โครงงานการแปล jirawat

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 35

โครงงานการแปล

เรื่อง

Will we ever… understand why music makes us feel good?

จัดทำโดย

นายจิรวัฒน์ ทัศบุตร

นักศึกษาปริญญาตรี ชัน
้ ปี ที่ 2

รหัสนักศึกษา 633080604-9

เสนอ

ผู้ช่วยสาสตราจารย์สุขุม วสุนธราโศภิต

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ
รหัสวิชา HS112401 การแปลภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

โครงงานการแปล

เรื่อง

Will we ever… understand why music makes us feel good?

จัดทำโดย

นายจิรวัฒน์ ทัศบุตร

นักศึกษาปริญญาตรี ชัน
้ ปี ที่ 2

รหัสนักศึกษา 633080604-9

เสนอ

ผู้ช่วยสาสตราจารย์สุขุม วสุนธราโศภิต
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ

รหัสวิชา HS112401 การแปลภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทนำ

จากงานวิจัยในปั จจุบันทำให้เราทราบว่าดนตรีมีอิทธิพลต่ออารมณ์
และความรู้สึกของคนเราซึ่งดนตรีที่มีความสนุกสนานนัน
้ จะไปกระตุ้นสมอง
บริเวณลิมบิคซึง่ มีหน้าที่ควบคุมอารมณ์ความสุขซึ่งจะหลัง่ สารโดฟามีนที่เป็ น
สารแห่งความสุขออกมาและดนตรียังสามารถกระตุ้นอารมณ์ที่รุนแรงได้อีก
ด้วย ซึ่งจะเกี่ยวกับทฤษฎีของ ลีโอนาร์ด เมเยอร์ ที่กล่าวว่าเราฟั งดนตรีแล้ว
ประมวลผลด้วยใจและเกิดความคาดหวังในการฟั งถ้าหากดนตรีไม่ตอบ
สนองความต้องการอาจทำให้หงุดหงิดได้ หากดนตรีนน
ั ้ ตอบสนองต่อความ
ต้องการสมองจะให้รางวัลแก่ตัวเองโดยการหลั่งโดฟามีนออกมาเช่นเดียวกัน
ซึ่งแนวคิดที่ว่าอารมณ์ทางดนตรีนน
ั ้ เกิดจากการแทรกแซงและบิดเบือน
ความคาดหวังของเรานัน
้ มีแนวโนมเป็ นไปได้มากที่สุดโดยแต่ละเชื้อชาติและ
วัฒนธรรมก็จะมีความคาดหวังที่แตกต่างกันไปทำให้ดนตรีกระตุ้นอารมณ์ที่
แตกต่างกัน ทัง้ นีอ
้ ารมณ์ของเราสามารถปรับเปลี่ยนได้จากปั จจัยอื่นๆได้เช่น
กันซึ่งจากแนวคิดเหล่านีย
้ ังไม่ทราบแน่ชัดเกี่ยวกับสาเหตุที่แท้จริงของ
อารมณ์ที่ซับซ้อนจากการฟั งดนตรี

เหตุผลที่เลือกเรื่องนีเ้ พราะชอบในการฟั งเพลงและรู้สึกว่าตัวเรามี


อารมณ์ร่วมกับเพลงจึงอยากทราบว่าการเกิดความรู้สึกร่วมไปกับเพลงนัน

เกิดขึน
้ ได้อย่างไร
เอกสารต้นฉบับ

Will we ever… understand why music makes us feel good?

No one knows why music has such a potent effect on our


emotions. But thanks to some recent studies we have a few
intriguing clues.

Why do we like music? Like most good questions, this one


works on many levels. We have answers on some levels, but
not all.
We like music because it makes us feel good. Why does it make
us feel good? In 2001, neuroscientists Anne Blood and Robert
Zatorre at McGill University in Montreal provided an answer.
Using magnetic resonance imaging they showed that people
listening to pleasurable music had activated brain regions called
the limbic and paralimbic areas, which are connected to
euphoric reward responses, like those we experience from sex,
good food and addictive drugs. Those rewards come from a
gush of a neurotransmitter called dopamine. As DJ Lee Haslam
told us, music is the drug.

But why? It’s easy enough to understand why sex and food are
rewarded with a dopamine rush: this makes us want more, and
so contributes to our survival and propagation. (Some drugs
subvert that survival instinct by stimulating dopamine release
on false pretences.) But why would a sequence of sounds with
no obvious survival value do the same thing?

The truth is no one knows. However, we now have many clues


to why music provokes intense emotions. The current favourite
theory among scientists who study the cognition of music –
how we process it mentally – dates back to 1956, when the
philosopher and composer Leonard Meyer suggested that
emotion in music is all about what we expect, and whether or
not we get it. Meyer drew on earlier psychological theories of
emotion, which proposed that it arises when we’re unable to
satisfy some desire. That, as you might imagine, creates
frustration or anger – but if we then find what we’re looking for,
be it love or a cigarette, the payoff is all the sweeter.

This, Meyer argued, is what music does too. It sets up sonic


patterns and regularities that tempt us to make unconscious
predictions about what’s coming next. If we’re right, the brain
gives itself a little reward – as we’d now see it, a surge of
dopamine. The constant dance between expectation and
outcome thus enlivens the brain with a pleasurable play of
emotions.

Why should we care, though, whether our musical expectations


are right or not? It’s not as if our life depended on them. Ah,
says musicologist David Huron of Ohio State University, but
perhaps once it did. Making predictions about our environment
– interpreting what we see and hear, say, on the basis of only
partial information – could once have been essential to our
survival, and indeed still often is, for example when crossing
the road. And involving the emotions in these anticipations
could have been a smart idea. On the African savannah, our
ancestors did not have the luxury of mulling over whether that
screech was made by a harmless monkey or a predatory lion.
By bypassing the “logical brain” and taking a shortcut to the
primitive limbic circuits that control our emotions, the mental
processing of sound could prompt a rush of adrenalin – a gut
reaction – that prepares us to get out of there anyway.

We all know that music has this direct line to the emotions:
who hasn’t been embarrassed by the tears that well up as the
strings swell in a sentimental film, even while the logical brain
protests that this is just cynical manipulation? We can’t turn off
this anticipatory instinct, nor its link to the emotions – even
when we know that there’s nothing life-threatening in a Mozart
sonata. “Nature’s tendency to overreact provides a golden
opportunity for musicians”, says Huron. “Composers can
fashion passages that manage to provoke remarkably strong
emotions using the most innocuous stimuli imaginable.”

