คู่มือการสำรวจ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 48

1

บทที่ 1
บทนา

ในแผนพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บที่ 9 (พ.ศ.


2545-2549) ได้กาหนดเป้าหมายในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ า ไม้ และฟื้ น ฟู บูร ณะพื้ น ที่ ป่า ไม้ ทั่ ว ประเทศ
เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของป่าสาหรับกาหนดนโยบาย และทางส านั ก ฟื้ น ฟู และ
พัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ได้จัดทาแนวทางในการปฏิบัติงานการสารวจทรัพยากรป่ า ไม้ ทั่ ว ประเทศ โดยก าหนด
รูปแบบการสารวจและวิธีการ ให้สามารถเก็บข้อมูลได้หลากหลายมากยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งาน
เป็นไปอย่างมีแบบแผนและเป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น จึ ง ไ ด้ จั ด ท าคู่ มื อ การปฏิ บัติ ง านด้ า นการส ารวจ
ทรัพยากรป่าไม้ภาคสนามขึ้น โดยให้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภาคสนามทั้ ง ในส่ ว นกลาง และส่ ว นภู มิ ภ าค
ได้ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ และปัจจุบันได้มีการติดตั้งแปลงตัวอย่างถาวรไว้แล้วทั่ ว ประเทศ โดย ได้ ว างแปลง
ตัวอย่างแบบเป็นระบบในระยะ 20X20 กิโลเมตร 10X10 กิโลเมตร และ 5X5 กิโลเมตร ตามลาดับ

การสารวจทรัพยากรป่าไม้ทั่วประเทศ ได้เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี 2546 เป็ น ต้ น มา โดยวางจุ ด


ครอบคลุมในระยะ 20 X 20 กิโลเมตร ทั่วประเทศ ทัง้ พื้นที่ที่เป็นป่าและไม่ ใ ช่ ป่า ในเบื้ อ งต้ น ทางกรม
อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้รับงบประมาณช่วยเหลือจาก ITTO (องค์การไม้เขตร้อนระหว่า ง
ประเทศ) ในการดาเนินการ หลังจากนั้นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความละเอียดถูกต้องและแม่นยาขึ้ น จึ งได้ วาง
แปลงในระยะ 10 X 10 กิ โลเมตร ที่ ครอบคลุ มเฉพาะพื้ นที่ ป่าไม้ และ 5 X 5 กิ โลเมตร ที่ ครอบคลุ มเฉพาะ
พื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม ทั้งนี้เพื่อให้การติดตั้งระบบติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ ข องชาติ
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีความละเอียดชัดเจนมากยิ่งขึ้น

ปัจจุบันในการติดตั้งแปลงตัวอย่างถาวรในระยะ 20 X 20 กิโลเมตร ได้ดาเนินการมาครบ 5 ปีแล้ว


ดังนั้นเพื่อให้ทราบถึงความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ จึงจะทาการเก็บข้อมูลซ้าในแปลงตัวอย่างถาวร
ที่มีความเป็นป่าทุกแปลง เพื่อดูความเปลี่ยนแปลงในด้านนิเวศวิทยาและการบุ ก รุ ก ท าลายป่ า และท าการ
สุ่มเลือกในแปลงตัวอย่างถาวรที่ไม่ใช่ป่า เพื่อดูความเปลี่ยนแปลงของลั ก ษณะการใช้ ประโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ
ประเมินความเปลี่ยนแปลงในภาพรวมของทั้ ง ประเทศ ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลงของ
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมีแบบแผนและสามารถน าข้ อ มู ล มาใช้ ไ ด้ อ ย่ า ง
ถูกต้อง ทางสานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ จึงได้จัดทาคู่มือการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากร
ป่าไม้ในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นแนวทางให้เจ้าหน้าที่ได้ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ต่อไป

ในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ จะเป็นการพรรณนาให้เห็นถึงปริมาณและคุ ณภาพไม้ ตลอดจน


ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ที่ต้นไม้ขึ้นอยู่ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความ
สูง จานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า รวมทั้งข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่ น ระดั บความสู ง ความลาด
ชัน เป็นต้น แล้วนามาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิ ด ไม้ ปริ มาณและความ
หนาแน่นของหมู่ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติ ข อง ไม้ และมี ก ารเก็ บข้ อ มู ล
ที่เป็นองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม ไม้เถา เถาวั ล ย์ และพื ช ชั้ น ล่ า ง ซึ่ ง ปั จ จุ บัน
2
สถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไป มีการรณรงค์ในรูปแบบต่างๆ ที่มุ่ง หวั ง ในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พยากรป่ า ไม้ เ พิ่ ม
มากขึ้นทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนั้น การสารวจทรัพยากรป่าไม้ จึงควรก าหนดรู ปแบบและวิ ธี ก ารส ารวจที่
สามารถเก็บข้อมูลในส่วนที่เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของป่า ตลอดจนผลกระทบด้ า นต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน
พื้นที่ป่าได้ด้วยเพื่อให้สามารถวิเคราะห์และประมวลผลได้ในหลายรู ปแบบ ซึ่ ง ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บจะสามารถ
นาไปใช้ประกอบการวิเคราะห์ได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น
3
บทที่ 2
วิธีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้

ขั้นตอนการเก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่างถาวร

ในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการติดตาม (Monitor) การเปลี่ยนแปลง


ของทรัพยากรป่าไม้ การดาเนินงานจึงต้องท าแบบต่ อ เนื่ อ ง (Continuous Forest Inventory) จากแปลง
ตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) รูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร ซึ่งจะเป็นการด าเนิ น การเฉพาะ
แปลงกลาง (Center Plot) ในการดาเนินการสารวจทรัพยากรป่ า ไม้ ได้ ด าเนิ น การในรู ปของกลุ่ ม แปลง
ตัวอย่างจานวน 5 แปลงตัวอย่าง แต่มีเฉพาะแปลงกลางที่เป็นแปลงตั ว อย่ า งถาวร ซึ่ ง จะใช้ ใ นการเก็ บ
ข้อมูลเพื่อการติดตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ต่อไป

1. ขนาดของแปลงตัวอย่างกับข้อมูลที่ทาการศึกษา
ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลที่ทาการศึกษา แสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลที่ทาการศึกษา
รัศมีของวงกลม พื้นที่ หรือ
จานวน ข้อมูลที่ศกึ ษา
หรือความยาว (ม.) ความยาว
0.631 0.0005 เฮกตาร์ 4 วง กล้าไม้
3.99 0.005 เฮกตาร์ 1 วง ลูกไม้และการปกคลุมพื้นที่ของกล้าไม้และลูกไม้
12.62 0.05 เฮกตาร์ 1 วง ไม้ไผ่ หวายที่ยังไม่เลื้อย และตอไม้
17.84 0.1 เฮกตาร์ 1 วง ต้นไม้ และปัจจัยที่รบกวนพื้นที่ป่า
17.84 (เส้นตรง) 17.84 เมตร 2 เส้น ไม้ล้มขอนนอนไพร (Coarse Woody Debris ; CWD)
ที่เส้นผ่าน

