สังคม 55 เฉลย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

11

เฉลยข้อสอบวิชาสังคมศึกษาปีการศึกษา 2555

ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ
1 5 11 5 21 3 31 3,5 41 5
2 1 12 1 22 4 32 4 42 1
3 1 13 5 23 3 33 4 43 3
4 1 14 1 24 2 34 5 44 4
5 4 15 4 25 3 35 2 45 5
6 3 16 1 26 5 36 4 46 3
7 5 17 1 27 3 37 1 47 1
8 2 18 4 28 1 38 4 48 2
9 3 19 5 29 3 39 1 49 3
10 4 20 1 30 3 40 3 50 5

ข้อ 1. เฉลยข้อ 5
จุดมุ่งหมายสูงสุด พรำหมณ์-ฮินดู (โมกษะ)
พุทธ (นิพพำน)
คริสต์ (อำณำจักรพระเจ้ำ)
อิสลำม (พระอัลเลำะห์)
ซิกข์ (กำรยึดมั่นใน “ธรรม”)

ข้อ 2. เฉลยข้อ 1
ศาสนาพราหมณ์มีประวัติความเป็นมาโดยย่อดังนี้
- ศำสนำพรำหมณ์เป็นศำสนำดั้งเดิมของชำวอำรยัน ไม่มีองค์ศำสดำผู้ก่อตั้งศำสนำ เป็นศำสนำที่
ก่อตั้งขึ้นจำกลัทธิบูชำธรรมชำติ ชำวอำรยันยกย่องธรรมชำติว่ำเป็นเทพเจ้ำ มีกำรเซ่นสรวงบูชำและสวดอ้อนวอน
เพื่อให้เทพเจ้ำคุ้มครอง และยึดถือเรื่องวรรณะ.
- ศำสนำพรำหมณ์-ฮินดูมีควำมเชือ่ ในเรื่องพระเจ้ำสร้ำงโลก และเชือ่ ว่ำโลกต้องประกอบด้วย
พรำหมณ์-คัมภีร์พระเวท-วรรณะ ศำสนำพรำหมณ์-ฮินดูแบ่งได้ 3 ยุค คือ
12

1) ยุคพระเวท 2) ยุคมหำกำพย์และทรรศนะทั้งหก 3) ยุคฮินดู.


คัมภีร์ในศาสนพราหมณ์-ฮินดูที่นา่ ใจมีอะไรบ้าง
- คัมภีร์ศรุติ : คัมภีร์ที่เกิดจำกกำรรับฟังมำจำกพระเจ้ำโดยตรง ที่สำคัญคือคัมภีร์พระเวท.
- คัมภีร์สมฤติ : คัมภีร์ที่มนุษย์สร้ำงขึ้นเอง เช่น คัมภีร์พระธรรมศำสตร์ คัมภีร์อิติหำสะ.
- คัมภีร์อุปนิษัท : คัมภีร์ปรัชญำเกีย่ วกับเรื่องอำตมัน กำรเวียนว่ำยตำยเกิด พระเจ้ำ โลก มนุษย์.
- คัมภีร์ธรรมศำสตร์ : คัมภีร์ว่ำด้วยหลักกฎหมำยจำรีตประเพณีและสิทธิหน้ำที่ของคนในสังคมฮินดู.
-คัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์
1) ฤคเวท เป็นคัมภีร์ที่เก่ำแก่ทสี่ ุด ว่ำด้วยบทสวดสรรเสริญอ้อนวอนเทพเจ้ำ
2) ยชุรเวท เป็นคู่มือพรำหมณ์ในกำรทำพิธีบูชำยัญ
3) สำมเวท ใช้สวดในพิธีถวำยน้ำโสมแด่พระอินทร์
4) อำถรรพเวท เป็นมนตร์คำถำอำคมเกี่ยวกับไสยศำสตร์สำหรับพิธแี ก้เสนียดจัญไร.
คัมภีร์ใดที่แสดงถึงลัทธิอวตารในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
1) คัมภีร์อิติสำหะ ว่ำด้วยวีรกรรมของวีรบุรุษ ได้แก่ มหำกำพย์รำมำยณะ และมหำกำพย์มหำภำรตะ
2) คัมภีร์ปุรำณะ (เปรียบเสมือนสำรำนุกรม เป็นที่รวมควำมรู้ตำ่ งๆ ของชำวฮินดูโบรำณ) ว่ำด้วย
ตรีมรู ติ กำรสร้ำงโลก-ทำลำยโลก-สร้ำงโลกใหม่ และกำเนิดของเทพเจ้ำ กำรครองโลกของพระมนู ประวัติสรุ ิ
ยวงศ์และจันทรวงศ์.

ข้อ 3. เฉลยข้อ 1
พิธีศีลศักดิ์สิทธิข์ องชาวคริสต์มี 7 ประการ
1. ศีลล้ำงบำป - ทำครั้งเดียวเพื่อเข้ำเป็นคริสต์ชน แล้วจึงมีสิทธิ์รับศีลอื่น
2. ศีลกำลัง - ยืนยันตัวเองในควำมเป็นคริสต์ชนและมั่นใจต่อพระเจ้ำโดยไม่เปลี่ยนแปลง
3. ศีลมหำสนิท - ระลึกถึงชีวิตและคำสอนของพระเยซู พิธีมิซซำ
4. ศีลแก้บำป - สำรภำพบำปเพื่อเป็นกำรเริม่ ต้นทำควำมดีหลังจำกกำรยอมรับควำมผิดพลำด
5. ศีลเจิมคนไข้ - ให้สติกำลังใจแก่คนไข้ที่เจ็บหนัก
6. ศีลสมรส - ต้องทำต่อหน้ำบำทหลวง
7. ศีลอนุกรม - บวชเป็นบำทหลวง
ศีลล้ำงบำป (Baptism) หรือศีลจุ่มเป็นศีลทีส่ ำคัญทีส่ ุด ต้องทำเป็นพิธีแรกก่อนที่จะรับศีลอื่น ๆ ต่อไป และ
รับเพียงครั้งเดียวไม่ต้องรับซ้ำอีก ผู้ได้รับศีลล้ำงบำปแล้วถือเป็นบริสทุ ธิ์และหลุดพ้นจำกบำปที่ตดิ ตัวมำแต่กำเนิด
ซึ่งสืบทอดมำจำกบำปของอดัมและอีวำบบรรพบุรุษคู่แรกของมนุษย์ กำรทำพิธีศีลจุ่มหรือศีลล้ำงบำป ใช้วิธี
ประพรมด้วยน้ำหรือจุ่มตัวลงในบ่อน้ำจนมิดศีรษะเฉพำะนิกำยโรมันคำทอลิก บำทหลวงจะใช้น้ำศักดิ์สิทธิ์เทบน
ศีรษะไม่นิยมจุม่ ตัวในน้ำ
13

ข้อ 4. เฉลยข้อ 1
หลักปฏิบัติในศาสนาอิสลาม 5 ประการ สรุปลักษณะที่แตกต่างกันได้ดังนี้
1. ปฏิญำณตน - เป็นหัวใจของอิสลำม
2. ละหมำด - กำรนมัสกำรต่อพระเจ้ำทั้งทำงร่ำงกำย-จิตใจ
3. ถือศีลอด - เพื่อฝึกฝนร่ำงกำย-จิตใจให้อดทน และให้เห็นอกเห็นใจเพื่อนมนุษย์
4. ซะกำต - เพื่อขัดเกลำจิตใจให้สะอำด ลดควำมเห็นแก่ตัว
5. ฮัจญ์ - เพื่อแสดงควำมจงรักภักดี และให้ระลึกถึงควำมเสมอภำคของมนุษย์

ข้อ 5. เฉลยข้อ 4
พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์มีหลักการที่สอดคล้องกันดังนี้
1) เกิดจำกควำมอยำกรูค้ วำมจริงที่อยู่เบื้องหลังปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติ
2) ศรัทธำในกฎเกณฑ์ของธรรมชำติ
3) เชื่อมั่นในศักยภำพทำงปัญญำของมนุษย์
4) มีทั้งหลักกำรบริสุทธิ์และหลักกำรประยุกต์
5) เน้นหลักเหตุผล
6) มนุษย์ คือ ผลิตผลของธรรมชำติ ไม่ใช่ผลงำนสร้ำงสรรค์ของพระเจ้ำ.

ข้อ 6. เฉลยข้อ 3
อนาคาริก ธรรมปาละ เป็นคนศรีลังกำ เดิมชื่อ ดอน เดวิด พัฒนำป่ำอิสิปตนมฤคทำยวัน ให้เป็นพุทธสถำน
สำคัญ เรียกร้องให้พุทธคยำ กลับมำอยู่ในควำมดูแลของชำวพุทธ รัฐบำลอินเดีย ยังได้นำสัญลักษณ์ของ
พระพุทธศำสนำได้แก่ หัวสิงห์สี่หวั ของพระเจ้ำอโศก กลำยเป็น สัญลักษณ์ประจำชำติของอินเดีย ธรรมจักรที่ฐำน
ก็ปรำกฏอยู่ในธงชำติของอินเดียอีกด้วย
ข้อ 7. เฉลยข้อ 5
พุทธศาสนสุภาษิต ที่ควรจา
1) จิตต ทนฺต สุขาวห (จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมำให้)
2) น อุจฺจาวจ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ(บัณฑิตย่อมไม่แสดงอำกำรขึ้นๆ ลงๆ)
3) นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต (คนที่ไม่ถูกนินทำไม่มีในโลก)
4) โกธ ฆตฺวา สุข เสติ(ฆ่ำควำมโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสุข)
5) ปฏิรูปการี ธุรวา อุฏฺฐาตา วินฺทเต ธน(คนขยันเอำกำรเอำงำนกระทำเหมำะสมย่อมหำทรัพย์ได้)
6) วายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา(เกิดเป็นคนควรจะพยำยำมจนกว่ำจะประสบควำมสำเร็จ)
14

7) ราชา มุข มนุสสฺ าน(พระรำชำ เป็นประมุขของประชำชน)


8) สติ โลกสฺมิ ชาคโร(สติเป็นธรรมเครื่องตื่นอยู่ในโลก)
9) นิพพาน ปรม สุข (นิพพำนเป็นสุขอย่ำงยิ่ง)
10) นตถิ สนติปร สุข (สุขอื่นยิ่งกว่ำควำมสงบไม่ม)ี