Sound check

The idea that musical emotion arises from little violations and
manipulations of our expectations seems the most promising
candidate theory, but it is very hard to test. One reason for this
is that music simply offers so much opportunity for creating and
violating expectations that it’s not clear what we should
measure and compare. We expect rising melodies to continue
to rise – but perhaps not indefinitely, as they never do. We
expect pleasing harmonies rather than jarring dissonance – but
what sounds pleasing today may have seemed dissonant two
hundred years ago. We expect rhythms to be regular, but are
surprised if the jumpy syncopation of rock’n’roll suddenly
switches to four-square oompah time. Expectation is a
complicated, ever-changing interplay of how the piece we’re
hearing has gone so far, how it compares with similar pieces
and styles, and how it compares with all we’ve ever heard.

So, one corollary of Meyer’s theory is that emotion in music


will be primarily culturally specific. In order to have any
expectations about where the music will go in the first place,
you need to know the rules – to appreciate what is normal.
This varies from one culture to another. Western Europeans
think simple rhythms like waltz time are “natural”, but Eastern
Europeans dance happily to metres that sound extraordinarily
complicated to others. All of us develop a strong, subconscious
sense of which notes sound “right”, whether in sequence in a
melody, or sounding together in harmonies. But because
different cultures use different scales and tunings – the scales
of India and Indonesia, for example, don’t respect the tunings
of a piano – there is nothing universal about these
expectations. A jolly piece of Indonesian music may be
interpreted as “sad” by Westerners simply because it sounds
close to being in the traditionally “sad” minor scale.

This picture also implies that music isn’t just about good
vibrations – it can provoke other feelings too, such as anxiety,
boredom and even anger. Composers and performers walk a
delicate tightrope, needing to tweak expectations to just the
right degree. Not enough, and the music is dully predictable, as
nursery tunes seem to adults. Too much, and we can’t develop
any expectations at all – which is why many people struggle
with modernist atonal music.

All this can rationalise a great deal about why we feel emotions
from particular musical phrases and performances. Meyer’s
ideas have received further support very recently from a brain-
scanning study by Zatorre and colleagues, which showed that
the rewards stimulated by music heard for the first time are
particularly dependent on communication between “emotion”
and “logic” circuits in the brain.

But it’s not the whole story. Our emotional response to music
may be conditioned by so many other factors too – if we are
hearing it alone or in a crowd, for example, or if we associate a
particular piece with a past experience, good or bad (dubbed
the “Darling they’re playing our tune” theory).

Underneath all these ideas is the fact that we’re not even sure
what kind of emotion we’re talking about. We can recognise
sad music without feeling sad. And even if we do feel sad, it’s
not like the sadness of bereavement – it can be enjoyable even
if it provokes tears. Some music, like some of Bach’s, can create
intense emotion even though we can’t quite put into words
what the emotion is. So we’ll surely never understand why
music stimulates emotions at least until we have a better
picture of what our emotional world is really like.
เอกสารฉบับแปล

ข้อควา ข้อความต้นฉบับ ข้อความฉบับแปล


มที่
1. Will we ever… understand พวกเราจะเข้าใจจริง ๆ หรือ
why music makes us feel ว่าทำไมดนตรีถึงทำให้เรา
good? รู้สึกดี

2. No one knows why music ไม่มีใครทราบว่าทำไมดนตรี


has such a potent effect on ถึงมีอิทธิพลอย่างมากต่อ
our emotions. อารมณ์ของพวกเรา
3. But thanks to some recent แต่ต้องขอบคุณงานวิจัยใน
studies we have a few ปั จจุบันที่ทำให้พวกเราได้
intriguing clues. เบาะแสที่น่าสนใจบางอย่าง

4. Why do we like music? Like ทำไมพวกเราถึงชอบดนตรี


most good questions, this เช่นเดียวกับคำถามที่ดีส่วน
one works on many levels. ใหญ่ที่คำถามนีส
้ ามารถตอบ
ได้หลายระดับ
5. We have answers on some พวกเราได้รวบรวมคำตอบมา
levels, but not all. ไว้บางระดับแต่ไม่ทงั ้ หมด

6. We like music because it พวกเราชอบดนตรีเพราะ


makes us feel good. Why ดนตรีทำให้เรารู้สึกดี แล้ว
does it make us feel good? ทำไมดนตรีสามารถทำให้เรา
In 2001, neuroscientists รู้สึกดีได้ล่ะ ในปี 2001 นัก
Anne Blood and Robert ประสาทวิทยา แอน บลัด
Zatorre at McGill University และ โรเบิร์ต ซาตอร์เร ที่
in Montreal provided an มหาวิทยาลัยแมคกิลล์ในมอ
answer. นทรีออลได้ออกมาให้คำตอบ
7. Using magnetic resonance จากการใช้เครื่องตรวจ
imaging they showed that คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทำให้เห็น
people listening to ได้ว่า คนทีฟ
่ ั งเพลงที่มีความ
pleasurable music had สนุกสนานจะไปกระตุ้น
activated brain regions บริเวณสมองส่วนที่เรียกว่า
called the limbic and ลิมบิคและพาราลิมบิค ซึ่ง
paralimbic areas, which are เชื่อมต่อกับส่วนที่ตอบสนอง
connected to euphoric รางวัลความร่าเริง เช่นเดียว
reward responses, like กับทีพ
่ วกเราสามารถพบเจอ
those we experience from ได้จากการมีเพศสัมพันธ์
sex, good food and อาหารอร่อย ๆ และยาเสพ
addictive drugs. ติด
8. Those rewards come from รางวัลเหล่านัน
้ มาจากการ
a gush of a พรัง่ พรูของสารสื่อประสาทที่
neurotransmitter called เรียกว่าโดฟามีน
dopamine.
9. As DJ Lee Haslam told us, เหมือนกับที่ดีเจ ลี ฮัสลัม
music is the drug. บอกไว้ว่าดนตรีก็คือยาเสพ
ติด

