Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 74

การแปลง z

z-Transform

S. Praesomboon
นิยามการแปลงแซด
การแปลงแซด (z-transform) ของสั ญญาณทีไ่ ม่ ต่อเนื่องสามารถนิยามอยู่ใน
รู ปของอนุกรมอนันต์ (Power Series) ได้ ดังสมการที่ 3.1 และ เรียกสมการที่ 3.1 นีว้ ่ า
การแปลงแซดแบบตรง (Direct z-transform)


(3.1)
X ( z) = 
n=−
x ( n) z − n

เมื่อ z เป็ น ตัวแปรเชิงซ้อน (Complex Variable)


x(n) เป็ น ลำดับสัญญำณ (Sequence Signal)
S. Praesomboon
สาหรับ Causal System
กำรแปลงแซดของสัญญำณที่ไม่ต่อเนื่องสำมำรถเขียนได้ดัง
สมกำรที่ 3.2 เรียกสมกำรที่ 3.2 นีว้ ่ำ One-Side-z-transform

X ( z ) =  x ( n) z −n
(3.2)
n =0

X ( z ) = z{x(n)} (3.3)
จำกสมกำรที่ 3.1 และ 3.2 จะเห็นได้ว่ำผลกำรแปลงแซด ก็
คืออนุกรมอนันต์ ดังนั้นค่ำ z ทีท่ ำให้ X(z) หำคำตอบได้เรียกค่ำ z นี้
ว่ำ Region of Convergence (ROC) โดยค่ำ z นีจ้ ะมีค่ำเป็ นจำนวน
S. Praesomboon
เชิงซ้อน
จงหำ z-transform ของสัญญำณไม่ตอ่ เนื่องแบบ Finite-duration
x(n) = {1,2,5,7,0,1}
ตัวอย่าง

X ( z) = 
n=−
x ( n) z − n

X ( z ) = .... + 0 z 2 + 0 z1 + 1z 0 + 2 z −1 + 5 z −2 + 7 z −3 + 0 z −4 + 1z −5

X ( z ) = 1 + 2 z −1 + 5 z −2 + 7 z −3 + 1z −5

2 5 7 1
X ( z) = 1 + + 2 + 3 + 5
z z z z

S. Praesomboon
ตัวอย่าง (ต่อ)

2 5 7 1
X ( z) = 1 + + 2 + 3 + 5
z z z z

จำกสมกำรจะเห็นได้ว่ำ
ถ้ำ z = 0 จะทำให้ X(z) หำค่ำไม่ได้
ดังนั้นจึงสรุ ปได้ว่ำ ROC ก็คอื ทุกๆค่ำ z ยกเว้น z = 0

S. Praesomboon
จงหำ z-transform ของสัญญำณไม่ตอ่ เนื่องแบบ Finite-duration
x(n) = {1,2,5,7,0,1}
ตัวอย่าง

X ( z) = 
n=−
x ( n) z − n

X ( z ) = 1z 2 + 2 z1 + 5 z 0 + 7 z −1 + 0 z −2 + 1z −3

X ( z ) = z 2 + 2 z1 + 5 + 7 z −1 + z −3
7 1
X ( z) = z + 2z + 5 + + 3
2 1

z z

S. Praesomboon
ตัวอย่าง (ต่อ)
7 1
X ( z ) = z 2 + 2 z1 + 5 + + 3
z z

จำกสมกำรจะเห็นได้ว่ำ
ถ้ำ z = 0 จะทำให้ X(z) หำค่ำไม่ได้
ดังนั้นจึงสรุ ปได้ว่ำ ROC ก็คอื ทุกๆค่ำ z ยกเว้น z = 0 และ z = 

S. Praesomboon
ตัวอย่าง
1. จงหำ z-transform ของสัญญำณ (n)
2. จงหำ z-transform ของสัญญำณ (n − k )

S. Praesomboon
จงหำ z-transform ของสัญญำณ
ตัวอย่าง

1 ; 0n
x ( n) = 
0 ; n0

x(n) = {...,0,0,0,0,1,1,1,1,1,1,1,1,1,1,1,1......}

X ( z) = 
n =−
x ( n) z − n

S. Praesomboon
x(n) = {...,0,0,0,0,1,1,1,1,1,1,1,1,1,1,1,1......}
ตัวอย่าง (ต่อ)

X ( z) =  x ( n) z
n =−
−n

−1 −2 −3 −4 −5 −
X ( z ) = 1 + z + z + z + z + z + ...... + z

1 1 1 1
X ( z ) = 1 + + 2 + 3 + 4 + .........
z z z z

S. Praesomboon
ตัวอย่าง (ต่อ)
1 1 1 1
X ( z ) = 1 + + 2 + 3 + 4 + .........
z z z z
จำกสมกำรอนุกรมอนันต์
1
1 + A + A2 + A3 + A4 + A5 + ........ = ; A 1
1− A
2 3 4 5
1 1 1 1 1
X ( z ) = 1 +   +   +   +   +   + ...........
z z z z z