ข้อ 8. เฉลยข้อ 2
อุโบสถศีลหรืออุโบสถ คือ ศีลที่รักษำในวันอุโบสถ ซึ่งหมำยถึงวันธรรมสวนะหรือวันพระ ศีลอุโบสถมี 8 ข้อ
เรียกทั่วไปว่ำ ศีล 8 เป็นศีลที่อุบำสก (ชำยชำวพุทธ) และอุบำสิกำ (หญิงชำวพุทธ) ข้อปฏิบัติในกำรควบคุมกำย
และวำจำให้ดียิ่งขึ้น มี 8 ประกำร คือ
1. เว้นจำกกำรฆ่ำสัตว์ตดั ชีวิต
2. เว้นจำกกำรลักขโมย
3. เว้นจำกกำรมีเพศสัมพันธ์ (ประพฤติพรหมจรรย์)
4. เว้นจำกกำรพูดเท็จ
5. เว้นจำกกำรดื่มสุรำเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งควำมไม่ประมำท
6. เว้นจำกกำรบริโภคอำหำรในเวลำวิกำล (เลยเที่ยงไปแล้ว)
7. เว้นจำกกำรฟ้อนรำ ขับร้อง บรรเลงดนตรี ดูกำรละเล่นมหรสพ และกำรประดับตกแต่งด้วยกำรทัดทรงดอกไม้
และลูบไล้ทำด้วยเครื่องหอม
8. เว้นจำกกำรนอนบนที่นอนอันสูงใหญ่ (ที่หรูหรำสะดวกสบำย)

ข้อ 9. เฉลยข้อ 3
สติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความเป็นจริง ได้แก่
1) กำยำนุปัสสนำ เช่น วิธีอำนำปำนสติ กำรกำหนดอิรยิ ำบถ กำรสร้ำงสัมปชัญญะ
2) เวทนำนุปัสสนำ เช่น ขณะนั่งนำนๆ ถ้ำมีอำกำรเจ็บ ปวด เมื่อยก็ให้รู้ทันเวทนำหรือควำมรูส้ ึกนั้นๆ
3) จิตตำนุปัสสนำ เช่น ขณะนี้จติ เรำเป็นอย่ำงไร มีควำมรัก โลภ โกรธ หรือหลง ให้รู้ทันว่ำจิตเช่นนั้นๆ กำลัง
เกิดขึ้น
ประเภทของจิตที่ปรากฏในหลักสติปัฏฐาน มีดังนี้
1. จิตมีรำคะ คือ จิตยินดีในกำม ฝักใฝ่ในเรื่องสวย ๆ งำม ๆ
2. จิตมีโทสะ คือ ใจร้อน ขี้หงุดหงิด มีอำรมณ์ฉุนเฉียว โกรธง่ำยแต่หำยเร็ว
3. จิตมีโมหะ คือ จิตลุม่ หลง ไม่รเู้ ท่ำทันตำมควำมเป็นจริง โง่เขลำ งมงำย
4. จิตวิตกกังวล คือ คิดฟุ้งซ่ำน คิดมำก คิดเล็กคิดน้อย
5. จิตเศร้ำหมอง คือ จิตหดหู่ ไม่สบำยใจ มีอำรมณ์หมกมุ่นกับควำมทุกข์
15

ข้อ 10. เฉลยข้อ 4


พรหมวิหารธรรม 4 คือ ธรรมของพรหมหรือของท่ำนผู้เป็นใหญ่ ซึ่งพรหมวิหำรเป็นหลักธรรมสำหรับทุกคน เป็น
หลักธรรมประจำใจที่จะช่วยให้เรำดำรงชีพอยู่ได้อย่ำงประเสริฐและบริสุทธิ์ ประกอบด้วย
1. เมตตา หมำยถึง ควำมรัก ควำมปรำรถนำดีอยำกให้ผู้อื่นเป็นสุข และมีไมตรีจิต คิดในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่
ผู้อื่น โดยทั่วหน้ำ ไม่ว่ำจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์
2. กรุณา หมำยถึง ควำมสงสำร คิดช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ อำจจะช่วยด้วยกำลังทรัพย์ กำลังควำมคิด หรือกำลัง
กำยแล้วแต่กรณี
3. มุทิตา หมำยถึง ควำมบันเทิงใจ หรือควำมเบิกบำนใจ คือ มีควำมยินดีเมื่อได้เห็น ได้ยินผู้อื่นได้ดมี คี วำมสุข
ควำมสบำย เรำพลอยดีใจไปกับเขำ
4. อุเบกขา หมำยถึง ควำมวำงใจเป็นกลำง คือ กำรทำงำนโดยปรำศจำกอคติ วำงตัวเป็นกลำง ไม่ลำเอียง เพรำะ
รัก ชัง หลง หรือกลัว โดยพิจำรณำว่ำใครทำดีย่อมได้ดี ใครทำชั่วย่อมได้ชั่ว

ข้อ 11. เฉลยข้อ 5


เพรำะหลักภรำดรภำพ หมำยถึง กำรมีควำมสัมพันธ์ต่อกันหรือปฏิบัติต่อกันเหมือนดังญำติพี่น้อง
ควบคุมดูแลกิจกำรต่ำง ๆ ให้เกิดควำมเที่ยงธรรม มีกำรบริหำรจัดกำรที่ดีและเป็นธรรมต่อทุก
ฝ่ำย โดยเน้นหลักคุณธรรม นิติธรรม ควำมโปร่งใส และมีควำมรับผิดชอบร่วมกัน
ตัวเลือกข้อ1. หลักนิติธรรม คือ ยึดตำมหลักกฎหมำยของบ้ำนเมือง
ตัวเลือกข้อ2. หลักสันติภำพ คือ ควำมสงบ ไม่ใช้ควำมรุนแรงต่อกัน
ตัวเลือกข้อ5. หลักภรำดรภำพ คือ กำรมีควำมสัมพันธ์ต่อกันดุจญำติพี่น้อง

ข้อ 12. เฉลยข้อ 1


นิติกรรม คือ กำรใดๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมำยและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อกำรผูก
นิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่ำงบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
- นิติกรรมมีองค์ประกอบดังนี้
1) เป็นกำรกระทำของบุคคลโดยกำรแสดงเจตนำให้ปรำกฏออกมำโดยอำจจะแสดงอย่ำงเจตนำ โดยลำยลักษณ์
อักษร หรือด้วยวำจำ หรือด้วยกิรยิ ำอำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งก็ได้ กำรนิ่งอำจถือว่ำเป็นกำรแสดงเจตนำยอมรับได้
ด้วย
2) เป็นกำรกระทำที่ชอบด้วยกฎหมำย คือ กำรกระทำนั้น ไม่เป็นกำรต้องห้ำมตำมกฎหมำยโดยชัดแจ้ง
3) ด้วยใจสมัคร หมำยควำมว่ำ ผูก้ ระทำมีควำมสมัครใจในกำร แสดงเจตนำให้ปรำกฏ มิได้เกิดขึ้นเพรำะกำร
สำคัญผิด ถูกข่มขู่ หรือถูกหลอกลวงใดๆ ทั้งสิ้น
16

4) มุ่งโดยตรงที่จะ ผูกนิติสมั พันธ์ขึ้นในระหว่ำงบุคคล คือ ต้องเป็นกำรกระทำทีผ่ ู้กระทำได้ทำลงโดยมีเจตนำให้


เกิดผลผูกพันในทำง กฎหมำยซึ่งจะทำให้เกิดสิทธิและหน้ำทีร่ ะหว่ำงบุคคล
5) เพื่อก่อให้เกิดควำมเคลื่อนไหวในสิทธิ ซึ่งหมำยควำม รวมถึงบุคคลสิทธิและทรัพย์สิทธิด้วย กำรเคลือ่ นไหวใน
สิทธินี้อำจจะเป็นกำรก่อสิทธิ เปลีย่ นแปลงสิทธิ โอนสิทธิหรือระงับสิทธิก็ได้.
สัญญาต้องมีองค์ประกอบสาคัญอะไรบ้าง
1) ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ำยขึ้นไป
2) ต้องมีกำรแสดงเจตนำต้องตรงกัน ต้องมีคำเสนอและคำสนองที่ชัดเจนแน่นอน
3) ต้องมีวัตถุประสงค์ในกำรทำสัญญำ

ข้อ 13. เฉลยข้อ 5


ผู้กระทำควำมผิดทำงอำญำแบ่งได้ 4 ประเภท คือ
1. ผู้กระทำควำมผิดด้วยตนเอง (ตัวกำร)
2. ผู้ร่วมกระทำควำมผิด
3. ผู้ใช้ให้ผู้อื่นกระทำควำมผิด ต้องรับโทษเท่ำกับผู้กระทำควำมผิด (ตัวกำร)
4. ผู้สนับสนุนกำรกระทำควำมผิด ต้องรับโทษ 2 ใน 3 ของโทษสำหรับตัวกำร
ผู้กระทำควำมผิด เป็นผูส้ นับสนุนกำรกระทำควำมผิดในคดีอำญำ ต้องรับโทษ 2
ใน 3 ของโทษสำหรับตัวกำรผู้กระทำควำมผิด ตัวเลือกข้อ 5 จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้อง

ข้อ 14. เฉลยข้อ 1


บรรทัดฐำนทำงสังคม แบ่งเป็น วิถีประชำ (ค่ำนิยมเป็นส่วนหนึ่ง) จำรีตและกฎหมำย

ข้อ 15. เฉลยข้อ 4.


องค์กำรอนำมัยโลก กำหนดให้ยำบ้ำเป็นยำเสพติดประเภทแอมเฟตำมีน

ข้อ 16. เฉลยข้อ 1


รัฐชำยฝั่ง หมำยถึงรัฐที่มีอำณำเขตติดกับชำยฝั่งทะเล ตำมอนุสัญญำสหประชำชำติ
ว่ำด้วยกฎหมำยทะเล ค.ศ. 1982 กำหนดให้รัฐชำยฝั่งมีอำนำจอธิปไตยเหนือทะเลอำณำเขต
กว้ำง 12 ไมล์ทะเล โดยวัดจำกเส้นฐำนที่กำหนดตำมอนุสัญญำฉบับนี้

ข้อ 17. เฉลยข้อ 1.