10. But why? It’s easy enough แต่ทำไมกันล่ะ เป็ นเรื่องง่าย


to understand why sex and ที่จะเข้าใจว่าทำไมเพศ
food are rewarded with a สัมพันธ์และอาหารเป็ น
dopamine rush: this makes รางวัลที่มาจากการหลั่งโดฟา
us want more, and so มีน ที่ทำให้เราต้องการมัน
contributes to our survival เพิ่มและยังมีส่วนช่วยในการ
and propagation. (Some เอาชีวิตรอดและการสืบพันธุ์
drugs subvert that survival ของพวกเรา (ยาเสพติดบาง
instinct by stimulating ชนิดทำลายสัญชาตญาณการ
dopamine release on false เอาตัวรอดโดยการหลอก
pretences.) กระตุ้นการหลัง่ โดฟามีน)
11. But why would a sequence แต่ทำไมลำดับของเสียงที่เห็น
of sounds with no obvious ได้ชัดว่าไม่มีความสำคัญต่อ
survival value do the same การดำรงชีวิตสามารถทำ
thing? แบบเดียวกันได้

12. The truth is no one knows. ความจริงนัน


้ ไม่มีใครทราบได้
13. However, we now have อย่างไรก็ตามในปั จจุบันพวก
many clues to why music เรามีข้อมูลหลายอย่างว่า
provokes intense emotions. ทำไมดนตรีถึงกระตุ้นอารมณ์
ได้อย่างรุนแรง
14. The current favourite ทฤษฎีที่เป็ นที่ช่ น
ื ชอบใน
theory among scientists ปั จจุบันในหมู่นัก
who study the cognition of วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาองค์
music – how we process it ความรู้เกี่ยวกับดนตรีคือวิธีที่
mentally – dates back to การพวกเราประมวลผลมัน
1956, when the ด้วยใจ ย้อนไปในปี 1956
philosopher and เมื่อนักปรัชญาและนัก
composer Leonard Meyer ประพันธ์เพลงอย่าง ลีโอ
suggested that emotion in นาร์ด เมเยอร์ ให้คำแนะนำ
music is all about what we ไว้ว่าทุกอารมณ์ในดนตรีนน
ั้
expect, and whether or not ขึน
้ อยู่กับว่าเราคาดหวังไว้ว่า
we get it. อย่างไรและมันจะสื่อมาถึง
เราหรือไม่

15. Meyer drew on earlier เมเยอร์ได้กล่าวถึงทฤษฎี


psychological theories of จิตวิทยาทางอารมณ์ก่อน
emotion, which proposed หน้านี ้ ซึ่งได้เสนอไว้ว่ามันจะ
that it arises when we’re เกิดขึน
้ เมื่อเราไม่สามารถ
unable to satisfy some ตอบสนองต่อความต้องการ
desire. บางอย่างได้
16. That, as you might imagine, อย่างที่คณ
ุ อาจจะจินตนาการ
creates frustration or anger ได้คือก่อให้เกิดความ
– but if we then find what หงุดหงิดและน่ารำคาญ แต่
we’re looking for, be it love เมื่อเราพบสิ่งที่เราตามหาไม่
or a cigarette, the payoff is ว่าจะเป็ นความรักหรืออาจ
all the sweeter. จะเป็ นบุหรี่ ผลตอบแทนก็จะ
ยิ่งหอมหวาน
17. This, Meyer argued, is what เมเยอร์กล่าวว่าดนตรีก็เช่น
music does too. กัน
18. It sets up sonic patterns ดนตรีนน
ั ้ มีรูปแบบและความ
and regularities that tempt สม่ำเสมอของเสียงที่ดึงดูดให้
us to make unconscious เราคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึน

predictions about what’s ในภายภาคหน้าโดยไม่ร้ต
ู ัว
coming next.
19. If we’re right, the brain ถ้าหากเราคาดการณ์ถูก
gives itself a little reward – สมองก็จะให้รางวัลแก่ตัวเอง
as we’d now see it, a surge หรือที่พวกเราเรียกว่าการ
of dopamine. พรัง่ พรูของโดฟามีน

20. The constant dance จังหวะที่พอดีระหว่างความ


between expectation and คาดหวังกับผลลัพธ์ทำให้
outcome thus enlivens the สมองนัน
้ มีชีวิตชีวาด้วยการ
brain with a pleasurable แสดงอารมณ์ที่น่าพอใจ
play of emotions.

21. Why should we care, ทำไมพวกเราจึงควรสนใจว่า


though, whether our ความคาดหวังในดนตรีของ
musical expectations are เรานัน
้ ถูกหรือไม่ละ

right or not?
22. It’s not as if our life ชีวิตของเราไม่ได้ขน
ึ ้ อยู่กับ
depended on them. พวกมันสักหน่อย
23. Ah, says musicologist David นักดนตรี เดวิด ฮูรอน แห่ง
Huron of Ohio State มหาวิทยาลัยรัฐโอไฮโอกล่าว
University, but perhaps ว่าบางทีมันก็เป็ นเช่นนัน

once it did.

24. Making predictions about การคาดคะเนเกี่ยวกับสภาพ


our environment – แวดล้อมของพวกเรา การ
interpreting what we see ตีความเกี่ยวกับสิ่งที่เราเห็น
and hear, say, on the basis หรือได้ยิน สามารถพูดได้ว่า
of only partial information เป็ นพื้นฐานของข้อมูลเพียง
– could once have been แค่บางส่วนที่ครัง้ หนึ่งอาจจะ
essential to our survival, มีความสำคัญต่อการดำรง
and indeed still often is, for ชีวิตของพวกเรา แล้วมันก็มัก
example when crossing the จะเป็ นเช่นนัน
้ อย่างเช่นการ
road. เดินข้ามถนน
25. And involving the emotions และการโยงอารมณ์กับความ
in these anticipations could คาดหวังเหล่านีอ
้ าจเป็ นความ
have been a smart idea. คิดที่ฉลาด
26. On the African savannah, ที่ทุ่งหญ้าสะวันนาในประเทศ
our ancestors did not have แอฟริกา บรรพบุรุษของเรา
the luxury of mulling over ไม่มค
ี วามคิดที่จะคร่ำครวญ
whether that screech was ว่าเสียงร้องนัน
้ เป็ นเสียงของ
made by a harmless ลิงที่ไม่เป็ นอันตรายหรือเสียง
monkey or a predatory ของสิงโตนักล่า
lion.
27. By bypassing the “logical โดยการข้าม “ความคิดเชิง
brain” and taking a ตรรกะ” และลัดไปยังวงจร
shortcut to the primitive ลิมบิคดัง้ เดิมที่ควบคุม
limbic circuits that control อารมณ์ของพวกเรา การ
our emotions, the mental ประมวลผลเสียงภายในใจ
processing of sound could อาจกระตุ้นการหลั่งอะดรีนา
prompt a rush of adrenalin ลีน ซึ่งเป็ นปฏิกิริยาของลำไส้
– a gut reaction – that ที่เตรียมพร้อมให้เราออกมา
prepares us to get out of จากที่นั่นอยู่ดี
there anyway.