1 1
X ( z) = = ;
1
1 หรือ 1 z
1 1 − z −1
1− z
z
S. Praesomboon
ตัวอย่าง (ต่อ)
1 1
X ( z) = =
1 1 − z −1
1−
z
เนื่องจำก z เป็ นตัวแปรเชิงซ้อนดังนั้นค่ำ z ทีท่ ำให้ X(z) หำค่ำได้
หรือ
ค่ำ ROC ของ X(z) สำมำรถเขียนได้ดงั ภำพ

S. Praesomboon
จงหำ z-transform ของ
x ( n) = a nu ( n)
ตัวอย่าง
x(n) = {a , a , a , a , a ,.....}
0 1 2 3 4


X ( z) = 
n =−
x ( n) z − n

X ( z ) = a 0 z 0 + a1 z −1 + a 2 z −2 + a 3 z −3 + .... + a n z − n

a a 2 a3 an
X ( z ) = 1 + + 2 + 3 + .... + n
z z z z
S. Praesomboon
2 3 n
a a a a
X ( z ) = 1 +   +   +   + .... +  
z z z z

ตัวอย่าง (ต่อ)

จำกอนุกรมอนันต์ A = a
z
1 a
X ( z) = ; 1
a
1− z
z

1
X ( z) = ; a z
1 − az −1

ค่ำ ROC ทุกๆค่ำ z ทีม่ ำกกว่ำ a


S. Praesomboon
จงหำ z-transform ของสัญญำณ

ตัวอย่าง
x(n) = sin(nwT )u (n)

e jx − e − jx
sin( x) =
2j

e jx + e − jx
cos( x) =
2

S. Praesomboon
ตัวอย่าง (ต่อ)

 e jnwT − e − jwnT  −n
X ( z) =   z
n =0  2j 

1   jnwt − n  − jnwt − n 
X ( z) =   e z −  e z 
2 j  n =0 n =0 

1   jwT −1 n  − jwT −1 n 
X ( z) =   ( e z ) −  ( e z ) 
2 j  n =0 n =0 

จัดสมกำรใหม่
1  1   1 
X ( z) =  −
  
2 j  1 − e jwT z −1   1 − e − jwT z −1  
S. Praesomboon
ตัวอย่าง (ต่อ)
1  z   z 
X ( z) =  −
  
2 j  z − e jwT   z −e
− jwT


1  ( z 2 − ze − jwT ) ( z 2 − ze jwT ) 
X ( z) =  −
2 j  (z − e )jwT
( z − e − jwT ) 

1  ( ze jwT − ze − jwT ) 
X ( z) =
2 j  ( z − e jwT )( z − e − jwT ) 

z  e jwT − e − jwT 
X ( z) =
2 j  z 2 − ze jwT − ze − jwT + e jwT e − jwT 

z  z sin( wT )
e jwT − e − jwT 
X ( z) =
X ( z) = 
2 j 2 z − z (e + e
2 jwT − jwT 
) + 1
z − 2 z cos( wT ) + 1
S. Praesomboon
z-transform ของฟังก์ชนั่ สัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง

S. Praesomboon
คุณสมบัติของ z-transform
1) คุณสมบัตคิ วำมเป็ นเชิงเส้น (Linearity Property)

Z [ax1 (n) + bx2 (n)] = aX 1 ( z ) + bX 2 ( z )

2) คุณสมบัตกิ ำรเลื่อน (Shift Property)


กำหนดให้ y ( n) = x ( n − m) ; m0

Y ( z) = 
n =−
y ( n) z − n


Y ( z) = 
n =−
x ( n − m) z − n

S. Praesomboon
คุณสมบัติการเลื่อน (ต่อ)
กำหนดให้ระบบทีก่ ำลังพิจำรณำเป็ นระบบแบบ Causal

Y ( z ) =  x ( n − m) z − n
n =0

Y ( z ) = x(−m) + x(1 − m) z −1 + x(2 − m) z −2 + ... + x(0) z − m + x(1) z − ( m+1) + ....

