู่สัญญา)

กาหนดวิธีการตรวจสอบและเลือกแผนการ

แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง


แบบผ่อนคลาย

แบบผ่อนคลาย

แบบผ่อนคลาย
แบบเคร่งครัด

แบบเคร่งครัด

แบบเคร่งครัด
แบบปกติ

แบบปกติ

แบบปกติ

ประยุกต์กฎการสับเปลี่ยน

ประเมินแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่าง

รูปที่ 6.14 ลาดับขั้นตอนสาหรับการตรวจเพื่อเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่าง


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

6.2.4.13 ตารางแสดงแผนการชักสิ่งตัวอย่างของมาตรฐาน MIL-STD-105E


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) มาตรฐาน MIL-STD-105E ได้แสดงตารางที่ใช้สาหรับเลือกแผนการ
ชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งเพื่ อ การยอมรั บ ในกรณี ที่ มี ก ารตรวจสอบลอตหรื อ แบชที่ มี ค วามต่ อ เนื่ อ งหรื อ คุ้ น เคย
(ตารางที่ 6.12-6.15) สาหรับในกรณีที่มีการตรวจสอบลอตหรือแบชแบบไม่ต่อเนื่องที่ไม่มีความคุ้นเคยมาก่อน
(ตารางที่ 6.16-6.17) รายละเอียดดังนี้
276 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 6.12 อักษรรหัสสาหรับขนาดสิ่งตัวอย่าง


ตารางที่ 6.13 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวโดยตารางที่ 6.13-A, 6.13-B และ
6.13-C แสดงแผนการตรวจสอบแบบปกติ, เคร่งครัด และผ่อนคลายตามลาดับ
ตารางที่ 6.14 แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่โดยตารางที่ 6.14-A, 6.14-B, 6.14-C
แสดงแผนการตรวจสอบแบบปกติ, เคร่งครัด และผ่อนคลาย ตามลาดับ
ตารางที่ 6.15 แผนการชักสิ่งเพื่อการยอมรับหลายเชิงโดยตารางที่ 6.15-A, 6.15-B, 6.15-C
แสดงแผนการตรวจสอบแบบปกติ เคร่งครัด และผ่อนคลายตามลาดับ
ตารางที่ 6.16-A คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์ข้อบกพร่องซึ่งมีความน่าจะ
เป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 10%
ตารางที่ 6.16-B คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของจานวนข้อบกพร่องต่อร้อยละหน่วยผลิตภัณฑ์
ซึ่งมีความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 10%
ตารางที่ 6.17-A คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์ข้อบกพร่องซึ่งมีความน่าจะ
เป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 5%
ตารางที่ 6.17-B คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของจานวนข้อบกพร่องต่อร้อยละหน่วยผลิตภัณฑ์ ซึ่ง
มีความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 5%
ตารางที่ 6.18 ตัวเลขพิกัดสาหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย

ตารางที่ 6.12 อักษรรหัสสาหรับขนาดสิ่งตัวอย่าง

ระดับการตรวจสอบพิเศษ ระดับการตรวจสอบทั่วไป
ขนาดของลอตหรือแบช
S1 S2 S3 S4 GI GII GIII
2 to 8 A A A A A A B
9 to 15 A A A A A B C
16 to 25 A A B B B C D
26 to 50 A B B C C D E
51 to 90 B B C C C E F
91 to 150 B B C D D F G
151 to 280 B C D E E G H
281 to 500 B C D E F H J
501 to 1,200 C C E F G J K
1,201 to 3,200 C D E G H K L
3,201 to 10,000 C D F G J L M
10,001 to 35,000 C D F H K M N
35,001 to 150,000 D E G J L N P
150,001 to 500,000 D E G J M P Q
500,001 and over D E H K N Q R
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 277

แผนการชักตัวอย่างของมาตรฐาน MIL-STD-105E ได้แบ่งระดับการตรวจสอบ (Inspection


Levels) ออกเป็นการตรวจสอบระดับทั่วไป 3 ระดับ (GI, GII และ GIII) และการตรวจสอบระดับพิเศษ
4 ระดับของการตรวจสอบเป็นตัวบ่งชี้ถึงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของลอตหรือแบชกับจานวนตัวอย่าง และ
ระดับการตรวจสอบที่แตกต่างกัน จะทาให้มีความเสี่ยงสาหรับผู้บริโภคที่แตกต่างกันออกไป การกาหนดระดับ
การตรวจสอบจะต้องทาเป็นลายลักษณ์อกั ษรในคู่สัญญาหรือคู่มือคุณภาพ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. การตรวจสอบทั่วไประดับ GI เป็นระดับการตรวจสอบที่ใช้จานวนตัวอย่างน้อยกว่าการ
ตรวจสอบทั่วไประดับอื่น การตรวจสอบระดับนี้จะทาให้ความเสี่ยงของผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น จึงควรใช้กรณีที่
แม้ว่ามีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นแต่ประโยชน์ที่ได้รับก็พอชดเชยกันหรือในกรณีที่มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
เนื่องจากผู้ขายมีประวัติด้านคุณภาพที่ดีทั้งนี้เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ
2. การตรวจสอบทั่วไประดับ GII เป็นระดับการตรวจสอบที่นิยมใช้กันมากที่สุด ในกรณีที่ไม่มี
ข้อสงสัยว่าสินค้าที่จะได้รับการตรวจสอบมีคุณภาพน้อยกว่า AQL แต่ไม่ควรใช้ในกรณีที่ต้องทาการทดสอบ
แบบทาลาย หรือในกรณีที่ขนาดของลอตมีจานวนน้อยหรือกรณีที่ค่าทดสอบสูงมาก โดยปกติแล้วหากมิ ได้มี
การระบุระดับใดๆ ในคู่สัญญา จะใช้ระดับการตรวจสอบนี้
3. การตรวจสอบทั่วไประดับ GII เป็นระดับการตรวจสอบที่ต้องใช้จานวนตัวอย่างมากกว่า
ระดับอื่นๆ ซึ่งทาให้เสียค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสูงขึ้น แต่ให้ประโยชน์ในการลดความเสี่ยงของผู้บริโภค
การตรวจสอบระดับนี้ควรใช้เมื่อมีหลักฐานแน่ชัด สินค้าที่ได้รับการตรวจสอบมีคุ ณภาพด้อยกว่าค่า AQL หรือ
ในกรณีที่ไม่เคยรู้ประวัติด้านคุณภาพของผู้ขายมาก่อนเลย และเพื่อลดความน่าจะเป็นในการยอมรับสินค้าที่
ด้อยคุณภาพ
ส่วนการตรวจสอบพิเศษ 4 ระดับ ประกอบด้วย S1, S2, S3 และ S4 โดยระดับดังกล่าวนี้จะ
ใช้ในกรณีที่จาเป็นต้องใช้จานวนตัว อย่างน้อยกว่า การตรวจสอบทั่วไป หรือจาเป็นต้องใช้จานวนตัว อย่าง
จานวนน้อยๆ และจะต้องยอมให้มีความเสี่ยงในการชักตัวอย่าง (Sampling Risks) มากขึ้น หรือยอมให้มี
ความเสี่ยงของผู้บริโภคมากขึ้นนั่นเองส่วนการเลือกใช้ระดับใดนั้น ขึ้นกับราคาสินค้า เวลา และค่าใช้จ่ายใน
การทดสอบ และความเสียหายในความเสี่ยงของผู้บริโภคเป็นสาคัญ จานวนตัวอย่างของระดับ S1 จะน้อย
ที่สุด และเพิ่มขึ้นตามลาดับจนถึง S4 จะมีจานวนตัวอย่างมากที่สุด
ในกรณีที่เลือกระดับ S1 ถึง S4 จะต้องเพิ่มความระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงกรณีค่า AQL ไม่
เป็นไปตามระดับการตรวจสอบเหล่านี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ จุดประสงค์การใช้ระดับการตรวจสอบพิเศษนี้เพื่อให้
มีจานวนตัวอย่างน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เช่น ถ้าหากใช้ S1 จานวนตัวอย่างจะไม่มากกว่าอักษรรหัส D
ซึ่งจะเทียบเท่ากับจานวนตัวอย่างเท่ากับ 8 ของแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ ยวสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
แต่ถ้าหากค่า AQL เท่ากับ 0.01% ก็จะไม่ใช้ระดับการตรวจสอบ S1 เลย เพราะจานวนตัวอย่างที่ต่าสุดเท่ากับ
125 เป็นต้น
278

ตารางที่ 6.13-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวการตรวจสอบแบบปกติ


อักษรรหัส ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบปกติ)
ขนาด
ขนาด 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A 2 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31
B 3 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31 44 45
C 5 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31 44 45
D 8 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31 44 45
E 13 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31 44 45
F 20 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
G 32 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
H 50 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
J 80 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
K 125 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
L 200 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
การควบคุมคุณภาพ

M 315 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
N 500 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
P 800 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
Q 1250 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22
R 2000 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
ตารางที่ 6.13-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวการตรวจสอบแบบเคร่งครัด
อักษรรหัส ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบเคร่งครัด)
ขนาด
ขนาด 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A 2 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19 27 28
B 3 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19 27 28 41 42
C 5 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19 27 28 41 42
D 8 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19 27 28 41 42
E 13 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19 27 28 41 42
F 20 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
G 32 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
H 50 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
J 80 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
K 125 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
L 200 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
M 315 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

N 500 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
P 800 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
Q 1250 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
R 2000 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 8 9 12 13 18 19
S 3150 1 2

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
279
280

ตารางที่ 6.13-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย


อักษรรหัส ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย)
ขนาด
ขนาด 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A 2 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31
B 3 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31
C 5 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31
D 8 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31
E 13 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15 21 22 30 31
F 20 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
G 32 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
H 50 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
J 80 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
K 125 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
L 200 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
M 315 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
การควบคุมคุณภาพ

N 500 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
P 800 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
Q 1250 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11
R 2000 1 2 2 3 3 4 5 6 6 7 8 9 10 11

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
ตารางที่ 6.14-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคูก่ ารตรวจสอบแบบปกติ
อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบเคร่งครัด)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A * * * * * * * * * *
B 1 2 2 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16 17 22 25 31
2 2 4 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
C 1 3 3 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16 17 22 25 31
2 3 6 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
D 1 5 5 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16 17 22 25 31
2 5 10 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
E 1 8 8 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16 17 22 25 31
2 8 16 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
F 1 13 13 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 13 26 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
G 1 20 20 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 20 40 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
H 1 32 32 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 32 64 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
J 1 50 50 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 50 100 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
K 1 80 80 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 80 160 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
L 1 125 125 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 125 250 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
M 1 200 200 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 200 400 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

N 1 315 315 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 315 630 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
P 1 500 500 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 500 1000 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
Q 1 800 800 * 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 800 1600 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
R 1 1250 1250 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11 11 16
2 1250 2500 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
281
282

ตารางที่ 6.14-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคูก่ ารตรวจสอบแบบเคร่งครัด


อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบเคร่งครัด)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A * * * * * * * *
B 1 2 2 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14 15 20 23 29
2 2 4 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24 34 35 52 53
C 1 3 3 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14 15 20 23 29
2 3 6 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24 34 35 52 53
D 1 5 5 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14 15 20 23 29
2 5 10 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24 34 35 52 53
E 1 8 8 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14 15 20 23 29
2 8 16 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24 34 35 52 53
F 1 13 13 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 13 26 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
G 1 20 20 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 20 40 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
H 1 32 32 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 32 64 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
J 1 50 50 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 50 100 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
K 1 80 80 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 80 160 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
L 1 125 125 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 125 250 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
M 1 200 200 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 200 400 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
N 1 315 315 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
การควบคุมคุณภาพ

2 315 630 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
P 1 500 500 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 500 1000 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
Q 1 800 800 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 800 1600 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
R 1 1250 1250 * 0 2 0 3 1 3 2 5 4 7 6 10 9 14
2 1250 2500 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
S 1 2000 2000 0 2
2 2000 4000 1 2

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
ตารางที่ 6.14-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย
อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A * * * * * * * * * *
B * * * * * * * * * *
C * * * * * * * * * *
1 3 3 0 2 0 3 1 3 2 4 3 6 4 7 5 9 7 11 11 16
D *
2 3 6 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13 18 19 26 27
1 5 5 0 2 0 3 1 3 2 4 3 6 4 7 5 9 7 11 11 16
E *
2 5 10 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13 18 19 26 27
1 8 8 0 2 0 3 1 3 2 4 3 6 4 7 5 9
F *
2 8 16 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 13 13 0 2 0 3 1 3 2 4 3 6 4 7 5 9
G *
2 13 26 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 20 20 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
H *
2 20 40 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
1 32 32 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
J *
2 32 64 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
1 50 50 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
K *
2 50 100 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
1 80 80 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
L *
2 80 160 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
1 125 125 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
M *
2 125 250 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

1 200 200 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
N *
2 200 400 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
1 315 315 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
P *
2 315 630 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
1 500 500 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
Q *
2 500 1000 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19
1 800 800 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 5 9 7 11
R
2 800 1600 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
283
284

ตารางที่ 6.15-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ


อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบปกติ)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A * * * * * * * * *
B * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++
C * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++
1 2 2 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9 4 12 6 16
2 2 4 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14 11 19 17 27
D 3 2 6 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19 19 27 29 38
4 2 8 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25 28 34 40 48
5 2 10 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
1 3 3 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9 4 12 6 16
2 3 6 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14 11 19 17 27
E 3 3 9 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19 19 27 29 38
4 3 12 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25 28 34 40 48
5 3 15 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
1 5 5 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9 4 12 6 16
2 5 10 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14 11 19 17 27
F 3 5 15 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19 19 27 29 38
4 5 20 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25 28 34 40 48
5 5 25 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
การควบคุมคุณภาพ

1 8 8 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9 4 12 6 16
2 8 16 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14 11 19 17 27
G 3 8 24 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19 19 27 29 38
4 8 32 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25 28 34 40 48
5 8 40 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.15-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (ต่อ)
อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบปกติ)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
1 13 13 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 13 26 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
H 3 13 39 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 13 52 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 13 65 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
1 20 20 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 20 40 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
J 3 20 60 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 20 80 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 20 100 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
1 32 32 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 32 64 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
K 3 32 96 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 32 128 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 32 160 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
1 50 50 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 50 100 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
L 3 50 150 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 50 200 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 50 250 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

1 80 80 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 80 160 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
M 3 80 240 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 80 320 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 80 400 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
285

# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
286

ตารางที่ 6.15-A แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (ต่อ)


อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบปกติ)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
1 125 125 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 125 250 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
N 3 125 375 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 125 500 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 125 625 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
1 200 200 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 200 400 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
P 3 200 600 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 200 800 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 200 1000 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
1 315 315 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
2 315 630 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
Q 3 315 945 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 315 1260 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 315 1575 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27
1 500 500 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9
การควบคุมคุณภาพ

2 500 1000 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14
R 3 500 1500 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19
4 500 2000 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25
5 500 2500 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.15-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด
อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบเคร่งครัด)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A * * * * * * * *
B * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++
C * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++
1 2 2 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8 3 10 6 15
2 2 4 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12 10 17 16 25
D 3 2 6 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17 17 24 26 35
4 2 8 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22 25 31 38 45
5 2 10 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24 34 35 52 53
1 3 3 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9 4 12 6 16
2 3 6 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14 11 19 17 27
E 3 3 9 * 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19 19 27 29 38
4 3 12 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25 28 34 40 48
5 3 15 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
1 5 5 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9 4 12 6 16
2 5 10 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14 11 19 17 27
F 3 5 15 * 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19 19 27 29 38
4 5 20 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25 28 34 40 48
5 5 25 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

1 8 8 # 2 # 3 # 4 0 4 0 5 1 7 2 9 4 12 6 16
2 8 16 0 3 0 3 1 5 1 6 3 8 4 10 7 14 11 19 17 27
G 3 8 24 * 0 3 1 4 2 6 3 8 6 10 8 13 13 19 19 27 29 38
4 8 32 1 3 2 5 4 7 5 9 9 12 12 17 20 25 28 34 40 48
5 8 40 3 4 4 5 6 7 9 10 12 13 18 19 26 27 37 38 56 57

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
287
288

ตารางที่ 6.15-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (ต่อ)


อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบเคร่งครัด)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
1 13 13 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 13 26 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
H 3 13 39 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 13 52 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 13 65 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
1 20 20 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 20 40 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
J 3 20 60 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 20 80 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 20 100 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
1 32 32 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 32 64 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
K 3 32 96 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 32 128 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 32 160 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
1 50 50 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 50 100 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
L 3 50 150 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 50 200 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 50 250 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
การควบคุมคุณภาพ

1 80 80 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 80 160 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
M 3 80 240 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 80 320 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 80 400 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.15-B แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (ต่อ)
อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบเคร่งครัด)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
1 125 125 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 125 250 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
N 3 125 375 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 125 500 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 125 625 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
1 200 200 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 200 400 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
P 3 200 600 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 200 800 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 200 1000 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
1 315 315 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 315 630 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
Q 3 315 945 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 315 1260 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 315 1575 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
1 500 500 # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 6 1 8
2 500 1000 0 2 0 3 0 3 1 5 2 7 3 9 6 12
R 3 500 1500 * 0 2 0 3 1 4 2 6 4 9 7 12 11 17
4 500 2000 0 2 1 3 2 5 4 7 6 11 11 15 16 22
5 500 2500 1 2 3 4 4 5 6 7 10 11 15 16 23 24
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

1 800 800 # 2
2 800 1600 0 2
S 3 800 2400 0 2
4 800 3200 0 2
5 800 4000 1 2

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
289
290

ตารางที่ 6.15-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย


อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
A * * * * * * * * * *
B * * * * * * * * * *
C * * * * * * * * * *
D * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++
E * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++
1 2 2 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 2 4 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
F 3 2 6 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 2 8 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 2 10 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 3 3 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 3 6 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
G 3 3 9 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 3 12 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 3 15 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
การควบคุมคุณภาพ

1 5 5 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 5 10 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
H 3 5 15 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 5 20 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 5 25 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.15-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย (ต่อ)
อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
1 8 8 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 8 16 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
J 3 8 24 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 8 32 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 8 40 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 13 13 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 13 26 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
K 3 13 39 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 13 52 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 13 65 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 20 20 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 20 40 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
L 3 20 60 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 20 80 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 20 100 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 32 32 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

2 32 64 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
M 3 32 96 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 32 128 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 32 160 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
291
292

ตารางที่ 6.15-C แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงสาหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย (ต่อ)


อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ (การตรวจสอบแบบผ่อนคลาย)
ตัวอย่าง ขนาด
ขนาด ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ชุดที่ ตัวอย่าง
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
1 50 50 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 50 100 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
N 3 50 150 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 50 200 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 50 250 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 80 80 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 80 160 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
P 3 80 240 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 80 320 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 80 400 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 125 125 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
2 125 250 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
Q 3 125 375 * 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 125 500 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 125 625 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13
1 200 200 # 2 # 2 # 3 # 3 0 4 0 4 0 5
การควบคุมคุณภาพ

2 200 400 0 2 0 3 0 3 1 4 1 6 2 7 3 8
R 3 200 600 0 2 0 3 1 4 2 5 2 7 4 9 6 10
4 200 800 0 2 1 3 2 5 3 5 4 8 6 11 9 12
5 200 1000 1 2 3 4 4 5 5 6 7 8 10 11 12 13

ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกใต้ลูกศร ถ้าขนาดตัวอย่างเท่ากับหรือใหญ่กว่าขนาดรุน่ ให้ทาการตรวจสอบทุกหน่วย


ใช้การชักตัวอย่างแผนแรกเหนือลูกศร
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วที่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูข่ ้างล่าง (ถ้ามี)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงคูท่ ี่สมนัยกัน หรือการใช้แผนการจัดตัวอย่างหลายเชิงข้างล่าง (ถ้ามี)
# ไม่มกี ารยอมรับสาหรับขนาดตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.16-A คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องซึ่งมีความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 10%

อักษรรหัส ขนาด AQL


ขนาดตัวอย่าง ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10
A 2 68.4 69.0*
B 3 53.6 54.1* 57.6
C 5 36.9 37.3* 39.8* 58.4
D 8 25.0 25.2* 27.0* 40.6 53.8
E 13 16.2 16.4* 17.5* 26.8 36.0 44.4
F 20 10.9 11.0* 11.8* 18.1 24.5 30.4 41.5
G 32 6.94 7.01* 7.50* 11.6 15.8 19.7 27.1 34.0
H 50 4.50 4.54* 4.87* 7.56 10.3 12.9 17.8 22.4 29.1
J 80 2.84 2.86* 3.07* 4.78 6.52 8.16 11.3 14.3 18.6 24.2
K 125 1.83 1.84* 1.97* 3.08 4.2 5.27 7.29 9.24 12.1 15.7 21.9
L 200 1.14 1.16 1.24* 1.93 2.64 3.31 4.59 5.82 7.60 9.91 13.8
M 315 0.728 0.735* 0.788* 1.23 1.68 2.11 2.92 3.71 4.85 6.33 8.84
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

N 500 0.459 0.464* 0.497* 0.776 1.06 1.33 1.85 2.34 3.06 4.00 5.6
P 800 0.287 0.290* 0.311* 0.485 0.664 0.833 1.16 1.47 1.92 2.51 3.51
Q 1250 0.184 0.186* 0.199* 0.311 0.425 0.534 0.741 0.94 1.23 1.61 2.25
R 2000 0.116* 0.124* 0.194 0.266 0.334 0.463 0.588 0.769 1.00 1.41
หมายเหตุ:
1. ทีร่ ะดับคุณภาพความเสีย่ งผูบ้ ริโภค เท่ากับ 10% ของรุน่ ทีจ่ ะยอมรับ
2. ค่าทัง้ หมดเป็นค่าทีม่ ีการแจกแจงแบบทวินาม
293
294

ตารางที่ 6.16-B คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของจานวนข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ซึ่งมีความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 10%

อักษรรหัส ขนาด AQL


ขนาดตัวอย่าง ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
A 2 115 116* 125* 194 266 334 464 589 770 1006 1409 1916
B 3 76.8 77.5* 83.0* 130 177 223 309 392 514 671 939 1277 1793
C 5 46.1 46.5* 49.8* 77.8 106 134 185 235 308 403 564 766 1076
D 8 28.8 29.1* 31.1* 48.6 66.5 83.5 116 147 193 252 352 479 672
E 13 17.7 17.9* 19.2* 29.9 41 51.4 71.3 90.5 119 155 217 295 414
F 20 11.5 11.6* 12.5* 19.4 26.6 33.4 46.4 58.9 77.0 101 141
G 32 7.2 7.26* 7.78* 12.2 16.6 20.9 29 36.8 48.1 62.9 88.1
H 50 4.61 4.65* 4.98* 7.78 10.6 13.4 18.5 23.5 30.8 40.3 56.4
J 80 2.88 2.91* 3.11* 4.86 6.65 8.35 11.6 14.7 19.3 25.2 35.2
K 125 1.84 1.86* 1.99* 3.11 4.26 5.34 7.42 9.42 12.3 16.1 22.5
L 200 1.15 1.16 1.25* 1.94 2.66 3.34 4.64 5.89 7.7 10.1 14.1
การควบคุมคุณภาพ

M 315 0.731 0.738* 0.791* 1.23 1.69 2.12 2.94 3.74 4.89 6.39 8.95
N 500 0.461 0.465* 0.498* 0.778 1.06 1.34 1.85 2.35 3.08 4.03 5.64
P 800 0.228 0.291* 0.311* 0.486 0.665 0.835 1.16 1.47 1.93 2.52 3.52
Q 1250 0.184 0.186* 0.199* 0.311 0.426 0.534 0.742 0.942 1.23 1.61 2.25
R 2000 0.116* 0.125* 0.266 0.334 0.334 0.464 0.589 0.77 1.01 1.41

หมายเหตุ:
1. ทีร่ ะดับคุณภาพความเสีย่ งผูบ้ ริโภค เท่ากับ 10% ของรุน่ ทีจ่ ะยอมรับ
2. ค่าทัง้ หมดเป็นค่าทีม่ ีการแจกแจงแบบทวินาม
ตารางที่ 6.17-A คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์ข้อบกพร่องซึ่งมีความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 5%

อักษรรหัส ขนาด AQL


ขนาดตัวอย่าง ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10
A 2 78
B 3 63
C 5 45 66
D 8 31 47 60
E 13 21 32 41 50
F 20 14 22 28 34 46
G 32 8.9 14 18 23 30 37
H 50 5.8 9.1 12 15 20 25 32
J 80 3.7 5.8 7.7 9.4 13 16 20 26
K 125 2.4 3.8 5.0 6.2 8.4 11 14 18 24
L 200 1.5 2.4 3.2 3.9 5.3 6.6 8.5 11 15
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

M 315 0.95 1.5 2.0 2.5 3.3 4.2 5.4 7.0 9.6
N 500 0.60 0.95 1.3 1.6 2.1 2.6 3.4 4.4 6.1
P 800 0.38 0.59 0.79 0.97 1.3 1.6 2.1 2.7 3.8
Q 1250 0.24 0.38 0.5 0.62 0.84 1.1 1.4 1.8 2.4
R 2000 0.24 0.32 0.39 0.53 0.66 0.85 1.1 1.5

หมายเหตุ:
1. ทีร่ ะดับคุณภาพความเสีย่ งผูบ้ ริโภค เท่ากับ 5% ของรุน่ ทีจ่ ะยอมรับ
2. ค่าทัง้ หมดเป็นค่าทีม่ ีการแจกแจงแบบทวินาม
295
296

ตารางที่ 6.17-B คุณภาพจากัด (LQ) ในรูปของจานวนข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ซึ่งมีความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (Pa) เท่ากับ 5%

อักษรรหัส ขนาด AQL


ขนาดตัวอย่าง ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
A 2 150 240 320 390 530 660 850 1100 1500 2000
B 3 100 160 210 260 350 440 570 730 1000 1400 1900
C 5 60 95 130 160 210 260 340 440 610 810 1100
D 8 38 59 79 97 130 160 210 270 380 510 710
E 13 23 37 48 60 8 100 130 170 230 310 440
F 20 15 24 32 39 53 66 85 110 150
G 32 9.4 15 20 24 33 41 53 68 95
H 50 6 9.5 13 16 21 26 34 44 61
J 80 3.8 5.9 7.9 9.7 13 16 21 27 38
K 125 2.4 3.8 5.0 6.2 8.4 11 14 18 24
L 200 1.5 2.4 3.2 3.9 5.3 6.6 8.5 11 15
การควบคุมคุณภาพ

M 315 0.95 1.5 2.0 2.5 3.3 4.2 5.4 7.0 9.6
N 500 0.6 0.95 1.3 1.6 2.1 2.6 3.4 4.4 6.1
P 800 0.38 0.59 0.79 0.97 1.3 1.6 2.1 2.7 3.8
Q 1250 0.24 0.38 0.5 0.62 0.84 1.1 1.4 1.8 2.4
R 2000 0.24 0.32 0.39 0.53 0.66 0.85 1.1 1.5
หมายเหตุ:
1. ทีร่ ะดับคุณภาพความเสีย่ งผูบ้ ริโภค เท่ากับ 5% ของรุน่ ทีจ่ ะยอมรับ
2. ค่าทัง้ หมดเป็นค่าทีม่ ีการแจกแจงแบบทวินาม
ตารางที่ 6.18 ตัวเลขพิกัดสาหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย

จานวนสิง่ ตัวอย่าง AQL


สะสมจาก 10 ลอตหรือ
แบซล่าสุดที่ตอ่ เนื่อง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
20 - 29 * * * * * * * * * * * * * * * 0 0 2 4 8 14 22 40 68 115 181
30 - 49 * * * * * * * * * * * * * * 0 0 1 3 7 13 22 36 63 105 178 277
50 - 79 * * * * * * * * * * * * * 0 0 2 3 7 14 25 40 63 110 181 301
80 - 129 * * * * * * * * * * * * 0 0 2 4 7 14 24 42 68 105 181 297
130 - 199 * * * * * * * * * * * 0 0 2 4 7 13 25 42 72 115 177 301 490
200 - 319 * * * * * * * * * * 0 0 2 4 8 14 22 40 72 115 181 277 471
320 - 499 * * * * * * * * * 0 0 1 4 8 14 24 39 68 115 189
500 - 799 * * * * * * * * 0 0 2 3 7 14 25 40 63 110 189
800 - 1249 * * * * * * * 0 0 2 4 7 14 24 42 68 105 181
1250 - 1999 * * * * * * 0 0 2 4 7 13 24 40 69 110 169
2000 - 3149 * * * * * 0 0 2 4 8 14 22 40 68 115 181
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

3150 - 4999 * * * * 0 0 1 4 8 14 24 38 67 111 186


5000 - 7999 * * * 0 0 2 3 7 14 25 40 63 110 181
8000 - 12499 * * 0 0 2 4 7 14 24 42 68 105 181
12500 - 19999 * 0 0 2 4 7 13 24 40 69 110 169
20000 - 31499 0 0 2 4 8 14 22 40 68 115 181
31500 ขึน้ ไป 0 1 4 8 14 24 38 67 111 186
*หมายเหตุ: จานวนสิ่งตัวอย่างสะสมจาก 10 ลอตหรือแบชล่าสุดที่ต่อเนื่องมีความไม่เพียงพอสาหรับการพิจารณาเพื่อสับเปลี่ยนเป็นการตรวจสอบแบบผ่อนคลายตาม AQL ที่กาหนด ในกรณีนี้ให้การ
ตรวจสอบลอตหรือแบชอย่างต่อเนื่องต่อไปอีก จนกระทั่งมีสิ่งตัวอย่างสะสมเพียงพอสาหรับอ่านค่าตัวเลขพิกัดตาม AQL ที่กาหนดโดยจะต้องไม่มีลอตหรือแบชใดเลยได้รับการปฏิเสธในการตรวจสอบแรกเริ่ม
297
298 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 6.8
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยว ให้ทาการเลือกแผนการชักสิ่งตั วอย่างเพื่อการยอมรับ
เชิงเดี่ยว เมื่อกาหนดขนาดของลอต 2,200 หน่วย และมี AQL 0.65%
วิธีทา
1. จากตารางที่ 6.12 ขนาดของลอตเท่ากับ 2,200 หน่วย (อยู่ระหว่าง 1,201 หน่วย ถึง 3,200
หน่วย) และในที่นี้มิได้กาหนดระดับการตรวจสอบ จึงใช้ระดับตรวจสอบทั่วไประดับที่ 2 (GII) อ่านอักษรรหัส
ได้เท่ากับ K
2. จากตารางที่ 6.13-A เมื่ออักษรรหัส คือ K และ AQL 0.65% จะได้ n = 125, Ac = 2 และ
Re = 3 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบปกติ ให้ทาการชักสิ่ง
ตัวอย่างมา 125 หน่ว ย แล้วตรวจสอบหาจานวนข้อบกพร่องหรือจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่อง ถ้าได้รวมกัน
0, 1 หรือ 2 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอต แต่หากได้ 3 หน่วยขึ้นไป ให้ทาการปฏิเสธลอต
3. จากตารางที่ 6.13-B เมื่ออักษรรหัส คือ K และ AQL 0.65% จะได้ n = 125, Ac = 1 และ
Re = 2 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อ การยอมรับเชิงเดี่ยวแบบเคร่งครัด ให้ทาการชักสิ่ง
ตัวอย่างมา 125 หน่วย แล้ วทาการตรวจสอบหาจานวนข้อบกพร่องหรือจานวนผลิตภัณ ฑ์บกพร่อง ถ้าได้
รวมกัน 0 หรือ 1 ให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้าหากได้ 2 ขึ้นไป ให้ทาการปฏิเสธลอต
จาก (2) และ (3) จะสังเกตได้ว่าในแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวทั้งแบบปกติ และแบบเคร่งครัด
ในกรณีที่ Ac ไม่เท่ากับ 0 เช่นกรณีนี้ ขนาดของสิ่งตัวอย่างของแผนการตรวจสอบทั้งสองแบบจะมีค่าเท่ากัน
เสมอ แต่ตัวเลขแห่งการยอมรั บของแบบเคร่งครัดจะมีค่าต่ากว่า ซึ่งมีผลทาให้มีโอกาสในการยอมรับลอตต่า
กว่าแบบปกติทั้งนี้เพื่อเป็นการประกันคุณภาพให้แก่ผู้บริโภคหรือลูกค้าต่อการลดความเสี่ยงในการยอมรับลอต
ที่มีคุณภาพต่ากว่าเกณฑ์นั่นเอง
4. จากตัวอย่างที่ 6.13-C เมื่ออักษรรหัส คือ K และ AQL 0.65% จะได้ n = 50, Ac = 1 และ
Re = 3 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบผ่อนคลายให้ทาการชักสิ่ง
ตัวอย่างมา 50 หน่วย แล้วทาการตรวจสอบหาจานวนข้อบกพร่องหรือจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่อง ถ้าหากไม่
พบข้อบกพร่องจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องเลย หรือตรวจพบข้อบกพร่องของจานวนผลิตภัณฑ์ 1 หน่วย ให้ทา
การยอมรับลอต ถ้าหากพบจานวนข้อบกพร่องของจานวนผลิตภัณฑ์ 3 หน่วย หรือมากกว่าให้ทาการปฏิเสธ
ลอต และถ้าหากตรวจพบจานวนข้อบกพร่องของจานวนผลิตภัณฑ์ 2 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอตดังกล่าว
แต่ลอตต่อไปให้สับเปลี่ยนไปใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบปกติแทน
จาก (1) และ (4) จะสังเกตเห็นได้ว่าในแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบผ่อนคลายจะมีขนาด
สิ่งตัวอย่างเล็กกว่าแบบปกติ เสมอ ซึ่งทาให้เกิดข้อดี คือ มีความประหยัดในการตรวจสอบมากกว่าแบบปกติ
อย่างไรก็ตามถ้าหากคุณภาพของลอตมิได้มีคุ ณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่เพียงพอแล้ ว ก็จะทาให้มีความเสี่ยงต่อ
ผู้บริโภคหรือลูกค้าในการรับลอตที่มีคุณภาพต่ากว่าเกณฑ์ได้
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 299

ตัวอย่างที่ 6.9
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวทาให้การเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
แบบเชิงเดี่ยว ตามตัวอย่างที่ 6.8 อีกครั้ง โดยกาหนดให้ AQL 0.065%
วิธีทา
1. เช่นเดียวกับตัวอย่างที่ 6.8 ได้อักษรรหัส K
2. จากตารางที่ 6.13-A อ่านพบเครื่องหมายลูกศร จะต้องใช้แผนการภายใต้ลูกศร คือ ใช้แผนการชัก
สิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส L ได้ n = 200, Ac = 0 และ Re = 1 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เพื่อการยอมรั บ เชิงเดี่ย วปกติ ให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้าพบข้อบกพร่องหรือผลิ ตภัณฑ์บกพร่องแม้แต่
1 หน่วย ให้ทาการปฏิเสธลอต
3. จากตารางที่ 6.13-B อ่านพบเครื่องหมายลูกศร จะต้องใช้แผนการภายใต้ลูกศร คือ ใช้แผนการชัก
สิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส M ได้ n = 315, Ac = 0 และ Re = 1 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบเคร่งครัด ให้ทาการชักสิ่งตัว อย่างมา 315 หน่วย หากตรวจไม่พบข้อ บกพร่อง
หรือผลิตภัณฑ์บกพร่องเลยให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้าหากพบข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องแม้แต่ 1
หน่วย ให้ทาการปฏิบัติลอต
จาก (2) และ (3) นี้จะสังเกตเห็นว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ ยวทั้งแบบปกติและแบบ
เคร่งครัด ถ้าหาก Ac มีค่าเท่ากับ 0 แล้ว ขนาดของสิ่งตัวอย่างของแผนการตรวจสอบแบบเคร่ งครัดจะมีค่า
มากกว่าแบบปกติเสมอ ซึ่งมีผลทาให้มีโอกาสในการยอมรับลอตต่ากว่าแบบปกติ ทั้งนี้เพื่อเป็นการประกัน
คุณภาพให้ แก่ผู้บ ริโภคหรือลูกค้าต่อการลดความเสี่ ยงในการยอมรับลอตที่มีคุณภาพต่ากว่าเกณฑ์นั่นเอง
และทาการเปรียบเทียบกับกรณีเดียวกันนี้ในตัวอย่างที่ 6.7 ด้วย
4. จากตารางที่ 6.13-C อ่านพบเครื่องหมายลูกศร จะต้องใช้แผนการภายใต้ลูกศรคือ ใช้แผนการชัก
สิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส L ได้ n = 80, Ac = 0 และ Re = 1 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบผ่อนคลายให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมา 80 หน่วย หากตรวจไม่พบข้อบกพร่องหรือ
ผลิตภัณฑ์บกพร่องเลย ให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้าหากตรวจพบข้อบกพร่องหรือผลิตภัณฑ์บกพร่องแม้แต่
1 หน่วย ให้ทาการปฏิเสธลอตนั้น

ตัวอย่างที่ 6.10
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยว ให้ทาการเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
เชิงเดี่ยว โดยกาหนดให้มีขนาดลอต 800 หน่วย และให้ AQL เป็นข้อบกพร่อง 25 หน่วยต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์
และระดับตรวจสอบทั่วไประดับที่ 3
วิธีทา
1. จากตารางที่ 6.12 ขนาดของลอตเท่ากับ 800 หน่วย (อยู่ระหว่าง 501 และ 1,200 หน่วย) ด้วย
การกาหนดระดับการตรวจสอบทั่วไประดับ 3 (GIII) อ่านอักษรรหัสได้เท่ากับ K
2. จากตารางที่ 6.13-A อ่านพบเครื่องหมายลูกศรจะต้องใช้แผนการเหนือลูกศร คือ ใช้แผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างตามอักษรตามรหัส H ได้ n = 50, Ac = 21 และ Re = 22 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบปกติให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมา 50 หน่วย ถ้าหากพบข้อบกพร่องร่วมกัน
300 การควบคุมคุณภาพ

ไม่เกิน 21 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้าหากตรวจพบข้อบกพร่อง 22 หน่วยหรือมากกว่าแล้วให้ทาการ


ปฏิเสธลอตนั่น
3. จากตารางที่ 6.13-B อ่านพบเครื่องหมายลูกศรจะต้องใช้แผนการเหนือลูกศร คือ ใช้แผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างตามอักษรรหัส H ได้ n = 50, Ac = 18 และ Re = 19 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบเคร่งครัดให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมา 50 หน่วย ถ้าหากพบข้อบกพร่องร่วมกันไม่
เกิน 18 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้าหากตรวจพบข้อบกพร่อง 19 หน่วย หรือมากกว่าแล้วให้ทาการ
ปฏิเสธลอตนั่น
4. จากตารางที่ 6.13-C อ่านพบเครื่องหมายลูกศรจะต้องใช้แผนการเหนือลูกศร คือ ใช้แผนการชัก
สิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส H ได้ n = 20, Ac = 10 และ Re = 13 ซึ่งมีความหมายว่า ในแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวแบบผ่อนคลาย ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมา 20 หน่วย ถ้าหากพบข้อบกพร่อง
ร่วมกันไม่เกิน 10 หน่วยให้ทาการยอมรับลอต แต่ถ้าหากตรวจพบข้อบกพร่องรวมกัน 13 หน่วยหรือมากกว่า
แล้ ว ให้ ท าการปฏิ เ สธลอตนั้ น และในกรณี ที่ ตรวจพบข้อ บกพร่ อ งรวมกั น 11 หรื อ 12 หน่ ว ย ให้ ทาการ
ยอมรับลอตดังกล่าว แต่ลอตถัดไปให้สับเปลี่ยนไปทาการตรวจสอบด้วยแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบปกติ

ตัวอย่างที่ 6.11
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่ให้ทาการเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่
โดยกาหนดให้ขนาดลอต 400 หน่วย และให้ AQL เป็นค่าร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่องเท่ากับ 0.10% และ
ระดับการตรวจสอบทั่วไประดับ 1
วิธีทา
1. จากตารางที่ 6.12 ขนาดของลอตเท่ากับ 400 หน่วย (อยู่ระหว่าง 281 ถึง 500 หน่วย) ด้วยระดับ
การตรวจสอบทั่วไประดับ 1 ได้อักษรรหัสเท่ากับ F
2. จากตารางที่ 6.14-A อ่าพบเครื่องหมายลูกศร คือ ใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส K แต่
ปรากฏว่าที่อักษรรหัส K ไม่มีแผนการชักสิ่งตัวอย่าง (ดูจากเครื่องหมาย *) จะมีการตัดสินใจได้ 2 แนวทาง คือ
ใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่ใต้เครื่องหมาย * (ถ้ามี) หรือให้ใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการ
ยอมรับเชิงเดี่ยวที่สอดคล้อง
ในกรณีนี้พบว่าไม่มีแผนการชักสิ่งตัวอย่างใต้เครื่องหมาย * จึงเหลือกรณีเดียว คือ การใช้แผนการชัก
สิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยว โดยให้กลับไปพิจารณาตารางที่ 6.13-A เหมือนตัวอย่างที่ 6.8 ได้แผนการ
ชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยว คือ n = 125, Ac = 0 และ Re = 1
3. ด้วยตารางที่ 6.14-B อ่านพบเครื่องหมายลูกศรเหมือนกรณีแผนการตรวจสอบแบบปกติ จึงให้ใช้
แผนการชักสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส L ซึ่งระบุแผนการด้วยเครื่องหมาย * จึงสามารถตัดสินใจได้ 2 กรณี คือ
การใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยว จากตารางที่ 6.13-B ได้ n = 200, Ac = 0 และ Re = 1
ในกรณีที่ต้องการใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่ต่อไป จะต้องใช้แผนการใต้เครื่องหมาย *
ไม่มีแผนการชักสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส P คือ n1 = n2 = 400, Ac1 = 0, Re1 = 2, Ac2 = 1 และ Re2 = 2
แต่ด้วยปรากฏว่าขนาดสิ่งตัวอย่างทั้งหมด (เท่ากับ 800 หน่วย) เกินขนาดของลอต จึงสรุปว่า ถ้าหากต้องการจะใช้
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงคู่แล้ว จะต้องทาการตรวจสอบแบบ 100%
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 301

4. ด้วยตารางที่ 6.14-C อ่านพบเครื่องหมายลูกศรใต้ลูกศร คือ เครื่องหมายและใต้เครื่องหมาย * ไม่


มีแผนการชักสิ่ งตัว อย่าง จึ งจาเป็น ต้องใช้แผนการชักสิ่ งตัว อย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวที่ส อดคล้ องกัน
จากตารางที่ 6.13-C จะใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส K ได้ n = 50, Ac = 0 และ Re = 1

ตัวอย่างที่ 6.12
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิง ให้ทาการเลือกแผนการชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
หลายเชิง โดยกาหนดให้ขนาดลอต 600 หน่วย และให้ AQL เป็นค่าร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่องเท่ากับ
2.5%
วิธีทา
1. จากตารางที่ 6.12 ขนาดของลอตเท่ากับ 600 หน่วย (อยู่ระหว่าง 501 ถึง 1,200 หน่วย) ด้วย
ระดับการตรวจสอบทั่วไประดับ 2 ได้อักษรรหัสเท่ากับ J
2. จากตารางที่ 6.15-A ได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงแบบปกติ คือ
n1 = 20 Ac1 = # Re1 = 4
n2 = 20 Ac2 = 1 Re2 = 5
n3 = 20 Ac3 = 2 Re3 = 6
n4 = 20 Ac4 = 3 Re4 = 7
n5 = 20 Ac5 = 5 Re5 = 8
n6 = 20 Ac6 = 7 Re6 = 9
n7 = 20 Ac7 = 9 Re7 = 10
โดยมีความหมายดังนี้ คือ
ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมาตรวจสอบครั้งแรก 20 หน่วย ถ้าพบผลิตภัณฑ์บกพร่อง 4 ชิ้นหรือมากกว่า
ให้ทาการปฏิเสธลอตนั่นทันที แต่ถ้าหากพบผลิตภัณฑ์บกพร่อง 0, 1, 2 หรือ 3 ชิ้น ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมา
ตรวจสอบต่อไปครั้งที่ 2 (ในที่นี้ Ac1 = # ซึ่งหมายถึง แผนการไม่ยอมให้มีการยอมรับลอตในการตรวจสอบ
ด้วยขนาดตัวอย่างสะสมเพียง 20 ตัว)
ในกรณีที่ต้องมีการชักสิ่งตัวอย่างมาตรวจสอบต่อ ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมาตรวจสอบอีก 20 หน่วย
ถ้าพบผลิตภัณฑ์บกพร่องที่รวมกับจานวนผลิตภัณฑ์บ กพร่องในการตรวจสอบครั้งแรกแล้ว ได้ 6 หน่วยหรือ
มากกว่า ให้ทาการปฏิเสธลอตนั่ นทันที แต่ถ้าหากตรวจพบผลิ ตภัณฑ์บกพร่องที่รวมกับจานวนผลิตภัณฑ์
บกพร่องในการตรวจสอบครั้งแรกแล้วได้ 0, 1 หรือ 2 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอตทันที แต่ถ้าผลรวมของ
จานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องทั้งสามครั้งเป็น 3, 4 หรือ 5 หน่วย ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมาทาการตรวจสอบครั้ง
ต่อไปครั้งที่ 4
ในกรณีที่ต้องมีการชักสิ่ งตัวอย่างมาตรวจสอบต่อครั้งที่ 4 ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมาตรวจสอบอีก
20 หน่วย ถ้าพบจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องทั้งสี่ครั้งมารวมกันแล้วเป็น 7 หน่วยหรือมากกว่า ให้ทาการปฏิเสธ
ลอตทันที แต่ถ้าหากจานวนผลิตภัณ ฑ์บกพร่องทั้งสี่ครั้งรวมกันแล้ว เป็น 0, 1, 2 หรือ 3 หน่วย ให้ทาการ
ยอมรับลอตทันที แต่ถ้าผลรวมของจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องจากการตรวจสอบทั้งสี่ครั้งได้ 4, 5 หรือ 6 หน่วย
ให้ทาการ ชักสิ่งตัวอย่างมาทาการตรวจสอบต่อไปครั้งที่ 5
302 การควบคุมคุณภาพ

ในกรณีที่ต้องมีการชักสิ่งตัวอย่างมาตรวจสอบต่อครั้งที่ 5 ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมาตรวจสอบอีก
20 หน่วย ถ้าพบจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องรวมกันทั้งห้าครั้งได้ 8 หน่วยหรือมากกว่า ให้ทาการปฏิเสธลอต
ทันที แต่ถ้าหากจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องรวมกันทั้งห้าครั้งได้ 0, 1, 2, 3, 4 หรือ 5 ให้ทาการยอมรับลอต
ทันที และถ้าผลรวมของจานวนผลิตภั ณฑ์บกพร่องทั้งห้าครั้งเท่ากับ 6 หรือ 7 หน่วย ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่าง
มาทาการตรวจสอบต่อไปครั้งที่ 6
ในกรณีที่ต้องมีการชักสิ่ งตัวอย่างมาตรวจสอบต่อครั้งที่ 6 ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างมาตรวจสอบอีก
20 หน่วย ถ้าจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องรวมกัน ทั้งหกครั้งได้ 9 หน่วยหรือมากกว่า ให้ทาการปฏิเสธลอต
แต่ถ้าจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องในการตรวจสอบทั้งหกครั้งรวมกันแล้วไม่เกิน 7 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอต
และถ้าจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่ องสะสมจากการตรวจทั้งหกครั้งได้ 8 หน่วย ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 7
ต่อไป
ในกรณี ที่ ต้ อ งการมี ก ารชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งมาตรวจสอบต่ อ ครั้ ง ที่ 7 ให้ ท าการชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งอี ก
20 หน่ วย รวมเป็น จานวนสิ่งตัวอย่ างสะสมทั้งสิ้น 140 หน่วย ถ้าหากจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องสะสมไม่
มากกว่า 9 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอตและถ้าจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องสะสมไม่น้อยกว่า 10 หน่วย ให้ทา
การปฏิเสธลอต
3. จากตารางที่ 6.15-B ได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงแบบเคร่งครัด คือ
n1 = 20 Ac1 = # Re1 = 3
n2 = 20 Ac2 = 0 Re2 = 3
n3 = 20 Ac3 = 1 Re3 = 4
n4 = 20 Ac4 = 2 Re4 = 5
n5 = 20 Ac5 = 3 Re5 = 6
n6 = 20 Ac6 = 4 Re6 = 6
n7 = 20 Ac7 = 6 Re7 = 7
ซึ่งจะตีความหมายได้เหมือนกับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงแบบปกติ ตามข้อ
2 ทุกประการ
4. จากตารางที่ 6.15-C ได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงแบบผ่อนคลาย คือ
n1 = 20 Ac1 = # Re1 = 3
n2 = 20 Ac2 = 0 Re2 = 4
n3 = 20 Ac3 = 0 Re3 = 5
n4 = 20 Ac4 = 1 Re4 = 6
n5 = 20 Ac5 = 2 Re5 = 7
n6 = 20 Ac6 = 3 Re6 = 7
n7 = 20 Ac7 = 4 Re7 = 8
การตีความหมายจะเหมือนกับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับหลายเชิงแบบปกติทุกประการ
เพียงแต่ในครั้งสุดท้าย คือ ครั้งที่ 7 พบว่าจากการตรวจสอบด้วยสิ่งตัวอย่างสะสม 7 ครั้งรวม 140 หน่วย
ถ้าหากตรวจพบจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องสะสม 8 หน่วยหรือมากกว่า ให้ทาการปฏิเสธลอตหากตรวจพบ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 303

ผลิตภัณฑ์บกพร่องสะสมไม่เกิน 4 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอตแต่ถ้าหากจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องสะสม


5, 6 หรือ 7 หน่วย ให้ทาการยอมรับลอตดังกล่าว แต่ให้สับเปลี่ยนไปใช้การตรวจสอบแบบปกติแทน

ตัวอย่างที่ 6.13
กฎการสับเปลี่ยน (1) ขนาดลอต 2,000 หน่วย และ AQL 0.65% ได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการ
ยอมรับเชิงเดี่ยว คือ

แบบของการตรวจสอบ N Ac Re
ปกติ 125 2 3
เคร่งครัด 125 1 2
ผ่อนคลาย 50 1 3

ให้ประยุกต์กฎการสับเปลี่ยนตามมาตรฐาน MIL–STD-105E เพื่อพิจารณาว่าลอตต่อไปนี้ควรจะมี


การตรวจสอบแบบใด และมีการตัดสินใจจากผลการตรวจสอบประการใด
ถ้าผลการตรวจสอบใน 10 ลอตแรก คือ 3 2 2 3 2 1 2 0 3 2
วิธีทา

ลอตที่ แผนการตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์บกพร่อง การตัดสินใจ


1 ปกติ 3 ปฏิเสธ
2 ปกติ 2 ยอมรับ
3 ปกติ 2 ยอมรับ
4 ปกติ 3 ปฏิเสธ
5 เคร่งครัด 2 ปฏิเสธ
6 เคร่งครัด 1 ยอมรับ
7 เคร่งครัด 2 ปฏิเสธ
8 เคร่งครัด 0 ยอมรับ
9 เคร่งครัด 3 ปฏิเสธ
10 เคร่งครัด 2 ปฏิเสธ

ในการตรวจสอบลอตที่ 11 ยังคงตรวจสอบแบบเคร่งครัด และถ้าหากมีการปฏิเสธลอตที่ 11 อีกก็ควร


จะยุติการตรวจและกลับไปค้นหาสาเหตุของข้อบกพร่องแล้ว ทาการแก้ไขให้ถูกต้องต่อไป แต่ถ้าลอตที่ 11
ได้รับการยอมรับ ก็ต้องให้มีการตรวจสอบแบบเคร่งครัดต่อไปอีก
304 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 6.14
กฎการสับเปลี่ยน (2) ขนาดของลอต 2,000 หน่วย และ AQL 0.065% ได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อ
การยอมรับเชิงเดี่ยว คือ

แบบของการตรวจสอบ N Ac Re
ปกติ 200 0 1
เคร่งครัด 315 0 1
ผ่อนคลาย 80 0 1

ให้พิจารณาว่าในแต่ละลอตควรมีการตรวจสอบแบบใด และจะตัดสินใจประการใด ถ้าผลการ


ตรวจสอบใน 10 ลอตแรก คือ 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0
วิธีทา

ลอตที่ แผนการตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์บกพร่อง การตัดสินใจ


1 ปกติ 1 ปฏิเสธ
2 ปกติ 0 ยอมรับ
3 ปกติ 0 ยอมรับ
4 ปกติ 0 ยอมรับ
5 ปกติ 0 ยอมรับ
6 ปกติ 0 ยอมรับ
7 ปกติ 0 ยอมรับ
8 ปกติ 0 ยอมรับ
9 ปกติ 0 ยอมรับ
10 ปกติ 0 ยอมรับ

ในการตรวจสอบลอตที่ 11 ยังคงทาการตรวจสอบแบบปกติ และแม้ว่าจะมีการยอมรับลอตอีกคิด


เป็นลอตที่ 10 ต่อเนื่องกัน และมีจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่องสะสม 0 หน่วยก็ตาม ก็ยังไม่สามารถสับเปลี่ยนไป
ใช้การตรวจสอบแบบผ่อนคลายได้ทั้งนี้เนื่องจากตารางที่ 6.18 จะพบว่าจานวนสิ่งตัวอย่างที่น้อยที่สุดที่จะทา
ให้สับเปลี่ยนไปใช้การตรวจสอบแบบผ่อนคลายได้ คือ 3,150 หน่วย หรือเท่ากับ 16 ลอต (3,150/200) ซึ่งมี
ความหมายว่า จะต้องมีการยอมรับอย่างต่อเนื่อง 16 ลอต จึงจะสามารถสับเปลี่ยนไปใช้การตรวจสอบแบบ
ผ่อนคลายได้
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 305

ตัวอย่างที่ 6.15
กฎการสับเปลี่ยน (3) ขนาดลอต 1,000 และ AQL เป็นข้อบกพร่อง 25 หน่วยต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์
ได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ คือ

แบบของการตรวจสอบ N Ac Re
ปกติ 50 21 22
เคร่งครัด 50 18 19
ผ่อนคลาย 20 10 13

ให้พิจารณาว่าในแต่ละลอตควรจะมีการตรวจสอบแบบใด และจะตัดสินใจประการใด ถ้าผลการ


ตรวจสอบใน 10 ลอตแรก คือ 22 23 20 18 18 19 20 20 18 19
วิธีทา

ลอตที่ แผนการตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์บกพร่อง การตัดสินใจ


1 ปกติ 22 ปฏิเสธ
2 ปกติ 23 ปฏิเสธ
3 เคร่งครัด 20 ปฏิเสธ
4 เคร่งครัด 18 ยอมรับ
5 เคร่งครัด 18 ยอมรับ
6 เคร่งครัด 19 ปฏิเสธ
7 เคร่งครัด 20 ปฏิเสธ
8 เคร่งครัด 20 ปฏิเสธ
9 เคร่งครัด 18 ยอมรับ
10 เคร่งครัด 19 ปฏิเสธ

ในลอตที่ 11 ให้ยุติการตรวจสอบแบบชักสิ่งตัวอย่าง โดยควรทาการปรับปรุงกระบวนการผลิต


และหากมีการตรวจสอบควรมีการตรวจสอบแบบ 100% เพื่อประกันคุณภาพ
6.2.4.14 การเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างในกรณีลอตมีความไม่คุ้นเคย
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) การเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับดังที่ได้กล่าวมาแล้วใน
หัวข้อ 6.2.4.12 นั้นจะต้องอยู่ในกรณีที่ลอตดังกล่าวมีความต่อเนื่อง (Stream of Lots) ซึ่งผู้ตรวจจะมีความคุ้นเคย
กับคุณภาพของลอตที่ตรวจ ซึ่งจะไม่สามารถใช้วิธีดังกล่าวกับกรณีที่มีลอตไม่คุ้นเคย (Isolated Lot) ได้เนื่องจาก
ผู้ตรวจสอบจะมีความรู้เกี่ยวกับคุณภาพของลอตที่ตรวจน้อยมาก
ในการเลือกใช้ AQL กับลอตที่คุ้นเคย เนื่องมาจากว่าแผนการชักสิ่งตัวอย่างตามระบบ AQL
เป็นแผนการที่มีการประกันต่อการรับผลิตภัณฑ์ที่ดีเท่านั้น ซึ่งหมายถึงความพยายามให้มีโอกาสน้อยต่อการ
ปฏิเสธลอตที่มีคุณภาพแย่หรือคุณภาพดีไม่ถึงเกณฑ์ ดังนั้นในกรณีที่มีการตรวจสอบลอตที่ไม่คุ้นเคยจึงไม่
สามารถใช้ระบบ AQL ได้ แต่ควรจะดาเนินการใช้แผนการที่มีการประกันต่อการปฏิเสธลอตที่มีคุณภาพแย่ ซึ่ง
แม้ว่าลอตจะมีคุณภาพดีไม่ถึงเกณฑ์ก็ตาม ก็ยังไม่อยู่ในข่ายให้การปฏิเสธ MIL–STD–105E เรียกระดับ
306 การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพที่มีโอกาสสูงในการปฏิเสธภายหลังจากการตรวจสอบนี้ว่า “คุณภาพจากัด (Limiting Quality: LQ)”


ซึ่งอาจมีชื่อเรียกเป็นอื่นในมาตรฐานอื่นๆ เช่น LTPD (Lot Tolerance Percent Defective) หรือ RQL
(Rejectable Quality Level) เป็นต้น
ในความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E สามารถใช้ค่า LQ ในการหาแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างเพ่อการยอมรับได้ โดยตารางที่ 6.16 และตารางที่ 6.17 ได้แสดงถึงค่า LQ เมื่อกาหนดให้มีความเสี่ยง
ของผู้บริโภคหรือลูกค้า (โอกาสในการยอมรับลอตที่มีคุณภาพแย่) เท่ากับ 10% และ 5% โดยลาดับ

ตัวอย่างที่ 6.16
การเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่างกรณีลอตไม่คุ้นเคย ที่กาหนด AQL = 0.65% และขนาดลอต
เท่ากับ 2,000 หน่วย ถ้าหากเป็นลอตที่ไม่คุ้นเคยแล้ว ได้มีกาหนดระดับคุณภาพจากัดไว้ที่ 3.0% ด้วยความ
เสี่ยงของผู้บริโภค 10% ต่อการตัดสินใจยอมรับลอตที่มีคุณภาพแย่ ให้ทาการเลือกแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
วิธีทา
จากตารางที่ 6.16-A เมื่อ AQL = 0.65% จะได้ LQ 2.9% (ใกล้เคียงที่สุดกับ 3.0%) ที่อักษร
รหัส Mและจากตารางที่ 6.13-A สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบปกติ จะได้ n = 315, Ac = 5
และ Re = 6
ในการเปรียบเทียบตัวอย่างที่ 6.8 จะเห็นได้ว่า ในกรณีที่เป็นลอตต่อเนื่องจะใช้ขนาดสิ่งตัวอย่าง
(n) เพียง 125 ตัวเท่านั้น ทั้งนี้เพราะไม่มี ความจาเป็นต้องตรวจด้วยจานวนสิ่งตัวอย่างที่มากเนื่องจากคุ้นเคย
กับคุณภาพของลอตแล้ว
ในมาตรฐาน MIL–STD–105E ได้กาหนดค่า LQ เฉพาะแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบ
ปกติ ที่มีความเสี่ยงของลูกค้าหรือผู้บริโภค มีค่าเท่ากับ 10% และ 5% เท่านั้น ถ้าในกรณีอื่น มีความจาเป็นที่
ผู้วิเคราะห์จะต้องศึกษาจากเส้นโค้งโอซี (OC Curve) ซึ่งจะได้กล่าวในหัวข้อต่อไป
6.2.4.15 ตัวประเมินแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) สาหรับในบทนี้จะกล่าวถึงตัวประเมินสมรรถนะ (Performance)
สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่าง ซึ่งจะมี 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 ประเมินแผนการชักสิ่งตัวอย่างด้วยการพิจารณาความเสี่ยง (Risk) โดยอาศัยเส้นโค้ง
โอซี (Operation Characteristic Curve: OC Curve)
กลุ่มที่ 2 ประเมินแผนการชัดสิ่งตัวอย่างด้วยการประเมินถึงคุณภาพหลังการตรวจสอบโดยอาศัย
ขีดจากัดคุณภาพจ่ายออกเฉลี่ย (Average Outgoing Quality Limit: AOQL) และคุณภาพจ่ายออกเฉลี่ย
(Average Outgoing Quality: AOQ)
กลุ่มที่ 3 ประเมินแผนการชักสิ่งตัวอย่างด้วยการประเมินถึงผลด้านเศรษฐศาสตร์ โดยอาศัย
ขนาดสิ่งตัวอย่างโดยเฉลี่ย (Average Sample Size: ASS)
1. เส้นโค้งโอซี
หมายถึง ตัววัดสมรรถนะ (Performance) ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ ดังแสดง
ในรูปที่ 6.15 ซึ่งจะพบว่าโครงสร้างของเส้นโค้งโอซีจะประกอบด้วยแกนนอน หมายถึง พารามิเตอร์ที่ระบุคุณภาพ
ของลอต (ในที่นี้ คือ สัดส่วนของข้อบกพร่องหรือสัดส่วนของผลิตภัณฑ์บกพร่อง) โดยจะมีความสัมพันธ์กับโอกาส
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 307

(Chance) ในการยอมรับลอตนั้นๆ ด้วยแผนการชักสิ่งตัวอย่างที่ศึกษาและมีการระบุค่าของโอกาสดังกล่าวใน


รูปแบบของความน่าจะเป็น (Probability) บนเส้นโค้งโอซีนี้จะมีจุดที่น่าสนใจ 2 จุดด้วยกัน คือ จุดที่
คาดหมายว่าจะให้มีโอกาสค่อนข้างสูงในการยอมรับลอต หมายถึงจุด AQL โดยจุดดังกล่าวนี้จะแสดงถึงโอกาส
ในการปฏิเสธลอตนั้นๆ ที่ลอตมีคุณภาพในระดับ AQL ด้วย และจะเรียกโอกาสดังกล่าวว่า “ความเสี่ยงของ
ผู้ผลิต (Producer’s Risk)” ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย α (Alpha, อัลฟา) และอีกจุดหนึ่ง คือ จุดที่คาดหมายว่า
จะให้มีโอกาสค่อนข้างสูงในการปฏิเสธตลอด ซึ่งหมายถึงจุด LQ โดยจุดดังกล่าวนี้จะแสดงถึงโอกาสในการ
ยอมรับลอตทั้งๆ ที่ลอตมี คุณภาพในระดับ LQ และจะเรียกโอกาสดังกล่าวว่า “ความเสี่ยงของผู้บริโภค
(Consumer’s Risk)” ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย β (Beta, เบต้า)
Pa
ผู้ผลิตไม่ต้องการปฏิเสธที่คุณภาพนี้
โอกาสยอมรับ
1.0
α ความเสี่ยงของผู้ผลิต
0.95

ลูกค้าไม่ต้องการรับลอตที่คุณภาพนี้

β ความเสี่ยงของผู้บริโภค
AQL LQ 0.1
สัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่อง

รูปที่ 6.15 ลักษณะเส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่าง

ในมาตรฐาน MIL–STD–105E ได้แสดงเส้นโค้งโอซีของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว


ตามอักษรรหัส A ถึง R โดยยกเว้นอักษรรหัส S ที่ได้แสดงเฉพาะแผนการชักสิ่งตัวอย่างโดยเส้นโค้งโอซีสาหรับ
แผนการชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งเชิ ง คู่ แ ละหลายเชิ ง จะคล้ า ยกั บ แผนการชั ก สิ่ ง ตั ว อย่ า งเชิ ง เดี่ ย วมาก ส าหรั บ
ค่าพารามิเตอร์ของลอตนั้นในมาตรฐาน MIL–STD–105E ได้แสดงค่าร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง เมื่อค่า
AQL ไม่เกิน 10% และขนาดสิ่งตัวอย่างไม่เกิน 80 จะคานวณค่าความน่าจะเป็นในการยอมรับลอตด้วยการ
แจกแจงแบบปัวส์ซอง (Poisson) นอกจากนี้ในกรณีที่ค่า AQL ไม่เกิน 10% และขนาดสิ่งตัวอย่างมากกว่า 80
จะคานวณค่าความน่าจะเป็นในการยอมรับลอตด้วยการแจกแจงแบบปัว ส์ชอง โดยใช้ทั้งกรณีข้อบกพร่องต่อ
ร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ และค่าร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง (คือ ใช้การแจกแจงแบบปัว ส์ชองประมาณค่าของ
การแจกแจงแบบทวินาม)
308

ตารางที่ 6.19-A แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส A

แผนภูมิ A เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)

Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.19-A-1 ค่าจากตารางสาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


6.5 6.5 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
Pa
p (ความไม่เป็นไปตาม
p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )
ข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ)
99.0 0.501 0.503 7.43 21.8 41.2 89.3 145 175 239 305 374 517 629 859 977
95.0 2.53 2.56 17.8 40.9 68.3 131 199 235 308 384 462 622 745 995 1122
90.0 5.13 5.27 26.6 55.1 87.2 158 233 272 351 432 515 684 812 1073 1206
75.0 13.4 14.4 48.1 86.4 127 211 298 342 431 521 612 795 934 1214 1354
50.0 29.3 34.7 83.9 134 184 284 383 433 533 633 733 933 1083 1383 1533
25.0 50 69.3 135 196 255 371 484 540 651 761 870 1087 1248 1568 1728
10.0 68.4 115 194 266 334 464 589 650 770 889 1006 1238 1409 1748 1916
5.0 77.6 150 237 315 388 526 657 722 848 972 1094 1335 1512 1862 2035
1.0 90 230 332 420 502 655 800 870 1007 1141 1272 1529 1718 2088 2270
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

40 65 100 150 250 400 650 1000


ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
309
310

ตารางที่ 6.19-A-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง A

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


แผนการชัก ตัวอย่าง < 6.5 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 2 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 22 11 27 28 30 31

เชิงคู่ * ใช้ ใช้ ใช้ (*) (*) (*) (*) (*) (*) (*) (*) (*) (*) (*) (*) (*)
อักษร อักษร อักษร
รหัส D รหัส C รหัส B
หลายเชิง * * * * * * * * * * * * * *

< 6.5 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000


ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )
การควบคุมคุณภาพ

ใช้อกั ษรรหัสตัวอย่างถัดไปสาหรับเลขจานวนที่ยอมรับ และเลขจานวนที่ไม่ยอมรับ


Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส D)
(*) ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ ว (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส B)
ตารางที่ 6.20-B แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส B

แผนภูมิ B เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)

Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
311
312

ตารางที่ 6.20-B-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


4.0 4.0 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
Pa
p (ความไม่เป็นไปตาม
p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )
ข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ)
99.0 0.33 0.335 4.95 14.5 27.4 59.5 96.9 117 159 203 249 345 419 572 651 947 1029
95.0 1.70 1.71 11.8 27.3 45.5 87.1 133 157 206 256 308 415 496 663 748 1065 1152
90.0 3.45 3.51 17.7 36.7 58.2 105 144 181 234 288 343 456 541 716 804 1131 1222
75.0 9.14 9.59 32 57.6 84.5 141 199 228 287 347 408 530 623 809 903 1249 1344
50.0 20.6 23.1 55.9 89.1 122 189 256 289 356 422 489 622 722 922 1022 1389 1489
25.0 37 46.2 89.8 131 170 247 323 360 434 507 580 724 832 1045 1152 1539 1644
10.0 53.6 76.8 130 177 223 309 392 433 514 593 671 825 939 1165 1277 1683 1793
5.0 53.2 99.9 158 210 258 350 438 481 565 648 730 890 1008 1241 1356 1773 1886
1.0 78.5 154 221 280 335 437 533 580 671 761 848 1019 1145 1392 1513 1951 2069
การควบคุมคุณภาพ

6.5 6.5 25 40 65 100 150 250 400 650 1000


ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.20-B-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง B

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


แผนการชัก ตัวอย่าง < 4.0 4.00 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 2 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22 27 28 30 31 41 42 44 45

2 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16 15 20 17 22 23 29 25 31
เชิงคู่ * ใช้ ใช้ ใช้
4 อักษร อักษร อักษร 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27 34 35 37 38 52 53 56 57
รหัส A รหัส D รหัส C

หลายเชิง * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++

< 6.5 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000


ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

ใช้อกั ษรรหัสตัวอย่างถัดไปสาหรับเลขจานวนที่ยอมรับ และเลขจานวนที่ไม่ยอมรับ


Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส E)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ ว (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส D)
313
314

ตารางที่ 6.21-C แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส C

แผนภูมิ C เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)

Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.21-C-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


2.5 10 2.5 10 15 25 40 65 100 150 400 650 1000
Pa
p (ความไม่เป็นไปตาม
p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )
ข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ)
99.0 0.201 3.27 0.20 2.97 8.72 16.5 35.7 58.1 70.1 95.4 122 150 207 251 343 391 568 618
95.0 1.02 7.64 1.03 7.11 16.4 27.3 52.3 79.6 94 123 154 185 249 298 398 449 639 691
90.0 2.09 11.2 2.11 10.6 22 34.9 63 93.1 109 140 173 206 273 325 429 482 679 733
75.0 5.59 19.4 5.8 19.2 34.5 50.7 84.4 119 137 172 208 245 318 374 485 542 749 806
50.0 12.9 31.4 13.9 33.6 53.5 73.4 113 153 173 213 253 293 373 433 553 613 833 893
25.0 24.2 45.4 27.7 53.9 78.4 102 148 194 216 260 304 348 435 499 627 691 923 986
10.0 36.9 58.4 46.1 77.8 106 134 185 235 260 308 356 403 495 564 699 766 1010 1076
5.0 45.1 65.7 59.9 94.9 126 155 210 263 289 339 389 438 534 605 745 814 1064 1131
1.0 60.2 77.8 92.1 133 168 201 262 320 348 403 456 509 612 687 835 908 1171 1241
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

4 4 15 25 40 65 100 150 250 650 1000


ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
315
316

ตารางที่ 6.21-C-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง C

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


แผนการชัก ตัวอย่าง < 2.5 2.50 4 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 5 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22 27 28 30 31 41 42 44 45

3 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16 15 20 17 22 23 29 25 31
เชิงคู่ * ใช้ ใช้ ใช้ ใช้
6 อักษร อักษร อักษร 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27 34 35 37 38 52 53 56 57 อักษร
รหัส B รหัส E รหัส D รหัส B

หลายเชิง * ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++ ++

< 4.0 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 650 1000
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )
การควบคุมคุณภาพ

ใช้อกั ษรรหัสตัวอย่างถัดไปสาหรับเลขจานวนที่ยอมรับ และเลขจานวนที่ไม่ยอมรับ


Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส F)
++ ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ ว (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส D)
ตารางที่ 6.22-D แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส D

แผนภูมิ D เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)

Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
317
318

ตารางที่ 6.22-D-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


1.5 6.5 10 1.5 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400
Pa
p (ความไม่เป็นไปตาม
p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )
ข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ)
99.0 0.126 1.97 6.08 0.126 1.86 5.45 10.3 22.3 36.3 43.8 59.6 76.2 93.5 129 157 215 244 355 386
95.0 0.639 4.64 11.1 0.641 4.44 10.2 17.1 32.7 49.8 58.7 77.1 96.1 116 156 186 249 281 399 432
90.0 1.31 6.86 14.7 1.32 6.65 13.8 21.8 39.4 58.2 67.9 87.8 108 129 171 203 268 301 424 458
75.0 3.53 12.1 22.1 3.6 12 21.6 31.7 52.7 74.5 85.5 108 130 153 199 234 303 339 468 504
50.0 8.3 20.1 32.1 8.66 21 33.4 45.9 70.9 95.9 108 133 158 183 233 271 346 383 521 558
25.0 15.9 30.3 43.3 17.3 33.7 49 63.9 92.8 121 135 163 190 217 272 312 392 432 577 647
10.0 25 40.6 53.8 28.8 48.6 66.5 83.5 116 147 162 193 222 252 309 352 437 479 631 672
5.0 31.2 47.1 60 37.4 59.3 78.7 96.9 131 164 180 212 243 274 334 378 465 509 665 707
1.0 43.8 59 70.7 57.6 83 105 126 164 200 218 252 285 318 382 429 522 568 732 776
การควบคุมคุณภาพ

2.5 10 2.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400


ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.22-D-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง D

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


แผนการชัก ตัวอย่าง < 1.5 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 400 > 400
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
เชิงเดีย่ ว 5 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22 27 28 30 31 41 42 44 45
3 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16 15 20 17 22 23 29 25 31
เชิงคู่ *
6 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27 34 35 37 38 52 53 56 57
2 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9 3 10 4 12 6 15 6 16
อักษร อักษร อักษร
4 รหัส C รหัส F รหัส E 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14 10 17 11 19 16 25 17 27
หลายเชิง 6 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19 17 24 19 27 26 35 29 38
8 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25 25 31 28 34 38 45 40 48
10 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27 34 35 37 38 52 53 56 57
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

< 2.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 350 400 > 400
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส G)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
319
320

ตารางที่ 6.23-E แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส E

แผนภูมิ E เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.23-E-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


1.0 4.0 6.5 10 1.0 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนด
p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )
คิดเป็นร้อยละ)
99.0 0.077 1.18 3.58 6.95 0.077 1.14 3.35 6.33 13.7 22.4 27 36.7 46.9 57.5 79.6 96.7 132 150 219 238
95.0 0.394 2.81 6.6 11.3 0.395 2.73 6.29 10.5 20.1 30.6 36.1 47.5 59.2 71.1 95.7 115 153 173 246 266
90.0 0.807 4.17 8.8 14.2 0.81 4.09 8.48 13.4 24.2 35.8 41.8 54 66.5 79.2 105 125 165 185 261 282
75.0 2.19 7.41 13.4 19.9 2.21 7.39 13.3 19.5 32.5 45.8 52.6 66.3 80.2 94.1 122 144 187 208 288 310
50.0 5.19 12.6 20 27.5 5.33 12.9 20.6 28.2 43.6 59 66.7 82.1 97.4 113 144 167 213 236 321 344
25.0 10.1 19.4 28 36.1 10.7 20.7 30.2 39.3 57.1 74.5 83.1 100 117 134 167 192 241 266 355 379
10.0 16.2 26.8 36 44.4 17.7 29.9 40.9 51.4 71.3 90.5 100 119 137 155 190 217 269 295 388 414
5.0 20.6 31.6 41 49.5 23 36.5 48.4 59.6 80.9 101 111 130 150 168 205 233 286 313 409 435
1.0 29.8 41.3 50.6 58.8 35.4 51.1 64.7 77.3 101 123 134 155 176 196 235 264 321 349 450 477
1.5 6.5 10 1.5 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
321
322

ตารางที่ 6.23-E-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง E

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


แผนการชัก ตัวอย่าง < 1.0 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 > 250
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re
เชิงเดีย่ ว 13 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22 27 28 30 31 41 42 44 45
8 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16 15 20 17 22 23 29 25 31
เชิงคู่ *
16 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27 34 35 37 38 52 53 56 57
3 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9 3 10 4 12 6 15 6 16
อักษร อักษร อักษร
6 รหัส D รหัส G รหัส F 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14 10 17 11 19 16 25 17 27
หลายเชิง 9 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19 17 24 19 27 26 35 29 38
12 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25 25 31 28 34 38 45 40 48
15 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27 34 35 37 38 52 53 56 57
การควบคุมคุณภาพ

< 1.5 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 100 150 250 > 250
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส H)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.24-F แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส F

แผนภูมิ F เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
323
324

ตารางที่ 6.24-F-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.65 2.5 4.0 6.5 10 0.65 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็น
p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )
ร้อยละ)
99.0 0.05 0.759 2.27 4.36 9.75 0.05 0.743 2.18 4.12 8.93 14.5 17.5 23.9 30.5 37.4 51.7 62.9
95.0 0.256 1.81 4.22 7.14 14 0.256 1.78 4.09 6.83 13.1 19.9 23.5 30.8 38.4 46.2 62.2 74.5
90.0 0.525 2.69 5.64 9.02 16.6 0.527 2.66 5.51 8.72 15.8 23.3 27.2 35.1 43.2 51.5 68.4 81.2
75.0 1.43 4.81 8.7 12.8 21.6 1.44 4.81 8.64 12.7 21.1 29.8 34.2 43.1 52.1 61.2 79.5 93.4
50.0 3.41 8.25 13.1 18.1 27.9 3.47 8.39 13.4 18.4 28.4 38.3 43.3 53.3 63.3 73.3 93.3 108
25.0 6.7 12.9 18.7 24.2 34.8 6.93 13.5 19.6 25.5 37.1 48.4 54 65.1 76.1 87 109 125
10.0 10.9 18.1 24.5 30.4 41.5 11.5 19.4 26.6 33.4 46.4 58.9 65 77 88.9 101 124 141
5.0 13.9 21.6 28.3 34.4 45.6 15 23.7 31.5 38.8 52.6 65.7 72.2 84.8 97.2 109 133 151
การควบคุมคุณภาพ

1.0 20.6 28.9 35.8 42.1 53.2 23 33.2 42 50.2 65.5 80 87 101 114 127 153 172
1.0 4.0 6.5 10 1.0 4.0 6.5 10 15 25 40 65
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )
หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม
ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.24-F-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง F

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.65 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 > 65
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 20 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
13 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
26 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
5 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
10 รหัส E รหัส H รหัส G 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 15 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
20 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

25 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 1.0 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 > 65
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส J)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
325
326

ตารางที่ 6.25-G แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส G

แผนภูมิ G เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.25-G-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.4 1.5 2.5 4.0 6.5 10 0.4 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.031 0.471 1.4 2.67 5.88 9.73 0.031 0.464 1.36 2.57 5.58 9.08 11 14.9 19.1 23.4 32.3 39.3
95.0 0.16 1.12 2.6 4.38 8.5 13.1 0.16 1.11 2.56 4.27 8.17 12.4 14.7 19.3 24 28.9 38.9 46.5
90.0 0.329 1.67 3.49 5.56 10.2 15.1 0.329 1.66 3.44 5.45 9.85 14.6 17 21.9 27 32.2 42.7 50.8
75.0 0.895 3.01 5.42 7.98 13.4 19 0.899 3 5.4 7.92 13.2 18.6 21.4 26.9 32.6 38.2 49.7 58.4
50.0 2.14 5.19 8.27 11.4 17.5 23.7 2.17 5.24 8.36 11.5 17.7 24 27.1 33.3 39.6 45.8 58.3 67.7
25.0 4.24 8.19 11.9 15.4 22.3 29 4.33 8.41 12.3 16 23.2 30.3 33.8 40.7 47.6 54.4 67.9 78
10.0 6.94 11.6 15.8 19.7 27.1 34 7.2 12.2 16.6 20.9 29 36.8 40.6 48.1 55.6 62.9 77.4 88.1
5.0 8.94 14 18.4 22.5 30.1 37.2 9.36 14.8 19.7 24.2 32.9 41.1 45.1 53 60.8 68.4 83.4 94.5
1.0 13.4 19 23.8 28.1 36 43.2 14.4 20.7 26.3 31.4 41 50 54.4 63 71.3 79.5 95.6 107
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

0.65 2.5 4.0 6.5 10 0.65 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40


ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )
หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม
ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
327
328

ตารางที่ 6.25-G-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง G

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.65 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 > 65
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 20 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
13 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
26 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
5 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
10 รหัส E รหัส H รหัส G 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 15 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
20 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
การควบคุมคุณภาพ

25 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 1.0 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 40 65 > 65
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส K)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.26-H แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส H

แผนภูมิ H เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
329
330

ตารางที่ 6.26-H-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.25 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 0.25 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.02 0.3 0.886 1.68 3.69 6.07 7.36 10.1 0.02 0.297 0.872 1.65 3.57 5.81 7.01 9.54 12.2 15 20.7 25.1
95.0 0.01 0.715 1.66 2.78 5.36 8.22 9.72 12.9 0.103 0.711 1.64 2.73 5.23 7.96 9.39 12.3 15.4 18.5 24.9 29.8
90.0 0.21 1.07 2.22 3.53 6.43 9.54 11.2 14.5 0.211 1.06 2.2 3.49 6.3 9.31 10.9 14 17.3 20.6 27.3 32.5
75.0 0.574 1.92 3.46 5.1 8.51 12 13.8 17.5 0.575 1.92 3.45 5.07 8.44 11.9 13.7 17.2 20.8 24.5 31.8 37.4
50.0 1.38 3.33 5.31 7.29 11.3 15.2 17.2 21.2 1.39 3.36 5.35 7.34 11.3 15.3 17.3 21.3 25.3 29.3 37.3 43.3
25.0 2.73 5.29 7.69 10 14.5 18.8 21 25.2 2.77 5.39 7.84 10.2 14.8 19.4 21.6 26 30.4 34.8 43.5 49.9
10.0 4.5 7.56 10.3 12.9 17.8 22.4 24.7 29.1 4.61 7.78 10.6 13.4 18.5 23.5 26 30.8 35.6 40.3 49.5 56.4
5.0 5.82 9.14 12.1 14.8 19.9 24.7 27 31.6 5.99 9.49 12.6 15.5 21 26.3 28.9 33.9 38.9 43.8 53.4 60.5
1.0 8.8 12.6 15.8 18.7 24.2 29.2 31.6 36.3 9.21 13.3 16.8 20.1 26.2 32 34.8 40.3 45.6 50.9 61.2 68.7
การควบคุมคุณภาพ

0.4 1.5 2.5 4.0 6.5 10 0.4 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.26-H-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง H

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.25 0.25 1.0 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 > 25
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 50 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
32 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
64 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
13 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
26 รหัส G รหัส K รหัส J 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 39 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
52 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

65 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 0.25 0.25 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 25 > 25
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส L)
331

# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
332

ตารางที่ 6.27-J แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส J

แผนภูมิ J เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.27-J-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.15 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 0.15 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.013 0.187 0.55 1.04 2.28 3.73 4.51 6.17 7.93 9.76 0.012 0.186 0.545 1.03 2.23 3.63 4.38 5.96 7.62 9.35 12.9 15.7
95.0 0.064 0.446 1.03 1.73 3.32 5.07 6 7.91 9.89 11.9 0.064 0.444 1.02 1.71 3.27 4.98 5.87 7.71 9.61 11.6 15.6 18.6
90.0 0.132 0.667 1.39 2.2 3.99 5.91 6.9 8.95 11 13.2 0.132 0.665 1.38 2.18 3.94 5.82 6.79 8.78 10.8 12.9 17.1 20.3
75.0 0.359 1.2 2.16 3.18 5.3 7.5 8.61 10.9 13.2 15.5 0.36 1.2 2.16 3.17 5.27 7.45 8.55 10.8 13 15.3 19.9 23.4
50.0 0.863 2.09 3.33 4.57 7.06 9.55 10.8 13.3 15.8 18.3 0.866 2.1 3.34 4.59 7.09 9.59 10.8 13.3 15.8 18.3 23.3 27.1
25.0 1.72 3.33 4.84 6.3 9.14 11.9 13.3 16 18.6 21.3 1.73 3.37 4.9 6.39 9.28 12.1 13.5 16.3 19 21.7 27.2 31.2
10.0 2.84 4.78 6.52 8.16 11.3 14.3 15.7 18.6 21.4 24.2 2.88 4.86 6.65 8.35 11.6 14.7 16.2 19.3 22.2 25.2 30.9 35.2
5.0 3.68 5.79 7.66 9.41 12.7 15.8 17.3 20.3 23.2 26 3.74 5.93 7.87 9.69 13.1 16.4 18 21.2 24.3 27.4 33.4 37.8
1.0 5.59 8.01 10.1 12 15.6 18.9 20.5 23.6 26.6 29.5 5.76 8.3 10.5 12.6 16.4 20 21.8 25.2 28.5 31.8 38.2 42.9
0.25 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 0.25 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
333
334

ตารางที่ 6.27-J-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง J

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.15 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 > 15
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 80 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
50 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
100 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
20 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
40 รหัส H รหัส L รหัส K 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 60 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
80 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
การควบคุมคุณภาพ

100 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 0.25 0.3 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 15 > 15
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส M)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.28-K แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส K

แผนภูมิ K เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
335
336

ตารางที่ 6.28-K-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.10 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 0.10 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.00804 0.119 0.351 0.664 1.45 2.36 2.86 3.9 5 6.15 8.55 10.4 0.00804 0.119 0.349 0.659 1.43 2.32 2.81 3.82 4.88 5.98 8.28 10.1
95.0 0.041 0.285 0.657 1.1 2.11 3.22 3.81 5.01 6.26 7.54 10.2 12.2 0.041 0.284 0.654 1.09 2.09 3.18 3.76 4.94 6.15 7.4 9.95 11.9
90.0 0.0843 0.426 0.885 1.4 2.54 3.76 4.39 5.69 7.01 8.37 11.1 13.3 0.0843 0.425 0.882 1.4 2.52 3.72 4.35 5.62 6.92 8.24 10.9 13
75.0 0.23 0.769 1.38 2.03 3.39 4.79 5.5 6.94 8.39 9.86 12.8 15.1 0.23 0.769 1.38 2.03 3.38 4.76 5.47 6.9 8.34 9.79 12.7 14.9
50.0 0.553 1.34 2.13 2.93 4.52 6.12 6.92 8.51 10.1 11.7 14.9 17.3 0.555 1.34 2.14 2.94 4.54 6.14 6.94 8.53 10.1 11.7 14.9 17.3
25.0 1.1 2.14 3.11 4.05 5.88 7.66 8.54 10.3 12 13.7 17.1 19.6 1.11 2.15 3.14 4.09 5.94 7.75 8.64 10.4 12.2 13.9 17.4 20
10.0 1.83 3.08 4.2 5.27 7.29 9.24 10.2 12.1 13.9 15.7 19.3 21.9 1.84 3.11 4.26 5.34 7.42 9.42 10.4 12.3 14.2 16.1 19.8 22.5
5.0 2.37 3.74 4.95 6.09 8.23 10.3 11.3 13.2 15.1 17 20.6 23.3 2.4 3.8 5.04 6.2 8.41 10.5 11.5 13.6 15.6 17.5 21.4 24.2
1.0 3.62 5.19 6.55 7.81 10.2 12.3 13.4 15.5 17.5 19.4 23.2 26 3.68 5.31 6.72 8.04 10.5 12.8 13.9 16.1 18.3 20.4 24.5 27.5
การควบคุมคุณภาพ

0.15 0.65 1.0 1.5 2.5 4.5 6.5 10 0.15 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.28-K-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง K

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.10 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 > 10
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 125 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
80 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
160 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
32 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
64 รหัส J รหัสM รหัส L 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 96 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
128 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

160 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 0.15 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 10 > 10
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส N)
337

# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
338

ตารางที่ 6.29-L แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส L

แผนภูมิ L เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.29-L-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.065 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 0.065 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.005 0.074 0.219 0.414 0.9 1.47 1.77 2.42 3.1 3.8 5.28 6.43 0.005 0.074 0.218 0.412 0.893 1.45 1.75 2.39 3.05 3.74 5.17 6.29
95.0 0.026 0.178 0.41 0.686 1.31 2.01 2.37 3.11 3.89 4.68 6.31 7.57 0.026 0.178 0.409 0.683 1.31 1.99 2.35 3.08 3.84 4.62 6.22 7.45
90.0 0.053 0.266 0.552 0.875 1.58 2.34 2.73 3.54 4.36 5.2 6.92 8.22 0.053 0.266 0.551 0.872 1.58 2.33 2.72 3.51 4.32 5.15 6.84 8.12
75.0 0.144 0.481 0.864 1.27 2.11 2.99 3.43 4.33 5.23 6.15 8 9.4 0.144 0.481 0.864 1.27 2.11 2.98 3.42 4.31 5.21 6.12 7.95 9.34
50.0 0.346 0.838 1.33 1.83 2.83 3.83 4.33 5.33 6.32 7.32 9.32 10.8 0.347 0.839 1.34 1.84 2.84 3.83 4.33 5.33 6.33 7.33 9.33 10.8
25.0 0.691 1.34 1.95 2.54 3.69 4.81 5.36 6.46 7.55 8.63 10.8 12.4 0.693 1.35 1.96 2.55 3.71 4.84 5.4 6.51 7.61 8.7 10.9 12.5
10.0 1.14 1.93 2.64 3.31 4.59 5.82 6.42 7.6 8.76 9.91 12.2 13.8 1.15 1.94 2.66 3.34 4.64 5.89 6.5 7.7 8.89 10.1 12.4 14.1
5.0 1.49 2.35 3.11 3.83 5.18 6.47 7.1 8.33 9.54 10.7 13.1 14.8 1.5 2.37 3.15 3.88 5.26 6.57 7.22 8.48 9.72 10.9 13.3 15.1
1.0 2.28 3.27 4.14 4.93 6.42 7.82 8.5 9.82 11.1 12.4 14.8 16.6 2.3 3.32 4.2 5.02 6.55 8 8.7 10.1 11.4 12.7 15.3 17.2
0.1 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 0.1 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
339
340

ตารางที่ 6.29-L-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง L

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.065 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 > 6.5
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 200 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
125 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
250 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
50 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
100 รหัส K รหัส N รหัส M 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 150 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
200 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
การควบคุมคุณภาพ

250 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 0.10 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 6.5 > 6.5
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส P)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.30-M แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส M

แผนภูมิ M เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)

Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
341
342

ตารางที่ 6.30-M-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.04 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 0.04 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.003 0.047 0.139 0.26 0.57 0.929 1.12 1.53 1.95 2.4 3.33 4.05 0.003 0.047 0.138 0.261 0.567 0.923 1.11 1.51 1.94 2.37 3.28 3.99
95.0 0.016 0.113 0.26 0.435 0.833 1.27 1.5 1.97 2.46 2.96 3.99 4.78 0.016 0.113 0.26 0.434 0.83 1.26 1.49 1.96 2.44 2.94 3.95 4.73
90.0 0.033 0.169 0.35 0.555 1 1.48 1.73 2.24 2.76 3.29 4.37 5.2 0.033 0.169 0.35 0.554 1 1.48 1.72 2.23 2.74 3.27 4.34 5.16
75.0 0.091 0.305 0.549 0.805 1.34 1.89 2.17 2.74 3.32 3.9 5.07 5.95 0.091 0.305 0.548 0.805 1.34 1.89 2.17 2.74 3.31 3.89 5.05 5.93
50.0 0.22 0.532 0.848 1.16 1.8 2.43 2.75 3.38 4.02 4.65 5.92 6.87 0.22 0.533 0.849 1.17 1.8 2.43 2.75 3.39 4.02 4.66 5.93 6.88
25.0 0.439 0.853 1.24 1.62 2.35 3.06 3.41 4.11 4.81 5.49 6.86 7.87 0.44 0.855 1.24 1.62 2.36 3.07 3.43 4.13 4.83 5.52 6.9 7.92
10.0 0.728 1.23 1.68 2.11 2.92 3.71 4.09 4.85 5.59 6.33 7.77 8.84 0.731 1.23 1.69 2.12 2.94 3.74 4.13 4.89 5.64 6.39 7.86 8.95
5.0 0.947 1.5 1.99 2.44 3.31 4.13 4.54 5.33 6.1 6.86 8.36 9.46 0.951 1.51 2 2.46 3.34 4.17 4.58 5.38 6.17 6.95 8.47 9.6
1.0 1.45 2.09 2.64 3.15 4.11 5.01 5.44 6.29 7.12 7.93 9.51 10.7 1.46 2.11 2.67 3.19 4.16 5.08 5.52 6.4 7.24 8.08 9.71 10.9
การควบคุมคุณภาพ

0.065 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 0.065 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.30-M-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง M

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.040 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 > 4.0
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 315 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
200 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
400 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
80 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
160 รหัส L รหัส P รหัส N 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 240 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
320 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

400 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 0.065 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 4.0 > 4.0
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส Q)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
343
344

ตารางที่ 6.31-N แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส N

แผนภูมิ N เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.31-N-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.025 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 0.025 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.002 0.03 0.087 0.165 0.358 0.584 0.705 0.959 1.23 1.51 2.09 2.54 0.002 0.03 0.087 0.165 0.357 0.581 0.701 0.954 1.22 1.5 2.07 2.51
95.0 0.01 0.071 0.164 0.274 0.524 0.799 0.942 1.24 1.54 1.86 2.5 3 0.01 0.071 0.164 0.273 0.523 0.796 0.939 1.23 1.54 1.85 2.49 2.98
90.0 0.021 0.106 0.221 0.349 0.632 0.933 1.09 1.41 1.74 2.07 2.75 3.26 0.021 0.106 0.22 0.349 0.63 0.931 1.09 1.4 1.73 2.06 2.73 3.25
75.0 0.058 0.192 0.346 0.507 0.845 1.19 1.37 1.73 2.09 2.45 3.19 3.75 0.058 0.192 0.345 0.507 0.844 1.19 1.37 1.72 2.08 2.45 3.18 3.74
50.0 0.139 0.335 0.534 0.734 1.13 1.53 1.73 2.13 2.53 2.93 3.73 4.33 0.139 0.336 0.535 0.734 1.13 1.53 1.73 2.13 2.53 2.93 3.73 4.33
25.0 0.277 0.538 0.783 1.02 1.48 1.93 2.15 2.6 3.03 3.47 4.33 4.97 0.277 0.539 0.784 1.02 1.48 1.94 2.16 2.6 3.04 3.48 4.35 4.99
10.0 0.459 0.776 1.06 1.33 1.85 2.34 2.59 3.06 3.54 4 4.92 5.6 0.461 0.778 1.06 1.34 1.85 2.35 2.6 3.08 3.56 4.03 4.95 5.64
5.0 0.597 0.945 1.25 1.54 2.09 2.61 2.87 3.37 3.86 4.34 5.29 5.99 0.599 0.949 1.26 1.55 2.1 2.63 2.89 3.39 3.89 4.38 5.34 6.05
1.0 0.917 1.32 1.67 1.99 2.6 3.17 3.45 3.99 4.51 5.03 6.04 6.78 0.921 1.33 1.68 2.01 2.62 3.2 3.48 4.03 4.56 5.09 6.12 6.87
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

0.04 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 0.04 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
345
346

ตารางที่ 6.31-N-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง N

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.025 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 > 2.5
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 500 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
315 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
630 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
125 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
250 รหัส M รหัส Q รหัส P 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 375 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
500 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
การควบคุมคุณภาพ

625 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 0.040 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 2.5 > 2.5
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน (หรือเลือกใช้อกั ษรรหัส R)
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.32-P แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส P

แผนภูมิ P เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
347
348

ตารางที่ 6.32-P-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


Pa 0.015 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 0.015 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )
99.0 0.001 0.019 0.055 0.103 0.224 0.364 0.44 0.598 0.765 0.938 1.3 1.58 0.001 0.019 0.055 0.103 0.223 0.363 0.438 0.596 0.762 0.935 1.29 1.57
95.0 0.006 0.044 0.102 0.171 0.327 0.499 0.588 0.773 0.964 1.16 1.56 1.87 0.006 0.044 0.102 0.171 0.327 0.498 0.587 0.771 0.961 1.16 1.56 1.86
90.0 0.013 0.067 0.138 0.218 0.394 0.583 0.68 0.879 1.08 1.29 1.71 2.04 0.013 0.067 0.318 0.218 0.394 0.582 0.679 0.878 1.08 1.29 1.71 2.03
75.0 0.036 0.12 0.216 0.317 0.528 0.745 0.855 1.08 1.3 1.53 1.99 2.34 0.036 0.12 0.216 0.317 0.527 0.745 0.855 1.08 1.3 1.53 1.99 2.34
50.0 0.087 0.21 0.334 0.459 0.709 0.958 1.08 1.33 1.58 1.83 2.33 2.71 0.087 0.21 0.334 0.459 0.709 0.959 1.08 1.33 1.58 1.83 2.33 2.71
25.0 0.173 0.336 0.489 0.638 0.926 1.21 1.35 1.62 1.9 2.17 2.71 3.11 0.173 0.337 0.49 0.639 0.928 1.21 1.35 1.63 1.9 2.17 2.72 3.12
10.0 0.287 0.485 0.664 0.833 1.16 1.47 1.62 1.92 2.21 2.51 3.08 3.51 0.288 0.486 0.665 0.835 1.16 1.47 1.62 1.93 2.22 2.52 3.09 3.52
5.0 0.374 0.592 0.785 0.966 1.31 1.64 1.8 2.11 2.42 2.72 3.32 3.76 0.374 0.593 0.787 0.969 1.31 1.64 1.8 2.12 2.43 2.74 3.34 3.78
1.0 0.574 0.827 1.05 1.25 1.63 1.99 2.16 2.5 2.83 3.16 3.79 4.26 0.576 0.83 1.05 1.26 1.64 2 2.18 2.52 2.85 3.18 3.82 4.29
การควบคุมคุณภาพ

0.025 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 0.025 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.32-P-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง P

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง < 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 > 1.5
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 800 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
500 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
1000 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
200 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
400 รหัส N รหัส R รหัส Q 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 600 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
800 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

1000 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
< 0.025 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 1.5 > 1.5
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรถัดไปที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re
Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
349
350

ตารางที่ 6.33-Q แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส Q

แผนภูมิ Q เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)


Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
การควบคุมคุณภาพ

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
ตารางที่ 6.33-Q-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.010 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 0.010 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.0008 0.012 0.035 0.066 0.143 0.233 0.281 0.383 0.489 0.6 0.83 1.01 0.0008 0.012 0.035 0.066 0.143 0.232 0.281 0.382 0.488 0.598 0.828 1.01
95.0 0.0041 0.028 0.065 0.109 0.209 0.319 0.376 0.494 0.616 0.741 0.998 1.19 0.0041 0.028 0.065 0.109 0.209 0.318 0.376 0.494 0.615 0.74 0.995 1.19
90.0 0.0084 0.043 0.088 0.14 0.025 0.373 0.435 0.562 0.693 0.825 1.1 1.3 0.0084 0.043 0.088 0.14 0.252 0.372 0.435 0.562 0.692 0.082 10.9 1.3
75.0 0.023 0.077 0.138 0.203 0.338 0.477 0.547 0.69 0.834 0.98 1.27 1.5 0.023 0.077 0.138 0.203 0.338 0.476 0.547 0.69 0.083 0.979 1.27 1.49
50.0 0.0554 0.134 0.214 0.294 0.045 0.613 0.693 0.853 1.01 1.17 1.49 1.73 0.0555 0.134 0.214 0.294 0.454 0.614 0.694 0.085 1.01 1.17 1.49 1.73
25.0 0.111 0.215 0.313 0.408 0.593 0.774 0.863 1.04 1.22 1.39 1.74 1.99 0.111 0.215 0.314 0.409 0.594 0.775 0.864 1.04 1.22 1.39 1.74 2
10.0 0.184 0.311 0.425 0.534 0.741 0.94 1.04 1.23 1.42 1.61 1.98 2.25 0.184 0.311 0.426 0.534 0.742 0.942 1.04 1.23 1.42 1.61 1.98 2.25
5.0 0.239 0.379 0.503 0.619 0.839 1.05 1.15 1.35 1.55 1.75 2.13 2.41 0.24 0.38 0.504 0.62 0.841 1.05 1.15 1.36 1.56 1.75 2.14 2.42
1.0 0.368 0.53 0.671 0.801 1.05 1.28 1.39 1.61 1.82 2.03 2.43 2.73 0.368 0.531 0.672 0.804 1.05 1.28 1.39 1.61 1.83 2.04 2.45 2.75
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

0.015 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 0.015 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
351
352

ตารางที่ 6.33-Q-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง Q

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 > 1.0
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 1250 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
800 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
1600 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
315 ใช้ ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร อักษร
630 รหัส R รหัส P รหัส S รหัส R 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 945 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
1260 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
การควบคุมคุณภาพ

1575 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 1.0 > 1.0
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
ตารางที่ 6.34-R แสดงขนาดสิ่งตัวอย่างตามอักษรรหัส R

แผนภูมิ R เส้นโค้ง OC ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว (เส้นโค้งสาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงจะคล้ายกับเชิงเดี่ยวมาก)

Pa: ค่าร้อยละของลอตที่คาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับ
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

คุณภาพของลอตทีร่ ับเข้ามาตรวจ (p ในรูปของค่าร้อยละผลิตภัณฑ์บกพร่องเมื่อ AQL ≤ 10 และอยูใ่ นรูปข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์เมื่อ AQL > 10)


หมายเหตุ ตัวเลขที่กากับเส้นโค้งเป็นค่า AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ
353
354

ตารางที่ 6.34-R-1 ค่าต่างๆ สาหรับเส้นโค้งลักษณะเฉพาะการปฏิบัติการสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว

ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบปกติ (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )


0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65
Pa
p (ความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดคิดเป็นร้อยละ) p (ความไม่เป็นไปต่อข้อกาหนด 100 ชิน้ )