ประเทศที่ปกครองด้วยระบอบเผด็จกำร ทั้งเผด็จกำรทหำรและเผด็จกำรสังคมนิยมมีจุดอ่อนหรือข้อเสียที่
17

สำคัญ คือ จำกัดสิทธิและเสรีภำพทำงกำรเมืองของประชำชนมีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน และไม่มีกำร


ตรวจสอบกำรใช้อำนำจรัฐอย่ำงเหมำะสม ทำให้เกิดกำรทุจริตคอรัปชัน หรือมีกำรกำจัดประชำชนที่มี
ควำมคิดเห็นต่ำงจำกรัฐบำล เป็นต้น
เผด็จการมีหลักการที่สาคัญอะไรบ้าง
- เผด็จกำรมีหลักกำรสำคัญดังนี้ 1. ไม่ยอมรับควำมเสมอภำค 2. คัดค้ำนกำรปกครองโดยประชำชน
3. ผูกขำดอำนำจกำรปกครองไว้ทผี่ ู้นำเพียงคนเดียวหรือกลุ่มเดียว 4. รัฐอยู่เหนือประชำชน เน้นอำนำจรัฐ
มำกกว่ำเสรีภำพของประชำชน 5. ยึดหลักกำรรวมอำนำจไว้ที่ส่วนกลำง 6. มีรัฐธรรมนูญ มีการเลือกตั้ง
มีพรรคการเมือง มีรัฐสภาได้ แต่เป็นไปเพื่อสร้ำงอำนำจให้แก่บุคคลเท่ำนั้น.
เผด็จการมี 2 ประเภท อะไรบ้าง
เผด็จกำรมี 2 ประเภทดังนี้ 1. เผด็จกำรอำนำจนิยม 2. เผด็จกำรเบ็ดเสร็จ แบ่งเป็นแบบฟำสซิสต์
และแบบคอมมิวนิสต์.
- เผด็จการอานาจนิยม (หรือเผด็จการทหาร) รัฐควบคุมสิทธิเสรีภำพของประชำชนเฉพำะด้ำน
กำรเมืองเท่ำนั้น แต่ประชำชนยังคงมีสิทธิเสรีภำพด้ำนเศรษฐกิจและสังคม.
- เผด็จการเบ็ดเสร็จ รัฐควบคุมสิทธิเสรีภำพของประชำชนทุกด้ำน ทั้งกำรเมือง เศรษฐกิจ และสังคม.
- เผด็จการฟาสซิสต์ 1. เชื่อว่ำมนุษย์มีควำมไม่เท่ำเทียมกัน 2. ไม่เชื่อว่ำประชำชนเป็นผู้มีเหตุผล
3. เชื่อในกำรใช้กำลังรุนแรงและกำรโฆษณำชวนเชื่อ 4. เน้นลัทธิชำตินิยมอย่ำงรุนแรง 5. ศรัทธำในผูน้ ำ
6. เชื่อว่ำรัฐเป็นผู้มีอำนำจสูงสุดในกำรควบคุมชีวิตของประชำชนในชำติ 6. สนับสนุนกลุม่ นักธุรกิจนำยทุน
7. ต่อต้ำนระบบคอมมิวนิสต์ 8. เช่น เยอรมัน อิตำลี สเปน ในช่วงสงครำมโลกครั้งที่ 2.

ข้อ 18. เฉลยข้อ 4


กำรปฏิวัติ พ.ศ. 2475 โดยคณะรำษฎรดำเนินกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง เมื่อ 24 มิถุนำยน พ.ศ. 2475
ในสมัยรัชกำลที่ 7 ล้มเลิกกำรปกครองระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ และสถำปนำระบอบประชำธิปไตยขึ้น
แทน ได้ประกำศอุดมกำรณ์ในกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครองครั้งนี้ เรียกว่ำ หลัก 6 ประกำร และเพื่อใช้เป็น
แนวทำงกำรบริหำรและปกครองประเทศ สรุปได้ดังนี้
1.จะต้องรักษำควำมเป็นเอกรำชทัง้ หลำย เช่น เอกรำชในบ้ำนเมือง ในทำงศำล ในทำงเศรษฐกิจ ฯลฯ ของ
ประเทศไว้ให้มั่นคง
2.จะรักษำควำมปลอดภัยในประเทศ ให้กำรประทุษร้ำยต่อกันลดน้อยลงให้มำก
3.จะต้องบำรุงควำมสมบูรณ์ของรำษฎรในทำงเศรษฐกิจ โดยรัฐบำลใหม่จะจัดหำงำนให้รำษฎรทำกำร
วำงโครงกำรเศรษฐกิจแห่งชำติ ไม่ปล่อยให้รำษฎรอดอยำก
18

4.จะต้องให้รำษฎรมีสิทธิเสมอภำคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ำมีสิทธิยิ่งกว่ำรำษฎรเช่นที่เป็นอยู่
5.จะต้องให้รำษฎรได้มีเสรีภำพ มีควำมเป็นอิสระ เมื่อเสรีภำพนีไ้ ม่ขดั ต่อหลัก 4 ประกำรดังกล่ำวข้ำงต้น
6.จะต้องให้กำรศึกษำอย่ำงเต็มที่แก่รำษฎร

ข้อ 19. เฉลยข้อ 5


การตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองมีวิธีการตรวจสอบอย่างไร
ผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมืองที่ต้องผ่ำนกระบวนกำรตรวจสอบทรัพย์สิน ได้แก่ นำยกรัฐมนตรี
รัฐมนตรี สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร สมำชิกวุฒิสภำ ข้ำรำชกำรกำรเมืองอื่นๆ ผู้บริหำรท้องถิ่น สมำชิกท้องถิ่น
พร้อมทั้งคู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภำวะ และบุคคลที่มอบหมำยให้อยู่ในควำมครอบครองดูแล.
วิธีการตรวจสอบ
1) ตรวจสอบควำมถูกต้อง / ควำมมีอยู่จริงของทรัพย์สิน / หนี้สิน
2) หำกมีทรัพย์สินเพิ่มผิดปกติ ให้ประธำนคณะกรรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ
ส่งเอกสำร / รำยงำนผลกำรตรวจสอบไปยังอัยกำรสูงสุด เพื่อดำเนินคดีต่อศำลฎีกำแผนกคดีอำญำของผู้ดำรง
ตำแหน่งทำงกำรเมืองให้ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้นผิดปกติตกเป็นของแผ่นดิน
3) ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชี / จงใจยื่นบัญชีด้วยข้อควำมอันเป็นเท็จ / ปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้ง ให้
คณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติเสนอเรื่องให้ศำลฎีกำแผนกคดีอำญำของผู้ดำรง
ตำแหน่งทำงกำรเมืองวินิจฉัยให้ผกู้ ระทำผิดพ้นจำกตำแหน่งในวันทีศ่ ำลฎีกำวินิจฉัย และต้องห้ำมดำรงตำแหน่ง
ทำงกำรเมืองหรือตำแหน่งใดในพรรคกำรเมืองเป็นเวลำ 5 ปีนับแต่วันที่ศำลฎีกำวินิจฉัย.

ข้อ 20. เฉลยข้อ 5


รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2550 มีกำรแก้ไข 2 ครั้ง เมื่อมีนำคม พ.ศ.2554 กล่ำวคือ
1. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1 ) พุทธศักรำช 2554 แก้ไข
เพิ่มเติมมำตรำ 93—98 เกี่ยวกับกำรเลือกตั้งสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร (ส.ส.) สรุปได้ดังนี้
1.1 สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรมีจำนวน 500 คน เป็น ส.ส. จำกกำรเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และ ส.ส.
จำกกำรเลือกตั้งแบบบัญชีรำยชื่อ 125 คน
1.2 กำรเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต ให้ผู้มสี ิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครได้เขตละ 1 คน
1.3 กำรเลือกตั้ง ส.ส. แบบบัญชีรำยชื่อ ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนเสียงเลือกบัญชีรำยชื่อผู้สมัครรับ
เลือกตั้งที่พรรคกำรเมืองจัดทำขึ้นเพียงบัญชีเดียว และให้ถือเขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง
1.4 พรรคกำรเมืองแต่ละพรรคจัดทำบัญชีรำยชื่อผูส้ มัครรับเลือกตั้งได้ 1 บัญชีและมีจำนวนไม่เกิน 125 คน
19

2. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักรำช 2554 แก้ไขเพิ่มเติมมำตรำ


190 เป็นข้อกำหนดในกำรทำสัญญำระหว่ำงประเทศสรุปได้ ดังนี้กำรทำหนังสือสัญญำใด ๆ กับต่ำงประเทศ
ซึ่งเกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงอำณำเขตของประเทหรือข้อตกลงทำงกำรค้ำ ซึ่งมีผลกระทบต่อควำมมั่นคงทำง
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศจะต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกรัฐสภำก่อน

ข้อ 21. เฉลยข้อ 3


ต้นทุนค่ำเสียโอกำส (Opportunity Cost) คือ มูลค่ำของทำงเลือกที่ดีที่สุดที่เหลืออยู่ เมื่อได้ตดั สินใจ
เลือก ทำงใดทำงหนึ่งไปแล้ว กรณีนำยโชค เมื่อจบกำรศึกษำปริญญำตรีแล้วมีทำงเลือกในกำรประกอบ
อำชีพ 2 ทำง
คือ ทำงเลือกที่ 1 ทำงำนกับบริษัทร่วมใจได้เงินเดือน 18,000 บำท
ทำงเลือกที่ 2 ทำงำนกับบริษัทแสงอรุณมีรำยได้เดือนละ 16,000 บำท
กำรเลือกทำงำน (ทำงเลือกที่ 1) ได้เงินเดือน 18,000 บำท มูลค่ำของทำงเลือกที่ดี
ที่สุดที่เหลืออยู่ แทน (ทำงเลือกที่ 2) มีรำยได้เดือนละ 16,000 บำทน้อยกว่ำทำงเลือกที่ 1 ดังนั้น ต้นทุน
ค่ำเสียโอกำสของนำยโชค ไม่มี เพรำะได้เงินเดือนสูงกว่ำอีกบริษัทหนึ่ง 2,000 บำท