Y ( z ) = x(0) z − m + x(1) z − ( m+1) + x(2) z − ( m+2) + ...........x(n) z − ( m+ n )

Y ( z ) = z − m [ x(0) + x(1) z −1 + x(2) z −2 + ...... + x(n) z − n ]



Y ( z) = z −m
 x (n) z
n =0
−n

Y ( z) = z −m X ( z) S. Praesomboon
3) คุณสมบัตคิ วำมผสมผสำน (Convolution Property)
จำกสมกำร Convolution
คุณสมบัติของ z-transform

y ( n) =  h( k ) x ( n − k )
k =−

y ( n) = h( n)  x ( n)
ทำกำรแปลงแซด x(n),h(n) ให้เป็ น X(z),H(z) จะได้กำร Convolution ดัง
สมกำร
Y ( z) = H ( z) X ( z)
S. Praesomboon
Rational z-transform

สัญญำณแบบไม่ต่อเนื่อง x(n) หรือระบบแบบไม่ต่อเนื่อง y(n)


สำมำรถเขียนให้อยู่ในรู ป X(z) หรือ Y(z) ได้โดยกำรแปลงแซด ค่ำ
X(z) หรือ Y(z) นีเ้ มื่อจัดให้อยู่ในรู ปเศษส่วน (Rational) สำมำรถบอก
รำยละเอียดคุณลักษณะของสัญญำณและระบบได้

S. Praesomboon
Pole and Zero

เป็ นกำรนำค่ำ X(z) หรือ Y(z) ไปแก้สมกำรหำค่ำ z และนำ


คำตอบของ z ไป Plot ลงในระนำบ z เชิงซ้อน (Complex z-plane) ค่ำ z
ทีเ่ ป็ นคำตอบของเศษเรียกว่ำ ซีโร่ แทนด้วยสัญลักษณ์  ค่ำ z ทีเ่ ป็ น
คำตอบของส่วนเรียกว่ำโพลแทนด้วยสัญลักษณ์ 

S. Praesomboon
ตัวอย่าง
12 − z −1
จงเขียนโพลและซีโร่ ของระบบ
H ( z) =
6 − z −1 − z −2
1
2 z( z − )
H ( z) = 12
1 1
( z − )( z + )
2 3

พบว่า ซีโร่จะอยูท่ ่ีตาแหน่ง 0 และ 1


2
ส่วนโพลนัน้ จะอยูท่ ่ีตาแหน่ง 1 และ − 1
2 3
S. Praesomboon
ตาแหน่งการวาง Pole และ Zero ลงบนระนาบ z

S. Praesomboon
ตัวอย่าง
จงหำตำแหน่งกำรวำงโพลและซีโร่ ของระบบ
x ( n) = a u ( n) ;
n
a0
จำกตำรำงที่ 3.1 z-transform ของ x(n) เขียนได้ดังสมกำร
1 z
X ( z) = −1
=
1 − az z−a

Zero  z = 0
Pole  z − a = 0
z=a S. Praesomboon
ตาแหน่งการวางโพลและซีโร่ ของระบบ

S. Praesomboon
ตัวอย่าง
จงหำตำแหน่งกำรวำงโพลและซีโร่ ของระบบ
a n ; 0  n  M −1
x ( n) = 
0 ; elsewhere

จำกทีโ่ จทย์กำหนดพบว่ำ n เริ่มต้นจำก 0 ถึง M-1 จะได้สมกำร z-


transform M −1
X ( z) =  an z −n
n =0

M −1
X ( z ) =  (az −1 ) n
n =0
S. Praesomboon
ตัวอย่าง
M −1
X ( z ) =  (az −1 ) n
n =0

2 3 M −1
a a a a
X ( z ) = 1 + +   +   + ..... +  
z z z z

1 − (az −1 ) M
X ( z) =
1 − az −1

S. Praesomboon
ตัวอย่าง
1 − (az −1 ) M
X ( z) =
1 − az −1

นำ z M คูณตลอดทัง้ เศษและส่วน

z M − aM
X ( z) = M
z − az M −1

z M − aM
X ( z ) = M −1
z ( z − a)
S. Praesomboon
ตัวอย่าง
z M − aM
X ( z ) = M −1
z ( z − a)