99.0 0.0074 0.0218 0.0412 0.0893 0.145 0.176 0.239 0.305 0.374 0.518 0.63 0.0074 0.0128 0.0412 0.0893 0.145 0.175 0.239 0.305 0.374 0.517 0.629
95.0 0.0178 0.0409 0.0683 0.131 0.199 0.235 0.309 0.385 0.463 0.623 0.746 0.0178 0.0409 0.0683 0.131 0.199 0.235 0.308 0.384 0.462 0.622 0.745
90.0 0.0266 0.0551 0.0873 0.158 0.233 0.272 0.351 0.433 0.515 0.684 0.813 0.0266 0.0551 0.0872 0.158 0.233 0.272 0.351 0.432 0.515 0.684 0.812
75.0 0.0481 0.0864 0.0127 0.0211 0.298 0.342 0.431 0.521 0.612 0.796 0.935 0.0481 0.0864 0.127 0.211 0.298 0.342 0.431 0.521 0.612 0.795 0.093
50.0 0.0839 0.134 0.184 0.283 0.383 0.433 0.533 0.633 0.733 0.933 1.08 0.0839 0.134 0.184 0.284 0.383 0.433 0.533 0.633 0.733 0.933 1.08
25.0 0.135 0.196 0.255 0.371 0.484 0.54 0.65 0.76 0.869 1.09 1.25 0.135 0.196 0.255 0.371 0.484 0.54 0.651 0.761 0.87 1.09 1.25
10.0 0.194 0.266 0.334 0.463 0.588 0.649 0.769 0.888 1 1.24 1.41 0.194 0.266 0.334 0.464 0.589 0.65 0.77 0.889 1.01 1.24 1.41
5.0 0.237 0.314 0.387 0.525 0.656 0.721 0.847 0.97 1.09 1.33 1.51 0.237 0.315 0.388 0.526 0.657 0.722 0.848 0.972 1.09 1.33 1.51
1.0 0.331 0.42 0.501 0.654 0.798 0.868 1 1.14 1.27 1.52 1.71 0.332 0.42 0.502 0.655 0.8 0.87 1.01 1.14 1.27 1.53 1.72
การควบคุมคุณภาพ

0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับสาหรับการตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็นร้อยละของความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิน้ )

หมายเหตุ: ในกรณีเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์บกพร่อง ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบทวินาม


ในกรณีเป็นข้อบกพร่องต่อร้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ ใช้การคานวณจากการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
ตารางที่ 6.34-R-2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับอักษรรหัสขนาดตัวอย่าง R

ประเภทของ ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบปกติ (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

แผนการชัก ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 > 0.65
ตัวอย่าง สะสม Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re Ac Re

เชิงเดีย่ ว 2000 0 1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 18 19 21 22
1250 0 2 0 3 1 3 2 5 3 6 4 7 5 9 6 10 7 11 9 14 11 16
เชิงคู่ *
2500 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
500 ใช้ ใช้ ใช้ # 2 # 2 # 3 # 4 0 4 0 4 0 5 0 6 1 7 1 8 2 9
อักษร อักษร อักษร
1000 รหัส Q รหัส P รหัส S 0 2 0 3 0 3 1 5 1 6 2 7 3 8 3 9 4 10 6 12 7 14
หลายเชิง 1500 * 0 2 0 3 1 4 2 6 3 8 4 9 6 10 7 12 8 13 11 17 13 19
2000 0 2 1 3 2 5 4 7 5 9 6 11 9 12 11 15 12 17 16 22 20 25
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

2500 1 2 3 4 4 5 6 7 9 10 10 11 12 13 15 16 18 19 23 24 26 27
0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.4 0.65 > 0.65
ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ สาหรับ การตรวจสอบแบบเคร่งครัด (เป็ นร้อยละของความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดและความไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดต่อ 100 ชิ้น)

ใช้แผนการชักสิง่ ตัวอย่างตามรหัสอักษรก่อนหน้าที่มคี า่ ตัวเลข Ac และ Re


Ac เลขจานวนที่ยอมรับ
Re เลขจานวนที่ไม่ยอมรับ
* ใช้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดีย่ วข้างบน
# ไม่อนุญาตให้เกิดการยอมรับลอตที่ขนาดสิง่ ตัวอย่างนี้
355
356 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 6.35 แสดงแผนการชักสิ่งตัวอย่างสาหรับอักษรรหัส S

AQL (การตรวจสอบแบบปกติ)
ประเภทของแผนการชักสิ่ง
ขนาดตัวอย่างสะสม X
ตัวอย่าง
Ac Re
เชิงเดี่ยว 3,150 1 2
2,000 0 2
เชิงคู่
4,000 1 2
800 # 2
1,600 # 2
2,400 0 2
หลายเชิง 3,200 0 3
4,000 1 3
4,800 1 3
5,600 2 3
0.025
AQL (การตรวจสอบแบบเคร่งครัด)

Ac = ตัวเลขแห่งการยอมรับ
Re = ตัวเลขแห่งการปฏิเสธ
# = ไม่อนุญาตให้มีการยอมรับลอตที่ขนาดสิ่งตัวอย่างนี้

Pa
α
1.0
ระดับการตรวจสอบ G I

ระดับการตรวจสอบ G II
ระดับการตรวจสอบ G II

P
AQL

รูปที่ 6.16 เส้นโค้ง OC สาหรับการตรวจสอบทั่วไป


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 357

Pa
α
1.0
แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบผ่อนคลาย

แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบปกติ
แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเคร่งครัด

P
AQL

รูปที่ 6.17 เส้นโค้ง OC สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบต่างๆ


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

ในการใช้มาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ พบว่าทั้งระดับการตรวจสอบและแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการ


ยอมรับจะประกันความเสี่ยงให้กับผู้ผลิตเท่านั้นเนื่องจากเป็นแผนการที่เน้น AQL
จากรูปที่ 6.16 จะพบว่าถ้าหากใช้ระดับการตรวจสอบแบบทั่วไประดับที่ I (GI) รวมถึงระดับการตรวจสอบ
แบบพิเศษแล้ ว จะทาให้ความเสี่ยงของผู้บริโภคมีมากขึ้น เพียงแต่ระดับการตรวจสอบดังกล่าวจะให้ขนาดสิ่ ง
ตัวอย่างที่น้อยกว่าเท่านั้น สาหรับรูปที่ 6.17 จะเห็นว่าถ้าหากไม่ใช้กฎการสับเปลี่ยนตามข้อกาหนดของมาตรฐาน
แล้ว จะทาให้ความเสี่ยงของผู้บริโภคมีสูงขึ้น (เนื่องจากใช้แผนการชักตัวอย่างแบบปกติ)

ตัวอย่างที่ 6.17
การอ่านค่าจากเส้นโค้งโอซี ถ้ากาหนดให้นโยบายของบริษัทกาหนดให้มีโอกาสในการยอมรับลอตที่ AQL
1% เท่ากับ 0.95 ให้พิจารณาแผนการชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวพร้อมสมรรถนะของแผนการชักตัวอย่าง
ทีไ่ ด้ เมื่อกาหนดขนาดของลอตเท่ากับ 2,500
วิธีทา
ในที่นี้ได้แผนการชักตัวอย่างตามอักษร K และด้วย AQL 1% จะได้แผนการชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
เชิงเดี่ยวภายใต้การตรวจสอบแบบปกติ คือ n = 125, Ac = 3 และ Re = 4
จากตารางที่ 6.28-K-2 จะพบว่าในกรณีที่มีอักษรรหัส K นี้ทุกๆค่าของ AQL จะมีขนาดสิ่งอย่าง 125 เสมอ
แต่ Ac และ Re มีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามค่า AQL
จากตารางที่ 6.28-K-1 จะพบว่าลอตที่บรรจุผลิตภัณฑ์บกพร่องไว้ 1.09% แล้ว จะมีโอกาส 0.95 ที่จะ
ยอมรับลอตที่มีคุณภาพดังกล่าว เมื่อทาการตรวจสอบด้วยแผนการชักตัวอย่างข้างบน
ในกรณีที่มีการตรวจสอบด้วยแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเคร่งครัด จะได้แผนการ คือ n = 125, Ac = 2
และ Re = 3 และภายใต้แผนการตรวจสอบดังกล่าว พบว่าลอตที่บรรจุผลิตภัณฑ์บกพร่องไว้ 0.654% จะมีโอกาส
0.95 ที่จะยอมรับลอตที่มีคุณภาพดังกล่าว
358 การควบคุมคุณภาพ

จากตารางที่ 6.28-K จะพบว่า ในมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ มิได้แสดงถึงโอกาสในการยอมรับลอต


เมื่อใช้กฎการสับเปลี่ยน ซึ่งจะต่างจากมาตรฐาน ANSI/ASQC Z 1.4 ที่ได้มีการแสดงเส้นโค้งโอซีของแผนการ
ชักสิ่งตัวอย่างเมื่อใช้กฎการสับเปลี่ยน
6.2.4.16 หลักการของการกรองคุณภาพและขีดจากัดคุณภาพจ่ายออกโดยเฉลี่ย (AOQL)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ในการตัดสินใจภายหลังการตรวจสอบด้วยแผนการชักตัวอย่างนั้น
อาจจะดาเนินการโดยทั่วไปด้วยโปรแกรมการกรองคุณภาพ (Rectifying Programmed) ดังแสดงในรูปที่
6.17 ซึ่งมักได้รับการปฏิเสธภายหลังการตรวจสอบด้วยการชักสิ่งตัวอย่าง จึงทาให้มีการตรวจสอบ 100%
และแทนที่ผลิตภัณฑ์บกพร่องด้วยผลิตภัณฑ์คุณภาพดี ดังนั้นภายใต้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับใดๆ
ก็ตาม เส้นโค้ง AOQ จะมีค่าสูงสุดอยู่หนึ่งค่าเสมอ และเรียกค่าสูงสุดของ AOQ นี้ว่า “ขีดจากัดคุณภาพจ่าย
ออกโดยเฉลี่ย (Average Outgoing Quality Limit: AOQL)” ซึ่งใช้เป็นเกณฑ์ประเมินแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เพื่อการยอมรับได้

แทนที่ผลิตภัณฑ์บกพร่อง
ตรวจ 100% คุณภาพจ่ายออก (OQ) = 0
คุณภาพนาเข้า (IQ)
ปฏิเสธลอต
P
n, c AOQ
ยอมรับลอต
คุณภาพจ่ายออก (OQ) = p
จ่ายออก

รูปที่ 6.18 โปรแกรมการกรองคุณภาพ

การหาแผนการสุ่มตัวอย่างเมื่อกาหนดค่า AOQL ในมาตรฐาน MIL-STD-105E ได้แสดงถึง


ค่า AOQL ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวในทุกอักษรรหัส ทั้งแบบปกติและแบบเคร่งครัด ดังแสดงใน
ตารางที่ 6.36 และ 6.37 โดยลาดับ และค่า AOQL ที่แน่นอน จะหาได้จากการคูณค่าที่ได้จากตารางด้วย
แฟกเตอร์ (1-ขนาดสิ่งตัวอย่าง/ขนาดลอต)
อย่างไรก็ตามในมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ ไม่ได้แสดงถึงค่า AOQL ในกรณีใช้กฎการ
สับเปลี่ยน ซึ่งต่างจากมาตรฐาน ANSI/ASQC Z1.4 ที่ได้มีการแสดงค่า AOQL ดังกล่าวไว้ด้วย
ตารางที่ 6.36 ค่า AOQL สาหรับการชักสิ่งตัวอย่างแบบปกติ (แบบการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว)

อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนด


ขนาดตัวอย่าง ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 6.5 10
2.5 4.0
A 2 68.4 69.0*
B 3 53.6 54.1* 57.6
C 5 36.9 37.3* 39.8* 58.4
D 8 25.0 25.2* 27.0* 40.6 53.8
E 13 16.2 16.4* 17.5* 26.8 36.0 44.4
F 20 10.9 11.0* 11.8* 18.1 24.5 30.4 41.5
G 32 6.94 7.01* 7.50* 11.6 15.8 19.7 27.1 34.0
H 50 4.50 4.54* 4.87* 7.56 10.3 12.9 17.8 22.4 29.1
J 80 2.84 2.86* 3.07* 4.78 6.52 8.16 11.3 14.3 18.6 24.2
K 125 1.83 1.84* 1.97* 3.08 4.2 5.27 7.29 9.24 12.1 15.7 21.9
L 200 1.14 1.16 1.24* 1.93 2.64 3.31 4.59 5.82 7.60 9.91 13.8
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

M 315 0.728 0.735* 0.788* 1.23 1.68 2.11 2.92 3.71 4.85 6.33 8.84
N 500 0.459 0.464* 0.497* 0.776 1.06 1.33 1.85 2.34 3.06 4.00 5.6
P 800 0.287 0.290* 0.311* 0.485 0.664 0.833 1.16 1.47 1.92 2.51 3.51
Q 1250 0.184 0.186* 0.199* 0.311 0.425 0.534 0.741 0.94 1.23 1.61 2.25
R 2000 0.116* 0.124* 0.194 0.266 0.334 0.463 0.588 0.769 1.00 1.41

หมายเหตุ: สาหรับค่า AOQL ที่แน่นอนให้หาได้จากการคูณค่าข้างบนด้วยแฟกเตอร์ (1-ขนาดสิ่งตัวอย่าง/ขนาดลอต)


359
360

ตารางที่ 6.37 ค่า AOQL สาหรับการชักสิ่งตัวอย่างแบบเคร่งครัด (แบบการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว)

อักษรรหัส ขนาด ขีดจากัดคุณภาพที่ยอมรับ (AQL) ร้อยละของชิน้ งานที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนด


ขนาดตัวอย่าง ตัวอย่าง 0.010 0.015 0.025 0.040 0.065 0.10 0.15 0.25 0.40 0.65 1.0 1.5 2.5
10 4.0 6.5
A 2 68.4
B 3 53.6 54.1*
C 5 36.9 37.3* 39.8*
D 8 25.0 25.2* 27.0* 40.6
E 13 16.2 16.4* 17.5* 27 36.0
F 20 10.9 11.0* 11.8* 18.1 24.5 30.4
G 32 6.94 7.01* 7.50* 11.6 15.8 19.7 27.1
H 50 4.50 4.54* 4.87* 7.56 10.3 12.9 17.8 24.7
J 80 2.84 2.86* 3.07* 4.78 6.52 8.16 11.3 15.7 21.4
K 125 1.83 1.84* 1.97* 3.08 4.2 5.27 7.29 10.2 13.9 19.3
L 200 1.14 1.16* 1.24* 1.93 2.64 3.31 4.59 6.42 8.76 12.2
การควบคุมคุณภาพ

M 315 0.728 0.735* 0.778* 1.23 1.68 2.11 2.92 4.09 5.59 7.77
N 500 0.459 0.464* 0.497* 0.776 1.06 1.33 1.85 2.59 3.54 4.92
P 800 0.287 0.290* 0.311* 0.485 0.664 0.833 1.16 1.62 2.21 3.08
Q 1250 0.184 0.186* 0.199* 0.311 0.425 0.534 0.741 1.04 1.42 1.98
R 2000 0.115 0.116* 0.124* 0.194 0.266 0.334 0.463 0.649 0.888 1.24
S 3150 0.123

หมายเหตุ: สาหรับค่า AOQL ที่แน่นอนให้หาได้จากการคูณค่าข้างบนด้วยแฟกเตอร์ (1-ขนาดสิ่งตัวอย่าง/ขนาดลอต)


บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 361

ตัวอย่างที่ 6.18
ถ้ากาหนดให้มีการใช้นโยบายการกรองคุณภาพกับการตรวจสอบคุณภาพด้วยแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
เชิงเดี่ยวตามมาตรฐาน MIL-STD-105E เมื่อกาหนดขนาดของลอตเท่ากับ 2,000 หน่วย และ AQL เท่ากับ
1% แล้ว ให้หาค่าของขีดจากัดคุณภาพจ่ายออกโดยเฉลี่ยของแผนการ
วิธีทา
จากตาราง MIL-STD-105E จะได้อักษรรหัส K และได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบปกติ
n = 125, Ac = 3 และ Re = 4 และได้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบเคร่งครัด n = 125, Ac = 2 และ
Re = 3
จากตารางที่ 6.36 ที่รหัสอักษร K และ AQL=1% ได้ค่า AOQL = 5.27% หรือปรับให้ได้ค่าแน่นอน
คือ 5.27(1- 125/2,000) = 4.94% ซึ่งมีความหมายว่า ถ้าหากกาหนดให้มีโอกาสค่อนข้าวสูงในการยอมรับที่
มีคุณภาพด้วยผลิตภัณฑ์บกพร่องไม่เกิน 1% ด้วยการชักสิ่งตัวอย่างขนาดลอตละ 125 หน่วย ถ้าพบผลิตภัณฑ์
บกพร่อง 0, 1, 2 หรือ 3 แล้ว ให้ทาการยอมรับลอต นอกจากนั้นให้ทาการปฏิเสธตลอด จะได้คุณภาพจ่าย
ออกเฉลี่ยไม่เกิน 4.94% (ไม่ว่าคุณภาพนาเข้าจะเป็นประการใดก็ตาม)
ในทานองเดียวกัน จากตารางที่ 6.37 ที่รหัสอักษร K และ AQL = 1% ได้ค่า AOQL = 4.2% หรือ
ปรับให้ได้ค่าแน่นอน คือ 4.2(1-125/2,000) = 3.93% ความหมายว่า ถ้าหากกาหนดให้มีโอกาสค่อนข้างสูงใน
การยอมรับลอตที่มีคุณภาพด้วยผลิตภัณฑ์บกพร่องไม่เกิน 1% ด้วยการชักสิ่งตัวอย่างขนาดลอตละ 125
หน่วย ถ้าพบผลิตภัณฑ์บกพร่อง 0, 1 หรือ 2 แล้ว ให้ทาการยอมรับลอตนอกจากนั้นให้ทาการปฏิเสธลอตแล้ว
จะได้คุณภาพจ่ายออกเฉลี่ยไม่เกิน 3.93% (ไม่ว่าคุณภาพนาเข้าจะเป็นประการใดก็ตาม) โดยจะพบว่าคุณภาพ
จ่ายออกที่มีคุณภาพสูงกว่าแผนชักสิ่งตัวอย่างแบบปกติที่มีคุณภาพจ่ายออกเฉลี่ยไม่เกิน 1.5%
6.2.4.17 ขนาดสิ่งตัวอย่างโดยเฉลี่ย (Average Sample Size: ASS)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) หมายถึง จานวนสิ่งตัวอย่างโดยเฉลี่ยที่ทาการตรวจสอบต่อลอต
โดยทั่วไปแล้ว ASS จะขึ้นกับนโยบายในการตรวจสอบที่มี 2 ประการด้วยกัน คือ
1. การตรวจสอบอย่างสมบูรณ์ (Complete Inspection) หมายถึง การตรวจสอบด้วย
จานวนสิ่งตัวอย่างเท่ากับขนาดสิ่งตัวอย่างที่ได้รับการออกแบบไว้ตามแผนการ
2. การตรวจอย่างย่อ (Curtail Inspection) หมายถึง การตรวจสอบด้วยจานวนสิ่งตัวอย่าง
ที่เพียงพอต่อการตัดสินใจ ซึ่งอาจจะไม่ครบตามจานวนสิ่งตัวอย่างที่ได้รับการออกแบบไว้ก็ได้
ตัวอย่างเช่น n = 80, Ac = 1, Re = 2 จะมีความหมายว่า ถ้าหากเป็นตรวจอย่างสมบูรณ์
แล้ว ค่า ASS จะเท่ากับ 80 เสมอ แต่ถ้าหากเป็นการตรวจสอบอย่างย่อ ค่า ASS จะผันแปรตั้งแต่ 2 ถึง 80
ทั้งนี้แล้วแต่ว่าเมื่อใดตรวจพบผลิตภัณฑ์บกพร่องรวม 2 หน่วย แล้วก็ยุติ เพราะปฏิเสธลอตแล้ว
อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปในการประกันคุณภาพด้วยการยอมรับนี้มักจะแนะนาให้ ทาการ
ตรวจสอบอย่างสมบูรณ์สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวเสมอ แต่สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่
และแบบหลายเชิง ก็จะไม่แนะนาให้ใช้การตรวจสอบอย่างย่อในการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบครั้งแรก
ทัง้ นี้เพื่อต้องการหาสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพลอตในการนาไปปรับปรุงคุณภาพต่อไป
ในมาตรฐาน MIL-STD-105E ได้แสดงเฉพาะ ASS สาหรับการตรวจสอบอย่างสมบูรณ์
เท่านั้น ดังนั้น ASS ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว จะมีค่าเท่ากับขนาดสิ่งตัวอย่างตามแผนการเสมอ
362 การควบคุมคุณภาพ

สาหรับ ASS ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิงสาหรับแบบปกติและแบบเคร่งครัดนั้น ได้แสดงไว้


ในลักษณะสัมพันธ์กับ ASS ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว ดังรูปที่ 6.18 และขอให้สังเกตว่าที่แต่ละรูป
จะมีลูกศรชี้ขึ้น สาหรับแสดงถึงจุดอ้างอิง (Reference Point) ที่แสดงถึงสมรรถนะที่จุด AQL ของการ
ตรวจสอบแบบปกติ
เส้นโค้ง ASS ที่แสดงในรูปที่ 6.19 ได้มาจากการวิเคราะห์การแจกแจงแบบปัวส์ซอง(Poisson)
โดยขนาดสิ่งตัวอย่างที่แต่ละขั้นตอนของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิง ประมาณค่าเท่ากับ 0.631n และ
0.250n โดยลาดับ โดย n คือ ขนาดสิ่งตัวอย่างของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวที่เทียบเท่ากัน แต่อย่างไรก็ตาม
ในมาตรฐาน MIL-STD-105E ก็มิได้แสดงถึง ASS ของกรณีการใช้กฎการสับเปลี่ยน ซึ่งต่างไปจากมาตรฐาน
ANSI/ASQC Z1.4 ที่ได้มีการแสดงค่า ASS สาหรับการใช้กฎสับเปลี่ยนไว้ด้วย

n = ขนาดสิ่งตัวอย่างของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวที่เทียบเท่า
Ac = ตัวเลขแห่งการยอมรับของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว
= AQL สาหรับการตรวจสอบแบบปกติ

รูปที่ 6.19 เส้นโค้ง ASS สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่และหลายเชิง (แบบปกติและแบบเคร่งครัด)


(ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม, 2555)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 363

ตัวอย่างที่ 6.19
การอ่ านค่ าจากเส้ น โค้ ง ASS ให้ พิ จารณาค่ า ASS เมื่ อท าการตรวจสอบลอตด้ ว ยมาตรฐาน
MIL-STD-105E โดยมีขนาดลอต 2,000 หน่วย และ AQL เท่ากับ 1%
วิธีทา
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบปกติ: n = 125, Ac = 3 และ Re = 4
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบเคร่งครัด: n = 125, Ac = 2 และ Re = 3
สาหรับแผนการตรวจสอบแบบปกติ
พิจารณาที่ Ac = 3 ของตารางที่ 6.12 เมื่อ np ตามสเกลเท่ากับ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 หรือ
เทียบเป็นสัดส่วนของผลิตภัณฑ์บกพร่องตามสเกล เท่ากับ 0, 0.008, 0.016, 0.024, 0.032, 0.040, 0.048
และ 0.056 โดยลาดับ โดยมีสเกลแสดงค่า ASS ที่ค่า 0, 31.25, 62.50, 93.75 และ 125 โดยลาดับ
ดังนั้นหากคุณภาพลอตนาเข้ามีคุณภาพที่สัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่อง 0.016 (หรือ np = 2) แล้วเมื่อ
ทาการตรวจสอบด้วยการตรวจสอบแบบปกติแล้ว จะได้ว่า
ที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว มีค่า ASS = 125
ที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ มีค่า ASS = 0.80 n = 100
ที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง มีค่า ASS = 0.75 n = 93.75
แสดงว่า หากไม่มีปัญหาทางด้านการประยุกต์ใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบหลายเชิงแล้วที่คุณภาพ
นาเข้านี้ ควรตรวจสอบด้วยแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง เนื่องจากให้ความประหยัดกว่า
สาหรับแผนการตรวจสอบแบบเคร่งครัด ให้พิจารณาที่ Ac = 2 โดยตีความในทานองเดียวกับ
แผนการตรวจสอบแบบปกติ พบว่าหากคุณภาพลอตนาเข้ามีคุณภาพที่สัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่อง 0.016 (หรือ
np = 2) แล้ว เมื่อทาการตรวจสอบด้วยแผนการทาการตรวจสอบแบบเคร่งครัดแล้วจะได้ผลว่า
ที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว มีค่า ASS = 125
ที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ มีค่า ASS = 125
ที่แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิง มีค่า ASS = 0.78 n = 97.5

6.2.5 แผนการชักตัวอย่างดอดจ์และโรมิก
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) แฮรี่ จี. โรมิก ได้พัฒนาเซตของตารางแผนการตรวจสอบการชักตัวอย่าง
ดอดจ์และโรมิก สาหรับการตรวจสอบผลิตภัณฑ์แต่ละลอตแบบนับในปี พ.ศ.2473 และได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี
พ.ศ.2483 ภายในใต้ผู้ริเริ่ม คือ ฮาโรลด์ เอฟ.ดอดจ์ โดยอาศัยพื้นฐานที่ต้องการให้ผลิตภัณฑ์ที่จะส่งมอบให้
ลูกค้าตรงตามระดับคุณภาพที่ลู กค้าต้องการ ในช่วงที่ดอดจ์เป็นหั วหน้าแผนการประกันคุณภาพที่บริษัท
เบลเทเลโฟน จากัด ในปี พ.ศ.2460-2501 ตารางแผนการชักตัวอย่างดอดจ์และโรมิก จะประกอบไปด้วย
แผนการชักตัวอย่าง 2 ประเภทด้วยกัน คือ แผน LTPD และแผน AOQL โดยแต่ละแผนจะให้ตารางสาหรับ
แผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว และตารางสาหรับแผนการชักตัวอย่างเชิงคู่ แผนการชักตัวอย่างทั้ง 2 เป็นแผนที่
ออกแบบเพื่อให้ค่า ATI มีค่าต่าที่สุด ดังนั้นแผนการชักตัวอย่างของดอดจ์และโรมิกจึงเป็นแผนที่มีประโยชน์
อย่างมาก สาหรับการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ซึ่งอยู่ระหว่างการผลิตภายในโรงงานการประยุกต์แผนการ
ชักตั ว อย่ างของดอดจ์ แ ละโรมิก จะประยุ กต์กั บโปรแกรมการตรวจสอบเมื่อ ลอตถูก ปฏิเ สธ แล้ ว ต้อ งถู ก
364 การควบคุมคุณภาพ

ตรวจสอบทุกชิ้น 100% Inspection เท่านั้น โดยเมื่อพบของเสียให้แทนที่ด้วยของดีแทน นอกเหนือไปจากนั้น


การใช้แผนนี้ ผู้ตรวจสอบทราบว่าค่าสัดส่วนของเสียเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ที่จะเข้ารับตรวจสอบ แต่การเป็น
ผู้ผลิตรายใหม่ซึ่งเราไม่ทราบค่าสัดส่วนของเสียเฉลี่ยให้ประมาณจากตัวอย่างที่สุ่มจากผู้ผลิตมาตรวจสอบ โดย
ประยุกต์แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย แล้วจึงประยุกต์แผนการชักตัวอย่าง แต่ถ้าไม่มีข้อมูลกระบวนการผลิต
รายใหม่เลยการใช้ตารางให้ใช้ค่าสัดส่วนของเสียที่มากที่สุดของตารางเป็นตัวประมาณ จากนั้นเมื่อได้ตัวอย่าง
สุ่มและทราบข้อมูลจากการตรวจสอบ จึงประมาณค่าสัดส่วนของเสียได้จากข้อมูลในตัวอย่างที่ได้รับ
แผนการชักตัวอย่างที่เน้นการป้องกัน LTPD จะตรงกับ ANSI/ASQC Z 1.4 ซึ่งเป็นการชักตัวอย่าง
ขึ้นอยู่กับค่า AQL ผู้ผลิตส่วนมากจะเชื่อมั่นในแผนการชักตัวอย่างที่ขึ้นอยู่กับค่า AQL เนื่องจากแผน AQL
เป็นแผนที่ปกป้องผู้ที่ซื้อจากการรับสินค้าที่ไม่ดี และเป็นแผนที่สนับสนุนผู้ผลิตที่ผลิตสินค้าที่ดีอย่างสม่าเสมอ
นอกจากนั้ น ผู้ ผ ลิ ต ส่ ว นมากยั ง ไม่ ใ ห้ ค วามส าคัญ กั บ การวั ดสมรรถนะจากจ านวนชิ้ น ของเสี ยที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน
1,000,000 ชิ้น หรือถ้า AQL = 0.01% จะมีจานวนชิ้นของเสียประมาณ 100 ชิ้นเกินขึ้นใน 1,000,000 ชิ้น
เป็นต้น กล่าวคือ AQL มีค่าน้อย ก็ยังคงทาให้จานวนชิ้นของเสียประมาณ ตัวอย่างเช่น แผนวงจรสาหรับ
เครื่องจักรประกอบด้วย 100 ชิป แต่ล่ะชิปผ่านกระบวนการผลิตที่มีเปอร์เซ็นต์ของเสียเท่ากับ 0.5% นั้นคือ
AQL = 0.005 เครื่องจักรดังกล่าวจะใช้งานได้เมื่อชิปทั้ง 100 ตัวอยู่ในสถานที่พร้อมใช้งาน ดังนั้นความน่าจะ
เป็นที่แผงวงจรดังกล่าวจะทางานได้จึงมีค่าเท่ากับ (0.995)100 หรือเท่ากับ 0.6058
จากตัวอย่างดังกล่าว จึงเห็นถึงความสาคัญของแผนการชักตัวอย่างที่ให้ความสาคัญในการป้องกัน
LTPD สถานการณ์เช่นนี้จึงสมควรต่อการเลือกใช้แผนการชักตัวอย่างดอดจ์และโรมิก แผน AOQL ของดอดจ์
และโรมิกเป็นแผนที่ออกแบบเพื่อให้ค่า ATI สาหรับ AOQL และ P ซึ่งได้ระบุไว้แล้วมีค่าต่าที่สุด
6.2.5.1 แผน LTPD
ตารางดอดจ์และโรมิก (พ.ศ.2502) ของแผนการชักตัวอย่าง LTPD ประกอบด้วยค่าของ
LTPD (ดังแสดงในภาคผนวก ข.) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.5%, 1%, 2%, 3%, 4%, 5%, 6% และ 8% เป็นต้น ดัง
ตัวอย่างที่แสดงตัวอย่างที่แสดงในตารางที่ 6.38 ให้กับแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยวและแผนการชักตัวอย่าง
เชิงคู่ ในตารางที่ 6.39 ค่าของสัดส่วนของเสียนาเสนอถึงครึ่งหนึ่งของค่า LTPD ที่กาหนด ส่วนในกรณีที่ค่า
สัดส่วนของเสียเกินครึ่งหนึ่ง ให้ใช้แผนการตรวจสอบทุกชิ้นแทน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในแง่เศรษฐศาสตร์
จุดเริ่มต้นในการใช้ตารางหลังจากทราบค่า LTPD คือ การพิจารณาขนาดของลอต (Lot Size) ในตารางได้
กาหนดไว้อยู่ในรูปของพิสัย ซึ่งสังเกตได้ว่าเมื่อขนาดของ (N) เพิ่มขึ้น จะทาให้ขนาดของตัวอย่าง (n) เพิ่มขึ้น
ตามแต่ไ ม่ไ ด้เพิ่ มในลั ก ษณะของฟัง ก์ชัน ตรงกล่ าว คือ n เพิ่ม แต่ ช้ากว่าจากนั้นพิ จารณาค่าเฉลี่ ย ของ
กระบวนการ ในแต่ละตารางค่าของ LTPD จะประกอบด้วยค่าเฉลี่ยของกระบวนการ (Process Average)
หรือสัดส่วนของเสียทั้งหมด 6 ช่อง โดยที่ค่าสัดส่วนของเสียเพิ่มให้ขนาดตัวอย่างเพิ่มตามเช่นกัน แผนเหล่านี้
ถูกออกแบบเพื่อให้ค่า ATI มีค่าประมาณน้อยที่สุด ภายใต้ความน่าจะเป็นการยอมรับลอต เท่ากับ 0.10 ณ จุด
ความเสี่ยงของผู้ซื้อ ส่วนการเลือกชนิดของแผนระหว่างเชิงเดี่ยวกับเชิงคู่จะพิจารณาจากต้นทุนต่อหน่วยของ
การตรวจสอบ (การลดสัดส่วนของเสียเฉลี่ยลงจะช่วยลดต้นทุนต่อหน่วยของการตรวจสอบ) และต้นทุนการ
บริหารในดาเนินการตามแผน
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 365

ตัวอย่างที่ 6.20
สมมติว่าต้องตรวจสอบชิปของหน่วยความจาสาหรับคอมพิวเตอร์ ซึ่งนาเข้า ด้วยขนาดลอตเท่ากับ
5,000 ผู้ ผลิ ตมีค่าเฉลี่ย ของกระบวนการเท่ากับ 0.25% จงหาแผนการชักตัว อย่างเชิงเดี่ยวเมื่อกาหนดให้
LTPD = 1%
วิธีทา
จากตารางที่ 6.38 เมื่อลอตมีขนาด 5,000 ซึ่งอยู่ในช่วง 4,001–5,000 LTPD เท่ากับ 1% และ
ค่าเฉลี่ยกระบวนการอยู่ในช่วง 0.21–0.30% (ช่องที่ 4 ของค่าเฉลี่ยกระบวนการ) จะได้ n = 770 และ c = 4
สมมติว่าถ้าลอตถูกปฏิเสธจะต้องถูกตรวจสอบทุกชิ้น และแทนที่ของเสียด้วยของดี AOQL สาหรับแผนนี้จะมี
ค่าประมาณเท่ากับ 0.28% หมายความว่า AOQ ที่แย่ที่สุดโดยไม่คานึงถึงคุณภาพวัตถุดิบขาเข้าจะมีค่าไม่เกิน
0.28% (ในกรณีที่ไม่ทราบค่าเฉลี่ยของกระบวนการ ให้เลือกใช้ค่าเฉลี่ย ของกระบวนการสูงสุด ในตัวอย่างนี้
คือ พิสัยที่อยู่ในช่วง 0.41–0.50% ทาให้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยวที่ได้ คือ n = 1,120 และ c = 7

6.2.5.2 แผน AOQL


ใช้เมื่อต้องการเลือกแผนให้ AOQ ที่แย่ที่สุดโดยไม่ตระหนักถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ขาเข้าที่
รับมอบจากหลายๆ ลอตอยู่ในระดับที่ไม่เกิน AOQL ที่ได้กาหนดไว้ และมีค่า ATI ที่น้อยที่สุด ตารางดอดจ์
และโรมิกของแผนการชักตัวอย่าง AOQL ประกอบด้วยค่าของ AOQL (ดังแสดงในภาคผนวก ข.) ในแผน
เท่ากับ 0.1%, 0.25%, 0.5%, 1%, 2.5%, 3%, และ 10% เป็นต้น ดังตัวอย่างที่แสดงในตารางที่ 6.39
(ค่าเฉลี่ยของกระบวนการที่แสดงให้เห็นมีค่าสูงสุดเท่ากับ 3.00% แต่ถ้าค่าเฉลี่ยมากกว่านี้ให้ประยุกต์แผนการ
ตรวจสอบทุกชิ้น) ให้กับทั้งแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยวและแผนการชักตัวอย่ างเชิงคู่ เซตของแผนเหล่านี้จะ
ใช้ได้เมื่อทราบขนาดของลอต (N) และค่าเฉลี่ยของกระบวนการ (p) ในแต่ละตารางของค่า AOQL จะ
ประกอบด้วยค่าเฉลี่ยของกระบวนการ (Process Average) หรือสัดส่วนของเสียทั้งหมด 6 ช่อง นอกจากนั้น
แผน AOQL ยังทาให้ทราบค่า LTPD ที่ทาให้ค่าความเสี่ยงของผู้ซื้อมีค่าเท่ากับ 0.10

ตัวอย่างที่ 6.21
สมมติว่าต้องตรวจสอบชิปของหน่วยความจาสาหรับคอมพิวเตอร์ซึ้งนาเข้าด้วยขนาดลอตเท่ากับ
5,000 ผู้ ผ ลิ ต มี ค่ า เฉลี่ ย ของขบวนการเท่ า กั บ 1% จงหาแผนการชั ก ตั ว อย่ า งเชิ ง เดี่ ย วเมื่ อ ก าหนดให้
AOQL = 3%
วิธีทา
จากตารางที่ 6.39 เมื่อลอตมีขนาด 5000 และ AOQL เท่ากับ 3% และค่าเฉลี่ยของกระบวนการอยู่ในช่วง
0.61–1.20% (ช่องที่ 3 ของค่าเฉลี่ยกระบวนการ) จะได้ n = 65 และ c = 3 นอกจากนั้นเมื่อชักตัวอย่างตามแผนนี้
จะได้ค่า LTPD = 10.3% เส้นโค้ง OC ของแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยวเมื่อ (n, c) = (65, 3) พิจารณา ณ จุดที่
p = p2 (LTPD = 0.103) ของการแจกแจงที่เป็นแบบปัวส์ซองจะได้ Pa = 0.0991 (เพราะ c = 3 และ
np = 6.695)
366 การควบคุมคุณภาพ

สรุปได้ว่าแผนการชักสิ่งตัวอย่าง n = 65 และ c = 3 เมื่อกาหนดให้ AOQL = 3% จะประกันได้ว่า


90% ของลอตที่ ต้อ งการตรวจสอบถู ก ปฏิ เ สธเมื่อ สั ดส่ ว นของเสี ยเท่ ากั บ ค่า เฉลี่ ย ของกระบวนการจะได้
Pa = 0.9956 (เพราะ c = 3 และ np 0.65) หรือประกันได้ว่า 99.56% ของลอตที่ต้องการตรวจสอบจะได้รับ
การยอมรับโดยหาค่า ATI เมื่อ p = 0.01 ได้เท่ากับ
ATI = n + (1 – Pa)(N – n)
= 65 + (1 – 0.9960)(5,000 - 65)
= 86.22 ≈ 86 ชิ้น

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 6

1. จงหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างชุดเดียว สาหรับลอตที่มีขนาด N = 500 และ LTPD = 3.0% มีความเสี่ยงของ


ผู้บริโภค (Customer’s Risk) = 0.10 ถ้าร้อยละของผลิตภัณฑ์เสียในกระบวนการผลิตเป็น 0.9%
2. จงหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างสองชุด สาหรับลอตที่มีขนาด N = 1000 และ LTPD = 5.0% มีความเสี่ยงของ
ผู้บริโภค (Customer’s Risk) = 0.10 ถ้าร้อยละของผลิตภัณฑ์เสียในกระบวนการผลิตเป็น 0.7%
3. จงหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างชุดเดียว สาหรับลอตที่มีขนาด N = 300 และ AOQL = 1.0% ถ้าร้อยละของ
ผลิตภัณฑ์เสียในกระบวนการผลิตเป็น 0.75%
4. จงหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างสองชุดสาหรับเงื่อนไขต่างๆ จากข้อ 3
5. ในการตรวจสอบคุณภาพชิ้นส่วนมอเตอร์ไฟฟ้า ถ้าสัดส่วนของเสียเท่ากับ 0.0322% จงหาแผนการชักสิ่ง
ตัว อย่ า งที่ จ ะใช้ส าหรั บ ลอตขนาด 25,000 ชิ้ น โดย LTPD = 1.0% มี ความเสี่ ย งของผู้ บ ริโ ภค
(Customer’s Risk) = 0.10
5.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างชุดเดียว
5.2 แผนการชักสิ่งตัวอย่างสองชุด
6. จากการตรวจสอบคุณภาพของน้าดื่มยี่ห้อหนึ่ง ถ้าสัดส่วนของเสียเท่ากับ 0.5% จงหาแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างที่จะใช้สาหรับลอตขนาด 5,000 ชิ้น โดย AOQL = 1.0%
6.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างชุดเดียว
6.2 แผนการชักสิ่งตัวอย่างสองชุด
7. จากการตรวจสินค้าที่มีจานวนมากที่ลูกค้าสั่ งซื้อจานวน 2,000 ชิ้น ลูกค้าเลือกตัวอย่างสินค้าจานวน 200
ชิ้น มาตรวจสอบ และจะปฏิเสธลอตเมื่อสินค้ามากกว่า 2 ชิ้น จงคานวณ AOQL จากลอตที่นามาตรวจสอบ
เมื่อร้อยละของผลิตภัณฑ์เสียในกระบวนการผลิตเป็น 0.8%
ตารางที่ 6.38 ดอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดี่ยวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 1.0% β= 0.10
Process
0-0.10 0.11-.10 .11-.20 .21-.30 .31-.40 .41-.50
Average%
AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL
Lot Size n c n c n c n c n c n c
% % % % % %
1-110 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
171-150 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06
151-200 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8
201-300 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1
301-400 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12
401-500 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13
501-600 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 305 1 0.14
601-800 200 0 0.14 200 0 0.14 200 0 0.14 330 1 0.15 330 1 0.15 330 1 0.15
801-1,000 205 0 0.14 205 0 0.14 205 0 0.14 335 1 0.17 335 1 0.17 335 1 0.17
1,001-2,000 220 0 0.15 220 0 0.15 360 1 0.19 490 2 0.21 490 2 0.21 610 3 0.22
2,001-3,000 220 0 0.15 375 1 0.2 505 2 0.23 630 3 0.24 745 4 0.26 870 5 0.26
3,001-4,000 225 0 0.15 380 1 0.2 510 2 0.24 645 3 0.25 880 5 0.28 1000 6 0.29

4,001-5,000 225 0 0.16 380 1 0.2 520 2 0.24 770 4 0.28 895 5 0.29 1120 7 0.31
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

5,001-7,000 230 0 0.15 385 1 0.21 655 3 0.27 780 4 0.29 1020 6 0.32 1260 8 0.34
7,001-10,000 230 0 0.16 520 2 0.25 660 3 0.28 910 5 0.32 1150 7 0.34 1500 10 0.37
10,001-20,000 390 1 0.21 525 2 0.26 785 4 0.31 1040 6 0.35 1400 9 0.39 1960 14 0.43
20,001-50,000 390 1 0.21 530 2 0.26 920 5 0.34 1300 8 0.39 1890 13 0.44 2570 19 0.48
50,001-100,000 390 1 0.21 670 3 0.29 1040 6 0.36 1420 9 0.41 2120 15 0.47 3150 23 0.5
367
368

ตารางที่ 6.39 ดอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดี่ยวจาก AOQL โดยที่ AOQL = 3.0%


Process
0-0.10 0.11-.10 .11-.20 .21-.30 .31-.40 .41-.50
Average%
AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL
Lot Size n c n c n c n c n c n c
% % % % % %
1-110 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
171-150 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06
151-200 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8
201-300 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1
301-400 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12
401-500 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13
501-600 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 305 1 0.14
601-800 200 0 0.14 200 0 0.14 200 0 0.14 330 1 0.15 330 1 0.15 330 1 0.15
801-1,000 205 0 0.14 205 0 0.14 205 0 0.14 335 1 0.17 335 1 0.17 335 1 0.17
1,001-2,000 220 0 0.15 220 0 0.15 360 1 0.19 490 2 0.21 490 2 0.21 610 3 0.22

2,001-3,000 220 0 0.15 375 1 0.2 505 2 0.23 630 3 0.24 745 4 0.26 870 5 0.26
3,001-4,000 225 0 0.15 380 1 0.2 510 2 0.24 645 3 0.25 880 5 0.28 1000 6 0.29
4,001-5,000 225 0 0.16 380 1 0.2 520 2 0.24 770 4 0.28 895 5 0.29 1120 7 0.31
5,001-7,000 230 0 0.15 385 1 0.21 655 3 0.27 780 4 0.29 1020 6 0.32 1260 8 0.34
การควบคุมคุณภาพ

7,001-10,000 230 0 0.16 520 2 0.25 660 3 0.28 910 5 0.32 1150 7 0.34 1500 10 0.37

10,001-20,000 390 1 0.21 525 2 0.26 785 4 0.31 1040 6 0.35 1400 9 0.39 1960 14 0.43

20,001-50,000 390 1 0.21 530 2 0.26 920 5 0.34 1300 8 0.39 1890 13 0.44 2570 19 0.48

50,001-100,000 390 1 0.21 670 3 0.29 1040 6 0.36 1420 9 0.41 2120 15 0.47 3150 23 0.5
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 369

6.2.6 แผนการชักสิ่งตัวอย่างทีละชิ้นตามลาดับ
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) วิธีการของแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบนี้คือ ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างขึ้นมา
ครั้งละ 1 ชิ้น แล้วให้คะแนนไว้ว่าเป็นของดีหรือของเสีย เช่น ให้เครื่องหมายบวก เมื่อพบของดีและให้ค่าลบ
เมื่อพบของเสีย ถ้าที่ขณะหนึ่งที่คะแนนใดถึงขีดกาหนดหนึ่งเราจะหยุดการชักสิ่งตัวอย่าง และยอมรับ ลอต
นั้นๆ ทันที แต่ถ้าผลรวมคะแนนต่ากว่าขีดกาหนดหนึ่งเราก็จะปฏิเสธลอตนั้น วิธีการชักสิ่งตัวอย่างต่อเนื่อง
(Sequential Sampling) นี้คิดโดย เอ.วาลด์ (A.Wald) ซึ่งเป็นเป็นสมาชิกในกลุ่มวิจัยสถิติที่มหาวิทยาลัย
โคลัมเบียระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2
6.2.6.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างของวาลด์ (Wald’s Sequential Probability Ratio Plan)
วาดล์ได้กาหนดค่า P1, P2, α และ β ทาการหาคะแนนออกมา เพื่อหาขอบเขตการ
ยอมรับ (Acceptance) และขอบเขตการปฏิเสธ (Rejection) ซึ่งจะให้แผนการชักสิ่งตัวอย่างมีประสิทธิภาพ
ที่สุด ในการเก็บคะแนนจะเก็บแบบสะสมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มาจากคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (P1, P2) นั่นเอง
ถ้าคะแนนรวมได้มากกว่าอีกตัวเลขหนึ่ง ลอตก็จะถูกยอมรับ
สรุ ป คื อ ผลรวมตั ว เลขมากก็ จ ะปฏิ เ สธ ส่ ว นผลรวมคะแนนต่ าก็ จ ะได้ รั บ การยอมรั บ
วิธีตัวอย่างของวาลด์นี้จะเรียกย่อๆ ว่า แผนการ SPR ซึ่งแผนการนี้จะง่ายกว่าระบบอื่นๆ เพราะเพียงแค่รวม
จานวนชิ้นเสียไปเรื่อยๆ

X
จานวนของเสีย
6 ปฏิเสธ Xu = h2 + sn
5
4
3 XL = h1 + sn
2
ยอมรับ
1
h2
h1 N
10 20 30 40 50 60 70 80 90
จานวนตัวอย่าง (n)

รูปที่ 6.20 แผนภูมิการชักสิ่งตัวอย่างโดยลาดับ (Sequential Sampling Chart)

ถ้าจุดรวมคะแนนยังอยู่ระหว่างเส้นคู่ขนาน XL กับ XU ก็ให้ทาการชักสิ่งตัวอย่างเรื่อยไป


โดยไม่มีการตัดสินใจ จนกระทั่งจุดผลรวมคะแนนตกเส้นบน XU หรือเหนือเส้น XU ก็ให้ปฏิเสธลอตนั้นทันที
แต่ถ้าจุดผลรวมคะแนนตกเส้นบน XL หรือต่ากว่าเส้น XL ก็ให้ยอมรับลอตนั้น
370 การควบคุมคุณภาพ

6.2.6.2 การหาแผนการชักสิ่งตัวอย่าง SPR โดยกาหนดค่า P1, P2, α และ β


เราจะหาสมการของเส้น XLและ XU ของแผนภูมิตัวอย่าง จากสมการที่ 6.12 และ 6.13 ดังนี้
XL = -h1+sn ...(6.12)
XU = -h2+sn ...(6.13)
โดยที่ h2 = -b/(g1+g2) เมื่อ b = log (1⎼a)/β
g1 = log (P2)/(P1)
g2 = log (1-P1)/(1⎼P2)
และ h1 = a/(g1+g2) โดยที่ a = log (1⎼a)/β
S = (g2)/(g1+g2)

ตัวอย่างที่ 6.22
จงหาแผนการชักสิ่งตัวอย่าง SPR เมื่อกาหนด P1 = 0.01, P2 = 0.30, α = 0.05 และ β = 0.10
วิธีทา
จากสมการที่ 6.12 XL = -h1+sn …(a)
จากสมการที่ 6.13 XU = -h2+sn ...(b)
หา h1 จาก h1= b/(g1+g2) ...(c)
เมื่อ b = log(1- α)/β = log (1-0.05)/0.10 = 0.978
g1 = log (p2)/ (p1) = log 0.30/0.01 = 1.477
g2 = log (1-p1)/ (1- p2) = log (1-0.01)/ (1-0.30) = 0.151
จากสมการ (c) จะได้ h1 = 0.601
หา h2 จากสูตร h2 = a/( g1+g2) …(d)
โดย a = log (1- β)/α = log (1-0.10)/0.05 = 1.255
จากสมการ (d) จะได้ h2 = 0.771
หา S จากสูตร S = (g2)/(g1+g2)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 371

จากสมการ (a) จะได้ XL = -0.601 +0.093(n)


จากสมการ (b) จะได้ XU = 0.771+0.093(n)
จะได้แผนตัวอย่าง SPR
โดยเส้นของการปฏิเสธ XU = 0.771 + 0.093(n)
และ เส้นของการยอมรับ XL = -0.601 + 0.093(n)
ทาการพลอตกราฟ XU และ XL จะได้กราฟดังรูปที่ 6.21

จานวนของเสีย
XU

3 XL
2
1
0 จานวนตัวอย่าง (n)
-1 5 10 15 20 25 30 35 40 45

รูปที่ 6.21 กราฟแสดงเส้นการยอมรับ XL และเส้นปฏิเสธ XU


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

สมมติว่าในการชักสิ่งตัวอย่างจากผลิตภัณฑ์ลอตหนึ่งขึ้นมาทีละ 1 ชิ้น เป็นจานวน 30 ชิ้น ได้ผลการ


ชักสิ่งตัวอย่างเป็นดังนี้

ครั้งที่ พบของเสีย ของเสียสะสม


5 1 1
10 1 2
15 1 3
20 1 4
25 1 5

ในการพลอตกราฟ ถ้าไม่พบของเสียจะลากเส้นขนานแกนจานวนชิ้นที่ตรวจสอบ แต่เมื่อพบของเสีย


จะลากเส้นตั้งฉากขึ้นไป ณ จุดที่จานวนตัวอย่างนั้นพบของเสีย จานวนของเสียที่ใช้ในกราฟเป็นจานวนของเสีย
สะสม
372 การควบคุมคุณภาพ

ทาการพลอตกราฟจานวนของเสียสะสมลงบนกราฟรูปที่ 6.21 จะได้ผลดังกราฟรูปที่ 6.22

จานวนของเสีย
XU

XL
3
2
1
0 จานวนตัวอย่าง (n)
5 10 15 20 25 30 35 40 45
-1

รูปที่ 6.22 กราฟจานวนของเสียสะสม


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

จากกราฟรูปที่ 6.22 จะเห็นว่าเมื่อชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่ 20 จานวนของเสียสะสมได้ 3 ชิ้น จุดที่


เป็นจ านวนของเสี ยสะสมจะอยู่ ออกนอกเส้น XU ดังนั้นจะทาการปฏิเสธผลิตภัณฑ์ล อตนั้น และหยุดชัก
สิ่งตัวอย่างที่ชักมาตรวจสอบมีเพียง 20 ชิ้นเท่านั้น
6.2.6.3 เส้นโค้ง OC ของแผนตัวอย่าง SPR
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เส้นโค้ง OC ของแผนการสุ่มตัวอย่าง SPR สามารถหาได้จากการ
คานวณจุด (P, Pa) จานวน 5 จุด ดังนี้
P = 0 ได้ Pa = 1.00
P = 1 ได้ Pa = 0
P = P1 ได้ Pa = 1 - α
P = P2 ได้ Pa = β

h2
และที่ P = S ได้ Pa =
h1 + h 2

6.2.6.4 จานวนตรวจสอบโดยเฉลี่ย (ASN)


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) จานวนตัวอย่างที่ใช้ในการตรวจสอบโดยเฉลี่ยของแผนตัวอย่าง SPR จะ
มีจานวนไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับสัดส่วนของของเสียในลอต (P) โดยจะแสดงความสัมพันธ์ของ ASN กับจุดต่างๆ
ทั้ง 5 จุด ข้างต้นบนส่วนโค้ง OC ได้ ดังตารางที่ 6.40
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 373

ตารางที่ 6.40 แสดงความสัมพันธ์ของ ASN กับจุดต่างๆ บนเส้นโค้ง OC

ค่า P Pa ASN
h1
0 1.0
s
1-α  h1 -αh 2
P1 1-α
s - P1
h2 h1h 2
S h1 + h 2 s(1-s)
1-β  h2 -βh1
P2 β
P2 -s
h2
1.0 0
1-s

สาหรับจุดอื่นๆ เราอาจคานวณ ASN ได้จากสมการ

β  1-β 
) + (1-Pa)  log
Pa (log 
ASN = 1-α  α 
 P   1-P 
P  log 2  + 1-P   log 2 
 P1   1-P1 

วาลด์ และ โวฟอวิทซ์ (Wald and Walfowitz) ได้แสดงว่าในแผนชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพ


(Attributes Sampling Plan) ด้วยกันแล้ว แผนตัวอย่าง SPR จะให้ค่า ASN ต่าสุด ณ จุด P เดียวกัน หรือ
อาจกล่าวได้ว่า แผนตัวอย่าง SPR จะลดจานวน ASN ได้ 50% ของแผนตัวอย่างเดียว

ตัวอย่างที่ 6.23
จากตัวอย่างที่ 6.22 จะหาค่าจุดต่างๆ บนเส้นโค้ง OC ทั้ง 5 จุด ดังกล่าว พร้อมกับ ค่า ASN ได้ดังนี้

P Pa ASN
0 1.00 6.46
0.01(P1) 0.95 6.41
0.151(S) 0.56 5.49
0.30(P2) 0.30 3.06
1.00 0 0.85
374 การควบคุมคุณภาพ

วิธีทา
จากจุด (P, Pa) ทั้ง 5 จุด ดังกล่าว นามาสร้างเส้นโค้ง OC ได้ดังนี้
Pa
1.0

0.8

0.6

0.4

0.2
P
0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7

6.3 แผนการชักตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพชนิดพิเศษ
6.3.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างของการผลิตต่อเนื่อง
6.3.1.1 แผน CSP-1
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) สาหรับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตอย่างต่อเนื่อง Dodge ได้ค้นคิดวิธีการ
ตรวจสอบที่เรียกว่าแผน CSP-1 ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
(1) ในขณะเริ่มต้นทาการตรวจสอบ 100% ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงหน่วยที่ i โดยไม่พบ
ของเสีย
(2) เมื่อตรวจสอบถึงหน่ว ยที่ i โดยไม่พบของเสียเลย เลิกตรวจสอบ 100% ทาการ
ตรวจสอบเพียงสัดส่วน f (fraction) โดยหยิบตัวอย่างขึ้นมา 1 ชิ้น ในช่วง ที่กาหนด (f) การเก็บตัวอย่างต้อง
เป็นแบบไม่ลาเอียง
(3) ถ้าชิ้นตัวอย่างที่ตรวจสอบพบว่าเป็นของเสียกลับไปตรวจสอบ 100% ใหม่ทันที และ
ทาต่อไปจนกระทั่ง พบว่าหน่วยไม่มีของเสียอยู่เลย จึงกลับไปทาใน ขั้น (2) ต่อไป
(4) เลือกหรือแทนที่ของเสียด้วยของดี
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 375

รูปที่ 6.23 กราฟสาหรับการหาแผนภาพตัวอย่าง CSP-1 ที่ค่า AOQL ใดๆ


(ที่มา: Dodge H.F., 1943)

ตัวอย่างที่ 6.24
ถ้าตัวอย่าง AOQL เป็น 2% และการตรวจสอบ 1 ชิ้น ทุก 20 ชิ้น จากพาเลต (f = 1/20 หรือ 5%)
วิธีทา
ในรูปที่ 6.23 หาค่า i ได้จากค่า f = 5% และ AOQL = 2% ได้ i = 76 แผนการยอมรับตัวอย่างเป็น
ดังนี้
1. ตรวจสอบทุกชิ้นติดต่อกัน 76 ชิ้น โดยไม่พบของเสียเลย (ถ้าพบของเสียให้เริ่มตรวจสอบใหม่)
2. เมื่อ 76 ชิ้น ติดต่อกันไม่พบของเสียเลย ให้ตรวจสอบเหลือเพียง 1 ชิ้น จากทุก 20 ชิ้นให้ยอมรับ
ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดตราบเท่าที่ยังไม่พบของเสีย
3. เมื่อไหร่ก็ตามที่พบของเสียเพียง 1 ชิ้น ให้กลับไปตรวจสอบ 100% จน กว่า 76 ชิ้นติดต่อกันไม่พบ
ของเสียเลย ก็กลับมาทา Sampling Inspection เหมือนกับในข้อ 2
376 การควบคุมคุณภาพ

จุด Sampling
แผนตัวอย่างเขียนเป็นรูปได้ดังนี้ (จะเป็นจุดไหนก็ได้ในช่วง แต่
ให้เป็นที่เดียวกันตลอด)
100% inspection = i
เริ่มต้น
i = 76 จุด Sampling 100%
insp i = 76
1 ชิ้น ทุก 20 ชิ้น f = 1/20

Defect

ขัน้ แรกตรวจสอบ 76 ชิ้น ถ้าไม่พบของเสียเลย ก็ทาการชักสิ่งตัวอย่าง 1 ชิ้น จากทุก 20 ชิ้น

6.3.1.2 แผน CSP-2


H.F. Dodge และ M.N. Torrey ได้ช่วยกันปรับปรุงแผน CSP-1 จนได้แผน CSP-2 และ
CSP-3 ซึ่งแผน CSP-2 ต่างจาก CSP-1 คือ เมื่อตรวจสอบพบของเสียชิ้นแรกในช่วง f ยังอนุโลมให้ทาการ
Sampling ต่อไปได้อีก k sample (ครั้ง) ถ้าไม่พบของเสียอีกเลยก็ให้ผ่านไปแล้วเริ่มของเสียกันใหม่ แต่ถ้าพบ
ของเสียครั้งที่ 2 ในช่วง k ก็ให้ทาการตรวจ 100% ใหม่จน k หน่วยไม่พบของเสียเลยจึงทาการ Sampling
ใหม่ ค่า k ของ CSP-2 ก็หาได้เช่นเดียวกับค่า i ของ CSP-1 ตารางที่ 6.41 ได้หาค่า i ของ CSP-1 และ k
ของ CSP-2 โดยใช้ 5% และ 10% Sampling Inspection ที่ค่า AOQL ต่างๆ กัน

ตารางที่ 6.41 เปรียบเทียบค่าของ i สาหรับแผน CSP-1 และ CSP-2 ที่ค่า AOQL ใดๆ สาหรับ f ที่ 5% และ
10% (สมมติค่า i = k ใน CSP-2)

f = 5% f = 10%
AOQL %
i in CSP-1 (i=k) in CSP-2 i in CSP-1 (i=k) in CSP-2
0.3 510 650 370 490
0.5 305 390 220 290
1 150 195 108 147
2 76 96 55 72
3 49 64 36 48
4 37 48 27 36
5 29 38 21 29
6 24 31 17 23
8 18 23 13 17
10 14 18 10 14
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 377

ตัวอย่างที่ 6.25
จงหาแผน CSP-2 เมื่อ f = 5% และ AOQL = 2% จากตารางที่ 6.41 ให้ค่า i = 96 แผนการยอมรับ
ตัวอย่างเป็นอย่างไร (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
วิธีทา
1. ตรวจสอบทุกชิ้นติดต่อกันจน 96 หน่วย ที่ติดต่อกันไม่พบของเสียอยู่เลย (ถ้าพบของเสียให้เริ่มนับ
ใหม่)
2. เมื่อ 96 ชิ้น ติดต่อกันไม่พบของเสียเลย ก็ทาการสุ่มตัวอย่าง 1 ชิ้น ทุก 20 ชิ้น ยอมรับผลิตภัณฑ์
ทุกชิ้น ตราบเท่าที่ยังไม่พบของเสียเลย
3. ถ้าพบของเสีย 1 ชิ้นในการชักสิ่งตัวอย่าง ทาการชักสิ่งตัวอย่างต่อไป ถ้าพบของเสียชิ้นที่ 2 ภายใน
96 ครั้ง นับจากพบของเสียครั้งแรก ให้กลับมาทาการตรวจสอบ 100% จนกระทั่ง 96 ชิ้นติดต่อกันไม่พบของ
เสีย จึงกลับมาทาการ Sampling ใหม่ แต่ถ้าภายใน 96 ครั้งไม่พบของเสียอีก ให้เริ่มนับการชักสิ่งตัวอย่างใหม่

Defect
1 Defect 2

k = i = 76
เริ่มต้น
1 2 3 i = 96
f = 1/20

6.3.1.3 แผน CSP-3


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) แผน CSP-3 เป็นการกลั่นกรองของแผน CSP-2 เพื่อป้องกันคุณภาพที่
ผิดพลาดแบบกะทันหันมีขั้นตอนดังนี้ จากตัวอย่าง 6.25 เมื่อพบของเสียครั้งแรก ให้ตรวจสอบชิ้นต่อไปนี้อีก
4 ชิ้นจาก Production line ถ้าไม่พบของเสีย ให้ดาเนินการแผนต่อไปตาม CSP-2 ถ้าใน 4 ชิ้นนี้พบของเสีย
แม้เพียงชิ้นเดียวกลับไปตรวจสอบ 100% และต่อด้วยกฎของ CSP-2 ใหม่

Defect

i = 96 f = 1/20 f f f
เริ่มต้น
1 2
4 units 1 2 3
378 การควบคุมคุณภาพ

6.3.1.4 การคานวณชิ้นส่วนตรวจสอบโดยเฉลี่ยและโอกาสในการยอมรับ
ให้ u เท่ากับ จานวนชิ้นโดยเฉลี่ยในช่วงการตรวจสอบ 100%

1- qi
จะได้ u= …(6.14)
p • qi

p = สัดส่วนของเสีย
=1-q

ให้ v จานวนชิ้นโดยเฉลี่ยที่ผ่านการตรวจสอบโดยวิธี CSP นี้ ก่อนที่จะพบของเสีย 1 ชิ้น


จะได้
1
v= …(6.15)
f•p

f = สัดส่วนของการตรวจสอบ

ให้ AFI เท่ากับ สัดส่วนของผลิตภัณฑ์โดยเฉลี่ยที่ผ่านเข้ามาตรวจสอบโดยแผนการชักสิ่งตัวอย่าง


จะได้
u + fv
AFI = …(6.16)
u+v

ให้ Pa เท่ากับ โอกาสในการยอมรับ


จะได้
v
Pa = …(6.17)
u+v

ตัวอย่างที่ 6.26
กาหนดให้ f = 5.0%, AOQL = 2.0% และ P = 0.1% จงหาแผนชักสิ่งตัวอย่างแบบ CSP-1 และ
CSP-2 พร้อมทั้งหา u, v, AFI และ Pa ของแผนทั้งสอง (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
วิธีทา
แผน CSP-1 จากตารางที่ 6.41 เมื่อ f = 5%, AOQL = 2% ได้ค่า i = 76
ดังนั้น แผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ ตรวจสอบแบบ 100% จนกระทั่ง 76 ชิ้น ต่อเนื่องกันไม่พบของ
เสียเลยจากนั้นเปลี่ยนมาตรวจสอบโดยการชักสิ่งตัวอย่าง 1 ชิ้นจากทุก 20 ชิ้น
5 1
f = 5% = = ถ้ าพบของเสียเมื่อใดให้ เปลี่ยนกลับไปตรวจสอบแบบ 100% ใหม่
100 20
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 379

1- qi
จาก u=
p • qi
1- 1  0.01
76

u= = 115
 0.01 • 1  0.0176

1
จาก v=
f•p
1
v= = 2,000
0.05 • 0.01

จานวนชิ้นโดยเฉลี่ยผ่านการตรวจสอบโดยวิธี CSP-1 ก่อนพบของเสีย 1 ชิ้น เท่ากับ 2,000 ชิ้น

u + fv
จาก AFI =
u+v
115 + (0.05)(2,000)
AFI = = 0.1017
115 + 2,000

สัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการตรวจสอบ = 0.1017 หรือ 10.17%

v
จาก Pa =
u+v
2, 000
Pa = = 0.9456
115 + 2,000

ผลิตภัณฑ์มีโอกาสได้รับการยอมรับเท่ากับ 0.9456 หรือ 94.56%

แผน CSP-2 จากตารางที่ 6.41 เมื่อ f = 5%, AOQL = 2% ได้ค่า i = k = 76


ดังนั้นแผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ ตรวจสอบแบบ 100% จนกระทั่ง 96 ชิ้น ต่อเนื่องกันไม่พบของ
เสียเลยจากนั้นเปลี่ยนมาตรวจสอบโดยการชักสิ่งตัวอย่าง 1 ชิ้น จากทุก 20 ชิ้น ถ้าพบของเสีย 1 ชิ้น ก็ยังให้
ชักสิ่งตัวอย่างต่อไปอีก ถ้าพบของเสียชิ้นที่ 2 ภายใน 96 ครั้ง นับจากการพบตัวอย่างครั้งแรกให้กลับมาทาการ
ตรวจสอบแบบ 100% ใหม่

1- qi
จาก u=
p • qi
1- 1  0.99 
96

u= = 163
 0.01 • 1  0.9996
380 การควบคุมคุณภาพ

1
จาก v=
f•p
1
v= = 2,000
0.05 • 0.01

จานวนชิ้นโดยเฉลี่ยผ่านการตรวจสอบโดยวิธี CSP-2 ก่อนพบของเสีย 1 ชิ้น เท่ากับ 2,000 ชิ้น

u + fv
จาก AFI =
u+v
163 + (0.05)(2,000)
AFI = = 0.1216
163 + 2,000

สัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการตรวจสอบเท่ากับ 0.1216 หรือ 12.16%

v
จาก Pa =
u+v
2, 000
Pa = = 0.9246
163 + 2,000

ผลิตภัณฑ์มีโอกาสได้รับการยอมรับเท่ากับ 0.9246 หรือ 92.46%

6.4 แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงแปรผัน
6.4.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบตัวแปร
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เป็นแผนการชักสิ่งตัวอย่าง เมื่อลักษณะคุณภาพของผลิตภัณฑ์ต้องใช้การวัด
ออกมาในรูปตัวเลข และรู้ลักษณะการกระจายของค่าต่างๆ ที่วัดได้ เช่น มีการกระจายแบบนอร์มอล (Normally
Distribution) โดยสามารถหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจากค่าที่วัดได้จากสิ่งตัวอย่างที่ชักมาตรวจสอบ
เป็นต้น
การนาแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบตัวแปรมาใช้ มีดังต่อไปนี้
1. ลักษณะการตรวจสอบเกี่ยวข้องกับ การวัด การตวง การชั่ง เช่น น้าหนักความยาว เส้นผ่าน
ศูนย์กลาง ส่วนผสมของสารเคมี เป็นต้น
2. ลักษณะการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ เป็นการทาลายสิ่งตัวอย่างในกรณีนี้ นิยมใช้สิ่งตัวอย่างเป็น
จานวนน้อย โดยเหตุผลทางด้านค่าใช้จ่าย และเวลา
3. ผลิตภัณฑ์บางอย่าง ยากแก่การตรวจสอบในลักษณะของดี หรือของเสีย
4. ทราบลักษณะการกระจายของค่าต่างๆ ที่วัดได้
ผลดีผลเสียของแผนตัวอย่างแบบตัวแปร
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 381

(1) ข้อดีของแผนตัวอย่างแบบตัวแปร คือ สามารถหาเส้นโค้งได้เพียงตัวอย่างขนาดเล็กกว่าแบบ


แผนตัวอย่างตามคุณภาพ (Attributes Plan) แม้ว่าค่าใช้จ่ายในการวัดค่าจากตัวอย่างแบบตัวแปรนั้นจะสูง
กว่าจากตัวอย่างแบบตามคุณภาพ แต่เมื่อเทียบขนาดตัวอย่างซึ่งแบบตัวแปรน้อยกว่า แบบตามคุณภาพแล้ว
แบบตัวแปรยังประหยัดค่าใช้จ่ายกว่ามาก เช่น ขนาดตัวอย่างแบบตามคุณภาพเป็น 50 แต่เทียบกับขนาด
ตัวอย่างแบบตัวแปรเพียง 30 เท่านั้น
(2) ข้อเสียของแผนตัวอย่างแบบตัวแปร คือ สาหรับคุณภาพลักษณะหนึ่งๆ ต้องใช้แผนตัวอย่าง
ต่างกันในการตรวจสอบ เช่นถ้าของชิ้นหนึ่งต้องการตรวจสอบคุณภาพ 5 อย่าง ก็ต้องใช้แผนตัวอย่างถึง 5
แบบด้วยกัน โดยที่การยอมรับและปฏิเสธลอต ทั้งหมดนั้นต้องใช้แผนชักสิ่ งตัวอย่างแบบเดี่ยวตามคุณภาพ
(Attributed Single Plan) ข้อเสียอีกอย่าง คือ ลอตอาจถูกปฏิเสธได้แม้ว่าจะไม่มีของเสียเลยในตัวอย่างและผู้
ส่งที่ ไม่คุ้นเคยกับแผนตัวอย่างแบบตัวแปร อาจไม่พอใจและไม่ยินยอมหากลอตถูกปฏิเสธ และข้อเสียอีกอย่าง
ก็คือ การกระจายของค่าที่วัดได้ต้องเป็นแบบใดแบบหนึ่งที่เจาะจงไว้
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวกลาง ความเบี่ยงเบนของการกระจายแบบนอร์มอล และสัดส่วนของเสีย
ถ้าค่าที่วัดได้ของแต่ละชิ้นในลอตหนึ่งๆ เป็นการกระจายแบบนอร์มอลเราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง
สัดส่วนของเสีย ตัวกลางและความเบี่ยงเบนได้จาก พื้นที่ใต้เส้นโค้งแบบนอร์มอลโดยหาค่าพื้นที่นี้ได้จากตาราง
การกระจายแบบนอร์มอล เช่นถ้า x = 100, σ = 10 และค่าต่าสุด L= 82 ดังนั้นค่าสัดส่วนของเสีย คือ Z ซึ่ง
หาได้ดังนี้

L- x
ZL =
σ
82  100
=
10
= -1.8

และจากตารางที่ ก-3 ภาคผนวก ก. จะได้พื้นที่เป็น 0.0359 นั่นคือ ตัวกลาง 100 ส่วนเบี่ยงเบน


มาตรฐาน 10 จะให้สัดส่วนของเสีย (Fraction Defective) เป็น 3.59%
ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คงที่ สัดส่วนของเสีย จะแปรผันโดยตรงกับ
ตัวกลาง (Mean) ดังแสดงในรูปที่ 6.24
382 การควบคุมคุณภาพ

สัดส่วนของเสีย

P1
X
L x1
สัดส่วนของเสีย
สัดส่วนของเสีย
P2 P3

X X

L L
x2 x3

รูปที่ 6.24 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวกลางของรุ่นกับสัดส่วนของเสียโดยให้ความเบี่ยงเบนคงที่


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

จากรูปที่ 6.24 จะเห็นว่ายิ่งค่า x กับค่า L เข้าใกล้กันเท่าไร ค่าสัดส่วนของเสียก็จะเพิ่มขึ้นเท่านั้น


แต่ถ้าความเบี่ยงเบน (σ) ไม่คงที่ สัดส่วนของเสียจะมาจากทั้งตัวกลาง ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ)
เช่น ถ้าตัวกลางของ A และของ B เท่ากัน แต่ความเบี่ยงเบน (σ) ของ A น้อยกว่าของ B ค่าสัดส่วนของเสีย
ของ A ก็จะน้อยกว่าของ B เช่นกัน ดังรูปที่ 6.25

รูปที่ 6.25 แสดงความสัมพันธ์ของสัดส่วนของเสียกับความเบี่ยงเบน (σ) เมื่อตัวกลางเท่ากัน


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 383

6.4.1.1 แผนตัวอย่างแบบตัวแปรเมื่อการผลิตหรือลอตมีการกระจายแบบปกติ และรู้ค่าส่วน


เบี่ยงเบนมาตรฐาน
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) กรณีรู้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) การหาแผนตัวอย่างแบบตัวแปร
โดยกาหนดค่า AQL (P1), LTPD (P2), α และ β จะกระทาดังนี้
1. การกาหนดพิกัดเดี่ยว (Single Specification Limit) สมมติว่า
(1) การวัดค่าคุณภาพเป็นตัวเลข และมีการกระจายค่าแบบนอร์มอล
(2) รู้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(3) มีขีดกาหนดพิกัดเพียงค่าเดียวด้านต่า ซึ่งให้สัญลักษณ์ คือ L
การกาหนดหาแผนตัวอย่างแบบตัวแปรนี้ คือ ให้หาค่า n และค่า k
เมื่อ n = จานวนสิ่งตัวอย่างที่สุ่มขึ้นมาตรวจสอบ
k = ค่า Z ที่ได้จากการชักสิ่งตัวอย่างขนาด n แล้วได้ค่าต่าสุดที่ยอมรับได้
แผนตัวอย่างแบบตัวแปร (n, k) หมายความว่า ชักสิ่งขนาดตัวอย่าง n ชิ้น ทาการวัดค่า
x -L
แล้วหาค่า x คานวณค่า ZL =
σ
ถ้าค่า ZL ≥ k ให้ทาการยอมรับลอต (หรืออาจพิจารณา x  L + kσ )
ถ้าค่า ZL < k ให้ปฏิเสธลอต

ตัวอย่างที่ 6.27
ให้ขีดกาหนดต่าสุดของการวัดค่าแรงดึงเป็น 17,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi) และมีค่าสัดส่วนของ
เสีย P1 = 0.01, P2 = 0.08, α = 0.05 และ β = 0.10 ให้ค่าที่วัดแรงดึงนี้มีการกระจายแบบนอร์มอล และค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 800 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi) (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
วิธีทา
x  17, 000
ค่าสัดส่วนของเสียเป็น 0.01 โดยที่ค่าตัวกลาง x หาได้จาก = 2.3263
800
ดังนั้น x = 18,861 psi
x  17, 000
ถ้าค่าสัดส่วนของเสียเป็น 0.08 จะหาค่าตัวกลางได้เท่ากับ = 1.4053
800
ดังนั้น = 18,124 psi
x
นั่นคือ ZAQL = 2.3263 และ ZLTPD = 1.4053
จากตัวอย่างที่ 6.27 จะยอมรับลอตเมื่อ
x -L
k
σ
x -μ μ-L
  k
σ σ

x -μ μ-L
k-
σ σ
384 การควบคุมคุณภาพ

x - μ  k - μ - L
 n
σ/ n σ

จะเห็นว่า x จะมีค่ารอบๆ ตัวกลาง µ และมีความเบี่ยงเบน σ/ n

 x - μ AQL 
โอกาสที่    k - ZAQL  n   1 - α …(6.18)
 σ/ n 

 x - μ LTPD 
โอกาสที่    k - ZLTPD  n   β …(6.19)
 σ/ n 

ปฏิเสธ ยอมรับ

การกระจายตัวกลางของตัวอย่าง
ขนาด n

การกระจายของแต่ละชั้น x
สัดส่วนของเสีย

L XLTPD XAQL
ZAQL Zα/ 𝑛

k
Z𝛽/ 𝑛
ZLTPD

รูปที่ 6.26 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่า Z ประกอบการกาหนดแผนตัวอย่างแบบตัวแปรโดยทราบค่า σ


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

เราสามารถย้ายค่าได้ดังนี้

k = ZAQL - …(6.20)
n


k = ZLTPD - …(6.21)
n
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 385

ให้สมการที่ 6.20 มีค่าเท่ากับ สมการที่ 6.21 จะได้


2
 Zα + Zβ 
n= 
 ZAQL - ZLTPD 
…(6.22)
 

จากตัวอย่างที่ 6.27 จะได้ค่า Zα = 1.6449, Zβ = 1.2816, ZAQL = 2.3263 และ ZLTPD = 1.4053
แทนในสมการที่ 6.22
 1.6449 1.2816 
2

n     10.1 ≈ 10
 2.3263 1.4053 
จากสมการที่ 6.22

k = ZAQL -
n
1.6449
k = 2.3263 -  1.806
10


k  ZLTPD -
n
1.2816
k  1.4053 -  1.811
10
หาค่า k เพียงค่าเดียว
1.806 + 1.811
k 
2
สรุปแล้วให้ชักสิ่งตัวอย่างตัวอย่าง 10 ชิ้น และวัดค่าแต่ละชิ้น จากนั้นหาค่าเฉลี่ยตัวกลางของตัวอย่าง
x - 17,000
ได้ x หาค่า ZL  ให้ยอมรับทั้งรุ่น (หากน้อยกว่าให้ปฏิเสธ)
800
สาหรับกรณีกาหนดพิกัดเดี่ยว แต่เป็นขีดจากัดด้านสูงสุด (U) การหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบตัว
U- x
แปรจะใช้วิธีการเช่นเดียวกับกาหนดขีดจากัดด้านต่าสุด (L) เพียงแต่คานวณค่า ZU = แทนค่า ZL
σ
เท่านั้น
ถ้า Zu ≥ k ให้ทาการยอมรับลอต
และ Zu ≤ k ให้ปฏิเสธลอต
จากตัวอย่างที่ 6.27 ถ้าแทนที่โดยกาหนดค่าต่าสุด อาจกาหนดเป็นค่าสูงสุด (U) ได้ดังนี้ สมมุติให้
20,000  x
U = 2,000 psi ดังนั้น x จะให้สัดส่วนของเสียเป็น 0.01 จะหาค่ากลางได้จาก = 2.3263 และ
800
20, 000  x
ถ้าสัดส่วนของเสียเป็น 0.05 จะได้ = 1.4053
800
386 การควบคุมคุณภาพ

จะได้ x AQL = 18,139


x LTPD = 18,876 เนื่องจากได้ค่า n = 10 และ k = 1.809
20,000 - x
ดังนั้น ≥1.809 ยอมรับ มิฉะนั้นปฏิเสธลอตนั้นทันที
σ

2. การกาหนดพิกัดคู่ (Double Specification Limit)


ในการจัดค่าคุณภาพแบบนี้ผู้ตรวจสอบต้องการให้มีขีดพิกัดคุณภาพอยู่ระหว่างกลางๆ
และขีดพิกัดต่าสุด ในกรณีนี้สมมุติว่ารู้ค่าความเบี่ยงเบน ( σ) และค่าที่วัดได้มีการกระจายแบบปกติ (Normal
Distribution)

จุดต่า จุดสูง

L U

รูปที่ 6.27 แสดงพิกัดคู่ที่อยู่ใกล้กัน


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

จากรูปที่ 6.27 จะเห็นว่าเพื่อให้สัดส่วนของเสียน้อยที่สุดนั้น ค่า x ต้องตกอยู่กึ่งกลาง


พอดีระหว่างขีดจากัดสูงสุดและขีดจากัดต่าสุด นั้นคือ
U- x

- L- x   
U-L
σ σ 2σ
หลักในการหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างนั้นต้องคานึงถึงช่วงห่างระหว่าง U และ L เป็น
ลาดับแรก
U-L
ถ้า >3σ จะใช้วิธีการหาแบบพิกัดเดี่ยว (Single Specification) และ
2
U-L
<3σ จะใช้วิธีการหาแบบพิกัดคู่ (Double Specification)
2
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 387

ตัวอย่างที่ 6.28
กระบวนการผลิตหนึ่งกาหนดขีดพิกัดสูง (U) เป็น 0.8800, พิกัดต่า (L) เป็น 0.8750 โดยที่ค่าส่วน
เบี่ยงเบนเป็น 0.0005 ให้หาแผนการชักสิ่งตัวอย่างโดยที่ α = 0.05, β = 0.10, AQL = 0.01 และ
LTPD = 0.08
วิธีทา

0.10 0.10 0.05


0.05

ปฏิเสธ 0.8750 ยอมรับ 0.8800 ปฏิเสธ

รูปที่ 6.28 แสดงพิกัดคู่ห่าง (Widely spread – Specification limits)


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

หาค่า n จากสมการที่ 6.22


2
 Zα + Zβ 
n   
 ZAQL - ZLTPD 
 
2
 1.6449 + 1.2816 
  
 2.3263 - 1.4053 
 10

และหาค่า k ได้จากสมการที่ 6.20 และ 6.21 นามาเฉลี่ยกันได้ k = 1.809 แผนตัวอย่างนี้ คือ


(n, k) = (10, 1.809) นั่นเอง
ให้ชักสิ่งตัวอย่าง 10 ชิ้น ขึ้นมาวัดค่า x และยอมให้รับลอตเมื่อ

x - 0.8750
 1.809
0.0005
0.8800  x
และ  1.809
0.0005

มิฉะนั้นแล้วให้ปฏิเสธลอตนั้น
388 การควบคุมคุณภาพ

6.4.1.2 การหาแผนการชักสิ่งตัวอย่างโดยตาราง MIL-STD-414


ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ตารางมาตรฐาน MIL-STD-414 เป็นตารางมาตรฐานใช้สาหรับ
การชักสิ่งตัวอย่างแบบตัวแปร โดยมีข้อสมมุติฐานว่า ทราบลักษณะการกระจายเป็นแบบนอร์มอล
ตารางที่ 6.42 ถึง 6.44 เป็นส่วนหนึ่งของตารางมาตรฐาน MIL-STD-414 โดยตารางที่
6.42 เป็น ตารางสาหรับเทียบค่า AQL กรณีที่ค่า AQL ไม่ตรงกับตารางที่ 6.44 สาหรับตารางที่ 6.43 เปิดหา
รหัสอักษร เมื่อทราบขนาดลอต และระดับการตรวจสอบ ซึ่งในตารางนี้แบ่งเป็น 5 ระดับ ส่วนตารางที่ 6.44
ใช้สาหรับอ่านค่า M เมื่อ M คือ เปอร์เซ็นต์ของเสียสูงสุดที่สามารถยอมรับได้ ส่วนตารางที่ ก-5 ในภาคผนวก
ก. จะใช้อ่านค่า
PL (เปอร์เซ็นต์ของเสีย เมื่อวัดค่าแล้วได้ค่าต่ากว่าขีดจากัดด้านล่าง L) และอ่านค่า
PU (เปอร์เซ็นต์ของเสีย เมื่อวัดค่าแล้วได้ค่ามากกว่าขีดจากัดด้านบน)
จะตัดสินใจยอมรับลอต เมื่อ
PL ≤ M สาหรับกรณีกาหนดข้อจากัดด้านต่าสุด (L)
PU ≤ M สาหรับกรณีกาหนดข้อจากัดด้านสูงสุด (U)
PL + PU ≤ M สาหรับกรณีกาหนดข้อจากัดแบบคู่

ตารางที่ 6.42 AQL Conversion Table

For specified AQL values falling within these ranges Use this AQL value
- to 0.049 0.04
0.050 to 0.069 0.065
0.070 to 0.109 0.10
0.110 to 0.164 0.15
0.165 to 0.279 0.25
0.280 to 0.439 0.40
0.440 to 0.699 0.65
0.700 to 1.09 1.0
1.10 to 1.64 1.5
1.65 to 2.79 2.5
2.80 to 4.39 4.0
4.40 to 6.99 6.5
7.00 to 10.9 10.0
11.00 to 16.4 15.0
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 389

ตารางที่ 6.43 Sample Size Code Letters

Inspection levels
Lot Size
I II III IV V
3-8 B B B B C
9-15 B B B B D
16-25 B B B C E
26-40 B B B D F
41-65 B B C E G
66-110 B B D F H
111-180 B C E G I
181-300 B D F H J
301-500 C E G I K
501-800 D F H J L
801-1,300 E G I K L
1,301-3,200 F H J L M
3,201-8,000 G I L M N
8,001-22,000 H J M N O
22,001-110,000 I K N O P
110,001-550,000 I K O P Q
550,001-or Over I K P Q Q
390

ตารางที่ 6.44 Master Table for Normal and Tightened Inspection for Plans Based on Variability Unknown: Range Method

ACCEPTABLE QUALITY LEVELS (NORMAL INSPECTION)


SAMPLE SIZE
SAMPLE SIZE 0.04 0.065 0.1 0.15 0.25 0.4 0.65 1 1.5 2.5 4 6.5 10 15
CODE LETTER
M M M M M M M M M M M M M M
B 3 7.59 18.86 26.94 33.69 40.47
C 4 1.53 5.5 10.92 16.45 22.86 29.45 36.9
D 5 1.33 3.32 5.83 9.8 14.39 20.19 26.56 33.99
E 7 0.422 1.06 2.14 3.55 5.35 8.4 12.2 17.35 23.29 30.5
F 10 0.349 0.716 1.3 2.17 3.26 4.77 7.29 10.54 15.17 20.74 27.57
G 15 0.099 0.186 0.312 0.503 0.818 1.31 2.11 3.05 4.31 6.56 9.46 13.71 18.94 25.61
H 20 0.135 0.228 0.365 0.544 0.846 1.29 2.05 2.95 4.09 6.17 8.92 12.99 18.03 24.53
I 25 0.155 0.25 0.38 0.551 0.877 1.29 2 2.86 3.97 5.97 8.63 12.57 17.51 23.97
J 30 0.179 0.28 0.413 0.581 0.879 1.29 1.98 2.83 3.91 5.86 8.47 12.36 17.24 23.58
K 35 0.17 0.264 0.388 0.535 0.847 1.23 1.87 2.68 3.7 5.57 8.1 11.87 16.65 22.91
L 40 0.179 0.275 0.401 0.566 0.873 1.26 1.88 2.71 3.72 5.58 8.09 11.85 16.61 22.86
M 50 0.163 0.25 0.363 0.503 0.789 1.17 1.71 2.49 3.45 5.2 7.61 11.23 15.87 22
การควบคุมคุณภาพ

N 75 0.147 0.228 0.33 0.467 0.72 1.07 1.6 2.29 3.2 4.87 7.15 10.63 15.13 21.11
O 100 0.145 0.22 0.317 0.447 0.689 1.02 1.53 2.2 3.07 4.69 6.91 10.32 14.75 20.66
P 150 0.134 0.203 0.293 0.413 0.638 0.949 1.43 2.05 2.89 4.43 6.57 9.88 14.2 20.02
Q 200 0.135 0.204 0.294 0.414 0.637 0.945 1.42 2.04 2.87 4.4 6.53 9.81 14.12 19.92
0.065 0.1 0.15 0.25 0.4 0.65 1 1.5 2.5 4 6.5 10 15
ACCEPTABLE QUALITY LEVELS (TIGHTENED INSPECTION)

ALL AQL and table values are in percent defective


Use first sampling plan below arrow, that is, both sample size as well as M value. When sample size equals or exceeds lot size, every item in the lot must be inspected.
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 391

ตัวอย่างที่ 6.29
สาหรับข้อจากัดเครื่องมืออย่างหนึ่งใช้ทางานได้ที่อุณหภูมิต่าสุด 180 องศาเซลเซียส เครื่องมือชนิดนี้ส่ง
มาเป็นลอตขนาด 40 ชิ้น ใช้การตรวจสอบระดับ 4 แบบปกติ และ AQL = 1.0% จงหาแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
วิธีทา
1. เปิดตารางที่ 6.42 AQL 1.0% อยู่ในช่วง 0.700 ถึง 1.09 ได้ AQL = 1.0%
2. เปิดตารางที่ 6.43 ที่ระดับ 4 ขนาดลอต 26-40 ได้รหัสอักษร D
3. เปิดตารางที่ 6.44 ที่อักษร D ได้ขนาดตัวอย่าง n = 5 และ AQL = 1.0% (ทดสอบแบบปกติ) ได้
M = 3.32% (ถ้าการตรวจสอบเป็นแบบเข้มงวดให้ดู AQL จากบรรทัดสุดท้ายของตาราง)
แผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ ชักสิ่งตัวอย่างขึ้นมา 5 ชิ้นแล้ววัดค่า ถ้าได้ PL ≤ M ให้รับลอต
M คือ เปอร์เซ็นต์ของเสียสูงสุดที่ยอมรับได้ในลอตหนึ่งๆ
PL คือ เปอร์เซ็นต์ของสินค้าที่มีคุณภาพต่ากว่า L (โดยการประมาณการ)
QL คือ ดรรชนีคุณภาพต่าสุด

PL หาได้จากตารางที่ ก-5 ในภาคผนวก ก. ถ้าทราบค่า QL และ n


x -L
QL หาได้จากสูตร QL =
S

สมมติว่าสินค้าลอตนี้ชักสิ่งตัวอย่างขึ้นมา 5 ชิ้น วัดค่าได้ดังนี้ 197, 188, 184, 205 และ 201 องศา
เซลเซียส สินค้าลอตนี้จะได้รับการยอมรับลอตหรือไม่

x= x =
197+188+184+205+201
n 5
= 195 °C

 x
2

 2
x -
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน: S= n
n-1

190, 435 190,125


=
5-1

= 8.80
x - L 195  180
ดรรชนีคุณภาพต่าสุด: QL = 
S 8.80
= 1.70
392 การควบคุมคุณภาพ

เปิดตารางที่ ก-5 ในภาคผนวก ก. ค่า QL = 1.70 และ n = 5 ได้ PL = 0.66% ยอมรับลอต


เมื่อ PL ≤ M เท่ากับ 0.66% ≤ 3.32%
ถ้าเปลี่ยนระดับการตรวจสอบเป็นเข้มงวด สินค้าลอตนี้ยังจะได้รับการยอมรับ หรือไม่ ตรวจสอบแบบ
เข้มงวดต้องดู AQL ที่ข้างล่างของตารางที่ 6.44 ที่อักษร D และ AQL = 1.0% ได้ M = 1.33%
ดังนั้น 0.66% ≤ 1.33% นั่นคือ PL ≤ M ยังยอมรับลอต

ตัวอย่างที่ 6.30
สาหรับข้อจากัดคู่ วิธีการทาเหมือนข้อจากัดเดี่ยว จะยอมรับลอตต่อเมื่อ P ≤ M เมื่อ P = PU + PL
P คือ เปอร์เซ็นต์ของสินค้ารวมที่ไม่ได้คุณภาพ
PU คือ เปอร์เซ็นต์ของสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพซึ่งมีค่าสูงกว่า U
PL คือ เปอร์เซ็นต์ของสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพซึ่งมีค่าต่ากว่า L
จากตัวอย่างที่ 6.29 ถ้ากาหนดข้อจากัดเป็นอุณหภูมิการใช้งานต่าสุด เท่ากับ 180 องศาเซลเซียส
และสูงสุด เท่ากับ 209 องศาเซลเซียส ส่วนข้อกาหนดอื่นๆ เหมือนเดิม แผนตัวอย่างเป็นไรและสินค้าลอตนี้จะ
ได้รับการยอมรับหรือไม่ (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
วิธีทา
จากตัวอย่างที่ 6.29 ได้แผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ n = 5, M = 3.32% ยอมรับเมื่อ P ≤ M
U- x 209 - 195
ดรรชนีคุณภาพสูงสุด: Qu = = = 1.59
S 8.80

x - L 195 - 180
ดรรชนีคุณภาพต่าสุด: QL = = = 1.70
S 8.80

เปิดตารางที่ ก-5 ในภาคผนวก ก. ที่ QU = 1.59, n = 5 และ QL = 1.70, n = 5 ได้


PU = 2.21% (โดยการเฉลี่ย)
PL = 0.66%

ดังนั้น P = PU+ PL = 2.21 + 0.66 = 2.87%

2.87% ≤ 3.32%
นั่นคือ P ≤ M ยอมรับลอต
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 393

6.5 สรุป
1. การตัดสินใจยอมรับวัตถุดิบจากผู้ขาย เช่น การรับโดยไม่ต้องตรวจสอบ (กรณีนี้ต้องมีความมั่นใจใน
ผู้ขายสูง หรือ ค่า Cp เท่ากับ 3 หรือ 4) ตรวจสอบ 100% และแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
2. แผนการชักสิ่งตัวอย่าง คือ แผนที่ใช้ในการยอมรับหรือปฏิเสธลอตที่ส่งเข้ามา โดยอาศัยเทคนิ ค
หลักการประยุกต์ทางสถิติและที่ต้องตัดสินใจ ซึ่งมีวิธีการดาเนินการดังนี้
วัตถุดิบ กระบวนการผลิต สินค้า

แผนการชักสิ่งตัวอย่างก่อน แผนภูมิควบคุมกระบวนการผลิต แผนการชักสิ่งตัวอย่างก่อน


เข้าสู่กระบวนการผลิต ส่งสินค้าให้ลูกค้า

3. แผนการชักสิ่งตัวอย่างหลักๆ มี 2 ประเภท แบ่งออกเป็น แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพ และ


แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงแปรผัน
3.1 แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพ ได้แก่
1) แผนการชักตัว อย่างเชิงเดี่ยว เป็นแผนชักตัว อย่างที่กาหนดขนาดตัว อย่างและจานวนการ
ยอมรับเพียง 1 ชุด โดยการตรวจสอบนั้น ถ้าพบว่าสินค้าไม่ตรงตามข้อกาหนดให้ปฏิเสธที่จะยอมรับสินค้าลอต
นั้น
2) แผนการชักตัวอย่างเชิงคู่ เป็นแผนการชักตัวอย่างที่ต้องการสุ่มตัวอย่างในครั้งที่ 2 โดยการ
ตรวจสอบนั้น ถ้าพบว่าสินค้าไม่ตรงตามข้อกาหนด ให้ตรวจสอบเป็นครั้งที่สอง แต่มีเงื่อนไขว่าในครั้งแรกที่
ตรวจสอบนั้น สินค้าที่เสียต้องไม่เกินข้อกาหนดของการตรวจสอบของครั้งที่สอง ถ้าพบว่าสินค้ายังไม่ตรงตาม
ข้อกาหนดในครั้งที่ 2 ให้ปฏิเสธที่จะยอมรับสินค้าลอตนั้น
3) แผนการชักตัวอย่างหลายเชิง เป็นแผนชักตัวอย่างที่คล้ายกับแผนชักตัวอย่างเชิงคู่ โดยโอกาสที่
จะยอมรับหรือปฏิเสธลอตจะมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป จนถึง n ครั้ง
4) แผนการชักตัวอย่างมาตรฐาน 105 อี เป็นแผนการชักตัวอย่างที่เกิดจากกองทัพสหรัฐอเมริกา
โดยกาหนดให้เป็นกลยุ ทธ์สาหรับการตรวจสอบและยอมรับลอต ซึ่งกาหนดให้มีการกาหนดให้ชักสิ่งตัวได้ 3
แบบ คือ แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว เชิงคู่ และหลายเชิง โดยมีการตรวจสอบแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
(1) การตรวจสอบแบบทั่วไปมี 3 ระดับ คือ I, II และ III
(2) การตรวจสอบแบบพิเศษ มี 4 ระดับ คือ S-1, S-2, S-3 และ S-4 โดยระดับของตรวจสอบ
แบบพิเศษจะใช้เมื่อสิ่งตัวอย่างมีขนาดเล็กกว่าโดยทั่วไปหรือมีลักษณะที่พิเศษกว่าปกติ
5) แผนการชักตัวอย่างดอดจ์และโรมิก แบ่งออกเป็น 2 แผน คือ
(1) แผน LTPD ใช้ตารางดอจ์และโรมิก ประกอบด้วยค่า LTPD เช่น 1%, 2%, 3% ใช้ใน
การชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวและเชิงคู่
(2) แผน AOQL ใช้เมื่อคุณภาพโดยเฉลี่ยของผู้ผลิตแย่โดยไม่ตระหนักถึงคุณภาพใช้ใน
การชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวและเชิงคู่ ประกอบด้วยค่า AOQL เช่น 1%, 2%, 3%, 10% เป็นต้น
394 การควบคุมคุณภาพ

6) แผนการชักตัวอย่างเชิงลาดับ เป็นแผนการนับสิ่งตัวอย่างมาทีละ 1 ชิ้น และให้คะแนนโดย


กาหนดให้ของดีเป็นเครื่องหมาย + ของเสียเป็นเครื่องหมาย – ถ้าผลรวมคะแนนต่ากว่าที่กาหนดก็จะปฏิเสธ
ลอตนั้น แต่ถ้าขนาดตัวอย่างที่นับมาแต่ละครั้งมากกว่า 1 ชิ้นจะเรียกว่า แผนการชักตัวอย่างเชิงลาดับแบบ
กลุ่ม
7) แผนการชักสิ่งตัวอย่างของการผลิตต่อเนื่อง เป็นแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงคุณภาพชนิด
พิเศษ โดยหลักการ คือ ใช้การตรวจสอบสิ่งตัวอย่างติดต่อแบบ 100% ไปเรื่อยๆ ถ้าไม่พบของเสียให้เลิก
ตรวจสอบ 100% แต่ทาการตรวจสอบแบบสัดส่วน (Fraction) ถ้าพบของเสียให้เริ่มต้นใหม่ทันทีจนกระทั่งไม่
มีของเสีย
3.2 แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเชิงแปรผัน เป็นแผนการชักสิ่งตัวอย่างที่เป็นค่าแบบต่อเนื่อง โดยมีการ
กระจายแบบปกติ ซึ่งสามารถหาค่าเฉลี่ ย ค่าส่ว นเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ เช่น การชั่ง การตวง การวัด ซึ่ง
ลักษณะการตรวจสอบเหล่านี้ยากแก่การกาหนดให้เป็นของดี หรือ ของเสีย
4. การสับเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบมีดังนี้ การตรวจสอบแบบเข้มงวดจะไม่ควรใช้เริ่มเมื่อมีการตรวจสอบ
จะใช้เมื่อตรวจจั บ ได้ว่าคุณภาพด้อยกว่ามาตรฐาน การตรวจสอบแบบผ่ อนคลายไม่ควรใช้เริ่มเมื่อมีการ
ตรวจสอบ ควรใช้เมื่อเริ่มมีคุณภาพไม่ด้อยกว่า AQL การตรวจสอบแบบปกติจะให้ใช้เมื่อเริ่มมีการตรวจสอบ
5. ข้อดีในการใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่าง ได้แก่
1) เมื่อมีการตรวจสอบ 100% มีต้นทุนที่สูง (การทดสอบแบบทาลาย) แผนชักสิ่งตัวอย่างสามารถลด
จานวนปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ต้องตรวจสอบได้
2) เมื่อไม่ทราบระดับคุณภาพของผู้ขาย สามารถปรับเป็นการตรวจสอบแบบเข้มงวด
3) เมื่อไม่ได้ใช้วิธีตรวจสอบแบบอัตโนมัติ แผนชักสิ่งตัวอย่างสามารถดาเนินการให้การตรวจสอบเป็น
ระบบขั้นตอน
4) เมื่อมีการใช้เวลามาก แผนชักสิ่งตัวอย่างเป็นวิธีที่ใช้เวลาในการตรวจสอบน้อยกว่าการตรวจสอบ
แบบอืน่ ๆ
ข้อเสียในการใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่าง ได้แก่
1) มีความเสี่ยงในการรับรุ่นสินค้าที่มีคุณภาพต่า
2) ได้ข้อมูลด้านระดับคุณภาพของผู้ขายน้อยกว่าการตรวจ 100%
3) วิธีการพัฒนาแผนยุ่งยากและต้องใช้เวลา
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 395

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6

1. จงอธิบายความหมายของแผนชักสิ่งตัวอย่าง
2. จงเปรียบเทียบประเภทของการควบคุมคุณภาพเพื่อการยอมรับและบอกข้อดีข้อเสีย
3. จงจาแนกแผนชักสิ่งตัวอย่างด้วยลักษณะของประชากรและประเภทของข้อมูล
4. จงอธิบายความแตกต่างของแผนภาพชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวกับแผนการชักตัวอย่างเชิงคู่
5. จงบอกวิธีการมาตรฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์กระบวนการผลิตของ Schilling
6. จงบอกเงื่อนไขในการดาเนินการใช้แผนการชักสิ่งตัวอย่างให้ได้ผลดี ว่ามีอะไรบ้าง
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
7. กาหนดแผนการชักสิ่งตัวอย่างหลายเชิงเป็นดังนี้
ครั้งที่สุ่มชักสิ่งตัวอย่าง ขนาดตัวอย่าง ตัวอย่างสะสม จานวนของเสียที่ยอมรับ จานวนของเสียที่ปฏิเสธ
1 5 5 * 2
2 5 10 0 2
3 5 15 0 3
4 5 20 1 3
5 5 25 2 3
* จะไม่มีการยอมรับลอตไม่ว่ากรณีใดๆ สมมติว่า ขนาดลอตใหญ่พอทีจ่ ะใช้ตารางปัวส์ซองได้
7.1 จงหาโอกาสในการยอมรับลอตของสินค้าที่มีของเสีย 10%
7.2 จงหาจานวนตรวจสอบโดยเฉลี่ย
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
8. จงหาแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยวที่ทาให้ความเสี่ยงของผู้ผลิตมีค่าเท่ากับ 5% ของลอตสินค้าที่มีจานวน
ของเสีย 0.90% และความเสี่ยงของผู้บริโภคมีค่า 10% ของลอตสินค้าที่มีจานวนของเสีย 7.80%
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
9. จงหาแผนการชักตัวอย่างเชิงเดี่ยวที่ทาให้ความเสี่ยงของผู้ผลิตมีค่า 1% ของลอตสินค้าที่มีของเสีย 2% และ
ความเสี่ยงของผู้บริโภคมีค่า 10% ของลอตสินค้าที่มีจานวนของเสีย 6% (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
10. จากแผนชักตัวอย่างเชิงคู่ต่อไปนี้ n1 = 50, n2 = 100, c1 = 1 และ c2 = 3 กาหนดให้สัดส่วนของเสีย
เท่ากับ 0.05 จงหาความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
11. จากแผนชักตัวอย่างเชิงคู่ต่อไปนี้ n1= 80, c1= 2, n2= 80, c2 = 6 กาหนดให้สัดส่วนเสียเท่ากับ 0.03
จงหาค่าความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต (สภาวิศวกร, 2555)
12. เสนโคง OC หมายถึง (สภาวิศวกร, 2555)
13. จุดเด่นของ Military Standard 105E คืออะไร (สภาวิศวกร, 2555)
14. สถานการณ์ใดต่อไปนี้ถือเป็น Type II error (β) ในการใช้ Sampling Plan ควบคุมคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ (สภาวิศวกร, 2555)
15. แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยว (n = 560 และ c = 21) จงคานวณหาค่าความน่าจะเป็นที่จะยอมรับ
ผลิตภัณฑ์รุ่นนั้น (Pa = Probability acceptance) ถ้าระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์มีค่า p = 0.05
(สภาวิศวกร, 2555)
396 การควบคุมคุณภาพ