ข้อ 22. เฉลยข้อ 4


ปัจจัยการผลิต (Factors of Production) ในทำงเศรษฐศำสตร์มีอยู่ 4 อย่ำง คือ
1. ที่ดิน (Land) หมำยถึง แหล่งผลิต ซึ่งหมำยรวมถึงทรัพยำกรที่อยูใ่ นบริเวณนั้นทั้งหมด
2. ทุน (Capital) หมำยถึง สิ่งซึ่งนำมำใช้เป็นเครื่องมือในกำรผลิต เช่น โรงงำน รถยนต์ เครื่องจักร วัว
ควำย ยกเว้น เงิน (Money)
3. แรงงำน (Labour) หมำยถึง แรงกำยและปัญญำของมนุษย์เท่ำนัน้
4. ผู้ประกอบกำร (Enterperneurship) หรือผูผ้ ลิต หมำยถึง ผู้ที่จะนำเอำที่ดิน ทุน และ แรงงำน มำก่อ
ให้เกิดกำรผลิต ผู้ประกอบกำรยังต้องแบกรับภำระควำมเสี่ยงในกำรผลิตสินค้ำนั้นๆ ด้วยเพรำะถ้ำเกิด
ควำมผิดพลำด ผู้ประกอบกำรจะต้องรับผิดชอบทั้งหมด ตัวเลือกข้อ 4 จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้อง

ข้อ 23. เฉลยข้อ 3.


ประโยชน์ของการลงทุนระหว่างประเทศ
ประเทศกำลังพัฒนำที่เปิดรับกำรลงทุนจำกต่ำงประเทศ จะได้รับประโยชน์ทำงอ้อม ดังนี้
1. เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ เอกชนได้ขยำยกิจกำรในด้ำนต่ำงๆ เกิดกำรจ้ำงงำน
ประชำชนมีงำนทำ มีรำยได้ประชำชำติเพิ่มสูงขึ้น และประเทศมีควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงเศรษฐกิจ
20

2. ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยูด่ ีขึ้น เพรำะมีกำรจ้ำงงำน มีรำยได้ และมีสินค้ำตอบสนองควำม


ต้องกำรในกำรดำรงชีวิตของประชำชนมำกขึ้น
3. การเพิ่มมูลค่าในทรัพยากรและวัตถุดิบของท้องถิ่น โดยใช้วัตถุดิบหรือผลผลิตทำงกำรเกษตรใน
ท้องถิ่นมำแปรรูปเป็นสินค้ำสำเร็จรูป ซึ่งเกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรผูผ้ ลิตและเป็นกำรใช้ทรัพยำกรให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
4. ได้รับกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรผลิตจำกต่ำงชำติที่เข้ำมำลงทุน ซึ่งเป็นผลดีต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจ
ของประเทศในระยะยำว

ข้อ 24. ตอบข้อ 2


สหกรณ์มี 7 ประเภท ได้แก่ สหกรณ์กำรเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม สหกรณ์ร้ำนค้ำ สหกรณ์
ออมทรัพย์ สหกรณ์บริกำร และสหกรณ์เครดิตยูเนียน
สหกรณ์ร้ำนค้ำเป็นสหกรณ์ที่ผู้บริโภครวมตัวกันจัดตั้งขึ้น เพื่อจัดหำสินค้ำ เครื่องอุปโภคและบริโภคมำ
จำหน่ำยแก่สมำชิกและบุคคลทั่วไป โดยจดทะเบียนตำมกฎหมำยสหกรณ์ ทั้งนี้สหกรณ์ร้ำนค้ำเปิดโอกำสให้
ประชำชนทุกอำชีพเข้ำซื้อหุ้นและเป็นเจ้ำของร่วมกันได้
นำยดำรงเป็นนักเรียนมีสิทธิส์ มัครเป็นสมำชิกของสหกรณ์ร้ำนค้ำโรงเรียนของตนได้แต่ไม่มสี ิทธิ์สมัคร
เป็นสมำชิกสหกรณ์ประเภทอื่นๆ เพรำะมิได้เป็นผู้ประกอบกำรหรือผูป้ ระกอบอำชีพนั้นๆ (ตัวเลือกข้อ 2 เป็น
คำตอบที่ถูกต้อง)
พ่อของนำยดำรงเป็นคนขับรถแท็กซี่มีสิทธิ์สมัครเป็นสมำชิกสหกรณ์บริกำรได้ ส่วนแม่ของนำยภิเดชเป็น
ลูกจ้ำงประจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ฯ มีสิทธิ์สมัครเป็น สมำชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ฯ ได้

ข้อ 25. เฉลยข้อ 3.


ตัวเลือกข้อ 3 ไม่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพรำะขำดควำมมีเหตุผลโดยเน้นซื้อของกินของ
ใช้รำคำถูกเป็นหลัก ไม่ให้ควำมสำคัญในคุณภำพของสินค้ำหรือ คุณค่ำทำงโภชนำกำรของอำหำร ซึ่งจะส่งผล
กระทบต่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตของตนเองและครอบครัว

ข้อ 26. เฉลยข้อ 5


หน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจโดยรวมทั่วไปจะมีหน่วยเศรษฐกิจดำเนินกำรอย่ำงเป็นระบบ และมี
ควำมสัมพันธ์กัน หน่วยเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ มีดังนี้
1. หน่วยครัวเรือน หมำยถึง ครัวเรือนทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจรวมทั้งองค์กรที่ไม่หวังผลกำไรต่ำงๆ เช่น
21

โรงเรียน โรงพยำบำล เป็นต้น หน่วยครัวเรือนจะทำหน้ำที่เป็นแหล่งอุปทำน ปัจจัยกำรผลิตต่ำงๆ ได้แก่ แรงงำน


ที่ดิน ทุน และผู้ประกอบกำร ให้กับหน่วยธุรกิจเพื่อนำเข้ำไปเข้ำกระบวนกำรผลิตสินค้ำและบริกำรต่ำงๆ หน่วย
ครัวเรือนจะได้รับรำยได้จำกกำรขำยปัจจัยกำรผลิตในรูปของค่ำจ้ำง ค่ำเช่ำ ดอกเบี้ย และกำไร ซึ่งรวมแล้ว
เรียกว่ำ รำยได้ประชำชำติ (National Income) ซึ่งหมำยถึงรำยได้รวมที่เจ้ำของปัจจัยกำรผลิตต่ำงๆ ได้รับมำ
จำกตลำดปัจจัยกำรผลิตสู่หน่วยครัวเรือนหน่วยครัวเรือนนี้จะทำหน้ำที่สองหน้ำที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจ กล่ำวคือ
ในฐำนะของ กำรเป็นผู้ซื้อสินค้ำและบริกำรจำกผู้ผลิตครัวเรือนจะทำหน้ำที่ผู้บริโภคและในขณะเดียวกัน ในฐำนะ
ของกำรเป็นผู้ ครอบครองปัจจัยกำรผลิตที่ผผู้ ลิตสำมำรถนำไปใช้ในกำรผลิตได้ ครัวเรือนก็จะทำหน้ำที่เป็น
เจ้ำของปัจจัยกำรผลิต ไปพร้อมๆ กัน
2. หน่วยธุรกิจ หมำยถึง หน่วยผลิตทั้งหมดที่เอกชนเป็นเจ้ำของและทำหน้ำที่ผลิตสินค้ำและบริกำรต่ำงๆ
ทั้งที่เป็นเจ้ำของกิจกำรคนเดียว ห้ำงหุ้นส่วน และบริษัท โดยหน่วยธุรกิจทำหน้ำที่รวบรวมปัจจัยกำรผลิตต่ำงๆ
จำกหน่วยครัวเรือนเพื่อนำไปผลิตเป็นสินค้ำและบริกำรต่ำงๆ ในตลำดผลผลิต รำยได้ของหน่วยธุรกิจจะอยู่ในรูป
ของ ผลิตภัณฑ์ประชำชำติ (Gross National Product : GNP) ซึ่งหมำยถึง มูลค่ำทั้งหมดของสินค้ำและบริกำร
ขั้น สุดท้ำยที่ผลิตขึ้นมำในระบบเศรษฐกิจที่ขำยในตลำดผลผลิต และรำยได้ดังกล่ำวจะนำไปจ่ำยเป็นค่ำตอบแทน
ปัจจัย กำรผลิต ซึ่งหมำยถึงค่ำใช้จำ่ ยหน่วยผลิตจ่ำยเป็นค่ำตอบแทนให้กับปัจจัยกำรผลิตต่ำงๆ ได้แก่ แรงงำน
ที่ดิน ทุน และผู้ประกอบกำร ในรูปของค่ำจ้ำง ค่ำเช่ำ ดอกเบี้ย และกำไร ผ่ำนตลำดปัจจัยกำรผลิตให้กับหน่วย
ครัวเรือน ดังกล่ำว
3. หน่วยรัฐบาล หมำยถึงหน่วยรัฐบำลทั้งหมดทั้งในส่วนของรัฐบำลกลำง จังหวัด อำเภอ ตำบล และ
หมู่บ้ำน โดยหน่วยรัฐบำลจะทำหน้ำที่ควบคุมทรัพยำกรของระบบเศรษฐกิจจำกภำคเอกชนไปสู่ภำครัฐบำล
รวมถึงดูแลกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกิจต่ำงๆ ให้เป็นไปในทำงที่สอดคล้องกับเป้ำหมำยในกำรพัฒนำ
ประเทศโดยมี รำยรับจำกกำรเก็บภำษี ซึ่งจะมีผลต่อกำรใช้จ่ำยในกำรบริโภคและกำรออมของหน่วยครัวเรือน
กล่ำวคือ ถ้ำรัฐบำล เก็บภำษีในอัตรำที่สูงจะทำให้หน่วยครัวเรือนมีควำมสำมำรถในกำรบริโภคและกำรออม
ลดลง แต่จะทำให้รัฐบำลมี ควำมสำมำรถในกำรใช้จ่ำยสูงขึ้น และนอกจำกรัฐบำลจะมีแหล่งเงินได้จำกกำรเก็บ
ภำษีแล้ว รัฐบำลยังอำจจะกู้ยืม เงินจำกตลำดเงินเพื่อนำไปเป็นค่ำใช้จ่ำยของรัฐบำล ซึ่งหมำยถึง กำรซือ้ สินค้ำ
และบริกำรต่ำงๆ ของหน่วยรัฐบำล จำกตลำดผลผลิต
ตัวเลือกทุกข้ออธิบำยถึงควำมสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจทั้ง 3 ได้ถูกต้อง
ในระบบเศรษฐกิจหน่วยครัวเรือน (บุคคลคนเดียวหรือครอบครัว) ทำหน้ำที่ 2 ประกำร คือ
1. เป็นผู้บริโภคสินค้ำหรือบริกำร หน่วยครัวเรือนจะซื้อสินค้ำหรือบริกำรจำก หน่วยธุรกิจ (ผูผ้ ลิต)
2. เป็นเจ้ำของปัจจัยกำรผลิต (ที่ดนิ แรงงำน ทุน) โดยหน่วยครัวเรือนจะให้ปัจจัยกำรผลิตของตนแก่
หน่วยธุรกิจ (ผูผ้ ลิต) ดังนั้น ปัจจัยกำรผลิตจึงต้องไหลจำกหน่วยครัวเรือนไปยังหน่วยธุรกิจ
22

ข้อ 27. เฉลยข้อ 3.