28. We all know that music has พวกเราต่างรู้ดีว่าดนตรีนน


ั ้ มี
this direct line to the ผลโดยตรงกับความรู้สึกของ
emotions: who hasn’t been เรา ใครบ้างล่ะที่ไม่เคยอาย
embarrassed by the tears เวลาดูภาพยนตร์แล้วรู้สึก
that well up as the strings ซาบซึง้ จนน้ำตาไหล ถึงแม้ว่า
swell in a sentimental film, สมองจะคัดค้านว่านี่เป็ น
even while the logical brain เพียงการเยาะเย้ยเท่านัน

protests that this is just
cynical manipulation?

29. We can’t turn off this เราไม่สามารถที่จะปิ ด


anticipatory instinct, nor its สัญชาตญาณในการคาด
link to the emotions – การณ์ล่วงหน้าหรือการที่มัน
even when we know that เชื่อมโยงกับอารมณ์นไี ้ ด้
there’s nothing life- แม้ว่าเราจะรู้อยู่แล้วว่าใน
threatening in a Mozart โมสาร์ท โซนาตานัน
้ ไม่มี
sonata. อะไรที่อันตรายถึงชีวิต
30. “Nature’s tendency to “แนวโน้มของธรรมชาติที่
overreact provides a มากจนเกินเหตุเป็ นโอกาส
golden opportunity for ทองของนักดนตรี” ฮูรอน
musicians”, says Huron. กล่าว
31. “Composers can fashion “นักประพันธ์เพลงสามารถ
passages that manage to แต่งบทกลอนที่ทำให้กระตุ้น
provoke remarkably strong อารมณ์ได้รุนแรงอย่างไม่น่า
emotions using the most เชื่อโดยใช้สิ่งเร้าที่ไม่มีพิษภัย
innocuous stimuli ที่สุดเท่าที่จะสามารถจิตนา
imaginable.” การได้”

32. Sound check การทดสอบเสียง

33. The idea that musical แนวคิดที่ว่าอารมณ์ทาง


emotion arises from little ดนตรีเกิดจากการแทรงแซง
violations and และบิดเบือนความคาดหวัง
manipulations of our ของเราเพียงเล็กน้อย ดู
expectations seems the เหมือนว่าจะเป็ นทฤษฎีที่ถูก
most promising candidate เสนอมาแล้วมีแนวโน้มที่จะ
theory, but it is very hard เป็ นไปได้มากที่สุด แต่ก็ยัง
to test. เป็ นเรื่องยากที่จะทดสอบ
34. One reason for this is that เหตุผลหนึง่ คือดนตรีนน
ั ้ ให้
music simply offers so โอกาสในการรังสรรค์และแท
much opportunity for รงแซงความคาดหวังเป็ น
creating and violating อย่างมาก ซึง่ มันก็ยังไม่
expectations that it’s not ชัดเจนว่าเราควรวัดและ
clear what we should เปรียบเทียบจากอะไร
measure and compare.
35. We expect rising melodies เราคาดหวังให้ทำนองนัน
้ จะ
to continue to rise – but เร่งขึน
้ ไปเรื่อย ๆ แต่อาจจะ
perhaps not indefinitely, as ไม่ขน
ึ ้ ไปแบบไม่มีข้อจำกัด
they never do. อย่างที่ไม่เคยทำมาก่อน

36. We expect pleasing เราคาดหวังถึงเสียงที่พร้อม


harmonies rather เพรียงกันมากกว่าเสียงที่ไม่
than jarring dissonance – ประสานกัน แต่เสียงทีพ
่ ร้อม
but what sounds pleasing เพรียงกันวันนีอ
้ าจจะฟั งไม่
today may have seemed ประสานเมื่อสองร้อยปี ก่อน
dissonant two hundred
years ago.
37. We expect rhythms to be เราคาดหวังถึงจังหวะที่
regular, but are surprised if สม่ำเสมอ แต่เราจะรู้สึก
the jumpy syncopation of ประหลาดใจถ้าจู่ ๆ การลัด
rock’n’roll suddenly จังหวะของเพลงร็อกแอนด์
switches to four-square โรลก็เปลี่ยนไปเป็ นจังหวะอุม
oompah time. ป้ าที่หนักแน่น
38. Expectation is a ความคาดหวังเป็ นสิ่งที่ซับ
complicated, ever-changing ซ้อน และยังเปลี่ยนแปลง
interplay of how the piece ตลอดเวลา ว่าผลงานที่เรา
we’re hearing has gone so เคยฟั งมาจนถึงตอนนีเ้ ทียบ
far, how it compares with กับผลงานและสไตล์ที่คล้าย
similar pieces and styles, กันอย่างไร และเทียบกับ
and how it compares with ดนตรีทุกอย่างที่เราเคยฟั งมา
all we’ve ever heard. ได้อย่างไร

39. So, one corollary of ดังนัน


้ หลักฐานหนึ่งเกี่ยวกับ
Meyer’s theory is that ทฤษฎีของเมเยอร์ก็คือ
emotion in music will be อารมณ์ในดนตรีนน
ั ้ จะมี
primarily culturally specific. ความเฉพาะตัวแตกต่างกัน
ไปตามวัฒนธรรม
40. In order to have any การที่จะมีความคาดหวังว่า
expectations about where ดนตรีจะไปในทิศทางใดใน
the music will go in the first ตอนแรกนัน
้ คุณต้องรู้กฎ
place, you need to know เกณฑ์ของมันก่อน เพื่อที่จะ
the rules – to appreciate ได้ทราบซาบซึง้ ว่าโดยปกติ
what is normal. แล้วมันเป็ นอย่างไร
41. This varies from one สิ่งนีจ
้ ะแตกต่างกันไปใน
culture to another. แต่ละวัฒนธรรม
42. Western Europeans think ชาวยุโรปตะวันตกคิดว่า
simple rhythms like waltz จังหวะง่าย ๆ อย่างจังหวะ
time are “natural”, but วอลทซ์นน
ั ้ เป็ น “ธรรมชาติ”
Eastern Europeans dance แต่ชาวยุโรปตะวันออกนัน

happily to metres that เต้นรำอย่างมีความสุขกับ
sound extraordinarily จังหวะที่ฟังดูพิเศษและซับ
complicated to others. ซ้อนกัน