16. จากตาราง MIL-STD-105E (General Inspection Level II) จงเลือกรหัสแผนการสุ่มตัวอย่างที่ เหมาะสมเพื่อ


ใช้สาหรับตรวจสอบชิ้นส่วนก่อนเข้าโรงงาน โดย N = 5,000 และ AQL = 0.65% โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่าง
เชิงเดี่ยว (Single Sampling Plan) (สภาวิศวกร, 2555)
17. แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงคู่ (n1 =40, n2 = 80, c1 =1 และ c2 =4) ถ้ากาหนดให้ระดับคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ p = 0.05 จงคานวณหาค่า PaI และ PaII (สภาวิศวกร, 2555)
18. จงสร้างแผนการชักตัวอย่างเชิงลาดับสาหรับ p1= 0.01, p2 = 0.10, α = 0.05 และ β = 0.10
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
19. ลอตจะถูกยอมรับ เมื่อจานวนตัวอย่างมีค่าน้อยที่สุดที่เท่าไหร่ ที่ต้องตรวจสอบจากการสร้างแผนการชัก
ตัวอย่างเชิงลาดับสาหรับ p1= 0.08, p2 = 0.18, α = 0.05 และ β = 0.10
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
20. แผนชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว ถ้าต้องการแผนชักตัวอย่างที่มีข้อกาหนดดังต่อไปนี้คือ α = 0.10, β = 0.20,
AQL = 0.03 และ LTPD = 0.10 โดยใช้มอโนกราฟในการออกแบบแผนชักตัวอย่าง
21. วัตถุประสงค์สาคัญสาหรับมาตรฐาน MIL-STD-105E คืออะไร และมีขอบเขตในการประยุกต์ใช้อย่างไร
บ้าง (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
22. “การระงับการตรวจสอบ” ตามความต้องการของมาตรฐาน MIL-STD-105E นั้น อยู่บนพื้นฐานของ
แนวคิดอะไร และมีกฎเกณฑ์ประการใด สาหรับการระงับการตรวจสอบ (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
23. ในการออกแบบแผนการชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยว ด้วยมาตรฐาน MIL-STD-105E สาหรับ
ผลิตภัณฑ์บกพร่องของผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดลอต 800 หน่วย ด้วยขนาด AQL 0.40% จงหาแผนการชักสิ่ง
ตัวอย่างทั้งกรณีแบบปกติ แบบเคร่งครัด และแบบผ่อนคลาย พร้อมทั้งตีความหมายแต่ละแผนการที่ได้ด้วย
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
24. จากตารางมาตรฐาน MIL-STD-105E ของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว จงเติมตัวเลขลงในช่องว่าง
ต่อไปนี้
24.1 N = 570 AQL = 4% ระดับการตรวจสอบ II Letter Code =______
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบเคร่งครัด n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบผ่อนคลาย n = _______ Ac = _______ Re = _______
24.2 N = 800 AQL = 2.5% ระดับการตรวจสอบ III Letter Code =______
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบเคร่งครัด n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบผ่อนคลาย n = _______ Ac = _______ Re = _______
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 397

24.3 N = 1,200 AQL = 1% ระดับการตรวจสอบ I Letter Code =______


แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบเคร่งครัด n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบผ่อนคลาย n = _______ Ac = _______ Re = _______
24.4 N = 5,000 AQL = 1.5% ระดับการตรวจสอบ I Letter Code =______
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบเคร่งครัด n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบผ่อนคลาย n = _______ Ac = _______ Re = _______
24.5 N = 35,600 AQL = 10% ระดับการตรวจสอบ II Letter Code =______
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบเคร่งครัด n = _______ Ac = _______ Re = _______
แบบผ่อนคลาย n = _______ Ac = _______ Re = _______
25. ในการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวด้วยมาตรฐาน MIL-STD-105E ขนาดลอต 3,000 และ AQL
0.040% ถ้าหากผลการตรวจสอบจานวนผลิตภัณฑ์บกพร่อง จานวน 10 ลอต ติดต่อกันได้ผลดังนี้
1 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ให้ทาการกาหนดว่าแต่ละลอตจะต้องทาการตรวจสอบแบบใด และในลอตที่ 11 ควรจะทาการตรวจสอบ
ด้วยแผนการตรวจสอบแบบใดนอกจากนี้ ถ้าหากมีการสับเปลี่ยนให้ทาการตรวจสอบแบบผ่อนคลายแล้วถาม
ว่าจะต้องทาการตรวจสอบ แล้วมีการยอมรับอย่างน้อยจานวนกี่ลอต (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
26. ในการออกแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวด้วยมาตรฐาน MIL-STD-105E สาหรับลอตที่ไม่คุ้นเคย
สาหรับผลิตภัณฑ์บกพร่องที่มีขนาดลอต 500 หน่วย โดยมีการกาหนดระดับคุณภาพจากัดไว้ที่ 2.0% สาหรับ
AQL 0.25% ด้วยความเสี่ยงของผู้บริโภค 10% ต่อการตัดสินใจยอมรับลอตที่มีคุณภาพแย่นั้น ให้ทาการเลือก
แผนการชักสิ่งตัวอย่างดังกล่าว (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
27. ให้ออกแบบแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่ด้วยมาตรฐาน MIL-STD-105E สาหรับผลิตภัณฑ์บกพร่อง ที่มี
ขนาด 900 หน่วย ด้วยขนาด AQL 0.15% และระดับการตรวจสอบแบบทั่วไป ระดับที่ 3
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
398 การควบคุมคุณภาพ

28. ภายใต้แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับแบบปกติ ทีมีรหัสอักษร J ของมาตรฐาน MIL-STD-105E


ด้วยระดับ AQL 2.5% จะมีขนาดสิ่งตัวอย่างโดยเฉลี่ย (ASS) เท่าใด ทั้งแผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยว เชิงคู่
และหลายเชิง พร้อมการเปรียบเทียบ (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
29. จงบอกความแตกต่างระหว่างตารางมาตรฐาน MIL-STD-105E กับ ANSI/ASQC Z1.4
30. ในการยอมรับลอตสินค้าโดยนโยบายของบริษัทกาหนดให้มีโอกาสในการยอมรับลอตที่ AQL 1% เท่ากับ
0.9 ให้พิจารณาแผนการชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับเชิงเดี่ยวพร้อมสมรรถนะของแผนการชักตัวอย่างที่ได้ เมื่อ
กาหนดขนาดของลอตเท่ากับ 1,000 จงหาโอกาสลอตที่บรรจุผลิตภัณฑ์บกพร่องด้วยแผนการชักสิ่งตัวอย่าง
แบบปกติ
31. กาหนดการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ AQL = 0.02, LTPD = 0.12, α = 0.05 และ β = 0.10
31.1 จงสร้างแผนตัวอย่างแบบ SPR
31.2 จงกาหนดตารางในการยอมรับและปฏิเสธจานวน 30 ลอต
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
32. จงหา CSP-1 ที่ เหมาะสมสาหรับ AOQL = 0.79% และ f = 10% โดยที่ชิ้นงานในช่วงผลิตมีค่าเท่ากับ
1,200 ชิ้น (สภาวิศวกร, 2555)
33. บริษัทแห่งหนึ่งใช้แผนการสุ่มตัวอย่าง CSP-2 ที่มี f = 1/5 และ i = 60 ถ้าเริ่มต้นด้วยการตรวจสอบ
100% แล้วพบชิ้นส่วนชิ้นที่ 92 เป็นของเสีย จงหาว่าควรตัดสินใจอย่างไร
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 606)
34. ภายใต้แผนการสุ่มตัวอย่าง CSP-1 สาหรับ AOQL = 0.79% ถ้า f = 1/5 จงหาค่า i
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 606)
35. มีชิ้นส่วน 1,000 ชิ้น ในช่วงการผลิต จงเขียนแผน CSP-1 ซึ่งสามารถใช้กับ AOQL = 0.33%
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 606)
36. ภายใต้การสุ่มตัวอย่าง CSP-2 สาหรับ AOQL = 1.90% ถ้าสัดส่วนการสุ่มเป็น f = 1/4 จงหาค่า i
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 606)
37. จงเปรียบเทียบแผน CSP-1 และ CSP-2 สาหรับ f = 1/4 และ AOQL = 1.90% ทาไมจึงมีความแตกต่าง
กัน (Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 606)
38. จงหาค่า Pa ในการสุ่มตัวอย่าง สาหรับรุ่นที่มีขนาด 1,000 ชิ้น ที่มีค่า AQL = 1.5% และ p = 0.025
จงใช้แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยวภายใต้การสุ่มตัวอย่างแบบผ่อนคลายที่มีการตรวจสอบทั่วไประดับ II
39. จงใช้ตารางดอดจ์-โรมิก หาแผนชักตัวอย่างเชิงเดี่ยวแบบตรวจสอบปรับแก้ที่มี AOQL = 0.03 สาหรับ
N = 2,500 เพื่อทาให้ ATI มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ p = 0.0075
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 520)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 399

40. รุ่นสินค้ามีขนาด N = 750 ที่มีค่า AOQL = 3% สาหรับ β = 10% ถ้า p = 0.03 จงหาแผนการสุ่ม
ตัวอย่างเชิงเดี่ยวที่ทาให้ ATI มีค่าน้อยที่สุดโดยใช้ตารางดอดจ์และโรมิก และหาค่า LTPD
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 520)
41. จงบอกความแตกต่างระหว่างมาตรฐาน MIL-STD-414 และ ANSI/ANQC Z1.4
42. จงออกแบบแผนการสุ่มตัวอย่างสาหรับตัวแปรเมื่อทราบค่า σ ที่มีค่า p1 = 0.02, p2 = 0.15, α = 0.01
และ β = 0.05 จงหาค่าของ n และ k (Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 582)
43. จงหาค่าของ n และ k สาหรับแผนการสุ่มตัวอย่างตัวแปรที่มี p1 = 0.02, p2 = 0.08, α = 0.01 และ
β = 0.05 คุณลักษณะที่ทาการวัดมีการแจกแจงแบบปกติ และทราบค่า σ
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 582)
44. น้าหนักของธัญพืชข้าวโพดแปรผันในแต่ละกล่องด้วยการแจกแจงแบบปกติ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เป็น 0.2 ออนซ์ ความแปรผันในการดาเนินงานบรรจุมีอิทธิพลต่อน้าหนักเฉลี่ยของข้าวโพดในกล่อง แต่ไม่มี
อิทธิพลต่อส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาหนดให้ขีดจากัดข้อกาหนดล่างของน้าหนักข้าวโพดเป็น 16 ออนซ์ และ
ให้ทุกกล่องมีน้าหนักน้อยกว่าที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดนี้ จงออกแบบแผนการสุ่มตัวอย่างสาหรับตัวแปรใน
รูปแบบที่ 2 ซึ่งมี p1 = 0.01, p2 = 0.04, α = 0.05 และ β = 0.10
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 582)
45. แผนการสุ่มตัวอย่างสาหรับตัวแปรโดยที่ไม่ทราบค่า σ และกาหนดให้ p1 = 0.01, p2 = 0.04, α = 0.05
และ β = 0.10 สมมติว่าตัวแปรภายใต้การพิจารณามีการแจกแจงแบบปกติ จงหาค่า n
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 582)
46. แผนภูมสิ ุ่มตรวจสอบสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัดที่มีค่า n = 35 และ k = 1.7 เมื่อตัวอย่างสุ่มจาก Lot ได้
ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ย งเบนมาตรฐานของลั กษณะสมบัติที่ต้องการตรวจวัด เท่ากับ 0.73 และ 1.05x10-2
ตามลาดับ ถาสมบัติตามข้อกาหนดต้องมีค่าอย่างต่า 0.7 หน่วย ควรสรุปผลการตรวจอย่างไรเพราะเหตุใด
(สภาวิศวกร, 2555)
47. Sequential Sampling Plan หมายถึงอะไร (สภาวิศวกร, 2555)
48. ความเสี่ยงของผู้บริโภคการใช้แผนการชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับชนิดตัวแปร เกิดขึ้นเมื่อใด
(สภาวิศวกร, 2555)
49. กาหนดให้แผนการสุ่มตัวอย่างสาหรับตัวแปรโดยที่ทราบค่า σ ที่มีขีดจากัดข้อกาหนดล่างเป็น 10 และ
ขีดจากัดข้อกาหนดบนเป็น 12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.25 ขนาดรุ่นสินค้าเป็น 1,000 หน่วย ภายใต้การ
ตรวจสอบแบบปกติที่มีค่า AQL เป็น 2.64% จากผลการสุ่มตัวอย่างพบว่า x = 11.5 จงหาว่าจะยอมรับหรือ
ปฏิเสธรุ่นสินค้า (Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 584)
50. บริษัทน้าอัดลมยี่ห้อหนึ่งสั่งขวดจากผู้ผลิต โดยกาหนดขีดจากัดกาหนดล่างของความทนแรงดึงของขวดไว้
ที่ 200 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ถ้ามีขวดที่ทนแรงอัดต่ากว่าที่กาหนดอยู่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1% บริษัทต้องการให้
มีความน่าจะเป็นในการยอมรับรุ่น 0.99 ในขณะที่ถ้าขวดแรงอัดต่ากว่าที่กาหนดมากกว่าหรือเท่ากับ 10%
บริษัทต้องการให้มีความน่าจะเป็นในการปฏิเสธรุ่น 0.90
50.1 จงหาแผนการสุ่มตัวอย่างถ้าทราบค่า σ
50.2 จงหาแผนการสุ่มตัวอย่างถ้าไม่ทราบค่า σ
400 การควบคุมคุณภาพ

50.3 จงหาค่า β ถ้า p = 0.05


50.4 สมมติว่าจากการสุ่มตัวอย่างขนาด n คานวณ x = 210 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และ S = 15 ปอนด์ต่อ
ตารางนิ้ว ถ้าไม่ทราบค่า σ บริษัทควรจะยอมรับรุ่นหรือปฏิเสธรุ่น
(Banks J. อ้างอิงใน สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2554: 583)
บทที่ 6 แผนการชักสิ่งตัวอย่าง 401

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2555). กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมวิธีการชักตัวอย่างเพื่อการ


ตรวจสอบเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2542) มาตรฐานระบบการตรวจสอบด้วยการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อที่ยอมรับ
MIL-STD-105E. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
ศรีไร จารุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศุภชัย นาทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สภาวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2554). การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติและวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร:
จามจุรีโปรดักท์.
Banks J. (1989). Principles of Quality Control. New York: John Wiley & Sons.
Dodge H.F. (1943). A Sampling Inspection Plan for Continuous Production. The Annals of
Mathematical Statistics, Vol.14 pp 264-279.
Hill I. D. (1961). An Introduction to Sampling Inspection. London: The Institute of
Engineering Inspection Monograph.
Juran, J. M., & Gryna, F. M. (Eds.). (1988). The Quality Control Handbook (4th ed.).
New York: McGraw-Hill.
Montgomery D.C. (2009). Introduction to Statistical Quality Control (6th ed). New York:
John Wiley & Sons.
Schilling E.G., Neubauer V.D. (2009). Acceptance Sampling in Quality Control (2nd ed).
FL: Taylor & Francis Group
Schilling E.G., Sheesley J.H. (1978). The Performance of MIL-STD-105D under the
Switching Rules. Journal of Quality Techonology 10(1978). pp 76-83 and 104-124.
402 การควบคุมคุณภาพ
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 7
เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ
หัวข้อเนื้อหา
7.1 การจัดการคุณภาพโดยรวม
7.1.1 ความหมายของการจัดการคุณภาพโดยรวม
7.1.2 องค์ประกอบของการจัดการคุณภาพโดยรวม
7.1.3 โมเดลของการจัดการคุณภาพโดยรวม
7.1.4 กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการคุณภาพโดยรวม
7.1.5 เครื่องมือและเทคนิคของการจัดการคุณภาพโดยรวม
7.1.6 การนา PDSA ไปใช้ในการจัดการคุณภาพโดยรวม
7.1.7 การเลือกกระบวนการเพื่อการปรับปรุง
7.1.8 การเลือกกระบวนการเพื่อการปรับปรุง
7.1.9 อุปสรรคในการประยุกต์ใช้ TQM
7.2 กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ
7.2.1 โครงสร้างพื้นฐานของ QC.Circle
7.2.2 การกาหนดหัวข้อปัญหา
7.2.3 ขั้นตอนโดยทั่วๆ ไปของการจัดทา QC.Circle
7.2.4 วิธีการประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ
7.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (ไคเซน: Kaizen)
7.3.1 หลักการของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
7.3.2 กิจกรรมไคเซน
7.3.3 หลักการพื้นฐาน 3 ประการของไคเซน
7.3.4 เป้าหมายของไคเซน
7.3.5 การนาไคเซนไปใช้
7.4 ซิกซ์ซิกมา
7.4.1 ความหมายของซิกซ์ซิกมา
7.4.2 ต้นกาเนิดของซิกซ์ซิกมา
7.4.3 กรอบแนวคิดของซิกซ์ซิกมา
7.4.4 แก่นแท้ของซิกซ์ซิกมา
7.4.5 การประยุกต์ใช้ซิกซ์ซิกมาของบริษัท GE
7.4.6 โมเดลของซิกซ์ซิกมา
7.4.7 การออกแบบซิกซ์ซิกมา
7.4.8 การนาซิกซ์ซิกมาไปปฏิบัติ
404 การควบคุมคุณภาพ

7.5 การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
7.5.1 เหตุผลในการทาการเปรียบเทียบ
7.5.2 เคล็ดลับการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
7.5.3 ชนิดของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
7.5.4 วัตถุประสงค์และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
7.5.5 การกาหนดกระบวนการในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
7.5.6 ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
7.5.7 สาเหตุที่การเปรียบเทียบล้มเหลว
7.6 มาตรฐานระบบคุณภาพ
7.6.1 ความเป็นมาของ ISO 9000
7.6.2 มาตรฐาน ISO 9001: 2000
7.6.3 มาตรฐาน ISO 9001: 2008
7.6.4 ผู้ให้การรับรองระบบ ISO
7.7 สรุป
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7
เอกสารอ้างอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีความรู้และทักษะดังนี้
1. อธิบายเกี่ยวกับหลักการ องค์ประกอบ เครื่องมือและเทคนิคที่ ใช้ในการจัดการคุณภาพโดยรวม
ตลอดจนอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการจัดการคุณภาพโดยรวม
2. อธิบายแนวความคิดของคิวซีเซอร์เคิล โครงสร้างพื้นฐาน ลักษณะปัญหาที่สามารถแก้ปัญหาโดย
เทคนิคคิวซีเซอร์เคิล
3. อธิบายความหมาย หลักการพื้นฐาน เป้าหมาย และกิจกรรมการประยุกต์ใช้ไคเซน
4. อธิบายแนวคิด หลักการ ขีดจากัดเฉพาะของซิกซ์ซิกม่า และการใช้กระบวนการ DMAIC ในการ
แก้ปัญหาการจัดการคุณภาพ
5. สามารถเข้าใจวัตถุประสงค์ ขั้นตอนการเปรียบเทียบปฏิบัติ และเป้าหมายในการเปรียบเทียบ
องค์กรเพื่อความเป็นเลิศ
6. สามารถเข้าใจหลักการ ขอบเขตของมาตรฐาน ISO 9000 อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 และผู้ให้
การรับรองระบบ ISO
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 405

วิธีสอนและกิจกรรม
1. ทบทวนเนื้อหาในบทที่ 6 และเฉลยการบ้านในบทที่ 6
2. นาเข้าสู่บทเรียนโดยการบรรยายเนื้อหาทีละหัวข้อแล้วเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามในแต่ละหัวข้อก่อน
ข้ามหัวข้อนั้น
3. แบ่งกลุ่มทารายงาน และยกตัวอย่างกรณีศึกษาเทคนิคการพัฒนาคุณภาพของอุตสาหกรรมใน
ปัจจุบัน
4. มอบหมายให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทเป็นการบ้าน
5. เสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรมให้กับนักศึกษาก่อนเลิกเรียน โดยยกตัวอย่างกรณีศึกษาการ
ดาเนินกิจการตามหลักธรรมาภิบาลของบริษัทในปัจจุบัน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ
2. กระดานไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ายบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมและบรรยากาศระหว่างเรียน
2. ถามตอบระหว่างเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมายให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จากการทากิจกรรมกลุ่มเสร็จตามเวลา
2. ทาแบบฝึกหัดมีความถูกต้องไม่น้อยกว่า 80%
406 การควบคุมคุณภาพ

บทที่ 7
เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ
ในปัจจุบันปัจจัย ที่สาคัญในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า หรือการเลือกใช้บริ การของผู้บริโภคคือ คาว่า
คุณภาพ โดยองค์กรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม ร้านค้าปลีก ธนาคารหรือสถาบัน
ทางการเงิน ได้มีการใส่ใจตัวลูกค้ามากขึ้น ดังนั้นการเข้าใจความต้องการของลูกค้า การปรับปรุงคุณภาพใน
ด้านผลิตภัณฑ์และคุณภาพในด้านการบริการ จึงเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ธุรกิจนั้นประสบความสาเร็จ และ
สามารถแข่งขันในตลาดได้ ซึ่งจะเห็นได้จากการนาเรื่องคุณภาพของสินค้าและบริการมารวมไว้ในกลยุทธ์ของ
องค์กร

7.1 การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM)


ปรียาวดี ผลอเนก (2556) การจัดการคุณภาพโดยรวมนั้นอยู่ภายใต้แนวคิดของการจัดการบนพื้นฐานของ
ความพึงพอใจของลูกค้า องค์กรต่างๆ ควรนาแนวคิดของการจัดการคุณภาพโดยรวมเข้าไปประยุ กต์ใช้ใน
กระบวนการจั ดการเพื่อ เปลี่ ย นแปลงการบริห ารขององค์กร ซึ่ง การจัดการคุ ณภาพโดยรวมนั้น เป็น เป็ น
กระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด และต้องใช้เวลานานกว่าจะประสบความสาเร็จได้
7.1.1 ความหมายของการจัดการคุณภาพโดยรวม
การจัดการคุณภาพโดยรวม คือ การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องโดยเน้นคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
และค่าใช้จ่ายในการจัดการคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ
การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM) ประกอบด้วยพื้นฐานหลัก
3 ประการ คือ การมุ่งเน้นไปที่ตัวลูกค้า หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กร การมุ่งเน้นไปที่กระบวนการเพื่อ
สนับสนุนการปรับปรุงคุณภาพโดยรวม และการเรียนรู้ภายในองค์กร (Evans and Linsay อ้างอิงใน ปรียาวดี
ผลอเนก, 2556: 17)
ดังนั้นการจัดการคุณภาพโดยรวม หมายถึง การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เน้นคุณภาพทั่วทั้ง
องค์กร รวมถึงลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กร
7.1.2 องค์ประกอบของการจัดการคุณภาพโดยรวม
การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) เป็นโปรแกรมของจานวนกิจกรรมที่มีการทางานร่วมกันอย่าง
สมบูรณ์ โดยองค์ประกอบของการจัดการคุณภาพโดยรวม ดังแสดงในรูปที่ 7.1
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 407

ความแน่วแน่ของวัตถุประสงค์/ความมุ่งมั่นในระยะยาว
การฝึกอบรม มุ่งเน้นไปที่กระบวนการ

การมีส่วนร่วมของพนักงาน การจัดการ
วิธีการทางสถิติ
ทั้งหมด/การทางานเป็นทีม คุณภาพ
โดยรวม (TQM)
การปรับปรุงกระบวนการ
ความเป็นผู้นา
อย่างต่อเนื่อง
มุ่งเน้นไปที่ลูกค้า ซัพพลายเออร์/พันธมิตรทางธุรกิจ

รูปที่ 7.1 องค์ประกอบของการจัดการคุณภาพโดยรวม


(ที่มา: Ramasamy อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 18)

7.1.3 โมเดลของการจัดการคุณภาพโดยรวม
ปรียาวดี ผลอเนก (2556) กระบวนการ (Process) เป็นการเชื่อมโยงหลักระหว่างความสามารถใน
การวางแผน (นโยบายการขับเคลื่อนความเป็นผู้นากลยุทธ์พันธมิตร และแหล่งทรัพยากร) ตลอดจนบุคลากร
ในองค์กรอย่างประสิทธิภาพสามารถวัดได้โดยพนักงาน ชุมชน ลูกค้า และผลผลิต
โมเดล 4Ps เป็นองค์ประกอบหลักของโมเดลการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นในการ
บริหารงานในการนาองค์กรไปสู่ความสาเร็จในศตวรรษที่ 21 โมเดลเหล่านี้เป็นโครงสร้างสาคัญในการศึกษาการ
จัดการคุณภาพโดยรวม จากกรอบแนวคิดของการจัดการคุณภาพโดยรวม ดังแสดงในรูปที่ 7.2 เราจะไม่ควรที่จะ
ประเมินคุณค่าความสาคัญของ 3Cs ได้แก่ วัฒนธรรม (Culture) การติดต่อสื่อสาร (Communication) และความ
มุ่งมั่น (Commitment) ต่าจนเกินไป โมเดลใหม่ของการจัดการคุณภาพโดยรวมนั้น จะมีความสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อ
ผลผลิตออกมาตามเป้าหมาย ซึ่งได้รับการบูรนาการมาจากกรอบแนวคิดของ 4Ps ส่งผลให้สามารถนาองค์กรไปสู่
ความสาเร็จได้
โมเดลใหม่ของการจัดการคุณภาพโดยรวมนั้น มาจากการจัดเตรียมกรอบแนวคิดของประสิทธิภาพ
ที่ได้ควบคลุมไปถึงมุมมองขององค์กรและการดาเนิ นการขององค์กร ประสิทธิภาพจะประสบความสาเร็จได้
ด้ว ยการใช้ แนวทางการดาเนิ น งานที่เป็นเลิศ และการวางแผนที่เกี่ยวเนื่องกับพนักงานเพื่อที่จะปรับปรุง
กระบวนการซึ่งโมเดลของการจัดการคุณภาพโดยรวม (Oakland S.J อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 19)
ประกอบด้วย
1. การวางแผน (Planning) คือ การพัฒนาและการนานโยบาย ตลอดจนกลยุทธ์ที่ได้กาหนดไว้มา
ปรับใช้กับพันธมิตร และแหล่งทรัพยากรรวมถึงการออกแบบคุณภาพ
408 การควบคุมคุณภาพ

2. ประสิ ท ธิ ภ าพ (Performance) คื อ กรอบแนวคิ ด ของการวั ด ประสิ ท ธิ ภ าพ (Balanced


Scorecard) สาหรับองค์กร การบรรลุผลในการประเมินตนเอง (Self-assessment) การตรวจสอบ (Audits)
และการเปรียบเทียบ (Benchmarking)
3. กระบวนการ (Process) คือ ความเข้าใจ การบริหารจัดการ การออกแบบ ระบบการจัดการ
คุณภาพ ตลอดจนการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
4. พนักงาน (People) คือ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม การทางานเป็น
ทีม การติดต่อสื่อสาร นวัตกรรม และการเรียนรู้

Planning

Culture Communication
Performance
People Process

Commitment

รูปที่ 7.2 โมเดลการจัดการคุณภาพโดยรวม


7.1.4 กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการคุณภาพโดยรวม
กลยุทธ์ 10 ประการที่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร (Chief Executive Officer: CEO) ควรจะนามาใช้
ในการจัดการคุณภาพโดยรวม ได้แก่
1. การบริหารงานเชิงรุก ผู้นาควรจะรู้ล่วงหน้าว่าจะมีปัญหาอะไรเกิดขึ้นในอนาคต และจะป้องกัน
ปัญหาที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้อย่างไร ซึ่งจะดีกว่าการแก้ไขปัญหาทีหลัง หากผู้บริหารงานมีความกระตือรือร้น
ก็จะรู้วิธีการจัดการปัญหาที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า สามารถตัดปัญหาออกไปได้ ส่งผลให้ปัญหานั้นไม่เกิดขึ้นอีก
2. การบริหารความเสี่ยงและการบริหารความเปลี่ยนแปลง ผู้นาควรที่จะสนับสนุนให้องค์กรมีการ
บริหารความเปลี่ย นแปลงด้านนวัตกรรม CEO ควรจูงใจเพื่อนร่วมงานของเขาให้ริเริ่มการเปลี่ ยนแปลงที่
ก่อให้เกิดผลดีกับบริษัท ซึ่งความรับผิดชอบขั้นพื้นฐานสาหรับการบริหารความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลงนั้น
อยู่ภ ายใต้การน าของ CEO ซึ่ง CEO เองควรจะสร้างความมั่นใจแก่เพื่อนร่วมงานและสนั บสนุนให้ เกิด
ความสาเร็จในนวัตกรรมการเปลี่ยนแปลงอย่างสมบูรณ์ และควรที่จะมีการมอบรางวัลให้ด้วย ส่งผลให้การ
บริหารความเปลี่ยนแปลงสัมฤทธิ์ผลมากยิ่งขึ้น
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 409

3. ทาในสิ่งที่ถูกต้องตั้งแต่เริ่มแรก หมายถึง การดาเนินกิจกรรมทุกๆ สิ่งในองค์กรไม่ได้หมายถึง


เพียงแค่การผลิตสินค้าหรือบริการเท่านั้น แต่หมายถึง สิ่งที่พนักงานในองค์กรปฏิบัติอยู่ทุกๆวัน ซึ่งพนักงาน
ควรจะทาสิ่งที่ถูกต้องตั้งแต่ครั้งแรก และทาทุกๆ ครั้งตลอดเวลา ดังนั้นการบริหารจึงไม่สามารถกาหนดสิ่งที่
ถูกต้องได้ในครั้งเดียว และลืมความคาดหวังว่าสิ่งที่ทานั้นจะต้องสมบูรณ์เสมอ ซึ่งผู้บริหารควรที่จะมองไปที่
ความสอดคล้องกันในเรื่องการปรับปรุงการผลิต เพื่อค้นหาปัญหาและแก้ไข โดยการกระทาในสิ่งที่ถูกต้องนั้น
ประกอบด้วย
3.1 การท าในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งและท าตลอดเวลา จะช่ ว ยป้ อ งกั น ข้ อ ผิ ด พลาดของเสี ย จาก
กระบวนการผลิต และความยุ่งยากในการทางาน
3.2 ตั้ งเป้ า หมายที่ ถูก ต้อ ง การกาหนดเป้า หมายของพนั กงาน ทีม งาน รวมถึง แผนกต่า งๆ
ภายในองค์กรควรจะต้องสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร ซึ่งพนักงานทุกคนควรจะทราบเป้าหมายของ
องค์กร เป้าหมายของทีมงาน และเป้าหมายของลูกค้าภายในด้วย
3.3 เลือกใช้พนักงานให้ถูกหน้าที่
3.4 สร้างกระบวนการที่ถูกต้อง บริษัทควรจะลงทุนทั้งในเรื่องของเวลา เงิน และที มงานที่ถูก
กาหนดเพื่อสร้างกระบวนการที่ถูกต้อง
3.5 เลือกวัตถุดิบที่มีคุณภาพ เพื่อที่จะไม่ต้องมาแก้ไข (Rework) ในภายหลัง
3.6 เลื อกเครื่ องจั ก รที่ ถูกต้ อง ควรมี การจั ดซื้ อจัด หาอุป กรณ์ ส่ ว นประกอบ และอะไหล่ ไ ว้
ล่วงหน้าเพื่อการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ
4. การป้องกันอย่างต่อเนื่อง มี 2 แนวทางในการจัดการกับปัญหา คือการรักษา และการป้องกัน
ซึ่งทั้งหมดเป็นการอ้างเหตุผลว่าทาไมปัญหาจึงไม่ได้รับการป้องกันตั้งแต่เนิ่นๆ อย่างไรก็ตามผู้จัดการที่ต้องการ
นา TQM มาใช้ จะต้องควบคุมสถานการณ์ต่างๆ เช่น การทางานของพนักงานทั้งหมดต้องทาตามมาตรฐาน
และผู้จัดการต้องสามารถรู้ล่วงหน้าได้ว่า หากมีปัญหาเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตก็สามารถป้องกันได้ ก่อนการ
ควบคุมนั้นจะต้องพิจารณาการเกิดคุณภาพ และสามารถพัฒนาให้ดีได้โดยทุกๆ คนที่มีส่วนร่วม
5. เอาใจใส่ตั้งแต่เรื่องเล็กๆและขยายขึ้นเรื่อยๆ TQM เป็นกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง
การเอาใจใส่ตั้งแต่เรื่องเล็กๆ นั้นถือเป็ นขั้นแรกของการปรับปรุง ดังนั้น การบริหารควรจะต้องปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่องในทุกๆ กระบวนการ ยกตัวอย่างเช่น วัตถุดิบที่ได้รับ หากมีฉลากซึ่งได้ระบุรายละเอียด วันที่รับของ
จานวน และรายละเอียด ก็จะช่วยประหยัดเวลาในการตรวจสอบมากขึ้น
6. มั่นใจในสภาวะการเงินขององค์กร ในขณะที่บริษัทได้เริ่มดาเนินการกิจกรรม TQM อยู่นั้น CEO
ควรที่จะคานึงถึงสภาวะการเงินขององค์กรด้วย การดาเนินกิจกรรม TQM ควรจะทาให้สภาวะการเงินของ
บริษัทมีสภาพคล่องและมีผลกาไรระยะยาว หากองค์กรได้ทาการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องโดยใช้ TQM แล้ว
จะเป็นการปรับปรุงการทางานของพนักงานระดับล่างโดยอัตโนมัติ เป้าหมายของการทา TQM คือ ความ
ปรารถนาให้พนักงานมีความพึงพอใจในการทางาน มีการบริการสังคม มีการจ้างงานเกิดขึ้น จุดประสงค์ขั้น
พื้นฐานของธุรกิจก็คือ มีกาไรเลี้ยงบริษัท ซึ่งก็คล้ายๆกับเป้าหมายขั้นพื้นฐานของลูกจ้างในการที่จะได้เงินเดือน
สูงๆ เพื่อเลี้ยงชีพเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามเป้าหมายขององค์กรควรจะตั้งไว้สูงกว่าผลตอบแทนจากการลงทุน
(Return on Investment: ROI) ซึ่งสภาวะการเงินขององค์กรจะเป็นตัววัดที่สาคัญในการวัดความสาเร็จของ
ทุกๆองค์กรในการดาเนินกิจกรรม TQM
410 การควบคุมคุณภาพ

อย่างไรก็ตามบริษัทที่ดาเนินธุรกิจด้านบริการได้มีการทดสอบและประเมินผลจากการนา TQM
มาใช้ พบว่ามีอัตราการเจริญเติบโตในทุกๆ ปี ถึง 40% ซึ่งถือเป็นความสาเร็จของธุรกิจ ดังนั้นพอสรุปได้ว่า
องค์กรน่าจะเจริญเติบโตขึ้นไปจากการนา TQM มาปฏิบัติ
7. บริหารโดยการตรวจเยี่ยม (Walk around management) ถือเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพใน
การบริหารและความเป็นผู้นาสาหรับการเติบโตขององค์กร การบริหารงานแบบนี้มีลักษณะคือ เป็นการไป
เยี่ยมชมโรงงานอย่างไม่เป็นทางการของผู้บริหาร ซึ่งตัว CEO เองจะเข้าไปหน้างานในสายการผลิตเพื่อพูดคุย
กับพนักงานเกี่ยวกับเรื่องงานของพนักงาน และคอยสอบถามพนักงานแต่ละคนว่ามีปัญหาใดบ้างในการทางาน
และต้องการความช่วยเหลือใดหรือไม่ โดย CEO ต้องทาให้พนักงานรู้สึกผ่อนคลายในการพูดคุยถึงปัญหาอย่า ง
อิสระและเปิดเผย ซึ่งประโยชน์ของการบริหารโดยการตรวจเยี่ยม จะช่วยให้องค์กรรักษาคนที่มีความสามารถ
ฉลาดให้อยู่กับองค์กรนานๆ รวมไปถึงลูกค้าและผู้จัดจาหน่าย (Supplier) ด้วยโดยกระบวนการนี้จะช่วยให้
CEO สามารถรักษาความสัมพันธ์กับพนักงาน ลูกค้า และผู้จัดจาหน่าย (Supplier) ได้
โดย CEO เองต้องแสดงให้เห็นว่าพนักงานมีความสาคัญอย่างไรกับองค์กร ซึ่งส่งผลให้ธุรกิจนั้นมี
เสน่ห์น่าดึงดูดให้เข้าไปทางาน รวมไปถึงมีการปรับปรุงคุณภาพของผู้จัดจาหน่าย พนักงาน และให้ความสาคัญ
กับลูกค้าด้วย
8. มีตัวชี้วัดความสาเร็จ ซึ่งตัววัดความสาเร็จขั้นพื้นฐาน คือ การเสาะหา การวิเคราะห์ข้อมูล
เสียงตอบรับจากลูกค้าทั้งภายในและภายนอกองค์กร โดยองค์กรควรจะต้องนา TQM มาปฏิบัติเพื่อเพิ่มความ
พึงพอใจและความคาดหวังจากลูกค้า ผู้บริหารควรจะช่วยให้พนักงานได้รู้ว่าพวกเขาควรปฏิบัติงานอย่างไรให้
ผลงานออกมาดี ซึ่งพนักงานควรจะวัดผลงานของตัวเองและรายงานผลให้ผู้บริหารทราบ ส่วนการวัดผลงานนี้
ควรจะใช้วัดงานที่เป็นงานประจา
9. ไม่หยุ ดนิ่ งและยั งคงปรั บปรุ งอย่างต่อเนื่อง องค์กรควรจะมีการเปลี่ ยนแปลงทุกๆ 2 ปี
โดยปราศจากการจ้างคนเพิ่มและการซื้อเครื่องจักรเพิ่ม หลายๆ องค์กรประสบความสาเร็จในอัตราที่สูงขึ้นซึ่งมี
ด้วยกัน 2 ปัจจัยคือ 1) การลดต้นทุน โดยการทาสิ่งที่ถูกต้องตั้งแต่ครั้งแรก 2) มีผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจาก
การที่พนักงานได้รับการฝึกอบรม อย่างไรก็ตามคุณภาพในการผลิตโดยการมีของเสียเข้าใกล้ศูนย์นั้นสามารถทาได้
ด้วยความมี ประสิ ทธิภาพของพนั กงานที่ จะช่ วยปรั บปรุ งให้ องค์ กรมี การเจริ ญเติ บโตยิ่ งขึ้น เนื่ องจากมี การ
บริหารงานโดยใช้ TQM ทาให้มีความมั่นใจในการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีตัวอย่างการ
ประสบความสาเร็จในหลายๆ องค์กรมาแล้ว รวมไปถึงการให้อานาจพนักงานในการตัดสินใจ ทาให้พนักงานมีความ
กระตือรือร้น และมีแรงจูงใจในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอีกด้วย
10. กาหนดส่วนสาคัญหลักขององค์กร โดยกาหนดส่วนที่สาคัญที่สุด ชิ้นงานที่สาคัญที่สุด ระบุส่วน
สาคัญอื่นๆ ชิ้นงานอื่นๆ ตลอดจนพัฒนาผู้จัดจาหน่ายสาหรับส่วนสาคัญอื่นๆ
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 411

7.1.5 เครื่องมือและเทคนิคของการจัดการคุณภาพโดยรวม
การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) นั้น องค์กรควรจะใช้ส่วนผสมของเครื่องมือและเทคนิคที่
แตกต่างกันขึ้นอยู่กับธุรกิจ คุณภาพของพนักงาน วัฒนธรรม และรายละเอียดของลูกค้ามาใช้ โดยเครื่องมือ
และเทคนิคใน TQM ดังแสดงในตารางที่ 7.1

ตารางที่ 7.1 เครื่องมือและเทคนิคของการจัดการคุณภาพโดยรวม

พื้นที่ของ TQM เครื่องมือและเทคนิค


1. วิธีการ (Methodologies) การควบคุมคุ ณภาพทางสถิ ติ (SPC) การออกแบบการทดลอง (DOE)
บ้านแห่งคุณภาพ (QFD) การบารุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (TPM)
2. ระบบ (System) ISO 9000
3. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารงานเชิงรุกและวงจรเด็มมิ่ง และการร่วมมือกันของพนักงาน
(Human Resources)
4. การจูงใจ (Motivation) รางวัล ในด้า นการปรั บปรุงคุณ ภาพ เช่ น รางวัล Malcolm Baldrige
รางวัล Deming Award รางวัล European Quality Award

ที่มา: Ramasamy (อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 24)

ผู้บริหารระดับสูงควรเลือกอุปกรณ์และเทคนิคที่ใช้ เพื่อแนะนาพนักงานในการกาหนดรูปแบบการ
ดาเนินการการจัดการคุณภาพโดยรวม อีกประการหนึ่งการฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญด้านคุณภาพท่านใดท่าน
หนึ่งอาจจะไม่เพียงพอในการนา TQM ไปปฏิบัติในองค์กร โดยการสนับสนุนของผู้เชี่ยวชาญด้านคุณภาพ
สามารถแบ่งเป็นหัวข้อกว้างๆ ดังตารางที่ 7.2

ตารางที่ 7.2 การสนับสนุนของผู้เชี่ยวชาญคุณภาพสาหรับ TQM

เนื้อหาของ TQM ผู้เชี่ยวชาญด้านคุณภาพ


1. สถิติ (Statistical) Gauss, Pareto, Shewhart, Fisher
2. การจัดการ (Management) Juran, Crossby, Feigenbaum
3. การปฏิบัติการ (Execution) Deming, Taguchi

ที่มา: Ramasamy (อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 25)


412 การควบคุมคุณภาพ

7.1.6 การนา PDSA ไปใช้ในการจัดการคุณภาพโดยรวม


Walter A. Shewhart ได้พัฒนาวงจรคุณภาพ Plan-Do-Check-Act (PDCA) ในการปรับปรุง
กระบวนการเด็มมิ่งได้นาไปพัฒนาเป็นวงจร PDSA ซึ่งมีด้วยกัน 4 ระยะคือ Plan, Do, Study และ Act
ดังแสดงในรูปที่ 7.3

4. 1.
Act plan
3. 2.
Study Do

รูปที่ 7.3 วงจร PDSA


วงจร PDSA เหมาะสาหรับโครงการปรับปรุงกระบวนการ โดยโครงสร้างของ PDSA ประกอบด้วย
ส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. การวางแผน (Planning) คือ การเตรียมในช่วงระยะการนาเสนอการนา TQM ไปใช้ ซึ่งมีการ
กาหนดเป็นลายลักษณ์อักษรหลังจากได้วิเคราะห์รายละเอียดแล้ว ประกอบด้วย การกาหนดวัตถุประสงค์
การกาหนดแผนเพื่อความสะดวกในการบรรลุเป้าหมาย
2. การปฏิบัติ (Do) คือ แผนสาหรับการนาไปใช้และวัดประสิทธิภาพ เป็นระยะที่เกี่ยวข้องกับการ
นาแผนไปปฏิบัติเป็นพื้นฐานนาร่องก่อน
3. การศึกษา (Study) คือ การเปรียบเทียบผลลัพธ์กับวัตถุประสงค์ การกาหนดช่องว่างการ
วิเคราะห์สาเหตุของช่องว่างและการคาดหวังผลลัพธ์ หรือผลจากการนาไปปฏิบัติเป็นพื้นฐานนาร่องได้ถูกวัด
และวิเคราะห์เพื่อให้เห็นถึงการปรับปรุง
4. การแก้ไข (Act) คือ มาตรฐานในขั้นตอนการปฏิบัติงานที่จะทาให้บรรลุเป้าหมาย หรือปรับปรุง
แผนและทบทวนวงจรอีกครั้งหนึ่ง วงจร PDSA จะกระทาซ้าเพื่อปรับปรุงในวงจรอย่างต่อเนื่อง และนาไปสู่
การปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานต่อไป
7.1.7 การเลือกกระบวนการเพื่อการปรับปรุง
ในขั้นแรกของ TQM นั้นต้องสร้างเอกสารระบบคุณภาพในองค์กร โดยระบบได้กาหนดวัตถุประสงค์ใน
การประชุมมาตรฐาน ISO 9000 การเริ่มนาระบบเอกสารไปใช้งานเพื่อง่ายต่อการจัดทารายงานความก้าวหน้า
การปรับปรุงสามารถนาไปใช้ภายหลังจากที่ได้จัดตั้งระบบแล้ว ซึง่ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 413

1. บรรลุความเป็นเลิศทางด้านเทคนิค
2. การปรับปรุงคุณภาพ
3. การเพิ่มผลิตภาพ
4. การลดต้นทุนคุณภาพ
5. การปรับช่วงเวลาในการให้บริการของอุปกรณ์
6. การลดต้นทุนค่าแรง
7. การลดเวลาการส่งมอบ
เป้าหมายในการปรับปรุงอาจจะกาหนดได้จากแหล่งทรัพยากรจานวนมาก ซึ่งแหล่งทรัพยากร
ดังกล่าวอาจจะมาจากการตรวจสอบคุณภาพภายใน การทบทวนของผู้จั ดการ ข้อเสนอแนะของพนักงาน
ข้อเสนอแนะของลูกค้า ข้อเสนอแนะของซัพพลายเออร์ ข้อมูลกระบวนการ ข้อมูลความล้มเหลวของเป้าหมาย
และการเก็บข้อมูลด้านอื่นๆ จากแหล่งข้อมูลที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
แนวคิ ด ของการเปรี ย บเที ย บกระบวนการทางธุ ร กิ จ ช่ ว ยให้ อ งค์ ก ร จั ด ล าดั บ ความส าคั ญ ของ
กระบวนการในการปรับปรุง ซึ่งมีกระบวนการที่ต้องการปรับปรุงจานวนมาก โดยฝ่าย QC เป็นผู้ตัดสินใจใน
การปรั บ ปรุงกระบวนการโดยจัดตั้งทีมการปรับปรุงขึ้นมา ซึ่งทีมการปรับปรุงที่ตั้งขึ้นมานี้ก็เพื่อปรับปรุง
กระบวนการโดยการนาวงจร PDSA ไปใช้เพื่อการปรับปรุงแก้ไขโดยเฉพาะ
7.1.8 การเลือกกระบวนการเพื่อการปรับปรุง
จากรูปที่ 7.4 มีวงจรคุณภาพอยู่ด้วยกัน 2 วงจร วงจรหนึ่งใช้สาหรับการจัดการคุณภาพโดยรวม
ทั่วทั้งองค์กร (TQM) ส่วนอีกวงจรหนึ่งใช้สาหรับการปรับปรุงเพื่อการแก้ไข

Act

Study Plan

Plan-Do-
Check-Act
Do

รูปที่ 7.4 PDCA ภายใน PDSA

วงจร PDSA วงนอก คือ การจัดการคุณภาพโดยรวมทั่วทั้งองค์กร ส่วนวงจร PDCA ที่อยู่ในขั้น


“การปฏิบัติ (Do)” จะเป็นการปรับปรุงในแต่ละโครงการ เมื่อมีโครงการที่จะทาการปรับปรุงเกิดขึ้น ก็จะต้อง
มีการตั้งทีมปรับ ปรุ งคุณภาพขึ้นมาและกาหนดเป้าหมายให้ ชัดเจน จากนั้นทีมปรับปรุงก็ จะทาการศึกษา
กระบวนการในเชิง ลึ ก มีก ารระดมสมอง ผู้ เ ชี่ย วชาญคอยให้ คาปรึ กษา กาหนดออกมาเป็น กลยุท ธ์แ ละ
414 การควบคุมคุณภาพ

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) โดยฝ่าย QC ควรจะเป็นส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์ปัญหาของทีมปรับปรุงด้วย


อนึ่งทีมงาน TQM ซึ่งประกอบด้วยฝ่าย QC ผู้ประสานงาน TQM และพนักงานฝ่ายสนับสนุนจะทาการ
ปฏิบัติการปรับปรุงในแต่ละโครงการ โดยทีมงาน TQM จะทาการประยุกต์ใช้วงจร PDSA ดังต่อไปนี้
1. การวางแผน (Plan) ทีมปรับปรุงได้วางแผนเพื่อติดตามประเด็นต่างๆ เช่น อะไรคือสถานการณ์
ปัจจุบันและมีระดับประสิทธิภาพเป็นอย่างไร อะไรคือสิ่งที่คาดหวังหรือระดับประสิทธิภาพเป็นอย่างไร และ
ทีมจะเสนอหนทางไปสู่การแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพได้อย่างไร เป็นต้น
2. การปฏิบัติ (Do) หลังจาก QC ได้ประทับตราอนุมัติแล้ว มีการนาแผนปฏิบัติการ (Action Plan)
ที่ได้รับการอนุมัติไปใช้ในขั้นการแก้ไข (Act) เป็นพื้นฐานนาร่อง
3. การศึกษา (Study) จะมีการปรับปรุงแก้ไขในขั้นตอนนี้ก็ต่อเมื่อขั้นตอนปฏิบัติ (Do) นั้นมีความ
สมบู ร ณ์ หลั ง จากนั้ น จึ ง มี ขั้ น ตอนการศึ ก ษาเกิ ด ขึ้ น โดยในขั้ น ตอนนี้ ส มาชิ ก ในที ม ปรั บ ปรุ ง จะประเมิ น
ประสิทธิภาพของข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา โดยเจ้าของกระบวนการจะตรวจสอบว่ากระบวน การมี
ประสิทธิภาพหรือไม่ ซึ่งกระบวนการการปรับปรุงจะต้องมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง ในระหว่างขั้นตอนนี่ควรมี
การเก็บบันทึกข้อมูลด้านประสิทธิภาพด้วยข้อมูลแบบช่วง (Intervals) จากนั้นทีมปรับปรุงจะทาการวิเคราะห์
ข้อมูลระหว่างขั้นการศึกษา หากทีมปรับปรุงพึงพอใจในการปรับปรุงกระบวนการ สมาชิกในทีมก็จะแจ้งไปยัง
ฝ่าย QC ทราบทันที
4. การแก้ไข (Act) หากฝ่าย QC มั่นใจในกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงและประสบความสาเร็จ
ตามเป้าหมายก็จะเข้าสู่กระบวนการแก้ไข (Act) ทันที ในขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นได้มีการแก้ไขและ
ดาเนินการปรับปรุงมาแล้ว ดังนั้น จึงมีการกาหนดกระบวนการใหม่ๆ เพื่อนาไปใช้อย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของ
ขั้นการแก้ไข (Act)
7.1.9 อุปสรรคในการประยุกต์ใช้ TQM
ในการประยุกต์ใช้ TQM มีอุปสรรคมากมาย (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556) ดังต่อไปนี้
1. ขาดความมุ่งมั่นและข้อผูกพันของผู้บริหารระดับสูง
2. ขาดการมีส่วนร่วมของพนักงาน
3. ไม่มีความร่วมมือกันระหว่างผู้จัดการระดับต้น (First Line Manager) กับผู้จัดการระดับกลาง
(Middle Manager)
4. วิสัยทัศน์ขององค์กรขาดความชัดเจน
5. สูญเสียการติดตามผลการดาเนินงาน
6. ไม่มีส่วนร่วมของลูกค้า และซัพพลายเออร์
7. เชื่อว่าการฝึกอบรมจะนาไปสู่ความแตกแยกของพนักงาน
8. การขัดขวางการเปลี่ยนแปลงในทุกระดับ
9. ความไม่มีประสิทธิภาพของผู้ให้บริการด้านTQM
10. เลือกที่ปรึกษาผิด
11. ขาดความคงเส้นคงวาของการบริหารจัดการ
12. ความเร่งรีบและของเสียในกระบวนการผลิต
13. การมองไปที่กาไรในระยะสั้น
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 415

14. ไม่มีการลงทุนในเรื่องทรัพยากรอย่างเพียงพอ
15. องค์กรเฉพาะกิจ
16. ผลิตภัณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Rapid Change)
17. การสูญเสียความมั่นใจในช่วงระยะกลางของการดาเนินกิจกรร TQM เนื่องจากเหตุผลต่างๆ
18. ใช้แรงงานมากกว่าใช้ความคิดในการทางาน
19. การแข่งขันที่รุนแรงซึ่งนาไปสู่การตัดราคา
20. การจัดการทรัพยากรแรงงานไม่มีประสิทธิภาพ

ตารางที่ 7.3 ลักษณะการจัดการคุณภาพโดยรวม

ลักษณะขององค์กรแบบ TQM ลักษณะทีไ่ ม่ใช่องค์กรแบบ TQM


1. การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 1. การรักษาวัฒนะธรรมเพียงชั่วข้ามคืน
2. ความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูง 2. ความรับผิดชอบของผู้จัดการ QA
3. การปรับปรุงกระบวนการอย่างเป็นระบบ 3. ใช้โปรแกรมใหม่ๆ
4. มีโครงสร้างของแนวทางในการแก้ไขปัญหา 4. แก้ปัญหาเฉพาะหน้า
5. การบริหารองค์กรเชิงรุก 5. มีปฏิกิริยาโต้ตอบในการบริหารงาน
6. ทาในสิ่งที่พูด 6. มีแต่สโลแกน
7. พนักงานมีความเชี่ยวชาญหลายๆอย่าง 7. พนักงานมีความเชี่ยวชาญเฉพาะหน้า
8. การมีส่วนร่วมในทีม 8. การทางานของพนักงานเพียงคนเดียวหรือแผนกเดียว

ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556


ความแตกต่างขององค์กรที่นาการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) มาใช้กับองค์กรอื่น ดังแสดงใน
ตารางที่ 7.4
ตารางที่ 7.4 การเปรียบเทียบองค์กรที่นาการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) มาใช้กับองค์กรอื่นๆ
หัวข้อ องค์กรแบบ TQM องค์กรอื่นๆ
1. การฝึกอบรม การลงทุน ความสิ้นเปลือง
2. การเปลีย่ นแปลง วิถีแห่งชีวิต การต่อต้าน
3. ของเสียจากกระบวนการผลิต เป็นศูนย์ หลีกเลี่ยงไม่ได้
4. ความมุ่งมั่น ระยะยาว ระยะสั้น

ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556


416 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ 7.4 การเปรียบเทียบองค์กรที่นาการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) มาใช้กับองค์กรอื่นๆ (ต่อ)


หัวข้อ องค์กรแบบ TQM องค์กรอื่นๆ
5. ประสิทธิภาพ ความต้องการของลูกค้า ค่าใช้จ่ายและช่วงเวลาทีต่ กลง
6. การติดต่อสื่อสาร แบบแนวนอนและแนวตั้ง แนวตั้ง
7. เป้าหมายด้านประสิทธิภาพ ดีกว่าเมื่อวาน มาตรฐานขององค์กร
8. บทบาทของการบริหารจัดการ พี่เลี้ยง บังคับให้ปฏิบัติตาม

ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556


7.2 กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ (Quality Control Circle)
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) หลักการพื้นฐานสาหรับการดาเนินการกิจกรรม QC.Circle จะต้องได้รับการ
แนะนากระตุ้นและใช้ในการดาเนิน QC.Circle ในการปฏิบัติการอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ผลการดาเนินงาน
เป็นไปตามแนวความคิด และบรรลุเป้าหมายของการดาเนินการทาให้มีผลประโยชน์ตรงต่อการเพิ่มผลิตภาพ
ขององค์กรอย่างไม่รู้จบ ซึ่ง JUSE (Japanese Union of Scientists and Engineers) ได้กาหนดแนวคิดขั้น
พื้นฐานสาหรับการดาเนินการ QC.Circle ไว้ 3 ประการ คือ
1. การสนับสนุนให้เกิดการปรับปรุง และการพัฒนาองค์กร
2. เคารพความเป็นมนุษย์ และการสร้างสรรค์สถานที่ทางานให้มีชีวิตชีวารื่นรมย์ เพื่อให้เกิดบรรยากาศ
การทางานที่ดี
3. สร้างโอกาสให้พนักงานได้แสดงออกซึ่งความสามารถอย่างเต็มที่ และดึงความสามารถที่ซ้อนเร้น ซึ่งมี
อยู่อย่างไม่จากัดออกมาใช้ประโยชน์
หลักการพื้นฐาน 10 ประการ สาหรับการดาเนิน QC.Circle มีดังนี้
(1) การพัฒนาตนเอง
(2) การดาเนินการอย่างสมัครใจ
(3) การดาเนินการแบ่งกลุ่ม
(4) การบริหารแบบมีส่วนร่วม
(5) การประยุกต์กลวิธีด้านการควบคุณคุณภาพ
(6) การปลูกฝั่ง QC.Circle ลงในสถานที่ทางาน
(7) การกระตุ้นและสนับสนุนให้การทา QC.Circle เป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่รู้จบ
(8) การพัฒนาซึ่งกันและกัน
(9) การมีความคิดริเริ่ม
(10) การมีจิตใจสานึกต่อคุณภาพ ปัญหา และการปรับปรุง
7.2.1 โครงสร้างพื้นฐานของ QC.Circle
โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการดาเนินการด้าน QC.Circle ดังแสดงในรูปที่ 7.5 แต่ส่วนประกอบ
หลักที่สาคัญ จะมี 3 องค์ประกอบ สาหรับบทบาท และหน้าที่ของคณะกรรมการแต่ละชุดจะมีดังนี้
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 417

1. คณะกรรมการ TQM นี้มีหน้าที่สาคัญๆ ดังนี้


(1) กาหนดนโยบายการส่งเสริมการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จตลอดจนกาหนดแผนการการ
บริหารคุณภาพเชิงกลยุทธ์ (Strategic Quality Plan)
(2) พิจารณาจัดทาและอนุมัติแผนประจาปีสาหรับการฝึกอบรมด้านการบริหารคุณภาพ
(3) พิจารณาจัดทาแผนและติดตามแผนการตรวจติดตามภายในด้านคุณภาพ (Quality Internal
Auditing) และแผนการวินิจฉัยการบริหารคุณภาพโดยผู้บริหาร (Quality Management Diagnosis)
(4) พิ จ ารณาการตั ดสิ น ใจเพื่อ การบริ ห ารมาตรฐานต่า งๆ ในด้ านการบริ ห ารงานคุ ณภาพ
เช่น ISO9000 ISO14000 เป็นต้น
(5) กากับดูแลให้เกิดการประสานงานเกี่ยวกับคุณภาพในระหว่างฝ่าย
(6) พิจารณาจัดทาและควบคุมแผนการประชาสัมพันธ์ ตลอดจนรณรงค์ให้บุคลากรในองค์กร
เกิดความเข้าใจในการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ
2. คณะอนุกรรมการส่งเสริม QC.Circle จะมีหน้าที่สาคัญๆ ดังนี้
(1) จัดทาแผนประจาปีสาหรับการดาเนินการด้าน QC.Circle ภายใต้นโยบายตามแผนการการ
บริหารคุณภาพเชิงกลยุทธ์
(2) จัดทาแผนการประเมินผลการดาเนินการด้าน QC.Circle ทั่วทั้งองค์กร
(3) จัดทาแผนเผยแพร่ความรู้ QC.Circle สาหรับบุคคลากรทั่วทั้งองค์กรโดยเฉพาะแผนการฝึก
อบรบพนักงานใหม่
(4) จัดทาแผนการประชุมใหญ่ประจาปีขององค์กร เพื่อเสนอผลงาน QC.Circle ของพนักงาน
รวมทั้งแผนการประชุมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและจัดทัศนศึกษา
3. สานักเลขานุการ QC.Circle
ในองค์กรหลายแห่งที่มีบุคลากรไม่มากนัก การดาเนินงานด้านนี้อาจจะอยู่ภายใต้ “บริกร QC.Circle
(Quality Control Circle Facilitator)” เพียงคนเดียวก็ได้ และบริกรดังกล่าวหรือสานักเลขานุการคิวซีเซอร์เคิล
จะเป็นหน่วยงานในสังกัดฝ่ายประกันคุณภาพ หรือฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับใบพรรณนาลักษณะงาน
(Job Description: JD) ของฝ่ายประกันคุณภาพ และฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรเป็นสาคัญ
ในหลักการแล้ว สานักเลขานุการ QC.Circle หรือบริกร QC.Circle นี้ ควรมีหน้าที่รับผิดชอบ
หลักๆ ดังนี้คือ
(1) ทาแผนสนับสนุนการดาเนิน QC.Circle ทั่วทั้งองค์กร พร้อมทั้งทาการส่งเสริมให้เป็นไปตาม
แผน
(2) เป็นผู้ประสานงานระหว่างผู้จัดการฝ่ายต่างๆ ที่มี QC.Circle ในสังกัดกับกลุ่ม QC.Circle
และคณะอนุกรรมการส่งเสริม QC.Circle ทั้งนี้เพื่อให้ QC.Circle มีทิศทางตามนโยบายที่กาหนดโดย
คณะกรรมการ TQM
(3) เป็นผู้รับจดทะเบียนกลุ่ม QC.Circle และติดตามความก้าวหน้าและอุปสรรคเพื่อนาเสนอต่อ
คณะอนุกรรมการส่งเสริม QC.Circle ในการพิจารณา
(4) เป็นผู้ดาเนินการจัดประชุมประจาปีของ QC.Circle ภายในบริษัท
(5) จัดทาเอกสารเพื่อนาเสนอผลงานประจาปีของ QC.Circle
418 การควบคุมคุณภาพ

(6) ดาเนินการตามแผนเกี่ยวกับการฝึกอบรม QC.Circle ที่อนุมัติโดยคณะอนุกรรมการส่งเสริม


QC.Circle
(7) การออกวารสารเกี่ยวกับ QC.Circle
นอกจากองค์ประกอบ 3 ประการในโครงสร้างพื้นฐานของ QC.Circle นี้แล้วในบางองค์กร
(เฉพาะประเทศญี่ปุ่น) อาจจะจัดให้มีชมรมที่ปรึกษากลุ่ม QC.Circle และชมรมหัวหน้ากลุ่ม QC.Circle
ซึ่งเป็นองค์กรที่รวบรวมผู้ดารงตาแหน่งที่ปรึกษาและหัวหน้ากลุ่ม QC.Circle เข้ามาไว้ด้วยกัน เพื่อให้โอกาส
ผู้ดารงตาแหน่งที่ปรึกษา และหัวหน้ากลุ่มได้มีการปรึกษาหารือร่วมกันตามหลักการพัฒนาซึ่งกันและกัน จะมี
ผลโดยตรงต่อการยกระดับคุณภาพการทา QC.Circle ให้สูงขึ้น และถ้าหากมีการกาหนดชมรมที่ปรึกษาและ
ชมรมหัวหน้ ากลุ่ม QC.Circle ขึ้นมาในองค์กรแล้ว ก็ให้ดาเนินการประสานงานโดยสานักเลขานุการ
QC.Circle ในกรณีที่มีการแต่งตั้งชมรมที่ปรึกษา QC.Circle นี้ กาหนดให้มีหน้าที่หลักๆ ดังนี้
1. ปรับความสัมพันธ์กับสายงานบังคับบัญชาเพื่อเป็นการสนับสนุน QC.Circle
2. ทาการประชุมเพื่อวิเคราะห์สาเหตุและอุปสรรคของการบังคับบัญชาที่มีต่อการดาเนินการด้าน
QC.Circle
3. ดาเนินการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ QC.Circle มีการตื่นตัวและพิจารณาทบทวนนโยบายสาหรับ
QC.Circle
สาหรับชมรมหัวหน้ากลุ่ม QC.Circle นั้นกาหนดให้มีหน้าที่หลักๆ ดังนี้ คือ
(1) ดาเนินการประชุมเพื่อหารือระหว่างกลุ่ม QC.Circle เพื่อร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุและแก้ปัญหา
การดาเนินการที่มีความคาบเกี่ยวกัน
(2) ดาเนินการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกลุ่ม QC.Circle
(3) พิจารณาทบทวนกลวิธีการควบคุมคุณภาพ ตลอดจนการปฏิบัติการด้าน QC.Circle
(4) พิจารณาถึงความต้องการเกี่ยวกับกลวิธีการควบคุมคุณภาพพร้อมการพัฒนาให้สอดคล้องกับ
การประยุกต์ใช้กับ QC.Circle ในองค์กร
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 419

คณะกรรมการ TQM

คณะอนุกรรมการอื่นๆ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการอื่นๆ


QC.Circle

เลขานุการ

กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม


QC.Circle QC.Circle QC.Circle QC.Circle
(ฝ่ายผลิต) (ฝ่ายขาย) (ฝ่ายบริหาร) (ฝ่ายอื่นๆ)

รูปที่ 7.5 โครงสร้างขั้นพื้นฐานของ QC.Circle


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)

7.2.2 การกาหนดหัวข้อปัญหา
การดาเนินการควบคุมคุณภาพเน้นการแก้ปัญหาควบคู่ไปกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้น
ขั้นตอนการกาหนดหัวข้อปัญหาจึงถือเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญมากที่สุด (กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, 2547)
เพราะหากกลุ่ม QC.Circle มีการระบุปัญหาไม่ถูกต้อง คือ ไม่เหมาะสมกับกลุ่มแล้ว ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นก็
จะมีผลทาให้ขั้นตอนอื่นๆ ผิดพลาดตามไปด้วย ดังนั้นกลุ่ม QC.Circle จะต้องใช้ความพยายามค่อนข้างมากใน
การกาหนดหัวข้อปัญหานี้ Hosotani K. (1992) ได้จาแนกประเภทปัญหาได้ดังนี้
ก. ปัญหาประจาบ้าน (Everyday Problems) เป็นปัญหาที่เกิดได้เสมอในชีวิตประจาวันและการ
ทางาน อาทิ ตัวจับยึดงานจับงานไม่แน่นทาให้ชิ้นงานหลุดออกขณะทางาน หรือการประกอบชิ้นส่วนผิดข้าง
ฯลฯ โดยปกติแล้วปัญหากลุ่มนี้ควรมีการแก้ไขด้วยการให้พนักงานมีจิตสานึกต่อปัญหาและคุณภาพ ด้วยการ
ปรับสถานที่ทางานให้สามารถตรวจสอบด้วยตาเปล่า (Visual Control) ได้โดยผ่านกิจกรรม 5 ส
ข. ปัญหาที่ได้รับมอบหมายให้แก้ (Problems given to solve) เป็นปัญหาที่ผู้บังคับบัญชาได้
มอบหมายให้ รั บ ไปแก้ไข เช่น ให้ ล ดข้อบกพร่องในการผลิ ตลง 1% ลดค่าใช้จ่ายด้านพลั งงานในการเดิน
เครื่องจักรผลิตลง 10% เป็นต้น โดยปกติแล้วปัญหากลุ่มนี้ควรมีการแก้ไขผ่านการกระจายนโยบายด้วยตัว
แบบการบริหารแบบข้ามสายงาน (A cross functional management)
ค. ปัญหาที่คิดค้นมาเพื่อแก้ไข (Problems we have sought out) เป็นปัญหาที่มองอย่างผิวเผิน
แล้วจะไม่พบปัญหาที่เป็นรูปธรรมชัดเจน หรือมีใครระบุได้ว่าเป็นประการใดแต่อาจเชื่อว่าคงมีอยู่ และหาก
ดาเนิ น กิจ กรรมต่อ ไปก็ จ ะพบปั ญ หาเช่ นนี้ ไ ด้ เช่น อัต ราการเพิ่ มผลิ ตภาพต่ าลง เนื่ อ งจากมี ก ารก าหนด
มาตรฐานงานได้ไม่เหมาะสม เป็นต้น
420 การควบคุมคุณภาพ

โดยทั่วไปแล้วการกาหนดหัวข้อปัญหาสาหรับกลุ่ม QC.Circle ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาประเภท ค.


(ในหัวข้อ 7.2.2) ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่กลุ่มจะพยายามคิดค้นเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยอาศัยแนวความคิดของ
คุณภาพ โดยเฉพาะแนวความคิดลูกค้าภายใน
จากการรวบรวมสถานประกอบการต่างๆ ของกลุ่ม QC.Circle มีหัวข้อต่างๆ ที่น่าจะเป็นไปได้ คือ
1. หัวข้อเกี่ยวกับคุณภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
(1) ลดของในแผนก
(2) ลดวัสดุส่งคืนจากแผนกอื่นๆ
(3) ลดความผิดพลาดในการตรวจหรือส่งสินค้า
(4) ลดค่าเปลี่ยนแปรคุณภาพ
2. ลดรายจ่ายต้นทุนต่างๆ
(1) เพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น
(2) ลดรายจ่ายในการใช้พัสดุ เครื่องใช้ต่างๆ
(3) เพิ่มอัตราการใช้เครื่องจักร
(4) ลดขั้นตอนในการทางานที่ไม่จาเป็น
(5) ควบคุมการซื้อและการใช้วัสดุต่างๆให้คุ้มค่า
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
(1) เพิ่มอัตราการผลิตต่อหน่วยเวลาหรือต่อคนให้มากขึ้น
(2) ผลิตวัสดุ สิ่งของตามแผนที่กาหนดไว้
(3) ควบคุมวัสดุต่างๆ ให้ได้ตามกาหนด
(4) ลดอัตราเสีย หรือการซ่อมเครื่องจักร
4. เพิ่มความสานึกในเรื่องคุณภาพ
(1) เข้มงวดกวดขันในเรื่องคุณภาพ ความปลอดภัย และความสะอาด เพื่อเป็นหลักประกันของ
คุณภาพผลิตภัณฑ์
(2) กระตือรือร้นในการเสนอแนะปรับปรุงงานต่างๆ
(3) ลดอัตราการขาดงาน
(4) เพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน
5. ปรับปรุงมาตรฐานการทางาน
(1) จัดและปรับปรุงมาตรฐานต่างๆ ที่มีอยู่ให้ทันสมัยเสมอ
(2) จัดทาและปรับปรุงแบบฟอร์มต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ
(3) ป้องกันการทางานผิดพลาด
(4) ส่งเสริมให้มีการจดบันทึกรายงานต่างๆ อย่างถูกต้องและสะดวก
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 421

6. หัวข้ออื่นๆ
(1) ให้การศึกษาและฝึกอบรม
(2) ขยายความรู้พื้นฐานต่างๆ
7.2.3 ขั้นตอนโดยทั่วๆ ไปของการจัดทา QC.Circle
สาหรับขั้นตอนโดยทั่วๆ ไปของการจัดทา QC.Circle จะสรุปได้ดังแสดงในรูปที่ 7.7 ซึ่งการ
ด าเนิ น การตามขั้ น ตอนต่ า งๆ จะต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ เ งื่ อ นไขที่ มี ก ารยอมรั บ และเล็ ง เห็ น ถึ ง ผลประโยชน์ ข อง
QC.Circle ต่อการแก้ปัญหาหน้างานของฝ่ายบริหารแล้ว
ในขั้นตอนการดาเนินการ QC.Circle จะเป็นขั้นตอนการค้นหา และแก้ปัญหาโดยประกอบด้วย
7 ขั้นตอน ซึ่งจะเรียกขั้นตอนการแก้ปัญหานี้ว่า “คิวซีสตอรี (QC Story)” ซึ่งในที่นี้จะใช้คาทับศัพท์เพราะไม่มี
คาทับศัพท์ใดๆ ในภาษาไทยที่จะให้ความหมายได้ตรง และการแก้ปัญหาในการทา QC.Circle ก็มีความ
จาเป็นต้องทาให้เป็นลาดับก่อนหลัง มีความต่อเนื่องไม่รู้จบ เพราะแม้เหตุการณ์จะจบลงก็ต้องคิดต่ออีกว่า
ความข้างหน้าจะเป็นอย่างไร
กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาคิวซีสตอรี่ เป็นกระบวนการที่มุ่งสู้การแก้ปัญหาภายใต้เงื่อนไขการ
พัฒนาบุคลากรให้เข้าใจถึงหลักการในการบริหารโครงการด้วยวงจร P-D-C-A โดยในคิวซีสตอรี่ประกอบด้วย
ขั้นตอนสาคัญ 7 ประการ คือ
1. การกาหนดหัวข้อปัญหา ซึ่งได้มาจากการกาหนดแนวความคิดของกลุ่มเพื่อจะกาหนดผลิตภัณฑ์
และนิยามถึงลูกค้าภายใน เพื่อการกาหนดความคาดหมายของลูกค้าสาหรับเป็นเป้าหมายคุณภาพ และเมื่อมี
การเฝ้าพินิ จผลการดาเนินการก็จะทราบได้ทันทีว่ามีปัญหาอะไรบ้าง ก่อนจะนาไปวิเคราะห์ด้วยหน้าต่ าง
ปัญหาของโฮโซตานิ เพื่อเลือกเฉพาะปัญหาประเภท A (ปัญหาที่ไม่ทราบสาเหตุรากเหง้าและมาตรการแก้ไข
ดังรูปที่ 7.6) ไปดาเนินการเลือกสาหรับกาหนดปัญหาหัวข้อต่อไป

ปัญหา B ปัญหา A
ปัญหาไฮเทค ปัญหาที่มีมลู ค่าเพิม่ ต่อ
มาตรการการแก้ไขปัญหา

ไม่ทราบ

กลุ่ม QC.Circle
ปัญหา C ปัญหา D
ปัญหาพื้นๆ ปัญหาที่ต้องการดูแล
อย่างใกล้ชิด
ทราบ

ทราบ ไม่ทราบ
การทราบสาเหตุรากเหง้าที่แท้จริงของปัญหา

รูปที่ 7.6 หน้าต่างปัญหาของโฮโซตานิ


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
422 การควบคุมคุณภาพ

ปัญหา C เป็นปัญหาพื้นๆ ซึ่งทราบทั้งสาเหตุรากเหง้าที่แท้จริงของปัญหา และทราบมาตรการ


การแก้ไขปัญหาแล้ว ปัญหาแบบนี้จึงไม่ควรนามาทา QC.Circle แต่ควรนาไปวิเคราะห์ในงานประจาวัน และ
หัวหน้างานควรเป็นผู้นาในการแก้ปัญหานี้ที่หน้างาน
ปัญหา B เป็นปัญหาไฮเทค เนื่องจากทราบถึงสาเหตุรากเหง้าที่แ ท้จริงของปัญหา แต่ไม่ทราบ
มาตรการแก้ไขปัญหา ปัญหาแบบนี้ไม่เหมาะกับ QC.Circle เพราะสามารถทาการแก้ไขได้โดยปรึกษากับ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางทางด้านเทคนิคได้ ซึ่งต้องลงทุนค่อนข้างสูง
ปัญหา D เป็น ปัญหาที่สามารถกาหนดมาตรการแก้ไขที่เหมาะสมได้ แต่ยังไม่ทราบสาเหตุ
รากเหง้าของปัญหา ซึ่งถ้าหากมีการกาหนดให้มีการสอบประเมินผลและให้หัวหน้างานในสายการผลิตช่วย
อบรมแบบ On the Job Training (OJT) ก็สามารถทาให้ปัญหาหายไปได้ แต่ต้องอาศัยการลงทุนที่ค่อนข้าง
สูง
ปัญหา A เป็นปัญหาที่ไม่ทราบทั้งสาเหตุรากเหง้าของปัญหา และมาตรการแก้ไขจึงถือว่ าปัญหา
ประเภทนี้จะมีความท้าทาย และมีคุณค่ามากที่สุดต่อกลุ่ม QC.Circle ในการใช้คิวซีสตอรี่ เพื่อการวิเคราะห์
และแก้ไขปัญหา โดยในกระบวนการแก้ปัญหานี้จะทาให้ เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างต่อเนื่องได้
ดังนั้นปัญหาที่กลุ่ม QC.Circle จะเลือกมาแก้ไขต้องเป็นปัญหาประเภทนี้เท่านั้น
ในการเลือกปัญหา จะเลือกบนพื้นฐานขององค์ประกอบ 3 ประการ คือ ความถี่ของการเกิด
ปัญหา ความรุนแรงที่ปัญหามีผลต่อลูกค้า และความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา
2. การสังเกตการณ์ในประเด็นที่เกี่ยวกับอาการ สถานที่ เวลา และความรุนแรง เพื่อกาหนดแนวทาง
ว่าจะดาเนินทางแก้ไขปัญหาอย่างไร และถ้าหากแก้ได้จริงจะมีผลต่อปัญหามากน้อยเพียงไร ก็สามารถนา
ตัวเลขดังกล่าวไปกาหนดเป้าหมายสาหรับการแก้ปัญหาได้
3. การวางแผนโครงการวิเคราะห์ และแก้ปัญหาโดยอาศัยสารสนเทศจากที่สังเกตการณ์ได้ และให้
แสดงผลลงในแผนภูมิของแกรนท์ ซึ่งแผนภูมินั้นนอกจากจะใช้วางแผนโครงการแล้ว ยังสามารถใช้เฝ้าพินิจ
เพื่อควบคุมโครงการด้วย
4. การวิเคราะห์สาเหตุ ด้วยการระดมสมองเพื่อสร้างสมมุติฐานของสาเหตุจากนั้นให้ดาเนินการ
พิสูจน์ด้วยเครื่องมือทางสถิติที่เหมาะสม
5. กาหนดมาตรการตอบโต้และปฏิบัติ ซึ่งได้มาจากการระดมสมอง หรือการใช้หลักการของการ
ปรับปรุงงานให้ง่าย คือ หลักการ 5W1H และ ECRS เพื่อกาหนดมาตรการตอบโต้ และเลือกมาตรการที่
เหมาะสมโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ทางเทคนิคและเศรษฐศาสตร์
ในบางกรณี กลุ่ม QC.Circle อาจไม่มีความจาเป็นต้องกาหนดมาตรการตอบโต้ เพื่อการแก้ ไขปัญหา
จากความคิดสร้างสรรค์นี้ก็ได้ แต่สามารถหาวิธีการแก้ไขด้วยการวิเคราะห์จุดบกพร่องของวิธีการทางานเดิม
ด้วยหลักการของลีน (Principle of Leans) คือการใช้การวิเคราะห์ด้วย 5W1H และปรับปรุงด้วยหลักการ
ECRS ดังแสดงในตารางที่ 7.5
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 423

ตารางที่ 7.5 การปรับปรุงด้วยหลักการของลีน (Principle of Leans)

ประเด็น สถานะปัจจุบัน เหตุผล แนวทางอื่น บทสรุป


1. จุดประสงค์ หวังผลอะไรจาก ทาไม (Why) กาจัดทิ้งได้ไหม จุดประสงค์คืออะไร
(What) วิธีการทาในปัจจุบัน หวังผลอย่างนั้น (Eliminate)
2. สถานที่ (Where) ปัจจุบันทางานนี้ที่ ทาไม (Why) รวมสถานที่ทางานเข้า ทาที่สถานที่ใด
สถานที่ใด ทางานที่สถานที่นั้น ด้วยกันได้ไหม
(Combine)
3. ลาดับขั้น (When) ปัจจุบันมีลาดับ ทาไม (Why) สามารถสลับขั้น การทางานควรมีขั้น
ขั้นตอนการทางาน มีลาดับขั้นตอนอย่าง ตอนการทางานได้ไหม ตอนอย่างไร
อย่างไร นั้น (Rearrange)
4. บุคลากร (Who) ปัจจุบันมอบหมายให้ ทาไม (Why) คนอื่นทาได้ไหม ควรให้ใครเป็น
ใคร ให้คนนั้น คนทางานนี้
ทางานนี้
5. วิธีการ (How) ปัจจุบันมีวิธีการ ทาไม (Why) มีวิธีการทางานที่ง่าย ควรมีวิธีการทางาน
ทางานอย่างไร มีวิธีการทางานอย่าง กว่านี้หรือไม่ อย่างไร
นั้น (Simplification)

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540

6. การติดตามผล เพื่อพิจารณาถึงการปรับเปลี่ยนการทางาน เพื่อให้ลดแรงต่อต้านทั้งความเคยชิน


และแรงต่อต้านทางวิทยาการให้เหลือน้อยลง และพิจารณาข้อมูลเพื่อแสดงสภาวะเสถียรภาพของกระบวนการ
จากนั้นให้เปรียบเทียบผลก่อนและหลังการแก้ไข
7. การทาให้เป็นมาตรฐาน เพื่อจุดประสงค์ในการรักษาสภาพของมาตรการตอบโต้ที่ประยุกต์ใช้ไป
แล้วให้ดารงไว้ในระบบเพื่อมิให้ปัญหาเกิดขึ้นซ้าอีก ดังแสดงในรูปที่ 7.8
424 การควบคุมคุณภาพ

ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่ม ขั้นตอนการดาเนินการ


ผู้บริหารระดับสูงแต่งตั้ง 1. ค้นหาหัวข้อปัญหา
คณะอนุกรรมการ รวบรวมสมาชิก
ส่งเสริม QC.Circle
2. สารวจสภาพปัจจุบัน
และตั้งเป้าหมาย
มอบหมายงานในกลุ่มเป็น
กาหนดแผนกลยุทธ์
หัวหน้ากลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และ
และแผนการดาเนินงาน
สมาชิกกลุ่ม QC.Circle
QC.Circle
3. วางแผนกิจกรรม

จัดตั้งสานักงาน 4. การวิเคราะห์สาเหตุ
การตั้งชื่อกลุ่ม
เลขานุการ QC.Circle
 กาหนดคาขวัญ
 กาหนดสัญลักษณ์
5. พิจารณาหารมาตรการ
ฝึกอบรมทั่วองค์กร ตอบโต้และปฏิบัติ
เกี่ยวกับแนวความคิด
คุณภาพ และ
QC.Circle จดทะเบียนกลุ่ม
6. ติดตามผล

ใบทะเบียนประวัติ
กลุ่ม QC.Circle 7. การทาให้เป็นมาตรฐาน

เสนอผลงาน

รูปที่ 7.7 ขั้นตอนทั่วไปของการทา QC.Circle


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 425

มีผลิตภัณฑ์บกพร่อง หรือข้อบกพร่อง
เกิดขึ้น

วางแผนและนามาตรการตอบโต้แบบฉุกเฉินมาใช้

สืบสวนหาสาเหตุของข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น

มี
มีมาตรฐานงานหรือไม่
ไม่มี

จัดทามาตรฐานงาน ไม่
เพื่อให้ใช้กับพนักงานทุกคน (1) เหมาะสมหรือไม่

แบบฟอร์มไม่ ยากต่อการทา ไม่เหมาะสมต่อ


เหมาะสม ความเข้าใจใน ก า ร ป ฏิ บั ติ
ระดับพนักงาน หรื อ ไม่ น าไปสู่
ผลที่ดี
ตกลงจะใช้ต่อไป
หรือไม่ถ้าตกลงว่า เขียนใหม่โดยใช้ ทบทวนใหม่โดย
ใช่ ต้องมีการเขียนใหม่ แผนภูมิและ พิจารณาความ
(2) แผนภาพเข้าช่วย เหมาะสมทาง
เพื่อให้เกิดความ เทคนิค (4)
เข้าใจ (3)
ไม่ ปฏิบัติตาม ใช่
มาตรฐานหรือไม่

พนักงานไม่เข้าใจ พนักงานขาด พนักงานไม่เห็นความสาคัญ เงื่อนไขในการ วิธีการทาง่าย


หรือเข้าใจผิด ความสามารถในการทา ของการทาตามมาตรฐาน ทางานไม่เหมาะสม ต่อการทาผิด
ตามมาตรฐาน
พิจารณาสถานทีแ่ ละ ปรับปรุงการทางาน
สอนให้เข้าใจ สอนและแนะนาให้ทา ปรับเงื่อนไขในการ ด้วยวิธีการป้องกัน
มาตรฐาน (5) อบรมด้านเทคนิคหรือย้าย
งานไปตาแหน่งอื่น (6) ตามมาตรฐาน (7) ทางานให้เหมาะสม (8) ความเผอเรอ (9)

รูปที่ 7.8 ขั้นตอนของการทาให้เป็นมาตรฐาน QC.Circle


(ที่มา: Hosotani K., 1992)
426 การควบคุมคุณภาพ

7.2.4 วิธีการประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ
การปฏิบัติการ QC.Circle นิยมทางานด้วยกลุ่มย่อย ดังนั้นเพื่อให้ดาเนินการด้าน QC.Circle เป็นไป
อย่างมีประสิทธิผล จึงมีความจาเป็นต้องทาให้การประชุมมีประสิทธิภาพมากที่สุด สาหรับขั้นตอนการประชุม
จะต้องมีการวางแผนการประชุม การดาเนินการประชุม และการสรุปผลการประชุม
ในขั้นตอนการวางแผนการประชุม ผู้ที่ทาหน้าที่ ผู้นากลุ่ม QC.Circle จะต้องทาหน้าที่วางแผน
เนื้อหาที่จะให้ประชุม พิจารณาด้วยการกาหนดหัวข้อให้ชัดเจนและควรมีการกาหนดการประชุมสามัญไว้
ล่วงหน้า เพื่อให้เกิด ความสะดวกในการวางแผนการมอบหมายงาน สาหรับใบเชิญประชุมควรคลอบคลุ ม
QC.Circle

ตารางที่ 7.6 ตัวอย่างของการวางแผนการประชุม QC.Circle

จุดประสงค์ เลือกหัวข้อปัญหา กาหนดเป้าหมาย ฯลฯ


กาหนดการ อภิปรายเกีย่ วกับภาระงานเพื่อเลือกปัญหา และกาหนดหัวข้อปัญหา ฯลฯ
ผู้เข้าร่วมประชุม ที่ปรึกษาและสมาชิก QC.Circle.........................
วันเวลา วันที่.............เดือน.......................พ.ศ. .....................
ระหว่างเวลา........................น. ถึง............................น.
สถานที่ ห้องประชุมแผนก......................................................
วิธีการ การชี้แจงแนะนา การอภิปราย ฯลฯ

ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540

การเริ่มการประชุม หัวหน้ากลุ่มในฐานะประธานที่ประชุม (ในบางกรณีอาจจะกาหนดให้ สับเปลี่ยน


ประธานที่ประชุมเรื่อยๆ เพื่อเป็นการพัฒนาสมาชิกให้สามารถทางานในฐานะประธานได้) ควรจะมีการแจ้ง
วาระการประชุมอีกครั้ ง พร้ อมกับ ความคาดหมายของผลที่จะได้รับของแต่ล ะวาระ เพื่อให้ ส มาชิกได้ยึด
ประเด็นสาคัญในแต่ละวาระได้มากที่สุด และด้วยเหตุผลที่การประชุมแต่ละครั้งมีเ วลาจากัดประธานที่ประชุม
ควรยึดถึงวิธีการประชุมในแต่ละวาระให้ชัดเจน
เมื่อจบการประชุมแล้ว ควรมีการสรุปเนื้อหาของการประชุม และขอการรับรองความถูกต้องจากที่ประชุม
ในกรณีที่มีการมอบหมายงานให้ สมาชิกกลั บไปดาเนินการ ส าหรับการประชุมครั้งต่อไปจะต้องมีการกาหนด
ผู้รับผิดชอบและเวลาที่ชัดเจนเพื่อส่งให้ผู้บังคับบัญชาได้รับทราบ และสามารถตรวจสอบติดตามความคืบหน้าของ
การปฏิบัติ QC.Circle ได้ในทุกโครงการที่ QC.Circle ดาเนินการสิ้นสุดลงแล้ว จะต้องมีการสรุปผลงานและนาเสนอ
ต่อคณะผู้ บริ หารได้รั บทราบ โดยผลงานดังกล่ าวจะต้องได้รับการรวบรวมไว้เป็นประวัติโดยสานักเลขานุการ
QC.Circle เสมอ และควรมีการสรุปประเด็นปัญหาการดาเนินงานให้คณะอนุกรรมการส่งเสริม QC.Circle รับทราบ
เสมอเพื่อแก้ไขเชิงนโยบายต่อไป
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 427

7.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)


ปรียาวดี ผลอเนก (2556) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องหรือกิจกรรมไคเซน (Kaizen) เป็นภาษาญี่ปุ่นซึ่งมี
ความหมายมาจากคา 2 คา คือ Kai หมายถึง การเปลี่ยนแปลง (Change) และ Zen หมายถึง ดี (Good) ซึ่ง
ไคเซนนั้นเป็นปรัชญาของการรวมกิจกรรมทางธุรกิจทั้งหมดไว้ด้วยกันและเน้นการมีส่วนร่วมในการทางานเป็น
ทีม ในปรัชญาความคิดของไคเซนนั้นมุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงต้นทุนในการบริหารพื้นที่ภายในองค์กร ตาราง
การส่งมอบสิ นค้า ความปลอดภัย ของพนักงาน การพัฒนาทักษะในการทางาน การพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ใหม่
ความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ (Supplier) และการเพิ่มผลผลิต โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสนับสนุนการปรับปรุง
คุณภาพขององค์กร ดังนั้นกิจกรรมต่างๆ ที่จะสนับสนุนการปรับปรุงคุณภาพขององค์กรจึงอยู่ภายใต้รากฐาน
ของไคเซน ซึ่งกิจกรรมนั้นจะเป็นตัวสร้างวัฒนธรรมการควบคุมคุณภาพภายในองค์กรอย่ างเป็นระบบ ไม่ว่า
จะเป็นนวัตกรรมการสร้างหุ่นยนต์และการใช้เ ทคโนโลยีขั้นสูง การจัดตั้งระบบ การรับฟังข้อเสนอแนะของ
พนักงาน การรักษาอุปกรณ์การทางาน และระบบการผลิตที่ทันเวลาพอดีทั้งหมดที่กล่าวมาล้วนเป็นตัวนาใน
การปรับปรุงคุณภาพด้วยกันทั้งสิ้น
7.3.1 หลักการของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดพื้นฐานของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง คือ การสร้างคุณภาพในกระบวนการผลิตมากกว่า
การตรวจสอบสินค้าสาเร็จเพื่อหาสินค้าที่บกพร่อง (Defect) วิธีที่จะประสบความสาเร็จในการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่องวิธีหนึ่งคือ “คุณภาพ ณ แหล่งกาเนิด (Quality at the source)” หมายความว่า พนักงานทุกคน
จะต้องตรวจสอบคุณภาพด้วยตัวเองโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันไม่ให้ชิ้นส่วนที่มีข้อบกพร่องหลุดออกจาก
สถานีในการทางาน และเคลื่อนย้ายไปยังกระบวนการถัดไปได้
แนวทางอีกวิธีหนึ่งที่เป็นที่รู้จักคือ Jidoka ในระบบการผลิตแบบโตโยต้า (Toyota: TPS) ได้ใช้
Jidoka เป็ น เครื่ องมือ ส าหรั บ การป้ องกันปัญหาด้านคุณภาพที่เกิดขึ้นซ้าๆ ในขั้นตอนการผลิ ตอย่างมี
ประสิ ทธิภ าพ หากชิ้น ส่ ว นที่บ กพร่ องหรืออุป กรณ์ที่ผิ ดปกติ ถูกค้น พบ เครื่ องจักรก็จะหยุ ดผลิ ตทันที โ ดย
อัตโนมัติและผู้ปฏิบัติงานก็จะหยุดงานและตรงเข้าแก้ไข้ปัญหานั้นทันที ดังนั้น Jidoka จึงหมายถึงการหยุด
เครื่องจักรโดยอัตโนมัติด้วยระบบสัมผัสของมนุษย์ (Verma & Boyer อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 72)
การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องอีกหนึ่งวิธีการก็คือ การค้นหารากเหง้าของปัญหา คือ เทคนิค
5 Why’s โดยการถามทาไมเป็นจานวน 5 ครัง้ (Russell & Taylor อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 73)
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทาไคเซน การปรับปรุงด้วยกิจกรรมไคเซนโดยปราศจากลงทุน ก่อให้เกิด
ประโยชน์ ดังต่อไปนี้
1. ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 40 %
2. งานระหว่างทา (WIP) ลงลง 70%
3. เวลาในการปรับตั้งเครื่องจักรลดลง 30%
4. การลดพื้นที่เพื่อใช้ในการผลิตเพิ่มขึ้น 40% โดยปราศจากการลงทุนเพิ่ม
ไคเซนเป็นการปรับปรุงทีละเล็กทีละน้อยโดยมีการปรับปรุงอยู่อย่างต่อเนื่อง ไคเซนไม่จาเป็นต้องใช้
เงินลงทุน แต่ไคเซนต้องการเวลาและความพยายามของพนักงานทุกคนในองค์กร รวมถึงการบริหารงานที่
ถูกต้องของผู้บริหารระดับสูง อีกประการหนึ่งไคเซนนั้นประสบความสาเร็จได้ เนื่องจากการบริหารจัดการที่ดี
ซึ่งเป็นวิธีการปรับปรุงที่ไม่ว่าองค์กรใดในโลกก็สามารถทาได้ ไคเซนเรียกร้องให้มีการปรับปรุงอย่างไม่มีที่
428 การควบคุมคุณภาพ

สิ้นสุด นั่นหมายถึง การปรั บปรุงไม่ได้เป็นกิจกรรมที่ทาเพียงแค่ครั้งเดียว แต่เป็นกิจกรรมที่ทาอย่างต่อเนื่อง


กระบวนการก็จะมีความเสถียรรวมถึงพนักงานก็ทราบขอบเขตในการปรับปรุงงานมากขึ้น
7.3.2 กิจกรรมไคเซน
ไคเซนประกอบด้วยกิจ กรรม 2 ชนิด คือ การซ่อมบารุง (Maintenance) และ การปรับปรุง
(Improvement) (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556) ซึ่งรวมไปถึงการสร้างกระบวนการ การบารุงรักษาเกี่ยวข้อง
กิจกรรมด้วนเทคโนโลยี การบริหาร และมาตรฐานการดาเนินงาน ดังนั้นองค์กรควรจะมีส่วนร่วมกับกิจกรรม
2 กิจกรรมที่แตกต่างกันนี้ไปพร้อมๆ กัน คือ การซ่อมบารุง และการปรับปรุงตามหลักของไคเซนเพื่อปรับปรุง
มาตรฐาน อย่ างไรก็ตามแม้ว่า ไคเซนจะเป็ นหลั กในการสร้างหรือเปลี่ ยนแปลง แต่ก็มีความแตกต่างจาก
นวัตกรรม คือ นวัตกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อการปรั บปรุงกระบวนการที่มีอยู่ ส่วนไคเซนนั้นมีการดาเนินการ
พร้อมกับการบารุงรักษาอย่างต่อเนื่องในการผลิตขององค์กรในปัจจุบัน
กิจกรรมไคเซนในประเทศญี่ปุ่นมีลักษณะดังนี้
1. หาวิธีทางใหม่หรือปรับปรุงแนวทางในการดาเนินการในปัจจุบัน
2. ปรับปรุงสภาวะการทางาน
3. ปรับปรุงกระบวนการ
4. ปรับปรุงกาลังการผลิตของเครื่องจักร
5. ปรับปรุงการใช้ประโยชน์ของเครื่องมือ และตัวยึดจับอุปกรณ์ (Fixture)
6. ปรับปรุงระบบการบริหารบริหารทรัพยากรมนุษย์ด้วยการฝึกอบรม และการหมุนเปลี่ยนงาน
(Job Rotation)
7. ปรับปรุงผังโรงงาน
ความรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ของพนั ก งานคื อ การรั ก ษามาตรฐานการท างาน ส่ ว นหั ว หน้ า งาน
(Supervisor) จะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในความพยามยามในการทาไคเซน (Kaizen) ซึ่งหน้าที่หลัก คือ การ
รักษาระบบในปัจจุบัน ไม่ให้มีความผิดปกติ ในขณะเดียวกันผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับสูงจะต้อง
สนใจกิจกรรมไคเซน โดยมีละเอียดดังต่อไปนี้
1. ปรับปรุงคุณภาพกระบวนการ โรงงาน และผลิตภัณฑ์
2. ลดระดับสินค้าคงคลังให้เหลือน้อยที่สุด และงานระหว่างทาลดน้อยลง (ในที่นี้หมายถึงสินค้า
ระหว่างผลิต แต่ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป)
3. การปรับปรุงการยศาสตร์ (Ergonomics) เพื่ออานวยความสะดวกแก่ ทรัพยากรบุคคลเพื่อ
ผลผลิตที่ได้มีประสิทธิภาพสูงสุด
4. รับฟังข้อเสนอแนะจากพนักงาน
5. เห็นความสาคัญในการทางานเป็นทีม
6. ปรับปรุงระบบในองค์กร
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 429

7.3.3 หลักการพื้นฐาน 3 ประการของไคเซน


หลักพื้นฐานสาคัญ 3 ประการของไคเซน (Ramasamy อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 75)
มีดังต่อไปนี้
1. สถานที่ทางานมีประสิทธิภาพ
ชาวญี่ปุ่นได้พัฒนาเครื่องมือ 5ส มาร่วมใช่กับกิจกรรมไคเซน เพื่อพัฒนาสถานที่ทางานให้ มี
ประสิทธิภาพ
2. การกาจัดความสูญเปล่า ความไม่สม่าเสมอ และสภาวะที่เกินกาลัง (3 MUs)
กิจกรรมไคเซนจะสัมฤทธิ์ผลได้นั้นต้องใช้กิจกรรม 5ส สาหรับพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน
และกาจัดความสูญเปล่า (3 MUs) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ดังตารางที่ 7.7

ตารางที่ 7.7 กิจกรรม 3 MUs

กิจกรรม 3 MUs
1. Muda ความสูญเปล่า
2. Mura ความไม่สม่าเสมอ
3. Muri สภาวะที่เกินกาลัง

หากความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตไม่ถูกขจัดออกไปจะกลายเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับองค์กร
เนื่องจากความสูญเปล่าในกระบวนการที่ได้ผลิตสินค้าออกมานั้นถือเป็นค่าใช้จ่าย และเป็นต้นทุนสาหรับความ
สูญเปล่าในองค์กร ดังนั้นการกาจัดความสูญเปล่าในกระบวนการ และความไม่สม่าเสมอสภาวะที่เกิ นกาลัง
จะต้องคานึงถึงการลดและกาจัดสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
(1) ทรัพยากรมนุษย์
(2) ปริมาณการผลิต
(3) สินค้าคงคลัง (วัตถุดิบ)
(4) เวลา
(5) พื้นที่ทางาน
(6) เครื่องจักร
(7) เทคนิค
(8) สิ่งอานวยความสะดวก
3. งานที่เป็นมาตรฐาน
ไคเซน (Kaizen) มุ่งเน้นไปที่กระบวนการที่เป็นมาตรฐาน วัตถุดิบ เครื่องจักร และกระบวนการ
ผลิต โดยมีละเอียดดังต่อไปนี้
3.1 เผยให้เห็นถึงสิ่งที่ดีที่สุด ง่ายที่สุด และเป็นวิถีทางที่ปลอดภัยที่สุดในการกาหนดขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน (Procedure) และข้อแนะนาในการทางาน (Work Instruction: WI)
3.2 เผยให้เห็นถึงวิถีทางที่ดีที่สุดในการรักษาความรู้ ความเชี่ยวชาญ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ที่เป็นมาตรฐาน
430 การควบคุมคุณภาพ

3.3 มีตัวชี้วัดที่มีประสิทธิภาพ และงานที่เป็นมาตรฐาน


3.4 โปรมแกรมการฝึกอบรมที่เป็นมาตรฐาน
3.5 การตรวจสอบ และการวินิจฉัยปัญหาที่เป็นมาตรฐาน
3.6 ขั้นตอนในการป้องกันการเกิดขึ้นของข้อผิดพลาดและลดความแปรปรวนที่เป็นมาตรฐาน
ดังนั้นไคเซนจึงประกอบด้วยหลักพื้นฐานสาคัญ 3 ประการซึ่งใช้ประโยชน์จาก 5ส ในการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพสถานที่ทางานลด และขจัดความความสูญเปล่า (3 MUs) เช่นเดียวกับวิธีการปฏิบัติงาน
ที่เป็นมาตรฐาน
7.3.4 เป้าหมายของไคเซน
การวางเป้าหมายในการดาเนินกิจกรรมไคเซนควรจะเข้าใจได้ง่าย ดังแสดงในตารางที่ 7.8