2. อุปกรณ์ในการสารวจทรั พยากรป่า ไม้


2.1 แผนที่ภู มิประเทศ มาตราส่ว น 1: 50,000
2.2 แผนที่แสดงสภาพป่าของพื้ นที่ที่จะสารวจ มาตราส่วน 1: 50,000 ที่ได้จากการแปล
ตีความภาพถ่ายทางอากาศหรือภาพถ่ ายดาวเทียม
2.3 เข็มทิศ (Hand Compass)
2.4 เครื่องวัดหาพิกัดด้วยดาวเทียม (GPS)
2.5 เทปวัดระยะทาง ขนาดความยาว 20 เมตร หรือ 30 เมตร
2.6 เทปวัดขนาดความโต (เส้นรอบวง)
2.7 เครื่องมือวัดความสูงต้นไม้ (Clinometer หรือ Haga Hypsometer)
2.8 เชือกสาหรับวางแปลงตัวอย่ าง
2.9 แบบบันทึกข้อมูล
4
2.10 อุปกรณ์เก็บตัวอย่างพรรณไม้ เช่ น แผงอั ด พรรณไม้ ถุ ง พลาสติ ก แอลกอฮอล์
กรรไกรตัดกิ่ง กระดาษหนังสือพิมพ์
2.11 กล้องถ่ายรูป
2.12 สีสเปรย์สาหรับทาเครื่องหมายต่างๆ
2.13 เครื่องคานวณที่สามารถหาค่าทางเรขาคณิตได้

3. รูปร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design)


แปลงตัวอย่างที่ใช้ในการส ารวจ เป็ น แปลงตั ว อย่ า งที่ มี ข นาดคงที่ (Fixed – area Plot)
และมีรูปร่าง 2 ลักษณะอยู่ด้วยกัน คือ

3.1 ลักษณะรูปวงกลม (Circular Plot)


3.1.1 เป็นวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกันแต่รั ศ มี ต่ า งกั น จ านวน 3 วง คื อ
วงกลมรัศมี 3.99 12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาดับ
3.1.2 เป็นวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631
เมตรเท่ากัน มีจุดศูนย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลักทั้ง 4 ทิศ
3.2 ลักษณะแนวเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
มีจุดเริ่มต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่างโดยทามุม ฉากซึ่ ง กั น และกั น ค่ า มุ ม Azimuth ของ
เส้นที่ 1 และเส้นที่ 2 ใช้ค่า Azimuth ของแปลงตัวอย่างถาวรเดิม

รูปร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง แสดงในภาพที่ 1
0.631 เมตร
Intersect line
3.99 เมตร
12.62 เมตร
17.84 เมตร

ภาพที่ 1 รูปร่างและขนาดแปลงตัวอย่าง
5
การเตรียมงานในสานักงาน

การเตรียมงานในสานักงานเป็นการวางแผนและเตรียมความพร้อมก่อนออกปฏิ บัติ ง านในสนาม


โดยเมื่อได้รับมอบหมายให้ดาเนินการสารวจบริเวณใดแล้ว นอกจากการจัดเตรียมอุปกรณ์ เ ครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ
ดังกล่าวแล้ว ควรมีการดาเนินงาน ดัง นี้
1. จัดเตรียมแผนที่แสดงสภาพป่ า และแผนที่ ภู มิ ประเทศ มาตราส่ ว น 1: 50,000 ให้
ครอบคลุมพื้นที่ที่จะดาเนินการพร้อมตารางแสดงค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ของหน่วยตัวอย่างบริเวณดังกล่าว
2. นาแผนที่แสดงสภาพป่ามากาหนดจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตั ว อย่ า ง โดยใช้ ค่ า พิ กั ด
ของหน่วยตัวอย่างที่ได้กาหนดไว้แล้ว พร้อมกั บเขี ย นหมายเลขล าดั บกลุ่ ม แปลงตั ว อย่ า ง (Cluster No.)
กากับไว้จนครอบคลุมทั่วพื้นที่
3. ทาการทอดตาแหน่งจุดศูนย์กลางของกลุ่ ม แปลงตั ว อย่ า ง จากแผนที่ แสดงสภาพป่ า
(ตามข้อ 2) ลงบนแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่ ว น 1: 50,000 เพื่ อ น าไปใช้ ใ นการค้ น หาต าแหน่ ง จุ ด
ศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่างในการปฏิบัติงานภาคสนามต่อไป
4. ตรวจสอบและเตรียมการจากแบบบันทึกข้อมูลเดิม เพื่อที่จะเข้าไปทาการเก็ บข้ อ มู ล ซ้ า
ในแปลงตัวอย่างเดิม ทั้งนี้นอกจากจะทาการตรวจสอบการทางานที่ผ่านมา และติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลง
ของทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างเดิมแล้ ว ยั ง เป็ น การปรั บปรุ ง และเพิ่ ม ความถู ก ต้ อ งแม่ น ย าให้ กั บ
ข้อมูลเดิม เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดของพันธุ์ไม้ และ ตาแหน่งของต้นไม้ เป็นต้น
5. การวางแผนการปฏิบัติงานภาคสนาม ให้พิจารณาหาจุดพักแรม (Camp) ที่ ส ามารถจะ
เดินทางไปปฏิบัติงานเสร็จแล้วกลับถึงที่พักในวันเดียวได้หลายๆ กลุ่มแปลงตัวอย่ า ง โดยพิ จ ารณาจากเส้ น
คมนาคม แหล่งแรงงานและเสบียงอาหาร เป็นต้น
6
บทที่ 3
แบบบันทึกข้อมูล

ตามที่ได้กาหนดให้การสารวจทรัพยากรป่าไม้ในครั้งนี้ มีรูปแบบวิธีการสารวจเพื่อให้สามารถเก็ บ
รวบรวมข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรป่าไม้และสภาพพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งมี อ งค์ ประกอบ ที่
สาคัญและปัจจัยต่างๆ อยู่มากมาย ดังนั้นเพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมู ล ต่ า งๆ มี ค วามเป็ น หมวดหมู่ ง่ า ย
ต่อการวิเคราะห์ประมวลผล ตามวัตถุประสงค์ของการสารวจ จึงได้มีการกาหนดแบบบั น ทึ ก ข้ อ มู ล (Tally
Sheets) สาหรับบันทึกข้อมูลต่างๆ ให้เป็นหมวดหมู่ขึ้นจานวน 12 แบบ ซึ่งแต่ละแบบจะมีรายละเอียดต่างๆ
แตกต่างกันไปตามชนิดของข้อมูลที่ต้องการบันทึกและแบบบันทึก ข้อมูลทั้ง 12 แบบนี้ จั ดเป็ น 1 ชุ ด ส าหรั บ
บันทึกข้อมูลในแปลงตัวอย่าง 1 แปลง และในกลุ่มแปลงตัวอย่าง (Cluster) หนึ่ ง กลุ่ ม ใช้ จ านวน 5 ชุ ด
จากการที่แบบบันทึกข้อมูลมีจานวนมากแบบ และแต่ละแบบมีรายละเอียดที่จ ะต้ อ งบั น ทึ ก แตกต่ า งกั น ไป
ดังนั้น เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าใจและบันทึกข้อมูลได้อย่างถูกต้อง เป็น ไปในท านองเดี ย วกั น จึ ง ได้
จัดทาคาอธิบายเกี่ยวกับแบบบันทึกข้อมูล และวิธีการบันทึกข้อมูลในแต่ละแบบ ทั้ง 12 แบบไว้ดังนี้

แบบบันทึกข้อมูล (Tally Sheets)


แบบบั นทึกข้อมูล (Tally Sheets) 1 ชุด (12 แบบ) ประกอบด้วย

แบบที่ 1 หัวข้อ General Information (ข้อมูลทั่วไป)