S. Praesomboon
ตัวอย่าง
จงหำ H(z) จำกตำแหน่งโพลและซีโร่ดงั รูป

S. Praesomboon
ตัวอย่าง
จำกภำพพบว่ำมีซโี ร่อยู่ 2 ตัว โดย Z1 อยู่ทจี่ ุด Origin หรือ
อยู่ทตี่ ำแหน่ง 0 Zส่ว2 น อยู่ทตี่ rำแหน่
cos(ง 0) เขียนได้
ดังสมกำร Z =01

Z 2 = r cos(0 )
จำกภำพพบว่ำมีโพลอยู่ 2 ตัว โดย
P1 re่ทjี่
อยู 0

ส่วน P2 อยู่ทต่ี ำแหน่งre− j 0 เขียนได้ดงั สมกำร


P1 = re j0

P2 = re− j0 S. Praesomboon


ตัวอย่าง
( z − Z1 )( z − Z 2 )
X ( z) = G
( z − P1 )( z − P2 )

( z − 0)( z − r cos(0 ))
X ( z) = G
( z − re j 0 )( z − re − j 0 )
 z ( z − r cos(0 )) 
X ( z) = G  j 0 − j 0 
 ( z − re )( z − re )

 1 − rz −1 cos(0 ) 
X ( z) = G  2 −2 
1 − 2rz cos(0 ) + r z 
−1

S. Praesomboon
ตัวอย่าง

และจำกตำรำงที่ 3.1 z-transform สำมำรถแปลงเป็ น x(n)


ได้ดังสมกำร

x(n) = G[r cos(0n)u (n)]


n

S. Praesomboon
ลักษณะสัญญาณกับการวางตาแหน่งของ โพล

ตำแหน่งของโพลในระนำบ z สำมำรถบ่งบอกลักษณะของ
ลำดับ
สัญญำณได้ซง่ึ ลักษณะของลำดับสัญญำณทีเ่ กิดขึน้ สำมำรถคำนวณได้
จำกกำร
ทำ Inverse z-transform สำมำรถเขียนได้ดังภำพ

S. Praesomboon
ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งของโพลกับลาดับสัญญาณ

S. Praesomboon
ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งของโพลกับลาดับสัญญาณ

S. Praesomboon
ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งของโพลกับลาดับสัญญาณ

S. Praesomboon
ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งของโพลกับลาดับสัญญาณ

S. Praesomboon
The system function of a linear time-invariant system

ในกำรหำผลตอบสนองทำง Output ของระบบทีแ่ ปรตำมเวลำ


สำมำรถกระทำได้โดยใช้หลักกำร Convolution ซึ่งกำรหำจะต้องรู้ค่ำ
ของ x(n) และ h(n) แต่จำกคุณสมบัติของ z-transform ทำให้กำรหำ
ผลตอบสนองทำง Output หำได้จำกสมกำร

Y ( z) = H ( z) X ( z)

เมื่อ Y(z) คือ z-transform ของ Output sequence y(n)


X(z) คือ z-transform ของ Input sequence x(n)
H(z) คือ z-transform ของ Unit sample response h(n)
S. Praesomboon
ตัวอย่าง เรื่ อง โพล และ ซีโร่
จงหำตำแหน่งกำรวำงโพลและซีโร่ ของระบบกำหนดให้ระบบแบบ
ไม่ ต่ อ เนื่ อ งมี ส มกำรผลต่ ำ งดั ง สมกำร จงหำฟั งก์ช่ั น ระบบและ
ผลตอบสนองของ Unit sample

1
y (n) = y (n − 1) + 2 x(n)
2

S. Praesomboon
ตัวอย่าง เรื่ อง โพล และ ซีโร่ (ต่อ)
1 −1
Y ( z) = z Y ( z) + 2 X ( z)
2

Y ( z) 2
H ( z) = =
X ( z ) 1 − 1 z −1
2
ส่วนผลตอบสนองของ Unit sample หำได้จำก
2
Y ( z) = X ( z)
1 −1
1− z
2
S. Praesomboon
The System function of a linear time-invariant system

เมื่ อ Input x ( n) =  ( n)
ของระบบ X ( z) = 1 ดั ง นั้ น
จะได้
Y ( z)
ดังสมกำร
2
Y ( z) =
1 −1
1− z
2

S. Praesomboon
การแปลง z ผกผัน (Inversion of z-transform)

เป็ นกำรแปลง H(z) กลับเป็ น h(n) ทำได้ 3 วิธีดงั ต่อไปนีส้ มกำร

➢ วิธีอนุกรมอนันต์ (Power series method )