43. All of us develop a strong, พวกเราทุกคนพัฒนา


subconscious sense of จิตใต้สำนึกให้มีความ
which notes sound “right”, แข็งแกร่งจนสามารถฟั งเสียง
whether in sequence in a โน๊ตได้ “ถูกต้อง” ไม่ว่าจะ
melody, or sounding เป็ นการเรียงลำดับในทำนอง
together in harmonies. หรือประสานเสียงเข้าด้วยกัน
ในการประสานเสียง
44. But because different เสียง แต่เนื่องจากวัฒนธรรม
cultures use different ต่างกันจึงใช้สัดส่วนและการ
scales and tunings – the ปรับเสียงที่ต่างกัน เช่น
scales of India and สัดส่วนของประเทศอินเดีย
Indonesia, for example, และอินโดนีเซียที่ไม่ยอมรับ
don’t respect the tunings การปรับเสียงของเปี ยโน
of a piano – there is ความคาดหวังเหล่านีจ
้ ึงไม่มี
nothing universal about ความเป็ นสากล
these expectations.

45. A jolly piece of Indonesian ดนตรีที่ครึกครื้นของประเทศ


music may be interpreted อินโดนีเซียอาจจะถูกมองว่า
as “sad” by Westerners “เศร้า” ในสายตาชาวตะวัน
simply because it sounds ตกเพียงเพราะว่ามันฟั งดูใกล้
close to being in the เคียงกับสัดส่วนโน๊ตไมเนอร์ที่
traditionally “sad” minor “เศร้า” ตามหลักประเพรี
scale. นิยม

46. This picture also implies ภาพรวมนีย


้ ังบ่งบอกได้ว่า
that music isn’t just about ดนตรีนน
ั ้ ไม่ใช่แค่การสั่นที่ดี
good vibrations – it can เท่านัน
้ มันยังกระตุ้นความ
provoke other feelings too, รู้สึกอื่น ๆ อีกด้วย เช่น ความ
such as anxiety, boredom กังวล ความเบื่อหน่าย หรือ
and even anger. แม้แต่ความโกรธ
47. Composers and performers นักประพันธ์เพลงและนัก
walk a delicate tightrope, แสดงนัน
้ เดินบนเชือกที่
needing to tweak ละเอียดอ่อน โดยต้องปรับ
expectations to just the ความคาดหวังให้อยู่ในระดับ
right degree. ที่ถูกต้อง
48. Not enough, and the music หากน้อยเกินไปดนตรีก็จะ
is dully predictable, as สามารถคาดเดาได้ง่ายจนน่า
nursery tunes seem to เบื่อ เช่น ทำนองเพลงกล่อม
adults. เด็กในมุมมองของผู้ใหญ่

49. Too much, and we can’t หากมากเกินไปเราก็จะไม่


develop any expectations สามารถพัฒนาความคาดหวัง
at all – which is why many ใด ๆ ได้เลย นี่คือเหตุผลว่า
people struggle with ทำไมผูค
้ นจำนวนมากถึง
modernist atonal music. พยายามดิน
้ รนกับดนตรีเอ
โทนัลสมัยใหม่

50. All this can rationalise a ทัง้ หมดนีส


้ ามารถให้เหตุผล
great deal about why we ได้มากมายว่าทำไมเราถึงรู้สึก
feel emotions from ถึงอารมณ์จากถ้อยคำและ
particular musical phrases การแสดงดนตรี
and performances.

51. Meyer’s ideas have แนวคิดของเมเยอร์เพิ่งได้รับ


received further support การสนับสนุนเพิ่มเติมเมื่อเร็ว
very recently from a brain- ๆ นีจ
้ ากการศึกษาการสแกน
scanning study by Zatorre สมองโดย ซาตอร์เร และ
and colleagues, which เพื่อนร่วมงาน ซึง่ แสดงให้
showed that the rewards เห็นว่ารางวัลที่ถูกกระตุ้น
stimulated by music heard จากการได้ยินเพลงนัน
้ เป็ น
for the first time are ครัง้ แรกขึน
้ อยู่กับการสื่อสาร
particularly dependent on ระหว่างวงจร “อารมณ์”
communication between และ “ตรรกะ” ในสมองโดย
“emotion” and “logic” เฉพาะ
circuits in the brain.

52. But it’s not the whole แต่เรื่องทัง้ หมดไม่ได้มีแค่นี ้


story.

53. Our emotional response to อารมณ์ของเราที่ตอบสนอง


music may be conditioned ต่อดนตรีอาจจะถูกปรับ
by so many other factors เปลี่ยนไปตามปั จจัยอื่น ๆ
too – if we are hearing it อีกหลายปั จจัยเช่นกัน เช่น
alone or in a crowd, for การที่เราฟั งเพลงคนเดียว
example, or if we associate หรือฟั งในฝูงชน หรือการที่
a particular piece with a เราเอาผลงานชิน
้ ใดชิน
้ หนึ่ง
past experience, good or ไปเปรียบเทียบกับ
bad (dubbed the “Darling ประสบการณ์ในอดีตว่าดี
they’re playing our tune” หรือไม่ดี (ถูกตัง้ ให้เป็ นทฤษฎี
theory). “ที่รัก พวกเขากำลังฟั ง
ทำนองของพวกเรา”)
54. Underneath all these ideas ภายใต้แนวคิดเหล่านีค
้ ือ
is the fact that we’re not ความจริงแล้วเราไม่ทราบ
even sure what kind of แน่ชัดด้วยซ้ำว่าเรากำลังพูด
emotion we’re talking ถึงอารมณ์แบบไหน
about.
55. We can recognise sad เราสามารถรับรู้เพลงเศร้าได้
music without feeling sad. โดยที่เราไม่ร้ส
ู ึกว่าเศร้า
56. And even if we do feel sad, และถึงแม้ว่าเรารู้สึกเศร้า มัน
it’s not like the sadness of ก็ไม่เหมือนกับความรู้สึกเศร้า
bereavement – it can be ของการสูญเสีย มันสามารถ
enjoyable even if it ทำให้ร้ส
ู ึกสนุกได้แม้ว่ามันจะ
provokes tears. ทำให้เราน้ำตาไหล
57. Some music, like some of ดนตรีบางอย่างก็เหมือนกับ
Bach’s, can create intense เพลงของบาคที่สามารถสร้าง
emotion even though we อารมณ์ได้อย่างรุนแรงแม้ว่า
can’t quite put into words เราจะไม่สามารถหาคำมา
what the emotion is. แทนอารมณ์นน
ั ้ ได้
58. So we’ll surely never ดังนัน
้ เราจึงไม่มีวันที่จะ
understand why music เข้าใจได้อย่างแน่นอนว่า
stimulates emotions at ทำไมดนตรีจึงสามารถ
least until we have a better กระตุ้นอารมณ์ได้ อย่างน้อย
picture of what our ก็จนกว่าพวกเราจะเห็นภาพ
emotional world is really โลกของอารมณ์ของเราได้ดี
like. กว่านีว้ ่านัน
้ แท้จริงแล้วมัน
เป็ นอย่างไรกันแน่