ตารางที่ 7.8 เป้าหมายของไคเซน

เป้าหมายของไคเซน
1. การน าไคเซนไปใช้ ไ ม่ ใ ช่ เ พื่ อ ผลก าไรแต่ เ พื่ อ คุ ณ ภาพ 6. ไคเซนควรจะจัดลาดับความสาคัญของปัญหาบน
(ยกเว้นในกรณีที่องค์กรได้ปรับปรุงคุณภาพเมื่อการดาเนินงาน พื้ น ฐานของผลกระทบต่ อ ลู ก ค้ า ดั ง นั้ น ไคเซนจึ ง เป็ น
ไม่ประสบความสาเร็จ) กลยุทธ์การปรับปรุงที่ถูกขับเคลื่อนโดยลูกค้า
2. ความสาเร็จของไคเซนควรจะมีตัวชี้วัดซึ่งมีผลกระทบต่อ 7. ไคเซน คือ เครื่องมือแก้ไข บนพื้นฐานของทีมข้ามสาย
ความพึงพอใจของลูกค้า งาน (A cross functional team) และการร่วมแรงร่วม
ใจกัน
3. ไคเซนจะประสบความสาเร็จได้ถ้ามุ่งเน้นที่กระบวนการ 8. ไคเซน คื อ พื้ น ฐานในการปรั บ ปรุงกระบวนการใน
องค์กร
4. เป็นสิ่งสาคัญที่จะยอมรับว่าองค์กรนั้นมีปัญหาพนักงานเอง 9. ความร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น ระหว่ า งที ม ข้ า มสายงาน
ก็ควรที่จะยอมรับเมื่อมีปัญหาเช่นกัน (A cross functional team) เจ้าของกระบวนการ
ซึ่ ง เป็ น ผู้ ด าเนิ น งานโดยปกติ และการจั ด การเป็ น
สิ่งจาเป็นสาหรับความสาเร็จของไคเซน
5. ระบบข้อเสนอแนะเป็นส่วนหนึ่งของไคเซนการจัดการควร 10. วงจรคุ ณ ภาพสามารถเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของไคเซน
จะเป็นส่วนหนึ่งของพนักงานในการให้ข้อเสนอแนะ และมีส่วน เนื่องจากเป็นระบบข้อเสนอแนะเชิงกลุ่ม
ร่วมในกระบวนการปรับปรุง

ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556

ไคเซนเป็นแนวทางการปรับปรุงโดยใช้ต้นทุนที่ต่าสามารถใช้ได้กับทุกองค์กร ซึ่งเป็นตัวกาหนดการ
ปรั บ ปรุ ง กระบวนการเพื่อความพึงพอใจของลู กค้า อย่างไรก็ตามองค์กรจะยอมรั บว่าไคเซนนั้น เป็นการ
ปรับปรุงที่ไม่มีสิ้นสุด ซึ่งผลที่ได้รับจากการทาไคเซนคือการปรับปรุงผลิตภาพ ประสิทธิภาพ ผลกาไรคุณภาพ
ชีวิตที่ดีกว่าของพนักงานและความพึงพอใจของลูกค้า
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 431

7.3.5 การนาไคเซนไปใช้
องค์กรสามารถนาไปใช้ได้ 2 แนวทาง (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556) คือ
1. การปรับปรุงกระบวนการในการทางานทีละเล็กละน้อย โดยอยู่บนพื้นฐานการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่องตลอดเวลา (Continuous Improvement) โดยเน้นการมีส่วนร่วม (Participation) ของพนักงานทุก
คนในองค์กรเป็นหลักทีมปรับปรุงได้ใช้เครื่องมือคุณภาพทางสถิติ 7 ชนิด (7 QC Tools) ในการแก้ไขปัญหา
และเครื่องมือ 5ส ในการจัดระเบียบองค์ กรหรือโรงงานเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการทางาน นอกจากนี้
ทีมปรับปรุงยังลดหรือขจัดความสูญเปล่า (3 MUs) โดยใช้วงจร PDCA เข้ามามีส่วนรวมในการวางแผน
ปรับปรุงและนาไปใช้ ดังนั้น ไคเซนจึงเป็นผลกาไรระยะยาวในการปรับปรุงทุกๆ กระบวนการ
2. กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงแบบหน้า มือเป็นหลังมือ (KAIZEN BLITZ) ซึ่งทีมข้ามสายงาน
(A cross functional team) ได้ดึงความสามารถหลักขององค์กรมาใช้ในการปรับ ระบบกระบวนการใหม่ให้
รวดเร็วยิ่งขึ้นชนิดเปลี่ยนแปลงแบบหน้ามือเป็นหลังมือในการนาเข้าวัตถุ ดิบ การวางระบบโรงงาน การปรับ
กระบวนการผลิต และระบบการทาความสะอาด (Housekeeping) เป็นต้น
KAIZEN BLITZ รู้จักกันดีในนามของ KAIZEN Workshop ซึ่งมีเป้าหมายการทางานโดย
เฉพาะทีมข้ามสายงาน (A cross functional team) อันประกอบไปด้วยผู้จัดการ หัวหน้างาน พนักงาน และ
บางครั้งจะมีแผนกการตลาด และแผนกการเงินคอยให้คาปรึกษา หลังจากที่ทีมข้ามสายงานได้จัดตั้งขึ้นมาก็จะ
เข้ า สู่ โ ปรแกรมการอบรมสมาชิ ก ในที ม หั ว ข้ อ เรื่ อ ง ได้ แ ก่ การศึ ก ษากระบวนการ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล
การปรึ ก ษาตัว เลื อกในการปรั บ ปรุ ง ข้อเสนอแนะในการปรั บปรุง และข้อเสนอแนะในการเปลี่ ยน แปลง
โดยการเปลี่ยนแปลงจะดาเนินการด้วยความเห็นชอบของ QC การเปลี่ยนแปลงนี้อาจจะเรียกได้ว่าเป็นการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบอุปกรณ์ หรือการปรับเปลี่ยนกระบวนการเพื่อขจัดกระบวนการที่ไม่เพิ่มมูลค่า
หลังจากที่โตโยต้าได้ประสบความสาเร็จในการใช้หลักการของกระบวนการผลิตแบบทันเวลา
พอดี (Just in time) โตโยต้าก็จะเริ่มมองไปที่ซัพพลายเออร์ของบริษัท กลุ่มการศึกษาระบบอัตโนมัติถูกจัดตั้ง
โดย Taichi Ohno ซึ่งทางกลุ่มได้ไปเยี่ยมสถานที่จริง (Gemba) หมายถึง ตรวจเยี่ยมสถานที่ทางานของ
ซัพพลายเออร์ในแต่ละเดือน และดาเนินการปรับปรุงไคเซนจากสถานที่จริง หรือเรียกว่า Gemba Kaizen
ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นว่ามีประสิทธิภาพมากเพียงใด
โตโยต้าได้นา KAIZEN BLITZ มาใช้ในช่วงต้นยุคปี ค.ศ.1970 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
ของเครื่องจักร การปรับปรุงอุปกรณ์ การเปลี่ยนแปลงการเชื่อมต่อไฟฟ้า เป็นต้น อย่างไรก็ตามปัญหาในแต่ละ
Gemba Kaizen จาเป็นต้องเตรียมไว้ล่วงหน้า ถึงแม้ว่างานนั้นจะดาเนินอยู่ในช่วงระหว่างเวลาการเลือก
ปัญหาแล้วก็ตาม
KAIZEN BLITZ ได้สอนทักษะหลักแก่ทีมข้ามสายงาน จากนั้นทีมข้ามสายงานก็จะนาทักษะ
หลักที่ได้เรียนรู้ไปใช้ในกระบวนการ การนาเข้าวัตถุดิบ การติดตั้งการผลิต และระบบการทาความสะอาด
(Housekeeping)
เหตุการณ์ไคเซนเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์ โดยมีการเตรียมการณ์ไว้ ล่วงหน้าอาจจะใช้
ระยะเวลานาน ขั้นตอนแรกจะต้องกาหนดพื้นที่เป้าหมาย (มีผลกระทบต่อการแข่งขัน) เพื่อการปรับปรุง ซึ่งมี
ความสาคัญในการวิเคราะห์แผนผังการขนย้ายอุปกรณ์
432 การควบคุมคุณภาพ

KAIZEN BLITZ หรือ Kaizen เกี่ยวข้องกับส่วนต่างๆดังนี้


1. การนา 5ส มาใช้เพื่อปรับปรุงสถานที่ทางานให้มีประสิทธิภาพ
2. การลด และการขจัดความสูญเปล่า (3MUs)
3. มาตรฐานวิธีการทางานให้มีประสิทธิภาพ

เริ่มต้น

การเลือกกระบวนการเพื่อการปรับปรุง

การศึกษาการไหลของกระบวนการ

การนา 5ส ไปใช้ในที่ทางาน

ขจัดความสูญเปล่า (3 MUs)

การปรับปรุงวิธีการทางานที่เป็นมาตรฐาน

รูปที่ 7.9 การนาไคเซนไปใช้


(ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 433

7.4 ซิกซ์ซิกมา (Six Sigma)


ปรียาวดี ผลอเนก (2556) ปัจจุบันการปรับปรุงคุณภาพของสินค้าและบริการได้กลายเป็นแรงผลักดันใน
อุตสาหกรรมให้เกิดการลดค่าใช้จ่าย การปรับปรุงผลิตภาพ การลดรอบระยะเวลาการผลิต การลดของเสียจาก
กระบวนการผลิต การลดสินค้าคงคลัง และการเพิ่มพื้นที่ในการทางาน เป็นต้น ซึ่งจะต้องมีการดาเนินงาน
อย่างต่อเนื่อง ซิกซ์ซิกมาจึงกลายมาเป็นต้นแบบของแนวคิดการปรับปรุงคุณภาพ
7.4.1 ความหมายของซิกซ์ซิกมา
ซิกซ์ซิกมา (Six Sigma) เป็นเทคนิคทางสถิติที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพและปรับปรุงประสิทธิภาพ
ของกระบวนการผลิต โดยมุ่งเน้น คุณภาพและความพึงพอใจของลูกค้า (Ramasamy อ้างอิงใน ปรียาวดี
ผลอเนก, 2556: 133)
ส่วนบริษัท GE ได้ให้ความหมายของซิกซ์ซิกมาไว้ว่า เป็นวิสัยทัศน์ในด้านคุณภาพที่ยอมให้มีของ
เสียในกระบวนการผลิตได้เพียง 3.4 ชิ้นต่อการผลิตสินค้าล้านชิ้น โดยเน้นความมุ่งมั่นเพื่อความสมบูรณ์แบบ
ของสินค้าและบริการ
ซิกซ์ซิกมา คือ ระบบที่ครอบคลุมและมีความยืดหยุ่นเพื่อประสบความสาเร็จในความยั่งยืนทาง
ธุรกิจ โดยมุ่งเน้นความต้องการของลูกค้าด้วยการใช้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
โดยมุ่งมั่นในเรื่องของการบริหารจัดการ การปรับปรุง และการนาเสนอกระบวนการธุรกิจในรูปแบบใหม่
ซิกซ์ซิกมา คือ โครงการที่มุ่งเน้นวิธีการ (หรือระบบ) ซึ่งได้จัดเตรียมให้ธุรกิจที่มีเครื่องมือทางสถิติ
และความเชี่ยวชาญในการปรับปรุงกระบวนการของพวกเขา โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและลดความแปรปรวน
ในระบบการผลิต อันนาไปสู่การลดของเสียในกระบวนการผลิต (ของเสียเข้าใกล้ศูนย์) การเพิ่มคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์และบริการ และการเพิ่มผลกาไร
กล่าวโดยสรุปคือ ซิกซ์ซิกมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพและปรับปรุงประสิทธิภาพของ
กระบวนการผลิตด้วยการใช้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง ซิกซ์ซิกมานั้น มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ
ลดความแปรปรวนในระบบการผลิต โดยยอมให้มีของเสียในกระบวนการผลิตได้ 3.4 ชิ้นต่อการผลิตสินค้า
หนึ่งล้านชิ้น
7.4.2 ต้นกาเนิดของซิกซ์ซิกมา
ซิกซ์ซิกมาถูกค้นพบในปี ค.ศ.1980 ที่บริษัทโมโตโรลา (Motorola) โดย Bill Smith วิศวกร
แผนกสื่อสารของบริษัทโมโตโรลา ซึ่งเขามุ่งมั่นศึกษาในเรื่องความสัมพันธ์ของตัว แปรระหว่างผลิตภัณฑ์และ
ความน่าเชื่อถือโดยผลิตภัณฑ์นั้นได้นามาแก้ไขหรือทาใหม่ Bill Smith ได้นาเสนอว่าหากผลิตภัณฑ์นั้นมี
ข้อบกพร่อง และได้รับการแก้ไขระหว่างกระบวนการผลิตก็จะทาให้สินค้าที่ด้อยคุณภาพหลุดไปสู่มือลูกค้า
น้อยลง อย่างไรก็ตามการผลิตสินค้านั้นต้องมีการขจัดข้อผิดพลาดในการผลิต ซึ่งนานๆ ครั้งลูกค้าจึงจะพบ
สิ น ค้ าที่ มี ข้ อบกพร่ อ งหลุ ด ออกจากโรงงานไป ส าหรั บคู่ แ ข่ง ที่ เ ป็น บริ ษัท ข้ ามชาติจ ะมี การทดสอบความ
น่าเชื่อถือในตัวผลิตภัณฑ์ โดยบริษัทโมโตโรลาเองเป็นผู้ริเริ่มในการปรับปรุงคุณภาพและลดต้นทุ นการผลิต
ด้วยการมุ่งเน้นไปที่การออกแบบผลิตภัณฑ์และการผลิต บริษัทโมโตโรลาได้ใช้ซิกซ์ซิกมาโดยมุ่งเน้นไปที่การ
ปรับปรุงระบบปฏิบัติการและกระบวนการผลิต ซึ่งนาไปสู่เทคโนโลยีการผลิตที่ก้าวกระโดดของโมโตโรลา
บริษัทได้ประหยัดเงินถึง 2.2 พันล้านบาทใน 4 ปี ต่อมาในปี ค.ศ.1988 บริษัทโมโตโรลาได้รับรางวัลคุณภาพ
434 การควบคุมคุณภาพ

Malcolm Baldrige National Quality Award โดยรัฐบาลอเมริกาจากการใช้ซิกซ์ซิกมาในการปรับปรุง


ข้อมูล
ในปี ค.ศ.1990 โมโตโรลาได้เข้าร่วมกับบริษัท IBM และบริษัทโกดัก (Kodak) เพื่อก่อตั้งสถาบันวิจัย
ซิกซ์ซิกมา (Six Sigma Research Institute: SSRI) โดยมีแนวคิดในเรื่องของ Black Belt แก่ผู้ที่ผ่านการ
ฝึกอบรม
7.4.3 กรอบแนวคิดของซิกซ์ซิกมา
แนวคิดหลักของวิธีการซิกซ์ซิกมา (Verma & Boyer อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 135)
สามารถสรุปได้ดังนี้
1. มุ่งเน้นความเข้าใจในความต้ องการและความพึงพอใจของลูกค้า ซึ่งเป็นศูนย์กลางของวิธีการ
ซิกซ์ซิกมาโดยแท้จริง ดังนั้นวิธีการซิกซ์ซิกมาจึงเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้นามาใช้สนับสนุนในการ
ประเมินความพึงพอใจของลูกค้า และศึกษาข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับสินค้าและบริการ
2. การบริหารจัดการด้วยข้อมูลเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับวิธีการซิกซ์ซิกมา การมุ่งเน้นข้อเรียกร้องของ
บริษัทใช้เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการเก็บข้อมูลด้านวัตถุประสงค์จากกระบวนการตัดสินใจ และเว้นจากการ
พิจารณาการตัดสินใจโดยใช้ทรรศนะคติส่วนตัว
3. หน่ วยการวิเคราะห์ ภายในวิธีการซิกซ์ซิกมาคือ กระบวนการที่เป็นการบริห ารจัดการข้อมูล
ส่งผลให้ในการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการซิกซ์ซิกมา จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพโดยอัตโนมัติด้วย
คุณภาพของสินค้าและบริการที่ส่งมอบแก่ลูกค้า
4. วิ ธี ก ารซิ ก ซ์ ซิ ก มาได้ เ น้ น ย้ าความต้ อ งการในรู ป แบบการบริ ห ารจั ด การเชิ ง รุ ก ( Proactive
management style) แทนที่จะรอให้ปัญหาคุณภาพเกิดขึ้น การบริหารจัดการควรมุ่งเน้นไปที่การระบุ
รากเหง้าของปัญหาตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อที่ว่าปัญหานั้นจะได้ไม่เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งแรก
5. การประสานงานเชิงรุก คือ การร่วมแรงร่วมใจกันระหว่างพนักงานที่ทางานในแผนกงานที่
แตกต่างกัน หากวิธีการซิกซ์ซิกมาประสบความสาเร็จ ทีมงานที่มีหน้าที่ที่แตกต่างกันจะต้องข้ามสายงานเพื่อ
ลดอุปสรรคของลาดับชั้นงาน
6. สุดท้ายคือวิธีการซิกซ์ซิกมามุ่งมั่นความสมบูรณ์แบบ และอ้างถึงช่วงความเชื่อมั่นของค่าสถิติ ซึ่ง
ก็คือยอมให้มีโอกาสเกิดของเสีย 3.4 ส่วนใน 1 ล้านส่วน สมมติว่ากระบวนการมีการกระจายตามปกติ พื้นที่
ภายใต้โค้งจะถูกกาหนดโดยค่าพิสัยของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ) จากค่าเฉลี่ย (µ) ในรูปที่ 7.10 ค่าพิสัยของ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (1σ) จากค่าเฉลี่ยมีค่าประมาณ 68.27% ภายใต้โค้งของการกระจายแบบปกติ
(Normal Curve) ค่าพิสัย 2 ใน 3 ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 95.45% และ 99.73% ตามลาดับ
ภายใต้การกระจายโค้งปกติ
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 435

f(z)

-3 -2 -1 0 1 2 3
68.27%
95.45%
99.73%

รูปที่ 7.10 การกระจายภายใต้โค้งปกติบนพื้นฐานของค่าพิสัย 1, 2 และ 3 จากค่าเฉลี่ย


7.4.4 แก่นแท้ของซิกซ์ซิกมา
ในกระบวนการผลิตมีขอบเขตการควบคุมอยู่ 2 กระบวนการด้วยกัน คือ
1. สถิติขอบเขตการควบคุม ได้แก่ ขอบเขตการควบคุมขีดจากัดบน (Upper Control Limit: UCL)
และขอบเขตการควบคุมขีดจากัดล่าง (Lower Control Limit: LCL)
2. ขีดจากัดเฉพาะ (Specification Limits) ได้แก่ ขอบเขตการควบคุมขีดจากัดเฉพาะบน (Upper
Specification Limits: USL) และขอบเขตการควบคุมขีดจากับ เฉพาะล่าง (Lower Specification Limits:
LSL)
ยกตัวอย่างเช่น ขีดจากัดเฉพาะของการผลิตถั่วลิสงกระป๋องได้กาหนดไว้ว่า มีค่า 100±6 กรัม เป็น
ค่าความแปรปรวนในกระบวนการบรรจุ โดยมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานในกระบวนการผลิตเท่ากับ 2 กรัม
หมายความว่า มีค่าจากัด 3σ และค่าขีดจากัดเฉพาะ 3σ ซึ่งค่าจากัด 3σ ได้ครอบคลุมขีดจากัดเฉพาะไว้ นั่นก็
หมายความว่า กระบวนการไม่สนใจค่าของเสียจานวน 0.27% (ซึ่งขอบเขตการควบคุมได้รวมไว้ 3σ)
อย่างไรก็ตามซิกซ์ซิกมาได้ใช้สถิติในการควบคุมกระบวนการอย่างเข้มงวดในการควบคุมของเสียที่มีโอกาส
เกิดขึ้น 3.4 ชิ้น จาก 1 ล้านซึ่งเป็นตัวชี้วัดขีดจากัดเฉพาะ โดยได้มีการสร้างความแปรปรวนในกระบวนการ 6s
ดังนั้นจึงได้มีการนาแนวคิดซิกซ์ซิกมามาใช้ในการควบคุมตัวแปรและควบคุมของเสียให้เข้าใกล้ศูนย์
436 การควบคุมคุณภาพ

7.4.5 การประยุกต์ใช้ซิกซ์ซิกมาของบริษัท GE
ซิกซ์ซิกมาเป็นแนวคิดที่เข้มงวดในการควบคุมของเสียให้เหลือน้อยที่สุด เป็นวิธีการที่มีการพัฒนา
เพื่อให้มีคุณภาพเกิดขึ้น โดยใช้วิธีการของบริษัท GE มาปรับใช้เพื่อปรับปรุงกระบวนการที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่น
บริ ษัทผู้ผ ลิ ตถั่ว ได้นาวิธีซิกซ์ซิกมามาใช้ในการผลิ ตถั่ว เป้าหมายการผลิตคือ 100 กรัม ซึ่งหมายความว่า
ขีดจากัดเฉพาะบนและขีดจากัดเฉพาะล่างมีค่าเท่ากับ 106 กรัม และ 94 กรัม ในขั้นตอนแรกนั้นได้ใช้ซิกซ์ซิก
มามาใช้เพื่อมุ่งมั่นในการรักษาระดับประสิทธิภาพในปัจจุบัน ดังนั้น ทีมซิกซ์ซิกมาจึงได้ศึกษากระบวนการและ
วัดกาลังการผลิตทีมพบว่าในปัจจุบันขีดจากัดของซิกซ์ซิกมาได้ขยายจาก 3 เป็น 6 กรัม ทั้ง 2 ด้าน โดยทีมงาน
จะต้องปรับปรุงและลดความผันแปรในกระบวนการผลิต ดังนั้น วิธีการในขั้นตอนที่ 2 คือ การทดลอง จากนั้น
ก็จะเข้าสู่การดาเนินการปรับเปลี่ยนกระบวนการ และวัดผลลัพธ์ที่ได้
หลังจากที่ได้มีการแก้ไขกระบวนผลิตแล้ว ข้อจากัด 4σ ได้ขยายเป็น 6 กรัม หมายความว่าได้มีการ
ปรับปรุงกระบวนการแล้ว ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้หากการทดลองนั้นไม่ได้มีการเลือกอย่างถูกต้องซึ่งส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานอาจจะเพิ่มขึ้น ดังนั้นการปรับปรุงกระบวนการในระดับใหม่จะถูกนามาวัดอีกครั้ง หากของเสียไม่เข้า
ใกล้ 3.4 ppm ทีมงานก็จะทดลองอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง ซึ่งลักษณะนี้ถือเป็น
การปรับปรุงกระบวนการ โดยการปรับปรุงกระบวนการหลักจะประสบความสาเร็จได้นั้นต้องมีการปรับปรุง
ประสิทธิภาพของพนักงานก่อน
จากนั้นกระบวนการถัดไปคือ การดาเนินกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง ทีมงานวัดประสิทธิภาพ
การทางานด้วยซิกซ์ซิกมาจะต้องมีการวัดกระบวนการการผลิตซึ่งต้องมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ในทางตรงกันข้าม
ทีมงานจะต้องดาเนินงานวัดประสิทธิภาพและค้นหากระบวนการที่ไม่มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หลังจากการ
ทดลองผ่านพ้น ไปทีมงานก็จะสามารถทานายลักษณะของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ ด้วยเหตุนี้ความมุ่งมั่น
อย่างต่อเนื่องในการตรวจสอบประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ
ซิกซ์ซิกมา มีดังนี้
1. การวัดประสิทธิภาพของกระบวนการปัจจุบัน
2. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการทดลอง
3. เพื่อให้บรรลุกระบวนการซิกซ์ซิกมา จึงควรมีการวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
อนึ่งในการทดลองกระบวนการเรียกว่า การออกแบบกระบวนการใหม่ ซึ่งแก่นแท้ของซิกซ์ซิกมามี
วัตถุประสงค์เพื่อที่จะลดส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยและค่าเป้าหมาย
7.4.6 โมเดลของซิกซ์ซิกมา
ซิกซ์ซิกมาเป็นการดาเนินการการปฏิบัติการ โดยช่วยให้บริษัทมุ่งเน้นไปที่การพัฒนา และส่งมอบ
สินค้าที่มีความสมบูรณ์ รวมไปถึงการให้บริการโดยหลีกเลี่ยงความผันแปรในกระบวนการผลิต ซิกซ์ซิกมาเป็น
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ในทางสถิติในการค้นหาแหล่งของข้อผิดพลาด รวมไปถึงวิธีในการขจัด
ข้อผิดพลาดเหล่านี้ ซิกซ์ซิกมาจึงเป็นแนวทางในการดาเนินงานเชิงรุก ถึงแม้ว่าวงจร PDCA จะถูกนามาใช้ใน
การปรับปรุงกระบวนการ แต่ซิกซ์ซิกมานั้นจัดเป็นเครื่องมือการควบคุมคุณภาพทางสถิติวิธีใหม่ที่นามาใช้ ใน
การปรับปรุงรูปแบบของกระบวนการ อธิบายได้ดังรูปที่ 7.11
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 437

การกาหนด

การควบคุม การวัด
กระบวนการ
DMAIC

การปรับปรุง การวิเคราะห์

รูปที่ 7.11 โมเดล DMAIC

1. การกาหนด (Define) เป็นระยะแรกของความมุ่งมั่นในการปรับปรุงกระบวนการคล้ายกับ


ขั้น ตอนการวางแผนวงจร PDCA ระหว่างการดาเนินการในขั้นตอนนี้ ซิกซ์ ซิกมาได้ถูกนามาใช้ในการ
ดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการกาหนดลูกค้าภายในและ
ภายนอก และกาหนดขอบเขตวิกฤตในเรื่องคุณภาพ โดยอ้างอิงถึงคุณลั กษณะของผลิตภัณฑ์ห รือบริการ
ซึ่ง ลู กค้ า จะเป็ น ผู้ กาหนดตั ว ชี้ วั ดมาตรฐานคุ ณภาพ โดยที มซิ ก ซ์ซิ ก มาจะต้ อ งวางแผนปรั บกระบวนการ
ปฏิบัติการทั่วองค์กร ยกตัวอย่างเช่น ทีมต้องการลดของเสียในสายประกอบอิเล็กทรอนิกส์ จึงได้ทาการพัฒนา
แผนผังกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการขึ้นมาซึ่งแผนผังกระบวนการผลิตได้กาหนดลาดับของเหตุการณ์ ดัง
รูปที่ 7.12 ซึ่งเป็นกระบวนการบัดกรีด้วยมือ

ตั้งอุณหภูมิ เชื่อมชิ้นส่วนด้วย นาตะกั่วมาใช้ ค้นหาเนื้อตะกั่ว


ความร้อน ที่เป็นส่วนเว้า

รูปที่ 7.12 การบัดกรีด้วยมือ


(ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)

2. การวัดค่า (Measure) ทีมงานได้ระบุกระบวนการหลักภายในที่มีอิทธิพลกับขอบเขตวิกฤตใน


เรื่ อ งคุ ณภาพ และวัด ของเสี ย ในปั จ จุ บั นที่ มีค วามสั ม พันธ์ กับ กระบวนการโดยในขั้ นตอนนี้ป ระกอบด้ว ย
กระบวนการย่อยๆ ดังต่อไปนี้
438 การควบคุมคุณภาพ

2.1 การระบุการวัดค่า โดยทีมงานซิกซ์ซิกมาเป็นผู้ระบุค่าการวัดโดยประมาณ หลังจากที่ผ่าน


การระดมสมองมาเรียบร้อยแล้ว ซึ่งการระบุค่าไว้เพื่อไม่ให้เกิดความคลุมเครือในการวัด และเพื่อที่จะแก้ไข
ภาพรวมของประสิทธิภาพกระบวนการตลอดการวัด
2.2 ขั้นตอนถัดไป คือ การระบุเป้าหมายประสิทธิภาพของกระบวนการในการสรุปข้อ เรียกร้อง
จากลูกค้า การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking) จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการระบุ
เป้าหมายประสิทธิภาพของกระบวนการ
2.3 การระบุความแตกต่าง (Gaps) ในตัวอย่างจากรูปที่ 7.12 ซึ่งเป็นขั้นตอนของการบัดกรีด้วย
มือ โดยระดับของเสียในปัจจุบันมีค่าเท่ากับ 1% องค์กรควรจะใช้ความพยายามในการระบุความแตกต่าง
3. การวิเคราะห์ (Analyze) ทีมงานซิกซ์ซิกมาเป็นผู้ค้นพบสาเหตุของของเสียโดยทีมงานได้ระบุตัว
แปรหลักที่เป็นต้นเหตุของของเสีย หรือเป็นสาเหตุหลักในการสร้างความผันแปรในกระบวนการ วัตถุประสงค์
ในข้อนี้ คือ การใช้ผังการวิเคราะห์เหตุและผล (Cause and Effect Diagram) ซึ่งจะช่วยให้ทีมงานเข้าใจเรื่อง
เหล่านี้ได้เร็วขึ้น
3.1 ค่าคงที่ (Constant Factor: C) ปัจจัยนี้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
3.2 ปัจจัยรบกวน (Noise Factor: N) ใช้ในการลดของเสีย ซึ่งปัจจัยนี้ไม่สามารถขจัดออกไปได้
3.3 ปัจจัยการทดลอง (Experimental Factor: X) ปัจจัยนี้ใช้ในการปรับปรุงการตอบสนอง
อีกประการหนึ่งในการตอบสนองหรือคุณภาพของเหล็กแทนที่ด้วยเครื่องหมายว่า Y ซึ่งสามารถ
นามาแปลงเพื่อใช้ในผัง CNX Diagram โดยเป็นการทดลองการปรับปรุงประสิทธิภาพและลดความผันแปรใน
กระบวนการผลิต ซึ่งเป็นการวิเคราะห์กระบวนการทางเดียว
ผังการวิเคราะห์เหตุและผล (Cause and Effect Diagram) ช่วยในการระบุค่าพารามิเตอร์ในการ
ปรับปรุงกระบวนการโดย CNX diagram ได้แสดงถึงคุณภาพในการบัดกรี ตอบสนอง Y ซึ่งมีการปรับปรุงใน
การควบคุมปัจจัย X ในกรณีนี้พนักงานระดับปฏิบัติการต้องมีความเชี่ยวชาญระหว่างการขึ้นรูปเหล็ก โดยการ
ควบคุมการขึ้นรูปเหล็กระหว่างการบัดกรี ทีมงานไม่สามารถทดลองด้วยการใช้ค่าบัดกรีคงที่ได้ เนื่องจากมีการ
แก้ไขกระบวนการ ตัวอย่างเช่น ประเภทของการบัดกรีและการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อ งไม่สามารถเปลี่ยน
การทาได้ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ระดับของฝุ่นละอองในอาคาร อุณหภูมิของห้องเก็บสินค้า ควรจะถูก
ควบคุม ดังนั้น CNX Diagram จึงใช้ในการวิเคราะห์และทดลองการปรับปรุงเพื่อลดความแปรปรวนใน
กระบวนการ
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 439

คนงาน

ความเชี่ยวชาญของคนงาน (X) คุณภาพของ


การบัดกรี
การเปลีย่ นแปลง (C) ชนิดของการบัดกรี (C)
วัตถุดิบ

รูปที่ 7.13 โครงสร้างของแผนภาพก้างปลาปัญหาคุณภาพของการบัดกรี

ชนิดของการเปลี่ยนแปลง
ทักษะการตรวจสอบ
ชนิดของการบัดกรี
สร้างอุณหภูมิ

ความเชี่ยวชาญของคนงาน
การขึ้นรูป การบัดกรีด้วยมือ คุณภาพการบัดกรี

ระหว่างการบัดกรี
อุณหภูมหิ ้อง
ระดับฝุ่น

ตัวแปรรบกวน

รูปที่ 7.14 CNX Diagram ในการบัดกรีด้วยมือ


(ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
440 การควบคุมคุณภาพ

4. การปรับปรุง (Improve) ทีมงานซิกซ์ซิกมาเป็นผู้กาหนดขอบเขตการยอมรับสูงสุด (Maximum


Permissible Ranges) ของความผันแปรหลักและระบบการวัดค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร โดยทีมงาน
จะเป็นผู้ปรับปรุงกระบวนการภายในขอบเขตการยอมรับสูงสุดของประสิทธิภาพตัวแปรหลัก ซึ่งประสิทธิภาพ
หลักของกระบวนการจะถูกตรวจสอบและวัดค่า หากลูกค้าเกิดความพึงพอใจก็จะสร้างเป็นต้นแบบ ในกรณีนี้
คือ การนาร่องก่อนนาไปใช้ทั่วโรงงาน
5. การควบคุม (Control) สาหรับขั้นตอนนี้ เครื่องมือต่างๆ จะช่วยลดความผันแปรหลักภายใน
ขอบเขตการยอมรับสูงสุดของประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
7.4.7 การออกแบบซิกซ์ซิกมา
ปรียาวดี ผลอเนก (2556) การวิเคราะห์เครื่องมือของซิกซ์ซิกมาได้ถูกนามาใช้เป็นเวลาหลายปีใน
โปรแกรมการปรับปรุงคุณภาพ และถูกนามาบูรณาการเครื่องมือในระบบบริหารจัดการโดยภาพรวม เครื่องมือ
ที่นามาใช้ (Swink et al. อ้างอิงใน ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 143) ได้แก่
1. ผังการไหลของกระบวนการ (Flow Charts) มีหลายชนิด ขั้นตอนของกระบวนการเป็นส่วนหนึ่ง
ของ SIPOC (ซัพพลายเออร์ ปัจจัยนาเข้า กระบวนการผลิต และลูกค้า) ในการวิเคราะห์ SIPOC นั้น เป็น
สิ่งจาเป็นอย่างยิ่งในการกาหนดรูปแบบของปัจจัยนาเข้าผลผลิต (Input) ซึ่งใช้ในการกาหนดขั้นตอนของ
โครงการ
2. ผังการขึ้นอันดับ (Run Charts) แสดงให้เห็นของแนวโน้มข้อมูลในช่วงเวลาและช่วยให้เข้าใจใน
การกาหนดขนาดของปัญหา ผังการขึ้นอันดับจะแสดงค่ามัธยฐานของกระบวนการ
3. ผังพาเรโต (Pareto Charts) จะช่วยมองเห็นปัญหา เนื่องจากการสนับสนุนด้านองค์ประกอบ ผัง
พาเรโตเป็นพื้นฐานในการค้นหาสาเหตุของปัญหาอันเนื่องมาจากเปอร์เซ็นต์สาเหตุของปัญหา
4. ผังวิเคราะห์เหตุและผล (Cause and Effect Diagram) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ ผังก้างปลา
(Fishbone Diagram) เป็นผังในการแสดงสมมติฐานความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุที่มีศักยภาพและปัญหา
ภายใต้การศึกษา ผั งการวิเคราะห์ เหตุและผลถูกสร้า งขึ้นเพื่อวิเคราะห์ การดาเนินการ เพื่อหาสาเหตุที่มี
ศักยภาพของข้อเท็จจริงของปัญหา
5. ผังการไหลของโอกาส (Opportunity Flow Diagram) ใช้สาหรับแยกขั้นตอนที่มีคุณค่า (Value
Added) ออกจากขั้นตอนที่ไม่มีคุณค่า (Non Value Added) ของกระบวนการ
6. ผังการควบคุมกระบวนการ (Process Control Charts) เป็นผังที่แสดงคุณค่าทางสถิติโดยรวม
ค่าเฉลี่ยของเส้นควบคุมกลางและเส้นขีดจากัดการควบคุม ซึ่งผังการควบคุมกระบวนการใช้ประโยชน์ในการ
ควบคุมการทางสถิติ
7.4.8 การนาซิกซ์ซิกมาไปปฏิบัติ
หัวหน้าโครงการเป็นผู้นาในขั้นตอนของ DMAIC ไปใช้ซึ่งเรียกว่า Black Belt โดย Black Belt
จะดารงตาแหน่งเต็มเวลาและมีการฝึกอบรมในการใช้ หลักสถิติและเครื่องมือการควบคุมคุณภาพ ตลอดจน
การบริหารโครงการ ทีมงาน Black Belt จะได้รับมอบหมายงานเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี ในระหว่างนี้
Black Belt จะต้องเป็นหัวหน้าโครงการจานวน 8-12 โครงการจากแผนกต่างๆ ซึ่ง Black Belt จะได้รับการ
รับรองหลังจากประสบความสาเร็จ 2 โครงการ อย่างไรก็ตาม Black Belt มุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงของ
พนักงาน และการติดตามผลเพื่อความก้าวหน้าของบริษัท
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 441

Master Black Belt เป็นการตรวจสอบ ทบทวน และเป็น ที่ปรึกษาหรือ พี่เลี้ ยงให้ แ ก่


Black Belt เลือกมาจากพื้นฐานความชานาญด้านทักษะเชิงปริมาณ ความชานาญด้านการสอน และ
ความสามารถในการให้คาปรึกษา อย่างไรก็ตาม Master Black Belt จะต้องดารงตาแหน่งเต็มเวลาและได้รับ
การรับรองหลังจากเข้าร่วมในโครงการที่ประสบความสาเร็จ 20 โครงการ
ส่วนสมาชิกในโครงการจะเป็น Green Belt ซึ่งดารงตาแหน่งไม่เต็มเวลา โดยสมาชิกในทีมไม่ได้ใช้
เวลาทั้งหมดของพวกเขากับงานของโครงการ ซึ่ง Green Belt จะได้รับการฝึกอบรมเช่นเดียวกับ Black Belt
แต่น้อยกว่า Black Belt
ที่บริษัท GE พนักงานจะไม่ได้รับการพิจารณาในการสนับสนุนการบริหารใดๆ หากปราศจากการ
ฝึกอบรมในตาแหน่ง Black Belt หรือ Green Belt ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ซิกซ์ซิกมา Black Belt หรือ
Green Belt จะย้ายไปในตาแหน่งบริหาร ซึ่งพวกเขาจะได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องและได้รับการเลื่อน
ขั้น บริษัทที่ประสบความสาเร็จในการใช้ซิกซ์ซิกมาในการดาเนินการจะมี Black Belt 1 คน ต่อพนักงาน 100
คน Master Black Belt 1 คน ต่อ Black Belt 100 คน ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามขนาดขององค์กรและจานวน
ของโครงการที่ดาเนินการที่บริษัท GE โครงการของ Black Belt ช่วยประหยัดต้นทุนถึง 250,000$ ขึ้นไป
และโครงการ Green Belt ช่วยประหยัดผลตอบแทนจากการลงทุน 50,000–75,000$ พนักงานทุกที่
ปฏิบัติการซิกซ์ซิกมาจะได้รับการฝึกอบรมกลยุทธ์การพัฒนาซิกซ์ซิกมา เครื่องมือทางสถิติ และเทคนิคการ
ปรับปรุงคุณภาพ พนักงานที่เข้าฝึกอบรมจะได้รับการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการซิกซ์ซิกมา เนื่องจากคุณภาพ
เป็นความรับผิดชอบของพนักงานทุกคน ซึ่งพนักงานทุกคนจะต้องเกี่ยวข้องกับคุณภาพ การจูงใจ และความรู้
เกี่ยวกับซิกซ์ซิกมา (Russell and Taylor, 2011)

7.5 การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking)


ปรียาวดี ผลอเนก (2556) รางวัล Malcom Baldrige National Quality Award (MBNQA) คือ หนึ่งใน
รางวัลอันทรงเกียรติจัดโดยรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา เพื่อมอบให้แก่องค์กรที่มีมาตรฐานด้านคุณภาพสูงสุด
องค์กรที่ได้รับรางวัล MBNQA นั้นถือว่าเป็นผู้นาด้านคุณภาพ โดยเกณฑ์เพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศซึ่งเป็น
มุมมองในเชิงระบบของรางวัล Malcom Baldrige National Quality Award จัดแบ่งออกเป็น 7 หมวด
ได้แก่ (1) การนาองค์กร (2) การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (3) การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (4) การวัด การวิเคราะห์
และการจัดการความรู้ (5) การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (6) การจัดการกระบวนการ และ (7) ผลลัพธ์ทางธุรกิจ
ในข้อกาหนดของการได้รับรางวัลนั้นมีการกล่าวถึง “การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ ” (Benchmarking)
ถึง 200 ครั้งด้วยกัน ย่อมแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของการเปรียบเทียบในการปรับปรุงกระบวนการอย่าง
ต่อเนื่องและการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็ นเลิศ (Benchmarking)
จะช่วยกาหนดระดับประสิทธิภาพของกระบวนการในปัจจุบันขององค์กร และนาไปสู้กระบวนการที่ดีที่สุด
ซึ่งการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking) นั้นจัดเป็นหนึ่งในเครื่องมือของการจัดการคุณภาพ
โดยรวม (TQM) ความหมายของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศมีผู้ ให้ ความหมายของคาว่า การ
เปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking) ไว้ดังนี้
442 การควบคุมคุณภาพ

การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ เป็นกระบวนการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ 2 อย่างหรือมากกว่านั้น


โดยเปรียบเทียบการดาเนินการให้บริการ หรือวิธีการปฏิบัติงานภายในองค์กร กระบวนการเปรียบเทียบนั้นได้
เปรียบเทียบการดาเนินงานทางธุรกิจกับการดาเนินงานที่เป็นเลิศที่สุดในอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน
Robert C. Clamp ได้นิยามความหมายของ การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking) ไว้
ในหนังสือ “Business Process Benchmarking” ว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการทาให้เป้าหมายขององค์กรบรรลุ
ความสาเร็จได้ โดยพยามยามหาตัวอย่างอุตสาหกรรมที่ดีที่สุด เพื่อจะเอามาเป็นตัวอย่างในการทาธุรกิจให้เป็น
เลิศต่อไป (Ramasamy, 2009)
การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ เป็นโครงสร้างกระบวนการสาหรับเปรียบเทียบการดาเนินธุรกิจของ
องค์กรในการปฏิบัติที่ดีที่สุดกับองค์กรอื่น (บริษัทที่เป็นพันธมิตรทางธุรกิจคู่แข่งขัน หรือซัมพลายเออร์) กับ
แผนกอื่นๆ ภายในองค์กรเดียวกัน การเปรียบเที ยบสามารถใช้อ้างอิงเพื่อกาหนดความคิดหรือสาหรับการ
ปรับปรุงและการติดตามผลการดาเนินงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญ เช่น ลูกค้า พนักงาน
ผู้ถือหุ้น และชุมชน (Verma& Boyer, 2009)
ดังนั้นการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ เป็ นกระบวนการเปรียบเทียบผลิ ตภัณฑ์หรือแนวทางการ
ปฏิบัติขององค์กรกับองค์กรอื่นที่เป็นเลิศในอุตสาหกรรมเดียวกัน หรือเปรียบเทียบกั บแผนกอื่นๆ ภายใน
องค์กรเดียวกันเพื่อที่จะเอามาเป็นตัวอย่างในการดาเนินธุรกิจให้เป็นเลิศต่อไป
7.5.1 เหตุผลในการทาการเปรียบเทียบ
ผลิตภัณฑ์ การบริการ และการปรับปรุงกระบวนการสามารถสร้างมาตรฐานได้ด้วยการปรับปรุง
รูปแบบมาตรฐานใหม่ โดย “การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ” ก็คือความสามารถในการเปลี่ยนแปลงของ
แนวทางการจัดการคุณภาพโดยรวมรูปแบบหนึ่ง สาหรับบริษัท Rank Xerox ได้นามาใช้และถือเป็นต้นตารับ
การเปลี่ยนแปลงในญี่ปุ่น โดยการวัดการดาเนินงานขององค์กร ผลิตภัณฑ์ และบริการในการเปรียบเทียบกับ
คู่แข่ง
การจัดอันดับคู่แข่งและการดาเนินงานปฏิบัติการ จะนาไปสู่ความได้เปรียบทางการแข่งขันให้สาเร็จ
ได้ โดยมีตัวขับเคลื่อนการเปรียบเทียบจานวนมากรวมไปถึงปัจจัยภายนอก (Oakland S. J. อ้างอิงใน ปรียา
วดี ผลอเนก, 2556: 35) ซึ่งประกอบด้วย
1. ความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง
2. คู่แข่งขันเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคู่แข่งขันจะทาให้องค์กรกังวลในเรื่องของการแย่งส่วนแบ่งทาง
การตลาด
3. กฎหมายหรือการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของกฎหมาย ส่งผลให้เกิดข้อกาหนดที่ต้องการปรับปรุง
กระบวนการ รวมถึงแรงผลักดันจากภายในองค์กรด้วย
4. กลุ่มเป้าหมาย เป็นข้อกาหนดของการปรับปรุงกระบวนการเพื่อประสิทธิภาพที่ดีที่สุดขององค์กร
5. เทคโนโลยี เป็ นการเปลี่ย นแปลงขั้นพื้นฐานของกระบวนการ ซึ่งมีข้อกาหนดในเรื่องของ
ประโยชน์จากการนาเทคโนโลยีใหม่มาใช้
6. การประเมินตนเอง เป็นโอกาสในการเรียนรู้จากการนาแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดมาปรับใช้ในองค์กร
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 443

การเปรียบเทียบเป็นการอ้างอิงมาตรฐานหรือการวัดมาตรฐานที่ใช้สาหรับการเปรียบเทียบซึ่งเป็น
การเปรียบเทียบเป็นกระบวนการที่ดาเนินอย่างต่อเนื่องและการนาแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด โดยกระบวนการจะ
นาไปสู่ประสิทธิภาพระดับดีเยี่ยม
ข้อดีของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศสามารถสรุปได้ดั้งนี้
1. สร้างตาแหน่งของผลิตภัณฑ์ไดดีกว่า
2. ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป
3. นวัตกรรม
4. การพัฒนาเป้าหมายซึ่งปฏิบัติได้จริง
5. การสร้างแผนปฏิบัติได้จริง
7.5.2 เคล็ดลับการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
ในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศนั้นมีเคล็ดลับ แบ่งออกเป็น 2 หมวดหมู่ คือ
1. การเปรียบเทียบจากปัญหาที่เกิดขึ้น (Problem Based Benchmarking)
เกิดจากปัญหาภายในองค์ก ร เคล็ดลับสาหรับการเปรียบเทียบในหมวดหมู่นี้เกิดจากเผชิญกับ
ปัญหาภายในองค์กร ซึ่งเรียกว่า “การเปรียบเทียบจากปัญหาที่เกิดขึ้น ”เคล็ดลับบางประการที่จะใช้จูงใจ
องค์กรเพื่อที่จะดาเนินการเปรียบเทียบ มีรายละเอียดดั้งนี้
1.1 ความคิดเห็นหรือข้อตาหนิจากลูกค้า
1.2 การเพิ่มต้นทุนคุณภาพ
1.3 อัตราความผิดพลาด
1.4 การเพิ่มรอบระยะเวลาการผลิต
2. การเปรียบเทียบตามกระบวนการ (Process Based Benchmarking)
การเปรียบเทียบอีกประเภทหนึ่ง ได้แก่ การเปรียบเทียบตามกระบวนการ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ
กลยุทธ์การปรับปรุงกระบวนการขององค์กร การเปรียบเทียบในหมวดหมู่นี้ ได้แก่
2.1 การกาหนดพันธกิจ
2.2 การกาหนดวัตถุประสงค์
2.3 การกาหนดการจัดลาดับความสาคัญ
ผู้บริหารระดับสูงได้อ้างถึงการดาเนินการในปัจจุบันเพื่อที่จะกาหนดพันธกิจ วัตถุประสงค์และ
จัดลาดับความสาคัญขององค์กร โดยพันธกิจ วัตถุประสงค์ และการจัดลาดับความสาคัญขององค์กรนั้นจะ
สังเกตได้จากระดับ ความสาเร็ จ ของประสิ ทธิภ าพโดยผู้แข่งขันและองค์กรอื่นๆ ที่คล้ ายคลึ งกัน ในกรณีนี้
วัตถุประสงค์ขององค์กรมีความชัดเจน และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการดาเนินการเปรียบเทียบของ
องค์กรได้ ดั้งนั้นการเปรียบเทียบจากปัญหาที่ เกิดขึ้นจึงถือเป็นปฏิกิริยาโต้ตอบกับปัญหา ซึ่งต่อมาเราเรียก
วิธีการนี้ว่า การเปรียบเทียบในเชิงรุก (Proactive Benchmarking)
การเปรี ย บเที ย บกั บ องค์ ก รที่ เ ป็ น เลิ ศ ไม่ ใ ช่ ก ารเปรี ย บเที ย บเพี ย งแค่ อ ย่ า งเดี ย ว เนื่ อ งจาก
ประสิทธิภาพของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศไม่ ใช่ตัวชี้วัดระดับประสิทธิภาพของกระบวนการใน
ปัจจุบัน หรือประสิทธิภาพของผลิ ตภัณ ฑ์ห รือบริการ แต่เป็นการปรับปรุง ตามระดับการแข่งขันผู้นาตลาด
หรื อข้อความที่ร ะบุไว้ในพันธกิจ ดังนั้ นการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิ ศจึงช่ว ยให้ องค์กรสามารถวัด
444 การควบคุมคุณภาพ

คุณลักษณะของการผลิต การปฏิบัติงาน และระบุหลุมพรางของการปฏิบัติงานในปัจจุบันได้ ระหว่างการทา


การเปรียบเทียบกับองค์ที่เป็นเลิศนั้น จะมีการเข้าใจระดับประสิทธิภาพของคู่แข่งขัน และผู้นาธุรกิจประเภท
เดียวกันหรือธุรกิจที่คล้ายคลึงกัน เพื่อให้ทราบถึง ระดับประสิทธิภาพที่ดีที่สุดของอุตสาหกรรมในปัจจุบัน
องค์กรก็จะเลียนแบบกระบวนการที่ดีที่สุดในอุตสาหกรรม
ความเป็นเลิศนั้นจะถูกกาหนดโดยคุณภาพของสินค้าหรือบริการ ซึ่งคุณภาพและประสิทธิภาพของ
กระบวนการทางธุรกิจเป็นเครื่ องบ่งชี้ในการเปรียบเทียบ ดังนั้ นการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศช่วยให้
องค์กรก้าวกระโดดและบรรลุถึงระดับแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุดในอุตสาหกรรมได้
7.5.3 ชนิดของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ
1. การเปรียบเทียบภายใน (Internal Benchmarking)
เป็นการเปรียบเทียบทีมหรือแผนกต่างๆ ภายในองค์กร โดยแนวทางการปฏิบัติของแผนกผลิต
หรือแผนกให้บริการลูกค้าอาจเป็นตัววัดแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุดขององค์กร เช่น ตัววัดรอบระยะเวลาการ
ผลิ ต อั ต ราความผิ ด พลาด ต้ น ทุ น คุ ณ ภาพ และข้ อ เสนอแนะจากลู ก ค้ า ดั ง นั้ น องค์ ก รจึ ง ไม่ ค วรท าการ
เปรียบเทียบกับองค์กรที่ดีที่สุดจากภายนอกเพียงอย่างเดียว องค์กรควรจะเรียนรู้แนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด
จากแผนกต่างๆ ภายในองค์กรด้วยเช่นกัน เช่น ถ้าอัตราความผิดพลาดของแผนกมี่ค่าเท่ากับ 1 ppb (ชิ้นส่วน
ต่อพันล้าน) และอัตราความผิดพลาดของแผนกอื่ นมีค่าเท่ากับ 1% ดังนั้นวัตถุประสงค์ในการเปรียบเทียบจึง
เป็นการปรับปรุงอัตราความผิดพลาดของแผนกที่เป็นจุดอ่อนให้มีค่า 1 ppb ให้ได้ ซึ่งถือเป็นแนวทางการ
ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุประสิทธิภาพภายในองค์กร ในกรณีนี้จึงไม่มีความจาเป็นที่จะต้องไปทาการเปรียบเทียบ
แนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุดกับองค์กรภายนอก การเปรียบเทียบภายใน (Internal Benchmarking) จึงเป็น
การเปรียบเทียบกับกระบวนการที่ดีที่สุดในองค์กร เช่น กระบวนการกับอัตราความผิดพลาด 1 ppb
2. การเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน (Competitive Benchmarking)
กระบวนการเปรียบเทียบชนิดที่ 2 นี้เป็นการเปรียบเทียบการปรับปรุงประสิทธิภาพกับระดับ
ของคู่แข่งขัน โดยข้อมูลด้านประสิทธิภาพของคู่แข่งขันนั้นได้ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการ
เก็ บ ข้ อ มูล ของคู่ แข่ ง ขั น นั้ น สามารถท าได้ โ ดยเก็ บ ข้ อมู ล จากรายงานประจ าปีข องบริ ษัท คู่ แ ข่ ง มาท าการ
เปรียบเทียบกับประสิทธิภาพในการดาเนินงานขององค์กรในปัจจุบัน
3. การเปรียบเทียบหน้าที่การทางาน (Functional Benchmarking)
กระบวนการเปรียบเทียบที่ 3 นี้เป็นการเปรียบเทียบหน้าที่การทางานโดยในกระบวนการแรก
จะเป็นการเปรียบเทียบกระบวนการที่คล้ายคลึงกัน เช่น การเปรียบเทียบภายในองค์กร การจะเปรียบเทียบ
การผลิตน็อต (Nut) กับสกรู (Screw) ซึ่งอยู่ในโรงานเดียวกัน ส่วนกระบวนการเปรียบเทียบชนิดที่ 2 นั้น
องค์กรจะเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของการผลิตน็อตกับคู่แข่งขันที่ ผลิตน็อตเหมือนกัน ส่วนกระบวนการ
เปรียบเทียบชนิดที่ 3 นั้นองค์กรจะเปรียบเทียบวิธีการทางานขององค์กรกับกระบวนการที่คล้ายคลึงกัน เช่น
องค์กรมีการให้บริการที่แตกต่าง 2 ประเภท คือ (1) เป็นห้องปฏิบัติการสอบเทียบ เมื่อรับเครื่องมือเข้ามาก็จะ
มีการสอบเทียบเครื่องมือ (2) การบริการอีกประเภทหนึ่ง คือ ศูนย์การวินิจฉัย ซึ่งจะเป็นกระบวนการการ
ทางานที่มีวิธีการทางานคล้ายคลึงกับการสอบเทียบ วิธีการนี้จึงถือเป็นการเปรียบเทียบกระบวนการคล้ายคลึง
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 445

กันภายในองค์กร จะเรียกการเปรียบเที ยบประเภทนี้ว่า การเปรียบเทียบหน้าที่การทางาน (Functional


Benchmarking)
7.5.4 วัตถุประสงค์และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ มีวัตถุประสงค์ในการดาเนินการ (Oakland S. J., 2003) ดังนี้
1. การเปลี่ยนแปลง เป็นการเปลี่ยนมุมมองของผู้บริหารและผู้จัดการ
2. การเปรียบเทียบ เป็นการเปรียบเทียบแนวปฏิบัติที่ดีเลิศทางธุรกิจกับบริษัทระดับโลก
3. ความท้ า ทาย เป็ น ความท้ า ทายของแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี เ ลิ ศ ในปั จ จุ บั น และความท้ า ยทายใน
กระบวนการที่ดีเลิศ
4. การสร้างด้วยการปรับปรุงเป้าหมาย และแนวทางปฏิบัติสาหรับองค์กร
อย่างไรก็ตามกระบวนการเปรียบเทียบกั บองค์กรที่เป็นเลิศมี 5 ขั้นตอนหลัก ซึ่งมุ่งเน้นการวัดการ
เปรียบเทียบ และกาหนดพื้นที่ในการปฏิบัติงาน โดยรายละเอียดของแนวทางการเปรียบเทียบองค์กรที่ เป็น
เลิศ มีดังต่อไปนี้
1. การวางแผน (Plan)
1.1 การเลือกกระบวนการสาหรับเปรียบเทียบ
1.2 การนางานที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการสร้างบทบาทและความรับผิดชอบ
1.3 กาหนดการเปรียบเทียบและวัดการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.4 ระบุคู่แข่งขันที่เป็นเลิศที่สุดหรือควบคุมกระบวนการ บางครั้งอาจจะใช้ข้อมูลย้อนกลับจาก
ลูกค้า หรือจากการสังเกตการณ์ในอุตสาหกรรม
1.5 เอกสารของกระบวนการในปัจจุบัน
2. การเก็บรวมรวมข้อมูล (Collect)
2.1 การตัดสินใจด้านข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล รวมถึงการวิจัย
2.2 ระดับประสิทธิภาพของการเก็บข้อมูลในปัจจุบัน
2.3 การกาหนดพันธมิตรในการทาการเปรียบเทียบ
2.4 การจัดการการตรวจสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น
2.5 การเตรียมตรวจเยี่ยมและการปฏิสัมพันธ์กับองค์กรเป้าหมาย
2.6 การใช้วิธีในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyze)
3.1 ประสิทธิภาพของข้อมูล
3.2 การสร้างตารางการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในปัจจุบัน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ
คู่แข่งขันที่เป็นพันธมิตร
3.3 การกาหนดแนวทางการปฏิบัติที่ดีเยี่ยม
3.4 จัดกลุ่มแยกกระบวนการต่างๆ ให้มีความเหมาะสม
446 การควบคุมคุณภาพ

4. การปรับปรุง (Improve)
4.1 การจัดเรียงข้อมูล และการสร้างข้อมูลด้านขีดความสามารถขององค์กร
4.2 การพัฒนาระดับประสิทธิภาพของวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย มาตรฐานขององค์กรใหม่
4.3 กาหนดวิสัยทัศน์ด้านกระบวนการทางเลือก และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
4.4 การกาหนดและกาจัดอุปสรรคในการเปลี่ยนแปลง
4.5 การพัฒนาแผนการปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงและบรรลุผลแนวการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
5. การทบทวนประสิทธิภาพ (Review)
5.1 การติดตามผลและการปรับปรุง
5.2 การประเมินผลและการเรียนรู้จากการศึกษา
5.3 การทบทวนการเปรียบเทียบ
5.4 การแบ่งปันประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการเรียนรู้จากการทาให้เกิดผล
5.5 การทบทวนความสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายและพันธมิตรขององค์กร

การวางแผน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การปรับปรุง

การทบทวน

รูปที่ 7.15 ขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ

7.5.5 การกาหนดกระบวนการในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
ในทุกๆ กระบวนการขององค์กรจะมีปัจจัยนาเข้ากระบวนการผลิตเสมอ ปัจจัยนาเข้าจะถูกส่งมอบ
ไปยังกระบวนการ กระบวนการผลิตก็จะทาดาเนินการผลิตตามคิว เมื่อได้ผลผลิตมาก็จะทาการส่งมอบสินค้า
การดาเนินการเปรียบเทียบกับองค์ที่เป็นเลิศนั้นเป็นตัววัดคุณลัก ษณะของผลผลิต เช่น กระบวนการเรีย กเก็บ
เงิน เมื่องานเสร็จสมบูรณ์แล้วเปรียบเทียบปัจจัยนาเข้าที่จะนาเข้าสู่กระบวนการเรียกเก็บเงิน เพื่อให้ได้ผลผลิต
ออกมาก็คือ ใบแจ้งหนี้
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 447

งานเสร็จสมบูรณ์ กระบวนการเรียกเก็บเงิน ใบแจ้งหนี้

รูปที่ 7.16 กระบวนการเรียกเก็บเงิน


(ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
หนึ่งในตัวชี้วัดกระบวนการเรียกเก็บเงิน คือ เปอร์เซ็นต์ข้อผิดพลาดของใบแจ้งหนี้ข้อจากัดของ
ข้อผิดพลาดในใบแจ้งหนี้ถือเป็นตัวชี้วัดผลผลิต ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่พบได้ง่ายในทุกๆกระบวนการ
ส่วนตัวชี้วัดกระบวนการชนิดอื่นๆ คือ ความแม่นยาของรายงานและความทันเวลาในการส่งมอบ
รายงาน ดังนั้นตัวชี้วัดจึงกาหนดได้ง่ายๆ ในแต่ละผลผลิต เช่น กระบวนการเรียกเก็บเงิน ความผิดพลาดของ
ใบแจ้งหนี้นั้นจะถูกนาไปเปรียบเทียบกับกระบวนการเพื่อค้นหาอัตราความผิดพลาดขององค์กร โดยตัวชี้วัดที่
นามาใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพ คือ ความแม่นยา และความทันเวลา ซึ่งตัวชี้วัดทั้งสองตัวนี้จะถูกนามาใช้
เปรียบเทียบกับกระบวนการที่ดีที่สุดในสายงาน ดังนั้นการเปรียบเทียบจึงเป็นตัวชี้วัดที่มีประสิทธิภาพของ
ผลผลิตจากกระบวนการ
7.5.6 ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
การเปรียบเทียบกับ องค์กรที่เป็นเลิศมีหลายขั้นตอน ซึ่งจะต้องมีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ
โดยกระบวนการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้
1.การเลือกทีมงานการปรับปรุงกระบวนการ
ผู้จัดการควรจะเลือกทีมงานข้ามสายงาน (A cross functional team) ทั้งพนักงานที่ทางานใน
กระบวนการและทีมงานในการเปรียบเทียบ หากทีมนั้นประกอบด้วยบุคคลภายนอกเพียงอย่างเดียวก็จะเป็น
การยากที่จะเปลี่ยนแปลงระบบใหม่ๆ เนื่องจากทีมบุคคลภายนอกไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเจ้าของกระบวนการ
(Process Owner) ดังนั้นการมีส่วนร่วมในกระบวนการจึงเป็นสิ่ งจาเป็นในทีมงานการเปรียบเทียบ ใน
ขณะเดียวกันผู้จัดการระดับอาวุโส (Senior Manager) เป็นผู้เข้าใจรายละเอียดของกระบวนการบริหารจัดการ
ก็จะสามารถโน้มน้าวใจผู้บริหารระดับสูงเกี่ยวกับความจาเป็นในการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการปัจจุบัน
ซึ่งผู้จัดการระดับอาวุ โสจะต้องเป็นผู้นาทีม หากผู้จัดการระดับอาวุโสไม่สามารถเป็นผู้นาทีมได้กระบวนการ
เปรียบเทียบก็จะไม่มีทางเกิดขึ้น
448 การควบคุมคุณภาพ

การเลือกทีมงานปรับปรุงกระบวนการ

เตรียมรายละเอียดโครงการ

การกาหนดพันธมิตรในการเปรียบเทียบองค์กรที่เป็นเลิศ

การนารูปแบบการเปรียบเทียบกระบวนการที่เหมาะสมมาใช้

การดาเนินการเปรียบเทียบ

รูปที่ 7.17 ขั้นตอนในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ


(ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)

2. การเตรียมรายละเอียดโครงการ
ทีมงานการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศที่ได้รับการก่อตั้งขึ้นมาควรจะจัดเตรียมรายละเอียด
ของโครงการ ซึ่งประกอบไปด้วย
2.1 วัตถุประสงค์
2.2 การเลือกกระบวนการ
2.3 เหตุผลในการเลือกกระบวนการ
2.4 ขอบเขต
2.5 รายละเอียดของการปฏิบัติ
2.6 กาหนดตัวชี้วัดกระบวนการ
2.7 ประเมินโอกาสในการปรับปรุง
2.8 ผลกระทบที่คาดการณ์ไว้หลังจากการเปรียบเทียบเสร็จสมบูรณ์
3. การกาหนดพันธมิตรในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
หลังจากที่ทีมงานการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศได้ปรึกษากันเกี่ยวกับพนักงานในองค์กร
เจ้าของกระบวนการ ซัพพลายเออร์จากภายนอก ลูกค้า และผู้เชี่ยวชาญภายใน ซึ่งถือเป็นพันธมิตรของการ
เปรียบเทียบแล้ว ในขั้นตอนนี้ทีมงานจะทาการศึกษาข้อมูลที่พันธมิตรการเปรียบเทียบได้เผยแพร่สู่สาธารณะ
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 449

หากข้อมูลเหล่านี้สามารถใช้ประโยชน์ได้ ทีมงานจะนาข้อมูลเหล่านั้นมาทาการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็น
เลิ ศต่อไป วิธีนี้ ถือ เป็ น วิธี การที่ง่ ายที่สุ ดในการดาเนิ นการเปรียบเทีย บ การขาดข้อมูล ที่ส ามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้จะทาให้ประสิทธิภาพของกระบวนการอุตสาหกรรมมีไม่เพียงพอ ทีมงานที่ตั้งอยู่ในทาเลเดียวกับ
พันธมิตรการเปรียบเทียบ ก็จะสามารถดาเนินกิจกรรมได้ทันที หากองค์กรที่จะทาการเปรียบเทีย บนั้นอยู่ใน
อุตสาหกรรมประเภทเดียวกันหรือกิจกรรมการให้บริการประเภทเดียวกัน ก็จะไม่สามารถทาการเปรียบเทียบ
ได้ โดยทีมงานจะจับตาไปที่อุตสาหกรรมการผลิตหรือองค์กรการให้บริการที่มีกระบวนการหน้าที่คล้ายคลึงกัน
อย่ า งไรก็ ต ามการสร้ า งความเชื่ อมโยงกั บ พั น ธมิ ต รการเปรี ย บเที ย บเป็ น งานที่ ย ากที่ สุ ด ในกระบวนการ
เปรียบเทียบ และความล้มเหลวในการเปรียบเทียบเกิดขึ้นบ่อยครั้งเช่นกัน หากเป็นไปได้ทีมงานควรจะทาการ
เปรียบเทียบภายในองค์กรจะดีที่สุด
4. การนารูปแบบกระบวนการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศที่เหมาะสมไปใช้
รูปแบบที่นามาใช้ในการดาเนินการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ เช่น บริษัทโมโตโรลามี
รูปแบบ 5 ขั้นตอนในการทาการเปรียบเทียบ บริษัท Xerox มีรูปแบบ 10 ขั้นตอนในการทาการเปรียบเทียบ
กับองค์กรที่เป็นเลิศ ฯลฯ องค์กรเองควรจะมีรูปแบบที่เหมาะสมในการทาการเปรียบเทียบโดยองค์กรสามารถ
นาวงจร PDCA มาใช้ในการดาเนินงานเปรียบเทียบดังรูปที่ 7.18
 การให้การสนับสนุนการ
จัดการและเจ้าของ
 ส่งมอบรายงานไปยังฝ่าย QC กระบวนการ
 หลังจากอนุมัติมาตรฐาน  กระบวนการไหลของ
กระบวนการ เอกสาร
 ดาเนินการตามมาตรฐาน  ตัววัดประสิทธิภาพ
กระบวนการ และการ
Act plan บันทึกข้อมูล
 การวางแผนไปเยีย่ ม
พันธมิตรขององค์กร

Check Do  ศึกษากระบวนการของพันธมิตร
 รู้ประสิทธิภาพกระบวนการของ
 การนาการเปรียบเทียบไปใช้นา พันธมิตร
ร่อง  ระดมสมองในการปรับเปลี่ยน
 ฝึกอบรมเจ้าของกระบวนการ กระบวนการ
 การดาเนินการตามตัวชี้วัด  ให้ฝ่าย QC ไปใช้นาร่อง
กระบวนการ  มีส่วนร่วมในการปรับเปลีย่ น
 สรุปการทารายงาน กระบวนการ

รูปที่ 7.18 รูปแบบการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ


(ที่มา: ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
450 การควบคุมคุณภาพ

จากรูปที่ 7.18 พบว่าขั้นตอนการดาเนินงานในการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศมีด้วยกัน 4


ขั้นตอน ในช่วงขั้น “การวางแผน (Plan)” ทีมงานการปรับปรุงจะปรึกษากันภายในทีมและตระเตรียม
แผนงานสาหรับโครงการ รวมถึงกาหนดตัวชี้วัดประสิทธิภาพกระบวนการของโครงการ การให้การสนับสนุน
ด้านการบริหารจัดการและเจ้าของกระบวนการ การไปเยี่ยมพันธมิตรขององค์กรซึ่งได้ถูกรวมเข้าไว้ในแผนงาน
ด้ว ย ในขั้น ตอน “การปฏิบั ติ (Do)” ทีมงานจะไปเยี่ยมพันธมิตรและศึกษากระบวนการของพันธมิตร
นอกจากนีท้ ีมงานควรเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุที่พันธมิตรประสบความสาเร็จ ในด้านกระบวนการและขั้นตอน
สาคัญของแต่ละกระบวนการ การจัดทาแผนงานปรับปรุงกระบวนการเพื่อนาเสนอแก่สภาคุณภาพ (Quality
Council) หรือกลุ่มคุณภาพ (Quality Circle) ในขั้นตอนการ “ตรวจสอบ (Check)” กระบวนการใหม่ได้ถูก
นาไปใช้นาร่องประสิทธิภาพในการปรับปรุงกระบวนการโดยใช้เป็นตัวชี้วัดและนามาจัดทารายงาน หลังจาก
สภาคุณภาพหรือกลุ่มคุณภาพได้อนุมัติกระบวนการแล้ว จะเข้าสู่ขั้น “การแก้ไข (Act)” ซึ่งตัวชี้วัดได้ถูกนามา
ดาเนินการเพื่อยืนยันประสิทธิภาพของกระบวนการ
7.5.7 สาเหตุที่การเปรียบเทียบล้มเหลว
เหตุผลที่การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศล้มเหลว มีดังต่อไปนี้
1. ขาดข้อผูกพันต่อองค์กร
การเปรียบเทียบองค์กรที่เป็นเลิศไม่ได้นาไปสู่ผลกาไรโดยทันทีทันใด แต่จะช่วยให้องค์กรมีการ
ปรับปรุงเกิดขึ้น บ่อยครั้งที่กิจกรรมการเปรียบเทียบหยุดชะงัก ทีมงานไม่สามารถผลักดันให้เกิดการอนุมัติการ
เปลี่ยนแปลงในการบริหารจัดการและนาไปใช้ได้ ดังนั้นความล้มเหลวจึงเกิดจากการที่พนักงานหลีกเหลี่ยงการ
มีส่วนในการเปรียบเทียบกระบวนการ
ก่อนโครงการจะเริ่มต้นขึ้นสมาชิกในทีมจะต้องประเมินเวลาที่ใช้ในการเปรียบเทียบ ต้นทุนที่ใช้
ในการเปรี ย บเที ย บ รวมถึ ง จ านวนครั้ ง ของข้ อ เรี ย กร้ อ งที่ ต้ อ งการให้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงกระบวนการ
ในขั้นเริ่มต้นเจ้าของกระบวนการอาจจะไม่เต็มใจที่จะให้ความร่วมมือ ทีมงานต้องใช้ความพยายามอย่างมาก
ในการบริหารจัดการ หากผู้บริหารมีความเต็มใจและมีข้อผูกมัดที่จะปรับปรุงกระบวนการโดยใช้ทรัพยากรที่มี
อยู่ ก็ ค วรที่ จ ะก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ะใช้ ด าเนิ น งานเปรี ย บเที ย บให้ ชั ด เจน และถู ก ต้ อ งตั้ ง แต่ ค รั้ ง แรก
กระบวนการเปรียบเทียบควรจะเริ่มต้นหลังจากที่มีความคิดเห็นอย่างเป็นเอกฉันท์และได้รับความร่วมมือจาก
เจ้าของกระบวนการและผู้บริหารระดับสูง เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วโอกาสของความล้มเหลวในโครงการเปรียบเทียบ
จะเป็นไปได้ยากมาก ดังนั้นการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงและจากเจ้าของกระบวนการจึงเป็นสิ่งสาคัญใน
การนาไปสู่ความสาเร็จในการเปรียบเทียบ
2. การเลือกกระบวนการที่ผิด
กระบวนการทีส่ าคัญคือ กระบวนการที่ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนสูง ซึ่งจะถูกเลือกมาทาการ
เปรี ย บเทีย บ หากทีมงานเลื อกกระบวนการมาทาการเปรียบเทียบมากเกินไปหรือเลื อกกระบวนการที่มี
ผลตอบแทนจากการลงทุนต่า องค์กรก็อาจจะไม่สามารถดาเนินการเปรียบเทียบได้เนื่องจากมีความล้มเหลว
เกิดขึ้น โดยทั่วไปตัวชี้วัดที่นามาใช้วัดประสิทธิภาพกระบวนการคือผลประมาณ 100,000$ ผลตอบแทนจาก
การลงทุนที่ได้รับประมาณ 10,000$ ต่อปี ก็จะไม่มีใครสนใจที่จะทาการเปรียบเทียบ ดังนั้นองค์กรควรเลือก
กระบวนการในการเปรียบเทียบที่ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนสูง
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 451

3. ไม่ใช้แนวคิดที่มีประสิทธิภาพ
ทีมการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศจะมีความสุขมากที่ได้ไปเยี่ยมชมโรงงานของพันธมิตร
และเข้าร่ ว มประชุม รวมไปถึงการเขีย นข้ อเสนอโครงการ แต่ ทีมงานเองจะไม่มีเวลาเพียงพอที่จะศึกษา
กระบวนการขององค์กรที่จะทาการเปรียบเทียบในปัจจุบัน โดยทีมการเปรียบเทียบจะข้ามขั้นตอนเข้าไปเยี่ยม
ชมอุตสาหกรรมที่เป็นพันธมิตร โดยจะต้องมีการศึกษาข้อมูลของพันธมิตรก่อนแล้วทาการพูดคุยกับพนักงาน
รวมถึงจับตามองไปที่แผนกอื่นๆ ขององค์กรพันธมิตร ในการไปเยี่ยมชมองค์กรพันธมิตรที่ดาเนินงานแบบนี้
ทีมการเปรียบเทียบอาจจะไม่ใช้เป็นในแนวคิดสาหรับการเปรียบเทียบกระบวนการขององค์กรพันธมิตรก็ได้
4. เลือกสมาชิกในทีมผิด
การเลือกสมาชิกในทีมผิดเป็นสิ่งสาคัญสาหรับความสาเร็จของการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็น
เลิศ ซึ่งจะเป็น การดีหากทีมนั้ นประกอบไปด้วยสมาชิกที่ทางานเกี่ยวกับกระบวนการเปรียบเทียบซึ่งเป็น
ผู้เชี่ยวชาญด้านสายงาน อย่างไรก็ตามทีมควรจะได้รับการนาหรือการสนับสนุนจากผู้จัดการระดับอาวุโสหรือ
ระดับผู้ใหญ่ของบริษัท ข้อเสนอแนะก็คือสมาชิกทีมจะต้องขจัดความกลัวให้หมดไป โดยสมาชิกแต่ละคน
จะต้องรู้ บ ทบาทของตนเองในการเปรี ยบเทียบ หากการเปรียบเทียบล้ มเหลวก็อาจจะเกิ ดจากการเลื อก
พนักงานผิดเข้าร่วมในทีมเปรียบเทียบก็เป็นได้
5. จากัดระยะเวลามากเกินไป
บางครั้งความพยายามในการทาการเปรียบเทียบจะต้องมีการประเมินไว้ล่วงหน้า โดยบทบาท
ความรับผิดชอบของหัวหน้าทีมก็คือ ต้องใช้ระยะเวลาถึง 1 ใน 33 ของแต่ละวันในการทาโครงการ ซึ่งจะต้อง
ให้เสร็จสมบูรณ์ภายในระยะเวลา 5-6 เดือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นของปัญหาและระดับการปรับปรุง
หากความพยายามนั้นอยู่ภายใต้ระยะเวลาที่ได้ถูกประเมินไว้ก่อนล่วงหน้า ความล้มเหลวของโครงการก็จะมีไม่
มาก
6. ไม่ได้มีการกาหนดการเปรียบเทียบไว้ในแผนกกลยุทธ์ขององค์กร
การเปรี ย บเที ย บกั บ องค์ ก รที่ เ ป็ น เลิ ศ ไม่ ไ ด้ เ ป็ น การเพิ่ ม ผลตอบแทนให้ แ ก่ อ งค์ ก ร แต่ ก าร
เปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) โดยการนาผลการ
เปรี ย บเทีย บ เช่น การลดรอบระยะเวลาการผลิ ต การลดต้นทุน การลดความผั นแปร หากโครงการการ
เปรียบเทียบไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงผลประโยชน์ขององค์กร พนักงาน และลูกค้าแล้ว ความพยายามที่
จะทาการเปรียบเทียบก็จะไม่ได้รับการสนับสนุน ดังนั้นการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศจึงควรจะนาไปสู่
ความพึงพอใจของลูกค้า พนักงาน และผู้มีส่วนได้ส่วยเสียในองค์กร
7. ขาดการมีส่วนร่วมของฝ่ายบริหาร
การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศจะประสบความสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อผู้บริหารระดับสูงมีส่วน
เกี่ย วข้องกับ การเปรีย บเทียบ หากผู้ บ ริห ารระดับสู งไม่ได้ ให้ ความสนใจกับความก้าวหน้าของโครงการที่
ดาเนินงานโดยทีมการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็ นเลิศ โครงการนี้ก็จะไม่ได้รับความสาเร็จในองค์กร ดังนั้น
การเปรี ยบเทียบกับองค์กรที่เป็น เลิศจึงเหมือนกับแนวคิดของ TQM ก็คือ ผู้บริหารระดับสูงต้องให้การ
สนับสนุนและเข้ามามีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด โครงการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศจึงจะประสบความสาเร็จ
ได้
452 การควบคุมคุณภาพ

7.6 มาตรฐานระบบคุณภาพ (ISO 9000)


ปรียาวดี ผลอเนก (2556) การผลิตสินค้าและการบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นสิ่งที่จาเป็นในการ
แข่งขันซึ่งทาให้ผู้ผลิตสินค้าและผู้ให้บริการต้องหันมาให้ความสาคัญกับมาตรฐานต่างๆ ด้านคุณภาพมากขึ้น
คุณภาพได้กลายมาเป็นจุดสาคัญหลักในการดาเนินธุรกิจทั่วโลก บริษัทหลายๆ บริษัทได้ให้ความสาคัญและได้
พัฒนามาตรฐานในการดาเนินงานต่างๆ เช่น การจัดการคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ ระบบคุณภาพ และการ
ประกันคุณภาพ
7.6.1 ความเป็นมาของ ISO 9000
ISO เป็ น ค าย่ อ ขององศ์ ก รมาตรฐานระหว่ า งประเทศ ส านั ก งานใหญ่ อ ยู่ ที่ ก รุ ง เจนี ว า
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดย ISO เป็นมาตรฐานสากลระดับโลกซึ่งมีสมาชิกจากหลายประเทศทั่วโลก โดย
ระบบ ISO ถูกนาไปใช้เป็นส่วนร่วมในการกาหนดมาตรฐานต่างๆ ในหลากหลายสาขาวิชา เช่น การจัดการ
คุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรวิทยา โดยมีคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ (International Electro Technical Commission: IEC) ซึ่งมีหน้าที่กาหนดขอกาหนด
มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาอิเล็กทรอนิกส์ เช่น งานไฟฟ้า และวิ ศวกรรมไฟฟ้า โดย ISO มีมาตรฐาน
ต่างๆ มากมายหนึ่งในมาตรฐานที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด คือ มาตรฐาน ISO 9000
ส าหรั บ อุ ตสาหกรรมสมั ย ใหม่ ถือ เป็ นสิ่ งส าคั ญ ในการตอบสนองความต้อ งการหรื อข้ อก าหนด
ผลิตภัณฑ์ก่อนที่สินค้าจะถูกผลิตขึ้น รวมถึงการออกแบบบริการและการส่งมอบ แต่ละบริษัทจะมีรูปแบบ
ข้อกาหนดในการผลิตผลิตภัณฑ์หรือบริการ รวมถึงข้อกาหนดด้านความปลอดภัยและข้อกาหนดด้านความ
น่าเชื่อถือในตัวผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกัน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงทราบว่า เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องมีข้อกาหนด
ด้า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ ข้ อ ก าหนดส าหรั บ ระบบการบริ ห ารคุ ณ ภาพในองค์ ก ร เพื่ อ ที่ จ ะมั่ น ใจได้ ว่ า การผลิ ต
ผลิตภัณฑ์นั้นตอบสนองกับความต้องการของลูกค้าอย่างคงเส้นคงวา
จากเดิมนั้นมาตรฐาน ISO 9000 ออกโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ
MIL-Q-9895 ซึ่งเป็ น ข้อกาหนดด้านผลิ ตภัณฑ์ส าหรับระบบคุณภาพและมีความส าคัญมากนับตั้งแต่ปี
ค.ศ.1987 เป็นต้นมา เมื่อองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศได้ออกชุดอนุกรมมาตรฐานชื่อ ISO 9000 ออกมา
สมาพันธ์ยุโรปก็ได้มีการกาหนดและออกมาตรฐานอื่น ๆ ตามหลัง ISO 9000 อย่างรวดเร็วเพื่อเป็นการแก้ไข
ปัญหาที่บรรดาประเทศต่างๆ ในยุโรปต่างนามาตรฐาน ISO มาใช้ดาเนินงานเช่นเดียวกันกับมาตรฐานของ
ยุ โ รป อั น เนื่ อ งจากหลายประเทศของยุ โ รปยื น ยั น ว่า จะไม่ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์จ ากบริ ษั ท ที่ไ ม่ ไ ด้ รับ การรั บ รอง
มาตรฐาน ISO 9000 ดังนั้นโรงงานผู้ผลิตสินค้าและองค์กรผู้ให้บริการจึงให้ความสาคัญเรื่องนี้มาก ในขณะที่
อังกฤษเองก็ใ ห้การยอมรับกับองค์กรที่ได้รับการรับรอง ISO เทียบเท่ากับมาตรฐาน BS 5750 ซึ่งเป็น
มาตรฐานที่มีมาก่อน ISO โดยมาตรฐาน BS 5750 เป็นที่นิยมใช้แพร่หลายมาก่อนที่จะมีการออกมาตรฐาน
ISO ออกมา ในปี ค.ศ.1987 หลายๆประเทศรวมถึงสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และอินเดีย ได้นา
มาตรฐาน ISO ไปใช้และมีความพยายามที่จะดาเนินการเพื่อให้บริษัทของพวกตนได้รับการรับรองภายใต้
มาตรฐาน ISO 9000
มาตรฐานนี้ได้รับการปรับปรุงครั้งแรกในปี ค.ศ.1994 และต่อมาในปี ค.ศ. 2000 ปัจจุบันบริษัท
มากกว่า 200,000 บริษัททั่วโลก ได้รับการรับรองภายใต้มาตรฐาน ISO 9000 องค์กรที่สามารถขอรับการ
รับรองมาตรฐาน ISO ได้นั้นมีขนาดแตกต่างกันไป ซึ่งสามารถขอได้ตั้งแต่พนักงาน 2 คน ไปจนถึง 1,000 คน
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 453

อย่างไรก็ตามจานวนบริษัทที่ได้รับการรับรองระบบ ISO 9000 ไม่มีการลดน้อยถอยลงแต่อย่างใด ตรงกันข้าม


กลับมีแต่เพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจกล่าวได้ว่าระบบ ISO 9000 ถือเป็นความต้องการมาตรฐานขั้น
พื้นฐานขององค์กรธุรกิจและองค์กรราชการ ซึ่งจะใช้เป็นข้อกาหนดร่วมในการให้บริการแก่สาธารณะ
อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000
ISO 9000 คือ ชุดของข้นตอนการปฏิบัติงานและนโยบายสาหรับรองคุณภาพระหว่างประเทศของ
ผู้ผลิต โดยมาตรฐาน ISO 9000 ประกอบด้วยมาตรฐานต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ISO 9000: 2000 ระบบบริหารคุณภาพ: หลักการพื้นฐานและคาศัพท์ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการทา
ความเข้าใจกับคาศัพท์และข้อกาหนดต่างๆ ของมาตรฐาน
2. ISO 9001: 2000 ระบบบริหารคุณภาพ: ข้อกาหนด ซึ่งเป็นข้อกาหนดเพื่อเข้าถึงความต้องการ
ของลูกค้า และทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ
3. ISO 9004: 2000 ข้อแนะนาในการปรับปรุงตามมาตรฐาน ISO 9001: 2000 ซึ่งเป็นคาแนะนา
ให้องค์กรปรับปรุงระบบการจัดการคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษาความพึงพอใจของลูกค้าไว้อย่างยั่งยืน
4. ISO 19011: แนวทางคุณภาพและการตรวจสอบระบบสิ่งแวดล้อม
5. ISO 10012-1: 1992 ข้อกาหนดการประกันคุณภาพสาหรับการวัดอุปกรณ์ ส่วนที่ 1 ระบบการ
วัดอุปกรณ์
6. ISO 10012-2: 1997 การประกันคุณภาพสาหรับการวัดอุปกรณ์ ส่วนที่ 2 แนวทางการควบคุม
กระบวนการการวัด
7. ISO 10013: 1995 แนวทางในการพัฒนาคู่มือคุณภาพ
ประโยชน์ของมาตรฐาน ISO 9000
องค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (ISO) ได้สนับสนุนให้องค์กรต่างๆ มีการปรับปรุงคุณภาพด้วย
การขอการรับรองมาตรฐาน ISO 9000 องค์กรที่ได้รับการรับรองจะได้รับประโยชน์ (Ramasamy อ้างอิงใน
ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 203) ดังต่อไปนี้
1. ความรู้สาหรับการสร้างระบบบริหารคุณภาพ ซึ่งถูกพบในการปรับปรุงเริ่มต้นจากพนักงานระดับ
ปฏิบัติงานในบริษัท
2. การรับรองมาตรฐานเป็นข้อกาหนดขั้นต่าในการประกวดราคา ดังนั้นองค์กรต่างๆ ควรจะขอการ
รับรอง ISO 9000 เพื่อพิสูจน์ขีดสมรรถนะขององค์กร โดยองค์กรที่มีขนาดใหญ่ต่างต้องการซัพพลายเออร์ที่
ได้รับการรับรองมารฐาน ISO 9000 ดังนั้นซัพพลายเออร์ที่ได้รับการรับรอง ISO 9000 จะมีสิทธิเข้าร่วมการ
ประมูลราคากับองค์กรใหญ่ๆ
3. เป็นภาพลักษณ์ขององค์กร
4. เพื่อปรับปรุงจริยธรรมของพนักงาน เนื่องจากเป็นการปรับปรุงระบบขององค์กร
5. ลูกค้าได้รับประโยชน์โดยตรง เนื่องจากองค์กรได้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กร
6. ซัพพลายเออร์ได้ทราบถึงความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง อีกทั้งยังเป็นการลดความสูญ
เปล่าในกระบวนการผลิตของบริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9000
7. ISO 9000 เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม TQM ซึ่งองค์กรจะได้รับผลประโยชน์ในระยะยาว
8. พนักงานจะได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดการในองค์กร ถือเป็นประโยชน์ทางตรงขององค์กร
454 การควบคุมคุณภาพ

7.6.2 มาตรฐาน ISO 9001: 2000


ในมาตรฐาน ISO 9001: 2000 ใช้สาหรับเป็นข้อกาหนดในองค์กร โดยมีรายละเอียดคือ
1. การรับรององค์กรโดยการรับรองเนื้อหา
2. เป็นข้อกาหนดระหว่างซัพพลายเออร์กับลูกค้า
คุณภาพ ISO 9001 เป็นข้อกาหนดเบื้องต้น ซึ่งได้มีการเสนอแนะให้นาระบบบริหารคุณภาพ ISO
9001 มากาหนดเป็นกลยุทธ์ในการตัดสินใจขององค์กร มาตรฐานนี้เป็นแนวทางสาหรับสร้างระบบบริหาร
คุณภาพในองค์กร ซึ่งเป็นความรับผิดชอบขององค์กรโดยตรงในการออกแบบและนาระบบบริหารคุณภาพมา
ใช้ ใ นองค์ ก ร หากพิ จ ารณาถึ ง ข้ อ ก าหนด วั ต ถุ ป ระสงค์ ประเภทผลิ ต ภั ณ ฑ์ กระบวนการ ขนาดองค์ ก ร
และโครงสร้างขององค์กรแล้ว มาตรฐานนี้ได้เพิ่มข้อกาหนดสาหรับระบบบริหารคุณภาพไว้ใน ISO 9001
ซึ่งจะช่วยเติมเต็มข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์ แต่ว่าไม่ได้เป็นการลดความสาคัญของข้อกาหนดของผลิตภัณฑ์ลง
แต่อย่างใด
อย่างไรก็ตามมาตรฐานนี้ใช้ในการประเมินความสามารถองค์กรในด้านการตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้า กฎระเบียบ และความพึงพอใจของลูกค้า ในส่วนของการรับรองเนื้อหาสามารถนามาใช้ประเมิน
ประสิทธิภาพขององค์กรได้ ในส่วนขององค์ประกอบมาตรฐาน ISO 9004 ไม่สามารถใช้เป็นข้อกาหนดสาหรับ
เรื่องนี้ ได้เป็น เพีย งการปรับ ปรุ งตนเอง ส่ วนระบบ ISO 9000: 2000 เป็นการตอบสนองข้อกาหนดของ
มาตรฐาน ISO 9001 และ ISO 9004 ซึง่ ISO 9001 เป็นมาตรฐานที่ใช้รับรององค์กร
แนวปฏิบั ติของกระบวนการ (Process Approach) ระบบ ISO 9001 ได้นาออกมาใช้เป็น
ข้อเสนอแนะโดยเฉพาะเพื่อพัฒนา การนาไปใช้ และการปรับปรุงประสิท ธิภาพของระบบบริหารคุณภาพ
อีกทั้งมาตรฐานนี้ได้กาหนดการนาระบบกระบวนการและการจัดการภายในมาใช้ระหว่างกระบวนการกับการ
จัดการในทุกๆ กระบวนการขององค์กร โดยมาตรฐานนี้มีประโยชน์ดังนี้
(1) การเข้าใจและตอบสนองความต้องการ
(2) ความต้องการในการพิจารณากระบวนการเพื่อเพิ่มมูลค่า
(3) การนาประสิทธิภาพกระบวนการและประสิทธิผลไปใช้
(4) การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานการวัดวัตถุประสงค์
ข้อกาหนดมาตรฐาน ISO 9001: 2000
ขอบเขตของข้อกาหนดมาตรฐาน ISO 9001: 2000 มีดังต่อไปนี้
1. แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะสนองความต้องการ
ของลูกค้า และความต้องการด้านกฎระเบียบที่บังคับใช้
2. การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า อย่างไรก็ตามข้อกาหนดของมาตรฐานนี้สามารถนาไปใช้ได้กับ
ทุกๆ องค์กรโดยไม่ต้องคานึงถึงประเภทขององค์ กร ขนาดขององค์กร และผลิตภัณฑ์ขององค์กร ซึ่งมีการ
กาหนดในห่วงโซ่อุปทาน ดังแสดงในรูปที่ 7.19
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 455

ซัพพลายเออร์ ผู้ผลิต ลูกค้า

รูปที่ 7.19 ห่วงโซ่อุปทาน

ระบบบริหารคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001


ได้นาข้อกาหนดของระบบบริหารคุณภาพมาใช้ โดยข้อกาหนดที่ว่านี้ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 4 ถึง
องค์ประกอบที่ 8 ซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management) (Ramasamy อ้างอิงใน
ปรียาวดี ผลอเนก, 2556: 206) ดังต่อไปนี้
1. ระบบบริหารคุณภาพ (องค์ประกอบที่ 4)
2. ความรับผิดชอบต่อการจัดการ (องค์ประกอบที่ 5)
3. การจัดการทรัพยากร (องค์ประกอบที่ 6)
4. การสานึกต่อผลิตภัณฑ์ (องค์ประกอบที่ 7)
5. การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง (องค์ประกอบที่ 8)

การวัด การวิเคราะห์ การปรับปรุง (องค์ประกอบ 8)

การ ความรับ
ปรับปรุง ผิด การ การสานึก
ชอบต่อ จัดการ ต่อ
อย่าง ผลิตภัณฑ์ ความ
การ ทรัพยากร ผลิตภัณฑ์
ต่อเนื่อง พึง
จัดการ (องค์ประ (องค์ประ
(องค์ประ กอบที่ 6) กอบที่ 7) ข้อกาหนด พอใจ
กอบที่ 5)

ระบบบริหารคุณภาพ (องค์ประกอบที่ 4)

รูปที่ 7.20 โมเดล ISO 9001


456 การควบคุมคุณภาพ

จากรูปที่ 7.20 ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System: QMS) เป็นฐานของ


ระบบ ISO 9001 ส่วนองค์ประกอบอีก 4 องค์ประกอบ เป็นโครงสร้างในการสร้างและปรับปรุงคุณภาพใน
องค์กร เช่นเดียวกับการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า
7.6.3 มาตรฐาน ISO 9001: 2008
บริษัทหลายๆ บริษัทในโลกต่างก็ต้องการทาธุรกิจกับบริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001
(ซัพพลายเออร์ ซัพคอนแทคน์) แม้ว่าจะมีภาษา เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่แตกต่างกันก็ตาม โดยองค์กรสามารถ
มั่นใจได้ว่าบริษัทที่ทาธุรกิจด้วยนั้นสามารถผลิตสินค้าได้ตรงตามมาตรฐานโดมาตรฐาน ISO 9001: 2008 เป็น
อนุกรมมาตรฐานเดียวกันกับชุดมาตรฐาน ISO 9000 ที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่สาม (Third Party) เช่น
ประเทศสหรัฐอเมริกาบริษัทที่เป็นหน่วยงานที่สามเรียกว่า องค์การที่ให้การรับรอง (Registrar) ซึ่งเป็นนิติบุคคลผู้มี
อานาจนี้สามารถให้การรับรอง ISO 9001 ได้โดยเป็นที่ยอมรับทั่วโลก สิ้นปี 2004 ผู้ได้รับการรับรอง ISO 9001
รวมทั่วโลกมากกว่า 670,000 ราย จาก 154 ประเทศ โดยคิดเพิ่มเป็น 35% จากปี 2003
ISO 9001 เป็นหลักการพื้นฐานสาหรับการเปรียบเทียบ (Benchmarking) ระบบคุณภาพของ
บริษัท ในระยะของการทา ISO การวัดวิธีการบริหารคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพนั้น จะเป็นตัวกาหนด
นโยบายคุณภาพของบริษัท
วัตถุประสงค์ ของการนานโยบายด้านคุณภาพไปใช้ นั้น บริษัทสามารถเติมเต็มความต้องการของ
ลูกค้าด้วยการนามาตรฐาน ISO 9001: 2008 มาใช้ ซึ่งบริษัทที่ได้รับการรับรองจะต้องกาหนดความต้องการ
ของลูกค้า และมีการทบทวนความต้องการของลูกค้าเสมอ เพื่อที่จะมั่นใจว่าความต้องการของลูกค้าได้รับ
ความตอบสนองแล้ว โดยสามารถวัดและตรวจสอบความพึงพอใจของลูกค้าได้ ในการจัดทาระบบคุณภาพ ISO
9001: 2008 นั้น องค์กรจะต้องมุ่งเน้นลูกค้าเป็นหลัก เพื่อที่จะวัดความพึงพอใจของลูกค้าที่มี ต่อองค์กร
รวมถึงการขายผลิตภัณฑ์ การบริการไปสู่ตลาดภายนอก โดยบริษัท จะต้องมีการตรวจสอบความพึงพอใจของ
ลูกค้าเป็นระยะๆ เพื่อนาไปสู่การดาเนินการแก้ไขและปกป้องขอร้องเรียนจากลูกค้า อันเนื่องมาจากการผลิต
สินค้าไม่ตรงตามมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ความพึงพอใจของลูกค้าต้อ งมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจานวนมาก
และต้องมีการประมวลผลด้วย การที่จะทาให้ลูกค้าหันกลับมาใช้บริการหรือซื้อผลิตภัณฑ์นั้นต้องสร้างความพึง
พอใจให้ ลู ก ค้า อย่ างไรก็ต ามการผลิ ตสิ น ค้าหรือ ผลิ ต ภัณ ฑ์อาจจะมีข้ อบกพร้ องที่ ทาให้ ลู กค้า ไม่ พอใจจึ ง
ร้องเรียนมายังองค์กร ดังนั้นองค์กรจะต้องขจัดปัญหาเหล่านี้ออกไปและป้องกันไม่ให้เกิดซ้าขึ้นอีก
7.6.4 ผู้ให้การรับรองระบบ ISO
ISO เป็นองค์กรที่ให้การรับรองในการตรวจประเมิน และเป็นองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญในระบบ
คุณภาพ สภาพแวดล้อม การผลิต และการบริการ ผู้ให้การรับรองระบบ ISO จะมีทีมผู้ตรวจประเมินในการ
ประเมินโปรแกรมคุณภาพของบริษัท และรายงานกลับไปยังบริษัทแม่ องค์กรใดที่ต้องการเป็ นผู้ให้รับการ
รับรองระบบ ISO ต้องได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทที่ได้รับการยอมรับ และผ่านการรับรองด้านการตรวจสอบ
ตรวจประเมินตามข้อกาหนดมาตรฐานต่างๆ จากสถาบันชั้นนาทั้งในและต่างประเทศทั่วโลกก่อน ซึ่งผู้ให้การ
รับรองระบบ ISO ที่ได้รับการแต่งตั้งจากองค์กรดังกล่าว จะมีอานาจในการขึ้นทะเบียนซัพพลายเออร์ โดยการ
ใช้ใบรับรองจากบริษัทที่ได้รับการยอมรับ และผ่านการรับรองด้านการตรวจประเมินตามข้อกาหนดมาตรฐาน
ต่างๆ สามารถโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ได้ว่าองค์กรของตนมี ความสอดคล้องด้านการบริหารคุณภาพกับ
มาตรฐาน ISO 9000
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 457

การขอการรับรองระบบมาตรฐาน ISO นั้นสามารถกระทาได้ โดยผู้ให้การรับรองระบบ ISO จะ


พิจารณาเอกสารที่จะต้องได้รับการตรวจสอบ จากนั้นผู้ตรวจประเมินที่ได้รับการรับรองจะทบทวนขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานของบริษัท กระบวนการ และการดาเนินงานตามที่ได้ตรวจพบ หากบริษัทดาเนินงานสอดคล้องกับ
มาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ ISO ผู้ให้การรับรองระบบ ISO ก็จะพิจารณาถึงความหลากหลายของการ
บริหารงาน อันได้แก่ การบริหารงาน การออกแบบ กระบวนการผลิต เอกสารระบบบริหารคุณภาพ ประวัติ
การฝึกอบรม การทบทวนการบริหาร และกระบวนการตรวจสอบภายใน เป็นต้น ก่อนที่จะให้การรับรองต่อไป
อย่างไรก็ตามกระบวนการใดที่สอดคล้องกับการดาเนินงานตามมาตรฐาน รวมถึง ระบบเอกสารที่
อธิบายถึงการบริหารคุณภาพตามแผนการตรวจประเมิน จะต้องมีการจัดทาแผนการตรวจประเมินคุณภาพ
เพื่อเฝ้าระวังรายครึ่งปีหรือรายปี วัตถุประสงค์ก็เพื่อที่จะให้เกิดความมั่นใจได้ว่าบริษัทยังมีการดาเนินระบบ
บริหารคุณภาพอยู่

กิจกรรมหลังเสร็จสิ้นการบรรยายเทคนิคพัฒนาคุณภาพ

ให้นักศึกษาทารายงาน และนาเสนอหัวข้อของเทคนิคการพัฒนาคุณภาพ โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน


โดยเลือกหัวข้อเทคนิคการพัฒนาคุณภาพดังต่อไปนี้
1. การจัดการคุณภาพโดยรวม 2. กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ 3. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
4. ซิกซ์ซิกมา 5. การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ 6. มาตรฐานระบบคุณภาพ
ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย
ก. หลักการ
ข. วัตถุประสงค์
ค. ขั้นตอนการดาเนินการ
ง. วิธีการประยุกต์นาเทคนิคมาพัฒนาคุณภาพ
จ. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา
ฉ. สรุป
458 การควบคุมคุณภาพ

7.7 สรุป
หลักการเทคนิคพัฒนาคุณภาพในบทที่ 7 โดยแบ่งออกเป็น 6 กิจกรรม ได้แก่
1. การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) คือแนวคิดในการบริหารซึ่งจะรวมการจัดการคุณภาพเข้าด้วยกัน
ทั่วทั้งองค์กร โดยพื้นฐานหลักของ TQM ประกอบด้วย (1) การมุ่งเน้นไปที่ตัวลูกค้าในด้านความพึงพอใจ
(2) การมุ่งเน้นไปที่กระบวนการเพื่อสนับสนุนการปรับปรุงคุณภาพโดยรวม และ (3) การเรียนรู้ภายในองค์กร
2. กลุ่มควบคุมคุณภาพ (QC.Circle) คือการรวมตัวกันของกลุ่มการควบคุมคุณภาพ เพื่อการบริหารงาน
ด้านวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ให้ได้คุณภาพตามความต้องการของลูกค้า โดยมีเป้าหมายป้องกัน แก้ไข และ
ลดปัญหาความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต
3. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Kaizen) คือการปรับปรุงทีละเล็กที่ละน้อยโดยมีหัวใจ คือการปรับปรุง
อย่างต่อเนื่อง โดยไคเซนเกิดจากความพยายามของพนักงานทุกคนในองค์กร รวมถึงการบริหารงานที่ถูกต้อง
ของผู้บริหารระดับสูง
4. ซิกซ์ซิกมา (Six Sigma) เป็นเทคนิคทางสถิติที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพและปรับปรุงประสิทธิภาพของ
กระบวนการผลิต โดยมุ่งเน้นในการลดความผิดพลาด ลดความสูญเปล่า และลดการแก้ไขตัวชิ้นงาน ซึ่งซิกซ์
ซิกมายอมให้มีโอกาสเกิดของเสีย 3.4 ส่วนใน 1 ล้านส่วน โดยเครื่องมือซิกซ์ซิกมาประกอบด้วย (1) แผนผัง
กระบวนการ (2) ตารางสาเหตุและผลกระทบ (3) การวิเคราะห์ระบบการวัด (4) การศึกษาความสามารถของ
กระบวนการ (5) การวิเคราะห์ ผ ลกระทบจากความเสี ยหาย (6) การศึกษาผลกระทบแบบหลายด้าน
(7) การออกแบบการทดลอง (8) แผนการควบคุม
5. การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking) คือวิธีการในการวัดและเปรียบเทียบ ผลิตภัณฑ์
บริการ และวิธีการปฏิบัติกับองค์กรที่สามารถทาได้ดีกว่า เพื่อนาผลของการเปรียบเทียบมาใช้ในการปรับปรุง
องค์กรของตนเอง เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศในธุรกิจ
6. มาตรฐานระบบคุณภาพ (ISO) คือ ระบบการบริหารงานคุณภาพ ซึ่งมุ่งเน้นหลั กการพัฒนาและ
ปรับปรุงคุณภาพที่กระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการ โดยมิได้เน้นเฉพาะที่ตัวผลิตภัณฑ์ โดยให้หลักประกัน
กับลูกค้าว่าจะได้รับสินค้าหรือบริหารที่มีความน่าเชื่อถือมีคุณภาพตรงตามความต้องการ
แม้ว่าเทคนิคพัฒนาคุณภาพจะมีความแตกต่างและหลากหลายทั้งในด้านหลักการ และการปฏิบัติ แต่สิ่งที่
เป็นเป้าหมายเดียวกันหรือจุดประสงค์ร่วมกันก็ คือ การสร้างคุณภาพให้เกิดขึ้น เพื่อให้องค์กรที่นาไปใช้เกิด
ประโยชน์ในด้านการบริหาร การผลิตและปฏิบัติการ การออกแบบ และการบริการ ซึ่งความสมบูรณ์แบบของ
การพัฒนาคุณภาพ นั้นเกิดจากขั้นตอนหรือกระบวนการ 3 ประการดังนี้
(1) การรวมกิจกรรมทุกๆ กิจกรรมในองค์กร เข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมด้านการผลิต การวิจัยและ
ออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ การตลาด การควบคุมคุณภาพ การเงินและบัญชี การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น โดยทุกกิจกรรมกาหนดให้มีคุณภาพเป็นเป้าหมายเดียวกัน
(2) ความร่วมมือกันของทุกฝ่ายในองค์กรตั้งแต่ฝ่ายจัดหาวัตถุดิบไปจนกระทั่งฝ่ายขาย หรือตั้งแต่ผู้บริหาร
ไปจนถึงพนักงานปฏิบัติการ จะเป็นแรงขับเคลื่อนให้องค์กรไปสู่เป้าหมายได้อย่างดีเยี่ยม
(3) การนาเทคนิคการพัฒนาคุณภาพมาปรับปรุง ดัดแปลง และประยุกต์ใช้ในองค์กร ไม่ว่าจะเป็น TQM
QC.Circle ไคเซน และอื่นๆ ย่อมส่งผลให้เกิดคุณภาพและผลักดันเข้าสู่เป้าหมายที่วางไว้ได้
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 459