โครงกำรประกันรำคำข้ำวกับโครงกำรรับจำนำข้ำว มีลักษณะที่เหมือนกันประกำรหนึ่งคือ ทำให้
ชำวนำมีควำมมั่นคงในรำยได้ ภำวะควำมเสี่ยงจำกควำมไม่แน่นอนในรำยได้ลดลง ตัวเลือกข้อ 3 จึงเป็นคำตอบที่
ถูกต้อง
ตัวเลือกข้อ 1 อุปทำนของข้ำวเปลือกในตลำดลดลง คือ โครงกำรประกันรำคำข้ำว
ตัวเลือกข้อ 2 รำคำข้ำวเป็นไปตำมกลไกของตลำดคือ โครงกำรประกันรำคำข้ำว
ตัวเลือกข้อ 4 รัฐบำลทำหน้ำที่เป็นพ่อค้ำคนกลำง คือ โครงกำรรับจำนวนข้ำว
ตัวเลือกข้อ 5 แม้ผลผลิตจะเสียหำยจำกภัยธรรมชำติแต่ชำวนำยังคงได้รับเงินชดเชยจำกรัฐบำล คือ โครงกำร
ประกันรำคำข้ำว

ข้อ 28. เฉลยข้อ 1


บัญชีดุลกำรชำระเงิน ประกอบด้วย 3 บัญชี ดังนี้
1. บัญชีเดินสะพัด คือ บัญชีที่แสดงรำยรับกับรำยจ่ำยของประเทศเกี่ยวกับ
(1) ดุลกำรค้ำ (มูลค่ำสินค้ำออกและมูลค่ำสินค้ำเข้ำ)
(2) ดุลบริกำร (ค่ำขนส่ง ค่ำสือ่ สำร ค่ำประกันภัย ค่ำลิขสิทธิ์ และกำรท่องเที่ยว)
(3) เงินโอน (เงินบริจำค หรือเงินช่วยเหลือต่ำงๆ)
(4) รำยได้ (ค่ำจ้ำง เงินเดือน และสวัสดิกำร)
2. บัญชีเงินทุน คือ บัญชีแสดงรำยรับและรำยจ่ำยเกีย่ วกับกำรลงทุน (เงินทุนเคลื่อนย้ำยสุทธิ) เช่น กำร
กู้เงินข้ำมชำติ กำรลงทุนโดยตรง และกำรลงทุนในหลักทรัพย์
3. บัญชีทนุ สารองระหว่างประเทศ
ข้อ 29. เฉลยข้อ 3
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN : Association of Southeast Asia
Nations)
- อำเซียนตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหำคม พ.ศ. 2510 ตำมปฏิญญำณกรุงเทพฯ (BangkokDeclaration) ปัจจุบัน
อำเซียนมีสมำชิกทั้งหมด 10 ประเทศ วัตถุประสงค์ของกำรก่อตั้งอำเซียนก็เพื่อส่งเสริมควำมร่วมมือและควำม
ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้ำนต่ำงๆ ของประเทศสมำชิก ทั้งทำงด้ำนเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม เทคโนโลยี
วิทยำศำสตร์ รวมไปถึงสันติภำพและควำมมั่นคงในภูมภิ ำค ทั้งนี้เพื่อให้ประชำชนในอำเซียนมีควำมเป็นอยู่และ
คุณภำพชีวิตที่ด.ี
- กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) คือ ธรรมนูญของอำเซียนที่จะทำให้อำเซียนมีสถำนะ
เป็นนิติบุคคล เป็นกำรวำงกรอบกฎหมำยตลอดจนโครงสร้ำงองค์กรให้กับอำเซียน เพื่อให้อำเซียนทำงำนได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น เสริมสร้ำงกลไกกำรติดตำมควำมตกลงต่ำงๆ ให้มีผลเป็นรูปธรรม และช่วยให้
23

อำเซียนเป็นประชำคมเพื่อประชำชนอย่ำงแท้จริง ควำมสำคัญของกฎบัตรอำเซียน คือ เพื่อกำรรวมตัวเป็น


ประชำคมอำเซียนใน พ.ศ. 2558 ทำให้อำเซียนเป็นเขตกำรค้ำเสรีภำยในประเทศสมำชิก และมีอำนำจต่อรองกับ
กลุ่มประเทศอื่นๆ ที่มีกำรรวมตัวกันเป็นประชำคมหรือเป็นสหภำพ อีกทั้งเพื่อให้มีกำรร่วมมือกันทำงด้ำนต่ำงๆ
ของประเทศสมำชิกดียิ่งขึ้น ยิ่งกว่ำกำรร่วมมือกันในปฏิญญำอำเซียน.
- คำขวัญของอำเซียน คือ One Vision, One Identity, One Community หนึ่งวิสัยทัศน์หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่ง
ประชำคม
- ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประกอบด้วย 3 เสำหลัก คือ
1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (APSC : ASEAN Political Security Community)
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community)
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC : ASEAN Socio-Cultural Community)
- ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียนมีเป้ำหมำยสำคัญ 4 ด้ำน คือ 1. เป็นตลำดและฐำนกำรผลิตร่วมกัน
2. สร้ำงขีดควำมสำมำรถทำงเศรษฐกิจ 3. สร้ำงควำมเท่ำเทียมในกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจ 4. กำรบูรณำกำร
เข้ำกับเศรษฐกิจโลก.

ประเทศอำเซียนกับสำขำกำรผลิตสินค้ำและบริกำรตำมควำมถนัด 8 อำชีพเสรีในอำเซียน
1. พม่ำ : สำขำผลิตภัณฑ์เกษตรประมง 1. วิศวกรรม
2. มำเลเซีย : สำขำผลิตภัณฑ์ยำงและสิ่งทอ 2. กำรสำรวจ
3. อินโดนีเซีย : สำขำยำนยนต์และผลิตภัณฑ์ไม้ 3. สถำปัตยกรรม
4. ฟิลิปปินส์ : สำขำอิเล็กทรอนิกส์ 4. แพทย์
5. สิงคโปร์ : สำขำเทคโนโลยีสำรสนเทศและสุขภำพ 5. ทันตแพทย์
6. ไทย : สำขำกำรท่องเที่ยวและกำรบิน 6. พยำบำล
7. เวียดนำม : สำขำโลจิสติกส์ 7. บัญชี
8. กำรบริกำร/กำรท่องเที่ยว

ตัวเลือกข้อ 3 เป็นข้อเดียวที่ผดิ ควำมจริง เพรำะประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน (AEC) มีนโยบำยคุ้มครอง


ทรัพย์สินทำงปัญญำของประเทศสมำชิก มิใช่เปิดเสรีแต่อย่ำงใดตัวเลือกข้อ ๆ ถูกหมดทุกข้อ
ข้อ 30. เฉลยข้อ 3.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
แผนพัฒนำฯ 11 ใช้แนวคิดที่ต่อเนื่องจำกแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญำ
เศรษฐกิจพอเพียง” ที่ให้ “คนเป็นศูนย์กลำงของกำรพัฒนำ” และ “สร้ำงสมดุลกำรพัฒนำ” ในทุกมิติ /
24

วิสัยทัศน์ “สังคมอยูร่ ่วมกันอย่ำงมีควำมสุข ด้วยควำมเสมอภำค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อกำรเปลีย่ นแปลง /


3 พันธกิจ ได้แก่ กำรพัฒนำฐำนกำรผลิตและบริกำร กำรสร้ำงควำมเป็นธรรมและลดควำมเหลื่อมล้ำทำง
เศรษฐกิจ สังคม และสร้ำงภูมิคุ้มกันจำกวิกฤตกำรณ์ / 3 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อมอุดม
สมบูรณ์อย่ำงยั่งยืน คนไทยอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติสุข และพร้อมเชิญกับกำรเปลีย่ นแปลงได้อย่ำงเป็นสุข / 4
เป้ำหมำยหลัก ได้แก่ เศรษฐกิจมีควำมเข้มแข็งสมดุล ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันสูงขึ้น มีหลักประกันสังคม
ที่ทั่วถึง และสังคมไทยมีควำมสุขอย่ำงมีธรรมำภิบำล / 7 ยุทธศำสตร์ ได้แก่ กำรสร้ำงฐำนกำรผลิตให้เข้มแข็ง
สมดุล อย่ำงสร้ำงสรรค์ กำรสร้ำงสภำพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อกำรผลิต กำรค้ำ กำรลงทุน กำรพัฒนำ
คุณภำพคน ทั้งควำมรู้คู่คณ ุ ธรรม สังคม มั่นคงเป็นธรรม มีพลังและเอื้ออำทร เน้นกำรผลิตและบริโภคที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม มีควำมมั่นคงของพลังงำนและอำหำร และเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ

ข้อ 31. เฉลยข้อ 3 , 5


ประเทศที่ใช้พุทธศักรำช (พ.ศ.) มีวิธีนับ พ.ศ. 1 แตกต่ำงกัน 2 แบบ ดังนี้
1. แบบไทย ลำว เขมร เริ่มนับ พ.ศ. 1 ภำยหลังเมื่อพระพุทธเจ้ำเสด็จดับขันธปรินิพพำนผ่ำนไปแล้ว 1
ปี หรือนับ พ.ศ. 1 ถัดจำกปีที่พระพุทธเจ้ำเสด็จดับขันธ์ฯ
2. แบบศรีลังกำ พม่ำ อินเดีย เริ่มนับ พ.ศ. ในปีที่พระพุทธเจ้ำเสด็จดับขันธปรินนิพพำน ดังนั้น ปี พ.ศ.
แบบลังกำจะมีอำยุมำกกว่ำปี พ.ศ. แบบไทย 1 ปี เช่น ปี พ.ศ. 2557 แบบไทยจะตรงกับปี พ.ศ. 2558 แบบลังกำ
เป็นต้น
ตัวเลือกข้อ 5 พม่ำและศรีลังกำ เป็นคำตอบที่ถูกต้อง เพรำะไม่ได้ใช้กฎเกณฑ์กำรนับพุทธศักรำชแบบ
ไทย

ข้อ 32. เฉลยข้อ 4.