แบบที่ 2 หัวข้อ Cluster Centre Access & Site Features
(การเข้าถึงจุดศูนย์กลางกลุ่มแปลงตัวอย่ าง และลัก ษณะทั่วไปของพื้ นที่ )
แบบที่ 3 หัวข้อ Lichen, Moss, Seedlings & Saplings
(ไลเคน มอส ลูกไม้ และกล้าไม้ )
แบบที่ 4 หัวข้อ Trees (ไม้ต้น )
แบบที่ 4A หัวข้อ Agriculture Crop Trees & Tall Shrubs
(พืชเกษตรขนาดใหญ่ และไม้ พุ่ม สูง )
แบบที่ 5 หัวข้อ Bamboo, Erect Rattan & Tree Stump
(ไม้ไผ่ หวายเส้นตั้ง และตอไม้ )
แบบที่ 6 หัวข้อ Coarse Woody Debris, Climbing Rattan & Climbers : Transect 1
(ไม้ล้มขอนนอนไพร หวายเลื้อย และไม้เถา) เส้นที่ 1
แบบที่ 7 หัวข้อ Coarse Woody Debris, Climbing Rattan & Climbers : Transect 2
(ไม้ล้มขอนนอนไพร หวายเลื้อย และไม้เถา) เส้นที่ 2
แบบที่ 8 หัวข้อ Site Disturbance (ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อพื้น ที่ )
แบบที่ 9 หัวข้อ Soil Description (บรรยายลักษณะดิ น )
แบบที่ 10 หัวข้อ Use of Wildlife Habitat (การใช้ถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่า )
แบบที่ 11 หัวข้อ Plant Specimens (เก็บตัวอย่างพรรณไม้ )
แบบที่ 12 หัวข้อ Unavailable Plot Site (แปลงตัวอย่างที่ไ ม่สามารถเข้าพื้ นที่ได้)
7
วิธีการบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกข้อมูล (Tally Sheets) แบบต่าง ๆ

แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (General information)


หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศูนย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิศเหนือ (North)
E = แปลงทิศตะวันออก (East)
S = แปลงทิศ ใต้ (South)
W = แปลงทิศตะวันตก (West)
Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการสารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ที่ท าการส ารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการสารวจ โดยใช้เลขเรียงลาดั บ
ตั้งแต่ 01 – 12 (มกราคม – ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ. ที่ทาการส ารวจ โดยใช้เลข 2 ตัวท้าย
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่าง
ที่กาหนดไว้ในแผนที่ เป็นค่า ในแนวทิศตะวั นออก 6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่ างย่อย (Plot
site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่ าในแนว ทิศตะวันออก
6 หลัก ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
Recorder บันทึกชื่อผู้ที่ ทาการสารวจข้อมูล ภาคสนาม
Page of กรอบซ้ายบันทึกล าดับเลขที่แผ่นของแบบบั นทึกข้อมูล กรอบขวา
บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูล แบบนั้น ๆ
Sample Location & Data บันทึกค่ าของแปลงตัวอย่ างในระบบฐานข้อมูลที่กาหนดขึ้น
ID โดยกรอบแรกบัน ทึกเลขอักษรประจาเขตกริด กรอบหลังสี่ช่องแรก
บันทึกค่ าพิกัด UTM แนวทิศ ตะวันออก 4 หลักแรก ส่วนที่เหลือ
บันทึกค่ าแนวทิศเหนือ 5 หลักแรก
Map No. บันทึกหมายเลขระวางแผนที่ภูมิ ประเทศ มาตราส่ว น 1 : 50,000
ที่แปลงศูน ย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่างตกอยู่ลงในกรอบของ
Cluster Centre และหมายเลขระวางที่เป็นจุดจอดพาหนะก่อนการ
เดินเท้า ในกรอบของ Starting Point
8
Province บันทึกชื่อของจังหวัดที่ทาการสารวจ
Code บันทึกรหัส ประจาจังหวัดตามที่กาหนด
Elevation Plot Centre (m) บันทึกค่ าความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (MSL) ที่จุด
ศูนย์กลางของแปลงตัวอย่างตกอยู่ โดยอ่านจากเครื่อง GPS
หรือแผนที่ระวาง (MAP) อย่างใดอย่างหนึ่ง หน่วยเป็นเมตร
Tally Sheet Index บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูลที่ บัน ทึกได้
(Number) ในแต่ ละแบบ
Land use Type เลือกระบุลักษณะการใช้ประโยชน์พื้นที่ส่ วนใหญ่ของแปลงตัวอย่ าง
โดย
- Tropical Rain Forest (111) = ป่าดิ บชื้น
- Dry Evergreen Forest (112) = ป่าดิบแล้ง
- Hill Evergreen Forest (113) = ป่าดิ บเขา
- Coniferous Forest (114) = ป่าสน
- Peat Swamp Forest (115) = ป่า พรุดินอิน ทรีย์
- Mangrove Swamp Forest (116) = ป่าชายเลน
- Fresh – water Swamp Forest (117) = ป่า บึงน้าจืด
- Beach Forest (118) = ป่าชายหาด
- Mixed Deciduous Forest (121) = ป่าเบญจพรรณ
- Dry Dipterocarp Forest (122) = ป่าเต็งรัง
- Savanna Forest (410) = ป่าหญ้ า
- Other (700) = อื่นๆ ให้ระบุด้วยว่าเป็น ลักษณะใด
เช่น สวนป่ า ไร่ร้าง แหล่งน้ า หมู่บ้า น พื้น ที่การเกษตร เป็นต้น
Comment บันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ที่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับแบบบั นทึกข้อมูล
เป็นการเพิ่มเติ ม เช่น ค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องรับสัญญาณ
GPS ในการอ่านค่า พิกัด หมายเลขภาพถ่าย
Sample Plot Location เขียนแผนที่สังเขปแสดงข้อมูลเส้ นทางการเดิน ทางจากที่ พัก
Sketch Map ไปยังจุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่ าง เพื่อใช้ในการติดตามการ
เปลี่ยนแปลง
Access Notes บันทึกรายละเอียดของจุดที่พัก (Camp) ได้แก่ หมู่บ้า น อาเภอ
(From Camp to Starting จังหวัด พร้อมค่า พิกัดและบรรยายการเดินทางจากจุดที่ พักจนถึง
Point) จุดที่เริ่มออกเดินเท้า (Starting Point) ว่าใช้เส้นทางหรือผ่าน
สถานที่เด่นๆ ใดบ้าง ซึ่งจะสัมพันธ์กับแผนที่สังเขปข้างต้น
9
แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 2 การเดินทางเข้าจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่า งและลักษณะทั่ วไป
ของพื้นที่ (Cluster centre access & Site features)
หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศูนย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิศเหนือ (North)
E = แปลงทิศตะวันออก (East)
S = แปลงทิศ ใต้ (South)
W = แปลงทิศ ตะวันตก (West)
Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการสารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ที่ ทาการสารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการสารวจ โดยใช้เลขเรียงลาดับ
ตั้งแต่ 01-12 (มกราคม – ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ.ที่ทาการส ารวจ โดยใช้เลข 2 ตัวท้าย
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางกลุ่ม แปลงตัวอย่างที่
กาหนดไว้ในแผนที่ เป็นค่า ในแนวทิศตะวั นออก 6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างย่อย (Plot
site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่าในแนวทิศตะวันออก
6 หลัก ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
Recorder บันทึกชื่อผู้ที่ ทาการสารวจข้อมูล ภาคสนาม
Page of กรอบซ้ายบันทึกล าดับเลขที่แผ่นของแบบบั นทึกข้อมูล กรอบขวา
บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูล แบบนั้น ๆ
Ref. Point Details เลือกระบุรายละเอียดของจุดที่ใช้อ้างอิง กับจุดที่เริ่มออกเดินเท้า
(Starting point) ที่มีลักษณะเด่นชัด ว่าเป็ นชนิดใด ถ้าเป็นต้นไม้
ให้บันทึกชนิด พร้อมรหัส และขนาดเส้ นรอบวงเพียงอก ถ้าเป็น
ลักษณะอื่น ให้ระบุว่าเป็นอะไร
Azimuth Ref. Point to Starting บันทึกค่ ามุมจากจุดอ้างอิงมายังจุดที่เริ่มออกเดินเท้า
Point
Distance (m) บันทึกระยะทางระหว่างจุดอ้างอิงถึงจุดที่เริ่มออกเดินเท้า
หน่วยเป็นเมตร
10
GPS Starting Point บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดที่เริ่มออกเดินเท้าที่อ่านได้จากเครื่อง
GPS เป็นค่าในแนวทิ ศตะวันออก 6 หลัก ค่าในแนวทิศเหนือ
7 หลัก
Straight Line Bearing and ค่ามุม และระยะทางในแนวเส้น ตรงจากจุดเริ่มออกเดินเท้าไปยังจุด
Distance from Starting Point ศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่ างที่อ่านได้จากเครื่อง GPS ข้อมูล
to Cluster Centre ที่บัน ทึก คือ
Azimuth -บันทึกค่ ามุมจากจุดเริ่มออกเดินเท้าไปยังจุดศูนย์กลางของ
กลุ่มแปลงตัวอย่าง
Distance to Cluster centre -บันทึกระยะทางระหว่างจุดเริ่มออกเดินเท้าไปยังจุดศู นย์กลาง
(GPS) ของกลุ่มแปลงตัวอย่าง หน่วยเป็ นเมตร
Navigation Notes -ตารางบั นทึกการเดินทางจากจุดเริ่มออกเดินเท้าไปยั ง
จุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่าง โดยการหมายจุด สังเกต
ระหว่างการเดินเท้าเป็นระยะๆ ลงในเครื่อง GPS จนถึง
จุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่าง ข้อมูลที่บัน ทึก
ประกอบด้วย
Azimuth บันทึกค่ ามุมจากจุดที่ห มายค่ าพิกัด (จุดสังเกต) หนึ่งๆ
ไปยังจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่าง
Distance (m) บันทึกระยะทางระหว่างจุดที่หมายค่ าพิกัดหนึ่งๆ ไปยัง
จุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่าง หน่วยเป็นเมตร
Notes บันทึกลัก ษณะของจุดสังเกตหรือจุดที่หมาย เช่น ทางร่วม
ทางแยก ลาห้วย ลานหิน เป็นต้น
Time (24 hour clock) บัน ทึกเวลาตั้ง แต่เริ่ มออกเดิ นทางออกจากที่ พัก
ปฏิ บัติงานจนกลับถึงที่พักตามช่วงเวลาที่กาหนด คือ
1. เวลาที่เริ่มเดิน ทางออกจากที่พัก
2. เวลาที่เริ่มเดินเท้ าออกจากรถไปยังจุดศูนย์กลาง
3. ของกลุ่มแปลงตัวอย่ าง
4. เวลาที่ เดิ น ทางถึง จุด ศู น ย์ ก ลางของกลุ่ ม แปลงตัวอย่ าง
5. เวลาที่เดิน ทางออกจากแปลงตัวอย่าง
6. เวลาที่เดิน ทางกลับถึงพาหนะ
7. เวลาที่เดิน ทางกลับถึงที่พัก
Weather บันทึกสภาพอากาศขณะปฏิบัติง าน
Site Features ตารางบั นทึกรูปร่างและลักษณะของพื้น ที่แปลงตัวอย่างข้อมูล
ที่ต้องบันทึก คือ
Slope - บันทึกค่าความลาดชันของพื้น ที่แปลงตัวอย่ าง หน่วยเป็น
องศา โดยประเมิ นจากการมองระยะทางลาดของ Slope
ด้านบนและด้ านล่ างจากจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่าง
ประมาณด้ านละ 50 ม.
11
Aspect - บันทึกทิศด้ านลาดของพื้น ที่แปลงตัวอย่ างในภาพรวม
ในรูปของอักษรภาษาอังกฤษ คือ N NE E SE S SW
W และ NW
Rocky Substrates - บันทึกเปอร์เซนต์การครอบคลุม พื้นที่ของหินลักษณะต่ างๆ
(% cover) (หินก้อน = Cobbles / Stones และหินดาน = Bedrock)
ในแปลงตัวอย่าง
Rel. Slope Position - พิจารณาตาแหน่งที่ตั้งของแปลงตัวอย่างว่าอยู่ใ นตาแหน่งใด
ของความลาดชันของพื้น ที่ในภาพรวม เลือกระบุ
Crest = บนยอดเขา
Upper = ตอนบนของความลาดชั น
Middle = ตอนกลางของความลาดชั น
Lower = ตอนล่างของความลาดชั น
Depression = แอ่งกะทะ
Flat = แนวราบ