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7
1. จงอธิบายถึงการทาในสิ่งที่ถูกต้องและทาตั้งแต่ครั้งแรก (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
2. การบริหารโดยการตรวจเยี่ยม (Walk around management) มีลักษณะอย่างไร
(ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
3. จงอธิบายเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ TQM (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
4. จงอธิบายอุปสรรคในการนา TQM มาใช้ในองค์กร
5. จงอธิบายหลักใน TQM และองค์ประกอบของ TQM
6. ทีมงานการจัดการ TQM ประกอบด้วยฝ่ายใดบ้าง
7. จงอธิบายความหมายของ QC.Circle ในมุมมองของ JUSE (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
8. จงบอกแนวความคิดพื้นฐานของ QC.Circle
9. จงอธิบายองค์ประกอบที่สาคัญ โครงสร้างพื้นฐานของ QC.Circle มีอะไรบ้าง
10. Hosotani ได้จาแนกประเภทของปัญหาอะไรบ้าง และปัญหาประเภทใดที่ควรนามาเป็นหัวข้อของ
QC.Circle
11. จงอธิบายความหมายของ QC Story (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
12. จงอธิบายลักษณะปัญหา A, B, C, D จากหน้าต่างปัญหาของ Hosotani และปัญหาชนิดใด ที่เหมาะสม
ต่อการแก้ปัญหาโดย QC.Circle (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
13. องค์ประกอบในการเลือกปัญหามีอะไรบ้าง จงอธิบาย (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
14. จงอธิบายความหมายของไคเซน
15. เทคนิคที่ใช้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องได้แก่เทคนิคอะไรบ้าง
16. หลักพื้นฐานสาคัญ 3 ประการของไคเซนประกอบด้วยอะไรบ้าง (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
17. กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงแบบหน้ามือเป็นหลังมือ (KAIZEN BLITZ) มีลักษณะอย่างไร
(ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
18. ไคเซนกับนวัตกรรมแตกต่างกันอย่างไร (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
19. จงอธิบายแนวคิดหลักของวิธีการซิกซ์ซิกมา (Six Sigma) (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
20. จงอธิบายถึงขีดจากัดเฉพาะ (Specification limits) (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
21. การวัดค่า (measure) ซึ่งเป็นหนึ่งในขั้นตอนของ DMAIC ประกอบด้วยขั้นตอนใดบ้าง
22. จงอธิบายลักษณะการทางานของ Black Belts (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
23. การขึ้นมาดารงตาแหน่ง Master Black Belts ต้องผ่านเงื่อนไขใด (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
24. การเปรียบเทียบภายใน (Internal Benchmarking) มีลักษณะอย่างไร (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
25. จงอธิบายรายละเอียดหลักการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ
26. การเลือกทีมงานการปรับปรุงกระบวนการควรมีลักษณะอย่างไร (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
460 การควบคุมคุณภาพ

27. การเปรียบเทียบพันธมิตรกับองค์กรที่เป็นเลิศมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง
28. เหตุใดทุกๆ องค์กรในปัจจุบันควรมีการดาเนินการเปรียบเทียบองค์กร
29. หน่วยงานที่ทาหน้าที่สนับสนุนมาตรฐานคุณภาพที่ เรียกว่า ISO ซึง่ เป็นที่รู้จักกันทั่วไป มีชื่อเต็มว่าอย่างไร
(สภาวิศวกร, 2555)
30. ขอบเขตของมาตรฐาน ISO 9001: 2000 ประกอบด้วยอะไรบ้าง (ปรียาวดี ผลอเนก, 2556)
31. จงอธิบายถึงหน้าที่ของผู้ให้การรับรอง ISO 9000
32. ในการจัดทาระบบคุณภาพ ISO 9001: 2008 จะมุ่งเน้นเรื่องใดเป็นหลัก
33. ประโยชน์ในการดาเนินระบบมาตรฐาน ISO 9000 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
34. มอก 18000 เป็นมาตรฐานของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมว่าด้วย (สภาวิศวกร, 2555)
35. มาตรฐานใดเป็นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ (สภาวิศวกร, 2555)
36. Thailand Quality Award (TQA) เน้นให้ความสาคัญในเรื่องใดมากที่สุด (สภาวิศวกร, 2555)
37. เทคนิคการตั้งคาถามเพื่อให้ทราบว่าทาไมกระบวนการยังไม่เป็นไปตามที่ควรจะเป็นคือ
(สภาวิศวกร, 2555)
38. Thailand Quality Award (TQA) มีพื้นฐานมาจากเกณฑ์รางวัลใด (สภาวิศวกร, 2555)
39. จงบอกลักษณะของผู้ให้การรับรองระบบ ISO
40. จงเขียนห่วงโซ่อุปทานสาหรับการเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า
บทที่ 7 เทคนิคการพัฒนาคุณภาพ 461

เอกสารอ้างอิง

กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2547). ระบบการควบคุมคุณภาพที่หน้างานคิวชีเซอร์เคิล. กรุงเทพมหานคร:


เทคนิคอล แอพโพรช เคาน์เซลลิ่ง แอนด์ เทรนนิ่ง.
ปรียาวดี ผลอเนก. (2556). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.
ศรีไร จารุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สภาวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
Evan James R., Linsay William M. (2008). The Management and Control of Quality
(7th ed). OH: South-Western.
Hosotani K. (1992). Japanese Quality Concept: An Overview Quality Resource. New York:
White Plains.
Oakland S.J. (2003). TQM Text with Case. (3rd ed). Butterworth-Heinemann An imprint of
Elsevier.
Ramasamy Subburaj. (2009). Total Quality Management. India: Tata McGraw-Hill.
Russell R.S., Taylor B.W. (2011). Operation Management (7th ed). NJ:
John Wiley& Sons(Asia).
Swink, Morgan et al. (2011). Managing Operations Across the Supply Chain. NY:
McGraw-Hill.
Verma R., Boyer K.K. (2008). Operation & Supply Chain Management. China:
China Translation & Printing Services Limited.
462 การควบคุมคุณภาพ
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 8
ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
หัวข้อเนื้อหา
8.1 หลักการของความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
8.2 การหาความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
8.2.1 ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบอนุกรม
8.2.2 ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบขนาน
8.2.3 ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบผสม
8.3 เทคนิคการเพิ่มค่าความเชื่อมั่น
8.4 การแจกแจงความน่าจะเป็น
8.5 การใช้ตัวแบบเลขชี้กาลังกับความเชื่อถือได้ของผลิตภัณฑ์
8.6 รูปแบบของอัตราความขัดข้อง
8.7 กิจกรรมการควบคุมค่าความเชื่อมั่น
8.7.1 การกาหนดความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
8.7.2 การวางโครงงานเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นที่ต้องการ
8.7.3 ค่าส่วนเกินของการออกแบบผลิตภัณฑ์
8.7.4 การลดอัตราการใช้งาน
8.7.5 การหาชิ้นส่วนเกินไว้ทดแทน
8.7.6 กรรมวิธีการผลิต
8.7.7 การบรรจุหีบห่อและการขนส่ง
8.7.8 การทดสอบและประเมินค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
8.7.9 ระบบการควบคุม
8.7.10 การวิเคราะห์ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์
8.8 เส้นโค้ง OC
8.9 สรุป
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8
เอกสารอ้างอิง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผู้เรียน เรียนจบบทนี้แล้วผู้เรียนควรมีความรู้และทักษะดังนี้
1. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อความเชื่อมั่น และ
เทคนิคในการเพิ่มความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
2. สามารถคานวณหาความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบอนุกรม แบบ
ขนาน และแบบผสม
464 การควบคุมคุณภาพ

3. สามารถคานวณหาความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ อายุเฉลี่ย และอัตราความขัดข้องสาหรับผลิตภัณฑ์


จากการแจกแจงความน่าจะเป็น
4. อธิบายเกี่ยวกับกิจกรรมการวัดและควบคุมงานความเชื่อมั่น
5. สามารถสร้างเส้นโค้ง OC สาหรับแผนการทดสอบความเชื่อมั่น อายุของผลิตภัณฑ์ และคานวณ
ความน่าจะเป็นในการยอมรับลอต
วิธีสอนและกิจกรรม
1. ทบทวนเนื้อหาในบทที่ 7 และเฉลยการบ้านในบทที่ 7
2. นาเข้าสู่บทเรียนโดยการบรรยายหลักการของความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ ประกอบรูป ภาพใน
Power point
3. อธิบายเนื้อหาทีละหัวข้อแล้วเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถามในแต่ละหัวข้อก่อนข้ามหัวข้อนั้น
4. แบ่งกลุ่มทาแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 หรือทดสอบย่อย และตรวจสอบคาตอบของผู้เรียน
5. สอบถามผู้เรียนถ้าผู้เรียนมีคาถามสงสัย
6. สรุปเนื้อหา และภาพรวมของการควบคุมคุณภาพ
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ
2. กระดานไวท์บอร์ด
3. วัสดุโสตทัศน์ Power point
4. แบบฝึกหัดท้ายบท
5. เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
การวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมและบรรยากาศระหว่างเรียน
2. ถามตอบระหว่างเรียน
3. แบบฝึกหัดที่มอบหมายให้ในแต่ละครั้ง
การประเมินผล
1. จากการทากิจกรรมกลุ่มเสร็จตามเวลา
2. ทาแบบฝึกหัดมีความถูกต้องไม่น้อยกว่า 80%
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 465

บทที่ 8
ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
ปัจจุบันความเชื่อมั่น ของผลิตภัณฑ์เป็น ปัจจัยอย่างหนึ่งที่ สาคัญ ต่อการควบคุมคุณภาพ ในขณะที่
ผลิตภัณฑ์ก็มีรูปแบบและการปรับปรุงขึ้น ทั้งในผู้จัดส่งวัตถุดิบ เครื่องจักรเทคโนโลยีที่ทันสมัยต่อการผลิต
และกระบวนการผลิตจึงต้องมีความถูกต้องและแม่นยายิ่งขึ้น ดังนั้นการคานวณค่าความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์จึง
มีความส าคัญเป็ นอย่างมาก ซึ่งค่าของความเชื่อมั่นนี้สามารถที่จะบ่งบอกหรือเป็นตัวกาหนดคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ได้ แนวโน้มที่ผลิตภัณฑ์จะต้องมีค่าความเชื่อมั่นสูงนั้นมีสาเหตุส่วนใหญ่ คือ
1. เนื่องจากผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบ กระบวนการผลิต หรือระบบต่างๆ ล้วนเป็นแบบอัตโนมัติมากขึ้น
2. ผลิตภัณฑ์ กรรมวิธี และระบบต่างๆ ในปัจจุบันค่อนข้างสับสนยุ่งยากกว่าเดิม
3. ปัจจัยในการควบคุมการผลิตมีความแปรผันตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับความ
ต้องการของลูกค้า

8.1 หลักการของความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ (Reliability)


ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) ความเชื่อมั่น คือ ความน่าจะเป็นที่ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งจะสามารถทางานได้ตาม
รายละเอียดที่กาหนดตลอดช่วงของอายุผลิตภัณฑ์ ภายใต้สภาวะแวดล้อมที่กาหนด หรือเกณฑ์คุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ตลอดอายุ การใช้งาน จากพบว่ามี 4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อมั่น คือ ค่าที่เป็น ตัวเลขการ
ทางานได้ตามรายละเอียด อายุการใช้งาน และสภาวะแวดล้อม กล่าวคือผลิตภัณฑ์หนึ่งๆ ที่เหมือนกันแต่มีอายุ
การใช้งานของแต่ละชิ้นไม่เท่ากัน ดังนั้นความเชื่อมั่ นจึงเกี่ยวพัน กับความน่าจะเป็น ยกตัวอย่างเช่น ความ
เชื่อมั่นของเชือกไนลอนสามารถบอกได้ คือ ความน่าจะเป็นของการใช้งานเท่ากับ 0.92 ที่เชือกไนลอนจะ
สามารถรับน้าหนักได้ 1,000 กิโลกรัม ภายในช่วงระยะเวลา 2 ปี และภายใต้สภาพแวดล้อมที่แห้ง เป็นต้น
เนื่ อ งจากความเชื่ อ มั่ น มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ความน่ า จะเป็ น ที่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะท างานได้ ตาม
รายละเอียดระหว่างช่วงเวลาหนึ่งๆ ซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0 และ 1 ปัจจัยแรก คือ ปัจจัยของค่ าที่เป็นตัวเลข
ดังนั้นค่า 0.92 จึงแทนความน่าจะเป็นที่ผลิตภัณฑ์ 92 จาก 100 ชิ้น จะทางานได้ตามช่วงเวลาที่กาหนดและมี
8 ชิ้น จะไม่ทางานตามช่วงเวลาที่กาหนด หากทราบถึ งการแจกแจงความน่าจะเป็น จึงมีประโยชน์ต่อการ
อธิบายอัตราการล้มเหลวของหน่วยผลิตภัณฑ์
ปัจจัยที่ 2 คือ การที่ผลิตภัณฑ์ทางานได้ตามรายละเอียดที่กาหนด ปัจจัยที่สองเป็นปัจจัยที่สนใจการ
ทางานได้ตามช่วงเวลาที่กาหนดทางานได้ตามการออกแบบการใช้งานสาหรับงานเฉพาะ เช่น ความแข็งแรง
ก่อนการบิดขาดของเชือกโซ่กาหนดไว้ว่าไม่ต่ากว่า 1,000 กิโลกรัม ดังนั้นเมื่อถึงเวลาใช้งานโซ่ต้องสามารถรับ
แรงได้ 1,000 กิโลกรัม หรือมากกว่ารอกไฟฟ้าซึ่งออกแบบสาหรับยกของที่ระดับน้าหนักไม่เกินขีดจากัดหนึ่งๆ
มันไม่ได้ถูกออกแบบมาใช้ยกของที่มีน้าหนักเกินข้อกาหนดในแบบ หรือไขควงถูกออกแบบเพื่อขันออกหรือ
คลายสลักเกลียวไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อเปิดกระป๋อง เป็นต้น
ปัจจัยที่ 3 คือ อายุผลิตภัณฑ์ เป็นการกาหนดอายุของผลิตภัณฑ์ก่อนที่จะใช้งานไม่ได้ เช่น อายุของยาง
รถยนต์ ถู ก กาหนดด้ ว ยค่ า ที่ แ ตกต่า งกั น เช่น กรณี ย างถู ก ใช้ ง านจะมี อ ายุ 2-3 ปี หรื อ 40,000-60,000
466 การควบคุมคุณภาพ

กิโลเมตร ขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิ ตยางว่าต้องการให้เกาะถนนหรือประหยัดพลังงาน แต่ถ้าเป็นยางสารอง


จะมีอายุการใช้งาน 7 ปี
ปัจจัยของสภาวะแวดล้อมเป็นปัจจัยสุดท้ายที่สนใจสภาวะการใช้ง าน อาทิ อุณหภูมิ ความชื้น ชนิดของ
น้ายารวมไปถึงสถานที่เก็บสินค้า และวิธีการขนส่งสินค้า เช่น เก้าอี้นวมถูกออกแบบมาให้ใช้ในร่ม ซึ่งมิได้ถูก
ออกแบบมาเพื่อใช้กลางแจ้ง เป็นต้น ดังนั้นสิ่งที่เกี่ยวข้อง 4 ประการ ที่ส่งผลต่อค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
(ศรีไร จารุภิญโญ, 2540) มีดังนี้
1. ความน่าจะเป็น เนื่องจากว่าผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันแต่ละชิ้นอาจไม่เหมือนกัน บางทีก็มีอายุ การใช้งาน
สั้น บางชิ้นก็มีอายุการใช้งานที่นานกว่า เป็นต้น ฉะนั้นจึงจาเป็นต้องอาศัย Frequency Distributions ของ
การเสียหรือไม่ทางานของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เพื่อจะนาไปหาอายุการทางานของผลิตภัณฑ์ต่อไป
2. การใช้งานหรือการทางาน ยกตัวอย่างเช่น เครื่องทาความร้อนก็ควรที่จะให้ความร้อน ณ อุณหภูมิหนึ่ง
เมื่อเปิดสวิทช์และหมุนไปที่ขีดอันหนึ่ง เป็นต้น และการใช้งานนี้จะต้องใช้ให้ถูกต้องด้วย คือ เครื่องทาความ
ร้อนสาหรับใช้กับห้องๆ หนึ่งนั้น ถ้านาไปใช้ในที่โล่งแจ้งไม่มีขอบเขตก็คงไม่เกิดความร้อนที่ถูกต้องได้ อย่างนี้
เรียกว่าใช้ไม่ถูกต้องกับหน้าที่การทางานของผลิตภัณฑ์นั้น
3. ระยะเวลาหรืออายุ เป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องบอกกล่าวหรือกาหนดตัวอย่าง เช่น ชีวิตของมนุษย์เรานี้
ความแข็งแรงสมบูรณ์ของร่างกายใน 1 ปี กับ 10 ปี ย่อมแตกต่างกันได้ ระยะเวลาอายุของผลิตภัณฑ์ก็เช่นกัน
จึงจาเป็นต้องบอกหรือกาหนดชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Life span) เอาไว้ด้วย
4. สภาพแวดล้อม คือ สิ่งภายนอกหรือรอบนอกของผลิตภัณฑ์อันมีผลกระทบต่อความแข็งแรงคงทน และ
ถ้าจะมองให้กว้างออกไปอาจรวมถึงการเก็บและการขนส่งผลิตภัณฑ์นั้นๆ อีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น มอเตอร์
ไฟฟ้าสาหรับใช้ภายในอาคาร หากนาไปใช้ตากแดดตากฝนก็จะเสียหาย หรืออายุชีวิตการทางานผิ ดและ
เปลี่ยนไป
ความแข็ ง แรงคงทนนั้ น ผู้ อ อกแบบพยายามให้ มี ความแน่ น อนและออกแบบให้ ค่า ความเชื่ อมั่ น ของ
ผลิตภัณฑ์นั้นสูงเพียงพอ ซึ่งค่านี้เป็นค่าที่ถูกกาหนดและเป็นเป้าหมายของผู้ออกแบบ (Inherent Reliability)
แต่พอเวลานามาใช้งานผลิตภัณฑ์เหล่านั้นมักจะไม่แข็งแรงหรือคงทนดังที่ผู้ออกแบบต้องการนั้นคือ ค่าความ
เชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ลดลงไป เรียกว่า ความเชื่อมั่นที่ผลิตภัณฑ์บรรลุ ถึง (Achieved Reliability) ส่วนนี้มี
สาเหตุเกิดจากการผิดปกติของส่วนสั ดหรือกลไกของผลิตภัณฑ์โ ดยคาดไม่ถึง (Failure Mechanism)
ถ้าเราทราบสาเหตุของการผิดปกติของกลไกนี้แล้วแก้ไขเป็นผลสาเร็จได้ ค่าของความเชื่อมั่ นที่ผลิตภัณฑ์บรรลุ
ถึงจะสูงขึ้น และสามารถเท่ากับค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ที่ผู้ออกแบบตั้งกาหนดเป้าหมายไว้ได้
8.2 การหาความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
ศุภ ชั ย นาทะพั น ธ์ (2551) ผลิ ตภั ณ ฑ์ (Product) ส่ ว นมากจะประกอบด้ว ยหลายส่ ว นประกอบ
(Components) เช่น เครื่องซักผ้า ต้องมีอุปกรณ์สาหรับปั่นผ้ าที่สามารถทนความร้อนและสารเคมี อุปกรณ์
ปรับความเร็วสาหรับการปั่นผ้าขณะซักและปั่นแห้ง อุปกรณ์ปรับอุณหภูมิน้า หรืออุปกรณ์ควบคุมระดับน้า
เป็ น ต้น เมื่อพิจ ารณาความเชื่อมั่น ของแต่ล ะส่ ว นประกอบ สิ่ งที่วิเคราะห์ ได้จะเรียกว่า ความเชื่อมั่นของ
ผลิตภัณฑ์ (Reliability of the Product) หรือความเชื่อมั่นของระบบ (System Reliability: Rs) วิธีการเพิ่ม
ค่าของความเชื่อมั่นของระบบ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ให้ลูกค้าในการใช้งานผลิตภัณฑ์ สามารถทาได้โดยการ
ออกแบบส่ ว นประกอบของผลิ ตภั ณฑ์ การออกแบบให้ ผ ลิ ตภัณ ฑ์มี ส่ ว นประกอบหลายชิ้ นส่ ว น จะท าให้
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 467

ผลิตภัณฑ์มีโอกาสที่จะไม่ทางานเพิ่มมากยิ่งขึ้น ส่วนประกอบที่มีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของระบบโดยรวมมี
3 รู ป แบบ คื อ ส่ ว นประกอบที่ ต่อ กั น แบบอนุ ก รม (Series) แบบขนาน (Parallel) และแบบผสม
(Combination)
8.2.1 ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบอนุกรม
หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนที่ทาให้การทางานของระบบจะทาได้ก็ต่อเมื่อทุกๆ ชิ้นส่วน
ต้องทางานได้ (พิชิต สุขเจริญพงษ์, 2541) โดยส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ (1, 2, 3, ....., n) ถูกประกอบเป็น
แบบอนุกรม ดังแสดงในรูปที่ 8.1 โดยที่แต่ละส่วนประกอบทางานเป็นอิสระต่อกัน แต่ถ้าส่ วนประกอบส่วนใด
เสีย ก็จะส่งผลกระทบต่อการทางานของทั้งระบบ กล่าวคือผลิตภัณฑ์จะไม่สามารถใช้งานได้ ความเชื่อมั่นของ
ระบบอนุกรมสามารถหาได้ โดยการนาค่าความเชื่อมั่นของแต่ละส่วนประกอบมาคูณกัน ดังสมการที่ 8.1

ส่วนประกอบ 1 ส่วนประกอบ 2 ส่วนประกอบ 3 ส่วนประกอบ n

R1 R2 R3 Rn

รูปที่ 8.1 ส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบอนุกรม


Rs = R1 x R2 x R3 x …. x Rn ...(8.1)

กาหนดให้ R1, R2, R3, ….Rn คือ ความน่าจะเป็นของส่วนประกอบที่ 1, 2, 3, ...n ที่สามารถทางาน


ได้ จากสมการที่ 8.1 พบว่าความเชื่อมั่นของระบบจะลดลงเมื่อจานวนของส่วนประกอบย่อยเพิ่มขึ้น ดังนั้น
การออกแบบผลิตภัณฑ์โดยการลดส่วนประกอบย่อยจึงเป็นหนทางที่จะสามารถเพิ่มค่าความเชื่อมั่น
ตัวอย่างที่ 8.1
เครื่องฉายภาพมี 5 ส่วนประกอบที่ต่อกันแบบอนุกรมคือ ส่วนประกอบ ก ข ค ง และ จ ความเชื่อมั่น
เท่ากับ 0.985, 0.890, 0.985, 0.999 และ 0.999 ตามลาดับ จงหาค่าความเชื่อมั่นของระบบเครื่องฉายภาพ
วิธีทา
Rs = Rก x Rข x Rค x Rง x Rจ
= (0.985)(0.890)(0.985)(0.999)(0.999)
= 0.862
สรุปได้ว่า ระบบเครื่องฉายภาพนี้มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.862
468 การควบคุมคุณภาพ

8.2.2 ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบขนาน
เมื่อส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ 1, 2, 3, ...n ถูกประกอบเป็นแบบขนาน ดังแสดงในรูปที่ 8.2 ถ้า
ส่ว นประกอบส่ ว นได้ส่ ว นหนึ่ งเสี ย จะไม่ส่ งผลกระทบต่อการทางานของระบบ เนื่องจากผลิ ตภัณฑ์จะใช้
ส่ ว นประกอบอื่น ที่ต่อขนานอยู่ กับ ระบบให้ ทางานแทน ความเชื่อมั่น ของระบบแบบขนานสามารถหาได้
ดังสมการที่ 8.2

Rs = 1 – (1 –R1) x (1 –R2) x (1 –R3) x ..... (1 –Rn) ...(8.2)

กาหนดให้ (1 –R1), (1 –R2), (1 –R3), ..... (1 –Rn) คือ ความน่าจะเป็นของส่วนประกอบที่


1, 2, 3, ...n ไม่สามารถจะทางานได้
จากสมการที่ 8.2 พบว่าความเชื่อมั่นของระบบจะเพิ่มขึ้น เมื่อจานวนของส่วนประกอบย่อยเพิ่มขึ้น
ดังนั้นการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยการเพิ่มส่วนประกอบย่อย จึงเป็นหนทางที่จะสามารถเพิ่มค่าความเชื่อมั่น

ส่วนประกอบ 1
R1

ส่วนประกอบ 2
R2

ส่วนประกอบ 3
R3

ส่วนประกอบ n
Rn

รูปที่ 8.2 ส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบขนาน


บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 469

ตัวอย่างที่ 8.2
จากตัวอย่างที่ 8.1 กาหนดให้ 5 ส่วนประกอบต่อกันแบบขนานคือ ส่วนประกอบ ก ข ค ง และ จ
โดยมีค่าความเชื่อมั่น ของแต่ละส่วนประกอบเท่ากับ 0.985, 0.890, 0.985, 0.999 และ 0.999 ตามลาดับ
จงหาค่าความเชื่อมั่นของระบบ
วิธีทา
Rs = 1- (1-Rก) (1-Rข)(1-Rค)(1-Rง) (1-Rจ)
= 1 - (1-0.985)(1-0.890)(1-0.895)(1-0.999)(1-0.999)
= 0.9999999999753

สรุปได้ว่า ความเชื่อมั่นของระบบมีค่าประมาณ 1 ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นสูงมาก

8.2.3 ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบผสม
เมื่อส่วนประกอบของผลิ ตภัณฑ์ถูกประกอบเป็นแบบผสม หรือส่วนประกอบถูกประกอบเป็นแบบ
อนุกรมและแบบขนาน ดังแสดงในรูปที่ 8.3 ความเชื่อมั่นของระบบแบบผสมสามารถหาได้ ดังสมการที่ 8.3

Rs = (R1, 2, 3) x (R5, 6) x (R4) ...(8.3)


จากสมการที่ 8.3 พบว่ า ความเชื่ อ มั่ น ของระบบส่ ว นใหญ่ จ ะประกอบด้ ว ยแบบผสม
และแบบขนาน

ส่วนประกอบ 1
R1 ส่วนประกอบ 5
R5 ส่วนประกอบ 4
ส่วนประกอบ 2
R2 R4
ส่วนประกอบ 6
R6
ส่วนประกอบ 3
R3

รูปที่ 8.3 ส่วนประกอบย่อยประกอบเป็นแบบผสม


470 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 8.3
กาหนดให้ 6 ส่วนประกอบต่อกันแบบขนาน และแบบอนุกรม ดังแสดงในรูปที่ 8.3 โดยมีค่าความ
เชื่อมั่นของแต่ละส่วนประกอบ เท่ากับ 0.900, 0.956, 0.982, 0.953 และ 0.953 ตามลาดับ จงหาค่าความ
เชื่อมั่นของระบบ
วิธีทา
Rs = (R1, 2, 3) x (R5, 6) x (R4)
= (1 – (1 –R1) (1 –R2) (1 –R3))(1-(1-R5)(1–R6))(R4)
= 1 - (1- 0.900)(1 - 0.956)(1-0.982)) (1 – (1-0.953)(1-0.953)) (0.999)
= 0.997

สรุปได้ว่า ความเชื่อมั่นของระบบมีค่าเท่ากับ 0.997


8.3 เทคนิคการเพิ่มค่าความเชื่อมั่น
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) เทคนิคการเพิ่มค่าความเชื่อมั่นมี 4 เทคนิค คือ การออกแบบ การควบคุม
กระบวนการผลิต การควบคุมการขนส่งสินค้า และการบารุงรักษา
1. การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น ปั จ จั ย หนึ่ง ที่ จ ะมี ผ ลกระทบต่อ ความเชื่ อ มั่ น กล่ า วคื อ การออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ให้มีส่วนประกอบน้อยจะทาให้ผลิตภัณฑ์มีค่าความเชื่อมั่นมาก เช่น ถ้าส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์มี
40 ชิ้น โดยต่อแบบอนุกรม และแต่ละส่วนประกอบมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.990 แล้วค่าความเชื่อมั่นของ
ระบบ จะมีค่าเท่ากับ R40 = 0.99040 = 0.669 แต่ถ้าส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์มี 30 ชิ้นแล้ว ค่าความเชื่อมั่น
ของระบบจะมีค่าเท่ากับ R30 = 0.99030 = 0.740 เป็นต้น การเพิ่มค่าความเชื่อมั่นเพื่อไม่ให้เกิดความสูญเสีย
สามารถทาได้ 2 วิธีคือ วิธีการเพิ่มส่วนประกอบสารอง (Backup Component) เผื่อว่าส่วนประกอบหลักตัว
ใดเกิ ดไม่ ทางาน ส่ ว นประกอบส ารองจะเริ่ มทางานแทน ซึ่งเป็นแนวคิ ดของระบบที่ มีส่ ว นประกอบย่อ ย
ประกอบเป็นแบบขนาน และวิธีการออกแบบเกินมาตรฐาน (Over Design) เช่น การเพิ่มระบบความปลอดภัย
เพื่อให้ผ ลิตภัณฑ์มีค่าความเชื่อมั่นมากขึ้น อาจทาได้โดยการเพิ่มขนาดของหน้าตัดของสายไฟให้ ใหญ่กว่า
มาตรฐาน เป็นต้น
2. การควบคุมกระบวนการผลิต โดยอาศัยเทคนิคการควบคุมคุณภาพพื้นฐานที่ได้อธิบายในบทก่อนหน้า
นี้ เนื่องจากจะช่วยลดความเสี่ยงในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีค่าความเชื่อมั่นต่า
3. การขนส่งสินค้า เป็นปัจจัยที่สาคัญเพราะไม่ว่าจะออกแบบหรือผลิตผลิตภัณฑ์ดี อย่างไรก็ตามถ้าขนส่ง
ไม่ดีก็จะทาให้บรรจุภัณฑ์เสียหายจนส่งผลกระทบถึงผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้ลูกค้าจะขาดความเชื่อถือในผลิตภัณฑ์
4. การบารุงรักษา เป็นอีกวิธีที่ทาให้ความเชื่อมั่นเพิ่มขึ้นได้เช่นกัน โดยอาจประยุกต์สั ญญาณเตือน
เช่น ไฟเหลืองกระพริบ หรือเสียงเตือนเมื่อส่วนประกอบของเครื่องยนต์ต้องการสารหล่อลื่น เป็นต้น
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 471

8.4 การแจกแจงความน่าจะเป็น
การแจกแจงความน่าจะเป็นที่ต้องประยุกต์ในการศึกษาความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ต้องเป็นแบบต่อเนื่อง
ประกอบด้วย การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง (Exponential Distribution) การแจกแจงปกติ (Normal
Distribution) การแจกแจงไวบูลล์ (Weibull Distribution) ดังแสดงในรูปที่ 8.4

การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง การแจกแจงแบบปกติ การแจกแจงแบบไวบูลล์


1 −t 1 −(t−θ)2 β−1
f(t) = e θ β t t β
θ f(t) = e 2σ2 f(t) = e− θ
σ 2π θ θ
1.0 0.5 1.0
𝛾= 0
𝛽 = 0.5
𝛼=1
f(t) f(t) f(t) 0.5 𝛽=1 𝛽 = 3.5

0 t 0 0 θ
θ θ
t t

รูปที่ 8.4 การแจกแจงความน่าจะเป็นที่ประยุกต์ในการศึกษาความเชื่อมั่น


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์ 2551)

จากรูปที่ 8.4 พารามิเตอร์ความชันของการแจกแจงไวบูลล์ ( β) เป็นตัวที่แสดงถึงรูปทรงของการแจกแจง


เช่นในกรณีที่ค่า β เท่ากับ 1 รูปทรงของการแจกแจงจะเป็นการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง พารามิเตอร์ θ ของ
การแจกแจงความน่าจะเป็น คือ อายุเฉลี่ยหรือเวลาเฉลี่ยจนกระทั่งเสีย (Mean Lifeหรือ Mean Time to
Failure: MTTF) ของผลิตภัณฑ์ และ t คือ เวลาหรือวัฏจักร
เส้นโค้งความเชื่อมั่น (Reliability Curve) สาหรับการแจกแจงการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง การแจกแจง
ปกติ และการแจกแจงไวบูลล์ เมื่อพิจารณาในรูปของฟังก์ชั่นเวลา ดังแสดงในรูปที่ 8.5
472 การควบคุมคุณภาพ

การแจกแจงแบบเลขชีก้ าลัง การแจกแจงแบบปกติ การแจกแจงแบบไวบูลล์


t β−1
β t t β
R(t) = e −t θ R(t) = 1.0 − f(t)dt f(t) = e− θ
θ θ
1.0 1.0 0 1.0

𝛽 = 0.5
R(t) 0.5 R(t) 0.5 R(t)0.5 𝛽=1 𝛽 = 3.5

0 t 0 0
t t

รูปที่ 8.5 เส้นโค้งความเชื่อมั่นของการแจกแจงแบบต่างๆ


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์ 2551)

ตัวอย่างที่ 8.4
จงหาค่าความเชื่อมั่นที่ t = 30 และ 50 ของตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทดสอบ เมื่ออายุเฉลี่ยมีค่า
เท่ากับ 40 ชั่วโมงสาหรับอัตราการขัดข้องที่คงที่
วิธีทา
R t = 30 = e- t/Ө
= e- 30/40
= 0.472
R t = 50 = e- t/Ө
= e- 50/40
= 0.287

ค่าความเชื่อมั่นจะมีค่าลดลงเมื่อเวลาเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งตรงกับ กราฟลักษณะการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง


ในรูปที่ 8.5
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 473

ตัวอย่างที่ 8.5
หลอดไฟยี่ห้อหนึ่งขนาด 75 วัตต์ มีอายุเฉลี่ย 750 ชั่วโมง และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 50 ชั่วโมง
จงหาค่าความเชื่อมั่นที่จะใช้งานได้ 850 ชั่วโมง
R(t)

𝑅(𝑡) → ∞

t
750 850
วิธีทา
x - θ 850 - 750
Z= =  2.0
σ 50

จากตารางการแจกแจงปกติจะได้ P(t) = 0.9772

R t = 850 = 1- P(t)
= 1 - 09772
= 0.228 หรือ 2.28 %

สรุปได้ว่า ความเชื่อมั่น ที่จะใช้งานได้ 850 ชั่วโมง มีค่าเท่ากับ 0.0228 หรือ 2.28% หรือถ้ามีหลอดไฟ
10,000 หลอด จะมีประมาณ 228 หลอด ที่สามารถใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 850 ชั่วโมง
474 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 8.6
รูปแบบความขัดข้องของแบตเตอรี่ชนิดหนึ่งมีการแจกแจงแบบไวบูลล์ โดยมีค่าความชันของการแจก
แจง เท่ากับ 4.2 และมีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 103 ชั่วโมง จงหาค่าความเชื่อมั่นที่ 120 ชั่วโมง
วิธีทา
R t = 120 = e –(t/Ө) ß
= e- (120/103)4.2
= 0.150

ในการพิจารถึงอายุของผลิตภัณฑ์ สามารถวิเคราะห์ได้จากเส้นโค้งอัตราความขัดข้อง (Failure Rate


Curve) ดังแสดงในรูปที่ 8.6 สาหรับการแจกแจงปกติ การแจกแจงไวบูลล์ เมื่อพิจารณาในรูปของฟังก์ชั่นเวลา

การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง การแจกแจงแบบปกติ การแจกแจงแบบไวบูลล์


t−θ 2

e σ 2
β t β−1
λ= ∞ 2 λ=
λ=1 θ 1 x−θ θ θ
− dx
1.0 2 σ 1.0
3.0 t

𝛽 = 3.5
𝛽 = 0.5
𝜆 𝜆 𝜆
1 𝜃 1.0 𝛽=1

0 t 0
t 0 t

รูปที่ 8.6 เส้นโค้งอัตราความขัดข้องของการแจกแจงแบบต่างๆ


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์ 2551)

จากรูปที่ 8.6 อัตราความขัดข้อง (λ) ยิ่งมีค่าน้อย ผลิตภัณฑ์ก็ยิ่งมีความเชื่อมั่นสูง ซึ่งสามารถประมาณ


จากการทดสอบโดยการใช้สมการที่ 8.4

λ = จานวนผลิตภัณฑ์เสียในระหว่างการทดสอบ/ผลรวมของเวลาที่ใช้ทดสอบ

r
= …(8.4)
 t+  n-r  T
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 475

กาหนดให้ r แทนจานวนผลิตภัณฑ์เสีย
t แทนเวลา (อายุ) ของผลิตภัณฑ์ก่อนเสีย
n แทนจานวนผลิตภัณฑ์ที่ทดสอบ
T แทนเวลาที่ต้องการทดสอบ

ตัวอย่างที่ 8.7
จงหาอัตราความขัดข้องและอายุเฉลี่ยสาหรับผลิตภัณฑ์หนึ่ง เมื่อทาการทดสอบ 9 ชิ้น ว่าสามารถใช้
งานได้ 22 ชั่วโมงหรือไม่ ผลพบว่ามี 4 ชิ้นที่สามารถทางานได้เพียง 4, 12, 15 และ 21 ชั่วโมง ส่วนที่เหลือ
สามารถทางานได้ 22 ชั่วโมง
วิธีทา
r
อัตราความขัดข้อง (λ) =
 t+  n-r  T
4
=
 4  12  15  21   9  4 22
= 0.025 ชิ้นต่อชั่วโมง
1
อายุเฉลี่ย ( θ ) =
λ
1
=
0.025

= 40 ชั่วโมง
ในกรณีที่ต้องการหาอัตราความขัดข้องสาหรับผลิตภัณฑ์ เมื่อทาการทดสอบจนผลิตภัณฑ์ไม่สามารถ
ทางานได้ หรื อ เมื่อ กาหนดเวลาที่ต้องทดสอบ แต่ขณะทดสอบมี บางผลิ ตภัณฑ์ ไ ม่ส ามารถทางานได้ตาม
กาหนดเวลา แล้วมีการแทนหน่วยทดสอบใหม่แทนที่อัตราความขัดข้องสามารถประมาณได้จากสมการที่ 8.5
โดยที่ ∑t แทนเวลาทดสอบทั้งหมด
r
λ = …(8.5)
t
476 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 8.8
จงหาอัตราความขัดข้องสาหรับผลิตภัณฑ์หนึ่ง เมื่อทาการทดสอบ 6 ชิ้น จนกว่าผลิตภัณฑ์จะไม่
สามารถทางานได้ผลการทดสอบ คือ 1,025 1,550 2,232 3,786 5,608 และ 7,918 ชั่วโมง
วิธีทา
r
λ =
t
6
=
1, 025 + 1,550 + 2, 232 + 3, 786 + 5, 608 + 7,918 
= 0.00027
ดังนั้น อัตราความขัดข้องสาหรับผลิตภัณฑ์หนึ่งจึงมีค่าเท่ากับ 0.00027 ชิ้นต่อชั่วโมง

8.5 การใช้ตัวแบบเลขชี้กาลังกับความเชื่อถือได้ของผลิตภัณฑ์
จากฟังก์ชั่น ความเชื่อมั่น ของผลิ ตภัณฑ์ สามารถนามาใช้เพื่อการออกแบบระบบ และคานวณความ
น่าเชื่อถือได้ ดังต่อไปนี้
1. ระบบอนุกรม
ถ้าระบบประกอบด้วยชิ้นส่วน n ชิ้น ต่อกันอย่างอนุกรม โดยมีอัตราการขัดข้อง λ1, λ2 , ..., λn จะได้
ความเชื่อมั่นอนุกรม คือ
 
R (t) = exp -   λi  t 
n
…(8.6)
  i=1  

ตัวอย่างที่ 8.9
กาหนดให้ชิ้นส่วนหนึ่งมีอัตราความขัดข้อง 0.09 ครั้งต่อ 1,000 ชั่วโมง จงหาความน่าจะเป็นที่ชิ้นส่วน
นี้ ใช้งานได้จนถึง 10,000 ชั่วโมง
วิธีทา
R(t) = e –(t/Ө)
= e-0.09(10)
= 0.407

ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ชิ้นส่วนนี้ใช้งานได้เท่ากับ 0.407 หรือ 40.7%


บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 477

ตัวอย่างที่ 8.10
ระบบอนุกรมประกอบด้วยชิ้นส่วน 4 ชิ้น ที่มีอัตราการขัดข้องต่อ 1,000 ชั่วโมง เป็น 0.05, 0.06,
0.12, 0.08 จงหาอัตราความน่าจะเป็นที่ระบบทางานได้จนถึง 5,000 ชั่วโมง
วิธีทา
R(4) = e –(t/Ө)
= e-(0.05+0.06+0.12+0.08)(5)
= 0.212

ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ระบบทางานได้ได้เท่ากับ 0.212 หรือ 21.2%

ดังที่กล่าวมาสาหรับการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง เวลาเฉลี่ยระหว่างการขัดข้อง (Mean Time


Between Failure: MTBF) ซึ่งมีค่าเป็น 1/ λ สาหรับระบบอนุกรมประกอบด้วย n ชิ้น โดยแต่ละชิ้นส่วนเป็น
λ1 , λ2 , ..., λn ดังนั้นค่า MTBF ของระบบอนุกรม คือ

MTBF = λ1 +λ2 + ...+ λn 1 …(8.7)

จากตัวอย่างที่ 8.10 ค่า MTBF ของระบบ คือ

MTBF = [0.05+0.06+0.12+0.08]-1
= 3.225 ชั่วโมง

2. ระบบขนาน
สาหรับระบบขนาน ความน่าจะเป็นที่ระบบจะขัดข้องเมื่อประกอบด้วยชิ้นส่วน n ชิ้น ที่มีอัตราการ
ขัดข้อง λ1, λ2 , ..., λn คานวณได้ คือ

R(t) = 1-(1-e- λ /t)n …(8.8)

ซึ่งค่า MTBF ของระบบในกรณีนี้ คือ

MTBF = 1 1+ 1 + 1 +...+ 1  …(8.9)


λ 2 3 n
478 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 8.11
ถ้าผู้ออกแบบระบบสามารถตัดสินใจเลือกว่า จะใช้ชิ้นส่วนขนานกันกี่ชิ้น เมื่อกาหนดให้ชิ้นส่วนทุกชิ้น
มีอัตราการขัดข้องเท่ากันหมดคือ 0.05 ครั้งต่อ 1,000 ชั่วโมง จากสมการที่ 8.9 จะได้ว่า
(พิชิต สุขเจริญพงษ์, 2541)
วิธีทา

n 1 2 3 4 5 6
MTBF (ชั่วโมง) 20,000 30,000 36,666 41,666 45,666 48,944

จะเห็นว่าถ้าใช้ชิ้นส่วน 4 ชิ้น ขนานกันจะทาให้ค่า MTBF เพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่า คือ จาก 20,000


ชั่วโมง เป็น 41,666 ชั่วโมง ดังนั้นอัตราการเพิ่มขึ้นของ MTBF จะลดลงเมื่อเทียบกับอัตราการเพิ่มขึ้นของ
จานวนชิ้นส่วน

8.6 รูปแบบของอัตราความขัดข้อง
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) รูปแบบของความขัดข้อง หรือรูปแบบการเสียของผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ สามารถ
นาเสนอได้ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอัตราความขัดข้องของผลิ ตภัณฑ์กับระยะเวลาของผลิตภัณฑ์ ดังแสดงใน
รูปที่ 8.7 กราฟดังกล่าวเกิดจากการสุ่มผลิตภัณฑ์มาทดสอบตามหลักสถิตเิ พื่อศึกษาความเชื่อมั่น ซึ่งเส้นโค้งจะ
มีลักษณะเหมือนกับอ่างน้า หรือเส้นโค้งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ช่วง คือ ช่วงการแก้ไข (Debugging
Phase) ช่วงอัตราความขัดข้องคงที่ (Chance Failure Phase) และช่วงความสึกหรอ (Wear-out Phase)
ช่วงการแก้ไขหรือช่วงเริ่มต้น เป็นช่วงที่เกิดอัตราความขัดข้อง (Failure Rate: λ) ในระยะเวลาสั้นๆ
เนื่ อ งจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ยู่ ใ นช่ ว งของการทดสอบก่ อ นการส่ ง มอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ยู่ ใ นช่ ว งการ
รับประกันสินค้า ลักษณะของเส้นโค้งช่วงนี้จะแปรตามชนิดของผลิตภัณฑ์การเกิดความขัดข้องสามารถอธิบาย
ด้วยการแจกแจงไวบูลล์ โดยที่ค่าพารามิเตอร์ β มีค่าน้อยกว่า 1

ช่วงการแก้ไข ช่วงอัตราความขัดข้องคงที่ ช่วงการสึกหรอ

รูปที่ 8.7 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราความขัดข้องกับระยะเวลา


(ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์ 2551)
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 479

ช่วงอัตราความขัดข้องคงที่ในรูปที่ 8.7 เป็นช่วงที่มีเส้นตรงอยู่ในแนวนอน โดยมีความขัดข้องเกิดขึ้นแบบ


สุ่ ม ซึ่ ง ตรงกับ ผลิ ต ภัณ ฑ์ ส่ ว นใหญ่ แ ต่ ก็มี บ างผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ อั ต ราความขั ด ข้อ งแปรผั น กับ เวลา และก็ มีบ าง
ผลิตภัณฑ์ที่อัตราความขัดข้องแปรผกผันกับเวลา (ผลิตภั ณฑ์ได้รับการปรับปรุงตลอดเวลา) การแจกแจงที่ใช้
อธิบายในช่วงความสัมพันธ์นี้คือ การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง และการแจกแจงไวบูลล์ที่มีค่า β เท่ากับ 1 แต่
ถ้าเส้นตรงมีความชันเป็นบวกหรือลบ ค่า β ก็จะมีค่ามากหรือน้อยกว่า 1 ตามลาดับ ความเชื่อมั่น ณ เวลา t
ของการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง และการแจกแจงไวบูลล์ที่มีค่า β เท่ากับ 1 หาได้จากสมการที่ 8.10
t
 
Rt = e  
...(8.10)

ในกรณีที่ค่า β ไม่เท่ากับ 1 ประยุกต์สมการที่ 8.10 แทนสมการที่ 8.11


t
 β
Rt = e  
...(8.11)

ช่วงการสึกหรอ ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของกราฟ อัตราความขัดข้องเพิ่มขึ้นตามระยะเวลา โดยปกติจะใช้


การแจกแจงปกติอธิบายช่วงการสึกหรอนี้ อย่างไรก็ตามการแจกแจงไวบูลล์ที่มีค่า β มากกว่า 1 ก็สามารถใช้
อธิบายได้เช่นกัน จากรูปที่ 8.5 ความเชื่อมั่น ณ เวลา t ของการแจกแจงปกติ การแจกแจงปกติหาได้จาก
สมการที่ 8.12
t
Rt = 1- f(t) dt ...(8.12)
0
t
ค่า  f(t) dt สามารถหาได้จากการเปิดตารางที่ ก-3 ของภาคผนวก ก. โดยที่พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ คือ
0

ความน่าจะเป็นของความขัดข้อง อย่างไรก็ตามยังมีบางผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบของความขัดข้องไม่เหมือนกับรูป
ที่ 8.7 สิ่งสาคัญ คือ การเข้าใจถึงรูปแบบของความขัด ข้อง และการแจกแจงความน่าจะเป็น ทาให้วิเคราะห์
หรือทานายความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ได้
480 การควบคุมคุณภาพ

ตัวอย่างที่ 8.12
จงสร้างรูปแบบความขัดข้องสาหรับผลการทดสอบ 1,000 ค่าของผลิตภัณฑ์หนึ่งๆ ตลอดวัฏจักรการ
ทางาน ผลการทดสอบมีดังตารางที่ 8.1

ตารางที่ 8.1 วัฏจักรการทางานของผลิตภัณฑ์


จานวนวัฏจักร จานวนของเสีย
0-10 347
11-20 70
21-30 59
31-40 53
41-50 51
51-60 60
61-70 79
71-80 92
81-90 189

วิธีทา
ผลการทดสอบข้างต้นสามารถหาค่าอัตราความขัดข้องได้ดังนี้
จานวนวัฏจักร จานวนของเสีย จานวนที่ยังทางานได้ λ = r/∑t
0-10 347 653 347/(10)(1,000) = 0.035
11-20 70 583 70/(10)(653) = 0.011
21-30 59 524 59/(10)(583) = 0.010
31-40 53 471 53/(10)(524) = 0.010
41-50 51 420 51/(10)(471) = 0.011
51-60 60 360 60/(10)(420) = 0.014
61-70 79 281 79/(10)(360) = 0.022
71-80 92 189 92/(10)(281) = 0.033
81-90 189 0 189/(10)(189) = 0.10

ดังนั้นรูปแบบความขัดข้องสาหรับผลการทดสอบ 1,000 ค่าของผลิตภัณฑ์หนึ่งๆ ตลอดวัฏจักรการ


ทางานพิจารณาได้ดังกราฟต่อไปนี้
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 481

λ
0.12

0.1

0.08

0.06

0.04

0.02

0
0-10 11-20 21-30 31-40 41-50 51-60 61-70 71-80 81-90
วัฏจักร
ตัวอย่างที่ 8.13
ในการทดสอบอายุเวลาของสวิตซ์ไฟฟ้า 200 อัน ให้ผลดังแสดงในตารางที่ 8.2 จงเขียนกราฟแสดง
ความถี่

ตารางที่ 8.2 การทดสอบสวิตซ์ไฟฟ้า

จานวนครั้งที่ทางาน จานวนสวิตช์เสีย จานวนครั้งที่ทางาน จานวนสวิตช์เสีย


1,000 20 9,000 9
2,000 18 10,000 8
3,000 16 11,000 7
4,000 14 12,000 6
5,000 13 13,000 6
6,000 12 14,000 5
7,000 11 15,000 5
8,000 10 16,000 4

วิธีทา
กราฟแสดงความถี่ที่ได้มีลักษณะการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง เนื่องจากอัตราความขัดข้องมีค่าคงที่
ประมาณ 0.10 เช่น 20/200, 18/180, 16/162, … ต่างมีค่าเข้าใกล้ 0.10
482 การควบคุมคุณภาพ

จานวนสวิตซ์ที่เสีย

จานวนครั้งที่ทางาน

8.7 กิจกรรมการควบคุมค่าความเชื่อมั่น
ความเชื่อมั่นถูกรวมเข้ากับระบบการควบคุมคุณภาพ มีส่วนเกี่ยวข้องที่สาคัญ เช่น ความแปรปรวนของ
กระบวนการ เวลา สภาพแวดล้อมการทางาน และลูกค้า เป็นต้น กิจกรรมของความเชื่อมั่นในระบบนี้
แบ่งออกเป็น
1. การกาหนดขีดความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
2. กาหนดจัดวางโปรแกรม เพื่อให้ได้ตามความต้องการรวมถึงกรรมวิธีการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์
การเก็บรักษา และการควบคุมคุณภาพ
3. ติดตาม และควบคุมเพื่อให้โปรแกรมที่วางไว้ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย
4. วิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นที่ได้แล้วเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่วางไว้
กิจกรรมการจัดและควบคุมงานความเชื่อมั่น
กาหนดขีดความ กาหนดโครงงาน ควบคุมโครงงาน วิเคราะห์ค่าความ
เชื่อมั่น เชื่อมั่น

รูปที่ 8.8 แสดงถึงความเกี่ยวโยงของกิจกรรมสี่อย่าง


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 483

สาหรับข้อ 1, 2 และ 4 จาเป็นสาหรับกิจการใหม่ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ส่วนข้อ 3 จาเป็นสาหรับการ


ควบคุมผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป
8.7.1 การกาหนดความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
โดยปกติ การออกแบบผลิ ตภัณฑ์ จะต้องตั้งมาตรฐานอายุเฉลี่ ยของผลิ ตภัณฑ์ ตั่งแต่เริ่มต้นผลิ ต
จนกระทั่งผลิตภัณฑ์เสียหรือหมดอายุ รวมไปถึงเป้าหมายอื่นที่เกี่ยวกับความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ แต่ควร
ทราบว่าการเพิ่มค่าความเชื่อมั่น ของผลิ ตภัณฑ์จากจุด หนึ่งไปอีกจุด หนึ่งที่สู งขึ้น ย่อมส่งผลให้ เกิดต้นทุน
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามมาด้วย การจัดการเรื่องนี้จะต้องมีมาตรฐานหรือการวัดผลจากกระบวนการ
ผลิตตามความเป็นจริ ง ไม่ใช่เป็นการกาหนดตามความคิดเห็นของเองโดยไม่มีเหตุผ ลหรือหลักฐานในการ
อ้างอิง ซึ่งอุปสรรคส่วนใหญ่ก็คือการไม่ระลึกถึงตามข้อมูลข้อเท็จจริง ส่งผลให้ค่าความเชื่อมั่นที่ตั้งขึ้นนี้เกิด
ผิดพลาดขึ้นตามมา
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ค่าความเชื่อมั่นจึงแบ่งออกเป็น ค่าในปัจจุบันที่ผู้ผลิตกระทาอยู่หรือเคย
กระทามาแล้ว กับค่าใหม่ที่ต้องวิเคราะห์และทดสอบซึ่งมักจะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหรือออกแบบใหม่
ในการผลิตชิ้นส่วนต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ยังจะต้องทราบให้เป็นที่แน่ชัดว่าชิ้นส่วนใดที่เป็นจุดอ่อนและเสียง่าย
ที่สุดที่จะต้องทาการแก้ไข และค่าความเชื่อมั่ นของผลิตภัณฑ์จะสูงขึ้นได้โดยความชานาญของคนงานและ
เทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ของกรรมวิธีการผลิตด้วย
การออกแบบผลิตภัณฑ์โดยทั่วๆ ไปควรพยายามไม่ให้สลับซับซ้อน เพราะจะก่อให้เกิดความยุ่งยาก
ในการแก้ไขปรับปรุงค่าความเชื่อมั่น เมื่อต้องการ ถ้าหากการออกแบบผลิตภัณฑ์ไม่สลับซับซ้อนเราก็สามารถ
บรรลุถึงค่ามาตรฐานที่กาหนดได้โดยสิ้นเปลืองน้อยลง
8.7.2 การวางโครงงานเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นที่ต้องการ
การบรรลุค่าความเชื่อมั่นที่ต้องการได้นี้ เกี่ยวกับ กรรมวิธีการผลิต การออกแบบ และการควบคุม
คุณภาพ ซึ่งผู้ออกแบบต้องแสดงถึงส่วนประกอบ ขนาดของผลิตภัณฑ์ หรือกรรมวิธีการผลิต โดยหลักการต้อง
อยู่ภายใต้เงื่อนไขทางเศรษฐศาสตร์ และต้องเข้าใจถึงหน้าที่ของผลิตภัณฑ์ว่าจะเอาไปใช้งานอะไรบ้าง วิศวกร
ผู้ออกแบบต้องเริ่มคิดถึงการจัดลาดับหรือการจัดวางชิ้นส่วนประกอบให้ดี อีกทั้งต้องทราบค่าความเชื่อมั่นของ
ส่วนประกอบชิ้นต่างๆ หากชิ้นใดไม่ทราบค่าก็ต้องทาการทดสอบ โดยพยายามหลีกเลี่ยงหรือใช้จานวนให้น้อย
ทั้งนี้อาจต้องทาการออกแบบใหม่ก็ได้ อีกวิธีหนึ่งก็คือทาการออกแบบชิ้นส่วนทดแทน เมื่อชิ้นส่วนที่หนึ่งเสียก็
ให้ส่วนที่เกินเข้าทาหน้าที่แทนได้
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เมื่อเป็นผลิตภัณฑ์ที่สาเร็จก็ต้องทาการทดสอบความเชื่อมั่ นกันอีก ซึ่งจะ
พบข้ อ บกพร่ อ งต่ า งๆ เวลาใช้ ง านจริ ง อั น ท าให้ ค าความเชื่ อ มั่ น ค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ล ดลงไป
อาจจาเป็นต้องกับมาแก้ไขการออกแบบกันอีกครั้งหนึ่ง เพื่อทาให้บรรลุถึงค่ามาตรฐานที่วิศวกรผู้ออกแบบวาง
เอาไว้นั้ น ได้ โดยเฉพาะในงานประกอบยิ่ งจานวนชิ้นส่ ว นประกอบมี มากปัญหาของค่า ความเชื่ อมั่น ของ
ผลิตภัณฑ์ก็จะมากตามไปด้วย เมื่อค่าความเชื่อมั่นสูงมากเช่นนี้การทดสอบก็จะสิ้นเปลืองและต้องทดสอบเป็น
จานวนมาก กรรมวิธีการผลิตจะต้องละเอียดและแม่นยา ส่งผลให้การออกแบบก็จะต้องมีเรื่องที่สาคัญ คือ
ค่าส่วนเกิน (Design Margin) ลดอัตราการใช้งาน (Rerating) และหาจานวนชิ้นส่วนเกินไว้ทดแทน
(Redundancy) เมื่อเกิดมีการเสียหายขึ้นนอกเหนือไปจากนี้ก็จะติดตามมาถึงเรื่องกรรมวิธีการผลิต และการ
ขนส่งในที่สุด
484 การควบคุมคุณภาพ

8.7.3 ค่าส่วนเกินของการออกแบบผลิตภัณฑ์
ค่ า ส่ ว นเกิ น ในการออกแบบมี ค วามส าคั ญ ต่ อ ค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น อย่ า งมาก
เนื่องจากว่าอาจมีสาเหตุที่คาดไม่ถึง ทาให้ไม่สามารถทราบค่าตัวเลขที่แน่นอน เกิดจากความไม่แน่นอนของ
คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ หรือความไม่แน่นอนของกรรมวิธีการผลิต ดังนั้นจึงต้องมีการกาหนดค่าส่วนเกินไว้ก่อน
เพื่อป้องกันความผิดพลาดหรือความแปรปรวนในกระบวนการผลิต
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) สาหรับความไม่แน่นอนหรือความเปลี่ยนแปลงนี้ ในผลิตภัณฑ์เราวัดค่า
ออกมาเป็นค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึ่งคิดออกมาเป็นค่าซิกมา (δ, Sigma) การ
ออกแบบจะต้องให้มีค่าความเชื่อมั่นที่เพียงพอส าหรับ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6 ซิกมา ระหว่างค่าความ
แข็งแกร่งต่าสุดกับค่าสูงสุด เป็นต้น
ด้วยเหตุนี้เราจึงต้องทราบค่าทั้งสองที่กล่าวแล้วนั้น และจะต้องเป็นค่าที่แม่นยา ซึ่งมักจะได้รับการ
ทดลองจากสภาพแวดล้อมที่ถูกต้องและเป็นจริงเพื่อให้ค่า 6 ซิกมาที่ใช้นั้นถูกต้องด้วย

ค่าความหนืด

1
2
3 ระดับความหนืดที่กาหนด

จานวนการทดสอบ

รูปที่ 8.9 การทดสอบค่าความหนืดของผลิตภัณฑ์


(ที่มา: ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
สิ่งจาเป็นดังกล่าวคือ กรรมวิธีการผลิต ผู้ออกแบบจะต้องศึกษาเรื่องกรรมวิธีการผลิตให้ละเอียด
ที่สุด เพราะกรรมวิธีการผลิตจะไปเปลี่ยนแปลงค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ที่ผู้ออกแบบได้ตั้งเป้าหมายไว้
หรือขนาดผิดไปจากส่วนประกอบเดิม เป็นต้น เรื่องกรรมวิธีการผลิตนี้มีส่วนสาคัญมากเฉพาะอย่า งยิ่งสาหรับ
ผลิตภัณฑ์ เช่น ชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์ต่างๆ ชิ้นส่วนยานยนตร์ หรือชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่มีความสัมพันธ์กับความ
ปลอดภัย เป็นต้น
8.7.4 การลดอัตราการใช้งาน
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เทคนิคอีกอย่างหนึ่งที่จะไปเสริมค่าส่วนเกินในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้
กล่าวมาแล้วคือ ลดอัตราการใช้งาน อันจะทาให้ผลิตภัณฑ์ไม่ถูกใช้งานหนักเท่าที่ผู้ออกแบบคิดไว้ ยกตัวอย่าง
เช่น ความต้านทานไฟฟ้า 3,000 โอห์ม ตัวหนึ่งซึ่งแต่เดิมใช้สาหรับที่อุณหภูมิ 70 ๐C และกาลังไฟฟ้า 1 วัตต์
ถ้าถูกนาไปใช้งานที่อุณหภูมิ 60 ๐C และกาลังไฟฟ้า 0.5 วัตต์ ก็จะทาให้ ความต้านทานไฟฟ้าตัวนั้นสามารถ
คงทนต่อการใช้งานในอายุที่กาหนดอย่างสบาย และการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ได้คาดหมายนั้นก็ลดลงไป หรือ
อาจไม่มีขึ้นได้
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 485

8.7.5 การหาชิ้นส่วนเกินไว้ทดแทน
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) การหาชิ้นส่วนประกอบเพื่อไว้ทดแทนกันเมื่อ ชิ้นส่วนหนึ่งเกิดเสียขึ้น
เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ทาให้ค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ดีขึ้น ตัวอย่างเช่น จุกยางหูฟัง ยางอะไหล่ยนต์ เป็นต้น
สาหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเลคทรอนิกส์ ก็ออกแบบให้ชิ้นส่วนเป็นอะไหล่ต่อภายในวงจร และจะทางานแทนที่ได้
ทันทีเมื่อชิ้นส่วนหนึ่งเกิดเสียโดยมีสวิตช์อัตโนมัติต่ออยู่
โดยปกติแล้ววิธีนี้อาจจะไม่จาเป็น และจะไม่นามาใช้ในการออกแบบเพื่อให้ได้ค่าความเชื่อมั่นที่
ต้องการ เพราะจะต้องคานึ งถึง เรื่ องน้ าหนัก (ในกรณีที่ ผ ลิ ต ภัณฑ์ นาไปใช้กั บเครื่องบินหรื อยานอวกาศ)
นอกจากนี้ราคาและการบารุงรักษาก็สูงขึ้นด้วย ในบางกรณีอาจเกิดปฏิกิริยาระหว่างชิ้นส่วนประกอบอะไหล่นี้
กับชิ้นส่วนอื่นๆ ในระบบหรือวงจรเดียวกัน
8.7.6 กรรมวิธีการผลิต
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เป็นความจริงที่กล่าวไว้ว่าเมื่อมีการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดย่อม
จะต้องมีกรรมวิธีผลิตที่ดีที่สุดด้วย กรรมวิธีการผลิตนั้น หมายถึง เครื่องมือเครื่องจักรและวิธีการที่ใช้ผลิตด้วย
ค่าความเชื่อ มั่น ของผลิ ตภั ณฑ์ ที่อ อกแบบไว้ จะบรรลุ ถึงได้ก็ ย่อ มขึ้ นกั บ กรรมวิธี การผลิ ต เมื่ อต้ องการให้
ผลิตภัณฑ์มีค่าความเชื่อมั่นสูงขึ้น ก็ต้องทาการออกแบบเสียใหม่หรือเปลี่ยนวิธีการผลิต หรือทั้งสองอย่าง
วิธีการผลิตของแต่ละโรงงานอุตสาหกรรมจึงมีความสาคัญยิ่ง และผู้ที่อยู่ฝ่ายผลิตจึงนับว่าเป็นผู้ที่
สาคัญที่จะช่วยให้คุณภาพหรือความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ที่โ รงงานทาการผลิตอยู่นั้นก้าวหน้าได้ไกลที่สุ ด
ซึ่งวิธีการผลิตอย่างเดียวยังไม่เป็นการเพียงพอ เพราะยังต้องขึ้นอยู่ กับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
เช่น การเชื่อมส่วนประกอบต่างๆ ในวงจรวิทยุหรืออิเลคทรอนิกส์จะให้ผลดีที่สุดจะต้องใช้อุณหภูมิที่ถูกต้อง
เท่านั้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวในโรงงานอุตสาหกรรมจึงต้องทาการค้นคว้าวิจัยวิธีการ หรือกรรมวิธีการผลิต และ
ทาการทดลองทดสอบผลอยู่เสมอ
8.7.7 การบรรจุหีบห่อและการขนส่ง
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ถึงแม้ว่าการออกแบบและการผลิตจะดีมากเพียงไรก็ตาม ถ้าการบรรจุหีบ
ห่อและการขนส่งไม่มีคุณภาพแล้ว ผลิตภัณฑ์จะเสียค่าความเชื่อมั่นได้ในทันที ดังนั้นผู้ผลิตหรือเจ้าของโรงงาน
อุตสาหกรรมจึงควรถือเรื่ องนี้เป็นเรื่องสาคัญที่สุดเรื่องหนึ่ง และควรมีผู้ชานาญในการออกแบบและบรรจุหีบ
ห่อ แม้ว่าโรงงานยังไม่มีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะจ้างผู้ชานาญในเรื่องนี้ไว้ แต่ก็ควรจะจัดให้มีผู้รับผิดชอบใน
เรื่องนี้ ซึ่งมีหน้าที่ติดต่อกับชานาญในการบรรจุอีกทีหนึ่ง
ถ้าการออกแบบหีบห่อเสร็จเรียบร้อย ก็ควรทาการทดสอบให้เหมือนกับการขนส่งที่แท้จริงโดยการ
ใช้แรงกระแทก ความสั่นสะเทือน และแรงกดอัดต่างๆ เช่นเดียวกับที่ผลิตภัณฑ์นั้นๆ จะได้รับหรือถ้าหากว่าจะ
ทาการขนส่งเป็นตัวอย่างที่ควรต้องใช้เส้นทางและพาหนะที่ขนส่งอย่างเดียวกันทุกประการ
486 การควบคุมคุณภาพ

8.7.8 การทดสอบและประเมินค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) ดังที่ได้ทราบถึงความเกี่ยวข้องระหว่างสิ่งต่างๆ กับค่าความเชื่อมั่นของ
ผลิตภัณฑ์ ฉะนั้น การทดสอบในเรื่ องกรรมวิธีการผลิตและการขนส่ งก็ควรจะต้องให้ เสร็จสิ้น และได้ผล ที่
ถูกต้อง
สาหรับการทดสอบผลิตภัณฑ์ก็ควรที่จะทาการทดสอบจนกระทั่งผลิตภัณฑ์นั้นเสีย หรือใช้การไม่ได้
ซึ่งจะทาให้ทราบผลอย่างแน่ชัดว่าส่วนประกอบส่วนใดที่เสียหรือเป็นสาเหตุของการเสียนั้นๆ และทราบถึง การ
แจกแจงความถี่ (Frequency of Distribution) ของการเสียและเวลาด้วย
สาหรับผลิตภัณฑ์ที่มีราคาแพงมาก และเมื่อทดสอบจนเสียแล้วก็ไม่สามารถนากลับมาแก้ไขให้ใช้
การได้อีกต่อไป ก็ควรจะใช้จานวนตัวอย่างน้อยและระยะเวลาให้สั้น ซึ่งกระทาได้โดยแบบเร่งรัด คือ ให้ทางาน
เพิ่มหนักกว่าการทางานปกติ และอาจหยุดการทดสอบก่อนที่ผลิตภัณฑ์จะชารุดหรือเสียจนใช้การไม่ได้ แต่
อย่างไรก็ตามการทดสอบแบบเร่งรัดก็ควรจะให้มีความสัมพันธ์กับการใช้งานจริงของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย
8.7.9 ระบบการควบคุม
ศรีไร จารุภิญโญ (2540) เมื่อได้มีการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่และทุกอย่างเรียบร้อยพร้อมที่จะ
ดาเนินการผลิตแล้ว การควบคุมกระบวนการจึงเป็นสิ่งที่จาเป็นที่สุด เพราะในการผลิตนั้นถึงแม้เราจะตั้งค่า
มาตรฐานความเชื่ อ มั่ น ไว้ แ ล้ ว แต่ อ าจมี ส าเหตุ ที่ ท าให้ ก ารผลิ ต ไม่ ส ามารถจะบรรลุ ถึ ง ค่ า ที่ ก าหนดไว้ ไ ด้
การเปลี่ยนแปลงปกตินั้นย่อมเกิดขึ้นได้เสมอในทุกกระบวนการผลิต แต่สาหรับความผิดปกติที่ไม่ทราบสาเหตุ
หรือคาดการณ์ไว้ไม่ถึงนั้น จะทาให้ค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ผิดไปอย่างมากมาย
เทคนิคทางวิศวกรรมควบคุมวิธี จะช่วยให้ได้ทราบถึงแนวทางของการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ
ผลิตต่างๆ โดยแผนภูมิของการควบคุม (Control Chart) จะมีความสาคัญและต้องถูกนามาใช้ในกระบวนการ
ผลิตที่ได้รับการควบคุม เราสามารถจะแก้ไขหรือทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ถ้ากระบวนการผลิตใดที่
ไม่ได้รับการควบคุม หรือควบคุมไม่ได้แล้วก็ยากที่จะแก้ไขได้และไม่สามารถทราบเหตุการณ์ใดๆ ที่จะเกิดขึ้นใน
กรรมวิธีนั้นเลย ค่าความเชื่อมั่นจะบรรลุถึงมาตรฐานที่ต้องการได้ก็ต่อเมื่อผลิตภัณฑ์ในกระบวนการผลิตนั้นๆ
ได้รับการควบคุม
กรรมวิธีของการผลิตโดยทั่ วไปอาจทาให้ผลผลิตเสียหายได้ เนื่องจากการสึกหรอของเครื่องมือ
การเปลี่ยนแปลงหรือเจือจางของเคมีภัณฑ์ต่างๆ อุณหภูมิ และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ดังนั้นแผนภูมิการควบคุม
ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( x Chart และ S Chart) จะบอกให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลง
เหล่านั้น และสามารถทาการแก้ไขได้ทันท่วงที
หน้าที่ของผู้ควบคุมกระบวนการผลิตอย่างหนึ่งก็คือ หาวิธีการป้องกันที่ดี และการตรวจค่าความ
เชื่ อ มั่ น ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ มื่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ สร็ จ ออกมาก่ อ นจะถู ก ส่ ง ออกไปยั ง ลู ก ค้ า ของตน แม้ ว่ า โรงงาน
อุตสาหกรรมจะวางแผนในการออกแบบ กรรมวิธี การบรรจุ การขนส่ง หรือการทดสอบจนเป็นที่พอใจ
เรียบร้อยแล้วก็ตาม แต่เมื่อถึงเวลาผลิตเพื่อส่งจาหน่ายออกจริง ๆ ก็ต้องทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นผลิตภัณฑ์
อีกครั้งหนึ่งก่อนส่งออกไป เพราะปัจจัยต่างๆ ที่จะทาให้เกิดการเสียหายเปลี่ยนแปลงต่อผลิตภัณฑ์ของเรานั้น
ย่อมอาจเกิดขึ้นขณะใดขณะหนึ่ง โดยที่ได้ควบคุมกระบวนการผลิตเอาไว้แล้วเรียกว่า การทดสอบผลสุดท้าย
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 487

8.7.10 การวิเคราะห์ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์
ในเรื่ อ งความเชื่ อ มั่ น ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ค วรจะต้ อ งมี ก ารวิ จั ย และพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง จะเป็ น
ประโยชน์ต่อการผลิตในอนาคตสาหรับผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันนี้ได้ด้วย และสามารถสรุปสาเหตุการวิเคราะห์
ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540) ดังต่อไปนี้
1. ค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ในปัจจุบันยังคงต้องปรับปรุง
2. การที่ผลิตภัณฑ์นั้นๆ เสียหายก่อนหรือเร็วเกินไปก่อให้เกิดการสิ้นเปลืองอย่างมาก
3. ค่าบารุงรักษา และค่าซ่อมแซมระหว่างอายุการทางานปกติของผลิตภัณฑ์สูงมาก
4. ผลติดตามอันเนื่องมาจากการเสียหายอื่น ขาดรายได้ ความไม่สะดวกต่างๆ และความปลอดภัย
ที่คาดไม่ถึงของผลิตภัณฑ์ เช่น ชีวิต ทรัพย์สิน เป็นต้น
5. มีคู่แข่งทาให้ต้องปรับปรุงค่าความเชื่อมั่นนี้ให้สูงขึ้น
6. ลู ก ค้ า หรื อ ผู้ บ ริ โ ภคไม่ พ อใจ และต้ อ งการให้ ผู้ ผ ลิ ต ปรั บ ปรุ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ดี ขึ้ น เรื่ อ งต่ า งๆ
ที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ ดังนี้
(1) โครงการปรับปรุงและวิจัย โดยทั่วไปจะมีกรณีน้อยมากที่จะตั้งโครงการปรับปรุงและวิจัยที่
สิ้นเปลืองเงินสูง เพื่อจะทาให้ผลิตภัณฑ์มีค่าความเชื่อมั่นสูงขึ้นอีกเล็กน้อย ในทางปฏิบัติที่เหมาะสมที่สุดใน
การปรับปรุงค่าความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ก็โดยที่ฝ่ายบริหารโรงงานจะกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบ และพยายาม
ปรับปรุงโดยทั่วไปทั้งด้านเทคนิคและบุคคลที่เกี่ยวข้องในการผลิตทั้งหมดให้ดีที่สุดเท่าที่จะกระทาได้
(2) ทดสอบเพื่อประเมินผล เรื่องนี้มีความสาคัญทั้งในการควบคุมและปรับปรุงค่าความเชื่อมั่ น
ของผลิตภัณฑ์ แต่การทดสอบต่างๆ ก็ควรจะคานึงถึงระยะเวลาด้วย เนื่องจากบางครั้งผลิตภัณฑ์อาจหมด
ความทันสมัยไปเสียก่อนที่จะได้ทาการปรับปรุงค่าความเชื่อมั่นนี้เสียอีก ฉะนั้นแทนที่จะใช้จานวนผลิตภัณฑ์
โดยทั่วๆ ไปจานวนน้อยทาการทดสอบในระยะเวลานาน เราก็เพิ่มจานวนผลิตภัณฑ์ที่นามาทดสอบให้สูงขึ้นแต่
ใช้เวลาในการทดสอบสั้นลง หรืออีกแบบหนึ่งโดยทาการทดสอบต่อเนื่องกันไปอย่างไม่หยุดซึ่งเรียกว่า การ
ทดสอบแบบเร่งรัด
(3) ทดสอบให้ผลิตภัณฑ์ทางานหนักเกินปกติ การทดสอบการทางานของผลิตภัณฑ์แบบนี้ก็
ควรจะดูว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่และมากน้อยเพียงใด การทดสอบโดยเพิ่มความตึงเครียดในการทางานของ
ผลิตภัณฑ์ และการดูจุดแตกหัก (Breaking Point) เมื่อมีการเสียเกิดขึ้นภายในระยะเวลาอันสั้นได้ แต่การที่ให้
ผลิตภัณฑ์ทางานเกินปกติก็ต้องมีขีดจากัด เพราะถ้าเลยขีดนี้จะก่อให้เกิดความเสียหายหรือเกิดสาเหตุอื่นที่ทา
ให้คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไป ยังมีผลิตภัณฑ์อีกจานวนมากชนิดที่จะทดสอบหรือประเมินหาค่าความ
เชื่อมั่นแบบนี้ไม่ได้ หรือได้ค่าที่ผิดพลาดจากความเป็นจริง
(4) ความสัมพันธ์ของการทดสอบที่ขึ้น อยู่กับสภาพการใช้งานจริงของผลิตภัณฑ์ เรื่องนี้จะต้อง
มีความสัมพันธ์และคล้ายคลึงกันที่สุด ถ้าหากเกิดความแตกต่างจากความคาดหมายที่ผู้บริโภคซื้อผลิตภัณฑ์ไป
ใช้แล้ว ก็ต้องเปลี่ยนการทดสอบเสียใหม่ มิฉะนั้นผลการทดสอบก็ไม่มีความหมาย และไม่ได้ความจริงใจในการ
ประเมินเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
(5) ประสิทธิภาพของการทดสอบ การทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูงมาก
ระยะเวลาที่ใช้ ค่ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ หรือปัจจัยอย่างอื่นก็มากตามไปด้วย และบางทียังต้องสูญเสียผลิตภัณฑ์ที่
ทดแทนอีกด้วย (กรณีที่เป็นการทดสอบแบบทาลาย) เพราะการทดสอบเป็นแบบต่อเนื่องต่างกับการทดสอบ
488 การควบคุมคุณภาพ

แบบทั่วไปเพื่อดูการทางานของผลิตภัณฑ์ ตามปกติ ฉะนั้นการทดสอบจะต้องมีประสิทธิภาพสูง เพื่อที่จะไม่


สิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ ซึ่งต้องใช้หลักการทางสถิติศาสตร์เพื่อค่าความเชื่อมั่นที่ได้จะอยู่ในระดับความ
เชื่อถือที่ต้องการ (Required Confidence Level)
(6) ข้อมูลในการใช้งานจริงของผลิตภัณฑ์ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ซึ่งทางโรงงาน
ควรจะพยายามจัดหาและเก็บไว้ให้มากที่สุด ส่งผลให้ได้ทราบว่าการทดสอบที่สร้างขึ้ นถูกต้องใกล้เคียงกับ
เป้าหมาย และสามารถนาไปปรับปรุงแก้ไขสาหรับการทดสอบต่อไปสาหรับผลิตภัณฑ์ช นิดนั้นหรือผลิตภัณฑ์
อย่างอื่นของโรงงาน
(7) สัญญาซื้อขายบังคับให้โรงงานผลิต รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ตลอดอายุ ผลิตภัณฑ์ที่
นาไปใช้งาน สัญญาแบบนี้ผู้ผลิตจะต้องรวบรวมประวัติและข้อมูลตั้งแต่ต้นจนจบ เช่น การขนส่ง การเก็บ
รักษา การทดสอบ การบริการ การบารุงรักษา และการใช้งาน เป็นต้น และต้องบันทึกช่วงเวลาหรือระยะเวลา
เหล่านั้นให้ละเอียดที่สุด เสร็จแล้วนามาทาการวิเคราะห์ผลและจัดทาเป็นรายงานทุกๆ ระยะ รายงานเหล่านี้
จะต้องแจ้งให้แก่ฝ่ายซื้อขายทั้งสองฝ่าย และเก็บไว้ที่ศูนย์กลางรวบรวมข้อมูล
(8) การปรับปรุงค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์เป็นวัตถุประสงค์ที่แท้จริง ในเมื่อการทดสอบ
ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ใดก็ตาม ได้พบจุดอ่อนหรือส่วนประกอบที่ทาให้ผลิตภัณฑ์นั้นเสียหรือทางานไม่ได้
แล้ว ต่อไปก็ต้องทาการแก้ไขถึงสาเหตุซึ่งอาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงในการออกแบบผลิตภัณฑ์เสียใหม่ แก้ไข
วิธีการผลิต หรือควบคุมกรรมวิธีให้ดีขึ้นโดยแก้ไขเทคนิคการควบคุมคุณภาพ ดังนั้นการปรับปรุงแก้ไขอย่างมี
ประสิทธิภาพก็จะเป็นวิธีการที่ประหยัดและถูกต้องในการบรรลุถึงจุดหมายของค่าความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ได้
โดยแท้จริง
8.8 เส้นโค้ง OC (Operating Characteristic Curve)
ศุภชัย นาทะพันธ์ (2551) เส้นโค้ง OC สาหรับแผนการทดสอบความเชื่อมั่น และอายุของผลิตภัณฑ์
การทดสอบอายุของผลิตภัณฑ์จะเกี่ยวข้องกับจานวนตัวอย่างที่ต้องสุ่มจากลอต และเกี่ยวข้องกับการสังเกตจาก
การทางานว่าสามารถดาเนินงานได้ตามอายุที่บริษัทกาหนดไว้หรือไม่ หากจานวนชิ้นเสียมีมากกว่าจานวนที่ระบุไว้
ในแผนลอตจะถูกปฏิเสธ แต่หากจานวนชิ้นเสียมีไม่เกินจานวนที่ระบุไว้ลอตก็จะถูกยอมรับ
ในการสร้างเส้นโค้ง OC จะพิจารณาจากสมมติฐานในเรื่องของอายุผลิตภัณฑ์ก่อนเสียว่ามีการแจกแจงแบบ
เลขชี้กาลังและอัตราความขัดข้องคงที่ (λ) โดยพารามิเตอร์ของแผนการทดสอบอายุของผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย
เวลาที่ใช้ทดสอบ (Test time: T) ขนาดตัวอย่าง (Sample Size: n) และจานวนที่ยอมรับได้ (Acceptance
Number: c) เส้นโค้ง OC จะแสดงให้เห็ นถึงความน่าจะเป็นของการยอมรับลอต (Probability of Lot
Acceptance: Pa) โดยคุณภาพลอตแทนด้วยอายุเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ (θ) จากสมมติฐานดังกล่าว จานวนของเสีย
ภายในช่วงเวลาที่ทดสอบจะมีการแจกแจงเป็นแบบปัวส์ ซอง ดังนั้นความน่าจะเป็นในการยอมรับลอตสามารถ
คานวณได้ด้วยการแจกแจงปัวส์ซอง
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 489

ตัวอย่างที่ 8.14
พารามิเตอร์ของแผนการทดสอบอายุของผลิตภัณฑ์มีดัง ตารางที่ 8.3 เวลาที่ทดสอบ 800 ชั่วโมง
ภายใต้จานวนทดสอบ 12 ชิ้น เมื่อจานวนของเสียที่พบแล้วยอมรับได้ไม่เกิน 2 ชิ้น อายุของผลิตภัณฑ์มีการ
แจกแจงปกติ เมื่อพบผลิตภัณฑ์ที่ทดสอบเสียผู้ทดสอบจะแทนที่ด้วยผลิตภัณฑ์ที่ทดสอบใหม่ ทันที จงสร้างเส้น
โค้ง OC (ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
ตารางที่ 8.3 อายุของผลิตภัณฑ์
อายุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
เฉลี่ย
1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000 10,000 11,000 12,000 13,000 14,000 15,000
(θ)

วิธีทา
เนื่องจากจานวนของเสียเฉลี่ยในช่วงเวลาที่ทดสอบคือ nTλ โดยที่ λ จะแปรผกผันกับอายุเฉลี่ยของ
ผลิตภัณฑ์ซึ่งเปรียบเสมือน np0 สมมติ θ = 8,000 ดังนั้นสามารถคานวณหา λ ได้เท่ากับ 1/8,000 ส่งผลให้
จานวนของเสียเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 12(800)(1/8,000) = 1.2
จากตารางที่ ก-2 ในภาคผนวก ก. สามารถคานวณหาค่าความน่าจะเป็นที่จะยอมรับลอตที่มีของเสีย
ได้ไม่เกิน 2 ชิ้น เท่ากับ 0.879 ในทานองเดียวกัน เมื่อเปลี่ยนค่า θ ก็สามารถคานวณหาค่า Pa ได้ดังแสดงใน
ตารางต่อไปนี้

อายุเฉลี่ย (θ) อัตราความขัดข้อง (λ) nTλ Pa


1,000 0.0010000 9.60 0.0038
2,000 0.0005000 4.80 0.1425
3,000 0.0003300 3.20 0.3799
4,000 0.0002500 2.40 0.5697
5,000 0.0002000 1.92 0.6983
6,000 0.0001700 1.60 0.7834
7,000 0.0001400 1.37 0.8404
8,000 0.0001250 1.20 0.8795
9,000 0.0001100 1.07 0.9070
10,000 0.0001000 0.96 0.9269
11,000 0.0000830 0.80 0.9526
12,000 0.0000710 0.69 0.9676
13,000 0.0000625 0.60 0.9769
14,000 0.0000500 0.48 0.9871
15,000 0.0000330 0.32 0.9957

จากตารางสามารถสร้างเส้นโค้ง OC สาหรับแผนการทดสอบอายุ เมื่อ n = 12, T = 800 และ c = 2


ดังนี้
490 การควบคุมคุณภาพ

ความน่าจะเป็นในการยอมรับ Pa
α
1.0

0.8

0.6

0.4

0.2

𝛽 0.1

2,000 10,000 20,000 30,000


อายุเฉลี่ย (θ)

เส้นโค้ง OC เมื่อ n = 12 , T = 800 และ c = 2 จะเหมือนกับเส้นโค้ง OC เมื่อ n = 10, T = 960 และ


c = 2 และเส้นโค้ง OC เมื่อ n = 8, T = 1,200 และ c = 2
จากตัวอย่างที่ 8.14 หากต้องการพิจารณาในเรื่องความเสี่ยงของผู้ขายหรือผู้ผลิต ( α) และความเสี่ยงของ
ผู้ซื้อหรือผู้บริโภค (β) ในแผนการทดสอบอายุของผลิตภัณฑ์ ก็สามารถพิจารณาได้ในรูปเส้นโค้ง OC ความ
เสี่ยงในการปฏิเสธลอตดี (ผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีอายุเฉลี่ยเป็นที่น่าพอใจ, θ0) คือ ความเสี่ยงของผู้ผลิต ส่วนความ
เสี่ยงในการยอมรับลอตไม่ดี (ผลิตภัณฑ์ซึ่งมีอายุเฉลี่ยไม่เป็นที่น่าพอใจ, θ1) คือ ความเสี่ยงของผู้บริโภค
ตัวอย่างเช่น สมมติว่าผลิตภัณฑ์มีอายุของผลิตภัณฑ์เฉลี่ย 20,000 ชั่วโมง จากเส้นโค้ง OC จะพบว่าอายุเฉลี่ย
อยู่ในเกณฑ์ดี (θ0 = 20,000 ชั่วโมง) กล่าวคือ α = 1–0.9871 = 0.0129 ซึง่ มีความน่าจะเป็นที่ลอตสินค้าจะ
ถูกปฏิเสธ ในทางกลับกันสมมติว่าผลิตภัณฑ์มีอายุของผลิตภัณฑ์เฉลี่ย 2,000 ชั่วโมง จากเส้นโค้ง OC จะ
พบว่า อายุเฉลี่ยในเกณฑ์ไม่ดี (θ1 = 2,000 ชั่วโมง) กล่าวคือ β = 0.1425 ซึ่งเป็นความน่าจะเป็นที่ลอตสินค้า
จะได้รับการยอมรับ
โดยทั่วไปแผนการทดสอบความเชื่อมั่น และอายุของผลิตภัณฑ์ จะเกี่ยวกับการสังเกตผลิตภัณฑ์ตัวอย่างที่
สุ่มมาตรวจสอบจนกระทั่งพบผลิตภัณฑ์เสีย ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายต่อหน่วยสูง เนื่องจากเวลาที่ ใช้ในการทดสอบ
ยาวนาน การทดสอบที่เกิดขึ้นต้องพยายามเลียนแบบสภาพการดาเนินการจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
แผนการทดสอบมาตรฐานได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยสหรัฐฯ ประกอบด้วย หนังสือคู่มือ H-108, MIL-STD-690B
และ MIL-STD-781C ซึง่ ความเกี่ยวพันระหว่างระบบความเชื่อมั่นกับระบบการควบคุมคุณภาพ แบ่งออกแบบ
เป็นส่วนใหญ่ 3 ส่วน (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540) ดังต่อไปนี้
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 491

1. การประเมินคุณภาพก่อนการผลิต ส่วนนี้เกี่ยวข้องกับความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ คือ


1.1 วางมาตรฐานความเชื่อมั่นให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า
1.2 สารวจให้แน่ชัดว่าผลิตภัณฑ์จะต้องถูกนาไปใช้ภายใต้สภาวะแวดล้อมเช่นไรบ้าง
1.3 หาจุดสมดุลทางเศรษฐกิจระหว่างค่าใช้จ่ายกับความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
1.4 ทาการออกแบบผลิตภัณฑ์และคัดเลือกอันที่ดีที่สุด
1.5 เลือกกรรมวิธีในการผลิตที่เหมาะสม และทาการทดสอบหาความเชื่อมั่น
1.6 ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และเลือกกรรมวิธีการผลิตก็ดี ต้องพยายามมิให้มีการเสี่ยงต่อความ
เชื่อมั่นที่มุ่งหมายนั้น
2. การวางแผน การประเมิน และการควบคุมคุณภาพของวัสดุที่จัดซื้อสาหรับตอนนี้มีความสัมพันธ์กับ
ความเชื่อมั่น ดังนี้
2.1 การบอกความต้องการและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนแก่ผู้ขายวัตถุดิบให้กับโรงงานจะทาให้ได้ค่าความ
เชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์แน่นอนขึ้น
2.2 การประเมินสมรรถภาพของผู้ขายวัตถุดิบว่าสามารถจัดหาวัตถุดิบว่าสามารถจัดหาวัตถุมาให้ตาม
ต้องการ เป็นการช่วยเพิ่มค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ได้โดยตรง
2.3 ในการประเมินสมรรถภาพเมื่อทาแบบต่อเนื่องจะทาให้ได้ผลแน่นอนยิ่งขึ้น และค่าความเชื่อมั่น
ของผลิตภัณฑ์จะดีขึ้น
2.4 การบอกและให้คาแนะนาแก่พ่อค้าในการจัดหาวัตถุดิบให้กับโรงงาน เพื่อประโยชน์ในการควบคุม
คุณภาพก็จะมีผลต่อค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์เช่นเดียวกัน
3. การบริ การและควบคุ มคุณภาพภายหลั งการผลิ ต ในตอนนี้ จะเห็ นได้ว่า กิจการของระบบควบคุ ม
คุณภาพและเรื่องค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์และจะต้องกระทาไปพร้อมกันด้วย
3.1 การตรวจสอบค่าความเชื่อมั่นภายหลังการผลิตและอาจมีการแก้ไขบ้างเล็กน้อยในตอนนี้ได้
3.2 การประเมินค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ที่เป็นคู่แข่งขัน
3.3 การให้ข้อมูลจากฝ่ายผลิตไปยังผู้ทาการทดสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
3.4 การรายงานผลการทดสอบให้ทางโรงงานผู้ผลิตได้ทราบ
3.5 ทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีคิดราคา และอัตราการเสียของผลิตภัณฑ์นั้น
3.6 ให้ใบรับรองแก่ลูกค้าหรือผู้บริโภค
3.7 ในการขนส่ง การเก็บรักษา และการตั้งตัวก็ดี ผู้ผลิตหรือทางโรงงานจะต้องติดตามและรับฟังข่าว
โดยตลอด
3.8 ให้คาอธิบายหรือหนังสือคู่มือวิธีติดตั้ง รักษา และการใช้ผลิตภัณฑ์แก่ลูกค้า รวมทั้งการให้บริการ
ในการซ่อมระยะเวลาที่ควรซ่อมหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนบางชิ้น และราคาของชิ้นส่วนประกอบ
492 การควบคุมคุณภาพ

8.9 สรุป
1. ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ หมายถึง ความสามารถในการทางานของผลิตภัณฑ์ได้ตามที่กาหนด หรือ
ตามที่คาดหวังของลูกค้า ยกตัวอย่างเช่น โทรทัศน์สามารถมีอายุการใช้งานได้ 100,000 ชั่วโมง ยางรถยนต์มี
อายุการใช้งาน 5 ปี เครนยกเหล็กสามารถรับแรงได้ 50,000 KN เป็นต้น
2. ชิ้นส่วนหนึ่งชิ้นมีคุณภาพดี แต่เมื่อนาไปประกอบรวมกันกับชิ้นส่วนอื่นๆ อาจจะส่งผลให้ความเชื่อมั่น
ลดลงได้ แต่อย่างไรก็ตามสินค้าที่มีคุณภาพดีนั้นก็ไม่จาเป็นที่จะต้องมีความเชื่อมั่นสูง นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ ที่มี
ความเชื่อมั่นสูงในเงื่อนไข A อาจจะไม่สามารถนาไปใช้งานในเงื่อนไข B ยกตัวอย่างเช่น การขี่จักรยานเสือ
หมอบในเขตท้องถนนหรื อชุมชนเมืองสามารถขับขี่ได้อย่างคล่ องตัว แต่ไม่ส ามารถขับขี่ได้ในสภาพภูเขา
ทะเลทราย หรือหิมะได้
3. การนาชิ้นส่วนมาประกอบเพื่อหาความน่าเชื่อมั่นของระบบ สามารถหาได้ 3 วิธี คือ การประกอบแบบ
อนุกรม การประกอบแบบขนาน และการประกอบแบบผสม
4. ฟังก์ชั่นหลักของการแจกแจงความน่าจะเป็นความเชื่อมั่น ได้แก่ การแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง การแจก
แจงแบบปกติ และการแจกแจงไวบูลล์ ซึ่งใช้ในการหาความน่าจะเป็นอายุเฉลี่ยหรือเวลาเฉลี่ยจนกระทั่งของ
ผลิตภัณฑ์
5. กิจกรรมการวัดและควบคุมงานความเชื่อมั่น มีเป้าหมายคือ การสร้างความเชื่อมั่นให้เป็นไปตาม
ข้อกาหนด โดยกิจกรรมนี้มีการดาเนินกิจกรรม คือ กาหนดขีดความเชื่อมั่น กาหนดโครงงาน ควบคุมโครงงาน
และวิเคราะห์ความเชื่อมั่น
6. การหาเส้นโค้ง OC ของความเชื่อมั่น จะใช้เพื่อการยอมรับลอตหรือปฏิเสธลอต โดยพิจารณาในเรื่อง
เกณฑ์ ข องความเสี่ ย ง 2 แบบ คื อ 1. การพิ จ ารณาหลั ก เกณฑ์ ค วามเสี่ ย งของผู้ ข ายหรื อ ผู้ ผ ลิ ต ( α)
2. การพิจารณาหลักเกณฑ์ความเสี่ยงของผู้ซื้อหรือผู้บริโภค (β)
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 493

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8

1. จงบอกความหมายของค่าความเชื่อมั่น
2. ความเชื่อมั่น กับการควบคุมคุณภาพไม่ใช่เรื่องเดียวกัน แต่เกี่ยวข้องและใกล้ ชิดกันมากที่สุด และใน
กระบวนการผลิตนั้นปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อเรื่องความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
3. ลักษณะของอายุของผลิตภัณฑ์ซึ่งสามารถแบ่งได้ 3 ชวง ความล้มเหลวที่มีสาเหตุมาจากข้อจากัดของการ
ออกแบบ หรือการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในการทางานจะเกิดในช่วงใด (สภาวิศวกร, 2555)
4. ชิ้นส่วน A ซึ่งเป็นส่วนประกอบเครื่องยิงขีปณาวุธมีค่า MTBF เท่ากับ 2,000 ชั่วโมง และมีการแจกแจงแบบ
เลขชี้กาลั ง จงหาความน่าจะเป็ นของชิ้นส่ว นที่ จะทางานได้อย่างน้อย 200 ชั่ว โมง ชิ้นส่ วน A ซึ่งเป็น
ส่วนประกอบเครื่องยิงขีปณาวุธมีค่า MTBF เท่ากับ 2,000 ชั่วโมง และมีการแจกแจงแบบเลขชี้กาลัง จงหา
ความน่าจะเป็นของชิ้นส่วนทีจ่ ะทางานได้อย่างน้อย 200 ชั่วโมง (สภาวิศวกร, 2555)
5. ค่าความเชื่อมั่นของระบบ (PS) ที่มีส่วนประกอบ 3 เครื่อง เรียงตามลาดับแบบอนุกรม เครื่องส่ง (PT)
เครื่องรับ (PR) และเครื่องบันทึก (PC) คือ (สภาวิศวกร, 2555)
6. จงบอกเทคนิคในการเพิ่มความเชื่อมั่นมีอะไรบ้าง (ศรีไร จารุภิญโญ, 2540)
7. จงคานวณหาค่าความเชื่อมั่นของระบบที่ต่อกันดังนี้

R1

R2
R1= 0.90, R2 = 0.80, R3= 0.70
R3

8. ถ้าชิ้นส่วนประกอบของระบบในข้อ 7 มาต่อกัน ค่าความเชื่อมั่นของระบบนี้จะเป็นเท่าใด

R1 R2 R3

R1 R2 R3
494 การควบคุมคุณภาพ

9. ระบบหนึ่งมี 4 ส่วนประกอบคือ E1, G, I และ E2 โดยมีค่าความน่าเชื่อถือเท่ากับ 0.98, 0.89, 0.94 และ


0.95 ตามลาดับ จงหาค่าความน่าเชื่อถือของระบบนี้ เมื่อส่วนประกอบทั้งหมดประกอบเป็นแบบอนุกรม
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
10. จงหาค่าความเชื่อมั่นที่ t = 40 และ 60 ของตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทดสอบ เมื่ออายุเฉลี่ยมีค่า
เท่ากับ 40 ชั่วโมง สาหรับอัตราการขัดข้องที่คงที่
11. จงหาค่าความน่าเชื่อถือของระบบในรูปต่อไปนี้ ซึ่งมีส่วนประกอบ A, B, C และ D โดยแต่ล่ะส่วนประกอบ
มีค่าความน่าเชื่อถือ 0.95, 0.8, 0.85 และ 0.99 ตามลาดับ

A C

D
B

12. เครื่องซักผ้ามีการแจกแจงของอายุการใช้งานจนกระทั่งเสียเป็นแบบเลขชี้กาลัง โดยมีอัตราความขัดข้อง


(Failure Rate) เท่ากับ 8% ต่อ 1,000 ชั่วโมง จงหา
12.1 ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องซักผ้าที่ 5,000 ชั่วโมง
12.2 อายุเฉลี่ยหรือเวลาเฉลี่ยจนกระทั่งเสีย
13. ข้อมูลแสดง Failure Rate ของส่วนประกอบในอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์สรุปดังตาราง สมมติข้อมูลมีการ
แจกแจงแบบเลขชี้กาลัง และชิ้นส่วนทุกชิ้นมีผลต่อการทางานของอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ จงหา MTBF ของ
อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ ชุดนี้

ชิ้นส่วน ปริมาณ Failure Rate/ hour


Silicon transistor 40 74.0 x 10-6
Film resistor 100 3.0 x 10-6
Paper capacitor 50 10.0 x 10-6
(สภาวิศวกร, 2555)
14. ชิ้ น ส่ ว นส าหรั บ ประกอบเครื่ อ งตรวจจั บ วั ต ถุ ร ะเบิ ด มี ก ารแจกแจงแบบเลขชี้ ก าลั ง โดยมี
Failure Rate (λ) = 0.036 failure/100 ชั่วโมง จงหาค่าความน่าจะเป็นที่ชิ้นส่วนชิ้นนี้ จะไมเสียในช่วงการ
ทางาน 400 ชั่วโมง (สภาวิศวกร, 2555)
15. ระบบหนึ่งประกอบด้วยชิ้นส่วน 4 ชิ้นต่อแบบนุกรม (Series) โดย Time to Failure มีการแจกแจงแบบ
เลขชี้กาลัง และมี Failure Rate คือ 2.7, 3.6, 14.2 และ 8.6 ตอ 1,000 ชั่วโมง คา MTBF ควรมีค่าเท่าใด
(สภาวิศวกร, 2555)
บทที่ 8 ความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์ 495

16. เมื่อทาการทดสอบผลิตภัณฑ์หนึ่งจานวน 25 ชิ้นตลอด 15 ชั่วโมง ภายหลังการทดสอบพบว่า ผลิตภัณฑ์


จานวน 3 ชิ้นเสียในชั่วโมงที่ 2, 5 และ 6 จงหาอัตราความขัดข้องสาหรับผลิตภัณฑ์นี้
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
17. จงหาค่าความเชื่อมั่นที่สวิตช์ไฟฟ้าจะใช้งานได้ 6,000 รอบ เมื่ออายุเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 5,500 รอบ และค่า
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 165 รอบ ภายใต้การแจกแจงปกติ
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
18. จากข้อที่ 17 ถ้าการแจกแจงเป็นแบบไวบูลล์ และ β = 3.5 จงหาค่าความเชื่อมั่นของสวิตช์
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
19. กิจกรรมการวัดและควบคุมงานความเชื่อมั่น มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง
20. จงสร้างเส้นโค้ง OC สาหรับแผนการชักสิ่งตัวอย่างของ n = 16, T = 600 และ c = 2
(ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551)
496 การควบคุมคุณภาพ

เอกสารอ้างอิง

รศ.ดร.พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2541). การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.