กำรจัดทำกฎหมำยสิบสองโต๊ะของจักรวรรดิโรมัน นักประวัติศำสตร์จัดให้อยู่ในช่วงเวลำของอำรย
ธรรมตะวันตกสมัยโบรำณ มิใช่ประวัติศำสตร์สมัยกลำง
กฎหมำยสิบสองโต๊ะเป็นกฎหมำยลำยลักษณ์อักษรของโรมัน จำรึกลงบนแผ่นโลหะสำริด 12 แผ่น
ตรำขึ้นเมื่อประมำณ 450 ปีก่อนคริสต์ศักรำช ประกอบด้วยมำตรำต่ำงๆ เพื่อให้ควำมยุติธรรมแก่ชำวโรมันโดย
เท่ำเทียมกัน ชำวโรมันทุกคนทั้งชนชั้นสูงและรำษฎรสำมัญชนต้องอยู่ภำยใต้กฎหมำยเดียวกัน ต่อมำใช้บังคับ
ประชำชนทุกเชื้อชำติในจักรวรรดิโรมัน
หลักกำรของกฎหมำยสิบสองโต๊ะถือเป็นต้นแบบของกฎหมำยโลกตะวันตกและ เป็นรำกฐำนของ
ประมวลกฎหมำยที่ใช้ในประเทศต่ำงๆ ในยุโรปในสมัยต่อมำ
25

ข้อ 33. เฉลยข้อ 4


สมัยปัจจุบัน (ร่วมสมัย) (1945-ปัจจุบนั )
สมัยปัจจุบันเริม่ ต้นในสมัยสงครำมเย็น หลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 เป็นช่วงที่มีกำรประจัญหน้ำกันระหว่ำง
ลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีสหภำพโซเวียตเป็นผู้นำมีอิทธิพลเหนือยุโรปตะวันออก กับสหรัฐอเมริกำเป็นผู้นำ มี
อิทธิพล เหนือยุโรปตะวันตก ทั้งสองมหำอำนำจแทรกแซงทำงกำรเมืองในประเทศต่ำงๆ แต่ไม่มีสงครำมระหว่ำง
กันโดยตรง เพรำะต่ำงเกรงกลัวหำยนะจำกอำวุธนิวเคลียร์ส สงครำมเย็นเริม่ ยุตลิ งสมัยประธำนำธิบดีกอบำชอฟ
ใน ค.ศ. 1989 เมื่อกำแพงเบอร์ลนิ ที่สหภำพโซเวียตเป็นผูส้ ร้ำงเพื่อแบ่งเขตปกครองเยอรมันถูกทำลำย สงครำม
เย็น ยุติอย่ำงเด็ดขำดเมื่อสหภำพโซเวียตล่มสลำย ในค.ศ. 1991 สถำนกำรณ์ในโลกร่วมสมัย (contemporary)
เปลี่ยนเป็นควำมขัดแย้งด้ำนควำมคิดทำงศำสนำและกำร ปรำบปรำมกำรก่อกำรร้ำย เช่น ควำมขัดแย้งใน
ตะวันออกกลำง อิสลำเอล- ปำลเสลไตน์ เหตุกำรณ์ที่สำคัญซึ่ง ส่งผลกระทบไปทั่วโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกำหลัง
เหตุกำรณ์ 9/11 กับชำติมสุ ลิมในตะวันออกกลำง ได้แก่ อิรัก อัฟกำนิสถำนและอิหร่ำน เป็นต้น

ข้อ 34. เฉลยข้อ 5.


เติ้ง เสี่ยวผิง ผู้นำสำธำรณรัฐประชำชนจีน (ดำรงตำแหน่งประธำนที่ปรึกษำพรรคคอมมิวนิสต์จีน) เริม่
ปฏิรูปประเทศเมื่อปี ค.ศ. 1978 เรียกว่ำ กำรปฏิรูปสี่ทันสมัย ได้แก่ พัฒนำด้ำนกำรเกษตร อุตสำหกรรม กำร
ป้องกันประเทศ และวิทยำศำสตร์เทคโนโลยีด้ำนกำรพัฒนำอุตสำหกรรมซึ่งเป็นหัวกระบวนของกำรพัฒนำ
เศรษฐกิจ เน้นพัฒนำด้ำนอุตสำหกรรมเบำ ผลิตสินค้ำอุปโภคและบริโภคและบริโภคเพื่อกำรส่งออก เน้นเปิด
ประเทศให้ตำ่ งชำติเข้ำมำลงทุนตั้งโรงงำน ค้ำขำย และเผยแพร่เทคโนโลยีกำรผลิตสมัยใหม่ มีกำรจัดตัง้ เขต
เศรษฐกิจพิเศษบริเวณชำยฝั่งทะเล สนับสนุนให้ต่ำงชำติเข้ำมำลงทุนตั้งโรงงำน อุตสำหกรรม โดยลดภำษีให้เป็น
พิเศษ รัฐบำลจีนยอมรับกลไกรำคำตำมระบบเศรษฐกิจ แบบทุนนิยม ปล่อยให้รำคำสินค้ำเป็นไปตำมอุปสงค์และ
อุปทำนของตลำด และมีกำรปฏิรปู ระบบธนำคำรเพื่อส่งเสริมกำรลงทุน เป็นต้น กำรปฏิรูปประเทศตำมแนวทำง
ของเติ้ง เสี่ยวผิง ส่งผลให้จีนเจริญก้ำวหน้ำทำงเศรษฐกิจเป็นอย่ำงมำก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 มีกำรปฏิรปู ประเทศ
เป็นรอบที่สอง โดยพัฒนำเศรษฐกิจตำมแนวทำงเสรีของระบบทุนนิยมในช่วงปี ค.ศ. 1992 – 1993 มีกำร
ขยำยตัวทำงเศรษ ฐกิจของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชำชำติ (GDP) เพิม่ สูงขึ้นถึงร้อยละ 13 เนื่องจำกมีกำรลงทุน
ของธุรกิจอุตสำหกรรมชำติตะวันตกและญี่ปุ่นจำนวนมำก ผลจำกกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจอย่ำงรวดเร็วทำ
ให้ประชำชนมีควำมเป็นอยู่ดีขึ้นและเกิดชนชั้นกลำงในสังคมจีนจำนวนมำก สรุป กำรปฏิรูปประเทศของ
สำธำรณรัฐประชำชนจีน ตั้งแต่ ค.ศ. 1978 เป็นต้นมำจนถึง ปี ค.ศ. 1992 ซึ่งเป็นกำรปฏิรูปประเทศในรอบที่
สอง คือ กำรพัฒนำประเทศจีนเข้ำสู่ระบบทุนนิยมของโลก เนื่องจำกจีนมีประชำกรมำกที่สดุ ในโลก มีแรงงำน
และกำลังซื้อมำก ทำให้จีนมีอิทธิพลต่อระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบันอย่ำงมำก
26

ตัวเลือกข้อ 1 ปรับปรุงระบบเศรษฐกิจของประเทศตำมแนวทำงเสรีของระบบทุนนิยมจึงเป็นคำตอบที่ถูกต้อง
กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชำชำติ (GDP) เพิ่มสูงขึ้นในปี ค.ศ. 1992 – 1993 และเกิด
ชนชั้นกลำงในสังคมจนจำนวนมำก คือ ผลที่เกิดจำกกำรปฏิรูปประเทศ

ข้อ 35. เฉลยข้อ 2


หลักกำรของกำรสหประชำติ (UN) มำตรำ 2 ของกฎบัตรแห่งสหประชำชำติระบุหลักกำรทีส่ ำคัญไว้ ดังนี้
1. หลักควำมมั่นคงร่วมกัน เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภำพและควำมมั่นคงร่วมกัน ประเทศสมำชิกจะดำเนิน
มำตรกำรร่วมกัน เพื่อป้องกันและกำจัดกำรคุกคำมต่อสันติภำพ
2. หลักควำมเสมอภำคในอธิปไตย รัฐที่เป็นสมำชิกย่อมมีอำนำจอธิปไตยในดินแดนของตนโดยสมบูรณ์
และเสมอภำคกัน
3. หลักเอกภำพระหว่ำงชำติมหำอำนำจ หมำยถึง ชำติมหำอำนำจ 5 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกำ
อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย และจีน ต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในกำรปฏิบัติหน้ำที่เพื่อธำรงรักษำสันติภำพของโลก
และมวลสมำชิก
4. หลักกำรระงับกรณีพิพำทระหว่ำงประเทศโดยสันติวิธี ประเทศสมำชิกต้องละเว้นไม่ใช้กำลังเข้ำ
คุกคำมต่อบูรณำภำพอำณำเขตหรือเอกรำชทำงกำรเมืองของรัฐใดๆ แต่ให้ระงับกรณีพิพำทโดยสันติวิธี
ตัวเลือกข้อ 2 ผิด เพรำะกฎบัตรสหประชำชำติมไิ ด้ให้อำนำจแก่สหประชำชำติเข้ำแทรกแซงเรื่องที่อยู่
ในเขตอำนำจภำยในรัฐของประเทศสมำชิก ปัญหำใดที่ประเทศสมำชิกอ้ำงว่ำเป็นกิจกำรภำยใน สหประชำชำติ
จะไม่มีสิทธิหรืออำนำจเข้ำแทรกแซงได้