Surface Shape - พิจารณารูปร่างพื้ นที่ของแปลงตัวอย่างโดยรวมว่ามี ลักษณะ


เป็นอย่างไร เลือกระบุ
Concave = โค้ง
Convex = เว้า
Straight = เส้นตรง
Open Water - บันทึกเปอร์เซ็นต์การครอบคลุม พื้นที่ โดยน้า ในลักษณะ
น้าไหล (Flowing) และน้าขัง (Stagnant) ในพื้น ที่แปลง
ตัวอย่าง
Notes (From Starting Point บันทึกหรือบรรยายเส้ นทางจากจุดที่เริ่มออกเดินเท้าถึงจุด
to Cluster Centre) ศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่ าง เช่น เดินตามเส้ นทางเดิน ที่มี
อยู่แล้ว ตามสั นเขา ตามล าห้วย เป็นต้ น
Comments บันทึกข้อมูลจุดอ้างอิงของแปลงตัวอย่าง ทั้งจุดอ้างอิงในแปลง
(RIP) และจุดอ้างอิงนอกแปลงตั วอย่าง (ROP)

แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 3 การเก็บข้อมูลพืชล้มลุก ไม้พุ่ม กล้าไม้ และลูกไม้ (Herb, Shrub,


Seedlings & Saplings)
หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
12
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศูน ย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิศเหนือ (North)
E = แปลงทิศตะวันออก (East)
S = แปลงทิศ ใต้ (South)
W = แปลงทิศ ตะวันตก (West)
Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการส ารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ที่ท าการส ารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการสารวจ โดยใช้เลขเรียงลาดั บ
ตั้งแต่ 01 – 12 (มกราคม – ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ. ที่ทาการสารวจ โดยใช้เลข 2 ตัวท้า ย
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางกลุ่มแปลงตัวอย่าง
ที่กาหนดไว้ในแผนที่ เป็นค่าในแนวทิศตะวันออก 6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างย่อย
(Plot site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่าในแนวทิศ
ตะวันออก 6 หลัก ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
Recorder บันทึกชื่อผู้ที่ ทาการสารวจข้อมูล ภาคสนาม
Page of กรอบซ้ายบันทึกล าดับเลขที่แผ่นของแบบบั นทึกข้อมูล กรอบขวา
บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูล แบบนั้นๆ
Plot Radius (m) รัศมีของแปลงตัวอย่างรูปวงกลมที่เป็ นตัว แทนในการเก็บข้อมูล
Item No. บันทึกล าดับหมายเลขข้อมูล ที่ได้จากการส ารวจในแปลงตัวอย่าง
เรียงลาดับจากหมายเลข 1 2 3… ตามลาดั บ
Species Name บันทึกชื่อพื้ นเมือง (Vernacular Name) ของพรรณไม้ ทุกชนิด
ที่ได้จากการสารวจ โดยให้บันทึกด้วยชื่อ ทุกบรรทั ด
Species Code บันทึกรหัสของพรรณไม้ ที่ได้จากการส ารวจ เป็นรหัสตัวเลข
5 หลัก ตามรหัส พันธุ์ไม้ที่ได้กาหนดไว้ แล้ว
Number of Seedlings บันทึกจานวนกล้ าไม้ (Seedling) ของพรรณไม้ทุกชนิด
(Undergrowth < 1.3 m tall) ที่ยังมีชีวิตอยู่ในแปลงตัวอย่างรู ปวงกลมรัศ มี 0.631 ม. โดย
บันทึกให้ตรงกับตาแหน่งของแปลงตัวอย่างที่เก็บข้อมูล คือ
แนวทิศเหนือ (N) ตะวันออก (E) ใต้ (S) และตะวันตก (W)
Overall Cover Estimate by บันทึกเปอร์เซ็น ต์ที่กล้าไม้และลูกไม้ร วมกันครอบคลุม
Layer (%) พื้นที่ใ นแปลงตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 3.99 ม.
Number of Saplings (Undergrowth บันทึกจานวนลูกไม้ (Sapling) ของพรรณไม้ทุกชนิ ดที่ยังมีชี วิตอยู่
> 1.3 m tall GBH < 15 cm.) ในแปลงตัวอย่างรู ปวงกลมรั ศมี 3.99 ม.
Comments บันทึกข้อมูล ที่เห็นว่าส าคั ญกับแบบบั นทึกข้อมูล
13
แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 4 การเก็บข้อมูลไม้ต้น (Trees)
หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อ ยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศูน ย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิศเหนือ (North)
E = แปลงทิศ ตะวันออก (East)
S = แปลงทิ ศใต้ (South)
W = แปลงทิ ศตะวัน ตก (West)
Measurement Date บันทึ วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการสารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ที่ท าการส ารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการสารวจ โดยใช้เลขเรียงลาดั บ
ตั้งแต่ 01–12 (มกราคม - ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ. ที่ทาการสารวจ โดยใช้ตัวเลข 2 ตัวท้า ย
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางกลุ่ม แปลง ตัวอย่าง
ที่กาหนดไว้ในแผนที่ เป็นค่าในแนวทิศตะวันออก 6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างย่อย (Plot
site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่าในแนวทิ ศตะวันออก 6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
Plot Radius (m) : 17.84 รัศมีของแปลงตัวอย่างรูปวงกลมที่เป็ นตัว แทนในการเก็บข้อมูล
Recorder บันทึกชื่อผู้ที่ ทาการสารวจข้อมูล ภาคสนาม
Page of กรอบซ้ายบันทึกล าดับเลขที่แผ่นของแบบบั นทึกข้อมูล กรอบขวา
บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูล แบบนั้นๆ
Item No. บันทึกล าดับหมายเลขข้อมูล ที่ได้จากการส ารวจในแปลงตัวอย่าง
เรียงลาดับจากหมายเลข 1 2 3… ตามลาดั บ
Species Name บันทึกชื่อพื้ นเมือง (Vernacular Name) ของพรรณไม้ ทุกชนิด