ผศ. ศรีไร จารุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี.
รศ. ศุภชัย นาทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สภาวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
บรรณานุกรม
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2555). กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมวิธีการชักตัวอย่างเพื่อการ
ตรวจสอบเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2547). ระบบการควบคุมคุณภาพที่หน้างานคิวชีเซอร์เคิล. กรุงเทพมหานคร:
เทคนิคอล แอพโพรช เคาน์เซลลิ่ง แอนด์ เทรนนิ่ง.
กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2542) มาตรฐานระบบการตรวจสอบด้วยการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อที่ยอมรับ
MIL-STD-105E. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2540). สถิติสาหรับงานวิศวกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร:
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
เกียรติศักดิ์ จันทร์แดง. (2549). การบริหารหารผลิตและการปฏิบัติการ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร:
วิตตี้กรุ๊ป.
ปรียาวดี ผลอเนก. (2556). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.
พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2541). การควบคุมคุณภาพเชิงวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
โยชิโอะ คอนโด (2540). การควบคุมคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (แปลจาก Total Quality Control โดย
วรภัทธ์ ภู่เจริญ). กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
วิสาข์ เกษประทุม. (2550). ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: พ.ศ. พัฒนา.
ศิวดล กัลยาคา. (2548). รูปแบบการควบคุมคุณภาพของพรมทอมือ โดยประยุกต์ใช้การควบคุม
กระบวนการเชิงสถิติ: กรณีศึกษาโรงงานผลิตพรม. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิศวกรรมศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศรีไร จารุภิญโญ. (2540). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศุภชัย นาทะพันธ์. (2551). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สภาวิศวกร. (2555). ข้อสอบสภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิชาการควบคุมคุณภาพ.
กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2554). การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติและวิศวกรรม. กรุงเทพมหานคร:
จามจุรีโปรดักท์.
อัจฉรียา รักมิตร. (2545). การปรับปรุงกระบวนการในการตรวจสอบประสิทธิภาพเครื่องมือวัดโดยใช้
แนวทางซิกซ์ซิกมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทาง
วิศวกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์. (2535). การควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ
Banks J. (1989). Principles of Quality Control. New York: John Wiley & Sons.
Besterfield D. H. (2004). Quality Control. (7th ed). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
498 การควบคุมคุณภาพ

Dodge H.F. (1943). A Sampling Inspection Plan for Continuous Production. The Annals of
Mathematical Statistics, Vol.14 pp 264-279.
Evan James R., Linsay William M. (2008). The Management and Control of Quality
(7th ed). OH: South-Western.
Garvin D.A. (1988). Managing Quality: The strategic and competitive edge. New York:
Harvard Business School.
Gupta R.C. (1988). Statistical Quality Control (3rd ed). Delhi: J.N.Printers.
Harrison M.W. (1989). Statistical Methods for Engineers and Scientists. New York:
McGraw-Hill.
Hill I. D. (1961). An Introduction to Sampling Inspection. The Institute of Engineering
Inspection Monograph. London.
Hosotani K. (1992). Japanese Quality Concept: An Overview Quality Resource. New York:
White Plains.
Juran, J. M., & Gryna, F. M. (Eds). (1988). The Quality Control Handbook (4th ed).
New York: McGraw-Hill.
Montgomery D.C. (2009). Introduction to Statistical Quality Control (6th ed). New York:
John Wiley & Sons.
Oakland S. J. (2003). Statistical Process Control (4th ed). Oxford: Butterworth Heinemann.
Oakland S.J. (2003). TQM Text with Case. (3rd ed). Butterworth-Heinemann An imprint of
Elsevier.
Pande, P.S., Neumen, R.P., & Cavanaugh, R.R. (2002). The Six Sigma way: team fieldbook.
New York: McGraw-Hill.
Ramasamy Subburaj. (2009). Total Quality Management. India: Tata McGraw-Hill.
Russell R.S., Taylor B.W. (2011). Operation Management (7th ed). NJ: John Wiley&
Sons(Asia).
Schilling E.G., Neubauer V.D. (2009). Acceptance Sampling in Quality Control (2nd ed).
FL: Taylor & Francis Group.
Schilling E.G., Sheesley J.H. (1978). The Performance of MIL-STD-105D under the
Switching Rules. Journal of Quality Techonology 10(1978). pp 76-83 and 104-124.
Swink, Morgan et al. (2011). Managing Operations Across the Supply Chain.
NY: McGraw-Hill.
Verma R., Boyer K.K. (2008). Operation & Supply Chain Management. China:
China Translation & Printing Services Limited.
http://www.pip.co.th/?p=63 1
ภาคผนวก
500 การควบคุมคุณภาพ
ภาคผนวก ก
ตารางสถิติศาสตร์
502 การควบคุมคุณภาพ
ตารางสถิติศาสตร์ 503

ตารางที่ ก-1 ผลรวมความน่าจะเป็นแบบทวินาม


x

B  x; n, p   b(k; n, p)
k 0

n=5
p
0.01 0.05 0.10 0.20 0.25 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 0.75 0.80 0.90 0.95 0.99
0 .951 .774 .590 .328 .237 .168 .078 .031 .010 .002 .001 .000 .000 .000 .000
1 .999 .977 .919 .737 .633 .528 .337 .188 .087 .031 .016 .007 .000 .000 .000
2 1.000 .999 .991 .942 .896 .837 .683 .500 .317 .163 .104 .058 .009 .001 .000
3 1.000 1.000 1.000 .993 .984 .969 .913 .812 .663 .472 .367 .263 .081 .023 .001
4 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .998 .990 .909 .922 .832 .763 .672 .410 .226 .049
n = 10
p
0.01 0.05 0.10 0.20 0.25 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 0.75 0.80 0.90 0.95 0.99
0 .904 .599 .349 .107 .056 .028 .006 .001 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
1 .996 .914 .736 .376 .244 .149 .040 .011 .002 .000 .000 .000 .000 .000 .000
2 1.000 .988 .930 .678 .526 .383 .167 .055 .012 .002 .000 .000 .000 .000 .000
3 1.000 .999 .987 .879 .776 .650 .382 .172 .055 .011 .004 .001 .000 .000 .000
4 1.000 1.000 .998 .967 .922 .850 .633 .377 .166 .047 .020 .006 .000 .000 .000

5 1.000 1.000 1.000 .994 .980 .953 .834 .623 .367 .150 .078 .033 .002 .000 .000
6 1.000 1.000 1.000 .999 .996 .989 .945 .828 .618 .350 .224 .121 .013 .001 .000
7 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .988 .945 .833 .617 .474 .322 .070 .012 .000
8 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .989 .954 .851 .756 .624 .264 .086 .004
9 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .994 .972 .944 .893 .651 .401 .096
n = 15
p
0.01 0.05 0.10 0.20 0.25 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 0.75 0.80 0.90 0.95 0.99
0 .860 .463 .206 .035 .013 .005 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
1 .990 .829 .549 .167 .080 .035 .005 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
2 1.000 .964 .816 .398 .236 .127 .027 .004 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
3 1.000 .995 .944 .648 .461 .297 .091 .018 .002 .000 .000 .000 .000 .000 .000
4 1.000 .999 .987 .836 .686 .515 .217 .059 .009 .001 .000 .000 .000 .000 .000

5 1.000 1.000 .998 .939 .852 .722 .402 .151 .034 .004 .001 .000 .000 .000 .000
6 1.000 1.000 1.000 .982 .943 .869 .610 .304 .095 .015 .004 .001 .000 .000 .000
7 1.000 1.000 1.000 .996 .983 .950 .787 .500 .213 .050 .017 .004 .000 .000 .000
8 1.000 1.000 1.000 .999 .996 .985 .905 .696 .390 .131 .057 .018 .000 .000 .000
9 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .996 .966 .849 .597 .278 .148 .061 .002 .000 .000

10 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .991 .941 .783 .485 .314 .164 .013 .001 .000
11 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .982 .909 .703 .539 .352 .056 .005 .000
12 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .996 .973 .873 .764 .602 .184 .036 .000
13 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .995 .965 .920 .833 .451 .171 .010
14 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .995 .987 .965 .794 .537 .140
504 การควบคุมคุณภาพ
x
ตารางที่ ก-1 ผลรวมความน่าจะเป็นแบบทวินาม (ต่อ) B  x; n, p   b(k; n, p)
k 0

n = 20
p
0.01 0.05 0.10 0.20 0.25 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 0.75 0.80 0.90 0.95 0.99
0 .818 .358 .122 .012 .003 .001 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
1 .983 .736 .392 .069 .024 .008 .001 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
2 .999 .925 .677 .206 .091 .035 .004 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
3 1.000 .984 .867 .411 .225 .107 .016 .001 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
4 1.000 .997 .957 .630 .415 .238 .051 .006 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000

5 1.000 1.000 .989 .804 .617 .416 .126 .021 .002 .000 .000 .000 .000 .000 .000
6 1.000 1.000 .998 .913 .786 .608 .250 .058 .006 .000 .000 .000 .000 .000 .000
7 1.000 1.000 1.000 .968 .898 .772 .416 .132 .021 .001 .000 .000 .000 .000 .000
8 1.000 1.000 1.000 .990 .959 .887 .596 .252 .057 .005 .001 .000 .000 .000 .000
9 1.000 1.000 1.000 .997 .986 .952 .755 .412 .128 .017 .004 .001 .000 .000 .000

10 1.000 1.000 1.000 .999 .996 .983 .872 .588 .245 .048 .014 .003 .000 .000 .000
11 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .995 .943 .748 .404 .113 .041 .010 .000 .000 .000
12 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .979 .868 .584 .228 .102 .032 .000 .000 .000
13 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .994 .942 .750 .392 .214 .087 .002 .000 .000
14 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .979 .874 .584 .383 .196 .011 .000 .000

15 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .994 .949 .762 .585 .370 .043 .003 .000
16 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .984 .893 .775 .589 .133 .016 .000
17 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .996 .965 .909 .794 .323 .075 .001
18 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .992 .976 .931 .608 .264 .017
19 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .997 .988 .878 .642 .182
ตารางสถิติศาสตร์ 505

ตารางที่ ก-1 ผลรวมความน่าจะเป็นแบบทวินาม (ต่อ)


x

B  x; n, p   b(k; n, p)
k 0

n = 25
p
0.01 0.05 0.10 0.20 0.25 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 0.75 0.80 0.90 0.95 0.99
0 .778 .277 .072 .004 .001 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
1 .974 .642 .271 .027 .007 .002 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
2 .998 .873 .537 .098 .032 .009 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
3 1.000 .966 .764 .234 .096 .033 .002 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
4 1.000 .993 .902 .421 .214 .090 .009 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000

5 1.000 .999 .967 .617 .378 .193 .029 .002 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
6 1.000 1.000 .991 .780 .561 .341 .074 .007 .000 .000 .000 .000 .000 .000 .000
7 1.000 1.000 .998 .891 .727 .512 .154 .022 .001 .000 .000 .000 .000 .000 .000
8 1.000 1.000 1.000 .953 .851 .677 .274 .054 .004 .000 .000 .000 .000 .000 .000
9 1.000 1.000 1.000 .983 .929 .811 .425 .115 .013 .000 .000 .000 .000 .000 .000

10 1.000 1.000 1.000 .994 .970 .902 .586 .212 .034 .002 .000 .000 .000 .000 .000
11 1.000 1.000 1.000 .998 .980 .956 .732 .345 .078 .006 .001 .000 .000 .000 .000
12 1.000 1.000 1.000 1.000 .997 .983 .846 .500 .154 .017 .003 .000 .000 .000 .000
13 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .994 .922 .655 .268 .044 .020 .002 .000 .000 .000
14 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .966 .788 .414 .098 .030 .006 .000 .000 .000

15 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .987 .885 .575 .189 .071 .017 .000 .000 .000
16 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .996 .946 .726 .323 .149 .047 .000 .000 .000
17 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .978 .846 .488 .273 .109 .002 .000 .000
18 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .993 .926 .659 .439 .200 .009 .000 .000
19 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .971 .807 .622 .383 .033 .001 .000

20 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .991 .910 .786 .579 .098 .007 .000
21 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .967 .904 .766 .236 .034 .000
22 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .991 .968 .902 .463 .127 .002
23 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .998 .993 .973 .729 .358 .026
24 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 .999 .996 .928 .723 .222
506 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-2 การกระจายสะสมแบบปัวส์ซอง


X
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
u’ or P’ n
0.02 980 1.000
0.04 961 999 1.000
0.06 942 998 1.000
0.08 923 997 1.000
0.10 905 995 1.000

0.15 861 990 999 1.000


0.20 819 982 999 1.000
0.25 779 974 998 1.000
0.30 741 963 996 1.000

0.35 705 951 994 1.000


0.40 670 938 992 999 1.000
0.45 688 925 989 999 1.000
0.50 607 910 986 998 1.000

0.55 577 894 982 998 1.000


0.60 549 878 977 997 1.000
0.65 522 861 972 996 999 1.000
0.70 497 844 966 994 999 1.000
0.75 472 827 959 993 999 1.000

0.80 449 809 953 991 999 1.000


0.85 427 791 945 989 998 1.000
0.90 407 772 937 987 998 1.000
0.95 387 754 929 984 997 1.000
1.00 368 786 920 981 996 999 1.000

1.1 338 699 900 974 995 999 1.000


1.2 301 668 879 966 992 998 1.000
1.3 273 627 857 957 989 998 1.000
1.4 247 592 833 946 986 997 999 1.000
1.5 228 558 809 934 981 996 999 1.000

1.6 202 525 788 921 976 994 999 1.000


1.7 188 498 757 907 970 992 998 1.000
1.8 165 463 751 891 964 990 997 999 1.000
1.9 150 434 704 875 956 987 997 999 1.000
2.0 135 406 677 857 947 983 995 999 1.000

X คือ จานวนของเสีย
u’ หรือ P’n คือ ตัวกลาง
ส่วนตัวเลขในตาราง คือ โอกาสที่จะเกิดขึ้น (เป็นทศนิยม 3 ตาแหน่ง)
ตารางสถิติศาสตร์ 507

ตารางที่ ก-2 การกระจายสะสมแบบปัวส์ซอง (ต่อ)


X
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
u’ or P’ n
2.2 111 355 623 819 928 975 993 998 1.000
2.4 091 308 570 779 904 964 988 997 999 1.000
2.6 074 267 518 736 877 951 983 995 999 1.000
2.8 061 231 469 692 848 935 976 992 998 999
3.0 050 199 423 647 815 916 966 988 996 999

3.2 041 171 380 603 781 895 955 983 994 998
3.4 033 147 340 558 744 871 942 977 992 997
3.6 027 126 303 515 706 844 927 969 988 996
3.8 022 107 269 473 668 816 909 960 984 994
4.0 018 092 238 433 629 785 889 949 979 992

4.2 015 078 210 395 590 753 867 936 972 989
4.4 012 066 185 350 551 720 844 921 964 985
4.6 010 056 163 326 513 686 818 905 955 980
4.8 008 048 143 294 476 651 791 887 944 975
5.0 007 040 125 265 440 616 762 867 932 968

5.2 006 034 109 238 406 581 732 845 918 960
5.4 005 029 095 213 373 546 702 822 903 952
5.6 004 024 082 191 342 512 670 797 886 941
5.8 003 021 072 170 313 478 638 771 867 929
6.0 002 017 062 151 285 446 606 744 847 916

10 11 12 13 14 15 16

2.8 1.000
3.0 1.000
3.2 1.000
3.4 999 1.000
3.6 999 1.000
3.8 998 999 1.000
4.0 997 999 1.000

4.2 996 999 1.000


4.4 994 998 999 1.000
4.6 992 997 999 1.000
4.8 990 996 999 1.000
5.0 986 995 998 999 1.000

5.2 982 993 997 999 1.000


5.4 977 990 996 999 1.000
5.6 972 988 995 998 999 1.000
5.8 965 984 993 997 999 1.000
6.0 957 980 991 996 999 999 1.000
508 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-2 การกระจายสะสมแบบปัวส์ซอง (ต่อ)


X
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
u’ or P’ n
6.2 002 015 054 134 259 414 574 716 826 902
6.4 002 012 046 119 235 384 542 687 803 886
6.6 001 010 040 105 213 355 511 657 780 869
6.8 001 009 034 093 192 327 480 628 755 850
7.0 001 007 030 082 173 301 450 599 729 830

7.2 001 006 025 072 156 276 420 569 703 810
7.4 001 005 022 063 140 235 392 589 676 788
7.6 001 004 019 055 125 231 365 510 648 765
7.8 000 004 016 048 112 210 388 481 620 741

8.0 000 003 014 042 100 191 313 453 593 717
8.5 000 002 009 080 074 150 256 386 523 653
9.0 000 001 006 021 055 116 207 324 456 587
9.5 000 001 004 015 040 089 165 269 392 522
10.0 000 000 003 010 029 067 130 220 333 458

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

6.2 949 975 989 995 998 999 1.000


6.4 939 969 986 994 997 999 1.000
6.6 927 963 982 992 997 999 999 1.000
6.8 915 955 978 990 996 998 999 1.000
7.0 901 947 973 987 994 998 999 1.000

7.2 887 937 967 984 993 997 999 999 1.000
7.4 871 926 961 980 991 996 998 999 1.000
7.6 854 915 954 976 989 995 998 999 1.000
7.8 835 902 945 971 986 993 997 999 1.000

8.0 816 888 986 966 983 992 996 998 999 1.000
8.5 763 849 909 949 973 986 993 997 999 999
9.0 706 803 876 926 959 978 989 995 998 999
9.5 645 752 836 898 940 967 982 991 996 998
10.0 583 697 792 864 917 951 973 986 993 997

20 21 22

8.5 1.000
9.0 1.000
9.5 999 1.000
10.0 998 999 1.000
ตารางสถิติศาสตร์ 509

ตารางที่ ก-2 การกระจายสะสมแบบปัวส์ซอง (ต่อ)


X
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
u’ or P’ n
10.5 000 000 002 007 021 050 102 179 279 397
11.0 000 000 001 005 015 038 079 143 232 341
11.5 000 000 001 003 011 028 060 114 191 289
12.0 000 000 001 002 008 020 046 090 155 242
12.5 000 000 000 002 005 015 035 070 125 201

13.0 000 000 000 001 004 011 026 054 100 166
13.5 000 000 000 001 003 008 019 041 079 135
14.0 000 000 000 000 002 006 014 032 062 109
14.5 000 000 000 000 001 004 010 024 048 088
15.0 000 000 000 000 001 003 008 018 037 070

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

10.5 521 639 742 825 888 923 960 978 988 994
11.0 460 579 689 781 854 907 944 968 982 991
11.5 402 520 633 733 815 878 924 954 974 986
12.0 347 462 576 682 772 844 899 937 963 979
12.5 297 406 519 628 725 806 869 916 948 969

13.0 252 353 463 573 675 764 835 890 930 957
13.5 211 304 409 518 623 718 798 861 908 942
14.0 176 260 358 464 570 669 756 827 883 923
14.5 145 220 311 413 518 619 711 790 853 901
15.0 118 185 268 363 466 568 664 749 819 875

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

10.5 997 999 999 1.000


11.0 995 998 999 1.000
11.5 992 996 998 999 1.000
12.0 988 994 997 999 999 1.000
12.5 983 991 995 998 999 999 1.000

13.0 975 986 992 996 998 999 1.000


13.5 965 980 989 994 997 998 999 1.000
14.0 952 971 883 991 995 997 999 999 1.000
14.5 936 960 976 986 992 996 998 999 999 1.000
15.0 917 947 967 981 989 994 997 998 999 1.000
510 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-2 การกระจายสะสมแบบปัวส์ซอง (ต่อ)


X
4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
u’ or P’ n
16 000 001 004 010 022 043 077 127 193 275
17 000 001 002 005 013 026 049 085 135 201
18 000 000 001 003 007 015 030 055 092 143
19 900 000 001 002 004 009 018 035 061 098
20 000 000 000 001 002 005 011 021 039 166

21 000 000 000 000 001 003 006 013 025 043
22 000 000 000 000 001 002 004 008 015 028
23 000 000 000 000 000 001 002 004 009 017
24 000 000 000 000 000 000 001 903 005 011
25 000 000 000 000 000 000 001 001 003 006

14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

16 868 467 566 659 742 812 868 911 942 963
17 281 371 468 564 655 736 805 861 905 937
18 208 287 375 469 562 651 731 799 855 899
19 150 215 292 378 469 516 647 725 793 849
20 105 157 221 297 381 470 559 644 721 787

21 072 111 163 227 302 384 471 558 640 716
22 048 077 117 169 232 306 387 472 556 637
23 031 052 082 123 175 238 310 389 472 555
24 020 034 056 087 128 180 243 314 492 478
25 012 022 038 060 092 134 185 247 318 394

24 25 26 27 28 29 30 31 32 33

16 978 987 993 996 998 999 999 1,000


17 959 975 985 991 995 997 999 999 1.000
18 932 955 972 983 990 994 997 998 999 1.000
19 893 927 951 969 980 988 993 996 998 999
20 843 888 922 948 966 978 987 992 995 997

21 782 838 883 917 944 963 976 985 991 994
22 712 777 832 877 913 940 959 973 983 989
23 635 708 772 827 873 908 936 956 971 981
24 554 623 704 768 823 868 904 932 953 969
25 473 553 629 700 763 818 863 900 929 950

34 35 36 37 38 39 40 41 42 43

19 999 1.000
20 999 999 1.000

21 997 998 999 999 1.000


22 994 996 998 999 999 1.000
23 988 993 996 997 999 999 1,000
24 979 987 992 995 997 998 999 999 1,000
25 966 978 985 991 994 997 998 999 999 1,000
ตารางสถิติศาสตร์ 511

ตารางที่ ก-3 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน


2
z z
1 
F x   e 2 dz
 2π

Z 0.00 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08 0.09
-3.4 0.0003 0.0003 0.0003 0.0003 0.0003 0.0003 0.0003 0.0003 0.0003 0.0002
-3.3 0.0005 0.0005 0.0005 0.0004 0.0004 0.0004 0.0004 0.0004 0.0004 0.0003
-3.2 0.0007 0.0007 0.0006 0.0006 0.0006 0.0006 0.0006 0.0005 0.0005 0.0005
-3.1 0.0010 0.0009 0.0009 0.0009 0.0008 0.0008 0.0008 0.0008 0.0007 0.0007
-3.0 0.0013 0.0013 0.0013 0.0012 0.0012 0.0011 0.0011 0.0011 0.0010 0.0010

-2.9 0.0019 0.0018 0.0017 0.0017 0.0016 0.0016 0.0015 0.0015 0.0014 0.0014
-2.8 0.0026 0.0025 0.0024 0.0023 0.0023 0.0022 0.0021 0.0021 0.0020 0.0019
-2.7 0.0035 0.0034 0.0033 0.0032 0.0031 0.0030 0.0029 0.0028 0.0027 0.0026
-2.6 0.0047 0.0045 0.0044 0.0043 0.0041 0.0040 0.0039 0.0038 0.0037 0.0036
-2.5 0.0062 0.0060 0.0059 0.0057 0.0055 0.0054 0.0052 0.0051 0.0049 0.0038

-2.4 0.0062 0.0060 0.0078 0.0075 0.0073 0.0071 0.0069 0.0068 0.0066 0.0064
-2.3 0.0107 0.0104 0.0102 0.0099 0.0096 0.0094 0.0091 0.0089 0.0087 0.0084
-2.2 0.0139 0.0136 0.0132 0.0129 0.0125 0.0122 0.0119 0.0116 0.0113 0.0110
-2.1 0.0179 0.0174 0.0170 0.0166 0.0162 0.0158 0.0154 0.0150 0.0146 0.0143
-2.0 0.0228 0.0222 0.0217 0.0212 0.0207 0.0202 0.0197 0.0192 0.0188 0.0183

-1.9 0.0287 0.0281 0.0274 0.0268 0.0262 0.0256 0.0250 0.0244 0.0239 0.0233
-1.8 0.0359 0.0352 0.0344 0.0336 0.0329 0.0322 0.0314 0.0307 0.0310 0.0294
-1.7 0.0446 0.0436 0.0427 0.0418 0.0409 0.0401 0.0392 0.0384 0.0375 0.0367
-1.6 0.0548 0.0537 0.0526 0.0516 0.0505 0.0495 0.0485 0.0475 0.0465 0.0455
-1.5 0.0688 0.0655 0.0643 0.0630 0.0618 0.0606 0.0594 0.0582 0.0571 0.0559
512 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-3 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน (ต่อ)

Z 0.00 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08 0.09
-1.4 0.0808 0.0793 0.0778 0.0764 0.0749 0.0735 0.0722 0.0708 0.0694 0.0681
-1.3 0.0968 0.0951 0.0934 0.0918 0.0901 0.0885 0.0869 0.0853 0.0838 0.0823
-1.2 0.1151 0.1131 0.1112 0.1093 0.1075 0.1056 0.1038 0.1020 0.1003 0.0985
-1.1 0.1357 0.1335 0.1314 0.1292 0.1271 0.1251 0.1230 0.1210 0.1190 0.1170
-1.0 0.1587 0.1562 0.1539 0.1515 0.1492 0.1469 0.1446 0.1423 0.1401 0.1379

-0.9 0.1841 0.1814 0.1788 0.1762 0.1736 0.1711 0.1685 0.1660 0.1635 0.1611
-0.8 0.2119 0.2090 0.2061 0.2033 0.2005 0.1977 0.1949 0.1922 0.1894 0.1867
-0.7 0.2420 0.2389 0.2356 0.2327 0.2296 0.2266 0.2236 0.2206 0.2177 0.2148
-0.6 0.2743 0.2709 0.2676 0.2643 0.2611 0.2578 0.2546 0.2514 0.2483 0.2451
-0.5 0.3085 0.3050 0.3015 0.2981 0.2946 0.2912 0.2877 0.2843 0.2810 0.2776

-0.4 0.3446 0.3409 0.3372 0.3336 0.3300 0.3264 0.3228 0.3192 0.3156 0.3121
-0.3 0.3821 0.3783 0.3745 0.3707 0.3669 0.3632 0.3594 0.3557 0.3520 0.3482
-0.2 0.4207 0.4168 0.4129 0.4090 0.4052 0.4013 0.3974 0.3936 0.3897 0.3859
-0.1 0.4602 0.4562 0.4522 0.4483 0.4443 0.4404 0.4364 0.4325 0.4286 0.4247
-0.0 0.5000 0.4960 0.4920 0.4880 0.4840 0.4801 0.4761 0.4721 0.4681 0.4641

0.0 0.5000 0.5040 0.5080 0.5120 0.5160 0.5199 0.5239 0.5279 0.5319 0.5359
0.1 0.5398 0.5438 0.5478 0.5517 0.5557 0.5596 0.5636 0.5675 0.5714 0.5753
0.2 0.5793 0.5892 0.5871 0.5910 0.5948 0.5987 0.6026 0.6064 0.6103 0.6141
0.3 0.6179 0.6217 0.6255 0.6293 0.6331 0.6368 0.6406 0.6443 0.6480 0.6517
0.4 0.6554 0.6591 0.6628 0.6664 0.6700 0.6736 0.6772 0.6808 0.6844 0.6879

0.5 0.6915 0.6950 0.6985 0.7019 0.7054 0.7088 0.7123 0.7157 0.7190 0.7224
0.6 0.7257 0.7291 0.7324 0.7357 0.7389 0.7422 0.7454 0.7486 0.7517 0.7549
0.7 0.7580 0.7611 0.7542 0.7673 0.7704 0.7734 0.7764 0.7794 0.7823 0.7852
0.8 0.7681 0.7910 0.7939 0.7967 0.7995 0.8023 0.8051 0.8078 0.8106 0.8133
0.9 0.8159 0.8186 0.8212 0.8238 0.8264 0.8289 0.8315 0.8340 0.8365 0.8389
ตารางสถิติศาสตร์ 513

ตารางที่ ก-3 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน (ต่อ)

Z 0.00 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08 0.09
1.0 0.8413 0.8438 0.8461 0.6485 0.8508 0.8531 0.8554 0.8577 0.8599 0.8621
1.1 0.8643 0.8665 0.8686 0.8708 0.8729 0.8749 0.8770 0.8790 0.8810 0.8830
1.2 0.8840 0.8869 0.8888 0.8907 0.8925 0.8944 0.8962 0.8980 0.8997 0.9015
1.3 0.9032 0.9049 0.9066 0.9082 0.9099 0.9115 0.9131 0.9147 0.9162 0.9177
1.4 0.9192 0.9207 0.9222 0.9236 0.9251 0.9265 0.9278 0.9292 0.9306 0.9319

1.5 0.9332 0.9345 0.9357 0.9370 0.9382 0.9394 0.9406 0.9418 0.9429 0.9441
1.6 0.9452 0.9463 0.9474 0.9484 0.9495 0.9505 0.9515 0.9525 0.9535 0.9545
1.7 0.9554 0.9564 0.9573 0.9582 0.9591 0.9599 0.9608 0.9616 0.9625 0.9633
1.8 0.9641 0.9649 0.9656 0.9664 0.9671 0.9678 0.9686 0.9693 0.9699 0.9706
1.9 0.9713 0.9719 0.9726 0.9732 0.9738 0.9744 0.9750 0.9756 0.9761 0.9767

2.0 0.9772 0.9778 0.9783 0.9788 0.9793 0.9798 0.9803 0.9808 0.9812 0.9817
2.1 0.9821 0.9826 0.9830 0.9834 0.9838 0.9842 0.9846 0.9850 0.9854 0.9857
2.2 0.9861 0.9864 0.9868 0.9871 0.9875 0.9878 0.9881 0.9884 0.9887 0.9890
2.3 0.9893 0.9896 0.9898 0.9901 0.9904 0.9906 0.9909 0.9911 0.9913 0.9916
2.4 0.9918 0.9920 0.9922 0.9925 0.9927 0.9929 0.9931 0.9932 0.9934 0.9936

2.5 0.9938 0.9940 0.9941 0.9943 0.9945 0.9946 0.9948 0.9949 0.9951 0.9952
2.6 0.9953 0.9955 0.9956 0.9957 0.9959 0.9960 0.9961 0.9962 0.9963 0.9964
2.7 0.9965 0.9966 0.9967 0.9968 0.9969 0.9970 0.9971 0.9972 0.9963 0.9964
2.8 0.9974 0.9975 0.9976 0.9977 0.9977 0.9978 0.9979 0.9979 0.9980 0.9981
2.9 0.9981 0.9982 0.9982 0.9983 0.9984 0.9984 0.9985 0.9985 0.9986 0.9986

3.0 0.9987 0.9987 0.9987 0.9988 0.9988 0.9989 0.9989 0.9989 0.9990 0.9990
3.1 0.9990 0.9991 0.9991 0.9991 0.9992 0.9992 0.9992 0.9992 0.9993 0.9993
3.2 0.9993 0.9993 0.9994 0.9994 0.9994 0.9994 0.9994 0.9995 0.9995 0.9995
3.3 0.9995 0.9995 0.9995 0.9996 0.9996 0.9996 0.9996 0.9996 0.9996 0.9997
3.4 0.9997 0.9997 0.9997 0.9997 0.9997 0.9997 0.9997 0.9997 0.9997 0.9998
514

ตารางที่ ก-4 ตัวประกอบสาหรับการสร้างแผนภูมิควบคุมชนิดแปรผัน


แผนภูมคิ ำ่ เฉลีย่ แผนภูมคิ ำ่ เบี่ยงเบนมำตรฐำน แผนภูมคิ ำ่ พิสัย
จำนวน ตัวประกอบ ตัวประกอบ ตัวประกอบ ตัวประกอบ ตัวประกอบ
ตัวอย่ำง n ขีดจำกัดควบคุม เส้นกึง่ กลำง ขีดจำกัดควบคุม เส้นกึง่ กลำง ขีดจำกัดควบคุม
A A2 A3 c4 1/ c4 B3 B4 B5 B6 d2 1/d2 d3 D1 D2 D3 D4
2 2.121 1.88 2.659 0.7979 1.2533 0 3.267 0 2.606 1.128 0.8865 0.853 0 3.686 0 3.267
3 1.732 1.023 1.954 0.8862 1.1284 0 2.568 0 2.276 1.693 0.5907 0.888 0 4.358 0 2.575
4 1.5 0.729 1.628 0.9213 1.0854 0 2.266 0 2.088 2.059 0.4857 0.88 0 4.698 0 2.282
5 1.342 0.577 1.427 0.94 1.0638 0 2.089 0 1.964 2.326 0.4299 0.864 0 4.918 0 2.115
6 1.225 0.483 1.287 0.9515 1.051 0.03 1.97 0.029 1.874 2.534 0.3946 0.848 0 5.078 0 2.004
7 1.134 0.419 1.182 0.9594 1.0423 0.118 1.882 0.113 1.806 2.704 0.3698 0.833 0.204 5.204 0.076 1.924
8 1.061 0.373 1.099 0.965 1.0363 0.185 1.815 0.179 1.751 2.847 0.3512 0.82 0.388 5.306 0.136 1.864
9 1 0.337 1.032 0.9693 1.0317 0.239 1.761 0.232 1.707 2.97 0.3367 0.808 0.547 5.393 0.184 1.816
10 0.949 0.308 0.975 0.9727 1.0281 0.284 1.716 0.276 1.669 3.078 0.3249 0.797 0.687 5.469 0.223 1.777
11 0.905 0.285 0.927 0.9754 1.0252 0.321 1.679 0.313 1.637 3.173 0.3152 0.787 0.811 5.535 0.256 1.744
12 0.866 0.266 0.886 0.9776 1.0229 0.354 1.646 0.346 1.61 3.258 0.3069 0.778 0.922 5.594 0.283 1.717
13 0.832 0.249 0.85 0.9794 1.021 0.382 1.618 0.374 1.585 3.336 0.2998 0.77 1.025 5.647 0.307 1.693
14 0.802 0.235 0.817 0.981 1.0194 0.406 1.594 0.399 1.563 3.407 0.2935 0.763 1.118 5.696 0.328 1.672
15 0.775 0.223 0.789 0.9823 1.018 0.428 1.572 0.421 1.544 3.472 0.288 0.756 1.203 5.741 0.347 1.653
16 0.75 0.212 0.763 0.9835 1.0168 0.448 1.552 0.44 1.526 3.532 0.2831 0.75 1.282 5.782 0.363 1.637
17 0.728 0.203 0.739 0.9845 1.0157 0.466 1.534 0.458 1.511 3.588 0.2787 0.744 1.356 5.82 0.378 1.622
การควบคุมคุณภาพ

18 0.707 0.194 0.718 0.9854 1.0148 0.482 1.518 0.475 1.496 3.64 0.2747 0.739 1.424 5.856 0.391 1.608
19 0.688 0.187 0.698 0.9862 1.014 0.497 1.503 0.49 1.483 3.689 0.2711 0.734 1.487 5.891 0.403 1.597
20 0.671 0.18 0.68 0.9869 1.0133 0.51 1.49 0.504 1.47 3.735 0.2677 0.729 1.549 5.921 0.415 1.585
21 0.655 0.173 0.663 0.9876 1.0126 0.523 1.477 0.516 1.459 3.778 0.2647 0.724 1.605 5.951 0.425 1.575
22 0.64 0.167 0.647 0.9882 1.0119 0.534 1.466 0.528 1.448 3.819 0.2618 0.72 1.659 5.979 0.434 1.566
23 0.626 0.162 0.633 0.9887 1.0114 0.545 1.455 0.539 1.438 3.858 0.2592 0.716 1.71 6.006 0.443 1.557
24 0.612 0.157 0.619 0.9892 1.0109 0.555 1.445 0.549 1.429 3.895 0.2567 0.712 1.759 6.031 0.451 1.548
25 0.6 0.153 0.606 0.9896 1.0105 0.565 1.435 0.559 1.42 3.931 0.2544 0.708 1.805 6.056 0.459 1.541

เมื่อ n>25
3 3 4(n − 1) 3 3 3 3
A= A3 = c4 = B =1− B4 = 1 + B5 = c4 − B5 = c4 +
n c4 n 4n − 3 3 c4 2(n − 1) c4 2(n − 1) 2(n − 1) 2(n − 1)
ตารางสถิติศาสตร์ 515

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
0 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00
.1 47.24 46.67 46.44 46.26 46.16 46.10 46.08 46.06 46.05 46.05 46.04 46.03 46.03 46.02 46.02
.2 44.46 43.33 42.90 42.54 42.35 42.24 42.19 42.16 42.15 42.13 42.11 42.10 42.09 42.09 42.08
.3 41.63 40.00 39.37 38.87 38.60 38.44 38.37 38.33 38.31 38.29 38.27 38.25 38.24 38.23 38.22
.31 41.35 39.67 39.02 38.50 38.23 38.06 37.99 37.95 37.93 37.91 37.89 37.87 37.86 37.85 37.84
.32 41.06 39.33 38.67 38.14 37.86 37.69 37.62 37.58 37.55 37.54 37.51 37.49 37.48 37.47 37.46
.33 40.77 39.00 38.32 37.78 37.49 37.31 37.24 37.20 37.18 37.16 37.13 37.11 37.10 37.09 37.08
.34 40.49 38.67 37.97 37.42 37.12 36.94 36.87 36.83 36.80 36.78 36.75 36.73 36.72 36.71 36.71
.35 40.20 38.33 37.62 37.06 36.75 36.57 36.49 36.45 36.43 36.41 36.38 36.36 36.35 36.34 36.33
.36 39.91 38.00 37.28 36.69 36.38 36.20 36.12 36.08 36.05 36.04 36.01 35.98 35.97 35.96 35.96
.37 39.62 37.67 36.93 36.33 36.02 35.83 35.75 35.71 35.68 35.66 35.63 35.61 35.60 35.59 35.58
.38 39.33 37.33 36.58 35.98 35.65 35.46 35.38 35.34 35.31 35.29 35.26 35.24 35.23 35.22 35.21
.39 39.03 37.00 36.23 35.62 35.29 35.10 35.02 34.97 34.94 34.93 34.89 34.87 34.86 34.85 34.84
.40 38.74 36.67 35.88 35.26 34.93 34.73 34.65 34.60 34.58 34.56 34.53 34.50 34.49 34.48 34.47
.41 38.45 36.33 35.54 34.90 34.57 34.37 34.28 34.24 34.21 34.19 34.16 34.13 34.12 34.11 34.11
.42 38.15 36.00 35.19 34.55 34.21 34.00 33.92 33.87 33.85 33.83 33.79 33.77 33.76 33.75 33.74
.43 37.85 35.67 34.85 34.19 33.85 33.64 33.56 33.51 33.48 33.46 33.43 33.40 33.39 33.38 33.38
.44 37.56 35.33 34.50 33.84 33.49 33.28 33.20 33.15 33.12 33.10 33.07 33.04 33.03 33.02 33.01
.45 37.26 35.00 34.16 33.49 33.13 32.92 32.84 32.79 32.76 32.74 32.71 32.68 32.67 32.66 32.65
.46 36.96 34.67 33.81 33.13 32.78 32.57 32.48 32.43 32.40 32.38 32.35 32.32 32.31 32.30 32.29
.47 36.66 34.33 33.47 32.78 32.42 32.21 32.12 32.07 32.04 32.02 31.99 31.96 31.95 31.94 31.93
.48 36.35 34.00 33.12 32.43 32.07 31.85 31.77 31.72 31.69 31.67 31.63 31.61 31.60 31.58 31.58
.49 36.05 33.67 32.78 32.08 31.72 31.50 31.41 31.36 31.33 31.31 31.28 31.25 31.24 31.23 31.22
.50 35.75 33.33 32.44 31.74 31.37 31.15 31.06 31.01 30.98 30.96 30.93 30.90 30.89 30.88 30.87
.51 35.44 33.00 32.10 31.39 31.02 30.80 30.71 30.66 30.63 30.61 30.57 30.55 30.54 30.53 30.52
.52 35.13 32.67 31.76 31.04 30.67 30.45 30.36 30.31 30.28 30.26 30.23 30.20 30.19 30.18 30.17
.53 34.82 32.33 31.42 30.70 30.32 30.10 30.01 29.96 29.93 29.91 29.88 29.85 29.84 29.83 29.82
.54 34.51 32.00 31.08 30.36 29.98 29.76 29.67 29.62 29.59 29.57 29.53 29.51 29.49 29.48 29.48
.55 34.20 31.67 30.74 30.01 29.64 29.41 29.32 29.27 29.24 29.22 29.19 29.16 29.15 29.14 29.13
.56 33.88 31.33 30.40 29.67 29.29 29.07 28.98 28.93 28.90 28.88 28.85 28.82 28.81 28.80 28.79
.57 33.57 31.00 30.06 29.33 28.95 28.73 28.64 28.59 28.56 28.54 28.51 28.48 28.47 28.46 28.45
.58 33.25 30.67 29.73 28.99 28.61 28.39 28.30 28.25 28.22 28.20 28.17 28.14 28.13 28.12 28.11
.59 32.93 30.33 29.39 28.66 28.28 28.05 27.96 27.92 27.89 27.87 27.83 27.81 27.79 27.78 27.78
516 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
.60 32.61 30.00 29.05 28.32 27.94 27.72 27.63 27.58 27.55 27.53 27.50 27.47 27.46 27.45 27.44
.61 32.28 29.67 28.72 27.98 27.60 27.39 27.30 27.25 27.22 27.20 27.16 27.14 27.13 27.11 27.11
.62 31.96 29.33 28.39 27.65 27.27 27.05 26.96 26.92 26.89 26.87 26.83 26.81 26.80 26.78 26.78
.63 31.63 29.00 28.05 27.32 26.94 26.72 26.63 26.59 26.56 26.54 26.50 26.48 26.47 26.46 26.45
.64 31.30 28.67 27.72 26.99 26.61 26.39 26.31 26.26 26.23 26.21 26.18 26.15 26.14 26.13 26.12
.65 30.97 28.33 27.39 26.66 26.28 26.07 25.98 25.93 25.90 25.88 25.85 25.83 25.82 25.81 25.80
.66 30.63 28.00 27.06 26.33 25.96 25.74 25.66 25.61 25.58 25.56 25.53 25.51 25.49 25.48 25.48
.67 30.30 27.67 26.73 26.00 25.63 25.42 25.33 25.29 25.26 25.24 25.21 25.19 25.17 25.16 25.16
.68 29.96 27.33 26.40 25.68 25.31 25.10 25.01 24.97 24.94 24.92 24.89 24.87 24.86 24.85 24.84
.69 29.61 27.00 26.07 25.35 24.99 24.78 24.70 24.65 24.62 24.60 24.57 24.55 24.54 24.53 24.52
.70 29.27 26.67 25.74 25.03 24.67 24.46 24.38 24.33 24.31 24.29 24.26 24.24 24.23 24.22 24.21
.71 28.92 26.33 25.41 24.71 24.35 24.15 24.06 24.02 23.99 23.98 23.95 23.92 23.91. 23.90 23.90
.72 28.57 26.00 25.09 24.39 24.03 23.83 23.75 23.71 23.68 23.67 23.64 23.61 23.60 23.59 23.59
.73 28.22 25.67 24.76 24.07 23.72 23.52 23.44 23.40 23.37 23.36 23.33 23.31 23.30 23.29 23.28
.74 27.86 25.33 24.44 23.75 23.41 23.21 23.13 23.09 23.07 23.05 23.02 23.00 22.99 22.98 22.98
.75 27.50 25.00 24.11 23.44 23.10 22.90 22.83 22.79 22.76 22.75 22.72 22.70 22.69 22.68 22.68
.76 27.13 24.67 23.79 23.12 22.79 22.60 22.52 22.48 22.46 22.44 22.42 22.40 22.39 22.38 22.38
.77 26.76 24.33 23.47 22.81 22.48 22.30 22.22 22.18 22.16 22.14 22.12 22.10 22.09 22.08 22.08
.78 26.39 24.00 23.15 22.50 22.18 21.99 21.92 21.89 21.86 21.85 21.82 21.80 21.78 21.79 21.78
.79 26.02 23.67 22.83 22.19 21.87 21.70 21.63 21.59 21.57 21.55 21.53 21.51 21.50 21.49 21.49
.80 25.64 23.33 22.51 21.88 21.57 21.40 21.33 21.29 21.27 21.26 21.23 21.22 21.21 21.20 21.20
.81 25.25 23.00 22.19 21.58 21.27 21.10 21.04 21.00 20.98 20.97 20.94 20.93 20.92 20.91 20.91
.82 24.86 22.67 21.87 21.27 20.98 20.81 20.75 20.71 20.69 20.68 20.65 20.64 20.63 20.62 20.62
.83 24.47 22.33 21.56 20.97 20.68 20.52 20.46 20.42 20.40 20.39 20.37 20.35 20.35 20.34 20.34
.84 24.07 22.00 21.24 20.67 20.39 20.23 20.17 20.14 20.12 20.11 20.09 20.07 20.06 20.06 20.05
.85 23.67 21.67 20.93 20.37 20.10 19.94 19.89 19.86 19.84 19.82 19.80 19.79 19.78 19.78 19.77
.86 23.26 21.33 20.62 20.07 19.81 19.66 19.60 19.57 19.56 19.54 19.53 19.51 19.51 19.50 19.50
.87 22.84 21.00 20.31 19.78 19.52 19.38 19.32 19.30 19.28 19.27 19.25 19.24 19.23 19.23 19.22
.88 22.42 20.67 20.00 19.48 19.23 19.10 19.05 19.02 19.00 18.99 18.98 18.96 18.96 18.95 18.95
.89 21.99 20.33 19.69 19.19 18.95 18.82 18.77 18.74 18.73 18.72 18.70 18.69 18.69 18.68 18.68
.90 21.55 20.00 19.38 18.90 18.67 18.54 18.50 18.47 18.46 18.45 18.43 18.42 18.42 18.41 18.41
.91 21.11 19.67 19.07 18.61 18.39 18.27 18.23 18.20 18.19 18.18 18.17 18.16 18.15 18.15 18.15
.92 20.66 19.33 18.77 18.33 18.11 18.00 17.96 17.94 17.92 17.92 17.90 17.89 17.89 17.89 17.88
.93 20.19 19.00 18.46 18.04 17.84 17.73 17.69 17.67 17.66 17.65 17.64 17.63 17.63 17.62 17.62
.94 19.73 18.67 18.16 17.76 17.56 17.46 17.43 17.41 17.40 17.39 17.38 17.37 17.37 17.37 17.36
.95 19.25 18.33 17.86 17.48 17.29 17.20 17.17 17.16 17.14 17.13 17.12 17.12 17.11 17.11 17.11
.96 18.75 18.00 17.55 17.20 17.03 16.94 16.90 16.89 16.88 16.88 16.87 16.86 16.86 16.86 16.86
.97 18.25 17.67 17.25 16.92 16.76 16.68 16.65 16.63 16.63 16.62 16.61 16.61 16.61 16.61 16.60
.98 17.74 17.33 16.96 16.65 16.49 16.42 16.39 16.38 16.37 16.37 16.36 16.36 16.36 16.36 16.36
.99 17.21 17.00 16.66 16.37 16.23 16.16 16.14 16.13 16.12 16.12 16.12 16.11 16.11 16.11 16.11
ตารางสถิติศาสตร์ 517

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
1.00 16.67 16.67 16.36 16.10 15.97 15.91 15.89 15.88 15.88 15.87 15.87 15.87 15.87 15.87 15.87
1.01 16.11 16.33 16.07 15.83 15.72 15.66 15.64 15.63 15.63 15.63 15.63 15.62 15.62 15.62 15.62
1.02 15.53 16.00 15.78 15.56 15.46 15.41 15.40 15.39 15.39 15.38 15.38 15.38 15.38 15.39 15.39
1.03 14.93 15.67 15.48 15.30 15.21 15.17 15.15 15.15 15.15 15.15 15.15 15.15 15.15 15.15 15.15
1.04 14.31 15.33 15.19 15.03 14.96 14.92 14.91 14.91 14.91 14.91 14.91 14.91 14.91 14.91 14.91
1.05 13.66 15.00 14.91 14.77 14.71 14.68 14.67 14.67 14.67 14.67 14.68 14.68 14.68 14.68 14.68
1.06 12.98 14.67 14.62 14.51 14.46 14.44 14.44 14.44 14.44 14.44 14.45 14.45 14.45 14.45 14.45
1.07 12.27 14.33 14.33 14.26 14.22 14.20 14.20 14.21 14.21 14.21 14.22 14.22 14.22 14.23 14.22
1.08 11.51 14.00 14.05 14.00 13.97 13.97 13.97 13.98 13.98 13.98 13.99 13.99 14.00 14.00 14.00
1.09 10.71 13.67 13.76 13.75 13.73 13.74 13.74 13.75 13.75 13.76 13.77 13.77 13.77 13.78 13.78
1.10 9.84 13.33 13.48 13.49 13.50 13.51 13.52 13.52 13.53 13.54 13.54 13.55 13.55 13.56 13.56
1.11 8.89 13.00 13.20 13.25 13.26 13.28 13.29 13.30 13.31 13.31 13.32 13.33 13.34 13.34 13.34
1.12 7.82 12.67 12.93 13.00 12.03 13.05 13.07 13.08 13.09 13.10 13.11 13.12 13.12 13.13 13.13
1.13 6.60 12.33 12.65 12.75 12.80 12.83 12.85 12.86 12.87 12.88 12.89 12.90 12.91 12.91 12.92
1.14 5.08 12.00 12.37 12.51 12.57 12.61 12.63 12.65 12.66 12.67 12.68 12.69 12.70 12.70 12.71
1.15 2.87 11.67 12.10 12.27 12.34 12.39 12.42 12.44 12.45 12.46 12.47 12.48 12.49 12.49 12.50
1.16 0.00 11.33 11.83 12.03 12.12 12.18 12.21 12.22 12.24 12.25 12.26 12.28 12.28 12.29 12.29
1.17 0.00 11.00 11.56 11.79 11.90 11.96 12.00 12.02 12.03 12.04 12.06 12.07 12.08 12.09 12.09
1.18 0.00 10.67 11.29 11.56 11.68 11.75 11.79 11.81 11.82 11.84 11.85 11.87 11.88 11.88 11.89
1.19 0.00 10.33 11.02 11.33 11.46 11.54 11.58 11.61 11.62 11.63 11.65 11.67 11.68 11.69 11.69
1.20 0.00 10.00 10.76 11.10 11.24 11.34 11.38 11.41 11.42 11.43 11.46 11.47 11.48 11.49 11.49
1.21 0.00 9.67 10.50 10.87 11.03 11.13 11.18 11.21 11.22 11.24 11.26 11.28 11.29 11.30 11.30
1.22 0.00 9.33 10.23 10.65 10.82 10.93 10.98 11.01 11.03 11.04 11.07 11.09 11.09 11.10 11.11
1.23 0.00 9.00 9.97 10.42 10.61 10.73 10.78 10.81 10.84 10.85 10.88 10.90 10.91 10.92 10.92
1.24 0.00 8.67 9.72 10.20 10.41 10.53 10.59 10.62 10.64 10.66 10.69 10.71 10.72 10.73 10.73
1.25 0.00 8.33 9.46 9.98 10.21 10.34 10.40 10.43 10.46 10.47 10.50 10.52 10.53 10.54 10.55
1.26 0.00 8.00 9.21 9.77 10.00 10.15 10.21 10.25 10.27 10.29 10.32 10.34 10.35 10.36 10.37
1.27 0.00 7.67 8.96 9.55 9.81 9.96 10.02 10.06 10.09 10.10 10.13 10.16 10.17 10.18 10.19
1.28 0.00 7.33 8.71 9.34 9.61 9.77 9.84 9.88 9.90 9.92 9.95 9.98 9.99 10.00 10.01
1.29 0.00 7.00 8.46 9.13 9.42 9.58 9.66 9.70 9.72 9.74 9.78 9.80 9.82 9.83 9.83
1.30 0.00 6.67 8.21 8.93 9.22 9.40 9.48 9.52 9.55 9.57 9.60 9.63 9.64 9.65 9.66
1.31 0.00 6.33 7.97 8.72 9.03 9.22 9.30 9.34 9.37 9.39 9.43 9.46 9.47 9.48 9.49
1.32 0.00 6.00 7.73 8.52 8.85 9.04 9.12 9.17 9.20 9.22 9.26 9.29 9.30 9.31 9.32
1.33 0.00 5.67 7.49 8.32 8.66 8.86 8.95 9.00 9.03 9.05 9.09 9.12 9.13 9.15 9.15
1.34 0.00 5.33 7.25 8.12 8.48 8.69 8.78 8.83 8.86 8.88 8.92 8.95 8.97 8.89 8.99
1.35 0.00 5.00 7.02 7.92 8.30 8.52 8.61 8.66 8.69 8.72 8.76 8.79 8.81 8.82 8.83
1.36 0.00 4.67 6.79 7.73 8.12 8.35 8.44 8.50 8.53 8.55 8.60 8.63 8.65 8.66 8.67
1.37 0.00 4.33 6.56 7.54 7.95 8.18 8.28 8.33 8.37 8.39 8.44 8.47 8.49 8.50 8.51
1.38 0.00 4.00 6.33 7.35 7.77 8.01 8.12 8.17 8.21 8.24 8.28 8.31 8.33 8.35 8.36
1.39 0.00 3.67 6.10 7.17 7.60 7.85 7.96 8.01 8.05 8.08 8.12 8.16 8.18 8.19 8.20
518 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
1.40 0.00 3.33 5.88 6.98 7.44 7.69 7.80 7.86 7.90 7.92 7.97 8.01 8.02 8.04 8.05
1.41 0.00 3.00 5.66 6.80 7.27 7.53 7.64 7.70 7.74 7.77 7.82 7.86 7.87 7.89 7.90
1.42 0.00 2.67 5.44 6.62 7.10 7.37 7.49 7.55 7.59 7.62 7.67 7.71 7.73 7.74 7.75
1.43 0.00 2.33 5.23 6.45 6.94 7.22 7.34 7.40 7.44 7.47 7.52 7.56 7.58 7.60 7.61
1.44 0.00 2.00 5.02 6.27 6.78 7.07 7.19 7.26 7.30 7.33 7.38 7.42 7.44 7.46 7.47
1.45 0.00 1.67 4.81 6.10 6.63 6.92 7.04 7.11 7.15 7.18 7.24 7.28 7.30 7.32 7.32
1.46 0.00 1.33 4.60 5.93 6.47 6.77 6.90 6.97 7.01 7.04 7.10 7.14 7.16 7.18 7.19
1.47 0.00 1.00 4.39 5.77 6.32 6.63 6.75 6.83 6.87 6.90 6.96 7.00 7.02 7.04 7.05
1.48 0.00 .67 4.19 5.60 6.17 6.48 6.61 6.69 6.73 6.77 6.82 6.86 6.88 6.90 6.91
1.49 0.00 .33 3.99 5.44 6.02 6.34 6.48 6.55 6.60 6.63 6.69 6.73 6.75 6.77 6.78
1.50 0.00 0.00 3.80 5.28 5.87 6.20 6.34 6.41 6.46 6.50 6.55 6.60 6.62 6.64 6.65
1.51 0.00 0.00 3.61 2.13 5.73 6.06 6.20 6.28 6.33 6.36 6.42 6.47 6.49 6.51 6.52
1.52 0.00 0.00 3.42 4.97 5.59 5.93 6.07 6.15 6.20 6.23 6.29 6.34 6.36 6.38 6.39
1.53 0.00 0.00 3.23 4.82 5.45 5.80 5.94 6.02 6.07 6.11 6.17 6.21 6.24 6.26 6.27
1.54 0.00 0.00 3.05 4.67 5.31 5.67 5.81 5.89 5.95 5.98 6.04 6.09 6.11 6.13 6.15
1.55 0.00 0.00 2.87 4.52 5.18 5.54 5.69 5.77 5.82 5.86 5.92 5.97 5.99 6.01 6.02
1.56 0.00 0.00 2.69 4.38 5.05 5.41 5.56 5.65 5.70 5.74 5.80 5.85 5.87 5.89 5.90
1.57 0.00 0.00 2.52 4.24 4.92 5.29 5.44 5.53 5.58 5.62 5.68 5.73 5.75 5.78 5.79
1.58 0.00 0.00 2.35 4.10 4.79 5.16 5.32 5.41 5.46 5.50 5.56 5.61 5.64 5.66 5.67
1.59 0.00 0.00 2.19 3.96 4.66 5.04 5.20 5.29 5.34 5.38 5.45 5.50 5.52 5.55 5.56
1.60 0.00 0.00 2.03 3.83 4.54 4.92 5.08 5.17 5.23 5.27 5.33 5.38 5.41 5.43 5.44
1.61 0.00 0.00 1.87 3.69 4.41 4.81 4.97 5.06 5.12 5.16 5.22 5.27 5.30 5.32 5.33
1.62 0.00 0.00 1.72 3.57 4.30 4.69 4.86 4.95 5.01 5.04 5.11 5.16 5.19 5.21 5.23
1.63 0.00 0.00 1.57 3.44 4.18 4.58 4.75 4.84 4.90 4.94 5.01 5.06 5.08 5.11 5.12
1.64 0.00 0.00 1.42 3.31 4.06 4.47 4.64 4.73 4.79 4.83 4.90 4.95 4.98 5.00 5.01
1.65 0.00 0.00 1.28 3.19 3.95 4.36 4.53 4.62 4.68 4.72 4.79 4.85 4.87 4.90 4.91
1.66 0.00 0.00 1.15 3.07 3.84 4.25 4.43 4.52 1.58 4.62 4.69 4.74 4.77 4.80 4.81
1.67 0.00 0.00 1.02 2.95 3.73 4.15 4.32 4.42 4.48 4.52 4.59 4.64 4.67 4.70 4.71
1.68 0.00 0.00 0.89 2.84 3.62 4.05 4.22 4.32 4.38 4.42 4.49 4.55 4.57 4.60 4.61
1.69 0.00 0.00 0.77 2.73 5.52 3.94 4.12 4.22 4.28 4.32 4.39 4.45 4.47 4.50 4.51
1.70 0.00 0.00 0.66 2.62 3.41 3.84 4.02 4.12 4.18 4.22 4.30 4.35 4.38 4.41 4.42
1.71 0.00 0.00 0.55 2.51 3.31 3.75 3.93 4.02 4.09 4.13 4.20 4.26 4.29 4.31 4.32
1.72 0.00 0.00 0.45 2.41 3.21 3.65 3.89 3.93 3.99 4.04 4.11 4.17 4.19 4.22 4.23
1.73 0.00 0.00 0.36 2.30 3.11 3.56 3.74 3.84 3.90 3.94 4.02 4.08 4.10 4.13 4.14
1.74 0.00 0.00 0.27 2.20 3.02 3.46 3.65 3.75 3.81 3.85 3.93 3.99 4.01 4.04 4.05
1.75 0.00 0.00 0.19 2.11 2.93 3.37 3.56 3.66 3.72 3.77 3.84 3.90 3.93 3.95 3.97
1.76 0.00 0.00 0.12 2.01 2.83 3.28 3.47 3.57 3.63 3.68 3.76 3.81 3.84 3.87 3.88
1.77 0.00 0.00 0.06 1.92 2.74 3.20 3.38 3.48 3.55 3.59 3.67 3.73 3.76 3.78 3.80
1.78 0.00 0.00 0.02 1.83 2.66 3.11 3.30 3.40 3.47 3.51 3.59 3.64 3.67 3.70 3.71
1.79 0.00 0.00 0.00 1.74 2.57 3.03 3.21 3.32 3.38 3.43 3.51 3.56 3.59 3.62 3.63
ตารางสถิติศาสตร์ 519

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
1.80 0.00 0.00 0.00 1.65 2.49 2.94 3.13 3.24 3.30 3.35 3.43 3.48 3.51 3.54 3.55
1.81 0.00 0.00 0.00 1.57 2.40 2.86 3.05 3.16 3.22 3.27 3.35 3.40 3.43 3.46 3.47
1.82 0.00 0.00 0.00 1.49 2.32 2.79 2.98 3.08 3.15 3.19 3.27 3.33 3.36 3.38 3.40
1.83 0.00 0.00 0.00 1.41 2.25 2.71 2.90 3.00 3.07 3.11 3.19 3.25 3.28 3.31 3.32
1.84 0.00 0.00 0.00 1.34 2.17 2.63 2.82 2.93 2.99 3.04 3.12 3.18 3.21 3.23 3.25
1.85 0.00 0.00 0.00 1.26 2.09 2.56 2.75 2.85 2.92 2.97 3.05 3.10 3.13 3.16 3.17
1.86 0.00 0.00 0.00 1.19 2.02 2.48 2.68 2.78 2.85 2.89 2.97 3.03 3.06 3.09 3.10
1.87 0.00 0.00 0.00 1.12 1.95 2.41 2.61 2.71 2.78 2.82 2.90 2.96 2.99 3.02 3.03
1.88 0.00 0.00 0.00 1.06 1.88 2.34 2.54 2.64 2.71 2.75 2.83 2.89 2.92 2.95 2.96
1.89 0.00 0.00 0.00 0.99 1.81 2.28 2.47 2.57 2.64 2.69 2.77 2.83 2.85 2.88 2.90
1.90 0.00 0.00 0.00 0.93 1.75 2.21 2.40 2.51 2.57 2.62 2.70 2.76 2.79 2.82 2.83
1.91 0.00 0.00 0.00 0.87 1.68 2.14 2.34 2.44 2.51 2.56 2.63 2.69 2.72 2.753 2.77
1.92 0.00 0.00 0.00 0.81 1.62 2.08 2.27 2.38 2.45 2.49 2.57 2.63 2.66 2.69 2.70
1.93 0.00 0.00 0.00 0.76 1.56 2.02 2.21 2.32 2.38 2.43 2.51 2.57 2.60 2.63 2.64
1.94 0.00 0.00 0.00 0.70 1.50 1.96 2.15 2.25 2.32 2.37 2.45 2.51 2.54 2.56 2.58
1.95 0.00 0.00 0.00 0.65 1.44 1.90 2.09 2.19 2.26 2.31 2.39 2.45 2.48 2.50 2.52
1.96 0.00 0.00 0.00 0.60 1.38 1.84 2.03 2.14 2.20 2.25 2.33 2.39 2.42 2.44 2.46
1.97 0.00 0.00 0.00 0.56 1.33 1.78 1.97 2.08 2.14 2.19 2.27 2.33 2.36 2.39 2.40
1.98 0.00 0.00 0.00 0.51 1.27 1.73 1.92 2.02 2.09 2.13 2.21 2.27 2.30 2.33 2.34
1.99 0.00 0.00 0.00 0.47 1.22 1.67 1.86 1.97 2.03 2.08 2.16 2.22 2.25 2.27 2.29
2.00 0.00 0.00 0.00 0.43 1.17 1.62 1.81 1.91 1.98 2.03 2.10 2.16 2.19 2.22 2.23
2.01 0.00 0.00 0.00 0.39 1.12 1.57 1.76 1.86 1.93 1.97 2.05 2.11 2.14 2.17 2.18
2.02 0.00 0.00 0.00 0.36 1.07 1.52 1.71 1.81 1.87 1.92 2.00 2.06 2.09 2.11 2.13
2.03 0.00 0.00 0.00 0.32 10.3 1.47 1.66 1.76 1.82 1.87 1.95 2.01 2.04 2.06 2.08
2.04 0.00 0.00 0.00 0.29 0.98 1.42 1.61 1.71 1.77 1.82 1.90 1.96 1.99 2.01 2.03
2.05 0.00 0.00 0.00 0.26 0.94 1.37 1.56 1.66 1.73 1.77 1.85 1.91 1.94 1.96 1.98
2.06 0.00 0.00 0.00 0.23 0.90 1.33 1.51 1.61 1.68 1.72 1.80 1.86 1.89 1.92 1.93
2.07 0.00 0.00 0.00 0.21 0.86 1.28 1.47 1.57 1.63 1.68 1.76 1.81 1.84 1.87 1.88
2.08 0.00 0.00 0.00 0.18 0.82 1.24 1.42 1.52 1.59 1.63 1.71 1.77 1.79 1.82 1.84
2.09 0.00 0.00 0.00 0.16 0.78 1.20 1.38 1.48 1.54 1.59 1.66 1.72 1.75 1.78 1.79
2.10 0.00 0.00 0.00 0.14 0.74 1.16 1.34 1.44 1.50 1.54 1.62 1.68 1.71 1.73 1.75
2.11 0.00 0.00 0.00 0.12 0.71 1.12 1.30 1.39 1.46 1.50 1.58 1.63 1.66 1.69 1.70
2.12 0.00 0.00 0.00 0.10 0.67 1.08 1.26 1.35 1.42 1.46 1.54 1.59 1.62 1.65 1.66
2.13 0.00 0.00 0.00 0.08 0.64 1.04 1.22 1.31 1.38 1.42 1.50 1.55 1.58 1.61 1.62
2.14 0.00 0.00 0.00 0.07 0.61 1.00 1.18 1.28 1.34 1.38 1.46 1.51 1.54 1.57 1.58
2.15 0.00 0.00 0.00 0.06 0.58 0.97 1.14 1.24 1.30 1.34 1.42 1.47 1.50 1.53 1.54
2.16 0.00 0.00 0.00 0.05 0.55 0.93 1.10 1.20 1.26 1.30 1.38 1.43 1.46 1.49 1.50
2.17 0.00 0.00 0.00 0.04 0.52 0.90 1.07 1.16 1.22 1.27 1.34 1.40 1.42 1.45 1.46
2.18 0.00 0.00 0.00 0.03 0.49 0.87 1.03 1.13 1.19 1.23 1.30 1.36 1.39 1.41 1.42
2.19 0.00 0.00 0.00 0.02 0.46 0.83 1.00 1.09 1.15 1.20 1.27 1.32 1.35 1.38 1.39
520 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
2.20 0.000 0.000 0.000 0.015 0.437 0.803 0.968 1.061 1.120 1.061 1.233 1.287 1.314 1.340 1.352
2.21 0.000 0.000 0.000 0.010 0.413 0.772 0.936 1.028 1.087 1.128 1.199 1.253 1.279 1.305 1.318
2.22 0.000 0.000 0.000 0.006 0.389 0.734 0.905 0.996 1.054 1.095 1.166 1.219 1.245 1.271 1.284
2.23 0.000 0.000 0.000 0.003 0.366 0.715 0.874 0.965 1.023 1.063 1.134 1.186 1.212 1.238 1.250
2.24 0.000 0.000 0.000 0.002 0.345 0.687 0.845 0.935 0.992 1.032 1.102 1.154 1.180 1.205 1.218
2.25 0.000 0.000 0.000 0.001 0.324 0.660 0.816 0.905 0.962 1.002 1.071 1.123 1.148 1.173 1.186
2.26 0.000 0.000 0.000 0.000 0.304 0.634 0.789 0.876 0.933 0.972 1.041 1.092 1.117 1.142 1.155
2.27 0.000 0.000 0.000 0.000 0.285 0609 0.762 0.848 0.904 0.943 1.011 1.062 1.087 1.112 1.124
2.28 0.000 0.000 0.000 0.000 0.267 0.585 0.735 0.821 0.876 0.915 0.982 1.033 1.058 1.082 1.095
2.29 0.000 0.000 0.000 0.000 0.250 0.561 0.710 0.794 0.849 0.887 0.954 1.004 1.029 1.053 1.065
2.30 0.000 0.000 0.000 0.000 0.233 0.538 0.685 0.769 0.823 0.861 0.927 0.977 1.001 1.025 1.037
2.31 0.000 0.000 0.000 0.000 0.218 0.516 0.661 0.743 0.797 0.834 0.900 0.949 0.974 0.998 1.009
2.32 0.000 0.000 0.000 0.000 0.203 0.495 0.637 0.719 0.772 0.809 0.874 0.923 0.947 0.971 0.982
2.33 0.000 0.000 0.000 0.000 0.189 0.474 0.614 0.695 0.748 0.784 0.848 0.897 0.921 0.944 0.956
2.34 0.000 0.000 0.000 0.000 0.175 0.454 0.592 0.672 0.724 0.760 0.824 0.872 0.895 0.919 0.930
2.35 0.000 0.000 0.000 0.000 0.163 0.435 0.571 0.650 0.701 0.736 0.799 0.847 0.870 0.893 0.905
2.36 0.000 0.000 0.000 0.000 0.151 0.416 0.550 0.628 0.678 0.714 0.776 0.823 0.846 0.869 0.880
2.37 0.000 0.000 0.000 0.000 0.139 0.398 0.530 0.606 0.656 0.691 0.753 0.799 0.822 0.845 0.856
2.38 0.000 0.000 0.000 0.000 0.128 0.381 0.510 0.586 0.635 0.670 0.730 0.777 0.799 0.822 0.833
2.39 0.000 0.000 0.000 0.000 0.118 0.364 0.491 0.566 0.614 0.648 0.709 0.754 0.777 0.799 0.810
2.40 0.000 0.000 0.000 0.000 0.109 0.348 0.473 0.546 0.594 0.628 0.687 0.732 0.755 0.777 0.787
2.41 0.000 0.000 0.000 0.000 0.100 0.332 0.455 0.527 0.575 0.608 0.667 0.711 0.733 0.755 0.766
2.42 0.000 0.000 0.000 0.000 0.091 0.317 0.437 0.509 0.555 0.588 0646 0.691 0.712 0.734 0.744
2.43 0.000 0.000 0.000 0.000 0.083 0.302 0.421 0.491 0.537 0.569 0.627 0.670 0.692 0.713 0.724
2.44 0.000 0.000 0.000 0.000 0.076 0.288 0.404 0.474 0.519 0.551 0.608 0.651 0.672 0.693 0.703
2.45 0.000 0.000 0.000 0.000 0.069 0.275 0.389 0.457 0.501 0.533 0.589 0.632 0.653 0.673 0.684
2.46 0.000 0.000 0.000 0.000 0.063 0.262 0.373 0.440 0.484 0.516 0.571 0.613 0.634 0.654 0.664
2.47 0.000 0.000 0.000 0.000 0.057 0.249 0.359 0.425 0.468 0.499 0.553 0.595 0.615 0.636 0.646
2.48 0.000 0.000 0.000 0.000 0.051 0.237 0.345 0.409 0.452 0.482 0.536 0.577 0.597 0.617 0.627
2.49 0.000 0.000 0.000 0.000 0.046 0.226 0.331 0.394 0.436 0.466 0.519 0.560 0.580 0.600 0.609
2.50 0.000 0.000 0.000 0.000 0.041 0.214 0.317 0.380 0.421 0.451 0.503 0.543 0.563 0.582 0.592
2.51 0.000 0.000 0.000 0.000 0.037 0.204 0.305 0.366 0.407 0.436 0.487 0.527 0.546 0.565 0.575
2.52 0.000 0.000 0.000 0.000 0.033 0.193 0.292 0.352 0.392 0.421 0.472 0.511 0.530 0.549 0.559
2.53 0.000 0.000 0.000 0.000 0.029 0.184 0.280 0.339 0.379 0.407 0.457 0.495 0.514 0.533 0.542
2.54 0.000 0.000 0.000 0.000 0.026 0.174 0.268 0.326 0.365 0.393 0.442 0.480 0.499 0.517 0.527
2.55 0.000 0.000 0.000 0.000 0.023 0.165 0.257 0.314 0.352 0.379 0.428 0.465 0.484 0.502 0.511
2.56 0.000 0.000 0.000 0.000 0.020 0.156 0.246 0.302 0.340 0.366 0.414 0.451 0.469 0.487 0.496
2.57 0.000 0.000 0.000 0.000 0.017 0.148 0.236 0.291 0.327 0.354 0.401 0.437 0.455 0.473 0.482
2.58 0.000 0.000 0.000 0.000 0.015 0.140 0.226 0.279 0.316 0.341 0.388 0.424 0.441 0.459 0.468
2.59 0.000 0.000 0.000 0.000 0.013 0.133 0.216 0.269 0.304 0.330 0.375 0.410 0.428 0.445 0.454
ตารางสถิติศาสตร์ 521

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
2.60 0.000 0.000 0.000 0.000 0.011 0.125 0.207 0.258 0.293 0.318 0.363 0.398 0.415 0.432 0.441
2.61 0.000 0.000 0.000 0.000 0.009 0.118 0.198 0.248 0.282 0.307 0.351 0.385 0.402 0.419 0.428
2.62 0.000 0.000 0.000 0.000 0.008 0.112 0.189 0.238 0.272 0.296 0.339 0.373 0.390 0.406 0.451
2.63 0.000 0.000 0.000 0.000 0.007 0.105 0.181 0.229 0.262 0.285 0.328 0.361 0.378 0.394 0.402
2.64 0.000 0.000 0.000 0.000 0.006 0.099 0.172 0.220 0.252 0.275 0.317 0.350 0.366 0.382 0.390
2.65 0.000 0.000 0.000 0.000 0.005 0.094 0.165 0.211 0.242 0.265 0.307 0.339 0.355 0.371 0.379
2.66 0.000 0.000 0.000 0.000 0.004 0.088 0.157 0.202 0.233 0.256 0.296 0.328 0.344 0.359 0.367
2.67 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.083 0.150 0.194 0.224 0.246 0.286 0.317 0.333 0.348 0.356
2.68 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.078 0.143 0.186 0.216 0.237 0.277 0.307 0.322 0.338 0.345
2.69 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.073 0.136 0.179 0.208 0.229 0.267 0.297 0.312 0.327 0.335
2.70 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.069 0.130 0.171 0.200 0.220 0.258 0.288 0.302 0.317 0.325
2.71 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.064 0.124 0.164 0.192 0.212 0.249 0.278 0.293 0.307 0.315
2.72 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.060 0.118 0.157 0.184 0.204 0.241 0.269 0.283 0.298 0.305
2.73 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.057 0.112 0.151 0.177 0.197 0.232 0.260 0.274 0.288 0.296
2.74 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.053 0.107 0.144 0.170 0.189 0.244 0.252 0.266 0.279 0.286
2.75 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.049 0.102 0.138 0.163 0.182 0216 0.243 0.257 0.271 0.277
2.76 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.046 0.097 0.132 0.157 0.175 0.209 0.235 0.249 0.262 0.269
2.77 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.043 0.092 0.126 0.151 0.168 0.201 0.227 0.241 0.254 0.260
2.78 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.040 0.087 0.121 0.145 0.162 0.194 0.220 0.223 0.246 0.252
2.79 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.037 0.083 0.115 0.139 0.156 0.187 0.212 0.225 0.238 0.244
2.80 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.035 0.079 0.110 0.133 0.150 0.181 0.205 0.218 0.230 0.237
2.81 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.032 0.075 0.105 0.128 0.144 0.174 0.198 0.211 0.223 0.229
2.82 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.030 0.071 0.101 0.122 0.138 0.168 0.192 0.204 0.216 0.222
2.83 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.028 0.067 0.096 0.117 0.133 0.162 0.185 0.197 0.209 0.215
2.84 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.026 0.064 0.092 0.112 0.128 0.156 0.179 0.190 0.202 0.208
2.85 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.024 0.060 0.088 0.108 0.122 0.150 0.173 0.184 0.195 0.201
2.86 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.022 0.057 0.084 0.103 0.118 0.145 0.167 0.178 0.189 0.195
2.87 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.020 0.054 0.080 0.099 0.113 0.139 0.161 0.172 0.183 0.188
2.88 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.019 0.051 0.076 0.094 0.108 0.134 0.155 0.166 0.177 0.182
2.89 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.017 0.048 0.073 0.090 0.104 0.129 0.150 0.160 0.171 0.176
2.90 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.016 0.046 0.069 0.087 0.100 0.125 0.145 0.155 0.165 0.171
2.91 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.015 0.043 0.066 0.083 0.096 0.120 0.140 0.150 0.160 0.165
2.92 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.013 0.041 0.063 0.079 0.192 0.115 0.135 0.145 0.155 0.160
2.93 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.012 0.038 0.060 0.076 0.088 0.111 0.130 0.140 0.149 0.154
2.94 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.011 0.036 0.057 0.072 0.084 0.107 0.125 0.135 0.144 0.149
2.95 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.010 0.034 0.054 0.069 0.081 0.103 0.121 0.130 0.140 0.144
2.96 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.009 0.032 0.051 0.066 0.077 0.099 0.117 0.126 0.135 0.140
2.97 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.009 0.030 0.049 0.063 0.074 0.095 0.112 0.121 0.130 0.135
2.98 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.008 0.028 0.046 0.060 0.071 0.091 0.108 0.117 0.126 0.130
2.99 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.007 0.027 0.044 0.057 0.068 0.088 0.104 0.113 0.122 0.126
522 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
2.60 0.000 0.000 0.000 0.000 0.011 0.125 0.207 0.258 0.293 0.318 0.363 0.398 0.415 0.432 0.441
2.61 0.000 0.000 0.000 0.000 0.009 0.118 0.198 0.248 0.282 0.307 0.351 0.385 0.402 0.419 0.428
2.62 0.000 0.000 0.000 0.000 0.008 0.112 0.189 0.238 0.272 0.296 0.339 0.373 0.390 0.406 0.451
2.63 0.000 0.000 0.000 0.000 0.007 0.105 0.181 0.229 0.262 0.285 0.328 0.361 0.378 0.394 0.402
2.64 0.000 0.000 0.000 0.000 0.006 0.099 0.172 0.220 0.252 0.275 0.317 0.350 0.366 0.382 0.390
2.65 0.000 0.000 0.000 0.000 0.005 0.094 0.165 0.211 0.242 0.265 0.307 0.339 0.355 0.371 0.379
2.66 0.000 0.000 0.000 0.000 0.004 0.088 0.157 0.202 0.233 0.256 0.296 0.328 0.344 0.359 0.367
2.67 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.083 0.150 0.194 0.224 0.246 0.286 0.317 0.333 0.348 0.356
2.68 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.078 0.143 0.186 0.216 0.237 0.277 0.307 0.322 0.338 0.345
2.69 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.073 0.136 0.179 0.208 0.229 0.267 0.297 0.312 0.327 0.335
2.70 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.069 0.130 0.171 0.200 0.220 0.258 0.288 0.302 0.317 0.325
2.71 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.064 0.124 0.164 0.192 0.212 0.249 0.278 0.293 0.307 0.315
2.72 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.060 0.118 0.157 0.184 0.204 0.241 0.269 0.283 0.298 0.305
2.73 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.057 0.112 0.151 0.177 0.197 0.232 0.260 0.274 0.288 0.296
2.74 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.053 0.107 0.144 0.170 0.189 0.244 0.252 0.266 0.279 0.286
2.75 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.049 0.102 0.138 0.163 0.182 0216 0.243 0.257 0.271 0.277
2.76 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.046 0.097 0.132 0.157 0.175 0.209 0.235 0.249 0.262 0.269
2.77 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.043 0.092 0.126 0.151 0.168 0.201 0.227 0.241 0.254 0.260
2.78 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.040 0.087 0.121 0.145 0.162 0.194 0.220 0.223 0.246 0.252
2.79 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.037 0.083 0.115 0.139 0.156 0.187 0.212 0.225 0.238 0.244
2.80 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.035 0.079 0.110 0.133 0.150 0.181 0.205 0.218 0.230 0.237
2.81 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.032 0.075 0.105 0.128 0.144 0.174 0.198 0.211 0.223 0.229
2.82 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.030 0.071 0.101 0.122 0.138 0.168 0.192 0.204 0.216 0.222
2.83 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.028 0.067 0.096 0.117 0.133 0.162 0.185 0.197 0.209 0.215
2.84 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.026 0.064 0.092 0.112 0.128 0.156 0.179 0.190 0.202 0.208
2.85 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.024 0.060 0.088 0.108 0.122 0.150 0.173 0.184 0.195 0.201
2.86 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.022 0.057 0.084 0.103 0.118 0.145 0.167 0.178 0.189 0.195
2.87 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.020 0.054 0.080 0.099 0.113 0.139 0.161 0.172 0.183 0.188
2.88 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.019 0.051 0.076 0.094 0.108 0.134 0.155 0.166 0.177 0.182
2.89 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.017 0.048 0.073 0.090 0.104 0.129 0.150 0.160 0.171 0.176
2.90 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.016 0.046 0.069 0.087 0.100 0.125 0.145 0.155 0.165 0.171
2.91 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.015 0.043 0.066 0.083 0.096 0.120 0.140 0.150 0.160 0.165
2.92 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.013 0.041 0.063 0.079 0.192 0.115 0.135 0.145 0.155 0.160
2.93 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.012 0.038 0.060 0.076 0.088 0.111 0.130 0.140 0.149 0.154
2.94 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.011 0.036 0.057 0.072 0.084 0.107 0.125 0.135 0.144 0.149
2.95 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.010 0.034 0.054 0.069 0.081 0.103 0.121 0.130 0.140 0.144
2.96 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.009 0.032 0.051 0.066 0.077 0.099 0.117 0.126 0.135 0.140
2.97 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.009 0.030 0.049 0.063 0.074 0.095 0.112 0.121 0.130 0.135
2.98 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.008 0.028 0.046 0.060 0.071 0.091 0.108 0.117 0.126 0.130
2.99 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.007 0.027 0.044 0.057 0.068 0.088 0.104 0.113 0.122 0.126
ตารางสถิติศาสตร์ 523

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
3.00 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.006 0.025 0.042 0.055 0.065 0.084 0.101 0.109 0.118 0.122
3.01 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.006 0.024 0.040 0.052 0.062 0.081 0.097 0.105 0.113 0.118
3.02 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.005 0.022 0.038 0.050 0.059 0.078 0.093 0.101 0.110 0.114
3.03 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.005 0.021 0.036 0.048 0.057 0.075 0.090 0.098 0.106 0.110
3.04 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.004 0.019 0.034 0.045 0.054 0.072 0.087 0.094 0.102 0.106
3.05 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.004 0.018 0.032 0.043 0.052 0.069 0.083 0.091 0.099 0.103
3.06 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.017 0.030 0.041 0.050 0.066 0.080 0.088 0.095 0.099
3.07 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.016 0.029 0.039 0.047 0.064 0.077 0.085 0.092 0.096
3.08 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.015 0.027 0.037 0.045 0.061 0.074 0.081 0.089 0.092
3.09 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.014 0.026 0.036 0.043 0.059 0.072 0.079 0.086 0.089
3.10 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.013 0.024 0.034 0.041 0.056 0.069 0.076 0.083 0.086
3.11 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.012 0.023 0.032 0.039 0.054 0.066 0.073 0.080 0.083
3.12 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.011 0.022 0.031 0.038 0.052 0.064 0.070 0.077 0.080
3.13 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.011 0.021 0.029 0.036 0.050 0.061 0.068 0.074 0.077
3.14 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.010 0.019 0.028 0.034 0.048 0.059 0.065 0.071 0.075
3.15 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.009 0.018 0.026 0.033 0.046 0.057 0.063 0.069 0.072
3.16 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.009 0.017 0.025 0.031 0.044 0.055 0.060 0.066 0.069
3.17 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.008 0.016 0.024 0.030 0.042 0.053 0.058 0.064 0.067
3.18 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.007 0.015 0.022 0.028 0.040 0.050 0.056 0.062 0.065
3.19 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.007 0.015 0.021 0.027 0.038 0.049 0.054 0.059 0.062
3.20 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.006 0.014 0.020 0.026 0.037 0.047 0.052 0.057 0.060
3.21 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.006 0.013 0.019 0.024 0.035 0.045 0.050 0.055 0.058
3.22 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.005 0.012 0.018 0.023 0.034 0.043 0.048 0.053 0.056
3.23 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.005 0.011 0.017 0.022 0.032 0.041 0.046 0.051 0.054
3.24 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.005 0.011 0.016 0.021 0.031 0.040 0.044 0.049 0.052
3.25 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.004 0.010 0.015 0.020 0.030 0.038 0.043 0.048 0.050
3.26 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.004 0.009 0.015 0.019 0.028 0.037 0.041 0.046 0.048
3.27 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.004 0.009 0.014 0.018 0.027 0.035 0.040 0.044 0.046
3.28 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.008 0.013 0.017 0.026 0.034 0.038 0.042 0.045
3.29 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.008 0.012 0.016 0.025 0.032 0.037 0.041 0.043
3.30 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.007 0.012 0.015 0.024 0.031 0.035 0.039 0.042
3.31 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.003 0.007 0.011 0.015 0.023 0.030 0.034 0.038 0.040
3.32 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.006 0.010 0.014 0.022 0.029 0.032 0.036 0.038
3.33 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.006 0.010 0.013 0.021 0.027 0.031 0.035 0.037
3.34 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.006 0.009 0.013 0.020 0.026 0.030 0.034 0.036
3.35 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.005 0.009 0.012 0.019 0.025 0.029 0.032 0.034
3.36 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.005 0.008 0.011 0.018 0.024 0.028 0.031 0.033
3.37 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.005 0.008 0.011 0.017 0.023 0.026 0.030 0.032
3.38 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.004 0.007 0.010 0.016 0.022 0.025 0.029 0.031
3.39 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.004 0.007 0.010 0.016 0.021 0.024 0.028 0.029
524 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
3.40 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.004 0.007 0.009 0.015 0.020 0.023 0.027 0.028
3.41 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.006 0.009 0.014 0.020 0.022 0.026 0.027
3.42 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.006 0.008 0.014 0.019 0.022 0.025 0.026
3.43 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.005 0.008 0.013 0.018 0.021 0.024 0.025
3.44 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.005 0.007 0.012 0.017 0.020 0.023 0.024
3.45 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.005 0.007 0.012 0.016 0.019 0.022 0.023
3.46 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.005 0.007 0.011 0.016 0.018 0.021 0.022
3.47 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.004 0.006 0.011 0.015 0.018 0.020 0.022
3.48 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.004 0.006 0.010 0.014 0.017 0.019 0.021
3.49 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.004 0.005 0.010 0.014 0.016 0.019 0.020
3.50 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.003 0.005 0.009 0.013 0.015 0.018 0.019
3.51 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.003 0.005 0.009 0.013 0.015 0.017 0.018
3.52 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.002 0.003 0.005 0.008 0.012 0.014 0.016 0.018
3.53 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.004 0.008 0.011 0.014 0.016 0.017
3.54 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.004 0.008 0.011 0.013 0.015 0.016
3.55 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.003 0.004 0.007 0.011 0.012 0.015 0.016
3.56 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.004 0.007 0.010 0.012 0.014 0.015
3.57 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.006 0.010 0.011 0.013 0.014
3.58 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.006 0.009 0.011 0.013 0.014
3.59 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.006 0.009 0.010 0.012 0.013
3.60 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.006 0.008 0.010 0.012 0.013
3.61 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.005 0.008 0.010 0.011 0.012
3.62 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.005 0.008 0.009 0.011 0.012
3.63 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.002 0.005 0.007 0.009 0.010 0.011
3.64 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.002 0.004 0.007 0.008 0.010 0.011
3.65 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.002 0.004 0.007 0.008 0.010 0.010
3.66 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.004 0.006 0.008 0.009 0.010
3.67 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.004 0.006 0.007 0.009 0.010
3.68 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.004 0.006 0.007 0.008 0.009
3.69 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.005 0.007 0.008 0.009
3.70 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.005 0.006 0.008 0.008
3.71 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.003 0.005 0.006 0.007 0.008
3.72 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.003 0.005 0.006 0.007 0.008
3.73 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.003 0.005 0.006 0.007 0.007
3.74 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.003 0.004 0.005 0.006 0.007
3.75 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.002 0.004 0.005 0.006 0.007
3.76 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.002 0.004 0.005 0.006 0.007
3.77 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.002 0.004 0.005 0.006 0.006
3.78 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.004 0.004 0.005 0.006
3.79 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.004 0.005 0.006
ตารางสถิติศาสตร์ 525

ตารางที่ ก-5 เปอร์เซ็นต์ของเสียในลอต (ต่อ)


QU ขนาดตัวอย่าง
or 3 4 5 7 10 15 20 25 30 35 50 75 100 150 200
QL
3.80 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.004 0.005 0.006
3.81 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.004 0.005 0.005
3.82 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.004 0.005 0.005
3.83 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.004 0.004 0.005
3.84 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.003 0.003 0.004 0.005
3.85 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.001 0.002 0.003 0.004 0.004
3.86 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.004 0.004
3.87 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.004 0.004
3.88 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.003 0.004
3.89 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.003 0.004
3.90 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.001 0.002 0.003 0.003 0.004
526 การควบคุมคุณภาพ

ตารางที่ ก-6 จุดร้อยละของการแจกแจงสาหรับพิสัยสัมพัทธ์

n ความน่าจะเป็นที่ W มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าในตาราง
0.001 0.005 0.010 0.025 0.050 0.950 0.975 0.990 0.995 0.999
2 0.00 0.01 0.02 0.04 0.09 2.77 3.17 3.64 3.97 4.65
3 0.06 0.13 0.19 0.30 0.43 3.31 3.68 4.12 4.42 5.06
4 0.20 0.34 0.43 0.59 0.76 3.63 3.98 4.40 4.69 5.31
5 0.37 0.55 0.66 0.85 1.03 3.86 4.20 4.60 4.89 5.48
6 0.54 0.75 0.87 1.06 1.25 4.03 4.36 4.76 5.03 5.62
7 0.69 0.92 1.05 1.25 1.44 4.17 4.49 4.88 5.15 5.73
8 0.83 1.08 1.20 1.41 1.60 4.29 4.61 4.99 5.26 5.82
9 0.96 1.21 1.34 1.55 1.74 4.39 4.70 5.08 5.34 5.90
10 1.08 1.33 1.47 1.67 1.86 4.47 4.79 5.16 5.42 5.97
11 1.20 1.45 1.58 1.78 1.97 4.55 4.86 5.23 5.49 6.04
12 1.30 1.55 1.68 1.88 2.07 4.62 4.92 5.29 5.54 6.09
ภาคผนวก ข
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก
528 การควบคุมคุณภาพ
ตาราง ข-1 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 0.5%, β = 0.10
Process
0-0.005 0.006-0.050 0.051-0.100 0.101-0.150 0.151-0.200 0.201-0.250
Average%
Lot Size n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL%
1-180 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
181-210 180 0 0.02 180 0 0.02 180 0 0.02 180 0 0.02 180 0 0.02 180 0 0.02
211-250 210 0 0.3 210 0 0.3 210 0 0.3 210 0 0.3 210 0 0.3 210 0 0.3
251-300 240 0 0.03 240 0 0.03 240 0 0.03 240 0 0.03 240 0 0.03 240 0 0.03
301-400 275 0 0.04 275 0 0.04 275 0 0.04 275 0 0.04 275 0 0.04 275 0 0.04
401-500 300 0 0.05 300 0 0.05 300 0 0.05 300 0 0.05 300 0 0.05 300 0 0.05
501-600 320 0 0.05 320 0 0.05 320 0 0.05 320 0 0.05 320 0 0.05 320 0 0.05
601-800 350 0 0.06 350 0 0.06 350 0 0.06 350 0 0.06 350 0 0.06 350 0 0.06
801-1,000 365 0 0.06 365 0 0.06 365 0 0.06 360 0 0.06 360 0 0.06 360 0 0.06
1,001-2,000 410 0 0.07 410 0 0.07 410 0 0.07 670 1 0.08 670 1 0.08 670 1 0.08
2,001-3,000 430 0 0.07 430 0 0.07 705 1 0.09 705 1 0.09 955 2 0.1 955 2 0.1
3,001-4,000 440 0 0.07 440 0 0.07 730 1 0.09 985 2 0.1 1230 3 0.11 1230 3 0.11
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

4,001-5,000 445 0 0.08 740 1 0.1 1000 2 0.11 1000 2 0.11 1250 3 0.12 1480 4 0.12
5,001-7,000 450 0 0.08 750 1 0.1 1020 2 0.12 1280 3 0.12 1510 4 0.13 1760 5 0.14
7,001-10,000 465 0 0.08 760 1 0.1 1040 2 0.12 1530 4 0.14 1790 5 0.14 2240 7 0.16
10,001-20,000 460 0 0.08 775 1 0.1 1330 3 0.14 1820 5 0.16 2300 7 0.17 2780 9 0.18
20,001-50,000 775 1 0.11 1050 2 0.13 1600 4 0.15 2080 8 0.18 3060 10 0.2 4200 15 0.22
50,001-100,000 780 1 0.11 1060 2 0.13 1840 5 0.17 2590 8 0.19 3780 13 0.22 5140 19 0.24

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
529
530

ตาราง ข-2 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 1.0%, β = 0.10


Process
0-0.010 0.011-0.10 0.11-0.20 0.21-0.30 0.31-0.40 0.41-0.50
Average%
AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL
Lot Size n c n c n c n c n c n c
% % % % % %
1-180 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
181-210 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06 120 0 0.06
211-250 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8 140 0 0.8
251-300 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1 165 0 0.1
301-400 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12 175 0 0.12
401-500 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13 180 0 0.13
501-600 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 190 0 0.13 305 1 0.14
601-800 200 0 0.14 200 0 0.14 200 0 0.14 330 1 0.15 330 1 0.15 330 1 0.15
801-1,000 205 0 0.14 205 0 0.14 205 0 0.14 335 1 0.17 335 1 0.17 335 1 0.17
1,001-2,000 220 0 0.15 220 0 0.15 360 1 0.19 490 2 0.21 490 2 0.21 610 3 0.22
2,001-3,000 220 0 0.15 375 1 0.2 505 2 0.23 630 3 0.24 745 4 0.26 870 5 0.26
3,001-4,000 225 0 0.15 380 1 0.2 510 2 0.24 645 3 0.25 880 5 0.28 1000 6 0.29
การควบคุมคุณภาพ

4,001-5,000 225 0 0.16 380 1 0.2 520 2 0.24 770 4 0.28 895 5 0.29 1120 7 0.31
5,001-7,000 230 0 0.15 385 1 0.21 655 3 0.27 780 4 0.29 1020 6 0.32 1260 8 0.34
7,001-10,000 230 0 0.16 520 2 0.25 660 3 0.28 910 5 0.32 1150 7 0.34 1500 10 0.37
10,001-20,000 390 1 0.21 525 2 0.26 785 4 0.31 1040 6 0.35 1400 9 0.39 1960 14 0.43
20,001-50,000 390 1 0.21 530 2 0.26 920 5 0.34 1300 8 0.39 1890 13 0.44 2570 19 0.48
50,001-100,000 390 1 0.21 670 3 0.29 1040 6 0.36 1420 9 0.41 2120 15 0.47 3150 23 0.5

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-3 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 2.0%, β = 0.10
Process
0-0.02 0.03-0.20 0.21-0.40 0.41-0.60 0.61-0.80 0.81-1.00
Average%
Lot Size n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL%
1-75 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
76-100 70 0 0.16 70 0 0.16 70 0 0.16 70 0 0.16 70 0 0.16 70 0 0.16
101-200 85 0 0.25 85 0 0.25 85 0 0.25 85 0 0.25 85 0 0.25 85 0 0.25
201-300 95 0 0.26 95 0 0.26 95 0 0.26 95 0 0.26 95 0 0.26 95 0 0.26
301-400 100 0 0.28 100 0 0.28 100 0 0.28 160 1 0.32 160 1 0.32 100 1 0.32
401-500 105 0 0.28 105 0 0.28 105 0 0.28 165 1 0.34 165 1 0.34 105 1 0.34
501-600 105 0 0.29 105 0 0.29 175 1 0.34 175 1 0.34 175 1 0.34 235 2 0.36
601-800 110 0 0.29 110 0 0.29 180 1 0.36 240 2 0.4 240 2 0.4 300 3 0.41
801-1,000 115 0 0.28 115 0 0.28 185 1 0.37 245 2 0.42 305 3 0.44 305 3 0.44
1,001-2,000 115 0 0.3 190 1 0.4 255 2 0.47 325 3 0.5 380 4 0.54 440 5 0.56
2,001-3,000 115 0 0.31 190 1 0.41 260 2 0.48 385 4 0.58 450 5 0.6 565 7 0.64
3,001-4,000 115 0 0.31 195 1 0.41 330 3 0.54 450 5 0.63 510 6 0.63 690 9 0.7
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

4,001-5,000 195 1 0.41 260 2 0.5 335 3 0.54 455 5 0.63 575 7 0.69 750 10 0.74
5,001-7,000 195 1 0.42 265 2 0.5 335 3 0.55 515 6 0.69 640 8 0.73 870 12 0.8
7,001-10,000 195 1 0.42 265 2 0.5 395 4 0.62 520 6 0.69 760 10 0.79 1050 15 0.86
10,001-20,000 200 1 0.42 265 2 0.51 460 5 0.67 650 8 0.77 685 12 0.86 1230 18 0.94
20,001-50,000 200 1 0.42 335 3 0.58 520 6 0.73 710 9 0.81 1050 15 0.93 1520 23 1
50,001-100,000 200 1 0.42 335 3 0.58 585 7 0.76 770 10 0.84 1180 17 0.97 1690 26 1.1

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
531
532

ตาราง ข-4 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 3.0%, β = 0.10


Process
0-0.03 0.04-0.30 0.31-0.60 0.61-0.90 0.91-1.20 1.21-1.50
Average%
Lot Size n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL%
1-40 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 All 0 0
41-55 40 0 0.18 40 0 0.18 40 0 0.18 40 0 0.18 40 0 0.18 40 0 0.18
56-100 55 0 0.3 55 0 0.3 55 0 0.3 55 0 0.3 55 0 0.3 55 0 0.3
101-200 65 0 0.38 65 0 0.38 65 0 0.38 65 0 0.38 65 0 0.38 65 0 0.38
201-300 70 0 0.4 70 0 0.4 70 0 0.4 110 1 0.48 110 1 0.48 110 1 0.48
301-400 70 0 0.43 70 0 0.43 110 1 0.52 115 1 0.52 115 1 0.52 155 2 0.54
401-500 70 0 0.45 70 0 0.45 120 1 0.53 120 1 0.53 160 2 0.58 160 2 0.58
501-600 75 0 0.43 75 0 0.43 120 1 0.56 160 2 0.63 160 2 0.63 200 3 0.65
601-800 75 0 0.44 125 1 0.57 120 1 0.57 165 2 0.66 205 3 0.71 240 4 0.74
801-1,000 75 0 0.45 125 1 0.59 170 2 0.67 210 3 0.73 250 4 0.76 290 5 0.78
1,001-2,000 75 0 0.47 130 1 0.6 170 2 0.72 260 4 0.85 300 5 0.9 380 7 0.95
2,001-3,000 75 0 0.48 130 1 0.62 220 3 0.82 300 5 0.95 385 7 1 460 9 1.1
3,001-4,000 130 1 0.63 175 2 0.75 220 3 0.84 305 5 0.96 425 8 1.1 540 11 1.2
การควบคุมคุณภาพ

4,001-5,000 130 1 0.63 175 2 0.76 260 4 0.91 345 6 1 465 9 1.1 620 13 1.2
5,001-7,000 130 1 0.63 175 2 0.76 265 4 0.92 390 7 1.1 505 10 1.2 700 15 1.3
7,001-10,000 130 1 0.64 175 2 0.77 265 4 0.93 390 7 1.1 550 11 1.2 775 17 1.4
10,001-20,000 130 1 0.64 175 2 0.78 305 5 1 430 8 1.2 630 13 1.3 900 20 1.5
20,001-50,000 130 1 0.65 225 3 0.86 350 6 1.1 520 10 1.2 750 16 1.4 1090 25 1.6
50,001-100,000 130 1 0.65 265 4 0.96 390 7 1.1 590 12 1.3 830 18 1.5 1215 28 1.6

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-5 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 4.0%, β = 0.10
Process
0-0.04 0.05-0.40 0.41-0.80 0.81-1.20 1.21-1.60 1.61-2.00
Average%
AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL AOQL
Lot Size n c n c n c n c n c n c
% % % % % %
1-55 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
36-50 34 0 0.35 34 0 0.35 34 0 0.35 34 0 0.35 34 0 0.35 34 0 0.35
51-150 44 0 0.47 44 0 0.47 44 0 0.47 44 0 0.47 44 0 0.47 44 0 0.47
101-200 50 0 0.55 50 0 0.55 50 0 0.55 50 0 0.55 50 0 0.55 50 0 0.55
201-300 55 0 0.57 55 0 0.57 85 1 0.57 85 1 0.71 85 1 0.71 85 1 0.71
301-400 55 0 0.58 55 0 0.58 90 1 0.58 120 2 0.8 120 2 0.8 145 3 0.86
401-500 55 0 0.6 55 0 0.6 90 1 0.6 120 2 0.87 150 3 0.91 150 4 0.91
501-600 55 0 0.61 95 1 0.76 125 2 0.76 125 2 0.87 155 3 0.93 185 4 0.96
601-800 55 0 0.62 95 1 0.78 125 2 0.78 160 3 0.97 160 4 1 220 5 1
801-1,000 55 0 0.63 95 1 0.8 130 2 0.8 165 3 0.98 220 5 1.1 255 6 1.1
1,001-2,000 55 0 0.65 95 1 0.84 165 3 0.84 195 4 1.2 255 6 1.3 315 8 1.4
2,001-3,000 95 1 0.86 130 2 1 165 3 1 230 5 1.3 320 8 1.4 405 11 1.6
3,001-4,000 95 1 0.86 130 2 1 195 4 1 260 6 1.4 350 9 1.5 465 13 1.6
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

4,001-5,000 95 1 0.87 130 2 1 195 4 1 290 7 1.4 380 10 1.6 520 15 1.7
5,001-7,000 95 1 0.87 130 2 1 200 4 1 290 7 1.5 410 11 1.7 575 17 1.9
7,001-10,000 95 1 0.88 130 2 1.1 230 5 1.1 325 8 1.5 440 12 1.7 615 19 1.9
10,001-20,000 95 1 0.88 165 3 1.1 265 6 1.2 335 9 1.6 540 14 1.8 730 22 2
20,001-50,000 95 1 0.88 165 3 1.2 295 7 1.2 380 10 1.7 590 17 2 870 26 2.1
50,001-100,000 95 1 0.88 200 4 1.3 325 8 1.3 410 11 1.8 360 18 2 925 29 2.2

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
533

AOQL = Average Outgoing Quality Limit.