ข้อ 36. เฉลยข้อ 4


ศำสตรำจำรย์ศิลป์ พีระศรี ได้เริ่มวำงหลักสูตรวิชำจิตรกรรมและประติมำกรรมขึ้นในระยะเริ่มแรก
ชื่อ โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ต่อมำเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนศิลปำกรแผนกช่ำง และในปีพ.ศ. 2485กรม
ศิลปำกรได้แยกจำกกระทรวงศึกษำธิกำรไปขึ้นอยู่กับสำนักนำยกรัฐมนตรีและรัฐบำลในขณะนั้นโดย ฯพณฯจอม
พลป.พิบูลสงครำม นำยกรัฐมนตรีตระหนักถึงควำมสำคัญของศิลปะว่ำเป็นวัฒนธรรมทีส่ ำคัญยิ่งสำขำหนึ่งของ
ชำติ จึงได้มีคำสั่งให้ อธิบดีกรมศิลปำกร ในขณะนั้นคือ พระยำอนุมำนรำชธน ดำเนินกำรปรับปรุงหลักสูตร และ
ตรำ พระรำชบัญญัติ ยกฐำนะโรงเรียนศิลปำกรขึ้นเป็นมหำวิทยำลัยศิลปำกร มีคณะจิตรกรรมประติมำกรรม
เป็นคณะวิชำเดียวของมหำวิทยำลัยศิลปำกรเปิดสอนเพียง 2 สำขำวิชำคือ สำขำ จิตรกรรม และ
สำขำ ประติมำกรรม โดยมี ศำสตรำจำรย์ ศิลป์ พีระศรีเป็นผู้อำนวยกำรสอนและดำรงตำแหน่งคณบดี คนแรก
ผลงำนส่วนใหญ่ของ ศำสตรำจำรย์ ศิลป์ พีระศรี เป็นงำนด้ำนประติมำกรรม (หล่อ – ปั้น) โดยเป็นผูอ้ อกแบบ
และปั้นอนุสำวรีย์และพระพุทธรูปที่ได้รับมอบหมำยจำกทำงรำชกำรที่สำคัญ หลำยแห่งเช่น พระรำชำนุสำวรีย์
27

ของสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยูห่ ัว ที่สวนลุมพินี และ อนุสำวรีย์ท้ำวสุรนำรี ได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นบิดำแห่ง


ศิลปะร่วมสมัยของไทย และเป็นบิดำแห่งมหำวิทยำลัยศิลปำกร

ข้อ 37. เฉลยข้อ 1


หลักศิลำจำรึกสมัยพระมหำธรรมรำชำที่ 1 (ลิไทย) ทำให้เชื่อว่ำสังคมสมัยสุโขทัยมีทำส ซึ่งเป็นคนชัน้ ต่ำสุด
ของสังคม มีฐำนะเป็นทรัพย์สินทีซ่ ื้อขำยกันได้ในตลำดและเป็นมรดกสืบทอดไปยังลูกหลำนได้ ทำสในสังคม
สุโขทัยส่วนใหญ่เป็นทำส 2 ประเภทดังนี้
1. ข้ำพระ เป็นทำสที่ถูกยกให้วัดเพื่อบำรุงพระพุทธศำสนำ มีหน้ำที่รับใช้พระและวัด หลักศิลำจำรึก
ดังกล่ำว เรียกว่ำ ข้ำ ซึ่งหมำยถึงทำสนั่นเอง
2. ทำสเชลย คือ ทำสที่ถูกกวำดต้อนมำจำกกำรทำสงครำม อำจเป็นรำษฏรคนไทยจำกเมืองอื่นๆ ที่ถูก
กรุงสุโขทัยแผ่ขยำยอำนำจเข้ำครอบครอง หรือคนต่ำงชำติต่ำงภำษำก็ได้

ข้อ 38. เฉลยข้อ 4


รัชสมัยสมเด็จพระเอกำทศรถ อยุธยำได้ส่งคณะรำชทูตไทยชุดแรกพร้อมด้วยเครื่องรำชบรรณำกำรไป
ถวำยกษัตริย์มอริช (Maurice) แห่งรำชวงศ์ออเรนจ์ (Orange Dynasty) ของฮอลันดำ เมื่อ พ.ศ. 2150 เพื่อ
เจริญสัมพันธไมตรีทำงกำรค้ำ โดยอยุธยำอำนวยควำมสะดวกให้พ่อค้ำฮอลันดำที่เข้ำมำค้ำขำยในไทยอย่ำงเต็มที่
เป็นผลให้กำรค้ำระหว่ำงอยุธยำกับฮอลันดำขยำยตัวอย่ำงมำก

ข้อ 39. เฉลยข้อ 2


งำนศิลปกรรมทำงพุทธศำสนำที่เป็นศิลปะสมัยทวำรวดี เท่ำที่ค้นพบหลักฐำนทำงโบรำณคดี มีดังนี้
1. พระพุทธรูปสำริด ปำงเสด็จจำกดำวดึงส์ ศิลปะสมัยทวำรวดี พุทธศตวรรษที่ 13 พบที่วัดเชิงท่ำ
จังหวัดนนทบุรี และยังพบพระพุทธรูปศิลำ พระพุทธรูปสำริดอื่นๆ อีกมำก
2. พระพิมพ์ และใบเสมำจำรึกพระธรรม
3. ธรรมจักรและกวำงหมอบ สลักจำกศิลำ ศิลปะทวำรวดี พบที่ประปฐมเจดีย์จังหวัด นครปฐม
4. สถูปเจดียส์ ร้ำงด้วยอิฐแผ่นขนำดใหญ่ โดยพบเป็นซำกเจดียเ์ หลือแต่ฐำน
ตัวเลือกข้อ 2 ผิดควำมจริง เพรำะปรำสำทหินหรือปรำงค์ เป็นงำนศิลปะเขมรมีทั้งปรำสำทที่สร้ำงด้วย
อิฐ หินทรำย และศิลำแดง มิใช่ศิลปะทวำรวดีแต่อย่ำงใด

ข้อ 40. เฉลยข้อ 3


ศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของสมัยสุโขทัยโดยแท้ คือ เจดีย์ทรงยอดดอกบัวตูมหรือเรียกอีกอย่ำงหนึง่
28

ว่ำ เจดีย์ทรงพุ่มข้ำวบิณฑ์ ลักษณะสำคัญคือ ฐำนเจดีย์เป็นสี่เหลี่ยมสำมชั้น ตั้งซ้อนกันขึ้นไปถึงเจดีย์หยักมุม ยอด


เจดีย์เป็นทรงดอกบัวตูม เป็นเจดียแ์ บบสุโขทัยแท้พบทั่วไปทั้งในกรุงสุโขทัย เมืองศรีสัชนำลัย พิษณุโลก ตำก
และกำแพงเพชร องค์ที่มีชื่อเสียง คือ เจดีย์ที่วัดมหำธำตุ พระรำชวังกรุงสุโขทัย เขตอุทยำนประวัติศำสตร์สุโขทัย
ส่วนเจดีย์ทรงลังกำและทรงศรีวิชยั เป็นศิลปกรรมที่พบในสมัยสุโขทัยเช่นกัน แต่มิใช่ศิลปะของสุโขทัยโดยแท้ แต่
รับมำจำกที่อื่น พระพุทธรูปลักษณะสุโขทัยแท้นิยมหล่อด้วยโลหะสำริด นิยมสร้ำงปำงลีลำและปำงมำรวิชัย
ส่วนพระพุทธรูปปูนนั้น พระพุทธรูปทองคำ และ พระพุทธรูปทรงเครื่อง เป็นพระพุทธรูปสมัยอยุธยำและสมัย
รัตนโกสินทร์

ข้อ 41. เฉลยข้อ 5


ภำคกลำงได้รับอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จำกประเทศจีนน้อยกว่ำภำคเหนือและ
ภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ เพรำะอยู่หำ่ งไกลจำกแหล่งควำมกดอำกำศสูงจำกจีนทำให้ภำคกลำงมี
ฤดูหนำวที่ไม่หนำวเย็นมำกนัก ยกเว้นในบำงปีที่ควำมกดอำกำศสูงจำกมองโกเลียมีกำลังแรงมำกและแผ่ลงมำถึง
ภำคกลำงทำให้ฤดูหนำวของภำคกลำงในปีนั้นมีอุณหภูมิต่ำกว่ำปกติ ตัวเลือกข้อ 5 ถูกต้อง

ข้อ 42. เฉลยข้อ 1


รูปถ่ำยทำงอำกำศ คือ รูปภำพที่แสดงลักษณะภูมิประเทศบนพื้นผิวโลกซึ่งเกิดจำกกำรถ่ำยภำพ
ระยะไกลด้วยกล้องถ่ำยรูปที่ติดไว้กับเครื่องบินหรือบอลลูน ทำให้เห็นข้อมูลต่ำงๆ บนพื้นผิวโลก เช่น บริเวณ
ภูเขำป่ำไม้ถูกโค่นทำลำย ชุมชนเมือง ฯลฯ
ตัวเลือกข้อ 1 ผิด เพรำะรูปถ่ำยทำงอำกำศไม่สำมำรถนำไปใช้ศึกษำสภำพภูมิอำกำศได้โดยตรง
โดยทั่วไปจะนำไปใช้ประโยชน์ในกำรวำงผังเมือง วำงแผนพัฒนำกำรใช้ที่ดิน พัฒนำกำรเกษตร พัฒนำ
อุตสำหกรรม พัฒนำชุมชนเมือง อนุรักษ์ป่ำไม้ ศึกษำควำมเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพของพื้นที่ป่ำชำยเลน พัฒนำ
ระบบกำรคมนำคมขนส่ง และจัดทำแผนที่ เป็นต้น ตัวเลือกข้ออื่นๆ เป็นข้อมูลที่ถูกต้องตำมหลักวิชำ
ภูมิศำสตร์

ข้อ 43. เฉลยข้อ3.


