Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

บทความ มุมนักออกแบบ (Design Article)

ตอนที่ 7 เรือ่ ง รายละเอียดการเสริมเหล็กสาหรับต้านทานแผ่นดินไหว


โดย ศ. ดร. อมร พิมานมาศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสริ นิ ธร
รองเลขาธิการสภาวิศวกร

ในปั จจุบนั นี้ เป็ นทีย่ อมรับกันโดยทัวไปว่


่ า กรุงเทพมหานคร และ ประเทศไทยมีความเสีย่ งทีจ่ ะ
เกิดแผ่นดินไหว ทีผ่ า่ นมานัน้ การออกแบบและก่อสร้าง อาคาร บ้านเรือน และ สิง่ ปลูกสร้างต่างๆ ใน
กรุงเทพ และ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ของประเทศไทย ไม่ได้พจิ ารณาแรงแผ่นดินไหวแต่อย่างใด ทีจ่ ริงแล้ว ทาง
ราชการก็ได้มกี ฎกระทรวงฉบับที่ 49 ซึง่ ได้กาหนดให้การออกแบบอาคารในพืน้ ที่ 10 จังหวัด ทาง
ภาคเหนือ และ ภาคตะวันตกของประเทศไทย จะต้องพิจารณาแรงแผ่นดินไหวด้วย กฎกระทรวงฉบับนี้
กาลังได้รบั การปรับปรุงให้ครอบคลุมพืน้ ทีใ่ นเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึง่ จะมีผลบังคับในไม่
ช้านี้

เพือ่ ให้กา้ วทันต่อกฎหมายทีจ่ ะมีการปรับปรุง ในฐานะผูอ้ อกแบบ ก็จาเป็ นจะต้องทาการศึกษา


วิธกี ารออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว รวมทัง้ จะต้องเข้าใจพฤติกรรมการสันไหวของโครงสร้
่ างอีก
ด้วย หลักทีส่ าคัญในการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหวนัน้ จะพิจารณาแต่เฉพาะกาลังของ
โครงสร้างอย่างเดียวไม่ได้ แต่ จะต้องออกแบบให้โครงสร้างมีความเหนียว เพือ่ ให้สลายพลังงานออกไป
ได้มาก ความเหนียวของโครงสร้างนัน้ ขึน้ อยูก่ ารทารายละเอียดเหล็กเสริมในองค์อาคารต่างๆ มุมนัก
ออกแบบตอนนี้จะแสดงให้เห็นว่า รายละเอียดการเสริมเหล็กของอาคารในบ้านเรา เป็ นอย่างไร และ ถ้า
จะทาให้อาคารมีความเหนียวนัน้ ควรจะต้องทารายละเอียดการเสริมเหล็กอย่างไร

ทาบเหล็กยืนในเสา
เหนือพื้นเล็กน้อย
เหล็กปลอกในเสามี
ระยะเรี ยงห่างกันมาก
ไม่ใส่เหล็กปลอกในข้อต่อ

เหล็กล่างในคานวางไม่ต่อเนื่อง

รูป 1 รายละเอียดการเสริมเหล็กทีไ่ ม่ได้พจิ ารณาผลของแรงแผ่นดินไหว

1
ก่อนอื่น เรามาลองดูกนั ก่อนว่า การออกแบบอาคารในบ้านเรา ซึง่ ถ้าไม่ได้พจิ ารณาแผ่นดินไหว
ก็จะมีรายละเอียดการเสริมเหล็กในคาน และ เสา ตามทีแ่ สดงไว้ในรูปที่ 1 ซึง่ จะพบจุดบกพร่องหลายจุด
ในการต้านทานแผ่นดินไหว ได้แก่
- การวางเหล็กปลอกในเสาห่างกันเกินไป ซึง่ จะทาให้การโอบรัด (confinement) ไม่เพียงพอ และ
อาจทาให้เสาเกิดการวิบตั ดิ ว้ ยแรงเฉือน
- การทาบเหล็กยืนในเสาทีเ่ หนือพืน้ เล็กน้อย อาจทาให้เกิดการวิบตั ทิ ต่ี าแหน่งทาบเหล็ก
- การไม่ใส่เหล็กปลอกในข้อต่อคานเสา อาจทาให้เกิดการวิบตั เิ ฉือนทีข่ อ้ ต่อ
- การหยุดเหล็กล่างในข้อต่อ อาจทาให้เกิดการวิบตั เิ นื่องจากการสูญเสียแรงยึดหน่วง