534

ตาราง ข-6 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 5.0%, β = 0.10


Process
0-0.05 0.06-0.50 0.51-1.00 1.01-1.50 1.51-2.00 2.01-2.50
Average%
Lot Size n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL%
1-20 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
21-50 30 0 0.49 30 0 0.49 30 0 0.49 30 0 0.49 30 0 0.49 30 0 0.49
51-100 37 0 0.63 37 0 0.63 37 0 0.63 37 0 0.63 37 0 0.63 37 0 0.63
101–200 40 0 0.74 40 0 0.74 40 0 0.74 40 0 0.74 40 0 0.74 40 0 0.74
201-300 43 0 0.74 43 0 0.74 70 1 0.92 70 1 0.92 95 2 0.99 95 2 0.99
301-400 44 0 0.74 44 0 0.74 70 1 0.99 100 2 1 120 3 1.1 145 4 1.1
401-500 45 0 0.75 75 1 0.95 100 2 1.1 100 2 1.1 125 3 1.2 150 4 1.2

501-600 45 0 0.76 75 1 0.98 100 2 1.1 125 3 1.2 150 4 1.3 175 5 1.3
601-800 45 0 0.77 75 1 1 100 2 1.2 130 3 1.2 175 5 1.4 200 6 1.4
801-1,000 45 0 0.78 75 1 1 105 2 1.2 155 4 1.4 180 5 1.4 225 7 1.5

1,001-2,000 45 0 0.9 75 1 1 130 3 1.4 180 5 1.6 230 7 1.7 280 9 1.8
2,001-3,000 75 1 1.1 105 2 1.3 135 3 1..4 210 6 1.7 280 9 1.9 370 13 2.1
3,001-4,000 75 1 1.1 105 2 1.3 160 4 1.5 210 6 1.7 303 10 2 420 15 2.2
การควบคุมคุณภาพ

4,001-5,000 75 1 1.1 105 2 1.3 160 4 1.5 235 7 1.8 305 11 2 440 16 2.2
5,001-7,000 75 1 1.1 105 2 1.3 185 5 1.7 260 8 1.9 350 12 2.2 490 18 2.4
7,001-10,000 75 1 1.1 105 2 1.3 185 5 1.7 260 9 1.9 380 13 2.2 535 20 2.5

10,001-20,000 75 1 1.1 135 3 1.4 210 6 1.8 285 9 2 425 15 2.3 610 23 2.6
20,001-50,000 75 1 1.1 135 3 1.4 235 7 1.9 305 10 2.1 470 17 2.4 700 27 2.7
50,001-100,000 75 1 1.1 160 4 1.6 235 7 1.9 355 12 2.2 515 19 2.5 770 30 2.8

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-7 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 6.0%, β = 0.10
Process
0-0.07 0.08-0.70 0.71-1.40 1.41-2.10 2.11-2.80 2.81-3.50
Average%
Lot Size n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL%

1-25 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0

26-50 24 0 0.8 24 0 0.8 24 0 0.8 24 0 0.8 24 0 0.8 24 0 0.8


51-100 28 0 0.95 28 0 0.95 28 0 0.95 28 0 0.95 28 0 0.95 28 0 0.95
101–200 30 0 1 30 0 1 49 1 1.3 49 1 1.3 49 1 1.3 65 2 1.4

201-300 31 0 1.1 31 0 1.1 50 1 1.4 70 2 1.5 85 3 1.6 85 3 1.6


301-400 32 0 1.1 55 1 1.4 70 2 1.6 90 3 1.7 105 4 1.8 125 5 1.8
401-500 32 0 1.1 55 1 1.4 75 2 1.6 90 3 1.8 110 4 1.9 140 6 2

501-600 32 0 1.1 55 1 1.4 75 2 1.7 95 3 1.8 125 5 2 145 6 2.1


601-800 32 0 1.1 55 1 1.4 75 2 1.7 110 4 2 130 5 2.1 160 7 2.2
801-1,000 33 0 1.1 55 1 1.4 95 3 1.9 110 4 2.1 145 6 2.2 180 8 2.4

1,001-2,000 55 1 1.3 75 2 1.8 95 3 2 130 5 2.3 185 8 2.5 230 11 2.8


2,001-3,000 55 1 1.5 75 2 1.8 115 4 2.1 150 6 2.4 215 10 2.8 300 15 3
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

3,001-4,000 55 1 1.5 75 2 1.8 115 4 2.2 165 7 2.6 1235 11 2.9 330 17 3.2

4,001-5,000 55 1 1.5 75 2 1.8 130 5 2.4 185 8 2.7 250 12 3 350 18 3.3
5,001-7,000 55 1 1.5 75 2 1.8 130 5 2.4 185 8 2.7 270 13 3.1 385 20 3.4
7,001-10,000 55 1 1.5 95 3 2 150 6 2.5 200 9 2.9 285 14 3.2 415 22 3.6

10,001-20,000 55 1 1.5 95 3 2 150 6 2.5 220 10 2.9 320 16 3.3 470 25 3.7
20,001-50,000 55 1 1.5 115 4 2.2 170 7 2.6 235 11 3.1 355 18 3.5 530 29 3.9
50,001-100,000 55 1 1.5 115 4 2.2 185 8 2.7 270 13 3.1 370 19 3.5 530 29 3.9

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
535

AOQL = Average Outgoing Quality Limit.


536

ตาราง ข-8 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก LTPD โดยที่ LTPD = 8.0%, β = 0.10


Process
0-0.10 0.11-1.0 1.01-2.00 2.01-3.00 3.01-4.00 4.01-5.00
Average%
Lot Size n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL% n c AOQL%
1-20 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0 All 0 0
21-50 17 0 1.3 17 0 1.3 17 0 1.3 17 0 1.3 17 0 1.3 17 0 1.3
51-100 20 0 1.5 20 0 1.5 20 0 1.5 33 1 1.7 33 1 1.7 33 1 1.7
101–200 22 0 1.5 22 0 1.9 35 0 2 48 2 2.2 48 2 2.2 60 3 2.6
201-300 23 0 1.5 38 1 2 50 1 2.3 65 3 2.4 75 4 2.6 85 5 2.7
301-400 23 0 1.5 38 1 2 50 1 2.4 65 3 2.5 90 5 2.7 100 6 2.9
401-500 23 0 1.5 38 1 2.1 50 2 2.5 75 4 2.8 90 5 2.9 110 7 3.2
501-600 23 0 1.5 38 1 2.1 65 2 2.7 80 4 3 100 6 3.2 125 8 3.3
601-800 23 0 1.6 38 1 2.6 65 3 2.8 90 5 3.1 100 6 3.3 140 9 3.4
801-1,000 39 1 2.1 50 2 2.6 65 3 2.8 90 5 3.2 115 7 3.4 150 10 3.7
1,001-2,000 39 1 2.1 50 2 2.6 80 4 3.1 105 6 3.4 140 9 3.9 195 14 4.4
2,001-3,000 39 1 2.1 50 2 2.6 80 4 3.1 115 7 3.7 165 11 4.1 230 17 4.7
3,001-4,000 39 1 2.1 50 2 2.6 90 5 3.1 130 8 3.8 190 13 4.4 255 19 4.8
การควบคุมคุณภาพ

4,001-5,000 39 1 2.1 50 2 3 90 5 3.4 130 8 3.9 200 14 4.5 270 20 4.9


5,001-7,000 39 1 2.1 65 3 3 105 6 3.5 140 9 4.1 200 14 4.6 295 22 5
7,001-10,000 39 1 2.2 65 3 3 105 6 3.6 150 10 4.2 210 15 4.7 315 24 5.2
10,001-20,000 39 1 2.2 65 3 3 120 7 3.7 150 10 4.3 240 17 4.8 340 26 5.4
20,001-50,000 39 1 2.2 80 4 3.2 120 7 3.7 165 11 4.4 260 19 5 380 30 5.7
50,001-100,000 39 1 2.2 95 5 3.3 130 8 4 180 12 4.4 270 20 5.1 380 30 5.7

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-9 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 0.5%, β = 0.10
Process
0-0.02 0.03-0.20 0.21-0.40 0.41-0.60 0.61-0.80 0.81-1.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2
AOQL in

1-180 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


181-210 180 0 - - - 0.02 180 0 - - - 0.02 180 0 - - - 0.02 180 0 - - - 0.02 180 0 - - - 0.02 180 0 - - - 0.02
211-250 210 0 - - - 0.03 210 0 - - - 0.03 210 0 - - - 0.03 210 0 - - - 0.03 210 0 - - - 0.03 210 0 - - - 0.03
251-300 240 0 - - - 0.03 240 0 - - - 0.03 240 0 - - - 0.03 240 0 - - - 0.03 240 0 - - - 0.03 240 0 - - - 0.03
301-400 275 0 - - - 0.04 275 0 - - - 0.04 275 0 - - - 0.04 275 0 - - - 0.04 275 0 - - - 0.04 275 0 - - - 0.04
401-450 290 0 - - - 0.04 290 0 - - - 0.04 290 0 - - - 0.04 290 0 - - - 0.04 290 0 - - - 0.04 290 0 - - - 0.04
451-500 340 0 110 450 1 0.04 340 0 110 450 1 0.04 340 0 110 450 1 0.04 340 0 110 450 1 0.04 340 0 110 450 1 0.04 340 0 110 450 1 0.04
501-550 350 0 130 480 1 0.05 350 0 130 480 1 0.05 350 0 130 480 1 0.05 350 0 130 480 1 0.05 350 0 130 480 1 0.05 350 0 130 480 1 0.05
551-600 360 0 150 510 1 0.05 360 0 150 510 1 0.05 360 0 150 510 1 0.05 360 0 150 510 1 0.05 360 0 150 510 1 0.05 360 0 150 510 1 0.05
601-800 400 0 185 585 1 0.06 400 0 185 585 1 0.06 400 0 185 585 1 0.06 400 0 185 585 1 0.06 400 0 185 585 1 0.06 400 0 185 585 1 0.06
801-1,000 430 0 200 630 1 0.07 430 0 200 630 1 0.07 430 0 200 630 1 0.07 430 0 200 630 1 0.07 430 0 200 630 1 0.07 430 0 200 630 1 0.07
1,001-2,000 490 0 265 755 1 0.08 490 0 265 755 1 0.08 490 0 265 755 1 0.08 490 0 500 990 2 0.09 490 0 500 990 2 0.09 490 0 500 990 2 0.09
2,001-3,000 520 0 290 810 1 0.09 520 0 290 810 1 0.09 520 0 290 1050 21 0.09 520 0 530 1050 2 0.1 520 0 530 1050 2 0.11 520 0 980 1500 4 0.11
3,001-4,000 530 0 310 840 1 0.09 530 0 570 1100 2 0.11 530 0 570 1100 2 0.11 530 0 810 1340 3 0.11 530 0 810 1340 3 0.12 840 1 1160 2000 6 0.12
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

4,001-5,000 540 0 305 845 1 0.09 540 0 500 1120 2 0.11 540 0 830 1370 3 0.12 540 0 1060 1600 4 0.13 845 1 1060 1600 0.14 845 1 1425 2270 7 0.14
5,001-7,000 520 0 315 860 2 0.1 520 0 615 1160 2 0.11 520 0 865 1410 3 0.12 545 0 1105 1650 4 0.13 860 1 1105 1650 0.15 860 1 1700 2560 8 0.16
7,001-10,000 530 0 330 880 2 0.1 530 0 620 1170 2 0.12 530 0 1130 1680 4 0.14 880 1 1300 2180 6 0.15 880 1 1300 2180 6 0.16 1170 2 2160 3330 11 0.17
10,001-20,000 555 0 345 900 2 0.1 555 0 925 1480 3 0.13 555 0 1185 1740 4 0.15 900 1 1840 2740 8 0.18 1200 2 1840 2740 8 0.19 1740 4 2620 4360 15 0.21
20,001-50,000 560 0 650 1210 2 0.12 560 0 940 1500 3 0.14 900 1 1400 2300 6 0.16 1210 2 2330 3540 11 0.2 1500 3 2330 3540 11 0.22 2300 6 4240 6340 24 0.24
50,001-100,000 560 0 650 1210 2 0.12 560 0 1210 1770 4 0.15 905 1 1655 2360 7 0.17 1210 2 2390 3800 12 0.21 1770 4 2390 3800 12 0.23 2560 7 5420 7980 30 0.26

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
537

AOQL = Average Outgoing Quality Limit.


538

ตาราง ข-10 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 1.0%, β = 0.10


Process
0-.010 0.011-0.10 0.11-0.20 0.21-0.30 0.31-0.40 0.81-1.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2
AOQL in

1-120 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


121-150 120 0 - - - 0.06 120 0 - - - 0.06 120 0 - - - 0.06 120 0 - - - 0.06 120 0 - - - 0.06 120 0 - - - 0.06
151-200 140 0 - - - 0.06 140 0 - - - 0.06 140 0 - - - 0.06 140 0 - - - 0.06 140 0 - - - 0.06 140 0 - - - 0.06
201-260 165 0 - - - 0.1 165 0 - - - 0.1 165 0 - - - 0.1 165 0 - - - 0.1 165 0 - - - 0.1 165 0 - - - 0.1
261-300 180 0 75 255 1 0.1 180 0 75 255 1 0.1 180 0 75 255 1 0.1 180 0 75 255 1 0.1 180 0 75 255 1 0.1 180 0 75 255 1 0.1
301-400 200 0 90 290 1 0.12 200 0 90 290 1 0.12 200 0 90 290 1 0.12 200 0 90 290 1 0.12 200 0 90 290 1 0.12 200 0 90 290 1 0.12
401-500 215 0 100 315 0.14 215 0 100 315 0.14 215 0 100 315 0.14 215 0 100 315 1 0.14 215 0 100 315 0.14 215 0 100 315 1 0.14
501-600 225 0 115 340 1 0.15 225 0 115 340 1 0.15 225 0 115 340 1 0.15 225 0 115 340 1 0.15 225 0 115 340 1 0.15 225 0 205 430 2 0.16
601-800 233 0 125 360 1 0.16 233 0 125 360 1 0.16 233 0 125 360 1 0.16 233 0 230 465 2 0.18 233 0 230 465 2 0.18 233 0 230 465 2 0.18
801-1,000 245 0 135 380 1 0.17 245 0 135 380 1 0.17 245 0 250 495 1 0.19 245 0 230 493 2 0.19 245 0 250 495 2 0.19 245 0 250 495 2 0.19
1,001-2,000 265 0 155 420 1 0.18 265 0 155 420 1 0.18 265 0 285 550 1 0.21 265 0 405 670 3 0.23 265 0 515 780 4 0.24 265 0 515 780 4 0.24
2,001-3,000 270 0 160 430 1 0.19 270 0 300 570 2 0.22 270 0 420 690 1 0.25 270 0 545 815 4 0.26 430 1 620 1050 6 0.28 430 1 830 1260 8 0.3
3,001-4,000 275 0 160 435 1 0.19 275 0 305 580 2 0.22 275 0 435 710 1 0.25 435 1 545 1080 6 0.29 433 1 865 1300 8 0.3 580 20 940 1520 10 0.33
การควบคุมคุณภาพ

4,001-6,000 275 0 165 440 1 0.19 275 0 310 585 2 0.23 275 0 563 840 1 0.28 440 1 660 1100 6 0.3 440 1 1000 1440 9 0.33 585 2 1075 1660 11 0.35
5,001-7,000 275 0 170 445 1 0.2 275 0 315 590 2 0.23 275 0 580 855 1 0.29 445 1 785 1230 7 0.33 590 2 990 1580 10 0.36 730 3 1190 1920 13 0.38
7,001-10,000 280 0 320 600 2 .24\ 280 0 469 740 3 0.26 280 0 590 870 2 0.3 450 1 920 1370 8 0.33 600 2 1240 1840 12 0.39 870 4 1540 2410 17 0.41
10,000-20,000 280 0 325 605 2 0.24 280 0 465 745 3 0.27 450 1 700 1150 2 0.33 605 2 1035 1640 10 0.39 745 3 1485 2230 15 0.43 1150 6 1990 3140 23 0.44
20,001-50,000 280 0 325 605 2 0.25 280 0 605 885 4 0.3 450 1 830 1280 2 0.36 605 2 1295 1900 12 0.42 885 4 1845 2730 19 0.47 1280 7 2600 3800 29 0.52
50,001-100,000 280 0 325 605 2 0.25 280 0 605 885 4 0.3 450 1 960 1410 2 0.38 605 2 1545 2250 14 0.44 885 4 2085 2970 21 0.49 1410 8 3200 4690 36 0.55

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-11 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 2.0%, β = 0.10
Process
0-.02 0.03-0.20 0.21-0.40 0.41-0.60 0.61-0.80 0.81-1.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2
AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2
AOQL in

1-15 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


76-100 70 0 - - - 0.16 70 0 - - - 0.16 70 0 - - - 0.16 70 0 - - - 0.16 70 0 - - - 0.16 70 0 - - - 0.16
101-200 85 0 - - - 0.25 85 0 - - - 0.25 85 0 - - - 0.25 85 0 - - - 0.25 85 0 - - - 0.25 85 0 - - - 0.25
201-300 115 0 50 165 1 0.29 115 0 50 165 1 0.29 115 0 50 165 1 0.29 115 0 50 165 1 0.29 115 0 50 165 1 0.29 115 0 50 165 1 0.29
301-400 120 0 60 80 1 0.32 120 0 60 180 1 0.32 120 0 60 180 1 0.32 120 0 115 235 1 0.34 120 0 115 235 2 0.34 120 0 115 235 2 0.34
401-500 125 0 65 190 1 0.33 125 0 65 190 1 0.33 125 0 120 245 2 0.37 125 0 120 245 1 0.37 125 0 120 265 2 0.37 125 0 120 245 2 0.37
501-600 125 0 70 195 1 0.34 125 0 70 195 1 0.34 125 0 130 255 2 0.39 125 0 130 255 1 0.39 125 0 185 310 3 0.41 125 0 185 310 3 0.41
601-800 130 0 75 205 1 0.35 130 0 75 205 1 0.35 130 0 135 265 2 0.41 130 0 195 325 1 0.44 130 0 250 380 4 0.45 130 0 250 380 4 0.45
801-1,000 135 0 75 210 1 0.36 135 0 140 275 2 0.42 135 0 140 275 2 0.42 135 0 200 335 1 0.46 135 0 255 390 4 0.48 135 0 290 500 6 0.54
1,001-2,000 135 0 85 220 1 0.38 135 0 155 290 2 0.45 135 0 220 355 3 0.5 135 0 285 420 1 0.54 220 1 375 595 7 0.62 135 0 485 705 9 0.65
2,001-3,000 140 0 85 225 1 0.39 140 0 155 295 2 0.46 140 0 285 425 4 0.56 225 1 385 610 1 0.65 295 2 435 730 9 0.69 140 0 535 895 12 0.72
3,001-4,000 140 0 85 225 1 0.4 140 0 255 365 3 0.52 140 0 290 430 4 0.57 225 1 455 680 1 0.69 295 2 555 850 11 0.74 140 0 715 1080 15 0.77
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

4,001-5,000 140 0 160 300 2 0.47 140 0 230 370 3 0.53 140 0 360 500 5 0.61 225 1 460 685 1 0.7 300 2 620 920 12 0.77 140 0 775 1210 17 0.81
5,001-7,000 140 0 160 300 2 0.48 140 0 230 370 3 0.54 140 0 365 505 5 0.52 300 2 450 750 1 0.74 370 3 680 1050 14 0.82 140 0 935 1440 21 0.89
7,001-10,000 140 0 160 300 2 0.49 140 0 235 375 3 0.54 225 1 350 575 6 0.66 300 2 520 820 1 0.77 375 3 735 1110 15 0.85 140 0 1055 1630 24 0.95
10,000-20,000 140 0 165 305 2 0.49 140 0 235 375 3 0.54 225 1 415 640 7 0.71 305 2 645 950 2 0.83 375 3 935 1310 18 0.92 140 0 1240 1880 28 1
20,001-50,000 140 0 165 305 2 0.49 140 0 305 445 4 0.59 225 1 480 705 8 0.75 305 2 715 1020 2 0.86 445 4 1045 1490 21 0.98 140 0 1535 2340 36 1.1
50,001-100,000 140 0 165 305 2 0.49 140 0 305 445 4 0.6 225 1 565 770 9 0.78 305 2 830 1135 2 0.9 510 5 1150 1668 24 1 140 0 1850 2620 41 1.2

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
539

AOQL = Average Outgoing Quality Limit.


540

ตาราง ข-12 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 3.0%, β = 0.10


Process
0-0.03 0.04-0.30 0.31-0.60 0.61-0.90 0.91-1.20 1.21-1.50
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2
AOQL in

1-40 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


40-55 40 0 - - - 0.18 40 0 - - - 0.18 40 0 - - - 0.18 40 0 - - - 0.18 40 0 - - - 0.18 40 0 - - - 0.18
56-100 55 0 - - - 0.3 55 0 - - - 0.3 55 0 - - - 0.3 55 0 - - - 0.3 55 0 - - - 0.3 55 0 - - - 0.3
101-150 70 0 30 100 1 0.37 70 0 30 100 1 0.37 70 0 30 100 1 0.37 70 0 30 100 1 0.37 70 0 30 100 1 0.34 70 0 30 100 1 0.37
151-200 75 0 40 115 1 0.45 75 0 40 115 1 0.45 75 0 40 115 1 0.45 75 0 40 115 1 0.45 75 0 65 1140 2 0.47 75 0 65 1140 2 0.47
201-300 75 0 40 115 1 0.5 75 0 40 115 1 0.5 75 0 40 115 1 0.5 75 0 80 155 2 0.54 75 0 80 155 2 0.54 75 0 80 155 2 0.54
301-400 80 0 45 125 1 0.52 80 0 45 125 1 0.52 80 0 85 165 2 0.57 80 0 85 165 2 0.57 80 0 120 200 3 0.62 80 0 120 200 3 0.62
401-500 85 0 50 135 1 0.53 85 0 50 135 1 0.53 85 0 90 175 2 0.6 85 0 125 210 3 0.64 85 0 125 210 3 0.64 85 0 160 245 4 0.69
501-600 85 0 50 135 1 0.54 85 0 50 135 1 0.54 85 0 95 185 2 0.62 85 0 130 215 3 0.67 85 0 170 255 4 0.72 135 1 185 320 6 0.76
601-800 90 0 50 140 1 0.55 90 0 95 185 2 0.64 90 0 135 225 3 0.7 90 0 170 260 4 0.74 140 1 195 335 6 0.79 140 1 210 350 7 0.81
801-1,000 90 0 55 145 1 0.56 90 0 100 190 2 0.66 90 0 140 230 3 0.72 90 0 180 270 4 0.77 145 1 235 380 7 0.85 145 1 270 415 8 0.86
1,001-2,000 90 0 60 150 1 0.58 90 0 105 195 2 0.7 90 0 190 280 4 0.84 150 1 210 360 6 0.9 150 1 325 475 9 1 195 2 350 545 11 1.1
2,001-3,000 90 0 60 150 1 0.59 90 0 155 245 3 0.8 90 0 200 290 4 0.86 150 1 300 450 8 1 200 2 365 565 11 1.1 295 4 470 760 16 1.2
3,001-4,000 95 0 105 200 2 0.72 95 0 150 245 3 0.8 95 0 235 330 5 0.92 150 1 350 500 9 1.1 245 3 405 650 13 1.2 330 5 545 875 19 1.2
การควบคุมคุณภาพ

4,001-5,000 95 0 105 200 2 0.73 95 0 155 250 3 0.81 150 1 230 380 6 0.98 200 2 340 540 10 1.2 250 3 445 695 14 1.2 380 6 620 1000 22 1.3
5,001-7,000 95 0 105 200 2 0.73 95 0 155 250 3 0.81 150 1 230 380 6 1 200 2 385 585 11 1.2 250 3 530 780 16 1.3 380 6 700 1080 24 1.4
7,001-10,000 95 0 105 200 2 0.73 95 0 155 250 3 0.81 150 1 275 425 7 1 200 2 425 625 12 1.2 250 3 575 825 17 1.3 425 7 785 875 19 1.5
10,000-20,000 95 0 105 200 2 0.74 95 0 200 295 4 0.92 150 1 320 470 8 1.1 200 2 475 675 13 1.3 295 4 655 950 20 1.4 470 8 900 1370 31 1.6
20,001-50,000 95 0 105 200 2 0.74 95 0 200 295 4 0.93 150 1 365 515 9 1.2 200 2 515 715 14 1.3 295 4 755 1050 23 1.5 515 9 1165 1680 39 1.7
50,001-100,000 95 0 105 200 2 0.75 95 0 245 340 5 1 150 1 405 555 10 1.2 200 2 555 755 15 1.3 340 5 840 1180 26 1.6 515 9 1315 1830 43 1.8

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-13 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 5.0%, β = 0.10
Process
0-0.05 0.06-0.50 0.51-1.00 1.01-1.50 1.51-2.00 2.01-2.50
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
AOQL in
AOQL in
AOQL in
AOQL in
AOQL in

1-30 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


31-75 30 0 - - - 0.8 30 0 - - - 0.8 30 0 - - - 0.8 30 0 - - - 0.8 30 0 - - - 0.8 30 0 - - - 0.8
51-75 38 0 - - - 0.9 38 0 - - - 0.9 38 0 - - - 0.9 38 0 - - - 0.9 38 0 - - - 0.9 38 0 - - - 0.9
76-110 44 0 21 65 1 1.1 44 0 21 65 1 1.1 44 0 21 65 1 1.1 44 0 21 65 1 1.2 44 0 21 65 1 1.2 44 0 21 65 1 1.2
111-200 49 0 26 75 1 1.2 49 0 26 75 1 1.2 49 0 26 75 1 1.4 49 0 51 100 2 1.5 49 0 51 100 2 1.5 49 0 51 100 2 1.5
201-300 50 0 30 80 1 1.3 50 0 30 80 1 1.3 50 0 55 110 2 1.5 50 0 55 110 2 1.6 50 0 80 130 3 1.7 50 0 100 150 4 1.9
301-400 55 0 30 85 1 1.3 55 0 55 110 2 1.5 55 0 55 110 2 1.7 55 0 80 135 3 1.8 55 0 100 155 4 1.9 85 1 105 190 6 2
401-500 55 0 30 85 1 1.3 55 0 55 110 2 1.5 55 0 80 135 3 1.7 55 0 105 160 4 1.8 85 1 120 205 4 2.1 85 1 140 225 7 2.2
501-600 55 0 30 85 1 1.3 55 0 60 115 2 1.6 55 0 85 140 3 1.7 55 0 110 165 4 2.1 85 1 145 230 6 2.2 85 1 165 250 8 2.3
601-800 55 0 35 90 1 1.4 55 0 65 120 2 1.6 55 0 85 140 3 1.9 90 1 125 215 6 2.2 90 1 170 260 8 2.3 120 2 185 305 10 2.5
801-1,000 55 0 35 90 1 1.4 55 0 65 120 2 1.6 55 0 115 170 4 2 90 1 150 240 7 2.2 90 1 200 290 9 2.5 120 2 210 330 11 2.7
1,001-2,000 55 0 35 90 1 1.7 55 0 95 150 3 1.9 55 0 120 175 4 2.2 90 1 185 275 8 2.5 120 2 225 345 11 2.8 175 4 260 435 15 3.1
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

2,001-3,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 95 150 3 1.9 55 0 150 205 5 2.3 120 2 180 300 9 2.7 150 3 270 420 14 3 205 5 385 580 21 3.3
3,001-4,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 95 150 3 1.9 90 1 140 230 6 2.4 120 2 210 330 10 2.8 150 3 295 445 15 3.1 230 6 420 650 24 3.4
4,001-5,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 95 150 3 2.1 90 1 165 255 7 2.5 120 2 255 375 12 2.9 150 3 345 495 17 3.2 255 7 444 570 26 3.6
5,001-7,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 95 150 3 2.1 90 1 165 255 7 2.5 120 2 260 380 12 3 150 3 370 520 18 3.3 255 7 495 750 28 3.8
7,001-10,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 120 175 4 2.1 90 1 190 280 8 2.6 120 2 285 405 13 3.1 175 4 370 545 19 3.4 280 8 540 820 31 3.9
10,000-20,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 120 175 4 2.1 90 1 190 280 8 2.7 120 2 310 430 14 3.2 175 4 420 595 21 3.5 280 8 660 940 36 4
20,001-50,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 150 205 5 2.3 90 1 215 305 9 2.8 120 2 335 455 15 3.3 205 5 485 690 25 3.5 305 9 745 1050 41 4.1
50,001-100,000 55 0 65 100 2 1.7 55 0 150 205 5 2.3 90 1 240 330 10 2.9 120 2 360 480 16 3.4 205 5 555 760 28 3.7 330 10 810 1140 45 4.2

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
541

AOQL = Average Outgoing Quality Limit.


542

ตาราง ข-14 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 6.0%, β = 0.10


Process
0-0.04 0.05-0.40 0.41-0.80 0.81-1.20 1.21-1.60 1.61-2.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
AOQL in
AOQL in
AOQL in
AOQL in
AOQL in

1-35 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


36-50 34 0 - - - 0.35 34 0 - - - 0.35 34 0 - - - 0.35 34 0 - - - 0.35 34 0 - - - 0.35 34 0 - - - 0.35
51-75 40 0 - - - 0.43 40 0 - - - 0.43 40 0 - - - 0.43 40 0 - - - 0.43 40 0 - - - 0.43 40 0 - - - 0.43
76-100 50 0 25 71 1 0.46 50 0 25 71 1 0.46 50 0 25 75 1 0.46 50 0 25 75 1 0.46 50 0 25 75 1 0.46 50 0 25 75 1 0.46
101-150 55 0 30 85 1 0.55 55 0 30 85 1 0.55 55 0 30 85 1 0.55 55 0 30 85 1 0.55 55 0 30 85 1 0.55 55 0 30 85 1 0.55
151-200 60 0 30 90 1 0.64 60 0 30 90 1 0.64 60 0 30 90 1 0.64 60 0 55 115 2 0.68 60 0 55 115 2 0.68 60 0 55 115 2 68
201-300 60 0 35 95 1 0.7 60 0 35 95 1 0.7 60 0 65 125 2 0.7 60 0 65 125 2 0.75 60 0 90 150 3 0.84 60 0 90 150 3 0.84
301-400 65 0 35 100 1 0.71 65 0 35 100 1 0.71 65 0 65 130 2 0.71 65 0 95 160 3 0.86 65 0 95 160 3 0.86 65 0 120 185 4 0.97
401-500 65 0 40 105 1 0.73 65 0 70 135 2 0.83 65 0 70 135 2 0.83 65 0 100 165 3 0.92 65 0 130 195 4 0.96 105 0 140 245 6 1
501-600 65 0 40 105 1 0.74 65 0 75 140 2 0.85 65 0 100 165 3 . 92 65 0 135 200 4 1 105 1 145 250 4 1.1 105 1 175 280 7 1.1
601-800 65 0 40 105 1 0.75 65 0 75 140 2 0.87 65 0 110 175 3 0.97 65 0 140 205 4 1 105 1 185 290 7 1.2 105 1 210 315 8 1.2
801-1,000 70 0 40 110 1 0.76 70 0 75 140 2 0.9 70 0 105 175 3 0.96 110 1 155 265 6 1.2 110 1 210 320 8 1.2 145 2 230 375 10 1.3
1,001-2,000 70 0 40 110 1 0.78 70 0 80 150 2 0.94 70 0 145 215 4 . 1.1 110 1 195 395 7 1.3 150 2 240 390 10 1.5 180 3 295 475 13 1.6
การควบคุมคุณภาพ

2,001-3,000 70 0 80 150 2 0.95 70 0 115 185 3 1.1 70 0 180 250 5 1.2 110 1 260 370 9 1.4 185 3 305 490 13 1.6 220 4 410 630 18 1.7
3,001-4,000 70 0 80 150 2 0.96 70 0 115 185 3 1.1 110 0 175 285 6 1.3 150 2 255 405 10 1.5 185 3 340 525 14 1.6 285 6 465 750 22 1.8
4,001-5,000 70 0 80 150 2 0.97 70 0 115 185 3 1.1 115 1 170 285 6 1.3 150 2 285 435 11 1.6 185 3 395 580 16 1.7 285 6 520 805 24 1.9
5,001-7,000 70 0 80 150 2 0.98 70 0 115 185 3 1.1 115 1 205 320 7 1.4 150 2 320 470 12 1.6 185 3 435 620 17 1.7 320 7 585 905 27 2
7,001-10,000 70 0 80 150 2 0.98 70 0 150 220 4 1.2 115 1 205 320 7 1.4 150 2 325 475 12 1.7 220 4 460 680 19 1.9 320 7 645 965 29 2.1
10,000-20,000 70 0 80 150 2 0.98 70 0 150 220 4 1.2 115 1 235 350 8 1.5 150 2 335 505 13 1.7 220 4 495 715 20 1.9 350 8 790 1140 35 2.2
20,001-50,000 70 0 80 150 2 0.99 70 0 150 220 4 1.2 115 1 270 385 9 1.6 150 2 420 570 15 1.7 255 5 575 830 24 2 385 9 895 1280 40 2.3
50,001-100,000 70 0 80 150 2 0.99 70 0 185 255 5 1.3 115 1 308 415 10 1.7 150 2 450 600 16 1.8 255 5 665 920 27 2.1 415 10 985 1400 44 2.4

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-15 ดอดจ์-โรมิค สาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 7.0%, β = 0.10
Process
0-0.04 0.05-0.40 0.41-0.80 0.81-1.20 1.21-1.60 1.61-2.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2
AOQL in

1-30 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


31-75 24 0 - - - 0.8 24 0 - - - 0.8 24 0 - - - 0.8 24 0 - - - 0.8 24 0 - - - 0.8 24 0 - - - 0.8
51-75 31 0 15 46 1 0.9 31 0 15 46 1 0.9 31 0 15 46 1 0.9 31 0 15 46 1 0.9 31 0 15 46 1 0.9 31 0 15 46 1 0.9
76-110 34 0 16 50 1 1.1 34 0 16 50 1 1.1 34 0 16 50 1 1.1 34 0 31 65 2 1.2 34 0 31 65 2 1.2 34 0 31 65 2 1.2
111-200 34 0 19 55 1 1.2 34 0 19 55 1 1.2 34 0 29 75 2 1.4 34 0 54 90 3 1.5 34 0 54 90 3 1.5 34 0 69 105 4 1.5
201-300 37 0 23 60 1 1.3 37 0 23 60 1 1.3 37 0 38 75 2 1.5 37 0 58 95 3 1.6 37 0 73 110 4 1.7 60 1 80 140 6 1.9
301-400 38 0 22 60 1 1.3 38 0 42 80 2 1.5 38 0 57 95 3 1.7 38 0 77 115 4 1.8 60 1 85 145 6 1.9 60 1 100 160 7 2
401-500 39 0 21 60 1 1.3 39 0 41 80 2 1.5 39 0 61 100 3 1.7 39 0 76 115 4 1.8 60 1 105 165 7 2.1 60 1 135 195 9 2.2
501-600 39 0 26 65 1 1.3 39 0 45 85 2 1.6 39 0 61 100 3 1.7 65 1 90 155 6 2.1 65 1 120 185 8 2.2 85 2 130 215 10 2.3
601-800 39 0 26 65 1 1.4 39 0 44 85 2 1.6 39 0 81 120 4 1.9 65 1 105 170 7 2.2 65 1 140 205 9 2.3 85 2 165 250 12 2.5
801-1,000 39 0 26 65 1 1.4 39 0 46 85 2 1.6 39 0 86 125 4 2 65 1 110 175 7 2.2 85 2 140 225 10 2.5 105 3 180 285 14 2.7
1,001-2,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 45 105 3 1.9 40 0 105 145 5 2.2 65 1 150 215 9 2.5 105 3 175 280 13 2.8 145 5 230 375 19 3.1
2,001-3,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 65 105 3 1.9 65 1 100 165 6 2.3 85 2 165 250 11 2.7 105 3 210 315 15 3 165 6 300 465 24 3.3
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

3,001-4,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 65 105 3 1.9 65 1 115 180 7 2.4 85 2 185 270 12 2.8 105 3 250 355 17 3.1 180 7 335 515 27 3.4
4,001-5,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 85 125 4 2.1 65 1 115 180 7 2.5 85 2 185 270 12 2.9 125 4 245 370 18 3.2 180 7 370 550 29 3.6
5,001-7,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 85 125 4 2.1 65 1 135 200 8 2.5 85 2 205 290 13 3 125 4 265 390 19 3.3 200 8 385 585 31 3.8
7,001-10,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 85 125 4 2.1 65 1 135 200 9 2.6 85 2 205 290 13 3.1 125 4 300 425 21 3.4 200 8 450 650 35 3.9
10,000-20,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 85 125 4 2.1 65 1 155 220 9 2.7 85 2 220 305 14 3.2 125 4 335 460 23 3.5 220 9 485 705 38 4
20,001-50,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 105 145 5 2.3 65 1 170 235 10 2.8 85 2 240 325 15 3.3 145 5 360 505 26 3.5 220 9 565 785 43 4.1
50,001-100,000 40 0 45 85 2 1.7 40 0 105 145 5 2.3 65 1 170 235 10 2.9 105 3 270 375 18 3.4 165 6 390 555 29 3.7 235 10 610 845 47 4.2

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
543

AOQL = Average Outgoing Quality Limit.


544

ตาราง ข-16 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก LTPD โดยที่ LTPD = 10.0%, β = 0.10


Process
0-.010 0.11-1.00 1.10-2.00 2.01-3.00 3.01-4.00 4.01-5.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2

%
%
%
%
%
%

Lot Size
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2

AOQL in
n1 c1 n2 n1+n2 c2
AOQL in

1-120 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0 All 0 - - - 0


21-50 17 0 - - - 1.3 17 0 - - - 1.3 17 0 - - - 1.3 17 0 - - - 1.3 17 0 - - - 1.3 17 0 - - - 1.3
51-100 25 0 13 38 1 1.6 25 0 13 38 1 1.6 25 0 13 38 1 1.6 25 0 24 49 2 1.8 25 0 24 49 2 1.8 25 0 24 49 2 1.8
101-200 27 0 15 42 1 1.8 27 0 15 42 1 1.8 27 0 28 55 2 2.1 27 0 38 65 3 2.3 27 0 53 80 4 2.4 27 0 53 80 4 2.4
201-300 27 0 16 43 1 1.9 27 0 30 57 2 2.2 27 0 43 70 3 2.4 27 0 53 80 4 2.7 43 1 62 105 6 2.8 43 1 82 125 8 3
301-400 27 0 17 44 1 1.9 27 0 33 60 2 2.2 27 0 43 70 3 2.5 44 1 66 110 6 2.9 44 1 86 130 8 3.1 60 2 90 150 10 3.2
401-500 28 0 16 44 1 1.9 28 0 32 60 2 2.3 28 0 57 85 4 2.7 44 1 76 120 7 3.1 44 1 101 145 9 3.3 60 2 105 165 11 3.4
501-600 28 0 17 45 1 1.9 28 0 32 60 2 2.3 28 0 57 85 4 2.8 45 1 75 120 7 3.3 60 2 100 160 10 3.4 75 3 115 190 13 3.6
601-800 28 0 17 45 1 2 28 0 47 57 3 2.6 28 0 57 85 4 2.9 45 1 90 135 8 3.5 60 2 110 170 11 3.7 75 3 140 215 15 3.9
801-1,000 28 0 32 60 2 2.3 28 0 47 57 3 2.6 28 0 72 100 5 3 45 1 90 135 8 3.5 60 2 125 185 12 3.9 90 4 150 240 17 4.1
1,001-2,000 28 0 32 60 2 2.4 28 0 47 57 3 2.7 45 1 70 115 6 3.3 60 2 105 165 10 3.9 75 3 150 225 15 4.3 115 6 200 315 23 4.8
2,001-3,000 28 0 32 60 2 2.4 28 0 47 57 3 2.7 45 1 85 130 7 3.5 60 2 130 190 12 4.1 75 3 175 250 17 4.4 130 7 235 365 27 5
28 0 32 90 90 4 170 260 18
การควบคุมคุณภาพ

3,001-4,000 60 2 2.4 28 0 62 4 2.9 45 1 95 140 8 3.5 60 2 130 190 12 4.2 4.6 130 7 255 385 29 5.1
4,001-5,000 28 0 32 60 2 2.4 28 0 62 90 4 3 45 1 95 140 8 3.7 60 2 140 200 13 4.3 90 4 180 270 19 4.7 140 8 270 410 31 5.2
5,001-7,000 28 0 32 60 2 2.4 28 0 62 90 4 3 45 1 95 140 8 3.8 60 2 140 200 13 4.4 90 4 205 295 21 4.9 140 8 315 455 35 5.3
7,001-10,000 28 0 32 60 2 2.5 28 0 62 90 4 3 45 1 95 140 8 3.8 60 2 155 215 14 4.4 90 4 220 310 22 3 140 8 340 480 37 5.4
10,000-20,000 28 0 32 60 2 2.5 28 0 62 90 4 3 45 1 110 115 9 3.9 60 2 165 225 15 4.4 100 5 230 330 24 5.1 155 9 370 525 41 5.6
20,001-50,000 28 0 32 60 2 2.5 28 0 72 100 5 3.3 45 1 120 165 10 3.8 75 3 165 240 16 4.5 100 5 280 380 28 5.2 165 10 405 570 45 5.7
50,001-100,000 28 0 32 60 2 2.5 28 0 72 100 5 3.3 45 1 135 180 11 4.2 75 3 200 275 19 4.8 115 6 285 400 30 5.3 165 10 440 605 48 6.2

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
AOQL = Average Outgoing Quality Limit.
ตาราง ข-17 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=0.10%)
Process
0-.002 .003-.020 .021-.040. .041-.060 .061-.080 .081-0.10
Average%
Lot Size n c Pt% N c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n C Pt%
1-75 All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 -
76-95 75 0 1.5 75 0 1.5 75 0 1.5 75 0 1.5 75 0 1.5 75 0 1.5
96-130 95 0 1.4 95 0 1.4 95 0 1.4 95 0 1.4 95 0 1.4 95 0 1.4
131-200 130 0 1.2 130 0 1.2 130 0 1.2 130 0 1.2 130 0 1.2 130 0 1.2
201-300 165 0 1.1 165 0 1.1 165 0 1.1 165 0 1.1 165 0 1.1 165 0 1.1
301-400 190 0 0.96 190 0 0.96 190 0 0.96 190 0 0.96 190 0 0.96 190 0 0.96
401-500 210 0 0.91 210 0 0.91 210 0 0.91 210 0 0.91 210 0 0.91 210 0 0.91
501-600 230 0 0.86 230 0 0.86 230 0 0.86 230 0 0.86 230 0 0.86 230 0 0.86
601-800 250 0 0.81 250 0 0.81 250 0 0.81 250 0 0.81 250 0 0.81 250 0 0.81
801-1,000 270 0 0.76 270 0 0.76 270 0 0.76 270 0 0.76 270 0 0.76 270 0 0.76
1,001-2,000 310 0 0.71 310 0 0.71 310 0 0.71 310 0 0.71 310 0 0.71 310 0 0.71
2,001-3,000 330 0 0.67 330 0 0.67 330 0 0.67 330 0 0.67 330 0 0.67 330 1 0.67
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

3,001-4,000 340 0 0.64 340 0 0.64 340 0 0.64 695 0 0.59 695 1 0.59 695 1 0.59
4,001-5,000 345 0 0.62 345 0 0.62 345 0 0.62 720 1 0.54 720 1 0.54 720 1 0.59
5,001-7,000 350 0 0.61 350 0 0.61 750 1 0.51 750 1 0.51 750 1 0.51 750 1 0.51
7,001-10,000 355 0 0.6 355 0 0.6 775 1 0.49 775 1 0.49 775 1 0.49 1210 2 0.44
10,000-20,000 360 0 0.59 810 1 0.48 810 1 0.48 1280 2 0.42 1280 2 0.42 1770 3 0.38
20,001-50,000 365 0 0.58 830 1 0.47 1330 2 0.41 1870 3 0.37 2420 4 0.34 2980 5 0.33
50,001-100,000 365 0 0.58 835 1 0.46 1350 3 0.4 2480 4 0.33 3070 5 0.32 4270 7 0.3

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
545
546

ตาราง ข-18 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=0.25%)


Process
0-0.005 0.006-0.050 0.051-0.100 0.101-0.150 0.151-0.200 0.201-0.250
Average%
Lot Size n c Pt% N c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n C Pt%
1-60 All 0- All 0- All 0- All 0- All 0- All 0-
61-100 60 0 2.5 60 0 2.5 60 0 2.5 60 0 2.5 60 0 2.5 60 0 2.5
101-200 85 0 2.1 85 0 2.1 85 0 2.1 85 0 2.1 85 0 2.1 85 0 2.1
201-300 100 0 1.9 100 0 1.9 100 0 1.9 100 0 1.9 100 0 1.9 100 0 1.9
301-400 110 0 1.8 110 0 1.8 110 0 1.8 110 0 1.8 110 0 1.8 110 0 1.8
401-500 115 0 1.7 115 0 1.7 115 0 1.7 115 0 1.8 115 0 1.8 115 0 1.8
501-600 120 0 1.7 120 0 1.7 120 0 1.7 120 0 1.7 120 0 1.7 120 0 1.7
601-800 125 0 1.7 125 0 1.7 125 0 1.7 125 0 1.7 125 0 1.7 125 0 1.7
801-1,000 130 0 1.6 130 0 1.6 130 0 1.6 130 0 1.7 130 0 1.7 250 1 1.4
1,001-2,000 135 0 1.6 135 0 1.6 135 0 1.6 290 1 1.3 290 1 1.3 290 1 1.3
2,001-3,000 140 0 1.6 140 0 1.6 300 1 1.3 300 1 1.3 300 1 1.3 300 1 1.3
3,001-4,000 140 0 1.6 140 0 1.6 310 1 1.3 310 1 1.3 310 1 1.3 485 2 1.1
การควบคุมคุณภาพ

4,001-5,000 145 0 1.6 145 0 1.6 315 1 1.2 315 1 1.2 495 2 1.1 495 2 1.2
5,001-7,000 145 0 1.6 320 1 1.2 320 1 1.2 510 2 1 510 2 1 700 3 0.94
7,001-10,000 145 0 1.6 325 1 1.2 325 1 1.2 520 2 1 720 3 0.91 720 3 0.91
10,001-20,000 145 0 1.6 330 1 1.2 535 2 1 750 3 0.89 970 1 0.81 1190 5 0.75
20,001-50,000 145 0 1.6 335 1 1.2 545 2 1 995 1 0.8 1240 5 0.71 1980 0 0.66
50,001-100,000 335 1 1.2 545 2 1 775 3 0.87 1250 5 0.73 1750 7 0.67 2810 11 0.62

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
ตาราง ข-19 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=0.5%)
Process
0-.010 0.11-0.10 0.11-0.20 0.21-0.30 0.31-0.40 0.41-0.50
Average%
Lot Size n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt%
1-30 All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 -
31-50 30 0 5 30 0 5 30 0 5 30 0 5 30 0 5 30 0 5
51-100 42 0 4.2 42 0 4.2 42 0 4.2 42 0 4.2 42 0 4.2 42 0 4.2
101-200 55 0 3.6 55 0 3.6 55 0 3.6 55 0 3.6 55 0 3.6 55 0 3.6
201-300 60 0 3.4 60 0 3 60 0 3 60 0 3.4 60 0 3.4 60 0 3.4
301-400 60 0 3.5 60 0 3.3 60 0 3.3 60 0 3.5 60 0 3.5 60 0 3.5
401-500 65 0 3.3 65 0 3.3 65 0 3.3 65 0 3.3 65 0 3.3 125 1 2.9
501-600 65 0 3.3 65 0 3.3 65 0 3.3 65 0 3.3 140 1 2.7 130 1 2.7
601-800 65 0 3.4 65 0 3.4 65 0 3.4 140 1 2.6 140 1 2.6 140 1 2.6
801-1,000 70 0 3.2 70 0 3.2 70 0 3.2 145 1 2.6 145 1 2.6 145 1 2.6
1,001-2,000 70 0 3.2 70 0 3.2 155 1 2.5 155 1 2.5 155 1 2.5 240 2 2.2
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

2,001-3,000 70 0 3.3 70 0 3.3 460 1 2.4 160 1 2.4 250 2 2.1 250 2 2.1
3,001-4,000 70 0 3.3 160 1 2.4 160 1 2.4 255 2 2.1 255 2 2.1 355 3 1.9
4,001-5,000 75 0 3 165 1 2.4 165 1 2.4 260 2 2 350 3 1.9 460 4 1.7
5,001-7,000 75 0 3 165 1 2.4 265 2 2 265 2 2 370 3 1.8 475 4 1.7
7,001-10,000 75 0 3.1 165 1 2.4 265 2 2 375 3 1.8 485 4 1.7 595 5 1.6
10,000-20,000 75 0 3.1 165 1 2.4 270 2 1.9 380 3 1.7 615 5 1.5 855 7 1.4
20,001-50,000 170 1 2.3 275 2 1.9 690 3 1.7 625 5 1.5 875 7 1.3 1410 11 1.2
50,001-100,000 170 1 2.3 275 2 1.9 510 4 1.6 755 6 1.4 1290 10 1.2 2130 16 1.1

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
547

c = Allowable Defect Number for Sample.


Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
548

ตาราง ข-20 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=1.0%)


Process
0-.02 .03-.20 .21-.40 .41-.60 .61-.80 .81-1.00
Average %
Lot Size n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt%
1-25 All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 -
26-50 22 0 7.7 22 0 7.7 22 0 7.7 22 0 7.7 22 0 7.7 22 0 7.7
51-100 27 0 7.1 27 0 7.1 27 0 7.1 27 0 7.1 27 0 7.1 27 0 7.1
101-200 32 0 6.4 32 0 6.4 32 0 6.4 32 0 6.4 32 0 6.6 32 0 6.4
201-300 33 0 6.3 33 0 6.3 33 0 6.3 33 0 6.3 33 0 6.3 65 1 5
301-400 34 0 6.1 34 0 6.1 34 0 6.1 70 1 4.6 70 1 4.6 70 1 4.6
401-500 35 0 6.1 35 0 6.1 35 0 6.1 70 1 4.7 70 1 4.7 70 1 4.7
501-600 35 0 6.1 35 0 6.1 75 1 4.4 75 1 4.4 75 1 4.4 75 1 4.4
601-800 35 0 6.2 35 0 6.2 75 1 4.4 75 1 4.4 75 1 4.4 120 2 4.2
801-1,000 35 0 6.3 35 0 6.3 80 1 4.4 80 1 4.4 120 2 4.3 120 2 4.3
1,001-2,000 36 0 6.2 80 1 4.5 80 1 4.5 130 2 4 130 2 4 180 3 3.7
2,001-3,000 36 0 6.2 80 1 4.6 80 1 4.6 130 2 4 185 3 3.6 235 4 3.3
การควบคุมคุณภาพ

3,001-4,000 36 0 6.2 80 1 4.7 135 2 3.9 135 2 3.9 185 3 3.6 295 5 3.1
4,001-5,000 36 0 6.2 85 1 4.6 135 2 3.9 190 3 3.5 245 4 3.2 300 5 3.1
5,001-7,000 37 0 6.1 85 1 4.6 135 2 3.9 190 3 3.5 305 5 3 420 7 2.8
7,001-10,000 37 0 6.2 85 1 4.6 135 2 3.9 245 4 3.2 310 5 3 430 7 2.7
10,000-20,000 85 1 4.6 135 2 3.9 195 3 3.4 150 4 3.2 435 7 2.7 635 10 2.4
20,001-50,000 85 1 4.6 135 2 3.9 255 4 3.1 380 6 2.8 575 9 2.5 990 15 2.1
50,001-100,000 85 1 4.6 135 2 3.9 255 4 3.1 445 7 2.6 790 12 2.3 1520 22 1.9

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
ตาราง ข-21 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=2.5%)
Process
0-.05 .06-.50 .51-1.00 1.01-1.50 1.52-2.00 2.01-2.50
Average %
Lot Size n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt%
1-10 All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 -
11-50 11 0 17.6 11 0 17.6 11 0 17.6 11 0 17.6 11 0 17.6 11 0 17.6
51-100 13 0 13.3 13 0 13.3 13 0 15.3 13 0 15.3 13 0 15.3 13 0 15.3
101-200 14 0 14.7 14 0 14.7 14 0 14.7 29 1 12.9 29 1 12.9 29 1 12.9
201-300 14 0 14.9 14 0 14.9 30 1 12.7 30 1 12.7 30 1 12.7 30 1 12.7
301-400 14 0 15 14 0 15 31 1 12.3 31 1 12.3 31 1 12.3 48 2 10.7
401-500 14 0 15 14 0 15 32 1 12 32 1 12 49 2 10.6 49 2 10.6
501-600 14 0 15.1 32 1 12 32 1 12 50 2 10.4 50 2 10.4 70 3 9.3
601-800 14 0 14.1 32 1 12 32 1 12 50 2 10.5 50 2 10.5 70 3 9.4
801-1,000 15 0 14.2 33 1 11.7 33 1 11.7 50 2 10.6 70 3 9.4 90 4 8.5
1,001-2,000 15 0 14.2 33 1 11.7 55 2 9.3 75 3 8.8 95 4 8 120 5 7.6
2,001-3,000 15 0 14.2 33 1 11.8 55 2 9.4 75 3 8.8 120 5 7.6 145 6 7.2
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

3,001-4,000 15 0 14.3 33 1 11.8 55 2 9.5 100 4 7.9 125 5 7.4 195 8 6.6
4,001-5,000 15 0 14.3 33 1 11.8 75 3 8.9 100 4 7.9 150 6 7 225 9 6.3
5,001-7,000 33 1 11.8 55 2 9.7 75 3 8.9 125 5 7.4 175 7 6.7 250 10 6.1
7,001-10,000 34 1 11.4 55 2 9.7 75 3 8.9 125 5 7.4 200 8 6.7 310 12 5.8
10,000-20,000 34 1 11.4 55 2 9.7 100 4 8 150 6 7 260 10 6 425 16 5.3
20,001-50,000 34 1 11.4 55 2 9.7 100 4 8 180 7 6.7 345 13 5.5 640 23 4.8
50,001-100,000 34 1 11.4 80 3 8.4 125 5 7.4 235 9 6.7 435 16 5.2 800 28 4.5

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
549

Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
550

ตาราง ข-22 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=3.0%)


Process
0-.20 0.21-2.00 2.01-4.00 4.01-6.00 6.01-8.00 8.01-10.00
Average %
Lot Size n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt%
1-10 All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 - All 0 -
11-50 10 0 19 10 0 19 10 0 19 10 0 19 10 0 19 10 0 19
51-100 11 0 18 11 0 18 11 0 18 11 0 18 11 0 18 22 1 16.4
101-200 12 0 17 12 0 17 12 0 17 25 1 15.1 25 1 15.1 25 1 15.1
201-300 12 0 17 12 0 17 26 1 14.6 26 1 14.6 26 1 14.6 40 2 12.8
301-400 12 0 17.1 12 0 17.1 26 1 14.7 26 1 14.7 41 2 12.7 41 2 12.7
401-500 12 0 17.2 27 1 14.1 27 1 14.1 42 2 12.4 42 2 12.4 42 2 12.4
501-600 12 0 17.3 27 1 14.2 27 1 14.2 42 2 12.4 42 2 12.4 60 3 10.8
601-800 12 0 17.3 27 1 14.2 27 1 14.2 43 2 12.1 60 3 10.9 60 3 10.9
801-1,000 12 0 17.4 27 1 14.2 44 2 11.8 44 2 11.8 60 3 11 80 4 9.8
1,001-2,000 12 0 17.5 28 1 13.8 45 2 11.7 65 3 10.2 80 4 9.8 100 5 9.1
2,001-3,000 12 0 17.5 28 1 13.8 45 2 11.7 65 3 10.2 100 5 9.1 110 7 8.2
การควบคุมคุณภาพ

3,001-4,000 12 0 17.5 28 1 13.8 65 3 10.3 85 4 9.5 125 6 8.4 165 8 7.8


4,001-5,000 28 1 13.8 28 1 13.8 65 3 10.3 85 4 9.5 125 6 8.4 210 10 7.4
5,001-7,000 28 1 13.8 45 2 11.8 65 3 10.3 105 5 8.8 145 7 8.1 235 11 7.1
7,001-10,000 28 1 13.9 46 2 11.6 65 3 10.3 105 5 8.8 170 8 7.6 280 13 6.8
10,001-20,000 28 1 13.9 46 2 11.7 65 4 9.5 125 6 8.4 215 10 7.2 380 17 6.2
20,001-50,000 28 1 13.9 65 3 10.3 105 5 8.8 170 8 7.6 310 14 6.5 560 24 5.7
50,001-100,000 28 1 13.9 65 3 10.3 125 6 8..4 215 10 7.2 385 17 6.2 600 29 5.4

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
c = Allowable Defect Number for Sample.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
ตาราง ข-23 ดอดจ์–โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างชุดเดียวจาก AOQL (AOQL=10.0%)
Process
0-.20 0.21-2.00 2.01-4.00 4.01-6.00 6.01-8.00 8.01-10.00
Average %
Lot Size n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt% n c Pt%
1-3 All 0 All 0 All 0 - All - All 0 - All 0 -
4-50 3 0 52.5 3 0 52.5 3 0 52.5 3 0 52.5 3 0 52.5 7 1 43.5
51-100 4 0 43 4 0 43.5 8 1 40 8 1 40 8 1 40 12 2 37.5
101-200 4 0 43.5 8 1 40 8 1 40 13 2 35.5 13 2 35.5 18 3 33
201-300 4 0 43.5 8 1 40.5 8 1 40.5 13 2 35.5 18 3 33 23 4 32
301-400 4 0 43.5 8 1 40.5 13 2 35.5 13 2 35.5 24 4 30 29 5 30
401-500 4 0 43.5 8 1 40.5 13 2 36 19 3 31.5 24 4 30 30 5 29.5
501-600 4 0 43.5 8 1 40.5 13 2 36 19 3 31.5 24 4 30.5 36 6 28.5
601-800 4 0 43.5 8 1 40.5 13 2 36 19 3 31.5 31 5 29.5 42 7 27.5
801-1,000 4 0 44 8 1 40.5 14 2 33.5 25 4 30 37 6 28 49 8 26.5

1,001-2,000 8 1 40.5 14 2 33.5 19 3 32 31 5 30 44 7 26.5 65 10 23.5


ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

2,001-3,000 8 1 40.5 14 2 33.5 19 3 32 31 5 30 50 8 26 85 13 22.5


3,001-4,000 8 1 40.5 14 2 33.5 25 4 30 38 6 27.5 65 10 24 100 15 21.5
4,001-5,000 8 1 40.5 14 2 33.5 25 4 30 38 6 27.5 65 10 24 120 18 20.5
5,001-7,000 8 1 40.5 14 2 33.5 25 4 30 44 7 27 80 12 22.5 135 20 19.8
7,001-10,000 8 1 40.5 14 2 33.5 32 5 29 50 8 26 85 13 22.5 160 23 19.2
10,000-20,000 8 1 40.5 19 3 32 32 5 29 60 9 24.5 110 16 21 190 27 18.3
20,001-50,000 8 1 40.5 19 3 32 38 6 27.5 70 11 23 130 19 19.7 225 31 17.5
50,001-100,000 14 2 33.5 19 3 32 44 7 27 80 12 22.5 155 22 19 260 35 16.9

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected.
551

c = Allowable Defect Number for Sample.


Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
552

ตาราง ข-24 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 0.10%)


Process
0-0.002 0.03-0.020 0.21-0.40 0.41-0.60 0.61-0.80 0.81-1.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2
Lot Size Pt% Pt% Pt% Pt% Pt% Pt%
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 B1 n1+n2 C1 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

1-75 All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - -


76-95 75 0 - - - 1.5 75 0 - - - 1.5 75 0 - - - 1.5 75 0 - - - 1.5 75 0 - - - 1.5 75 0 - - - 1.5
96-130 95 0 - - - 1.4 95 0 - - - 1.4 95 0 - - - 1.4 95 0 - - - 1.4 95 0 - - - 1.4 95 0 - - - 1.4
131-200 130 0 - - - 1.2 130 0 - - - 1.2 130 0 - - - 1.2 130 0 - - - 1.2 130 0 - - - 1.2 130 0 - - - 1.2
201-300 165 0 - - - 1.1 165 0 - - - 1.1 165 0 - - - 1.1 165 0 - - - 1.1 165 0 - - - 1.1 165 0 - - - 1.1
301-350 190 0 - - - 0.96 190 0 - - - 0.96 190 0 - - - 0.96 190 0 - - - 0.96 190 0 - - - 0.96 190 0 - - - 0.96
351-400 225 0 95 320 1 0.86 225 0 95 320 1 0.86 225 0 95 320 1 0.86 225 0 95 320 1 0.86 225 0 95 320 1 0.86 225 0 95 320 1 0.86
401-500 150 0 120 370 1 0.8 150 0 120 370 1 0.8 150 0 120 370 1 0.8 150 0 120 370 1 0.8 150 0 120 370 1 0.8 150 0 120 370 1 0.8
501-600 275 0 130 405 1 0.77 275 0 130 405 1 0.77 275 0 130 405 1 0.77 275 0 130 405 1 0.77 275 0 130 405 1 0.77 275 0 130 405 1 0.77
601-800 310 0 153 465 1 0.71 310 0 153 465 1 0.71 310 0 153 465 1 0.71 310 0 153 465 1 0.71 310 0 153 465 1 0.71 310 0 153 465 1 0.71
801-1,000 350 0 185 535 1 0.66 350 0 185 535 1 0.66 350 0 185 535 1 0.66 350 0 185 535 1 0.66 350 0 185 535 1 0.66 350 0 185 535 1 0.66
1,001-2,000 430 0 240 670 1 0.58 430 0 240 670 1 0.58 430 0 240 670 1 0.58 430 0 240 670 1 0.58 430 0 240 670 1 0.58 475 0 450 925 2 0.54
2,001-3,000 465 0 265 730 1 0.36 465 0 265 730 1 0.36 465 0 265 730 1 0.56 520 0 530 1050 2 0.5 520 0 530 1050 2 0.5 520 0 530 1050 2 0.5
การควบคุมคุณภาพ

3,001-4,000 495 0 285 780 1 0.34 495 0 285 780 1 0.34 540 0 570 1110 2 0.49 540 0 570 1110 2 0.49 540 0 570 1110 2 0.49 585 0 885 1470 3 0.45
4,001-5,000 505 0 295 800 1 0.53 505 0 295 800 1 0.53 555 0 615 1170 2 0.48 555 0 615 1170 2 0.48 605 0 935 1540 3 0.44 605 0 935 1540 3 0.44
5,001-7,000 520 0 320 840 1 0.52 520 0 320 840 1 0.52 590 0 660 1250 2 0.46 655 0 1045 1700 3 0.41 655 0 1045 1700 3 0.4 680 0 1360 2040 4 0.4
7,001-10,000 540 0 335 875 1 0.51 625 0 335 875 1 0.51 625 0 715 1340 2 0.44 700 0 1120 1820 3 0.39 700 0 1120 1820 3 0.39 1250 1 1780 3030 6 0.35
10,001-20,000 555 0 345 900 1 0.5 650 0 345 900 1 0.5 720 0 1150 1870 3 0.38 740 0 1530 2270 4 0.37 1350 1 2020 3370 6 0.33 1140 1 2420 3820 7 0.32
20,001-50,000 660 0 760 1420 2 0.42 660 0 760 1420 2 0.42 770 0 1700 2470 4 0.36 1400 1 2170 3570 6 0.32 1450 1 3030 4480 8 0.31 2230 2 4550 6880 12 0.27
50,000-100,000 670 0 770 1440 2 0.42 740 0 770 1440 2 0.42 805 0 1725 2530 4 0.35 1460 1 3060 4520 8 0.31 2330 2 4910 7240 12 0.26 3590 4 7580 11270 19 0.24

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected
c = Allowable Defect Number for Sample. Allowable Defect Number for First and Second Sample Combined
n1 = Size of First Sample; Size of Second Sample entry of “All” indicates that cache place in lot is to be inspected.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
ตาราง ข-25 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 0.25%)
Process
0-0.005 0.006-0.050 0.051-0.100 0.101-0.150 0.151-0.200 0.201-0.250
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2
Lot Size Pt% Pt% Pt% Pt% Pt% Pt%
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 B1 n1+n2 C1 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

1-60 All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - -


61-100 60 0 - - - 2.5 60 0 - - - 2.5 60 0 - - - 2.5 60 0 - - - 2.5 60 0 - - - 2.5 60 0 - - - 2.5
101-200 85 0 - - - 2.1 85 0 - - - 2.1 85 0 - - - 2.1 85 0 - - - 2.1 85 0 - - - 2.1 85 0 - - - 2.1
201-300 120 0 65 185 1 1.8 120 0 65 185 1 1.8 120 0 65 185 1 1.8 120 0 65 185 1 1.8 120 0 65 185 1 1.8 120 0 65 185 1 1.8
301-400 135 0 70 205 1 1.7 135 0 70 205 1 1.7 135 0 70 205 1 1.7 135 0 70 205 1 1.7 135 0 70 205 1 1.7 135 0 70 205 1 1.7
401-500 145 0 80 225 1 1.6 145 0 80 225 1 1.6 145 0 80 225 1 1.6 145 0 80 225 1 1.6 145 0 80 225 1 1.6 145 0 80 225 1 1.6
501-600 160 0 90 250 1 1.5 160 0 90 250 1 1.5 160 0 90 250 1 1.5 160 0 90 250 1 1.5 160 0 90 250 1 1.5 175 0 100 250 2 1.4
601-800 165 0 95 260 1 1.5 165 0 95 260 1 1.5 165 0 95 260 1 1.5 165 0 95 260 1 1.5 195 0 185 260 2 1.3 195 0 185 260 2 1.3
801-1,000 180 0 105 285 1 1.4 180 0 105 285 1 1.4 180 0 105 285 1 1.4 200 0 195 393 2 1.3 200 0 195 285 2 1.3 208 0 195 285 2 1.3
1,001-2,000 205 0 120 325 1 1.3 205 0 120 325 1 1.3 205 0 120 325 1 1.2 225 0 245 465 2 1.2 220 0 240 465 2 1.2 260 0 375 325 3 1.1
2,001-3,000 210 0 125 335 1 1.3 210 0 125 335 1 1.3 210 0 125 335 1 1.1 260 0 435 695 3 1 260 0 456 435 3 1 280 0 570 335 4 0.95
3,001-4,000 210 0 130 340 1 1.3 210 0 130 340 1 1.3 210 0 130 340 1 1.1 270 0 440 710 3 1 290 0 609 340 4 0.94 290 0 680 340 4 0.94
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

4,001-5,000 215 0 130 345 1 1.3 245 0 280 525 1 1.3 245 0 280 525 1 1 275 0 440 720 3 1 300 0 615 525 4 0.92 320 1 790 525 6 0.85
5,001-7,000 215 0 135 350 1 1.3 250 0 285 535 1 1.3 250 0 285 535 1 0.95 315 0 660 975 4 0.85 545 1 795 535 6 0.82 335 1 965 535 7 0.8
7,001-10,000 235 0 290 545 2 1.1 255 0 290 545 2 1.1 255 0 290 545 2 0.94 325 0 705 1030 4 0.84 585 1 1045 545 7 0.76 620 1 1420 545 9 0.72
10,001-20,000 260 0 295 555 2 1.1 260 0 295 555 2 1.1 260 0 295 555 2 85 590 1 910 1500 6 0.76 660 1 1330 2190 9 0.68 1260 3 2000 3220 13 0.61
20,001-50,000 265 0 300 565 2 1 305 0 305 810 3 0.91 305 0 305 810 3 85 645 1 1355 2000 8 0.7 990 2 2340 1330 13 0.61 1850 5 3500 5350 21 0.35
50,001-100,000 270 0 305 375 2 1 310 0 510 820 3 0.91 310 0 510 820 3 80 665 1 1615 2280 9 0.68 1340 3 2910 4250 16 0.58 2930 6 5090 9028 33 0.48

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected
c = Allowable Defect Number for Sample. Allowable Defect Number for First and Second Sample Combined
n1 = Size of First Sample; Size of Second Sample entry of “All” indicates that cache place in lot is to be inspected.
553

Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
554

ตาราง ข-26 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 0.5%)


Process
0-0.010 0.011-0.10 0.11-0.20 0.21-0.30 0.31-0.40 0.41-0.50
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2
Lot Size Pt% Pt% Pt% Pt% Pt% Pt%
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 B1 n1+n2 C1 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

1-30 All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - -


31-50 30 0 - - - 3 30 0 - - - 5 30 0 - - - 5 30 0 - - - 5 30 0 - - - 5 30 0 - - - 5
51-75 40 0 - - - 4.6 40 0 - - - 4.6 40 0 - - - 4.6 40 0 - - - 4.6 40 0 - - - 4.6 40 0 - - - 4.6
90-100 47 0 23 70 1 4.4 47 0 11 70 1 4.4 47 0 23 90 1 4.4 47 0 23 70 1 4.4 47 0 23 70 1 4.4 47 0 23 70 1 4.4
101-150 60 0 30 90 1 3.8 60 0 10 90 1 3.8 60 0 30 90 1 3.8 60 0 30 90 1 3.8 60 0 30 90 1 3.8 60 0 30 90 1 3.8
151-200 70 0 35 105 1 3.3 70 0 15 105 1 3.3 70 0 35 103 1 3.3 70 0 35 105 1 3.3 70 0 33 105 1 3.3 70 0 33 105 1 3.3
201-300 80 0 45 125 1 3 80 0 15 125 1 3 80 0 45 120 1 3 80 0 45 123 1 3 80 0 45 125 1 3 80 0 45 125 1 3
301-400 85 0 50 135 1 2.9 85 0 90 115 1 2.9 85 0 50 135 1 2.9 85 0 30 135 1 2.9 95 0 90 185 2 2.7 95 0 90 185 2 2.7
401-500 90 0 55 143 1 2.8 90 0 55 145 1 2.8 90 0 58 145 1 2.8 100 0 100 200 2 2.6 100 0 100 200 2 2.6 100 0 100 200 2 2.6
501-600 95 0 55 130 1 2.8 95 0 55 150 1 2.8 95 0 55 150 1 2.8 105 0 105 210 2 2.5 105 0 105 210 2 2.5 105 0 105 210 2 2.5
601-800 100 0 55 135 1 2.7 100 0 55 135 1 2.7 110 0 115 225 2 2.4 110 0 115 225 2 2.4 110 0 115 225 2 2.4 120 0 115 225 2 2.2
801-1,000 100 0 60 140 1 2.7 100 0 60 160 1 2.7 115 0 125 240 2 2.3 115 0 125 240 2 2.3 125 0 185 310 3 2.2 125 0 185 310 3 2.2
1,001-2,000 105 0 60 165 1 2.6 125 0 135 200 2 2.2 125 0 135 260 2 2.2 135 0 220 355 3 2 135 0 220 355 3 2 145 0 295 440 4 1.9
การควบคุมคุณภาพ

2,001-3,000 110 0 60 170 1 2.6 130 0 145 275 2 2.1 145 0 235 380 3 1.9 145 0 235 380 3 1.9 150 0 320 470 4 1.8 275 1 475 750 7 1.6
3,001-4,000 110 0 65 175 1 2.5 130 0 155 285 2 2.1 145 0 325 480 4 1.9 155 0 325 480 4 1.8 180 1 415 695 6 1.6 295 1 600 895 8 1.5
4,001-5,000 135 0 150 285 2 2.1 135 0 150 225 2 2.1 150 0 345 520 4 1.9 165 0 345 510 4 1.7 300 1 525 825 7 1.5 430 2 700 1130 10 1.4
5,001-7,000 135 0 155 290 2 2.1 135 0 155 280 2 2.1 155 0 455 630 5 1.8 175 0 455 630 5 1.6 310 1 470 980 8 1.4 460 2 860 1320 11 1.3
7,001-10,000 135 0 160 295 2 2.1 135 0 160 295 2 2.1 175 0 460 760 6 1.6 300 1 660 760 6 1.5 465 2 785 1250 10 1.3 620 3 1120 1740 14 1.2
10,001-20,000 140 0 160 300 2 2 155 0 250 405 2 1.8 185 0 680 1000 8 1.5 320 1 680 1000 8 1.4 495 2 1175 1670 13 1.2 740 4 1420 2160 18 1.2
20,001-50,000 140 0 165 305 2 2 155 0 255 410 3 1.8 185 0 930 1280 10 1.5 350 1 930 1280 10 1.3 660 3 1490 2170 16 1.1 925 5 2045 3010 24 1.1
50,001-100,000 140 0 170 310 2 2 155 0 260 415 3 1.8 325 1 1075 1580 12 1.4 505 2 1075 1580 12 1.2 680 3 1810 2490 19 1.1 1550 9 3410 4960 38 0.9

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected
c = Allowable Defect Number for Sample. Allowable Defect Number for First and Second Sample Combined
n1 = Size of First Sample; Size of Second Sample entry of “All” indicates that cache place in lot is to be inspected.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
ตาราง ข-27 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 1.0%)
Process
0-0.02 0.03-0.20 0.21-0.40 0.41-0.60 0.61-0.80 0.81-1.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2
Lot Size Pt% Pt% Pt% Pt% Pt% Pt%
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n1 n1+n2C1 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

1-25 All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - -


25-50 22 0 - - - 7.7 22 0 - - - 7.7 22 0 - - - 7.7 22 0 - - - 7.7 22 0 - - - 7.7 22 0 - - - 7.7
51-100 33 0 17 50 1 6.9 33 0 17 50 1 6.9 33 0 17 50 1 6.9 33 0 17 50 1 6.9 33 0 17 50 1 6.9 33 0 17 50 1 6.9
101-200 43 0 22 65 1 5.8 43 0 22 65 1 5.8 43 0 22 65 1 5.8 43 0 22 65 1 5.8 43 0 22 65 1 5.8 43 0 43 90 2 5.4
201-300 47 0 28 75 1 5.5 47 0 28 75 1 5.5 47 0 28 75 1 5.5 47 0 50 105 2 4.9 55 0 50 105 2 4.9 55 0 50 105 2 4.9
301-400 49 0 31 80 1 5.4 49 0 31 80 1 5.4 55 0 60 115 2 4.8 49 0 60 115 2 4.8 55 0 60 115 2 4.8 60 0 80 140 3 4.5
401-500 50 0 30 80 1 5.44 50 0 30 80 1 5.44 55 0 65 120 2 4.7 50 0 65 120 2 4.7 60 0 95 155 3 4.3 60 0 95 155 3 4.5
501-600 50 0 30 80 1 5.4 50 0 30 80 1 5.4 60 0 65 125 2 4.6 60 0 65 125 2 4.6 65 0 100 165 3 4.2 65 0 100 165 3 4.2
601-800 50 0 35 85 1 5.4 50 0 70 130 2 4.5 60 0 70 130 2 4.5 65 0 105 170 3 4.1 65 0 105 170 3 4.2 70 0 140 210 4 3.9
801-1,000 55 0 35 85 1 5.2 55 0 75 135 2 4.4 60 0 75 135 2 4.4 65 0 110 175 3 4 70 0 150 220 4 3.8 125 1 180 305 6 3.5
1,001-2,000 55 0 35 90 1 5.1 55 0 75 140 2 4.3 75 0 120 195 3 3.8 80 0 165 245 4 3.7 135 1 200 335 6 3.3 140 1 245 385 7 3.2
7
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

2,001-3,000 65 0 80 145 2 4.2 65 0 80 145 2 4.2 75 0 125 200 3 3.7 80 0 170 250 4 3.6 150 1 265 415 3 215 2 355 570 10 2.8
3,001-4,000 70 0 80 150 2 4.1 70 0 80 150 2 4.1 80 0 175 255 4 3.5 85 0 220 305 5 3.3 160 1 330 490 8 2.8 225 2 455 680 12 2.7
4,001-5,000 70 0 80 150 2 4.1 70 0 80 150 2 4.1 80 0 180 260 4 3.4 145 0 225 370 6 3.1 225 2 375 600 10 2.7 240 2 595 835 14 2.5
5,001-7,000 70 0 80 150 2 4.1 75 0 125 200 3 3.7 80 0 180 260 4 3.4 155 0 285 440 7 2.9 235 2 440 675 11 2.6 310 3 665 975 16 2.4
7,001-10,000 70 0 80 150 2 4.1 80 0 125 205 3 3.6 85 0 180 265 4 3.3 165 0 355 520 8 2.7 250 2 585 835 13 2.4 385 4 785 1170 19 2.3
10,001-20,000 70 0 80 150 2 4.1 80 0 130 210 3 3.6 90 0 230 320 5 3.2 175 0 415 590 9 2.6 325 3 655 980 15 2.3 520 6 998 1500 24 2.2
20,001-50,000 70 0 80 155 2 4 80 0 135 215 3 3.6 95 0 300 395 6 2.9 250 0 490 740 11 2.4 340 3 910 1250 19 2.2 610 7 ### 2020 32 2.1
50,001- 75 0 80 155 2 4 85 0 180 265 4 3.3 ## 1 380 550 8 2.6 275 0 700 975 14 2.2 420 4 ### 1470 22 2.1 770 9 ### 2620 41 2

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected
c = Allowable Defect Number for Sample. Allowable Defect Number for First and Second Sample Combined
555

n1 = Size of First Sample; Size of Second Sample entry of “All” indicates that cache place in lot is to be inspected.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
556

ตาราง ข-28 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 2.5%)


Process
0-0.05 0.06-0.50 0.51-1.00 1.01-1.50 1.51-2.00 2.01-2.50
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2
Lot Size Pt% Pt% Pt% Pt% Pt% Pt%
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 B1 n1+n2 C1 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

1-10 All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - -


11-50 11 0 - - - 17.6 11 0 - - - 17.6 11 0 - - - 17.6 11 0 - - - 17.6 11 0 - - - 17.6 11 0 - - - 17.6
51-100 18 0 10 28 1 14.1 18 0 10 28 1 16.1 18 0 10 28 1 14.1 18 0 10 28 1 14.1 20 0 20 40 2 13 20 0 20 40 2 13
101-200 20 0 11 31 1 13.7 20 0 11 31 1 13.7 23 0 25 48 2 11.7 23 0 25 48 2 11.7 23 0 25 48 2 11.7 25 0 25 60 3 10.1
201-300 21 0 11 34 1 13 21 0 13 34 1 13 24 0 25 49 2 11.4 26 0 44 70 3 10.3 26 0 44 70 3 10.3 28 0 57 85 4 9.5
301-400 12 0 14 35 1 12.8 12 0 26 50 2 11.3 24 0 26 50 2 11.3 27 0 43 70 3 9.9 29 0 61 90 4 9.3 49 1 71 120 6 8.8
401-500 22 0 14 35 1 12.7 22 0 25 50 2 11.1 28 0 47 75 3 9.8 28 0 47 75 3 9.8 30 0 60 90 4 9.2 50 1 80 130 6 8.4
501-600 22 0 14 36 1 12.5 22 0 30 55 2 10.9 28 0 47 75 3 9.8 30 0 65 95 4 9.1 30 0 65 95 4 9.1 55 1 95 150 7 8
601-800 22 0 14 36 1 12.5 22 0 29 55 2 10.8 28 0 47 75 3 9.8 31 0 69 100 4 8.8 55 1 85 140 6 8 60 1 115 175 8 7.6
801-1,000 26 0 29 55 2 10.8 26 0 29 55 2 10.8 29 0 46 75 3 9.6 32 0 68 100 4 8.7 60 1 100 160 7 7.8 85 2 120 206 9 7.2
1,001-2,000 27 0 33 60 2 10.5 27 0 33 60 2 10.5 33 0 72 105 4 8.3 60 1 90 150 6 7.6 65 1 150 215 9 7 95 2 210 306 13 6.5
2,001-3,000 27 0 33 60 2 10.5 30 0 50 80 3 9.3 33 0 72 105 4 8.3 65 1 115 180 7 7.2 90 2 170 260 11 6.8 125 3 265 390 16 6
การควบคุมคุณภาพ

3,001-4,000 27 0 33 60 2 10.5 31 0 49 80 3 9.1 33 0 77 110 4 8.2 65 1 140 205 8 6.8 95 2 205 300 12 6.4 185 5 330 535 21 5.5
4,001-5,000 27 0 33 60 2 10.5 31 0 49 80 3 9.1 36 0 94 130 5 7.6 70 1 160 230 9 6.5 100 2 255 355 14 6 220 6 410 630 24 5.2
5,001-7,000 28 0 32 60 2 10.3 31 0 49 80 3 9.1 36 0 94 130 5 7.7 75 1 190 265 10 6.2 130 3 265 395 15 5.7 255 7 405 750 28 5
7,001-10,000 28 0 32 60 2 10.3 31 0 49 80 3 9.2 36 0 94 130 5 7.7 100 2 195 295 11 6 140 3 355 495 18 5.3 325 9 660 990 36 4.7
10,001-20,000 28 0 32 60 2 10.3 31 0 49 80 3 9.2 36 0 94 130 5 7.8 105 2 215 320 12 5.9 170 4 380 550 20 5.2 360 10 830 1190 43 4.6
20,001-50,000 28 0 32 60 2 10.3 33 0 87 120 4 7.7 70 1 145 215 8 6.6 105 2 245 350 13 5.8 205 5 485 690 25 5 415 11 1145 1560 54 4.3
50,001-100,000 28 0 37 60 2 10.2 33 0 92 125 4 7.6 70 1 170 240 9 6.4 110 2 293 405 15 5.6 245 6 610 855 30 4.7 510 14 1370 1880 65 4.2

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected
c = Allowable Defect Number for Sample. Allowable Defect Number for First and Second Sample Combined
n1 = Size of First Sample; Size of Second Sample entry of “All” indicates that cache place in lot is to be inspected.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
ตาราง ข-29 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 3.0%)
Process
0-0.06 0.07-0.60 0.61-1.20 1.21-1.80 1.81-2.40 2.41-3.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2
Lot Size Pt% Pt% Pt% Pt% Pt% Pt%
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 B1 n1+n2 C1 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

1-10 All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - -


11-50 10 0 - - - 19 10 0 - - - 19 10 0 - - - 17 10 0 - - - 19 10 0 - - - 19 10 0 - - - 19
51-100 16 0 9 25 1 16.4 16 0 9 25 1 16.4 16 0 9 25 1 16.4 17 0 17 34 2 15.8 17 0 17 34 2 15.8 17 0 17 34 2 15.8
101-200 17 0 9 26 1 16 17 0 9 26 1 16 17 0 9 26 1 16 20 0 21 41 2 13.7 22 0 33 55 3 12.4 22 0 33 55 3 12.4
201-300 18 0 10 28 1 15.5 18 0 10 28 1 15.5 21 0 23 44 2 13.3 23 0 37 60 3 12 23 0 37 60 3 12 24 0 51 73 4 11.1
301-400 18 0 11 29 1 15.2 21 0 24 45 2 13.2 23 0 37 60 3 12 23 0 37 60 3 12 25 0 55 80 4 10.8 42 1 63 105 6 10.4
401-500 18 0 11 29 1 15.2 21 0 25 46 2 13 24 0 36 60 3 11.7 24 0 36 60 3 11.7 25 0 55 80 4 10.8 46 1 55 125 7 9.5
501-600 18 0 12 30 1 15 21 0 25 46 2 13 24 0 41 65 3 11.5 26 0 54 80 4 10.7 46 1 69 115 6 9.7 48 1 97 145 8 8.2
601-800 21 0 25 46 2 13 21 0 25 46 2 13 24 0 41 65 3 11.5 26 0 54 80 4 10.7 49 1 81 130 7 9.4 50 1 115 165 9 8.9
801-1,000 21 0 26 47 2 12.8 21 0 26 47 2 12.8 25 0 40 65 3 11.4 27 0 58 85 4 10.3 49 1 86 135 7 9.2 70 2 120 190 10 9.4
1,001-2,000 22 0 26 48 2 12.6 22 0 26 48 2 12.6 27 0 58 85 4 10.3 49 1 76 125 6 9.1 50 1 150 200 10 8 100 3 180 280 12 8
ตารางแผนการชักสิ่งตัวอย่างดอดจ์-โรมิก

2,001-3,000 22 0 26 48 2 12.6 25 0 40 65 3 11.4 28 0 62 90 4 10.4 50 1 95 145 7 8.7 50 2 165 245 12 7.6 130 4 260 390 19 7.6
3,001-4,000 23 0 26 49 2 12.4 25 0 45 70 3 11 29 0 76 105 5 9.6 55 1 110 165 8 8.5 105 3 200 305 14 7 155 5 330 455 25 7
4,001-5,000 23 0 26 49 2 12.4 26 0 44 70 3 11 30 0 75 105 5 9.5 60 1 135 195 9 7.8 110 3 225 335 15 6.7 215 7 390 605 30 7.2
5,001-7,000 23 0 27 50 2 12.2 26 0 44 70 3 11 30 0 80 110 5 9.4 60 1 165 225 10 7.3 110 3 250 360 16 6.5 270 9 595 775 34 6.9
7,001-10,000 23 0 27 50 2 12.2 27 0 43 70 3 11 30 0 80 110 5 9.4 85 2 180 245 11 7.2 113 3 290 405 18 6.5 285 9 680 965 45 6.5
10,001-20,000 23 0 27 50 2 12.2 27 0 43 70 3 11 31 0 94 125 6 9.2 85 2 180 265 12 7.2 140 4 315 453 20 6.3 315 10 805 1120 47 5.3
20,001-50,000 23 0 27 50 2 12.2 28 0 67 95 4 9.7 55 1 120 175 8 8 85 2 205 290 13 7 170 5 420 590 26 6 390 13 940 1230 56 5.2
50,001-100,000 23 0 27 50 2 12.2 31 0 84 115 5 9 60 1 140 200 9 7.6 90 7 245 335 14 6.8 200 6 505 705 30 5.7 445 15 1105 1550 65 2.1

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected
c = Allowable Defect Number for Sample. Allowable Defect Number for First and Second Sample Combined
557

n1 = Size of First Sample; Size of Second Sample entry of “All” indicates that cache place in lot is to be inspected.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
558

ตาราง ข-30 คอดจ์-โรมิคสาหรับแผนการเลือกตัวอย่างสองชุดจาก AOQL (AOQL= 10.0%)


Process
0-0.20 0.21-2.00 2.01-4.00 4.01-6.00 6.01-8.00 8.01-10.00
Average%
Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2 Trial 1 Trial 2
Lot Size Pt% Pt% Pt% Pt% Pt% Pt%
n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2 n1 c1 n2 n1+n2 c2

1-3 All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - - All 0 - - - -


4-15 3 0 - - - 50 3 0 - - - 50 3 0 - - - 50 3 0 - - - 50 3 0 - - - 50 3 0 - - - 50
16-50 5 0 3 8 1 53.5 5 0 3 8 1 53.5 5 0 3 8 1 53.5 6 0 6 12 2 48 6 0 6 12 2 48 6 0 6 12 2 48
51-100 5 0 3 8 1 55 6 0 8 14 2 43 6 0 8 14 2 43 7 0 11 18 3 38.5 7 0 11 18 3 38.5 7 0 16 23 4 36.5
101-200 5 0 4 9 1 52 7 0 7 14 2 42 7 0 12 19 3 42 8 0 16 24 4 35.5 13 1 20 33 6 33.5 14 1 24 38 7 32
201-300 7 0 7 14 2 42.5 7 0 7 14 2 42.5 7 0 13 20 2 42.5 8 0 17 25 4 35 14 1 26 40 7 31.5 19 2 29 48 9 31
301-400 7 0 7 14 2 42.5 7 0 7 14 2 42.5 8 0 17 25 3 42.5 8 0 22 30 5 34 15 1 30 45 8 31 21 2 44 65 12 29
401-500 7 0 8 15 2 40 7 0 8 15 2 40 8 0 18 26 3 40 15 1 23 38 6 30.5 16 1 39 55 9 28.5 22 2 53 75 13 27
501-600 7 0 8 15 2 40 8 0 13 21 3 35 8 0 18 26 3 35 16 1 28 44 7 28.5 22 2 38 60 10 27.5 28 3 52 80 14 26.5
601-800 7 0 8 15 2 40.5 8 0 13 21 3 35 8 0 18 26 3 35 16 1 28 44 7 29 22 2 43 65 11 27 29 3 56 85 15 26
801-1,000 7 0 8 15 2 40.5 8 0 13 21 3 35 9 0 18 27 4 35 16 1 34 50 8 28 24 2 56 80 13 25.5 36 4 69 105 18 24.5
1,001-2,000 7 0 8 15 2 40.5 8 0 14 22 3 34 9 0 23 32 4 34 17 1 38 55 9 27.5 24 2 61 85 14 25 45 5 95 140 23 23
การควบคุมคุณภาพ

2,001-3,000 7 0 8 15 2 41 8 0 14 22 3 34 9 0 24 33 4 34 17 1 48 65 10 26 33 3 72 105 16 23 50 6 115 165 27 22


3,001-4,000 7 0 8 15 2 41 8 0 14 22 3 34.5 9 0 24 33 5 34.5 24 2 46 70 11 25 41 4 99 140 21 21.5 70 8 150 220 34 20.5
4,001-5,000 7 0 8 15 2 41 8 0 14 22 3 35 10 0 29 39 5 35 26 2 54 80 12 23.5 44 4 111 155 22 20 80 9 195 275 41 19
5,001-7,000 7 0 8 15 2 41 9 0 18 27 4 32.5 16 1 29 45 5 32.5 27 2 63 90 13 22.5 50 5 120 170 24 19.5 90 10 240 330 47 18
7,001-10,000 7 0 8 15 2 41 9 0 18 27 4 32.5 17 1 38 55 5 32.5 27 2 68 95 14 22 60 6 145 205 28 18.5 110 12 265 375 53 17.5
10,001-20,000 7 0 8 15 2 41 9 0 18 27 4 32.5 17 1 38 55 6 32.5 28 2 77 105 15 22 70 7 165 235 32 18 125 14 320 445 62 17
20,001-50,000 7 0 8 15 2 41 9 0 18 27 4 32.5 18 1 42 60 8 32.5 28 2 87 115 17 21.5 80 8 205 285 39 17.5 140 16 355 495 69 16.8
50,001-100,000 8 0 14 22 3 33.5 9 0 25 34 5 30 18 1 52 70 9 30 36 3 99 135 20 21 85 8 245 330 44 17 150 17 390 540 77 16.6

n = Size of sample; entry of “All” indicates that each place in lot is to be inspected
c = Allowable Defect Number for Sample. Allowable Defect Number for First and Second Sample Combined
n1 = Size of First Sample; Size of Second Sample entry of “All” indicates that cache place in lot is to be inspected.
Pt = Lot Tolerance per Cost Defective commending to a Comer’s Risk (Pc) = 0.10
ภาคผนวก ค
แบบฟอร์มวิเคราะห์ขอ้ มูล
560 การควบคุมคุณภาพ
ตาราง ค-1 แบบฟอร์มเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลแผนภูมิควบคุม

ชิ้นงาน กระบวนการ ข้อกาหนด ชนิดแผนภูมิ


หมายเลข ฝ่าย เครื่องมือวัด หน่วยวัด
เครื่องจักร พารามิเตอร์ หมายเหตุ
วันที่
เวลา
ผู้รับผิดชอบ
1
ค่า 2
วัด/
3
ค่า
นับ 4
5
ผลรวม
ค่าเฉลี่ย
พิสัย
แบบฟอร์มวิเคราะห์ข้อมูล
561
f f f%

Scale 99.997 99.87 99.5 99 98 95 90 80 70 60 50 40 30 20 10 5 2 1 0.5 0.13


562

ที่มา: ศุภชัย นาทะพันธ์, 2551


x
ตารางที่ ค-2 แบบฟอร์มวิเคราะห์สมรรถนะเครื่องจักร

X – 4s x + 4s
x
0.03 0.13 0.5 1 2 5 10 20 30 40 50 60 70 80 90 95 98 99 99.5 99.87
99.997
value value value value value value value value value value Dimension Specified Mean Specified Tolerance
การควบคุมคุณภาพ

1 6 11 16 21 26 31 36 41 46
Action to be taken Estimated Mean Estimated Capability
2 7 12 17 22 27 32 37 42 47 Of Tolerance
Top %
3 8 13 18 23 28 33 38 43 48 Bottom %
Capable Not Capable
4 9 14 19 24 29 34 39 44 49

5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 Action to be taken
ภาคผนวก ง
เฉลยแบบฝึกหัด
564 การควบคุมคุณภาพ
เฉลยแบบฝึกหัด 565

บทที่ 1

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1

1) 1.1 คือ ความถูกต้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (Fitness for use)


1.2 คือ การควบคุมคุณภาพเป็นการบริหารงานในด้านการควบคุมวัตถุดิบ และการผลิต เพื่อเป็นการ
ป้องกันมิให้ ผลิตภัณฑ์ที่สาเร็จออกมามีข้อบกพร่อง และเสียหายได้
1.3 คือ การค้นหาส่วนประกอบ การวัดผล การตัดสินใจ การดาเนินการพิจารณาในเรื่องของคุณภาพ
ว่าเป็นไปตามข้อกาหนดหรือไม่

2) ลักษณะคุณภาพอาจแบ่งได้เป็น 4 ชนิด คือ


1. คุณภาพที่บอกกล่าว (Stated Quality) หมายถึง คุณภาพที่กาหนดขึ้นระหว่างผู้ซื้อ (Customer)
และ ผู้ขาย (Distributor) ผู้ซื้อ (ลูกค้า) จะเป็นผู้กาหนดว่าอยากจะได้สินค้าที่มีคุณภาพอย่างนั้นอย่างนี้
2. คุณภาพแท้จริง (Real Quality) หมายถึง คุณภาพในตัวผลิตภัณฑ์ที่เริ่มตั้งแต่ผลิต และนา
ผลิตภัณฑ์ไปใช้งานจนกระทั่งผลิตภัณฑ์หมดอายุลง ระดับคุณภาพแท้จริง จะมีคุณภาพสูงเพียงใดจะขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบของกระบวนการ เช่น การออกแบบ วัตถุดิบที่นามาใช้ และกระบวนการผลิต ในกระบวนการ
ผลิตผู้ผลิตจะต้องทาให้ดี
3. คุณภาพที่โฆษณา (Advertised Quality) หมายถึง คุณลักษณะต่าง ๆ ของสินค้า ที่ผู้ผลิตเป็นผู้
กาหนดเอง และก็โฆษณาทั่วไป อาจจะวิธีการโฆษณา (Advertising) ตามวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วารสาร
ตีพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น
4. คุณภาพตามประสบการณ์ที่เคยใช้ (Experienced Quality) หมายถึง คุณภาพที่เกิดขึ้นจาก
ประสบการณ์ของผู้ใช้สินค้าเอง คุณภาพจะดีไม่ดีอย่างไรขึ้นอยู่กับผู้ใช้ เช่น การผลิตน้ายาสระผม ผู้ผลิต
อาจจะผลิตสูตรสาหรับผมแห้ง ผมขาดการบารุงรักษา สูตรสาหรับหนังศีรษะมีรังแค สูตรแก้คัน สูตรป้องกัน
ผมร่วง เป็นต้น

3) ในการสร้างความพอใจต่อผู้ซื้อ ผู้ใช้ ผู้ผลิตต้องเข้าใจความพึงพอใจพื้นฐาน คือ ตัวผลิตภัณฑ์ ซึ่งต้อง


เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ความเหมาะสมในการใช้งาน (Fitness for use) และ หลักความคาดหมายด้าน
คุณภาพทั้ง 3 ประการ คือ 1. คุณลักษณะคุณภาพ (Quality Characteristics) 2. ต้นทุน (Cost) ซึ่งเป็นความ
คาดหมายด้านราคาของผู้ซื้อและผู้ใช้ และ 3. ความคาดหมายด้านเวลาส่งมอบ (Delivery) ดังนั้นผู้ผลิตจึงต้อง
ปรับ ปรุ งและดาเนิ นการให้ตรงตามความคาดหมาย ความพึงพอใจจึงจะเกิดต่อผู้ซื้อ ผู้ ใช้ ตลอดจนสั งคม
(บุคคลที่ 3 ที่มิใช่ผู้ผลิตและผู้ซื้อ)
566 การควบคุมคุณภาพ

4) 1. สมรรถนะ (Performance)
หมายถึง หน้าที่หลักของผลิตภัณฑ์ที่สามารถปฏิบัติงานได้ตามข้อกาหนด เช่น ในกรณีรับโทรทัศน์
จะหมายถึงความคาดหมายด้านความคมของภาพความนุ่มของเสียงที่ปรากฏ ฯลฯ
2. หน้าที่เสริม (Feature)
หมายถึง หน้าที่ด้านรองของผลิตภัณฑ์ เช่น ในกรณีเครื่องรับโทรทัศน์ อาจจะเป็นความคาดหมาย
ด้านการมีรีโมท ควบคุมเพื่อความสะดวกในการใช้งาน เป็นต้น
3. ความไว้วางใจ (Reliability)
หมายถึง ความคงเส้นคงวาของสมรรถนะ
4. การตรงต่อมาตรฐานหรือข้อกาหนด (Conformance)
หมายถึง เป็นไปตามข้อกาหนดหรือมาตรฐานอุตสาหกรรม
5. ความทนทาน (Durability)
อายุการใช้งานนานเท่าใด รวมถึงการซ่อมแซม
6. ความสามารถในการบริการ (Serviceability)
ความง่ายในการซ่อมบารุงผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุง เวลาในการซ่อมบารุง ตลอดจน
ความสุภาพและความเป็นมิตรในการให้บริการ ฯลฯ
7. สุนทรียภาพ (Aesthetics)
คือ ความมีรสนิยม ความสวยงาม หรือการที่ออกแบบตรงตามความสนใจของกลุ่มเป้าหมาย และ
ได้รับความนิยม
8. ความมีชื่อเสียง (Reputation)
คือ ความเป็นที่นิยมในตัวสินค้ามาพร้อมกับภาพลักษณ์ และความไว้วางใจของลูกค้า

5) ควบคุมคุณภาพให้ไดมาตรฐานตามที่กาหนดไว

6) กรรมวิธีการผลิต

7) คุณภาพที่มีเสนห (Attractive Quality)

8) ด้าน Attractive

9) QA เน้นกระบวนการ หรือวิธีการ QC เน้นผลลัพธ์ และ QC เป็นส่วนหนึ่งของ QA

10) ตรวจจับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ดี

11) Prevention costs


เฉลยแบบฝึกหัด 567

12) ลดความผันแปรของกระบวนการ

13) วิวัฒนาการด้านคุณภาพ จะนามาสรุปย่อๆ ดังตาราง โดยจะแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ 1. ยุคก่อน


สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยอยู่ในระบบเกษตรกรรม ต่อมาเปลี่ยนการผลิตเชิงอุตสาหกรรมในรูปแบบช่างฝีมือ
2. ยุคระหว่างและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และ 3. ในยุคปัจจุบัน

ปี วิวัฒนาการ
ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
ค.ศ.18-19 นาเครื่องจักรมาใช้แทนแรงงานคน และเกิดทฤษฏีการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของ เฟเดอริก
เทเลอร์ (Federic Taylor)
ค.ศ.1924 Dr.Walter A. Shewhart แห่ง Bell Lab. ได้ประยุกต์ทฤษฏีการทดสอบสมมุติฐาน
สาหรับลดสัดส่วนของเสีย (Defective Fraction: p) ในรูปของแผนภูมิควบคุม
ค.ศ.1925 Dodge และ Romig แห่ง Bell Lab. ได้พัฒนาแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
(Acceptance Sampling Plan)

ยุคระหว่างและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ค.ศ.1941 สหรัฐอเมริกาประกาศเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 กับฝ่ายพันธมิตร จึงระดมนักวิทยาศาสตร์
จาก Bell Lab. มาควบคุมคุณภาพการผลิตอาวุธได้พัฒนาแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการ
ยอมรับ เพื่อการทดแทนการตรวจสอบ 100% โดยอาศัยหลัก เกณฑ์ ของความน่าจะเป็น ซึ่ง
ต่อ การพั ฒ นาเป็ น มาตรฐาน MIL–STD–105A และ ยั งมีก ารพัฒ นาเทคนิ คการควบคุ ม
คุณภาพโดยอาศัยสถิต (SQC) อย่างจริงจังผ่านการฝึกอบรมบุคลากรจากผู้เชี่ยวชาญ จาก
Bell Lab.
ค.ศ.1945 ฟิลิป ครอสบี้ ( Philip Crosby) ได้เสนอแนวความคิดใหม่เกี่ยวกับคุณภาพว่าเป็น “การสร้าง
ความพึงพอใจต่อลูกค้า” และ Deming ได้กาหนดให้คุณภาพมี 2 มุมมอง คือ คุณภาพด้าน
การออกแบบ และคุณภาพด้านความถูกต้องในการผลิต