➢ วิธีแยกเศษส่วนย่อย (Partial-fraction expansion method)
➢ Residue method

S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันด้วยวิธีอนุกรมอนันต์
กำหนดให้ H(z) เป็ น z-transform ของ Causal Sequence ดัง
สมกำรที่ 3.62 ซึ่ ง สมกำรนี้ส ำมำรถจั ด ให้ เ ป็ นอนุ ก รมอนั นz −ต์1 ใ นรู ป z
หรือ โดยใช้กำรหำรยำว (Long division)
b0 + b1 z −1 + b2 z −2 + ..... + bN z − N
H ( z) =
a0 + a1 z −1 + a2 z −2 + ..... + aM z − M
(3.62)

เมื่อทำกำรหำรยำวสมกำรที่ 3.62 จะได้ค่ำ H(z) ดังสมกรที่ 3.63

H ( z ) = h(0) + h(1) z −1 + h(2) z −2 + h(3) z −3 + ..... (3.63)


S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันด้วยวิธีอนุกรมอนันต์(ต่อ)
ตัวอย่ำง 3.13 จงแปลง z ผกผันของสัญญำณดังสมกำรที่ 3.64
โดยใช้วิธีอนุกรมอนันต์
1 + 2 z −1 + z −2 (3.64)
H ( z) =
1 − z −1 + 0.3561z −2
1 + 3z −1 + 3.6439 z −2 + 2.5756 z −3 + ...
1 − z −1 + 0.3561z −2 1 + 2 z −1 + z -2
1 − z −1 + 0.3561z −2
3z −1 + 0.6439 z −2
3z −1 − 3z −2 + 1.0683z −3
3.6439 z −2 − 1.0683 z −3
3.6439 z −2 − 1.0683z −3 + 1.2975927 z −4
S. Praesomboon 2.5756 z −3 − 1.2975927 z −4
การแปลง z ผกผันด้วยวิธีอนุกรมอนันต์(ต่อ)

H ( z ) = 1 + 3z −1 + 3.6439 z −2 + 2.5756 z −3 + .....

จำกคุณสมบัตขิ อง z-transform จะได้ค่ำ h(n) ดังสมกำรที่ 3.65

h(0) = 1; h(1) = 3; h(2) = 3.6439; h(3) = 2.5756;..... (3.65)

S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันด้วยวิธีอนุกรมอนันต์
ในกำรหำรยำวนั้นอำจทำให้ค่ำ z ในสมกำรที่ 3.64 มีกำลัง
เป็ นบวกก่อนก็ได้ดังสมกำรที่ 3.66
z 2 โดยนำ คูณตลอดทั้งเศษ
และส่วน แล้วจึงทำกำรหำร

1 + 2 z −1 + z −2
H ( z) =
1 − z −1 + 0.3561z −2
(3.64)

z2 + 2z +1
H ( z) = 2 (3.66)
z − z + 0.3561

S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันด้วยวิธีอนุกรมอนันต์(ต่อ)
1 + 3z −1 + 3.6439 z −2 + 2.5756 z −3 + ...
z 2 − z + 0.3561 z 2 + 2 z1 + 1
z 2 − z1 + 0.3561
3z1 + 0.6439
3z1 − 3z + 1.0683z −1
3.6439 − 1.0683 z −1
3.6439 − 3.6439 z −1 + 1.2975927 z −2
2.5756 z −1 − 1.2975927 z −2
2.5756 z −1 − 2.5756 z −2 + 0.91717116 z −3
1.27800721z −2 − 0.91717116 z −3

ซึง่ จะเห็นได้ว่ำผลทีไ่ ด้จำกกำรหำรยำวจะได้ค่ำ H(z) และ h(n) เท่ำกัน


แต่กำรแปลง z ผกผันด้วยวิธีอนุกรมอนันต์นีพ ้ บคำตอบทีไ่ ด้จะเป็ น
ตัวเลขไม่เป็ นสมกำร h(n) ใดๆ แต่จะเป็ นตัวเลข S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันด้วยวิธีแยกเศษส่ วนย่อย
ทำโดยจัดสมกำร H(z) ให้อยู่ในรูปเศษส่วนย่อยจำกนั้นนำ
สมกำรทีจ่ ัดรูปได้แปลงให้เป็ น h(n) พิจำรณำ H(z) ดังสมกำรที่ 3.62
กำรจัดรูปสมกำรจะเป็ นไปตำมตำแหน่งของโพลในระนำบ z ซึง่ แบ่ง
ออกได้ดงั ต่อไปนี้