ฉบับแปล

พวกเราจะเข้าใจจริง ๆ หรือว่าทำไมดนตรีถึงทำให้เรารู้สึกดี

ไม่มีใครทราบว่าทำไมดนตรีถึงมีอิทธิพลอย่างมากต่ออารมณ์ของพวก
เรา แต่ต้องขอบคุณงานวิจัยในปั จจุบันที่ทำให้พวกเราได้เบาะแสที่น่าสนใจ
บางอย่าง

ทำไมพวกเราถึงชอบดนตรี เช่นเดียวกับคำถามที่ดีส่วนใหญ่ คำถามนี ้


สามารถตอบได้หลายระดับ พวกเราได้รวบรวมคำตอบมาไว้บางระดับแต่ไม่
ทัง้ หมด

พวกเราชอบดนตรีเพราะดนตรีทำให้เรารู้สึกดี แล้วทำไมดนตรี
สามารถทำให้เรารู้สึกดีได้ล่ะ ในปี 2001 นักประสาทวิทยา แอน บลัด และ
โรเบิร์ต ซาตอร์เร ที่มหาวิทยาลัยแมคกิลล์ในมอนทรีออลสามารถให้คำตอบ
ได้ จากการใช้เครื่องตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทำให้เห็นได้ว่า คนที่ฟังเพลงที่
มีความสนุกสนานจะไปกระตุ้นบริเวณสมองส่วนที่เรียกว่าลิมบิคและพารา
ลิมบิค ซึ่งเชื่อมต่อกับส่วนที่ตอบสนองรางวัลความร่าเริง เช่นเดียวกับที่พวก
เราสามารถพบเจอได้จากการมีเพศสัมพันธ์ อาหารอร่อยๆ และยาเสพติด
รางวัลเหล่านัน
้ มาจากการพรั่งพรูของสารสื่อประสาทที่เรียกว่าโดฟามีน
เหมือนกับที่ดีเจ ลี ฮัสลัม บอกไว้ว่าดนตรีก็คือยาเสพติด

แต่ทำไมกันล่ะ เป็ นเรื่องง่ายที่จะเข้าใจว่าทำไมเพศสัมพันธ์และอาหาร


เป็ นรางวัลที่มาจากการหลั่งโดฟามีน ที่ทำให้เราต้องการมันเพิ่มและยังมีส่วน
ช่วยในการเอาชีวิตรอดและการสืบพันธุ์ของพวกเรา (ยาเสพติดบางชนิด
ทำลายสัญชาตญาณการเอาตัวรอดโดยการหลอกกระตุ้นการหลั่งโดฟามีน)
แต่ทำไม่ช่วงหนึ่งของเสียงที่เห็นได้ชัดว่าไม่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต
สามารถทำแบบเดียวกันได้

ไม่มีใครทราบคำตอบที่แท้จริง อย่างไรก็ตามในปั จจุบันพวกเรามีข้อมูล


หลายอย่างว่าทำไมดนตรีถึงกระตุ้นอารมณ์ได้อย่างรุนแรง ทฤษฎีที่เป็ นที่ช่ น

ชอบในปั จจุบันในหมู่นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับดนตรีคือวิธี
การที่พวกเราประมวลผลมันด้วยใจ ย้อนไปในปี 1956 เมื่อนักปรัชญาและ
นักประพันธ์เพลงอย่าง ลีโอนาร์ด เมเยอร์ ให้คำแนะนำไว้ว่าทุกอารมณ์ใน
ดนตรีนน
ั ้ ขึน
้ อยู่กับว่าเราคาดหวังไว้ว่าอย่างไรและมันจะสื่อมาถึงเราหรือไม่
เมเยอร์ได้กล่าวถึงทฤษฎีจิตวิทยาทางอารมณ์ก่อนหน้านี ้ ซึ่งได้เสนอไว้ว่ามัน
จะเกิดขึน
้ เมื่อเราไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการบางอย่างได้ อย่างที่
คุณอาจจะจินตนาการได้คือก่อให้เกิดความหงุดหงิดและน่ารำคาญ แต่เมื่อ
เราพบสิง่ ที่เราตามหาไม่ว่าจะเป็ นความรักหรืออาจจะเป็ นบุหรี่ ผลตอบแทน
ก็จะยิ่งหอมหวาน
เมเยอร์กล่าวว่าดนตรีก็เช่นกัน ดนตรีนน
ั ้ มีรูปแบบและความสม่ำเสมอ
ของเสียงที่ดึงดูดให้เราคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึน
้ ในภายภาคหน้าโดยไม่ร้ต
ู ัว
ถ้าหากเราคาดการณ์ถูก สมองก็จะให้รางวัลแก่ตัวเอง หรือที่พวกเราเรียก
ว่าการพรั่งพรูของโดฟามีน จังหวะที่พอดีระหว่างความคาดหวังกับผลลัพธ์
ทำให้สมองนัน
้ มีชีวิตชีวาด้วยการแสดงอารมณ์ที่น่าพอใจ

ทำไมพวกเราจึงควรสนใจว่าความคาดหวังในดนตรีของเรานัน
้ ถูกหรือ
ไม่ล่ะ ชีวิตของเราไม่ได้ขน
ึ ้ อยู่กับพวกมันสักหน่อย นักดนตรี เดวิด ฮูรอน
แห่งมหาวิทยาลัยรัฐโอไฮโอกล่าวว่าบางทีมันก็เป็ นเช่นนัน
้ การคาดคะเน
เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของพวกเรา การตีความเกี่ยวกับสิ่งที่เราเห็นหรือ
ได้ยิน สามารถพูดได้ว่าเป็ นพื้นฐานของข้อมูลเพียงแค่บางส่วนที่ครัง้ หนึ่งอาจ
จะมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของพวกเรา แล้วมันก็มักจะเป็ นเช่นนัน