ยุคปัจจุบนั
ค.ศ.1960 – ปัจจุบัน อุตสาหกรรมในโลกเสรีได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดการแข่งขันในตลาดอย่าง
มากโดย ดร.จูราน เป็นบุคคลที่มีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาคุณภาพ และเป็นบุคคลที่อยู่
เบื้องหลังฐานของอุตสาหกรรมญี่ปุ่น อีกทั้งเป็นรากฐานคุณภาพที่เกิดจากการตระหนักถึง
ความสาคัญของผู้บริหารระดับสูง

14) 14.1 ระบบการบริหารงาน CWQC (Company Wide Quality Control) หมายถึง กิจกรรมในการ
ออกแบบ การผลิต และส่งมอบสินค้าและบริการอย่างประหยัดด้วยคุณภาพที่ลูกค้าต้องการ โดยยึดหลักเน้น
ถึงความสาคัญของลูกค้า ในขณะเดียวกันจะคานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมองค์กรด้วย
568 การควบคุมคุณภาพ

14.2 ระบบการบริหารงาน TQM (Total Quality Management) หมายถึง การบริหารธุรกิจ ที่มี


จุดประสงค์ให้เกิดการประกันคุณภาพ หรือกล่าวง่ายๆ คือ เป็นการบริหารธุรกิจเพื่อให้ได้กาไรอย่างเป็นธรรม
(โดยผ่านการสร้างความพึงพอใจให้กับบุคลากรทุกฝ่ายที่มีส่วนได้เสียกับธุรกิจ)
14.3 ระบบการบริหารงาน ISO 9000 เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับระบบคุณภาพและการประกันคุณภาพ
ลักษณะที่สาคัญของ ISO 9000 มีดังนี้
(1) เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับระบบงาน มีความเชื่อว่า “คุณภาพเป็นผลผลิตของระบบงาน”
(2) เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวกับทุกแผนกงาน
(3) ให้ความสาคัญในงานด้านเอกสาร
(4) เน้นการปฏิบัติตามข้อกาหนดที่ได้เขียนไว้ในเอกสาร
(5) เป็ น มาตรฐานระบบงานที่เปิ ดโอกาสให้ มีก ารปรับปรุงวิ ธีปฏิ บัติ ขั้ นตอนการผลิ ตและ
มาตรฐานการทางานได้ตลอดเวลา

15) ต้นทุนคุณภาพ (Cost of Quality: COQ) คือ ผลรวมของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในองค์กรเพื่อการป้องกัน


การผลิตสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
1. ต้นทุนการป้องกัน (Prevention Costs) ต้นทุนการป้องกันจะมีค่าใช้จ่ายในการวางแผนที่เกิดขึ้น
โดยองค์กร เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีข้อบกพร่องใดเกิดขึ้นในกระบวนการขั้นตอน เช่น การออกแบบ การพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ การผลิต และการส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือบริการ
2. ต้นทุนการประเมินคุณภาพ (Appraisal Costs) เกิดจากการตรวจสอบหรือประเมินสินค้าบริการ
ในขั้นตอนต่างๆ ในระหว่างการผลิตหรือการส่งมอบ ต้นทุนนี้เกิดจากขาดความมั่นใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ์
หรือบริการอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเนื่องมาจากวัตถุดิบที่เข้ามาหรือกระบวนการ เช่น ต้องมีการตรวจสอบ
(Inspected) วัตถุดิบที่รับเข้ามา เนื่องจากฝ่ายรับวัตถุดิบ (Receiver) ไม่มั่นใจในคุณภาพของวัตถุดิบที่รับเข้า
มา
3. ต้นทุนความเสียหาย (Failure Costs) ต้นทุนความเสียหายเกิดขึ้นโดยองค์กรเอง เนื่องจาก
ผลิตภัณฑ์ หรือการบริการไม่ตรงตามข้อกาหนด และผลิตภัณฑ์นั้นต้องนากลับมาทาซ้า ต้นทุนความเสียหายมี
สาเหตุมาจากความเสียหายขององค์กรในการควบคุมผลิตภัณฑ์ที่มีความบกพร่อง ซึ่งนาไปสู่ความสูญเสีย
ชื่อเสียงและความภักดีต่อสินค้า หากลูกค้า 1 คนไม่พึงพอใจในสินค้าหรือบริการขององค์กรก็จะบอกต่อ ทาให้
เกิดความสูญเสียในลูกค้าปัจจุบันรวมถึงลูกค้าในอนาคต

16) สร้างความพึงพอใจต่อลูกค้า

17) กาหนดเป็นนโยบายของบริษัทโดยผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูงก่อน

18) สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

19) ต้นทุนความล้มเหลวภายใน (Internal failure costs)


เฉลยแบบฝึกหัด 569

20) เพื่อลดความซับซ้อนในการบริหารงาน

21) เกิดจากความไม่มั่นใจในคุณภาพของวัตถุดิบที่รับเข้ามา การตรวจสอบในระหว่างกระบวนการผลิต


หลายครั้ง เนื่องจากคุณภาพของกระบวนการผลิตมีความน่าสงสัย ดังนั้นองค์กรควรปรับปรุงคุณภาพในหมู่
ผู้ผลิตหรือซัพพลายเออร์ทาให้ต้นทุนการตรวจสอบลดลงได้ อย่างไรก็ตามต้นทุนการประเมินคุณภาพได้รวมถึง
การตรวจสอบวัตถุดิบน าเข้า การตรวจสอบผลิ ตภัณฑ์ภ ายใน การประเมินซัพพลายเออร์ การตรวจสอบ
ระหว่างกระบวนการผลิต และการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย

22) สามารถขจัดได้ด้วยการกาจัดต้นทุนความเสียหายภายนอก ได้แก่ ค่าใช้จ่ายเมื่อผลิตสินค้าที่บกพร่อง


ออกมา การรับข้อร้องเรียนของลูกค้าและการคืนสินค้า การซ่อมแซมหรือรับเปลี่ยนสินค้า และหนี้สินจาก
สินค้า ซึ่งเป็นผลจากการปฏิบัติตามกฎหมาย เป็นต้น

23) สามารถลดต้นทุนความเสียหายภายในโดยการนาระบบการควบคุมกระบวนการแบบอัตโนมัติมาใช้
ควบคุมผลผลิต

24) สาเหตุสาคัญคือ
1. ความเข้าใจในแนวความคิดของผู้บริหาร เนื่องจากนักบริหารของอุตสาหกรรมไทยจะขาดทักษะใน
การบริหารคุณภาพ โดยมอบหมายให้ผู้จัดการด้านการประกันคุณภาพหรือการควบคุมคุณภาพมาทาหน้าที่
แทน และตนเองไม่มีส่วนร่วม จึงทาให้การควบคุมคุณภาพเป็นกิจกรรมของฝ่ายความคุมคุณภาพเท่านั้น ไม่
สามารถดาเนินการทั่วทั้งองค์กรได้
2. พนั กงานระดั บ จั ดการขาดทักษะ “การสอนงาน” โดยปกติพนัก งานระดับ การจัด การใน
อุตสาหกรรมมักเป็นบุคคลที่จบปริญญาตรีจากสถาบันอุดมศึกษา ไม่มีประสบการณ์ในการจัดการ โดยเฉพาะ
ขาดความเข้าใจในงาน “การสอนงาน (Supervise)” ที่เป็นหน้าที่หลัก จึงทาให้พ นักงานระดับนี้ไม่สามารถ
เป็นที่ปรึกษาได้ กล่าวคือ อาจจะเป็น “ผู้สั่ง” ที่ดีได้แต่ไม่สามารถเป็น “ผู้สอน” ที่ดีได้ จึงทาให้ “สั่งสอน”
ไม่ได้ เพียงแต่ดาเนินการไปตามหน้าที่เท่านั้น
3. การขาดสารสนเทศของพนักงานระดับจัดการ ในงานของพนักงานระดับจัดการมีความจาเป็นต้อง
พยายามค้นคว้าข้อเท็จจริงจากข้อมูลและตรรกะต่างๆ แต่ทว่าพนักงานระดับจัดการในอุตสาหกรรมมักจะมี
ทักษะเพียงแต่ “การคานวณ” แต่ไม่สามารถตีความหมายได้จึงทาให้ไม่สามารถเป็นที่ปรึกษาที่ดีได้

25) ลูกค้าภายในคืออีกแผนกหนึ่งในบริษัท เช่น ในโรงงานผลิตรถยนต์ เราอยู่ในแนวการผลิตที่ทาการ


ประกอบอยู่ตรงส่วนหนึ่งๆ อาจมีชิ้นที่ผลิตจากอีกแผนกหนึ่งส่งมาให้เรา แผนกนั้นจะทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตส่วน
เราเป็นลูกค้า ซึ่งจะต้องระบุข้อกาหนดว่าต้องการชิ้นส่วนอย่างไร หรือรวมถึงแผนกต่างๆ ที่ใช้ผลิตภัณฑ์ของ
เรา เช่น โรงงานเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนหนึ่งจะผลิตให้พนักงานภายในบริษัทใช้ พนักงานในบริษัท
จะถือเป็นลูกค้าของเราด้วย
570 การควบคุมคุณภาพ

บทที่ 2

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 2
1) 0.57

2) 0.051

3) 0.4074

4) 4.1 0.3374 4.2 0.1205

5) 0.1353

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2

1) สถิติ (Statistics) หมายถึง ศาสตร์สาหรับการตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน หรือกล่าวอิกนัยหนึ่ง


คือศาสตร์ที่ใช้อธิบายพฤติกรรมของความผันแปรที่เกิดขึ้น โดยกระบวนการตัดสินใจทางสถิติประกอบด้วย
ขั้นตอนสาคัญ 5 ขั้นตอน คือ การนิยามประชากร การรวบรวมข้อมูล การนาเสนอและการวิเคราะห์ข้อมูล กา
ตีความหมาย และนาผลสถิติไปปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาในงานวิศวกรรม อาจนิยามประชากรได้ว่าคือ การรวบรวม
สิ่งที่สนใจไว้
สถิติสามารถจาแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) หรือสถิติเชิงนิรนัย (Deductive Statistics) หมายถึง
สถิติที่บรรยาย และวิเคราะห์ทั้งประชากร
2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) หรือสถิติเชิงอุปนัย (Inductive Statistics) หมายถึง
สถิติทีสรุปผลข้อมูลทั้งหมดหรือประชากร (Population) จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีจานวนจากัดหรือตัวอย่าง
(Sample) โดยประยุกต์ความน่าจะเป็นเพื่อการสรุปผล การสรุปผลโดยการอนุมานไม่สามารถที่จะอธิบาย
ผลลัพธ์ที่สมบูรณ์ทั้ง 100% ได้

2) วิธีการที่ประสบความสาเร็จที่สุดสาหรับการบรรลุเกี่ยวกับคุณลักษณะด้านคุณภาพคือวิธีการทางสถิติ
บ่อยครั้งที่วิธีการทางสถิติอ้างถึงเครื่องมือสาหรับการจัดการกับปัญหาด้านคุณภาพ

3) 1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) หมายถึง ข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพ คุณลักษณะ หรือ


คุณสมบัติ มักเกี่ยวข้องกับตัวแปรที่แสดงกลุ่ม หมวดหมู่ (Categorical variables) เช่น เพศ เชื้อชาติ ศาสนา
เฉลยแบบฝึกหัด 571

2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) หมายถึงข้อมูลที่อยู่ในรูปตัวเลข (Numerical data) ที่


แสดงถึงปริมาณ อาจเป็นค่าไม่ต่อเนื่อง (Discrete) คือ ค่าจานวนเต็มหรือจานวนนับ เช่น จานวนบุตร หรือ
ค่าต่อเนื่อง (Continues) คือ ค่าที่มีจุดทศนิยมได้ เช่น ความสูง น้าหนัก อายุ อัตราเงินเฟ้อ เป็นต้น

4) 0.57

5) 0.9890

6) 6.1 0.2461 6.2 0.9101 6.3 0.9804

7) 0.0758 หรือ 7.58%

8) 0.0879 หรือ 8.79%

9) 0.9138

10) 10.1 0.9772 10.2 0.8185

11) 11.1 0.7636 10.2 0.1625 10.3 0.0582

12) 1. ใบตรวจสอบ 2. ฮิสโตแกรม 3. พาเรโต


4. แผนผังก้างปลา 5. แผนภูมิควบคุม 6. แผนภาพการกระจาย
7. กราฟ

13) ใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะการกระจายของข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น ถ้าข้อมูลมีการแปรผันมากให้ปรับ


ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลใหม่ ซึ่งจะส่งผลให้คุณภาพที่ได้ตรงตามข้อกาหนดในการผลิต

14) ข้อมูลดังกล่าวมาจากแหล่งความผันแปร 2 แหล่งที่มีความแตกต่างกันชัดเจน โดยอาจจะหมายถึง


เครื่ องจั กร กะงาน วัตถุดิบ ในกรณีนี้ มีค วามจาเป็นต้องแยกข้อมูล ทั้งสองชุดออกจากกั นก่อนที่จะมีการ
วิเคราะห์ใดๆต่อไป

15) การวิเคราะห์แผนภูมิพาเรโตประกอบด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือ


1. ระบุประเภทของปัญหาที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมา ตัวอย่างเช่น ระบุสาเหตุหรือชนิดของ
ข้อบกพร่อง
2. รวบรวมข้อมูลและคานวณความถี่ของการสังเกตปัญหาแต่ละประเภทในช่วงเวลาที่เหมาะสม
572 การควบคุมคุณภาพ

3. เรียงลาดับความสาคัญของปัญหาซึ่งขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์ของความถี่ที่พบ
4. นาเสนอข้อมูลอย่างชัดเจนโดยระบุประเภทปัญหาที่สาคัญเพียง 2-3ประเภท ซึ่งจะต้องคานึงถึง
ความแปรปรวนของข้อมูล

16) แผนภาพแสดงเหตุและผล

17) แผนภาพฮิสโตแกรม

18) Check sheet

19) แผนภาพพาเรโต

20) การตีความหมายกฎ 80–20 ที่บังเอิญร่วมกันได้ 100 แท้จริงอาจจะเป็น 80–25 หรือ 75–30 ก็ได้
โดย “80” ในกฎ 80–20 นั้น แทนความหมายของคาว่า “มีความสาคัญมาก” ซึ่งอาจจะเท่ากับ 82, 75, 70
หรือแม้แต่ 65 ก็ได้ โดยไม่จาเป็นต้อง 80% เสมอไปรวมถึง “20” ในกฎ 80-20 ก็จะแทนความหมายคาว่า มี
จานวนเพียงเล็กน้อย ซึ่งอาจจะเท่ากับ 15, 18, 25, 30 หรือ แม้แต่ 35% ก็ได้โดยไม่ต้องมีความจาเป็นจะต้อง
เท่ากับ 20% เสมอไป

21)

พบว่าสาเหตุที่ควรวิเคราะห์อันดับแรกตามกฎ 80-20 คือ ปัญหาการหมุนไม่ถูกต้องและแผ่นรองพื้น


แตก
เฉลยแบบฝึกหัด 573

22) แผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์อย่างมีระบบระหว่างผลที่แน่นอนประการหนึ่งกับสาเหตุต่างที่เกี่ยวข้อง

23) 1) ห้ามวิพากษ์วิจารณ์ ทั้งนี้เพราะการวิจารณ์ใดๆ ก็ตามจะทาให้เสนอความคิดหยุดเสนอคิดความคิด


ได้ นอกจากนี้อาจทาให้การเสนอความคิดเสนอความคิดเห็นจะไม่เป็นไปอย่างตรงไปตรงมา
2) ความอิสระและเสรี โดยในกรณีนี้มีความจาเป็นต้องทาบรรยากาศ ให้เสรีในแนวทางหนึ่ง คือ
การระดมสมองผ่านแผ่นกระดาษ หรือการ์ด (Card)
3) เน้นปริมาณความคิดมากกว่าคุณภาพ ซึ่งในกรณีจาเป็นต้องกาหนดเบื้องต้นว่าสมาชิกแต่ละคน
จะต้องเสนอความคิดเห็นอย่างน้อยคนละกี่ความคิดเห็น โดยไม่คานึงว่าความคิดเห็นดังกล่าวจะมีคุณภาพ
อย่างไร
4) นามารวมและปรับปรุง โดยการระดมสมองจะต้องมีรวบรวมความคิดเห็นทั้งหมด และนาความ
คิดเห็นที่ได้ (อาจจะเป็นของคนอื่น) มาปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเป็นความคิดใหม่

24) เป็นแผนภูมิที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิตลักษณะของแผนภูมิจะเป็นกราฟของสิ่งที่ต้องการ
ควบคุม เพื่อให้ทราบปัญหาและปรับปรุงให้ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด โดยใช้วิธีการทางสถิติเข้าช่วย แผนภูมิ
ควบคุมจาแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยวัด (Control Chart for Variables) เป็นวิธีการตรวจสอบ
ผลิตภัณฑ์ด้วยการวัดผลิตภัณฑ์ในเชิงปริมาณ เช่น กรัม เซนติเมตร หรือ ไมล์ เป็นต้น แผนภูมิควบคุมสาหรับ
ข้อมูล แบบหน่ วยวัดหรือข้อมูลมีค่ าต่อเนื่องประกอบด้ว ย แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ ยและพิสัย ( x and R
Control Charts) แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( x and s Control Charts) แผนภูมิ
ควบคุมที่สัดและพิสัยเคลื่อนที่ ( x and MR Control Charts) และแผนภูมิควบคุมแบบผลบวกสะสม
(Cumulative–Sum Control Charts)
2) แผนภูมิควบคุมสาหรับข้อมูลแบบหน่วยนับ (Control Chart for Attributes) เป็นวิธีการ
ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยการนับผลิตภัณฑ์เชิงคุณภาพ เช่น ผลิตภัณฑ์ดีหรือผลิตภัณฑ์เสีย หรือผลิตภัณฑ์ใช้ได้
หรือผลิตภัณฑ์ใช้ไม่ได้ เป็นต้น ประกอบด้วยแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย (p chart) และแผนภูมิควบคุม
จานวนของเสีย (np Chart) แผนภูมิควบคุมจานวนข้อบกพร่องต่อหน่วยการทดสอบ (c Chart) และแผนภูมิ
ควบคุมจานวนข้อบกพร่องเฉลี่ยต่อหน่วย (u Chart)
25) ประโยชน์ของแผนภาพการกระจาย
1. เพื่อหาความสัมพันธ์ของข้อมูล 2 ชุด หรือตัวแปร 2 ตัว
2. เพื่อตรวจสอบว่าผลของตัวแปรชุดที่หนึ่ง มีผลต่อตัวแปรอีกชุดหนึ่งหรือไม่ และจะเปลี่ยนแปลงไป
ในทิศทางใด (เพิ่มขึ้นตามกัน หรือตัวหนึ่งเพิ่มอีกตัวหนึ่งลด)
574 การควบคุมคุณภาพ

บทที่ 3

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 3

1) ควรสร้างแผนภูมิควบคุมให้มีระยะห่างของขีดจากัดควบคุมบน (Upper Control Limit: UCL)


และขีดจากัดควบคุมล่าง (Lower Control Limit: UCL) กับเส้นกึ่งกลาง (Center Line) เท่ากับ 3σ หรือ 3S

2) แผนภูมิควบคุม x
̅ = 182.69

̅ = 167.75
̅ = 152.81
แผนภูมิควบคุม R
= 46.781
= 20.5
= 0
กระบวนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุม

3) 0.00135

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3

1) ขั้นตอนทางสถิติโดยใช้ผังควบคุมช่วยเพื่อดูว่าส่วนใดส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตทางานไม่ถูกต้อง
และเป็นสาเหตุทาให้สินค้าไม่มีคุณภาพ อย่างไรก็ตามการควบคุมคุณภาพเชิงสถิตินั้นนามาใช้ในการตรวจสอบ
และวัดกระบวนการผลิตเพื่อดูว่ามีความแตกต่างจากสิ่งที่กาลังทาเกิดขึ้นหรือไม่ หากมีความผิดปกติหรือความ
แปรปรวนที่ไม่พึงปรารถนาเกิดขึ้น กระบวนการนั้นก็จะต้องได้รับการแก้ไขจนกระทั่งไม่มีของเสียเกิดขึ้นใสนก
ระบวนการ โดยการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติจะช่วยป้องกันไม่ให้มีสินค้าไม่มีคุณภาพเกิดขึ้นในกระบวนการ

2) แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและค่าพิสัย ( x and R Chart)

3) แผนภูมิควบคุมจานวนรอยตาหนิ (c Chart)

4) แผนภูมิค่าเฉลี่ยและพิสัย

5) ±3σ
เฉลยแบบฝึกหัด 575

6) 22.70 ถึง 23.30 ออนซ์

7) แผนภูมิควบคุมแบบ X-MR

8) 10.219

9) 2.03

10) คา means ของกระบวนการเปลี่ยนแปลงลดลง

11) แผนภูมิควบคุม x
̅ = 0.00935

̅ = 0.00797
̅ = 0.00658
แผนภูมิควบคุม R
UCLR = 0.00509
CLR = 0.00241
LCLR = 0
จากแผนภูมิควบคุม x และ R พบว่า ไม่มีจุดในแผนภูมิออกนอกขีดจากัดควบคุม แต่ในแผนภูมิ
ควบคุม x เกิดการรัน เพราะมี 8 จุดอยู่เหนือเส้นกึ่งกลาง (ข้อมูลกลุ่มที่ 8 ถึง 15) ก่อนการใช้แผนภูมินี้ ถ้า
เจ้าหน้าที่หน่วยควบคุมคุณภาพสามารถระบุสาเหตุการรัน (Assignable Causes) ได้ การใช้แผนภูมินี้เพื่อ
ควบคุมกระบวนการผลิตในครั้งต่อไปต้องคานวณใหม่ เนื่องจากต้องตัดข้อมูลกลุ่มที่ 8 ถึง 15 แต่ถ้าไม่สามารถ
ระบุสาเหตุการรัน จึงสามารถใช้ได้โดยไม่มีการตัดข้อมูลกลุ่มที่ 8 ถึง 15

12) แผนภูมิควบคุม x
̅ = 2.17

̅ = 0.04
̅ = -2.09
แผนภูมิควบคุม R
UCLR = 7.83
CLR = 3.70
LCLR = 0
576 การควบคุมคุณภาพ

13) 13.1 แผนภูมิควบคุม x


̅ = 0.8390

̅ = 0.7262
̅ = 0.6134
แผนภูมิควบคุม R
UCLR = 0.3533
CLR = 0.1548
LCLR = 0
จากแผนภูมิควบคุมพิสัยจะพบว่ามีจุดตกอยู่ขีดจากัดควบคุม 1 จุด คือ จุดที่ 11 จึงตัดจุดนี้
ออกไป
แผนภูมิควบคุม x ปรับปรุง
̅ = 0.8301

̅ = 0.7262
̅ = 0.6223
แผนภูมิควบคุม R ปรับปรุง
UCLR = 0.3252
CLR = 0.1425
LCLR = 0
จากแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยจะพบว่ามี 8 จุดต่อเนื่องกันตกอยู่ด้านล่างเส้นกึ่งกลาง แสดงว่า
กระบวนการผลิตไม่อยู่ในสภาวะเสถียร

13.2 แผนภูมิควบคุม x
̅ = 0.8263

̅ = 0.7184
̅ = 0.6105
แผนภูมิควบคุม R
UCLR = 0.3377
CLR = 0.1480
LCLR = 0
จากแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยพบว่ามี 8 จุดต่อเนื่องกันตกอยู่ด้านล่างของเส้นกลาง แสดงว่า
กระบวนการผลิตไม่ได้อยู่ในสภาวะเสถียร ส่วนแผนภูมิควบคุมค่าพิสัยจะพบว่ามีจุดตกนอกขีดจากัดควบคุม
1 จุด คือ จุดที่ 11 แสดงว่ากระบวนการผลิตไม่อยู่ในสภาวะเสถียร
เฉลยแบบฝึกหัด 577

14) แผนภูมิควบคุม x
̅ = 6.47

̅ = 6.41
̅ = 6.35
แผนภูมิควบคุม S
UCLS = 0.088
CLS = 0.039
LCLS = 0

จากแผนภูมิควบคุม x มีจุดตกอยู่ขีดจากัดควบคุม 4 จุด คือจุดที่ 4, 9, 16 และ 20 จึงตัด


ออกไป พบว่าเนื่องจากกลุ่มตัวอย่างที่ 4 และ 20 สามารถหาสาเหตุของความผิดปกติได้ จึงตัด 2 จุดนี้ออกไป
ส่วนแผนภูมิควบคุม S พบว่าจุด 18 ตกนอกขีดจากัดควบคุม และค้นหาสาเหตุได้จึงตัดออก
เพื่อปรับปรุงแผนภูมิควบคุมใหม่

แผนภูมิควบคุม x ปรับปรุง
̅ = 6.46

̅ = 6.40
̅ = 6.34
แผนภูมิควบคุม S ปรับปรุง
UCLS = 0.079
CLS = 0.038
LCLS = 0
578 การควบคุมคุณภาพ

15)

ค่าสังเกตที่ – 1062.5 1037.5 -


1 1045 -17.50 0 0 -7.50 0 0
2 1055 -7.50 0 0 -17.50 0 0
3 1037 -25.50 0 0 0.50 0.50 1
4 1064 1.50 1.5 1 -26.50 0 0
5 1095 32.50 34 2 -57.50 0 0
6 1008 -54.50 0 0 29.50 29.50 1
7 1050 -12.50 0 0 -12.50 17 2
8 1087 24.50 24.5 1 -49.50 0 0
9 1125 62.50 87 2 -87.50 0 0
10 1146 83.50 170.5 3 -108.50 0 0
11 1139 76.50 247 4 -101.50 0 0
12 1169 106.50 353.5 5 -131.50 0 0
13 1151 88.50 442 6 -133.50 0 0
14 1128 65.50 507.5 7 -90.50 0 0
15 1238 175.50 685 8 -200.50 0 0
16 1125 62.50 745.5 9 -87.50 0 0
17 1163 100.50 846 10 -125.50 0 0
18 1188 125.50 971.5 11 -150.50 0 0
19 1146 83.50 1055 12 -108.50 0 0
20 1167 104.50 1159.5 13 -129.50 0 0

จากตารางจะพบว่า ตัวอย่างที่ 10 ค่า มีค่ามากกว่าค่า H สรุปได้ว่าข้อมูลมีการเลื่อนจากค่าเฉลี่ย


ที่ควรจะเป็นโดยค่าน้าหนักของอณูอยู่ภายใต้สภาวะการควยคุมครั้งสุดท้ายในตัวอย่างที่ 7 กล่าวคือ ค่า
น้าหนักเริ่มเลื่อนตั้งแต่ตัวอย่างที่ 8 ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยของน้าหนักปรับเพิ่มเป็น 1,119.33

16) 0.0708
เฉลยแบบฝึกหัด 579

17) 17.1 0.0024

17.2 แผนภูมิควบคุม x
̅ = 2.3296

̅ = 2.3244
แผนภูมิควบคุม R
UCLR = 0.0114
LCLR = 0

18) 18.1 แผนภูมิควบคุม x


̅ = 36.91

̅ = 33.29

̅ = 29.67
แผนภูมิควบคุม MR
UCLMR = 9.11
CLMR = 3.54
LCLMR = 0
จากแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่และพิสัยเคลื่อนที่ 3 ช่วง จะพบว่ามีจุดบางจุดตกอยู่
ภายนอกขีดจากัดควบคุม ดังนั้นกระบวนการผลิตไม่อยู่ภายใต้การควบคุม

18.2 แผนภูมิควบคุม x
̅ = 44.38

̅ = 34.96

̅ = 25.54
แผนภูมิควบคุม MR
UCLMR = 11.57
CLMR = 3.54
LCLMR = 0
จากแผนภู มิ ค วบคุ ม x และ MR จะพบว่ า จุ ด ทุ ก จุ ด ตกอยู่ ภ ายในขี ด จ ากั ด ควบคุ ม
ดังนั้นกระบวนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุม

19) 0.1587

20) 20.1 0.4844 20.2 0.4483


580 การควบคุมคุณภาพ

บทที่ 4

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 4

1) แผนภูมิควบคุม p
UCLp = 0.0618
CLp = 0.0426
LCLp = 0.0234
พบว่ากระบวนการที่ 5 ตกออกนอกขีดควบคุม และทราบสาเหตุความผิดปกติจึงตัดจุดที่ 5 ทิ้งไป
แผนภูมิปรับปรุง p
UCLp = 0.0542
CLp = 0.0361
LCLp = 0.0186

2) UCLnp =253, CLnp = 210, LCLnp = 167

3) แผนภูมิควบคุม np
UCLnp = 19
CLnp = 10
LCLnp = 1

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4

1) จาแนกได้เป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มแรกเป็นแผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุมจานวนของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต แผนภูมิควบคุม
p ซึ่งแผนภูมิชนิ ดนี้ จ ะเกี่ยวข้องกับ สัดส่ วนของเสี ยหรือสิ นค้าที่ใช้ไม่ได้ที่กระบวนการผลิ ตผลิตออกมา
(Fraction Nonconforming) แผนภูมิควบคุม np ซึ่งใช้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์กับมาตรฐานด้วยการนับจานวน
สินค้าที่เสีย (Defective Product)
ส่วนกลุ่มที่ 2 คือ แผนภูมิควบคุม c ใช้สาหรับควบคุมรอยตาหนิในสินค้า เช่น รอยตาหนิในม้วนผ้า
รอยตาหนิในแผ่นกระจก เป็นต้น และแผนภูมิควบคุม u ซึ่งได้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์กับมาตรฐานด้วยการนับ
ผลิตภัณฑ์ว่าเป็นสินค้าที่มีข้อบกพร่อง(ตาหนิ)(Defect Product) หรือไม่มีข้อบกพร่อง (No Defect)

2) 25 กลุ่ม

3) Binomial
เฉลยแบบฝึกหัด 581

4) ±2σ
5) 0.08

6) u chart

7) Trial control limits

8) p chart

9) 0.15 และ 0.029 ตามลาดับ

10) 10.1 แผนภูมิควบคุม p


UCLP = 0.1312
CLP = 0.06
LCLP = 0
จากแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียจะพบว่าจุดตกอยู่ภายในขีดจากัดควบคุมและการแปรผัน
เป็นแบบสุ่ม ดังนั้นกระบวนการอยู่ภายในการควบคุม

10.2 นอกเหนือจากแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย สามารถใช้แผนภูมิควบคุมร้อยละของเสียและ


เนื่องจากรุ่นคงที่ ยังสามารถใช้แผนภูมิควบคุมจานวนของเสียได้อีกด้วย

11) แผนภูมิควบคุม p
UCLP = 0.231
CLP = 0.158
LCLP = 0.085
พบว่ากระบวนการผลิตยางรถยนต์ยังไม่มีเสถียรภาพ เพราะมีจุดที่ตกออกนอกการควบคุม คือ จุดที่
6, 7, 18, 19 และ 20 ดังนั้นหน่วยงานควบคุมคุณภาพควรหาสาเหตุของความผิดปกติของกระบวนการผลิตให้
ได้โดยเร็ว
582 การควบคุมคุณภาพ

12) แผนภูมิควบคุม np
UCLnp = 26.74
CLnp = 15.8
LCLnp = 4.86
พบว่ากระบวนการผลิตยางรถยนต์ยังไม่มีเสถียรภาพ เพราะมีจุดที่ตกออกนอกการควบคุม คือ จุดที่
19, 20 เนื่องจากทราบสาเหตุที่ผิดปกติคือ พนักงานประจาลาป่วย ทาให้ต้องหาพนักงานไม่ประจามา
ปฏิบัติงานแทน จึงตัด 2 จุดนี้ออกไป
แผนภูมิควบคุม np ปรับปรุง
UCLnp = 25.06
CLnp = 14.5
LCLnp = 3.94

13) 13.1 แผนภูมิควบคุม p


UCLP = 0.0396
CLP = 0.0184
LCLP = 0
จากแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย กระบวนการผลิตอยู่นอกการควบคุมมีจุดตกนอกพิกัด
ควบคุม คือ จุดที่ 1 และ 19 เนื่องจากทราบสาเหตุของความแปรผันการปรับปรุงแผนภูมิควบคุ มสามารถ
กระทาได้ด้วยการตัดจุดที่ 1 และ 19 ซึ่งตกนอกขีดจากัดควบคุมทิ้ง จึงคานวณขีดจากัดควบคุมใหม่ดังนี้
แผนภูมิควบคุม p ปรับปรุง
UCLP = 0.0355
CLP = 0.0147
LCLP = 0

13.2 แผนภูมิควบคุม np
UCLnp = 12.50
CLnp = 5.52
LCLnp = 0
จากแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสีย กระบวนการผลิตอยู่นอกการควบคุมมีจุดตกนอกพิกัด
ควบคุม คือ จุดที่ 19 เนื่องจากทราบสาเหตุของความแปรผันการปรับปรุงแผนภูมิควบคุมสามารถกระทาได้
ด้วยการตัดจุดที่ 19 ซึ่งตกนอกขีดจากัดควบคุมทิ้ง จึงคานวณขีดจากัดควบคุมใหม่ดังนี้
แผนภูมคิ วบคุม np ปรับปรุง
UCLnp = 11.45
CLnp = 4.88
LCLnp = 0
เฉลยแบบฝึกหัด 583

14) แผนภูมิควบคุม c
UCLc = 23.46
CLc = 12.75
LCLc = 2.04
จากแผนภูมิควบคุม c chart ไม่มีจุดใดๆ ตกออกนอกขีดพิกัดควบคุม ดังนั้นกระบวนการส่งมอบ
สินค้าที่ล่าช้าอยู่ภายใต้การควบคุม

15) 15.1 แผนภูมิควบคุม p


UCLP = 0.1083
CLP = 0.07
LCLP = 0.0317

15.2 0.2981

15.3 0.5073

16) 16.1 แผนภูมิควบคุม p


UCLP = 0.1425
CLP = 0.1228
LCLP = 0.1031

16.2 จากแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียจะพบว่ามีจุดตกนอกขีดจากัดควบคุม 11 จุด คือ จุดที่ 1, 2,


3, 5, 11, 12, 15, 16, 17, 19 และ 20 ถ้าทราบการแปรผันที่ทราบสาเหตุ ให้ตัดจุดที่ตกนอกขีดควบคุม
ออกไป แต่ถ้าไม่ทราบสาเหตุ ก็ไม่ต้องตัดจุดที่ตกนอกขีดจากัดควบคุม ให้คงจุดเหล่านี้ เอาไว้ ดังนั้นข้อมูลนี้ไม่
ควรใช้เนื่องจากมีหลายจุดตกนอกขีดจากัดควบคุมบนล่าง

17) แผนภูมิควบคุม c
UCLc = 11.12
CLc = 4.65
LCLc = 0
จากแผนภูมิควบคุมรอยตาหนิไม่มีจุดตกออกนอกขีดจากัดควบคุม แสดงว่ากระบวนการอยู่ในการ
ควบคุม
584 การควบคุมคุณภาพ

18) แผนภูมิควบคุม c
UCLc = 33.22
CLc = 19.85
LCLc = 6.48
จากแผนภูมิควบคุมรอยตาหนิ พบว่ามีจุดตกออกนอกขีดจากัดควบคุม 2 จุด คือ จุดที่ 6 และ 20
สามารถระบุสาเหตุของความผิดปกติได้คือ มีการเปลี่ยนชนิดของวัตถุดิบหลัก จึงตัดจุดเหล่านี้ออกไป
แผนภูมิควบคุม c ปรับปรุง
UCLc = 32.97
CLc = 19.67
LCLc = 6.36

19)
จานวนรอยตาหนิ จานวนรอยตาหนิ
ม้วนที่ พื้นที่ (ตารางเมตร) UCLU LCLU
ทั้งหมด ต่อหน่วย
1 500 14 0.03 0.355 0.213
2 400 12 0.03 0.364 0.204
3 650 20 0.03 0.347 0.221
4 500 11 0.02 0.355 0.213
5 475 7 0.01 0.357 0.211
6 500 10 0.02 0.355 0.213
7 600 21 0.04 0.349 0.219
8 525 16 0.03 0.354 0.214
9 600 19 0.03 0.349 0.219
10 625 23 0.04 0.348 0.220
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.284 (CLU)

พบว่าจุดที่ 4, 5, 6, 7 และ 10 ผิดปกติ และสามารถระบุความแปรผันเหล่านี้ได้จึงตัดจุดเหล่านี้ทิ้งไป


และปรับปรุงแผนภูมิควบคุมรอยตาหนิต่อหน่วยใหม่ได้ดังตาราง

จานวนรอยตาหนิ จานวนรอยตาหนิ
ม้วนที่ พื้นที่ (ตารางเมตร) UCLU LCLU
ทั้งหมด ต่อหน่วย
1 500 14 0.03 0.054 0.007
2 400 12 0.03 0.056 0.004
3 650 20 0.03 0.051 0.010
8 525 16 0.03 0.053 0.007
9 600 19 0.03 0.051 0.009
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.03 (CLU)
เฉลยแบบฝึกหัด 585

20) 2.06

21) 0.066 และ 0 ตามลาดับ

22) C Chart

23) C Chart

24) การเปลี่ยนแปลงจานวนข้อบกพร่องของกลุ่มตัวอย่าง

25) 0
586 การควบคุมคุณภาพ

บทที่ 5

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 5

1) ก่อนปรับปรุงเท่ากับ 1.67
หลังปรับปรุงเท่ากับ 2.08

2) กระบวนการไม่เป็นไปตามข้อกาหนด และสัดส่วนของเสียเท่ากับ 0.0075

3) 3.1 0.67

3.2 0.5

3.3 ̅ = 362.575, ̅ = 357.425

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5

1) 1.11

2) 0.63

3) สภาพของความขัดแย้งแบบที่ กระบวนการผลิตจะผลิตสินค้าไม่ตรงตามข้อกาหนด โดยมีสัดส่วนของ


เสียดังแสดงในพื้นที่ใต้เส้นโค้งส่วนที่แรเงา เพื่อลดสัดส่วนของเสียลง กระบวนการผลิตจะต้องปรับปรุงในด้าน
ความแปรปรวนของกระบวนการผลิตลดลง ขีดจากัดเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนก็จ ะเข้าใกล้ขีดจากัดข้อกาหนด
การลดความแปรปรวนของกระบวนการผลิตอาจทาได้โดยการเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ ฝึกอบรมพนักงานให้มี
ความชานาญมากขึ้น เลือกวัตถุดิบที่เหมาะสม และปรับตั้งเครื่องจักรใหม่
ส่วนความขัดแย้งประเภทที่ 2 ค่าเฉลี่ยของกระบวนการไม่เหมาะสมกับขีดจากัดข้อกาหนดสาหรับ
กรณีที่ขีดจากัดข้อกาหนดมีเพียงด้านเดียว อาจเป็นขีดจากัดบนหรือขีดจากัดล่าง ถ้าค่าเฉลี่ยของกระบวนการ
ปรับตั้งไม่ดีจะก่อให้เกิดปัญหาหรือขีดจากัดล่าง ถ้าค่าเฉลี่ยของกระบวนการปรับตั้งไม่ดีจะก่อให้เกิดปัญหา
การผลิตของเสียออกมา วิธีการแก้ปัญหาสาหรับสาหรับกรณีนี้ทาได้โดยปรับตั้งค่าเฉลี่ยของกระบวนการผลิต
เสียใหม่ให้เหมาะสมกับขีดจากัดข้อกาหนดนี้ที่วางไว้

4) Cp ศึกษาความสามารถกระบวนการโดยไมสนใจค่าเป้าหมาย แต่ Cpk คานึงถึงค่าเป้าหมาย

5) คากลางอยูกึ่งกลาง Spec.
เฉลยแบบฝึกหัด 587

6) 0.4%

7) ดัชนีความสามารถก่อนปรับปรุงกระบวนการเท่ากับ 1.32
ดัชนีความสามารถหลังปรับปรุงกระบวนการเท่ากับ 1.67

8) ดัชนีความสามารถหลังปรับปรุงกระบวนการเท่ากับ 1.67 และเมื่อเปลี่ยนศูนย์กลางกระบวนการผลิต


จาก 6.40 เป็น 6.30 Cpk จะมีค่าลดลง

9) 0.8333

10) 10.1 แผนภูมิควบคุม x


̅ = 1.6932

̅ = 1.5056
̅ = 1.3180
แผนภูมิควบคุม R
UCLR = 0.6875
CLR = 0.3252
UCLR = 0

10.2 0.1398

10.3 0.00035

10.4 1.19

11) 0.2980

12) 12.1 10.9±0.938

12.2 10.9±1.407

13) 0.00065

14) Cmku = 1.6, Cmkl = 1.07 ดังนั้น Cmk = Cmkl เนื่องจากสมรรถภาพของเตาอบอัตโนมัติทางขีดจากัด


ข้อกาหนดล่าง (LSL) ต่า เพราะค่า Cmkl น้อยกว่า 1.33 สรุปได้ว่าต้องปรับค่าปัจจัยเพื่อให้ค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
588 การควบคุมคุณภาพ

15) 401-600 ppm

16) 1.75

17) 6σ < USL - LSL

18) 10%

19) 3,876 บาท

20) 2,700 ppm


เฉลยแบบฝึกหัด 589

บทที่ 6

แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียนบทที่ 6

1) n = 120, c = 1

2) n1 = 55, c1 = 0, n2 = 115, c2 = 4

3) n = 33, c =0

4) n1 = 55, c1 = 0, n2 = 50, c2 = 2

5) 5.1 n = 530, c = 2, AOQL = 0.26


5.2 n1 = 280, c1 = 0, n2 = 605, c2 = 4

6) 6.1 n = 190, c = 3, Pt = 3.5


6.2 n1 = 145, c1 = 0, n2 = 225, c2 = 6

7) 0.62%

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6

1) เป็ น เทคนิ คที่อ าศั ย การประยุ ก ต์ห ลั กการทางสถิ ติแ ละความน่ าจะเป็ นในการเลื อ กสิ่ ง ตัว อย่ างที่
ต้องการตัดสินใจ (ทางสถิติเรียกว่า ประชากร) และอาศัยการอนุมานทางสถิติ (Statistical Inference) เพื่อ
การตัดสินใจโดยวิธีการทดสอบสมมุติฐาน (Test of Hypothesis) เพื่อพิจารณาว่าคุณสมบัติของประชากรนั้น
ควรได้รับการยอมรับ (Accept) หรือไม่
590 การควบคุมคุณภาพ

2)
ประเภทของการ ข้อดี ข้อเสีย
ควบคุม
การตรวจสอบ  ในทางทฤษฎีแล้วเชื่อว่าจะเป็นวิธี  ในทางปฏิบัติแล้วสามารถประกันได้ว่าปลอด
แบบ 100% ที่ทาให้ไ ด้ผ ลที่ป ลอดภัย มากกว่ า ข้อบกพร่อง เนื่องจากความล้าของพนักงาน
ข้อบกพร่อง และการเสื่อมสภาพของอุปกรณ์
 ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสูงมาก
การตรวจสอบ  ใช้ได้ในกรณีที่มีผลการตรวจมิได้มี  ผลการตรวจสอบไม่ ส ามารถอธิ บ ายถึ ง
เป็นครั้งคราว ผลทางคุณภาพที่รุนแรงมากนัก คุ ณ ลั ก ษณะของชิ้ น งานทั้ งหมดที่ ต้ อ งการ
 ประหยัดที่สุด ตัดสินใจได้

การให้คารับรอง  ไม่มีปัญหาในการจัดการ เนื่องจาก  มีความเสี่ยงต่อการทาธุรกิจ ทั้งนี้เพราะว่า


เป็นวิธีที่ขึ้นอยู่กับความเชื่อถือเป็น คุณ ภาพของยี่ ห้ อ จะมี ผ ลอย่ า งมากต่อ การ
ลู ก ค้ า มี ต่ อ ตรา (Mark) หรื อ ค า ตัดสินใจทาธุรกิจด้วยของลูกค้า
รับรองสถาบันที่ออกให้
แผนการชั ก สิ่ ง  เป็นวิธีการที่ค่อนข้างประหยัด  มี ค วามเสี่ ย งในการตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ
ตัวอย่างเพื่อการ  เป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะใช้เวลาใน คุ ณ ลั ก ษณะของชิ้ น งานทั้ งหมดที่ ต้ อ งการ
ยอมรับ การตรวจสอบน้อย ทาให้พนักงาน ตัดสินใจเสมอ
ตรวจสอบไม่ล้า  มิ ไ ด้ ใ ห้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ทั้ ง ห ม ด เ กี่ ย วกั บ
 ให้ผลที่น่าเชื่อถื อโดยการอธิบาย คุ ณ ลั ก ษณะของชิ้ น งานทั้ งหมดที่ ต้ อ งการ
ผ่านกฎของความน่าจะเป็น ตัดสินใจ
 มีการทาลายผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ
ตรวจสอบต่า
 ให้ผู้ผ ลิตและผู้ ซื้อสามารถเจรจา
ต่อ รองราคากั น ได้ โ ดยอาศั ย การ
พิ จ ารณาจากความเสี่ ย งของ
แผนการ
 เหมาะกับกรณีการตรวจสอบแบบ
ทาลาย
เฉลยแบบฝึกหัด 591

3)
แผนการชักสิ่งตัวอย่าง

แบบเชิงคุณภาพ (Attribute) แบบเชิงแปรผัน (Variable)

ลอตต่อลอต แบบต่อเนื่อง ลอตต่อลอต กระบวนการผลิต

4) เมื่อแบ่งสินค้าออกเป็นลอตๆ แล้ว จะมีการสุ่มตัวอย่างขึ้นมาเท่ากับจานวน n ชิ้นแล้วตรวจดูว่าใน


ตัวอย่างนี้มีสินค้าที่เลว (คุณภาพเป็นที่ไม่ยอมรับหรือถือว่าเป็นของเสีย) มีอยู่จานวนกี่ชิ้น หรือถ้าเกินกว่า c
ชิ้น จะปฏิเสธหรือไม่ยอมรับสินค้านั้นทั้งลอต สินค้าลอตอื่นๆ ก็ตรวจสอบในทานองเดียวกันการตรวจรับสินค้า
ลอตนั้นหรือไม่
แผนการชักสิ่งตัวอย่างเชิงคู่มีโอกาสที่จะตัดสินจากการชักตัวอย่างถึงสองครั้ง ลอตของสินค้าจะได้รับ
การยอมรับทันทีในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกถ้ามีคุณภาพดีพอ และจะถูกปฏิเสธในการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรก
นี้เช่นกันถ้าคุณภาพแย่เกินไป แต่ถ้าการชักสิ่งตัวอย่างครั้งแรกจะยังตัดสินใจไม่ได้ จึงต้องชักสิ่งตัว อย่างครั้งที่
สองเพื่อการตัดสิน จึงต้องชักสิ่งตัวอย่างครั้งที่สองเพื่อการตัดสินใจ
5) มีวิธีการมาตรฐาน 2 วิธี ที่สามารถใช้เพื่อการวิเคราะห์กระบวนการผลิตได้
1. จุดตรวจสอบในสายการผลิต (On–Line Inspection Stations) ซึ่งเป็นการตรวจสอบแบบ 100%
2. แผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับในสายการผลิต (On–Line Acceptance Sampling
Plans) ซึ่ง โดยปกติ จ ะทาหน้ าที่ ในการป้อ งกั นมิ ให้ ข้อ บกพร่ องจากกระบวนการก่ อนหน้ าถู กส่ งไปยั ง
กระบวนการถัดไป โดยไม่มีวิธีการป้อนกลับสารสนเทศ
592 การควบคุมคุณภาพ

6) 1. การมีข้อมูลที่ดี
2. การได้รับมาซึ่งสารสนเทศที่รวดเร็ว
3. การสร้างแรงจูงใจต่อผู้ผลิตให้ได้คุณภาพที่ระดับพึงพอใจ
4. การมีประวัติคุณภาพที่ดี ซึ่งได้มาจากการจดบันทึกตามปริมาณการตรวจสอบ

7) 7.1

ความน่าจะเป็นในการ
ตัวอย่างที่
ยอมรับรุ่น Pa ปฏิเสธรุ่น Pr
1 0 0.09
2 0.368 0.174
3 0 0.0874
4 0.136 0.077
5 0.113 0.073
0.617 0.501

7.2 16 ชิ้น

8) (n, c) = (70, 2)

9) (n, c) = (268, 11)

10) 0.299

11) 0.8248

12) เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์ยอมรับกับเปอร์เซ็นต์ของเสีย

13) ง่ายต่อการใช้เพราะสามารถหาแผนการสุ่มตัวอย่างไดจากการเปิดตาราง

14) ผลิตภัณฑ์เป็น lot ที่ไม่ดีสุ่มตัวอย่างแลว ยอมรับ (accept) lot นั้น

15) 0.10

16) Code L
เฉลยแบบฝึกหัด 593

17) PaI = 0.40 และ PaII = 0.082

18) XL = -0.9389+0.0397n
XU = 1.2054+0.0397n

19) XL = -2.431+0.124n
XU = 3.121+0.124n
n = 20

20) n = 55, c = 3

P
n = 55 และ c = 3

Pa

0.08
594 การควบคุมคุณภาพ

21) เป็นมาตรฐานที่ได้รับการจัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นวิธีการและแผนในการชักสิ่งตัวอย่างจากลอตหรือแบช
เพื่อการตรวจสอบแบบเชิงคุณภาพ (Attribute) และแผนการชักสิ่งตัวอย่างที่ระบุใ นมาตรฐานฉบับนี้ ได้รับ
การออกแบบขึ้นเพื่อการตรวจสอบสิ่งต่อไปนี้ (แต่มิได้จากัดแค่เท่าที่ระบุ)
(1) ผลิตภัณฑ์ขั้นสาเร็จรูป (End Items)
(2) ชิ้นส่วนสาหรับประกอบ และวัตถุดิบ
(3) การปฏิบัติการหรือการบริการ
(4) วัสดุในระหว่างผลิต (Material in Process)
(5) สินค้าในคลังที่รอการส่งมอบ (Supplies in Storage)
(6) การบารุงรักษา (Maintenance Operation)
(7) ข้อมูลหรือบันทึก (Data or Records)
(8) กระบวนวิธีที่ใช้ในการบริหาร (Administrative Procedures)
แผนการตรวจสอบมาตรฐาน MIL-STD-105E นี้ได้รับการออกแบบเพื่อการตรวจสอบลอตหรือแบช
(Lot or Batch) ที่ต่อเนื่องแล้ว จะต้องมีการใช้เส้นโค้งโอซี (OC Curve) เพื่อให้แผนการที่มีระดับความ
คุ้มครองตามที่กาหนดไว้

22) ในกรณีที่มีการตรวจสอบแบบเคร่งครัดในการตรวจสอบแรกเริ่มนั้น ถ้าจานวนสะสมของลอตหรือ


แบชได้รับการปฏิเสธถึง 5 ลอตหรือแบชจากการตรวจสอบลอตหรือแบชที่ต่อเนื่องแล้ว ให้ทาการระงับการ
ตรวจสอบไว้ จากนั้นดาเนินการค้นหาสาเหตุของข้อบกพร่องในขบวนการผลิตลอตหรือแบชนั้นพร้อมทาการ
แก้ไขให้ถูกต้องและเมื่อมีการแก้ไขให้ ถูกต้องแล้ ว จึงให้เริ่มทาการตรวจสอบใหม่อีกครั้งโดยยังคงใช้การ
ตรวจสอบแบบเคร่งครัด

23) 1. การตรวจสอบจะใช้การตรวจสอบแบบทั่วไปโดยปกติได้รหัสอักษร J
2. แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบปกติ จะได้ n = 80, Ac = 1, Re = 2
แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบเคร่งครัด จะได้ n = 80, Ac = 1, Re = 2
แผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบผ่อนคลาย จะได้ n = 32, Ac = 0, Re = 2
เฉลยแบบฝึกหัด 595

24)
24.1 N = 570 AQL = 4% ระดับการตรวจสอบ II Letter Code =___J___
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = ____80___ Ac = ____7___ Re = ____8___
แบบเคร่งครัด n = ____80___ Ac = ____5___ Re = ____6___
แบบผ่อนคลาย n = ____32___ Ac = ____3___ Re = ____6___
24.2 N = 800 AQL = 2.5% ระดับการตรวจสอบ III Letter Code =___K___
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = ____125___Ac = ___7____Re = ____8___
แบบเคร่งครัด n = ____125___Ac = ___5____Re = ____6___
แบบผ่อนคลาย n = _____50__ Ac = ____3___ Re = ____ 6___
24.3 N = 1,200 AQL = 1% ระดับการตรวจสอบ I Letter Code =___G___
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = ____32___ Ac = ____1___ Re = _____2__
แบบเคร่งครัด n = ____32___ Ac = ____1___ Re = _____2__
แบบผ่อนคลาย n = _____13__ Ac = ____0___ Re = _____2__
24.4 N = 5,000 AQL = 1.5% ระดับการตรวจสอบ I Letter Code =____J__
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = _____80__ Ac = ____3___ Re = _____4__
แบบเคร่งครัด n = _____80__ Ac = ____2___ Re = _____3__
แบบผ่อนคลาย n = ____32___ Ac = _____1__ Re = _____4__
24.5 N = 35,600 AQL = 10% ระดับการตรวจสอบ II Letter Code =___N___
แผนการชักตัวอย่าง
แบบปกติ n = ____500___Ac = ____21___Re = ____22___
แบบเคร่งครัด n = ____500___Ac = ____18___Re = ____19___
แบบผ่อนคลาย n = ____200___Ac = ____10___Re = ____13___
596 การควบคุมคุณภาพ

25)
แบบของการตรวจสอบ n Ac Re
ปกติ 125 1 2
เคร่งครัด 200 1 2
ผ่อนคลาย 20 0 1
การตรวจสอบลอตได้ผลดังนี้
ลอตที่ แผนการตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์บกพร่อง การตัดสินใจ
1 ปกติ 1 ยอมรับ
2 ปกติ 0 ยอมรับ
3 ปกติ 0 ยอมรับ
4 ปกติ 0 ยอมรับ
5 ปกติ 0 ยอมรับ
6 ปกติ 0 ยอมรับ
7 ปกติ 0 ยอมรับ
8 ปกติ 0 ยอมรับ
9 ปกติ 0 ยอมรับ
10 ปกติ 0 ยอมรับ
ในการตรวจสอบลอตที่ 11 ยังคงทาการตรวจสอบตามปกติ แม้ว่าจะยอมรับลอตต่อเนื่องกัน 10 ลอต
และผลิตภัณฑ์บกพร่องเป็น 0 หน่วยก็ตาม ดังนั้นจานวนสิ่งตัวอย่างที่น้อยที่สุดที่ทาให้สับเปลี่ยนไปตรวจสอบ
แบบผ่อนคลายได้ คือ ลอตที่ 24 (3000/125)
26) 1. AQL = 0.25 และ LQ = 2.0 เปิดตารางที่ 16-A จะได้อักษร Q
2. ดังนั้น n = 200, Ac = 0, Re = 1
27) 1. ขนาดลอต 900 ชิ้น ระดับตรวจสอบคือ 3 ได้อักษร K
2. อ่านค่าพบว่าลูกศรให้ใช้แผนชักตัวอย่างอักษร J และ อักษร J ไม่มีแผนชักตัวอย่าง จึงกลับไปใช้
แผนชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว ได้ n = 80, Ac = 0 และ Re = 1
28) n = 80, Ac = 5 และ Re = 6: พิจารณา Ac = 5
ที่แผนชักตัวอย่างเชิงเดี่ยว Ass = 80
แผนชักตัวอย่างเชิงคู่ Ass = 0.65(80) = 52
แผนชักตัวอย่างหลายเชิง Ass = 0.55(80) = 44
ควรใช้แผนชักตัวอย่างหลายเชิงเนื่องจากประหยัดกว่า
เฉลยแบบฝึกหัด 597

29) ตารางมาตรฐาน ANSI/ASQC Z1.4 จะมีการชักสิ่งตัวอย่างเชิงเดี่ยวเท่านั้น ส่วนตารางมาตรฐาน


MIL-STD-105E จะมีการชักสิ่งตัวอย่าง 3 แบบ คือ เชิงเดี่ยว เชิงคู่ และหลายเชิง

30) 1.39%

31) 31.1 XL = -1.1853+0.0567n


XU = 1.5217+0.0567n
31.2
เลขจานวนการ เลขจานวนการ เลขจานวนการ เลขจานวน
ตัวอย่างที่ ตัวอย่างที่
ยอมรับ ปฏิเสธ ยอมรับ การปฏิเสธ
1 * * 16 * 3
2 * 2 17 * 3
3 * 2 18 * 3
4 * 2 19 * 3
5 * 2 20 * 3
6 * 2 21 0 3
7 * 2 22 0 3
8 * 2 23 0 3
9 * 3 24 0 3
10 * 3 25 0 3
11 * 3 26 0 3
12 * 3 27 0 4
13 * 3 28 0 4
14 * 3 29 0 4
15 * 3 30 0 4

32) ตรวจสอบทุ ก หน่ ว ยต่ อ เนื่ อ งกั น แบบ 100% จนครบ 138 ชิ้ น แล้ ว ไม่ พ บของเสี ย ให้ เ ปลี่ ย นเป็ น
สุ่มตรวจ 1 ชิ้นจากทุกๆ 10 ชิ้น
33) จากแผนการสุ่มตัวอย่างพบว่าไม่มีของเสียติดต่อกัน 60 ชิ้น แล้ว ตรวจสอบด้วยสั ดส่วน f=1/5
กล่าวคือ ให้ตรวจสอบ 1 ชิ้น ทุกๆ 5 ชิ้น จากการตรวจสอบพบของเสียชิ้นแรกในการตรวจสอบ f ในครั้งที่ 7
แล้วยังคงตรวจสอบ f ต่อไปจนกว่าจะพบของเสียชิ้นที่ 2 แล้วตรวจสอบว่ามีของดีน้อยกว่า i = 60 ชิ้น
ติดต่อกันหรือไม่ ถ้ามีของดีน้อยกว่า 60 ชิ้น ให้เปลี่ยนเป็นตรวจแบบ 100% แต่ถ้ามีของดีมากกว่าหรือเท่ากับ
60 ชิ้น ให้ตรวจสอบเป็นสัดส่วน f เช่นเดิม
598 การควบคุมคุณภาพ

34) 91

35) f = 1/5, i = 217

36) 45

37) แผนการสุ่มตัวอย่าง CSP-1: i = 32 แผนการสุ่มตัวอย่าง CSP-2: i = 45 ซึ่งแผนการสุ่มตัวอย่าง


CSP-2 มีจานวนของเสียที่พบติดต่อกัน i ชิ้น มากกว่าแผนการสุ่มตัวอย่าง CSP-1

38) 0.8097

39) N = 2,500, n = 45, c = 2, LTPD = 11.7

40) N = 750, n = 60, c = 3, LTPD = 10.9

41) 1. การแทนคาว่า nonconformity ด้วย defect, nonconforming ด้วย defective และ percent
nonconforming ด้วย Percent defective ที่ใช้ในตารางมาตรฐาน MIL-STD 414
2. ในกฎเกณฑ์การสับเปลี่ยนระหว่างการตรวจสอบแบบปกติและแบบเคร่งครัด กฎเกณฑ์การ
สับเปลี่ยนในตารางมาตรฐาน MIL-STD-414 จะทาการปรับเปลี่ยนเล็กน้อยในตาราง ANSI/ANQC Z1.4
3. การเปลี่ยนระดับจากการตรวจสอบ I, II, III, IV และ V ในตารางมาตรฐาน MIL-STD-414 เป็น S3,
S4, S5, I, II และ III ในตารางมาตรฐาน ANSI/ANQC Z1.4
4. ขนาดรุ่นในตารางมาตรฐาน MIL-STD-414 มีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับตารางมาตรฐาน
ANSI/ANQC Z1.4
5. ค่า AQL ของ 0.04, 0.065 และ 15 ถูกตัดออกจากตารางมาตรฐาน ANSI/ANQC Z1.4

42) n = 16, k = 1.46

43) n = 38, k = 1.68

44) ถ้า p ≤ 0.0207 จะยอมรับรุ่น ไม่เช่นนั้นจะปฏิเสธรุ่น

45) n = 32

46) ยอมรับ เพราะ ZLSL> k


เฉลยแบบฝึกหัด 599

47) แผนการสุ่มตัวอย่างโดยมีเส้นคูข่ นาน XL และ XU หรือ เส้นยอมรับ และเส้นปฏิเสธ

48) ยอมรับรุ่นสินค้า เมื่อรุ่นสินค้านั้นมีคุณภาพไมดี

49) ยอมรับรุ่นสินค้า

50) 50.1 ถ้า ZL ≥ 1.65 ถึงจะยอมรับรุ่น


50.2 ถ้า ZL ≥ 2.47 ถึงจะยอมรับรุ่น
50.3 0.4932
50.4 ปฏิเสธรุ่น
600 การควบคุมคุณภาพ

บทที่ 7

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7

1) การดาเนิน กิจกรรมทุกๆสิ่ งในองค์กรไม่ได้ห มายถึงเพียงแค่การผลิ ตสิ นค้าหรือบริการขั้นสุดท้าย


เท่านั้น แต่หมายรวมถึงส่งที่พนักงานในองค์กรปฏิบัติอยู่ทุกๆวัน ซึ่งพนักงานควรจะทาสิ่งที่ถูกต้องตั้งแต่ครั้ง
แรกๆและทาทุกๆครั้งตลอดเวลา

2) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการบริหารและความเป็นผู้นาสาหรับการเติบโตขององค์กร การ
บริหารงานแบบนี้มีลักษณะคือเป็นการไปเยี่ยมชมโรงงานอย่างไม่เป็นทางการของผู้บริหาร ซึ่ งจะเข้าไปหน้า
งานสายการผลิตเพื่อพูดคุยกับพนักงานเกี่ยวกับเรื่องงานของพนักงาน และคอยสอบถามพนักงานแต่ละคนว่า
มีปัญหาใดบ้างในการทางาน และต้องการความช่วยเหลือใดหรือไม่

3)

พื้นที่ของTQM เครื่องมือและเทคนิค
1. วิธีการ (Methodologies) การควบคุมคุณภาพทางสถิติ (SPC) การออกแบบการทดลอง (DOE)
บ้านแห่งคุณภาพ (QFD) การบารุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (TPM)
2. ระบบ (System) ISO 9000
3. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การมีส่วนร่วมของพนักงานทั้งหมด (TPE)
(Human resources) การบริหารงานเชิงรุกและวงจรเด็มมิ่ง
4. การจูงใจ (Motivation) รางวั ล ในด้ า นการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ เช่ น รางวั ล Malcolm
Baldrige, รางวัล Deming Award, รางวัล European Quality
Award

4) 1. ขาดความมุ่งมั่นและข้อผูกพันของผู้บริหารระดับสูง
2. ขาดการมีส่วนร่วมของพนักงาน
3. ไม่มีความร่วมมือกันในหมู่ผู้จัดการระดับต้น (First line manager) และผู้จัดการระดับกลาง
(Middle manager)
4. วิสัยทัศน์ขาดความชัดเจน
5. สูญเสียการติดตามผลการดาเนินงาน
6. ไม่มีส่วนร่วมของลูกค้า และซัพพลายเออร์
7. เชื่อว่าการฝึกอบรมจะนาไปสู่ความแตกแยกของพนักงาน
8. การขัดขวางการเปลี่ยนแปลงในทุกระดับ
9. ความไม่มีประสิทธิภาพของผู้ให้บริการด้านTQM
10. เลือกที่ปรึกษาผิด
เฉลยแบบฝึกหัด 601

11. ขาดความคงเส้นคงวาของการบริหารจัดการ
12. ความเร่งรีบและของเสียในกระบวนการผลิต
13. การมองไปที่กาไรในระยะสั้น
14. ไม่มีการลงทุนในเรื่องทัพยากรอย่างเพียงพอ
15. องค์กรเฉพาะกิจ
16. ผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุอย่างรวดเร็ว
17. การสูญเสียความมั่นใจในช่วงระยะกลางของการดาเนินกิจกรร TQM เนื่องจากเหตุผลต่างๆ
18. ใช้แรงงานมากกว่าใช้สมองในการทางาน
19. การแข่งขันที่รุนแรงซึ่งนาไปสู่สงครามราคา
20. มีพนักงานที่ให้บริการไม่ถูกต้อง เนื่องจากอาจจะมีพนักงานมากเกินไปหรือน้อยเกินไป

5) การจัดการคุณภาพโดยรวม คือ การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เน้นคุณภาพทั่วทั้งองค์กร รวมถึง


ลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กร
องค์ประกอบของการจัดการคุณภาพโดยรวม

ความแน่วแน่ของวัตถุประสงค์/ความมุ่งมั่นในระยะยาว

การฝึกอบรม มุ่งเน้นไปที่กระบวนการ

การมีส่วนร่วมของพนักงาน
TQM วิธีการทางสถิติ
ทั้งหมด/การทางานเป็นทีม

ความเป็นผู้นา การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง

มุ่งเน้นไปที่ลูกค้า
ซัพพลายเออร์/พันธมิตรทางธุรกิจ

6) ทีมงาน TQM ซึ่งประกอบด้วยฝ่าย QC ผู้ประสานงาน TQM และพนักงานฝ่ายสนับสนุนจะทาการ


ปฏิบัติการปรับปรุงในแต่ละโครงการ

7) 1. การสนับสนุนให้เกิดการปรับปรุง และการพัฒนาองค์กร
2. เคารพความเป็นมนุษย์ และการสร้างสรรค์สถานที่ทางานให้มีชีวิตชีวารื่นรมย์ในอันที่จะทาให้มี
บรรยากาศการทางานที่ดี
3. สร้างโอกาสให้พนักงานได้แสดงออกซึ่งความสามารถอย่างเต็มที่ และดึงความสามารถที่ซ้อนเร้น
ซึ่งมีอยู่อย่างไม่จากัดออกมาใช้ประโยชน์
602 การควบคุมคุณภาพ

8) 1. การพัฒนาตนเอง
2. การดาเนินการอย่างสมัครใจ
3. การดาเนินการแบ่งกลุ่ม
4. การบริหารแบบมีส่วนร่วม
5. การประยุกต์กลวิธีด้านการควบคุณคุณภาพ
6. การปลูกฝั่ง QC.Circle ลงในสถานที่ทางาน
7. การกระตุ้นและสนับสนุนให้การทา QC.Circle เป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่รู้จบ
8. การพัฒนาซึ่งกันและกัน
9. การมีความคิดริเริ่ม
10. การมีจิตใจสานึกต่อคุณภาพ ปัญหา และการปรับปรุง

9) โครงสร้างพื้นฐานของ QC.Circle
คณะกรรมการ TQM

คณะอนุกรรมการอื่นๆ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการอื่นๆ


QC.Circle

เลขานุการ

กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม


QC.Circle QC.Circle QC.Circle QC.Circle
(ฝ่ายผลิต) (ฝ่ายขาย) (ฝ่ายบริหาร) (ฝ่ายอื่นๆ)

1. คณะกรรมการ TQM นี้มีหน้าที่สาคัญๆดังนี้ คือ


(1) กาหนดนโยบายการส่งเสริมการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จตลอดจนกาหนดแผนการการ
บริหารคุณภาพเชิงกลยุทธ์ (Strategic Quality Plan)
(2) พิจารณาจัดทาและอนุมัติแผนประจาปีสาหรับการฝึกอบรมด้านการบริหารคุณภาพ
(3) พิจารณาจัดทาแผนและติดตามแผนการตรวจติดตามภายในด้านคุณภาพ (Quality Internal
Auditing) และแผนการวินิจฉัยการบริหารคุณภาพโดยผู้บริหาร (Quality Management Diagnosis)
เฉลยแบบฝึกหัด 603

(4) พิจารณาตัดสินใจเพื่อการบริหารมาตรฐานต่างๆ ด้านการบริหารคุณภาพ เช่น ISO/มอก.


9000 ISO/มอก. 14000 ฯลฯ
(5) กากับดูแลให้เกิดการประสานงานเกี่ยวกับคุณภาพในระหว่างฝ่าย
(6) พิจารณาจัดทาและควบคุมแผนการประชาสัมพันธ์ตลอดจนรณรงค์ให้บุคลากรในองค์กรเกิด
ความเข้าใจในการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ
2. คณะอนุกรรมการส่งเสริม QC.Circle จะมีหน้าที่สาคัญๆดังนี้ คือ
(1) จัดทาแผนประจาปีสาหรับการดาเนินการด้าน QC.Circle ภายใต้นโยบายตามแผนการการ
บริหารคุณภาพเชิงกลยุทธ์
(2) จัดทาแผนการประเมินผลการดาเนินการด้าน QC.Circle ทั่วทั้งองค์กร
(3) จัดทาแผนเผยแพร่ความรู้ QC.Circle สาหรับบุคคลากรทั่วทั้งองค์กรโดยเฉพาะแผนการฝึก
อบรบพนักงานใหม่
(4) จัดทาแผนการประชุมใหญ่ประจาปีขององค์กร เพื่อเสนอผลงาน QC.Circle ของพนักงาน
รวมทั้งแผนการประชุมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและจัดทัศนศึกษา
3. สานักเลขานุการ QC.Circle
ในองค์กรหลายแห่งที่มีบุคลากรไม่มากนัก การดาเนินงานด้านนี้อาจจะอยู่ภายใต้ “บริกร QC.Circle
(QC.Circle Facilitator)” เพียงคนเดียวก็ได้ และบริกรดังกล่าวหรือสานักเลขานุการ QC.Circle จะเป็น
หน่วยงานในสังกัดฝ่ายประกันคุณภาพ หรือฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับใบพรรณนาลักษณะงาน
(JD) ของฝ่ายประกันคุณภาพ และฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรเป็นสาคัญ

10) ก. ปัญหาประจาบ้าน (Everyday Problems) ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดได้เสมอในชีวิตประจาวันและการ


ทางาน อาทิ ตัวจับยึดงานจับงานไม่แน่นทาให้ชิ้นงานหลุดออกขณะทางาน หรือการประกอบชิ้นส่วนผิดข้าง
ฯลฯ โดยปกติแล้วปัญหากลุ่มนี้ควรมีการแก้ไขด้วยการให้พนักงานมีจิตสานึกต่อปัญหาและคุณภาพ ด้วยการ
ปรับสถานที่ทางานให้สามารถตรวจสอบด้วยตาเปล่า (Self-Monitoring) โดยผ่านกิจกรรม 3 ส
ข. ปัญหาที่ได้รับมอบหมายให้แก้ (Problems given to us to solve) ซึ่งเป็นปัญหาที่ผู้บังคับบัญชา
ได้มอบหมายให้รับไปแก้ไข เช่น ให้ลดข้อบกพร่องในการผลิตลง 1% ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการเดิน
เครื่องจักรผลิตลง 10% เป็นต้น โดยปกติแล้วปัญหากลุ่มนี้ควรมีการแก้ไขผ่านการกระจายนโยบายด้วยตัว
แบบการบริหารแบบข้ามสายงาน (A cross functional management)
ค. ปัญหาที่คิดค้นมาเพื่อแก้ไข (Problems we have sought out) ซึ่งเป็นปัญหาที่มองอย่างผิวเผิน
แล้วจะไม่พบปัญหาที่เป็นรูปธรรมชัดเจนหรือมีใครระบุได้ว่าเป็นประการใดแต่อาจเชื่อว่าคงมีอยู่ และหาก
ดาเนินกิจกรรมต่อไปก็จะพบปัญหาเช่นนี้ได้ เช่น อัตราการเพิ่มผลิตภาพต่าลงเนื่องจากมีการกาหนดมาตรฐาน
งานได้ไม่เหมาะสม เป็นต้น

11) เป็นกระบวนการที่มุ่งสู้การแก้ปัญหาภายใต้เงื่อนไขการพัฒนาบุคลากรให้เข้าใจถึงหลักการในการบริหาร
โครงการด้วยวงจร P-D-C-A
604 การควบคุมคุณภาพ

12) ปัญหา C เป็นปัญหาพื้นๆ ซึ่งทราบทั้งสาเหตุรากเหง้าที่แท้จริงของปัญหาและทราบมาตรการการ


แก้ไขปัญหาแล้ว ปัญหาแบบนี้จึงไม่ควรนามาทา QC.Circle แต่ควรนาไปวิเคราะห์ในงานประจาวัน และ
หัวหน้างานควรเป็นผู้นาในการแก้ปัญหานี้ที่หน้างาน
ปัญหา B เป็นปัญหาไฮเทค เนื่องจากทราบถึงสาเหตุรากเหง้าที่แ ท้จริงของปัญหา แต่ไม่ทราบ
มาตรการแก้ไขปัญหา ปัญหาแบบนี้ไม่เหมาะกับ QC.Circle เพราะสามารถทาการแก้ไขได้โดยปรึกษากับ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางทางด้านเทคนิคได้ ซึ่งต้องลงทุนค่อนข้างสูง
ปัญหา D เป็นปัญหาที่สามารถกาหนดมาตรการแก้ไขที่เหมาะสมได้ แต่ยังไม่ทราบสาเหตุรากเหง้า
ของปัญหา ซึ่งถ้าหากมีการกาหนดให้มีการสอบประเมินผลและให้หัวหน้างานในสายการผลิตช่วยอบรมแบบ
On- the Job-Training (OJT) ก็สามารถทาให้ปัญหาหายไปได้ แต่ต้องอาศัยการลงทุนที่ค่อนข้างสูง
ปัญหา A เป็นปัญหาที่ไม่ทราบทั้งสาเหตุรากเหง้าของปัญหา และมาตรการแก้ไขจึงถือว่า ปัญหา
ประเภทนี้จะมีความท้าทาย และมีคุณค่ามากที่สุดต่อกลุ่ม QC.Circle ในการใช้คิวซีสตอรี่ เพื่อการวิเคราะห์
และแก้ไขปัญหา โดยในกระบวนการแก้ปัญหานี้จะทาให้ เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างต่อ เนื่องได้
ดังนั้นปัญหาที่กลุ่ม QC.Circle จะเลือกมาแก้ไขต้องเป็นปัญหาประเภทนี้เท่านั้น

ปัญหา B ปัญหา A
มาตรการการแก้ไขปัญหา

ปัญหาไฮเทค ปัญหาที่มีมูลค่าเพิ่มต่อ
ไม่ทราบ

กลุ่ม QC.Circle
ปัญหา C ปัญหา D
ปัญหาพื้นๆ ปัญหาที่ต้องการดูแล
ทราบ

อย่างใกล้ชิด
ทราบ ไม่ทราบ
การทราบสาเหตุรากเหง้าที่แท้จริงของปัญหา

ปัญหาประเภท A คือ ปัญหาที่ไม่ทราบสาเหตุรากเหง้าและมาตรการแก้ไขไปดาเนินการและ


เหมาะสมต่อการแก้ปัญหาโดยคิวซีเซอร์เคิล

13) ความถี่ของการเกิดปัญหา ความรุนแรงที่ปัญหามีผลต่อลูกค้า และความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา

14) กิ จ กรรมไคเซน (Kaizen) เป็ น ภาษาญี่ ปุ่ น ซึ่ ง มี ค วามหมายว่ า การปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
(Continuous Improvement) ไคเซน มาจากคา 2 คา คือ Kai หมายถึง การเปลี่ยนแปลง (Change) และ
Zen หมายถึง ดี (Good) หรือหมายถึง การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี

15) ไคเซนใช้เทคนิคของหลักการการผลิตแบบโตโยต้า คือ Jidoka สาหรับการป้องกันปัญหาด้าน


คุณภาพที่เกิดขึ้นซ้าๆ ในขั้นตอนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ และอีกเทคนิคหนึ่งในการปรับปรุงคุณภาพ
อย่างต่อเนื่อง คือ การค้นหารากเหง้าของปัญหา คือ เทคนิค 5 Why’s โดยการถามทาไมเป็นจานวน 5 ครั้ง
เฉลยแบบฝึกหัด 605

16) 1. สถานที่ทางานมีประสิทธิภาพ
ชาวญี่ปุ่นได้พัฒนาเครื่องมือ 5ส (5S) มาร่วมใช่กับกิจกรรมไคเซน เพื่อพัฒนาสถานที่ทางานให้มี
ประสิทธิภาพ
2. การกาจัดความสูญเปล่า ความไม่สม่าเสมอ และสภาวะที่เกินกาลัง (3 MUs)
กิจกรรมไคเซนจะสัมฤทธิ์ผลได้นั้นต้องใช้กิจกรรม 5ส สาหรับพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน
และกาจัดความสูญเปล่า (3 MUs) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการ
3. งานที่เป็นมาตรฐาน
ไคเซน (Kaizen) มุ่งเน้นไปที่กระบวนการที่เป็นมาตรฐาน วัตถุดิบ เครื่องจักร โดยมีละเอียด
ดังต่อไปนี้
3.1 เผยให้เห็นถึงสิ่งที่ดีที่สุด ง่ายที่สุด และเป็นวิถีทางที่ปลอดภัยที่สุดในการกาหนดขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน (Procedure) และข้อแนะนาในการทางาน (Work Instruction: WI)
3.2 เผยให้เห็นถึงวิถีทางที่ดีที่สุดในการรักษาความรู้ ความเชี่ยวชาญ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ที่ (procedure) เป็นมาตรฐาน
3.3 มีวิวัฒนาการที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึง ตัวชี้วัดที่มีประสิทธิภาพและงานที่เป็นมาตรฐาน
3.4 โปรมแกรมการฝึกอบรมที่เป็นมาตรฐาน
3.5 การตรวจสอบและการวินิจฉัยปัญหาที่เป็นมาตรฐาน
3.6 ขั้นตอนในการป้องกันการเกิดขึ้นของข้อผิดพลาดและลดความแปรปรวนที่เป็นมาตรฐาน

17) KAIZEN BLITZ รู้จักกันดีในนามของ KAIZEN WORKSHOP ซึ่งมีเป้าหมายการทางานโดยเฉเพาะ


ทีมข้ามสายงาน (A cross function team) อันประกอบไปด้วยผู้จัดการ หัวหน้างาน พนักงาน และบางครั้ง
จะมีแผนกการตลาดและแผนกการเงินคอยให้คาปรึกษา หลังจากที่ทีมข้ามสายงานได้จัดตั้งขึ้นมาก็จะเข้าสู่
โปรแกรมการอบรมสมาชิกในทีม ได้แก่ หัวข้อเรื่อง การศึกษา กระบวนการ การเก็บ และ วิเคราะห์ข้อมูล
การปรึกษาตัวเลือกในการปรับปรุง ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง และข้อเสนอแนะในการเปลี่ยนแปลง โดย
การเปลี่ยนแปลงจะดาเนินการด้วยความเห็นชอบของ QC การเปลี่ยนแปลงนี้อาจจะเรียกได้ว่าเป็นการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบอุปกรณ์ หรือการปรับเปลี่ยนกระบวนการการกระโดดข้ามกระบวนการที่ไม่เพิ่มมูลค่า
ใดๆ
KAIZEN BLITZ หรือ Kaizen เกี่ยวข้องกับส่วนต่างๆดังนี้
1. การนา 5ส มาใช้เพื่อปรับปรุงงานสถานที่ทางานให้มีประสิทธิภาพ
2. การลดและการขจัดความสูญเปล่า (3MUs)
3. มาตรฐานของวิธีการทางานให้มีประสิทธิภาพ

18) นวัตกรรมคือสิ่งที่คิดค้น วิจัย แก้ไขและเกิดการสิ้ นสุดเมื่อสามารถแก้ปัญหาในจุดๆ นั้นได้แล้ ว


แต่ไคเซนคือ การปรับปรุง การพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นตลอดเวลาอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
606 การควบคุมคุณภาพ

19) ซิกซ์ซิกมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพและปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต
ด้วยการใช้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
และลดความแปรปรวนในระบบการผลิต โดยยอมให้มีของเสียในกระบวนการผลิตได้เพียง 3.4 ชิ้นต่อการผลิต
สินค้าล้านชิ้น
แนวคิดหลักของวิธีการซิกซ์ซิกมา สามารถสรุปได้ดังนี้
1. มุ่งเน้นความเข้าใจในความต้องการและความพึงพอใจของลูกค้าโดยแท้จริง คานิยามของลูกค้า
และการประเมิน คุณภาพเป็ น ศูน ย์ ก ลางของวิธี การซิ กซ์ซิก มา ดั งนั้น วิ ธีการซิกซ์ ซิ กมาซึ่ งเป็น วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ได้นามาใช้สนับสนุนในการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าและข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการเสนอ
สินค้าและบริการ
2. การบริหารจัดการด้วยข้อมูลเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับวิธีการซิกซ์ซิกมา การมุ่งเน้นข้อเรียกร้องของ
บริ ษั ทใช้ เฉพาะที่ เกี่ย วข้อ งกับ การเก็บ ข้อมู ล ด้า นวัต ถุประสงค์จากกระบวนการตัด สิ นใจและละเว้น การ
พิจารณาการตัดสินใจโดยใช้อคติส่วนตัว
3. หน่วยของการวิเคราะห์ภายในวิธีการซิกซ์ซิกมา คือ กระบวนการประกอบ ด้วยการบริหาร
จั ด การด้ ว ยข้ อ มู ล ดั ง นั้ น ในการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพของกระบวนการวิ ธี ก ารซิ ก ซ์ ซิ ก มาจะสามาร ถเพิ่ ม
ประสิทธิภาพโดยอัตโนมัติด้วยคุณภาพของสินค้าและบริการที่ส่งมอบแก่ลูกค้า
4. วิธีการซิกซ์ซิกมาได้เน้น ย้ าความต้องการในรูปแบบการบริห ารจัดการเชิงรุก (Proactive
management style) แทนที่จะรอให้ปัญหาคุณภาพเกิดขึ้น การบริหารจัดการควรมุ่งเน้นไปที่การระบุ
รากเหง้าของปัญหาตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อที่ว่าปัญหานั้นจะได้ไม่เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งแรก
5. การประสานงานเชิงรุกและการร่วมแรงร่วมใจกันระหว่างพนักงานที่ทางานในแผนกงงานที่
แตกต่างกันในบริษัท หากวิธีการซิกซ์ซิกมาประสบความสาเร็จ ทีมงานที่มีระดับหน้าที่ที่แตกต่างกันจะต้อง
ข้ามสายงานเพื่อลดอุปสรรคของลาดับชั้นงานที่แตกต่างกัน
6. สุดท้ายคือวิธีการซิกซ์ซิกมามุ่งมั่นความสมบูรณ์แบบ วิธีการของซิกซ์ซิกมาอ้างถึงช่วงของค่าสถิติ
ซึ่งก็คือยอมให้มีโอกาสเกิดของเสีย 3.4 ส่วนใน 1 ล้านส่วน สมมติว่ากระบวนการมีการกระจายตามปกติ พื้นที่
ภายใต้โค้งจะถูกกาหนดโดยค่าพิสัยของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( σ) จากค่าเฉลี่ย (µ) ในภาพที่ 7.10 ค่าพิสัย
ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (1σ) จากค่าเฉลี่ยมีค่าประมาณ 68.27 % ภายใต้โค้งของการกระจายแบบปกติ
(normal curve) ค่าพิสัย 2 ใน 3 ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 95.45% และ 99.73% ภายใต้การ
กระจายโค้งปกติ

20) ขอบเขตการควบคุมขีดจากัดเฉพาะบน (Upper Specification Limits: USL) และขอบเขตการ


ควบคุมขีดจากับเฉพาะล่าง (Lower Specification Limits: LSL)
ยกตัวอย่างเช่น ขีดจากัดเฉพาะของการผลิตถั่วลิสงกระป๋องได้กาหนดไว้ว่า มีค่า 100±6 กรัม ซึ่ง
เป็นค่าความแปรปรวนในกระบวนการบรรจุ โดยมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานในกระบวนการผลิตเท่ากับ 2 กรัม ซึ่ง
หมายความว่า มีค่าจากัด 3σ และค่าขีดจากัดเฉพาะ 3σ ซึ่งค่าจากัด 3σ ได้ครอบคลุมขีดจากัดเฉพาะไว้ ซึ่งก็
หมายความว่า กระบวนการไม่สนใจค่าของเสียจานวน 0.27% (ซึ่งขอบเขตการควบคุมได้รวมไว้ 3σ)
เฉลยแบบฝึกหัด 607

21) 1. การระบุการวัดค่า โดยทีมงานซิกซ์ซิกมาเป็นผู้ระบุค่าการวัดโดยประมาณ หลังจากที่ผ่านการ


ระดมสมองมาเรียบร้อยแล้ว
2. ขั้นตอนหนึ่งๆในการวัด คือ การระบุค่า ซึ่งการวัดได้กาหนดค่าไว้เพื่อความไม่คลุมเครือของค่า
การวัด โดยขั้นตอนมีความจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อที่จะแก้ไขภาพโดยรวมของประสิทธิภาพของกระบวนการตลอด
การวัดกระบวนการซ้า
3. ขั้นตอนถัดไป คือ การระบุเป้าหมายของประสิทธิภาพของกระบวนการในการสรุปข้อรียกร้อง
จากลูกค้า การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศ (Benchmarking) จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการระบุ
เป้าหมายของประสิทธิภาพของกระบวนการ
4. การวัดค่าประสิทธิภาพในปัจจุบันและระบุความแตกต่าง (Gaps) โดยระดับของเสียในปัจจุบันมี
ค่าเท่ากับ 1% ความแตกต่างนี้มีความชัดเจนและองค์กรควรจะใช้ความพยายามในการวัดความแตกต่าง

22) หัวหน้าโครงการเป็นผู้นาในขั้นตอนของ DMAIC ไปใช้เรียกว่า Black Belt โดย จะมีการฝึกอบรม


อย่างกว้างขวางในการใช้สถิติและเครื่องมือการควบคุมคุณภาพ ตลอดจนการบริหารโครงการและการบริหาร
ทีมงาน Black Belt ได้รับมอบหมายงานเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี ในระหว่างนี้ Black Belt จะต้องเป็น
หัวหน้าโครงการจานวน 8-12 โครงการจากแผนกต่างๆ

23) Master Black Belt จะต้องดารงตาแหน่งเต็มเวลาและได้รับการรับรองหลังจากเข้าร่วมใน


โครงการที่ประสบความสาเร็จ 20 โครงการ

24) เป็นการเปรียบเทียบภายในทีมหรือแผนกต่างๆภายในองค์กร ถึงแม้แต่ละแผนกจะผลิตสินค้าที่


แตกต่าง โดยแนวทางการปฏิบัติของแผนกผลิตหรือแผนกให้บริการลูกค้าอาจเป็นตัววัดแนวทางการปฏิบัติที่ดี
ที่สุดขององค์กร เช่น ตัววัดรอบระยะเวลาการผลิต อัตราความผิดพลาด ต้นทุนคุณภาพ และข้อเสนอแนะจาก
ลูกค้า เป็นต้น

25) 1. การวางแผน (Plan)


1.1 การเลือกกระบวนการสาหรับเปรียบเทียบ
1.2 การนางานที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการสร้างบทบาทและความรับผิดชอบ
1.3 กาหนดการเปรียบเทียบและวัดการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.4 ระบุคู่แข่งขันที่เป็นเลิศที่สุดหรือควบคุมกระบวนการ บางครั้งอาจจะใช้ข้อมูลย้อนกลับจาก
ลูกค้าหรือจากการสังเกตการณ์อุตสาหกรรม
1.5 เอกสารของกระบวนการในปัจจุบัน
2. การเก็บรวมรวมข้อมูล (Collect)
2.1 การตัดสินใจด้านข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล รวมถึงการวิจัย
2.2 ระดับประสิทธิภาพของการเก็บข้อมูลในปัจจุบัน
2.3 การกาหนดพันธมิตรในการทาการเปรียบเทียบ
608 การควบคุมคุณภาพ

2.4 การจัดการการตรวจสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น
2.5 การเตรียมตรวจเยี่ยมและการปฏิสัมพันธ์กับองค์กรเป้าหมาย
2.6 การใช้วิธีในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyze)
3.1 ประสิทธิภาพของข้อมูล
3.2 การสร้างตารางการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในปัจจุบันการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ
คู่แข่งขันที่เป็นพันธมิตร
3.3 การกาหนดแนวปฏิบัติที่ดีเยี่ยม
3.4 แยกกระบวนการที่มีความเป็นไปได้ในการวัดประสิทธิภาพ
4. การปรับปรุง (Improve)
4.1 การสร้างแคตตาล็อกข้อมูลและการสร้างข้อมูลด้านขีดความสามารถขององค์กร
4.2 การพัฒนาระดับสิทธิภาพของวัตถุประสงค์ / กลุ่มเป้าหมาย / มาตรฐานขององค์กรใหม่
4.3 กาหนดวิสัยทัศน์ด้านกระบวนการทางเลือกและแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
4.4 การกาหนดและจากัดอุปสรรคในการเปลี่ยนแปลง
4.5 การพัฒ นาแผนการปฏิบัติ การเพื่อ ปรับปรุงและบรรลุ ผ ลแนวการปฏิบั ติที่เป็ นเลิ ศการ
เปลี่ยนแปลงกระบวนการ และการประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย
5. การทบทวนประสิทธิภาพ (Review)
5.1 การติดตามผลและการปรับปรุง
5.2 การประเมินผลและการเรียนรู้จากการศึกษา
5.3 การทบทวนการเปรียบเทียบ
5.4 การแบ่งปันประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการเรียนรู้จากการทาให้เกิดผล
5.5 การทบทวนความสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายและพันธมิตรขององค์กร

26) ควรจะเลือกทีมงานข้ามสายงาน (A cross functional team) ทั้งพนักงานที่ทางานในกระบวนการ


และทีมงานก่อตั้งกระบวนการปรับปรุงในการเปรียบเทียบ

27) การเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศได้ปรึกษากันเกี่ยวกับพนักงานในองค์กร เจ้าของกระบวนการ


ซัพพลายเออร์จากภายนอก ลูกค้า และผู้เชี่ยวชาญภายใน ซึ่งถือเป็นพันธมิตรของการเปรียบเทียบแล้ว ใน
ขั้นตอนนี้ทีมงานจะทาการศึกษาข้อมูลที่พันธมิตรการเปรียบเทียบได้เผยแพร่สู่สาธารณะ หากข้อมูลเหล่านี้
สามารถใช้ประโยชน์ได้ทีมงานจะใช้ข้อมูลเหล่านี้ทาการเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเลิศต่อไป ซึ่งวิธีนี้ถือเป็น
วิ ธี ก ารที่ ง ายที่ สุ ด ในการด าเนิ น การเปรี ย บเที ย บการขาดข้ อ มู ล ที่ ส ามารถน าไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ จ ะท าให้
ประสิ ทธิ ภ าพของกระบวนการอุ ต สาหกรรมมี ไ ม่เ พี ย งพอ ที ม งานที่ ตั้ง อยู่ ใ นท าเลเดี ย วกับ พั น ธมิต รการ
เปรียบเทียบก็จะสามารถดาเนินกิจกรรมได้ทันที หากองค์กรที่จะทาการเปรียบเทียบนั้นอยู่ในอุตสาหกรรม
ประเภทเดียงกันหรือกิจกรรมการให้บริการประเภทเดียวกันก็จะไม่สามารถทาการเปรียบเทียบได้ โดยทีมงาน
จะจับตาไปที่อุตสาหกรรมการผลิตหรือองค์กรการให้บริการที่มีกระบวนการหน้าที่คล้ายคลึงกัน อนึ่งการสร้าง
เฉลยแบบฝึกหัด 609

ความเชื่อมโยงกับพันธมิตรการเปรียบเทียบเป็นงานที่ยากที่สุในกระบวนการเปรียบเทียบและความล้มเหลวใน
การเปรี ย บเที ย บเกิ ด ขึ้ น บ่ อ ยครั้ ง เช่ น กั น หากพั น ธมิ ต รการเปรี ย บเที ย บกั บ องค์ ก รที่ เ ป็ น เลิ ศ ท างการ
เปรียบเทียบกับแผนกอื่นในองค์กรก็จะแก้ไขปัญหาได้มาก เนื่องจากมีแบบอย่างที่ชัดเจน หากเป็นไปได้ทีมงาน
ควรจะทาการเปรียบเทียบภายในองค์กรจะดีที่สุด

28) เป็นจุดเริ่มต้นในการทาให้เป้าหมายขององค์กรบรรลุความสาเร็จได้ โดยพยามยามเสาะแสวงหา


ตัวอย่างอุตสาหกรรมที่ดีที่สุด เพื่อที่จะเอามาเป็นตัวอย่างในการทาธุรกิจให้เป็นเลิศต่อไป

29) International Organization for Standardization

30) 1. แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะสนองความต้องการ


ของลูกค้าและความต้องการด้านกฎระเบียบที่ใช้บังคับ
2. เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า อย่างไรก็ตามข้อกาหนดของมมาตรฐานนี้สามารถนาไปใช้ได้กับ
ทุกๆ องค์กรโดยไม่ต้องคานึงถึงประเภทขององค์กร ขนาดขององค์กร และผลิตภัณฑ์ขององค์กร

31) ผู้ให้การรับรองระบบ ISO เป็นองค์กรที่ได้รับการรับรองในการเป็นผู้นาการตรวจประเมินและเป็น


องค์กรที่มีความเชี่ยวชาญในระบบคุณภาพและสภาพแวดล้อมการผลิตและการบริการ ผู้ให้การรับรองระบบ
ISO ได้พัฒนาทีมผู้ตรวจประเมินในการประเมินโปรแกรมคุณภาพของบริษัทและรายการกลับไปยังบริษัทแม่
ซึ่งเป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับผ่านการรับรองด้านการตรวจสอบและตรวจประเมินตามข้อกาหนดตลอดจน
มาตรฐานต่างๆ จากสถาบันชั้นนาทั้งในและต่างประเทศทั่วโลก

32) ระบบคุณภาพ ISO 9001: 2008 นั้น องค์กรจะต้องมุ่งเน้นลูกค้าเป็นหลัก เพื่อที่จะวัดความพึง


พอใจของลูกค้าที่มีต่อองค์กร รวมถึงการขายผลิตภัณฑ์/บริการไปสู่ตลาดภายนอก โดยบริษัทสามารถแสดง
การวัดและการตรวจสอบความพึงพอใจของลูกค้าซึ่งนาไปสู่การดาเนินการแก้ไขและปกป้องขอร้องเรียนจาก
ลูกค้า อันเนื่องจากผลิตสินค้าไม่ตรงตามมาตรฐานซึ่งจะนาไปสู่การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ในการ
วิเคราะห์ความพึงพอใจของลูกค้าต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจานวนมากและต้องมีการประมวลผลด้วย การที่
จะทาให้ลูกค้าหันกลับมาใช้บริการหรือซื้อผลิตภัณฑ์นั้นต้องสร้างความพอใจให้ลูกค้า

33) ประโยชน์ของการดาเนินงานภายใต้ระบบมาตรฐาน ISO 9000 คือ


1. ความรู้ ส าหรั บ การสร้ างระบบบริห ารคุณ ภาพซึ่ งถู กพบในการปรับ ปรุ งจากพนัก งานระดั บ
ปฏิบัติงานในบริษัท
2. การรับรองมาตรฐานเป็นข้อกาหนดขั้นต่าในการประกวดราคา ดังนั้น องค์กรต่างๆ ควรจะขอ
การรั บ รอง ISO 9000 เพื่ อ พิ สู จ น์ ขี ด สมรรถนะขององค์ ก ร โดยองค์ ก รที่ มี ข นาดใหญ่ ต่ า งต้ อ งการ
ซัพพลายเออร์ที่ได้รับการรับรองมารฐาน ISO 9000 ดังนั้นซัพพลายเออร์ที่ได้รับการรับรอง ISO 9000 ก็จะมี
สิทธ์ได้รับการเข้าประมูลราคากับองค์กรใหญ่ๆ
610 การควบคุมคุณภาพ

3. เป็นภาพลักษณ์ขององค์กร
4. เพื่อปรับปรุงจริยธรรมของพนักงาน เนื่องจากเป็นการปรับปรุงระบบขององค์กร
5. ลูกค้าได้รับประโยชน์โดยตรง เนื่องจากองค์กรได้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กร
6. ซัพพลายเออร์ได้ทราบถึงความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง อีกทั้งยังเป็นการลดความสูญ
เปล่าในกระบวนการผลิตของบริษัทที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9000
7. ISO 9000 เป็นส่วนหนึ่งของ TQM ซึ่งองค์กรจะได้รับผลประโยชน์ในระยะยาว
8. พนักงานจะได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดการในองค์กร ถือเป็นประโยชน์ทางตรงขององค์กร

34) การจัดการความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม

35) TS 16949

36) ผลลัพธ์ทางธุรกิจ

37) 5W1H

38) Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA)

39) ผู้ให้การรับรองระบบ ISO จะเป็นทีมผู้ตรวจประเมินโปรแกรมคุณภาพของบริษัท และเป็นผู้ที่มี


ความเชี่ยวชาญในด้านระบบคุณภาพ สภาพแวดล้อม การผลิต และการบริการ เป็นต้น

40)
ซัพพลายเออร์ ผู้ผลิต ลูกค้า
เฉลยแบบฝึกหัด 611

บทที่ 8

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8

1) ความน่าจะเป็นที่ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งจะสามารถทางานได้ตามรายละเอียดที่กาหนดตลอดช่วงของอายุ
ผลิตภัณฑ์ ภายใต้สภาวะแวดล้อมที่กาหนด

2) 1. ความน่าจะเป็น เนื่องจากว่าผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันแต่ละอันก็อาจไม่เหมือนกัน บางทีก็มีอายุสั้น


บางอันก็มีอายุยืนกว่าอีกอันหนึ่ง เป็นต้น ฉะนั้นจึงจาเป็นต้องอาศัย Frequency Distributions ของการเสีย
หรือไม่ทางานของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เพื่อจะนาไปหาอายุการทางานของผลิตภัณฑ์ต่อไป
2. การใช้งานหรือทางาน จะพอยกตัว อย่างได้เช่น เครื่องทาความร้อนก็ควรที่จะให้ความร้อน ณ
อุณหภูมิหนึ่งเมื่อเปิดสวิทช์และหมุนไปที่ขีดอันหนึ่งเป็นต้น และการใช้งานนี้จะต้องใช้ให้ถูกต้องด้วย คือเครื่อง
ทาความร้อนสาหรับใช้กับห้องๆ หนึ่งนั้น ถ้านาไปใช้ในที่โล่งแจ้งไม่มีขอบเขตก็คงไม่เกิดความร้อนที่ถูกต้องได้
อย่างนี้เรียกว่าใช้ไม่ถูกต้องกับหน้าที่การทางานของผลิตภัณฑ์อันนั้น
3. ระยะเวลาหรืออายุ เป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องบกกล่าวหรือกาหนดอย่างเช่นชีวิตของมนุษย์เรานี้ความ
แข็ ง แรงสมบู ร ณ์ ภ ายใน 1 ปี กั บ 10 ปี ย่ อ มแตกต่ า งกั น ได้ ระยะเวลา อายุ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก็ เ ช่ น กั น
จึงจาเป็นต้องบอกหรือกาหนดชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Life span) เอาไว้ด้วย
4. สภาพแวดล้อม ก็คือสิ่งภายนอกหรือรอบนอกของผลิตภัณฑ์อันมีผลกระทบกระเทือนต่อความ
แข็ ง แรงคงทน และถ้ า จะมองให้ ก ว้ า งออกไปอาจรวมถึ ง การเก็ บ และการขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นั้ น ๆ อี ก ด้ ว ย
อย่างเช่น มอเตอร์ไฟฟ้าสาหรับใช้ภายในอาคาร หากนาไปใช้ตากแดดตากฝนก็จะเสียหาย หรืออายุชีวิตการ
ทางานผิดและเปลี่ยนไป

3) Expected Normal Life

4) 0.905

5) (PS) = (PT) * (PR) * (PC)

6) เทคนิคการเพิ่มค่าความเชื่อมั่นมี 4 เทคนิคคือ การออกแบบ การควบคุมกระบวนการผลิต การ


ควบคุมการขนส่งสินค้า และการบารุงรักษา

7) 0.994

8) 0.7539
612 การควบคุมคุณภาพ

9) 0.78

10) 0.368 และ 0.223

11) 0.9885

12) 12.1 0.6703

12.2 12,500 ชั่วโมง

13) 267

14) 0.87

15) 34

16) 0.0087 ชั่วโมง

17) 0.0012

18) 0.258

19) 1. กาหนดหรือตั้งขีดความต้องการของความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ์
2. จัดวางโปรแกรม เพื่อให้ได้ตามความต้องการรวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ กรรมวิธีการผลิต และ
การขนส่ง
3. ควบคุมเพื่อให้โปรแกรมที่วางไว้ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย
4. วิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นที่ได้จากการดาเนินงานที่วางไว้นั้น
เฉลยแบบฝึกหัด 613

20)

อายุเฉลี่ย (θ) อัตราความขัดข้อง (λ) nTλ Pa


1,000 0.001000 9.60 0.0038
2,000 0.000500 4.80 0.1425
4,000 0.000250 2.40 0.5697
5,000 0.000200 1.92 0.6983
6,000 0.000167 1.60 0.7834
10,000 0.000100 0.96 0.9269
20,000 0.000050 0.48 0.9871

ความน่าจะเป็นในการยอมรับ Pa
1.0

0.75

0.5

0.25

5,000 10,000 15,000 20,000

อายุเฉลี่ย (θ)
614 การควบคุมคุณภาพ

You might also like