วิกฤตกำรณ์ด้ำนสิ่งแวดล้อมของโลก
(1) กำรเปลี่ยนแปลงของสภำพภูมอิ ำกำศ (ภำวะโลกร้อน และชั้นโอโซนถูกทำลำย)(2) มลพิษทำงอำกำศ
(3) หมอกควัน และฝนกรด (4) ปรำกฏกำรณ์เรือนกระจก (Green House Effect)
(5) ปรำกฏกำรณ์เอลนิโญ (El Nino) (6) กำรละลำยของธำรน้ำแข็งและภำวะน้ำท่วม
(7) กำรเพิ่มขึ้นของขยะเทคโนโลยี
29

ดังนั้น กำรปรับสภำพพื้นที่เพื่อกำรใช้ที่ดินในเขตเมือง เพื่อเตรียมก่อสร้ำงอำคำรสถำนที่ บ้ำนเรือนที่อยู่อำศัย


และสิ่งปลูกสร้ำงต่ำงๆ จึงไม่ใช่วิกฤตกำรณ์ทรัพยำกรดินเพรำะไม่จำเป็นต้องรักษำควำมสมดุลของดินในพื้นที่
ดังกล่ำวแต่อย่ำงใด

ข้อ 44. เฉลยข้อ 4


มำตรกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำวิกฤติกำรณ์ด้ำนสิ่งแวดล้อมของโลกจะบรรลุเป้ำหมำยได้ต้องเกิดจำก
นำนำประเทศให้ควำมร่วมมือ โดยตระหนักถึงควำมสำคัญของปัญหำทุกๆ ประเทศต้องจัดทำแผนป้องกันและ
แก้ไขปัญหำที่เกิดภำยในประเทศของตน ทั้งแผนระยะสั้นและระยะยำว โดยดำเนินกำรอย่ำงจริงจังตำมขั้นตอน
ไม่ผลักภำระให้ชำติมหำอำนำจหรือองค์กรของโลกใดๆ ลงมือปฏิบัตแิ ต่ฝ่ำยเดียว

ข้อ 45. เฉลยข้อ 5


องค์กรกองทุนสัตว์ป่าโลก (World Wide Fund for Nature : WWF)
ความเป็นมา “กองทุนสัตว์โลก” เป็นองค์กรเอกชนอิสระ ก่อตั้งขึ้นโดยกลุม่ บุคคลที่สนใจในด้ำน
กำรอนุรักษ์สตั ว์ป่ำ เมื่อปี พ.ศ. 2504 ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึง่ เป็นประเทศที่ตั้งของสำนักงำนใหญ่ของ
องค์กรฯ ในปัจจุบัน
บทบาทและการดาเนินงาน กองทุนสัตว์ป่ำโลกได้ดำเนินงำนในโครงกำรต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อกับกำร
อนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อมมำกกว่ำ 12,000 โครงกำรใน 153 ประเทศทั่วโลก ในปัจจุบันได้
ประกำศให้ผืนป่ำ 200 แห่งทั่วโลกเป็นพื้นที่ป่ำที่มีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ซึ่งต้องป้องกันและรักษำไว้
โครงการเร่งด่วนสาคัญทีไ่ ด้รณรงค์พร้อมกันทั่วโลก เช่น โครงกำรป่ำเพื่อชีวิต, โครงกำรคืน
ชีวิตให้แหล่งน้ำ, โครงกำรอนุรักษ์ทะเลและมหำสมุทร และโครงกำรอนุรักษ์พืชและสัตว์นำ้ ที่ใกล้สญ ู พันธุ์ เป็นต้น
บทบาทของกองทุนสัตว์ป่าโลกในประเทศไทย มีกำรจัดตั้งสำนักงำนสำขำในประเทศไทยขึ้นที่
อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธำนี เมื่อ พ.ศ. 2526 ซึ่งมีกิจกรรมรณรงค์ในเรื่องต่ำงๆ เช่น โครงกำรอนุรักษ์แม่
น้ำโขง, โครงกำรอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำและชำยฝั่งทะเล และโครงกำรรณรงค์เพื่อกำรไม่คำ้ สัตว์ป่ำและพืชป่ำที่ผิด
กฎหมำย เป็นต้น
องค์กรเอกชนอิสระกรีนพืช (Green Peace)
ความเป็นมา กลุ่มกรีนพีช เป็นองค์กรเอกชนอิสระจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2514 มีลักษณะเป็นองค์กรสำกลระหว่ำง
ประเทศที่ทำ งำนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมโลก รณรงค์ให้คนทั่วโลกร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและ
สิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์ เพื่อฟื้นฟูสิ่งมีชีวิตในโลกให้มีควำมเข้มแข็ง ดำรงไว้ซึ่งควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและสิ่งแวดล้อม
ทำงธรรมชำติ
30

ที่ตั้งสานักงานใหญ่ ตั้งอยู่ที่กรุงอัมสเตอร์ดมั ประเทศเนเธอร์แลนด์ และมีสำนักงำนสำขำย่อย


กระจำยอยู่ในภูมิภำคต่ำงๆ ทั่วโลก 41 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทยด้วย)
ทุนการดาเนินงาน เป็นองค์กรภำคเอกชนที่ดำเนินงำนโดยไม่หวังผลกำไร และไม่ได้รับกำร
สนับสนุนด้ำนกำรเงินจำกภำครัฐ แต่จะรับควำมช่วยเหลือจำกกลุม่ เอกชนและดอกผลจำกกองทุนเท่ำนั้น
บทบาทของกลุ่มกรีนพีชในประเทศไทย มีกิจกรรมรณรงค์ในเรื่องดังต่อไปนี้
(1) ยับยั้งกำรเคลื่อนบ้ำนกำกสำรพิษกำกกัมมันตภำพรังสีข้ำมพรมแดน
(2) ต่อต้ำนกำรจัดสร้ำงเตำเผำขยะที่ไม่ได้มำตรฐำน เพื่อป้องกันมิให้เกิดมลภำวะจำกกำรปล่อย
สำรไดออกซิน ซึ่งเป็นสำรก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอำกำศ
(3) ลดกำรใช้พลังงำนเชื้อเพลิงจำกถ่ำนหิน ซึ่งได้ชื่อว่ำเป็น “พลังงำนสกปรก” แต่สนับสนุนให้
แทนที่ด้วย “พลังงำนสะอำด” เช่น พลังงำนแสงอำทิตย์ ลม และก๊ำซชีวภำพ เพื่อแก้ไขปัญหำ “ภำวะโลกร้อน”
(4) ต่อต้ำนกำรใช้พันธุ์พืชที่ผ่ำนกระบวนกำรตัดแต่งทำงพันธุกรรมมำปลูกในพื้นที่ประเทศไทย
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่สาคัญ ดังนี้
- ส่งเสริม เผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ และให้บริกำรข้อมูลข่ำวสำรและควำมรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของประเทศ
- ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรสงวน บำรุงรักษำ และใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติและ
สิ่งแวดล้อม
- ศึกษำ วิจัย พัฒนำ และส่งเสริมกำรนำเทคโนโลยีไปจัดกำรด้ำนสิ่งแวดล้อม โดยจัดตั้ง
“ศูนย์เทคโนโลยีสะอำด” ให้เป็นแบบอย่ำง

ข้อ 46. เฉลยข้อ 3


ตัวเลือกข้อ 1 ผิด เพรำะชำวนำภำคกลำงทำนำปี ละ 2 ครั้ง
ตัวเลือกข้อ 2 ผิด เพรำะภำคตะวันออกมีฝนตกชุก ไม่ต้องขุดสระน้ำไว้ใช้
ตัวเลือกข้อ 3. ถูกชำวสวนภำคใต้มักปลูกต้นมะม่วงหิมพำนต์เป็นอำชีพเสริม
ตัวเลือกข้อ 4 ผิด เพรำะชำวภำคตะวันออกเฉียงเหนือจะปลูกพืชเศรษฐกิจที่เหมำะกับดินเค็ม
ตัวเลือกข้อ 5 ผิด เพรำะในภำคตะวันตก พื้นที่ด้ำนตะวันตกเป็นทีแ่ ห้งแล้ง อ้อยจะโตได้ดีในฝั้งที่มีนำฝนและ

ชลประทำน จึงต้องปลูกด้ำนตะวันออก

ข้อ 47. เฉลยข้อ 1


เข้ำใจภูมศิ ำสตร์พื้นที่ตรงที่ทำนำบริเวณที่น้ำท่วมถึง
31

ข้อ 48. เฉลยข้อ 2.


ตัวเลือกข้อ 1, 5 เป็นกำรอนุรักษ์
ตัวเลือกข้อ 3 เป็นกำรกักเก็บให้มที รัพยำกรน้ำใช้ เป็นกำรอนุรักษ์นำ้
ตัวเลือกข้อ 4 กำรปิดบริกำรก็เพื่อป้องกันทำลำยพืชพรรณในช่วงเจริญเติบโตฤดูฝนและช่วงที่พืชหำยำกแห้งแล้ง
พืชตำย เป็นกำรอนุรักษ์ป่ำ
ข้อ 2 เน้นประโยชน์จำกผลผลิต ไม่เกี่ยวกับกำรอนุรักษ์

ข้อ 49. เฉลยข้อ 3


กำรใช้ทรัพยำกรเพื่อกำรพัฒนำทีย่ ั่งยืนจะประสบผลสำเร็จตำมเป้ำหมำย โดยพัฒนำคุณภำพชีวิตของ
มนุษย์ให้มีมำตรฐำนกำรดำรงชีวิตที่ดี อยู่ดีกินดี ต้องเกิดจำกควำมร่วมมือทั้งหน่วยงำนภำครัฐ บริษัทหรือองค์กร
ภำคเอกชน และรวมทั้งประชำชนด้วย ตัวเลือกข้อ 3 ผิด

ข้อ 50. เฉลยข้อ 5


ภำพจำกดำวเทียมใช้ในกำรบอกตำแหน่งที่ตั้งภูมิประเทศ ติดตำมปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ และแก้ปญ
ั หำภัยพิบตั ิ

You might also like