➢ กรณีโพลมีตำแหน่งไม่ซำ้ กัน
➢ กรณีโพลอยู่มำกกว่ำหนึ่งตัวอยู่ตำแหน่งซำ้ กัน

S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งไม่ซ้ ากัน
กรณีโพลมีตำแหน่งไม่ซำ้ กัน สมกำร H(z) สมกำรที่ 3.62
สำมำรถจัดรูปได้ดงั สมกำรที่ 3.67

H ( z ) = B0 +
C1
−1
+
C2
−1
+ ..... +
C3 (3.67)
1 − p1 z 1 − p2 z 1 − p3 z −1

C1 z C2 z CM z
H ( z ) = B0 + + + ..... +
z − p1 z − p2 z − pM

(3.68)
M
Ck z
H ( z ) = B0 + 
k =1 z − pk
S. Praesomboon
กรณี โพลอยูม่ ากกว่าหนึ่งตัวอยูต่ าแหน่งซ้ ากัน
กรณีโพลอยู่มำกกว่ำหนึ่งตัวอยู่ตำแหน่งซำ้ กัน สมกำร H(z)
สมกำรที่ 3.62 สำมำรถจัดรูปได้ดงั สมกำรที่ 3.69

(3.67)
m
Di
H ( z) = 
i =1 ( z − pk )i

หำค่ำ Di หำได้จำกสมกำรที่ 3.70

Di =
1 d m −i

m −i 
( z − p ) m
H ( z )  (3.70)
(m − i )! dz
k z = pk

S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งไม่ซ้ ากัน
ตัวอย่ำง 3.14 จงแปลง z ผกผันของสัญญำณ H(z) ดังสมกำรที่ 3.71
โดยใช้วิธีแยกเศษส่วนย่อย
z −1
H ( z) =
1 − 0.25 z −1 − 0.375 z −2
(3.71)

z
H ( z) = 2
z − 0.25 z − 0.375

H ( z)
z
=
1
=
C1
+
C2
( z − 0.75)( z + 0.5) z − 0.75 z + 0.5
(3.72)

S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งไม่ซ้ ากัน
กำหนดให้สมกำรที่ 3.72 มีค่ำเท่ำกับ F(z) ดังสมกำรที่ 3.73
1 C1 C2
F ( z) = = +
( z − 0.75)( z + 0.5) z − 0.75 z + 0.5
(3.73)

หำ C1 นำ (z-0.75) คูณตลอดในสมกำรที่ 3.73 จะได้


C2 ( z − 0.75)
1
z + 0.5
= C1 +
( z + 0.5)
(3.74)
แทนค่ำ z เท่ำกับ 0.75 ลงในสมกำรที่ 3.74 ได้ค่ำ C1 ดังสมกำร
ที่ 3.75
C1 =
1 4
= = 0.8 (3.75)
0.75 + 0.5 5
S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งไม่ซ้ ากัน
ส่วนค่ำ C2 สำมำรถหำได้ด้วยวิธีเดียวกับกำรหำค่ำ C1 ได้ค่ำ
C2 ดังสมกำรที่ 3.76
C2 =
1
−0.5 − 0.75
4
= − = −0.8
5
(3.76)

แทนค่ำ C1 และ C2 ลงในสมกำรที่ 3.72 จะได้


0.8 z 0.8 z
H ( z) = −
z − 0.75 z + 0.5
(3.77)

S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งไม่ซ้ ากัน

ใช้ตำรำงที่ 3.1 แปลง H(z) ในสมกำรที่ 3.77 กลับเป็ น h(n)


ได้ดงั สมกำรที่ 3.78
 0.8 z 0.8 z 
h(n) = Z −1  − (3.76)
 z − 0.75 z + 0.5 
จำกตำรำง
kz
k 
n

z −

h(n) = 0.8 (0.75) n − (−0.5) n  , n  0 (3.78)


S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งซ้ ากัน
ตัวอย่ำง 3.15 จงแปลง z ผกผันของสัญญำณ X(z) ดังสมกำรที่ 3.79
โดยใช้วิธีแยกเศษส่วนย่อย
z2
H ( z) =
( z − 0.5)( z − 1) 2
(3.79)