รายละเอียดการเสริมเหล็กเหล่านี้สามารถปรับปรุงให้มคี วามเหนียวมากขึน้ ได้ โดยการใส่เหล็ก


ปลอกทีบ่ ริเวณปลายคานและปลายเสาให้แน่นหนาขึน้ การใส่เหล็กปลอกในข้อต่อคานเสา และ การหลีก
เสีย่ งการทาบต่อเหล็กนอน และ เหล็กยืน ทีบ่ ริเวณปลายคาน และ เสา สาหรับในประเทศไทย ซึง่ จัดเป็ น
พืน้ ทีท่ ม่ี คี วามเสีย่ งต่อแผ่นดินไหวในระดับต่าถึงปานกลาง แนะนาให้ใช้รายละเอียดการเสริมเหล็กใน
คาน ดังแสดงในรูป 2 และ และในเสาในรูป 3 โดยมีกฎทีส่ าคัญดังนี้

สาหรับคาน
- เหล็กปลอกในคานจะต้องเสริมมากเป็ นพิเศษทีบ่ ริเวณปลายคาน โดยให้ม ี ระยะเรียง S1 ไม่
มากกว่า d/4 หรือ 24 เท่าเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กปลอก หรือ 8 เท่าเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก
นอน หรือ 30 ซม.
- กาลังต้านทานโมเมนต์บวกทีข่ อบเสาจะต้องไม่น้อยกว่า 1/3 ของกาลังต้านทานโมเมนต์ลบที่
ขอบเสา
- ทุกหน้าตัดตลอดความยาวคานจะต้องมีกาลังต้านทานโมเมนต์บวก และ โมเมนต์ลบ ไม่น้อย
กว่า 1/5 ของกาลังต้านทานโมเมนต์ลบทีข่ อบเสา
- ห้ามทาการทาบเหล็กบนและล่างภายในระยะ 2h จากขอบเสา

เสา ระยะทาบเหล็ก
เสา

เหล็กปลอกระยะ เหล็กปลอกระยะ เหล็กปลอกระยะ เหล็กปลอกระยะ


h เรี ยง = s1 เรี ยง = d/2 เรี ยง = s1 เรี ยง=s1

ldh 2h 2h 2h ระยะทาบ
เหล็ก

รูป 2 รายละเอียดการเสริมเหล็กในคานทีพ่ จิ ารณาผลของแรงแผ่นดินไหว

2
สาหรับเสา
- เหล็กปลอกในคานจะต้องเสริมมากเป็ นพิเศษทีบ่ ริเวณปลายคาน โดยให้ม ี ระยะเรียง S0 ไม่
มากกว่า 8 เท่าเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กยืน หรือ 24 เท่าเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กปลอก หรือ
ครึง่ หนึ่งของด้านแคบของเสา หรือ 30 ซม.
- ระยะ L0 ต้องไม่น้อยกว่า H/6 หรือด้านยาวของเสา หรือ 45 cm
- การทาบเหล็กเสาให้ทาทีบ่ ริเวณช่วงกลางเสา

สาหรับข้อต่อคานเสา
- จะต้องใส่เหล็กปลอกในข้อต่ออย่างน้อย Av  3.5b w s / f y

คานบน

l0 เหล็กปลอกระยะเรี ยง = s0
เหล็กปลอกระยะเรี ยง = 2s0

H ระยะทาบต่อเหล็กเสา

เหล็กปลอกระยะเรี ยง = s0
l0 ปริ มาณเหล็กปลอกในข้อต่อ
bw s
A  3.5
คานล่าง v f
y

l0
เหล็กปลอกระยะเรี ยง = s0

รูป 3 รายละเอียดการเสริมเหล็กในเสาทีพ่ จิ ารณาผลของแรงแผ่นดินไหว

ทีส่ าคัญอีกประการหนึ่งก็คอื รายละเอียดของเหล็กปลอก ซึง่ จะต้องทาของอ 135 องศาดังแสดง


ใน รูป 4 โดยมีวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะทาให้เกิด confinement ในองค์อาคาร

3
6db = 75 มม.

D = 4db

db

รูป 4 การทารายละเอียดเหล็กปลอกสาหรับ confinement

ผมหวังว่า มุมนักออกแบบในตอนนี้ คงจะทาให้ผอู้ อกแบบเข้าใจว่า จะทาการเสริมเหล็กอย่างไรให้


อาคารมีความเหนียว พบกันใหม่กบั มุมนักออกแบบในตอนหน้าครับ

You might also like