อย่างเช่นการเดินข้ามถนน และการโยงอารมณ์กับความคาดหวังเหล่านีอ
้ าจ
เป็ นความคิดที่ฉลาด ที่ทุ่งหญ้าสะวันนาในประเทศแอฟริกา บรรพบุรุษของ
เราไม่มีความคิดที่จะคร่ำครวญว่าเสียงร้องนัน
้ เป็ นเสียงของลิงที่ไม่เป็ น
อันตรายหรือเสียงของสิงโตนักล่า โดยการข้าม “ความคิดเชิงตรรกะ” และ
ลัดไปยังวงจรลิมบิคดัง้ เดิมที่ควบคุมอารมณ์ของพวกเรา การประมวลผล
เสียงภายในใจอาจกระตุ้นการหลั่งอะดรีนาลีน ซึง่ เป็ นปฏิกิริยาของลำไส้ ที่
เตรียมพร้อมให้เราออกมาจากที่นั่นอยู่ดี

พวกเราต่างรู้ดีว่าดนตรีนน
ั ้ มีผลโดยตรงกับความรู้สึกของเรา ใครบ้าง
ล่ะที่ไม่เคยอายเวลาดูภาพยนตร์แล้วรู้สึกซาบซึง้ จนน้ำตาไหล ถึงแม้ว่าสมอง
จะค้านว่านี่เป็ นเพียงการเยาะเย้ยเท่านัน
้ เราไม่สามารถที่จะปิ ด
สัญชาตญาณในการคาดการณ์ล่วงหน้าหรือการที่มันเชื่อมโยงกับอารมณ์นไี ้ ด้
แม้ว่าเราจะรู้อยู่แล้วว่าในโมสาร์ท โซนาตานัน
้ ไม่มีอะไรที่อันตรายถึงชีวิต
“แนวโน้มของธรรมชาติที่มากจนเกินเหตุเป็ นโอกาสทองของนักดนตรี” ฮู
รอนกล่าว “นักประพันธ์เพลงสามารถแต่งบทกลอนที่ทำให้กระตุ้นอารมณ์
ได้รุนแรงอย่างไม่น่าเชื่อโดยใช้สิ่งเร้าที่ไม่มีพิษภัยที่สุดเท่าที่จะสามารถจิตนา
การได้”

การทดสอบเสียง

แนวคิดที่ว่าอารมณ์ทางดนตรีเกิดจากการแทรงแซงและบิดเบือนความ
คาดหวังของเราเพียงเล็กน้อย ดูเหมือนว่าจะเป็ นทฤษฎีที่ถูกเสนอมาแล้วมี
แนวโน้มที่จะเป็ นไปได้มากที่สุด แต่ก็ยังเป็ นเรื่องยากที่จะทดสอบ เหตุผล
หนึ่งคือดนตรีนน
ั ้ ให้โอกาสอย่างมากในการรังสรรค์และแทรงแซงความคาด
หวัง ซึ่งมันก็ยังไม่ชัดเจนว่าเราควรวัดและเปรียบเทียบจากอะไร เราคาดหวัง
ให้ทำนองนัน
้ จะเร่งขึน
้ ไปเรื่อย ๆ แต่อาจจะไม่ขน
ึ ้ ไปแบบไม่มีข้อจำกัดอย่าง
ที่ไม่เคยทำมาก่อน เราคาดหวังถึงเสียงทีพ
่ ร้อมเพรียงกันมากกว่าเสียงที่ไม่
ประสานกัน แต่เสียงที่พร้อมเพรียงกันวันนีอ
้ าจจะฟั งไม่ประสานเมื่อสองร้อย
ปี ก่อน เราคาดหวังถึงจังหวะที่สม่ำเสมอ แต่เราจะรู้สึกประหลาดใจถ้าจู่ ๆ
การลัดจังหวะของเพลงร็อกแอนด์โรลก็เปลี่ยนไปเป็ นจังหวะอุมป้ าที่หนัก
แน่น ความคาดหวังเป็ นสิ่งที่ซับซ้อน และยังเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ว่าผล
งานที่เราเคยฟั งมาจนถึงตอนนีเ้ ทียบกับผลงานและสไตล์ที่คล้ายกันอย่างไร
และเทียบกับดนตรีทุกอย่างที่เราเคยฟั งมาได้อย่างไร

ดังนัน
้ หลักฐานหนึ่งเกี่ยวกับทฤษฎีของเมเยอร์ก็คือ อารมณ์ในดนตรี
นัน
้ จะมีความเฉพาะตัวแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม การที่จะมีความคาด
หวังว่าดนตรีจะไปในทิศทางใดในตอนแรกนัน
้ คุณต้องรู้กฎเกณฑ์ของมันก่อน
เพื่อที่จะได้ทราบซาบซึง้ ว่าโดยปกติแล้วมันเป็ นอย่างไร สิ่งนีจ
้ ะแตกต่างกัน
ไปในแต่ละวัฒนธรรม ชาวยุโรปตะวันตกคิดว่าจังหวะง่าย ๆ อย่างจังหวะ
วอลทซ์นน
ั ้ เป็ น “ธรรมชาติ” แต่ชาวยุโรปตะวันออกนัน
้ เต้นรำอย่างมีความ
สุขกับจังหวะที่ฟังดูพิเศษและซับซ้อนกัน พวกเราทุกคนพัฒนาจิตใต้สำนึกให้
มีความแข็งแกร่งจนสามารถฟั งเสียงโน๊ตได้ “ถูกต้อง” ไม่ว่าจะเป็ นการเรียง
ลำดับในทำนองหรือประสานเสียงเข้าด้วยกันในการประสานเสียง แต่
เนื่องจากวัฒนธรรมต่างกันจึงใช้สัดส่วนและการปรับเสียงที่ต่างกัน เช่น
สัดส่วนของประเทศอินเดียและอินโดนีเซียที่ไม่ยอมรับการปรับเสียงของเปี ย
โน ความคาดหวังเหล่านีจ
้ ึงไม่มีความเป็ นสากล ดนตรีที่ครึกครื้นของ
ประเทศอินโดนีเซียอาจจะถูกมองว่า “เศร้า” ในสายตาชาวตะวันตกเพียง
เพราะว่ามันฟั งดูใกล้เคียงกับสัดส่วนโน๊ตไมเนอร์ที่ “เศร้า” ตามหลักประเพ
รีนิยม