จำกสมกำรที่ 3.79 พบว่ำบนระนำบ z จะมีโพล 1 ตัวอยู่ที่


ต ำแหน่ ง 0.5 และมี โ พลอี ก 2 ตั ว วำงซ้ อ นกั น อยู่ ที่ ต ำแหน่ ง 1 เมื่ อ
พิจำรณำตำแหน่งของโพลแล้วกำรแยกเศษส่วนย่อยของสมกำร H(z)
จะจัดรูปตำมสมกำรที่ 3.68 และสมกำรที่ 3.69 ได้ดงั สมกำรที่ 3.80
กรณี โพลมีตาแหน่งซ้ ากัน

z2
H ( z) =
( z − 0.5)( z − 1) 2
=
K1
+
K2
+
K3
z − 0.5 z − 1 ( z − 1) 2
(3.80)

H ( z)
z
=
z
( z − 0.5)( z − 1) 2
=
K1
+
K2
+
K3
z − 0.5 z − 1 ( z − 1) 2
(3.81)

z K1 K2 K3
F ( z) = = + +
( z − 0.5)( z − 1) 2 z − 0.5 z − 1 ( z − 1) 2
(3.82)

S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งซ้ ากัน
หำค่ำ K1 นำ (z-0.5) คูณตลอดในสมกำรที่ 3.82 และแทน z = 0.5
จะได้ค่ำ K1 ดังสมกำรที่ 3.83

z K 2 ( z − 0.5) K 3 ( z − 0.5)
= K1 + +
( z − 1) 2
z −1 ( z − 1) 2

K1 =
z
( z − 1) 2
=
0.5
(0.5 − 1) 2
=2 (3.83)

S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งซ้ ากัน
ค่ำ K2 หำได้จำกสมกำรที่ 3.69 เริ่มจำกนำ (z-1)2 คูณตลอดในสมกำรที่
3.82
K1 ( z − 1) 2
z
= + K 2 ( z − 1) + K 3 (3.84)
z − 0.5 z − 0.5

หำอนุพันธ์ของสมกำรที่ 3.84 เทียบกับ z และแทนค่ำ z = 1 ได้คำ่ K2


ดังสมกำรที่ 3.85
d  z  d  K1 ( z − 1) 2 
  =  + K 2 z − K 2 + K3 
dz  z − 0.5  dz  z − 0.5 

S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งซ้ ากัน

z − 0.5 − z −0.5
K2 =
( z − 0.5) 2
=
(1 − 0.5) 2
= −2 (3.85)
ค่ำ K3 หำได้จำกสมกำรที่ 3.84 โดยกำรแทน z=1 ได้ K3 ดังสมกำรที่
3.86
K3 =
z
=
1
=2 (3.86)
z − 0.5 1 − 0.5

แทนค่ำ K1, K2, K3 ลงในสมกำรที่ 3.81 และนำ z คูณตลอด


2z 2z 2z
H ( z) = − +
z − 0.5 z − 1 ( z − 1) 2
(3.87)
S. Praesomboon
กรณี โพลมีตาแหน่งซ้ ากัน

ใช้ตำรำงที่ 3.1 แปลง H(z) ในสมกำรที่ 3.87 กลับเป็ น h(n) ได้ดังสมกำร


ที่ 3.88

h(n) = 2(0.5) n − 2 + 2n = 2 (n − 1) + (0.5) n  , n  0 (3.88)

S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue
กำรแปลง z ผกผันด้วยวิธีนีค้ ่ำ h(n) จะถูกแทนด้วยกำรอินทีเก
รทครบรอบ (Contour integral) ดังสมกำรที่ 3.89
1
h( n) =
2 j  H ( z )dz
z n −1
(3.89)
C

หรืออำจกล่ำวได้ว่ำ h(n) คือผลรวมของค่ำ Residue ของโพลแต่ละ


ตำแหน่ง
เช่น ถ้ำ H(z) มีโพล 3 ตำแหน่งก็จะได้
h(n) = Re s[ P1 ] + Re s[ P2 ]
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)
ในกำรหำค่ำ Residue แต่ละตำแหน่งหำได้จำกสมกำรที่ 3.90

d m−1
Re s  F ( z ), pk  =
1
(m − 1)! dz

m−1 
( z − p k ) m
F ( z ) 
z = pk
(3.90)

เมื่อ
F ( z ) = z n−1H ( z )
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)
ตัวอย่ำงที่ 3.16 จงใช้วิธี Residue แปลง H(z) ในสมกำรที่ 3.91 ให้เป็ น
h(n)
z
H ( z) =
( z − 0.75)( z + 0.5)
(3.91)

กำหนดให้ F ( z ) = z n−1 H ( z )

z n−1 z zn (3.92)
F ( z) = =
( z − 0.75)( z + 0.5) ( z − 0.75)( z + 0.5)
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)
จำกสมกำรที่ 3.92 พบว่ำ F(z) มีโพลอยู่ที่ 0.75 และ–0.5 ดังนั้น
กำรหำ Residue จะกระทำที่โพลสองตำแหน่งนี้โดยใช้สมกำรที่ 3.90
ซึ่งจะมี ค่ำ m = 1 โพลทีต่ ำแหน่ง 0.75 มีค่ำ Residue ดังสมกำร
ที่ 3.93
Re s  F ( z ),0.75 = ( z − 0.75) F ( z ) (3.93)

zn
Re s  F ( z ),0.75 =
z + 0.5
แทนค่ำ z =0.75
0.75n 4
Re s  F ( z ),0.75 = = (0.75) n (3.94)
0.75 + 0.5 5
S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)
โพลทีต่ ำแหน่ง -0.5 มีค่ำ Residue ดังสมกำรที่ 3.95
Re s  F ( z ), −0.5 = ( z + 0.5) F ( z )

zn
Re s  F ( z ), −0.5 =
z − 0.75
แทนค่ำ z = -0.5
(−0.5) n
Re s  F ( z ), −0.5 =
4
= − (−0.5) n (3.95)
−0.5 − 0.75 5
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)

ดังนั้น h(n) จะเท่ำกับผลรวมของกำรทำ Residue ทีโ่ พลทุก


ตำแหน่งของ F(z) ดังสมกำรที่ 3.96

h(n) = Re s  F ( z ),0.75 + Re s  F ( z ), −0.5

4 4
h(n) = (0.75) − ( −0.5) n = 0.8 (0.75) n − ( −0.5) n 
5
n

5
(3.96)

S. Praesomboon
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)
ตัวอย่ำงที่ 3.17 จงใช้วิธี Residue แปลง H(z) ในสมกำรที่ 3.97 ให้เป็ น
h(n) 2
H ( z) =
z
( z − 0.5)( z − 1) 2
(3.97)

กำหนดให้ F ( z ) = z n−1 H ( z )

z n−1 z 2 z n+1
F ( z) =
( z − 0.5)( z − 1) 2
=
( z − 0.5)( z − 1) 2 (3.98)
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)
จำกสมกำรที่ 3.98 จะเห็นได้ว่ำ F(z) มีโพล 1 ตัวอยู่ทตี่ ำแหน่ง
0.5 กำหนดให้เป็ น p1และมีโพลอีก 2 ตัววำงซ้อนกันอยู่ทต่ี ำแหน่ง 1
กำหนดให้เป็ น p2 Residue ของโพลทีต่ ำแหน่ง p1 หำได้จำกสมกำรที่
3.99 z n+1
Re s  F ( z ),0.5 = ( z − 0.5) F ( z ) =
( z − 1) 2

แทนค่ำ z =0.5

(0.5) n+1 (0.5)(0.5) n


Re s  F ( z ),0.5 = = = 2(0.5) n
(3.99)
(0.5 − 1) 2 (0.5) 2
การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)
ตำแหน่ง p2 มีโพลซ้อนกันอยู่ 2 ตัวทำให้ค่ำ m ในสมกำรที่ 3.90
มีค่ำเท่ำกับ 2 ดังนั้น Residue ของโพลทีต่ ำแหน่ง p2 หำได้จำกสมกำร
ที่ 3.100
d  z n+1 
dz
d
Re s  F ( z ),1 = ( z − 1) F ( z )  = 
2
 (3.100)
dz  z − 0.5 

( z − 0.5)(n + 1) z n − z n+1
Re s[ F ( z ),1] =
( z − 0.5) 2
แทนค่ำ z =1
(1 − 0.5)(n + 1)1n − 1n+1 (0.5)(n + 1) − 1
Re s  F ( z ),1 = =
(1 − 0.5) 2
(0.5) 2

Re s  F ( z ),1 = 2(n + 1) (3.101)


การแปลง z ผกผันโดยวิธี Residue (ต่อ)

h(n) ก็คือผลรวมของกำรทำ Residue ทีโ่ พลทัง้ สองตำแหน่ง


เขียนได้ดงั สมกำรที่ 3.102

h(n) = Re s  F ( z ), p1  + Re s  F ( z ), p2 

h(n) = 2(0.5) n + 2(n + 1) = 2 (n − 1) + (0.5) n  (3.102)

You might also like