ภาพรวมนีย
้ ังบ่งบอกได้ว่าดนตรีนน
ั ้ ไม่ใช่แค่การสั่นที่ดีเท่านัน
้ มันยัง
กระตุ้นความรู้สึกอื่น ๆ อีกด้วย เช่น ความกังวล ความเบื่อหน่าย หรือแม้แต่
ความโกรธ นักประพันธ์เพลงและนักแสดงนัน
้ เดินบนเชือกที่ละเอียดอ่อน
โดยต้องปรับความคาดหวังให้อยู่ในระดับที่ถูกต้อง หากน้อยเกินไปดนตรีก็
จะสามารถคาดเดาได้ง่ายจนน่าเบื่อ เช่น ทำนองเพลงกล่อมเด็กในมุมมอง
ของผู้ใหญ่ หากมากเกินไปเราก็จะไม่สามารถพัฒนาความคาดหวังใด ๆ ได้
เลย นีค
่ ือเหตุผลว่าทำไมผู้คนจำนวนมากถึงพยายามดิน
้ รนกับดนตรีเอโทนัล
สมัยใหม่

ทัง้ หมดนีส
้ ามารถให้เหตุผลได้มากมายว่าทำไมเราถึงรู้สึกถึงอารมณ์
จากถ้อยคำและการแสดงดนตรี แนวคิดของเมเยอร์เพิ่งได้รับการสนับสนุน
เพิ่มเติมเมื่อเร็ว ๆ นีจ
้ ากการศึกษาการสแกนสมองโดย ซาตอร์เร และเพื่อน
ร่วมงาน ซึ่งแสดงให้เห็นว่ารางวัลที่ถูกกระตุ้นจากการได้ยินเพลงนัน
้ เป็ นครัง้
แรกขึน
้ อยู่กับการสื่อสารระหว่างวงจร “อารมณ์” และ “ตรรกะ” ในสมอง
โดยเฉพาะ

แต่เรื่องทัง้ หมดไม่ได้มีแค่นี ้ อารมณ์ของเราที่ตอบสนองต่อดนตรีอาจ


จะถูกปรับเปลี่ยนไปตามปั จจัยอื่น ๆ อีกหลายปั จจัยเช่นกัน เช่น การที่เรา
ฟั งเพลงคนเดียวหรือฟั งในฝูงชน หรือการที่เราเอาผลงานชิน
้ ใดชิน
้ หนึ่งไป
เปรียบเทียบกับประสบการณ์ในอดีตว่าดีหรือไม่ดี (ถูกตัง้ ให้เป็ นทฤษฎี
“ที่รัก พวกเขากำลังฟั งทำนองของพวกเรา”)

ภายใต้แนวคิดเหล่านีค
้ ือความจริงแล้วเราไม่ทราบแน่ชัดด้วยซ้ำว่าเรา
กำลังพูดถึงอารมณ์แบบไหน เราสามารถรับรู้เพลงเศร้าได้โดยที่เราไม่ร้ส
ู ึกว่า
เศร้า และถึงแม้ว่าเรารู้สึกเศร้า มันก็ไม่เหมือนกับความรู้สึกเศร้าของการสูญ
เสีย มันสามารถทำให้ร้ส
ู ึกสนุกได้แม้ว่ามันจะทำให้เราน้ำตาไหล ดนตรีบาง
อย่างก็เหมือนกับเพลงของบาคที่สามารถสร้างอารมณ์ได้อย่างรุนแรงแม้ว่า
เราจะไม่สามารถหาคำมาแทนอารมณ์นน
ั ้ ได้ ดังนัน
้ เราจึงไม่มีวันที่จะเข้าใจ
ได้อย่างแน่นอนว่าทำไมดนตรีจึงสามารถกระตุ้นอารมณ์ได้ อย่างน้อยก็
จนกว่าพวกเราจะเห็นภาพโลกของอารมณ์ของเราได้ดีกว่านีว้ ่านัน
้ แท้จริง
แล้วมันเป็ นอย่างไรกันแน่
บทสรุปการแปล

ปั ญหาที่พบระหว่างการแปลหลัก ๆ ก็คือคำศัพท์ที่ค่อนข้างยากแล้วก็
มีความเฉพาะทาง ไม่ว่าจะเป็ นคำศัพท์ที่เกี่ยวกับอวัยวะต่าง ๆ หรือคำศัพท์
เกี่ยวกับดนตรี การทำเพลง หรือแนวเพลงต่าง ๆ นัน
้ มีความยากที่จะแปล
เนื่องจากเป็ นศัพท์ที่ต้องค่อนข้างทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่จะแปลเป็ น
อย่างมาก ต้องเป็ นคนที่ค่อนข้างชื่นชอบในดนตรีและมีความรู้พอสมควร
เพราะศัพท์บางคำนัน
้ ค่อนข้างเจาะลึก คนทั่วไปรวมถึงตัวข้าพเจ้าอาจจะ
เข้าใจได้ยาก จึงต้องทำการสืบค้นข้อมูลค่อนข้างเยอะเพื่อที่จะแปลได้
ย่อหน้าหนึ่ง ศัพท์บางคำก็เป็ นคำทีพ
่ วกเรานิยมใช้ทับศัพท์มาตลอด เลยยาก
ที่จะแปลออกมาเป็ นภาษาไทย รวมถึงรูปประโยคที่ทำความเข้าใจยากและ
สลับไปมาระหว่างภาษาทางการกับไม่ทางการ งานที่แปลออกมาเลยอาจจะ
ไม่ค่อยดีเท่าที่ควร เพราะข้าพเจ้าเองก็ไม่ได้ร้เู รื่องเกี่ยวกับดนตรีลึกขนาดนัน

แต่เนื่องจากเป็ นคนที่ชอบฟั งเพลง ประกอบกับเนื้อหาที่จะแปลนัน
้ น่าสนใจ
ข้าพเจ้าเลยอยากลองแปลและศึกษาเนื้อหาไปในตัว ถึงแม้ว่าเนื้อหาที่แปล
นัน
้ จะมีความยากมาก ๆ จึงทำให้ข้าพเจ้าแปลได้ไม่ค่อยสมบูรณ์ แต่ข้าพเจ้า
ก็หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าผู้ที่อ่านงานแปลของข้าพเจ้านัน
้ จะได้ความรู้กลับไปไม่
มากก็น้อย

You might also like