ที่ได้จากการสารวจ โดยให้บันทึกด้วยชื่อ ทุกบรรทั ด
Species Code บันทึกรหัสของพรรณไม้ ที่ได้จากการส ารวจ เป็นรหัสตั วเลข 5 หลัก
ตามรหัส พันธุ์ไม้ ที่ได้กาหนดไว้ แล้ว
Position ตาแหน่งของต้นไม้ที่ มีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
หรือเท่ากับ 15 ซม. แต่ละต้นในแปลงตัวอย่ าง ซึ่งประกอบด้วย
14
Azimuth บันทึกค่ ามุม ที่วัดจากจุดศูน ย์กลางแปลงตัวอย่ างไปยังต้นไม้
ที่เก็บข้อมูล หน่วยเป็นองศา
Distance (m) บันทึกระยะทางในแนวราบระหว่างจุดศูน ย์กลางแปลง ตัวอย่างกับ
จุดกึ่งกลางบริเวณด้า นข้างของต้นไม้ที่เก็บ ข้อมูลหน่วยเป็นเมตร
(ทศนิย ม 2 ตาแหน่ง )
Live / Dead เลือกระบุการมีชีวิตอยู่หรือไม่ของต้นไม้ที่เก็บข้อมูล โดย
L = มีชีวิตอยู่
D = ตายแล้ว
Stand / Fall เลือกระบุลักษณะของต้นไม้ที่เก็บข้อมูล โดย
S = ยืนต้นอยู่
F = ไม้ล้ม
GBH (cm) บันทึกขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของต้นไม้ที่มีขนาดมากกว่าหรือ
เท่ากับ 15 ซม. ทุกต้น หน่วยเป็ นเซนติเมตร (ทศนิย ม 1ตาแหน่ง )
โดยหาก
1. ต้นไม้ขึ้นอยู่ บนพื้นที่ ลาดชั น ให้วัดทางด้า นบนของพื้นที่
2. ต้นไม้มี พูพอนสูงจากระดับพื้นดิ นมากกว่าหรือเท่ากับ
1.30 ม. ให้วัดตรงตาแหน่งที่เหนือพูพอนขึ้ นไปเล็กน้อย
แล้วบัน ทึกค่าความสูงของพูพอนในช่อง Remarks
M/E เลือกระบุวิธีการวัดข้อมูลขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) โดย
M = ข้อมูลได้จากการวัด
E = ข้อมูลได้จากการประมาณ (กรณีที่ไม่สามารถวัดได้ )
Total Height (m) บันทึกค่ าความสูงต้นไม้จากระดับพื้นดิ นถึงปลายยอด
หน่วยเป็นเมตร (ทศนิย ม 1 ตาแหน่ง )
M/E เลือกระบุวิธีการวัดข้อมูลความสูงต้ นไม้ โดย
M = ข้อมูลได้จากการวัด
E = ข้อมูลได้จากการประมาณ
Number of logs บันทึกจานวนท่อนไม้ซุงที่ ใช้ทาเป็นสิ นค้าได้ โดยการ ประมาณ
ความยาวของลาต้น ที่มีขนาดเส้น รอบวงเพียงอก(GBH) มากกว่า
30 ซม. ขึ้นไป จากจุดที่อยู่สูงจาก พื้นดิ น 30 ซม. ขึ้นไป จนถึง
จุดที่ลาต้ นมีขนาดความโตเท่ากับ 30 ซม. โดยการแบ่งลาต้ น
ออกเป็นท่อนๆ ยาวท่อนละ 5 ม. ถ้าความยาวของท่อนไม้ไม่ถึง
5 ม. แต่ยาวมากกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวเต็มท่อนให้คิ ดเป็น
1 ท่อน ถ้าน้อยกว่าไม่คิดเป็นจานวนท่อน
15
- กรณีเป็ นไม้ 2 นางขึ้นไป ให้ประมาณจานวนท่อนไม้ ทุกนาง
ที่ได้ขนาดแล้ วนามารวมกัน (บัน ทึกจานวนนางไว้ใ นช่อง
Remark ด้วย)
- กรณีเป็นกิ่งไม้ (Branch) ใหญ่หลายๆกิ่ง ให้พิจารณาเลือก
ประมาณจานวนท่อนไม้ เฉพาะกิ่งที่เป็นกิ่งหลัก (Main
Branch)
Timber Quality บันทึกคุ ณภาพของท่อนไม้ ซุงที่ใช้ทาเป็น สินค้าได้ โดยกาหนดเป็น
รหัสตามชั้ นขนาดเส้ นรอบวงเพี ยงอกของต้นไม้ ดังนี้
1) ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก 15–45 ซม. รหัส 10
2) ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก 45.1–100 ซม. รหัส 20
3) ขนาดเส้นรอบวงเพียงอกมากกว่า 100 ซม. รหัสเป็น 11 12
หรือ 13 โดย
- รหัส 11 คือ ไม้ที่มี ลักษณะดี เปลาตรง (Sound)
- รหัส 12 คือ ไม้ที่มีลักษณะค่อนข้ างเปลาตรง
แต่ มีบางส่วนคดงอ (Cull)
- รหัส 13 คือ ไม้ที่มีลักษณะไม่ ดี เหมาะสาหรั บการทาไม้ฟืน
(Firewood) เท่านั้น
Crown Class เลือกระบุลักษณะชั้นเรือนยอดของต้นไม้ที่เก็บข้อมูล
ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ คือ
Dominant (D) ไม้เรือนยอดเด่น คือมีเรือนยอดสูงเหนือ
ระดับชั้นเรือนยอดอื่น มีการพัฒ นารู ปทรงของ เรือนยอดที่ดี
สามารถรับแสงได้ทั้งทางด้านบนเรือนยอดและด้ านข้างบางส่ว น
Co-dominant (C) ไม้เรือนยอดรอง คือมีความสูงรองจาก
ไม้เรือนยอดเด่น เรือนยอดด้านข้างมีค วาม หนาแน่น สามารถรั บ
แสงได้ทั้งทางด้านบนเรือนยอดและด้ านข้างบางส่ว น
Intermediate (I) เป็นไม้ ที่มีเรือนยอดต่ ากว่า Co-dominant
เรือนยอดมีขนาดเล็กและค่อนข้างหนาแน่ นทางด้านข้าง สามารถรั บ
แสงได้เฉพาะด้ านบนเรือนยอดเท่า นั้น
Suppress (S) เป็นไม้ที่มีเรือนยอดต่ ากว่าไม้อื่น และเรือน
ยอดถูกบดบังด้วยเรือนยอดชั้นอื่นๆ ไม่สามารถรับแสงได้ โดยตรง
จากทั้งทางเรือนยอดด้านบนและด้ านข้าง
Crown Condition เลือกระบุความสมบูรณ์ของเรือนยอด โดยพิจารณาจากสัด ส่วนของ
เรือนยอดที่ยังมีชีวิตอยู่และความหนาแน่น ของเรือนยอดที่ยอมให้
แสงผ่านได้ (Foliage Transparency) แบ่งเป็น
16
- Good (G) เรือนยอดมีใบหนาแน่น และกิ่งก้านมีรูปทรงสมบูร ณ์
- Medium (M) เรือนยอดมีความหนาแน่ นของ ใบน้อย กิ่งก้าน
ไม่สมบูร ณ์ มีการหักหรือเสียหายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 50%
- Poor (P) เรือนยอดมีกิ่งก้านหักหรือเสียหายเกือบหมด อาจพบ
กิ่งแห้งปรากฏอยู่
ข้อสังเกต ไม้บางชนิด ผลัดใบในฤดู แล้ง แต่ลักษณะเรือนยอด
ยังสมบูร ณ์อยู่ ให้พิจารณาองค์ ประกอบในส่ วนของฤดูกาล
ประกอบด้วย
Estimated Crown Width (m) บันทึกขนาดความกว้างของเรือนยอดที่ตกลงสู่พื้นดิน โดยการ
ถ่ายระยะในแนวดิ่ง หน่วยเป็นเมตร ทาการวั ดใน 2 แนว คือ
W1 = ด้านกว้างที่สุ ดของเรือนยอด
W2 = ด้านยาวที่สุดของเรือนยอด
Remarks บันทึกรายละเอียดของต้นไม้ แต่ละต้ น (ถ้ามี ) เช่น ไม้ 2 นาง
ยอดหัก พูพอนสูง มีกล้วยไม้เกาะติดอยู่บนต้น (บันทึกจานวนกอ
ของกล้วยไม้)

แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 5 การเก็บข้อมูลไม้ไผ่ หวาย และตอไม้ (Bamboo, Erect Rattan &


Tree Stump)
หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศู นย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิ ศเหนือ (North)
E = แปลงทิศตะวั นออก (East)
S = แปลงทิศใต้ (South)
W = แปลงทิศตะวั นตก (West)
Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการส ารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ที่ ทาการสารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการสารวจ โดยใช้เลขเรียงล าดับ
ตั้งแต่ 01 – 12 (มกราคม – ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ. ที่ทาการสารวจ โดยใช้เลข 2 ตัวท้า ย
17
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางกลุ่มแปลงตัวอย่าง
ที่กาหนดไว้ในแผนที่ เป็นค่าในแนวทิศตะวันออก 6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างย่อย (Plot
site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่าในแนวทิ ศตะวันออก
6 หลัก ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
Plot Radius (m) : 12.62 รัศมีของแปลงตัวอย่างรูปวงกลมที่ใช้เป็ นตัว แทนในการเก็บข้อมูล
Recorder บันทึกชื่อผู้ที่ ทาการสารวจข้อมูล ภาคสนาม
Page of กรอบซ้ายบันทึกล าดับเลขที่แผ่นของแบบบั นทึกข้อมูล กรอบขวา
บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูล แบบนั้น ๆ
Item No. บันทึกล าดับหมายเลขข้อมูล ที่ได้จากการส ารวจในแปลง
ตัวอย่าง เรียงลาดับจากหมายเลข 1 2 3… ตามลาดั บ
Species Name บันทึกชื่อพื้ นเมือง (Vernacular Name) ของไม้ไผ่ หวายหรือ
ตอไม้ที่ได้จากการสารวจ โดยให้บันทึกด้วยชื่อทุก บรรทัด
Species Code บันทึกรหัสของ ไม้ไผ่ หวาย หรือตอไม้ที่สารวจพบ เป็นรหัสตัวเลข
5 หลัก ตามรหัสที่ได้กาหนดไว้แล้ว
Bamboo บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับไม้ไผ่ โดย
Number of Culms - บันทึกจานวนล าในกอไผ่ ที่ยังมีชีวิตอยู่ และมีความยาว
ของลามากกว่าหรือเท่ากับ 1.3 ม.
Ave. GBH (cm) - บันทึกขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของลาไผ่ลาใดล าหนึ่ง
ที่พิจารณาแล้วว่ าเป็น ตัวแทนทั้ง ทางด้านความโต
และความสูงของไผ่ในกอนั้นๆ หน่วยเป็นเซนติเมตร
Ave. Length (m) - บันทึกความยาวของลาไผ่ล าที่เป็ นตัว แทนของกอไผ่
ในการวัดขนาดเส้นรอบวงเพี ยงอก หน่วยเป็นเมตร
Erect Rattan บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับหวายที่เส้ นหวายยังตั้งตรงอยู่ (ยังไม่เลื้อย)
โดย
Number of Stems - บันทึกจานวนเส้นของหวายเส้ นตั้ง (Erect Rattan)
ในกอหนึ่งๆ ที่ยังมีชีวิตอยู่และมีค วามยาวมากกว่า
หรือเท่ากับ 1.3 ม.
Min. GBH (cm) - บันทึกขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของเส้นหวายที่ มีขนาดเล็ก
ที่สุดในกอ หน่วยเป็นเซนติเมตร (ทศนิ ยม 1 ตาแหน่ง)
Max. GBH (cm) - บันทึกขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของเส้นหวายที่ มีขนาดใหญ่
ที่สุดในกอ หน่วยเป็นเซนติเมตร (ทศนิ ยม 1 ตาแหน่ง)
Ave. GBH (cm) - บันทึกขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของเส้นหวายเส้นใดเส้นหนึ่ง
ที่พิจารณาแล้วว่ าเป็น ตัวแทนทั้ง ทางด้านความโตและ
ความยาวของหวายในกอนั้นๆ หน่วยเป็นเซนติเมตร
18
Ave. Length (m) - บันทึกความยาวของเส้นหวายเส้น ที่เป็นตั วแทนของหวาย
ในการวัดขนาดเส้นรอบวงเพี ยงอก หน่วยเป็นเมตร
Tree Stump บันทึกข้อมูลตอไม้ ที่มีค วามสูงน้อยกว่า 1.3 ม. และมีขนาดความโต
ที่ปลายตอมากกว่าหรือเท่ากับ 15 ซม. โดย
Girth (cm) - บันทึกขนาดความโตของตอไม้ โดยวั ดตรงตาแหน่งปลายตอ
หน่วยเป็นเซนติเมตร (ทศนิย ม 1 ตาแหน่ง )
Height (cm) -บันทึกความสูงของตอไม้ โดยวัดจากโคนตอถึงปลายตอ
หน่วยเป็นเซนติเมตร (ทศนิ ยม 1 ตาแหน่ง)
Old / New - เลือกระบุสภาพของตอไม้ที่เก็บข้อมูล โดย
Old คือ ตอที่มีสภาพเก่า (อายุมากกว่า 1 ปี )
New คือ ตอใหม่ (อายุไม่เกิน 1 ปี)
Lived / Dead - ระบุว่าเป็ นเป็นตอที่ ยังมีชีวิต หรือ เป็นตอที่ตายแล้ว โดย
Lived คือ ตอที่ยังมีชีวิต
Dead คือ ตอที่ตายแล้ว

แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 6 และ 7 การเก็บข้อมูลไม้ล้มขอนนอนไพร เศษไม้ปลายไม้ หวายเลื้อยและ


ไม้เถา (Coarse woody debris, Creeping rattan & Climbers: Transect 1&2)
(แบบบั นทึกข้อมูลทั้งสองแบบ มีหัวเรื่องที่เหมือนกัน แตกต่างกันเฉพาะค่า Random Azimuth)
หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศูนย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิ ศเหนือ (North)
E = แปลงทิศตะวันออก (East)
S = แปลงทิศใต้ (South)
W = แปลงทิศตะวันตก (West)
Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการส ารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ที่ท าการส ารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการส ารวจ โดยใช้เลขเรียงลาดั บ
ตัง้ แต่ 01 – 12 (มกราคม – ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ. ที่ทาการส ารวจ โดยใช้เลข 2 ตัวท้า ย
19
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางกลุ่มแปลงตัวอย่าง
ที่กาหนดไว้ในแผนที่ เป็นค่า ในแนวทิศตะวั นออก 6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างย่อย (Plot
site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่าในแนวทิ ศตะวันออก
6 หลัก ค่าในแนวทิ ศเหนือ 7 หลัก
Recorder บันทึกชื่อผู้ที่ ทาการสารวจข้อมูล ภาคสนาม
Page of กรอบซ้ายบันทึกล าดับเลขที่แผ่นของแบบบั นทึกข้อมูล กรอบขวา
บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูล แบบนั้น ๆ
Round Pieces ตารางบั นทึกข้อมูลส าหรับตั วอย่างที่มี ลักษณะเป็นรู ป ทรงกลม
หรือทรงกระบอก
Random Azimuth ในแบบที่ 6 บันทึกค่ามุมของเส้นตัด วงกลม (Transect Line)
เส้นที่ 1 ตามค่ ามุม ที่ได้กาหนดไว้จ ากการสุ่มตั วอย่าง
ในแบบที่ 7 บันทึกค่ามุมของเส้นตัด วงกลม (Transect Line)
เส้นที่ 2 ซึ่งมีค่ามุมเท่ ากับ ค่ามุ มเส้นที่ 1 + 90
Horizontal Length Observed บันทึกความยาวของเส้น Transect Line ที่ดาเนินการในแปลง
ตัวอย่าง ปกติจะมีความยาว 17.84 ม. แต่ บางครั้งอาจไม่สามารถ
วางแนวให้ได้ความยาวตามที่กาหนดได้ เช่น ติดหน้าผา แหล่งน้า
เป็นต้น
Item No. บันทึกล าดับหมายเลขข้อมูล ที่ได้จากการส ารวจในแปลงตัวอย่าง
เรียงลาดับจากหมายเลข 1 2 3… ตามล าดับ
Species Name บันทึกชื่อพื้ นเมือง (Vernacular Name) ของพรรณไม้ ทุกชนิดที่ได้
จากการสารวจ โดยให้ บันทึกด้ว ยชื่อทุกบรรทัด
Species Code บันทึกรหัสของพรรณไม้ ที่สารวจพบเป็น รหัสตัวเลข 5 หลัก
ตามรหัส ที่ได้กาหนดไว้ แล้ว
Girth (cm) บันทึกขนาดความโตของไม้ หวายเลื้อย หรือไม้เถา ตรงจุดที่เส้น
Transect Line ลากตัดกับเส้น แนวกึ่งกลางของวัตถุที่จะวัด
(Center Line) ถ้าเส้นลากผ่ านวัตถุเดียวกันหลายจุด ให้ทาการวัด
ความโตทุกจุด แล้ วบั นทึกข้อมูล แยกเป็นแต่ละจุด หน่วยเป็ น
เซนติเมตร
M/E เลือกระบุวิธีการวัดข้อมูลขนาดความโต โดย
M = ข้อมูลได้จากการวัด
E = ข้อมูลได้จากการประมาณ (กรณีไม่ส ามารถวัดได้ )
Tilt Angle (deg) บันทึกค่ ามุมตรงจุดที่เส้น Transect Line ลากตัดกับแนวกึ่งกลาง
ของวัตถุที่ทาการวัด (Center Line) ทามุ มกับแนวระนาบ
หน่วยเป็นองศา
20
M/E เลือกระบุวิธีการวัดข้อมูลขนาดของมุม โดย
M = ข้อมูลได้จากการวัด
E = ข้อมูลได้จากการประมาณ (กรณีไม่ส ามารถวัดได้ )
Timber Quality บันทึกชั้น คุณภาพของไม้ หวายเลื้อยหรือไม้เถา โดยกาหนด
เป็นชั้นขนาดความโต ดังนี้
- ขนาดความโต 15-45 ซม. รหัส 10
- ขนาดความโต 45.1-100 ซม. รหัส 20
- ขนาดความโตมากกว่า 100 ซม. รหัส 13
CWD, Rattan, Climber เลือกระบุลักษณะข้อมู ล โดย
CWD = ไม้ล้มขอนนอนไพร เศษไม้ปลายไม้
Rattan = หวายเลื้อย
Climber = ไม้เถา
Accumulation or Odd-Shaped ตารางบั นทึกข้อมูลส าหรับตั วอย่างที่มี ลักษณะกองสุมกันหรือไม่
Pieces เป็นรูปทรงกระบอก
Item No. บันทึกล าดับหมายเลขข้อมูล ที่ได้จากการส ารวจในแปลง ตัวอย่าง
เรียงลาดับจากหมายเลข 1 2 3… ตามล าดับ
Horizontal Length (cm) บันทึกความยาวของไม้ หวายเลื้อยหรือไม้เถา ที่เส้น Transect
Line พาดผ่ าน ถ้าเส้นลากผ่านวัตถุเดียวกันหลายจุด ให้วัดความ
ยาวทุกจุด แล้ว บัน ทึกข้อมูลแยกเป็น แต่ละจุด หน่วยเป็น
เซนติเมตร
M/E เลือกระบุวิธีการวัดข้อมูลความยาว โดย
M = ข้อมูลได้จากการวัด
E = ข้อมูลได้จากการประมาณ (กรณีไม่ส ามารถวัดได้ )
Vertical Depth (cm) บันทึกความสูงของไม้ หวายเลื้อยหรือไม้เถา ตรงจุดที่ตัดกับเส้น
Transect Line สาหรับกองไม้ที่มีช่องโพรงภายในกอง ให้ประเมิน
เสมือนว่าหากกองไม้นั้นเรียงเป็นระเบียบและไม่มีช่องโพรงจะมี
ความสูงเท่าไร หน่วยเป็ นเซนติเมตร
M/E เลือกระบุวิธีการวัดข้อมูลความสูง โดย
M = ข้อมูลได้จากการวัด
E = ข้อมูลได้จากการประมาณ (กรณีไม่ส ามารถวัดได้ )
CWD, Rattan, Climber เลือกระบุลักษณะข้อมู ล โดย
CWD = ไม้ล้ มขอนนอนไพร เศษไม้ปลายไม้
Rattan = หวายเลื้อย
Climber = ไม้เถา
21
Piece type เลือกระบุรูปทรงของข้อมูล โดย
Acc = มีการเรียงสุมเป็นกอง
Odd = มีรูปทรงไม่เป็ นทรงกระบอก
Comments บันทึกข้อมูล ที่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับแบบบั นทึกข้อมูล แบบที่ 6 หรือ 7

แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 8 การเก็บข้อมูลปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพื้นที่ป่า (Site disturbance)


หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศูนย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิ ศเหนือ (North)
E = แปลงทิศตะวันออก (East)
S = แปลงทิศใต้ (South)
W = แปลงทิศตะวันตก (West)
Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการส ารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ ที่ทาการสารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการสารวจ โดยใช้เลขเรียงล าดั บ
ตั้งแต่ 01 – 12 (มกราคม – ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ. ที่ท าการสารวจ โดยใช้เลข 2 ตัวท้าย
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางกลุ่มแปลงตัวอย่างที่กาหนด
ไว้ในแผนที่ เป็นค่าในแนวทิศตะวันออก 6 หลัก ค่าในแนวทิศ
เหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างย่อย (Plot
site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่าในแนวทิ ศตะวันออก
6 หลัก ค่าในแนวทิ ศเหนือ 7 หลัก
Plot Radius (M) : 17.84 รัศมีของแปลงตัวอย่างรูปวงกลมที่ใช้เป็ นตัว แทนในการเก็บข้อมูล
Recorder บันทึกชื่อผู้ที่ ทาการสารวจข้อมูล ภาคสนาม
Page of กรอบซ้ายบันทึกล าดับเลขที่แผ่นของแบบบั นทึกข้อมูล กรอบขวา
บันทึกจานวนแผ่น ทั้งหมดของแบบบั นทึกข้อมูล แบบนั้น ๆ
22
Group A กลุ่มของปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพื้นที่กลุ่ม A
Activity กิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่มี ผลกระทบต่อพื้น ที่แปลงตัวอย่ าง
และพืชพรรณ เลือกระบุตามที่ส ารวจพบ คือ
Agriculture - พื้นที่เกษตรกรรมประเภทต่างๆ เช่น การทาไร่ ทาสวน ทานา
เป็นต้น ให้ระบุด้วยว่า ปลูก พืชชนิดใด
Aquaculture - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าต่างๆ เช่น ปลา กุ้ง เป็นต้น
Collecting NTFPs - การเก็บหาของป่า ให้ระบุด้วยว่าเป็ นของป่าชนิดใด เช่น ไม้ไผ่
หน่อไม้ หวาย เห็ด พืชผักชนิดต่ างๆ เป็นต้น
Dam construction - การสร้างเขื่อนหรือสิ่งก่อสร้างที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการเก็บกักน้า
สิ่งก่อสร้างที่ปลูกสร้างเพื่อใช้ประโยชน์ ส่ว นบุคคลหรือของกลุ่มใด
Settlement area - กลุ่มหนึ่ง เช่น บ้า น อาคาร ที่พัก บ่อน้า ฯลฯ ให้ระบุด้วยว่า
เป็นสิ่งก่อสร้างอะไร
Facility construction - สิ่งก่อสร้างที่ปลูกสร้างเพื่อใช้ประโยชน์กับส่ วนรวมหรือสาธารณะ
ประโยชน์เป็ นหลัก เช่น โรงพยาบาล เสาไฟฟ้ า สะพาน ที่ทิ้งขยะ
ฯลฯ ให้ระบุด้ว ยว่าเป็ นสิ่งก่อสร้างอะไร
Forest fire - การเกิดไฟป่า ทั้งที่เกิดจากมนุษย์ และธรรมชาติ
Livestock grazing - การพบร่องรอยการเลี้ยงสัตว์ใ นแปลงตัวอย่าง
Mining - การทาเหมืองแร่ต่างๆ เช่น ถ่านหิน ดินขาว เป็นต้น
Excavation - การขุดพื้นที่เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น การขุดหิน การขุดดิน
ลูกรัง
Wildlife damage - การทาลายของสัตว์ ป่าที่ มีต่อแปลงตัวอย่ าง เช่น กัดกิน เจาะ
โค่น หรือ ใช้ลาตัวถูจนเป็นอั นตรายกั บต้นไม้
Pest & disease - ร่องรอยของแมลงและโรคแมลง
Pollution - มลภาวะที่เกิดขึ้น หรือมีผลต่อแปลงตัวอย่าง
Road Construction - การสร้างถนนในแปลงตัวอย่าง
Storms - วาตภัย
Other (Specify) - ปัจจัยนอกเหนือจากที่กาหนดไว้ โดยให้ระบุกิจกรรมหรือ
เหตุการณ์นั้นๆ ด้วย
Severity - เลือกระบุระดับความรุน แรงของกิจกรรมหรือเหตุการณ์
ที่สารวจพบ โดยพิจารณาถึงผลที่ มีต่อแปลงตัวอย่าง โดย
L = รุนแรงน้อย คือทาให้เกิดความเสียหายต่อไม้ระดับล่าง
M = รุนแรงปานกลาง คือทาให้เกิดความเสียหายต่อไม้ ระดับ
ล่างและลูกไม้ กล้าไม้
H = รุน แรงมากคือทาให้เกิดความเสียหายกั บพืช พรรณทุกชนิด
% Cover - บันทึกค่าประมาณของกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน
แปลงตัวอย่าง ถ้าน้อยกว่า 5% ให้บันทึกว่า < 5% ตั้งแต่ 5%
ขึ้นไป ให้บันทึกตามที่ ประมาณได้ (5% 6% …)
23
Remarks - บันทึกข้อสังเกตหรือรายละเอียดของกิจกรรมหรือเหตุการณ์
ที่สารวจพบเป็นการเพิ่ มเติม
Description - คาอธิบายรายละเอียดของกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่กาหนด
Group B กลุ่มของปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพื้นที่กลุ่ม B
Activity เหตุการณ์ที่มีผ ลกระทบต่อพื้น ที่แปลงตัวอย่างและพืชพรรณ
เลือกระบุตามที่ สารวจพบ คือ
Erosion - การชะล้างพังทลายของดิน
Flooding - น้าท่วม น้าขังในพื้น ที่ อาจเป็นร่องน้าตามธรรมชาติหรือเกิดจาก
การกระทาของมนุษย์ รวมถึงหลุมบ่อหรือหล่มโคลนที่เกิดจาก
รถยนต์
Landslide - การเกิดแผ่นดินเลื่อนหรือแผ่น ดินถล่ม
Observed - เลือกระบุว่าพบเหตุการณ์ ดังกล่าวในแปลงตัวอย่างหรือไม่
Yes = พบ
No = ไม่พบ
% Cover - บันทึกค่าประมาณของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแปลงตัวอย่าง
ถ้าน้อยกว่า 5% ให้บันทึกว่า <5% ตั้งแต่ 5% ขึ้นไป ให้บันทึก
ตามที่ ประมาณได้ (5% 6%)
Potential - เลือกระบุว่าเหตุการณ์ดังกล่าวมี แนวโน้ มจะเกิดขึ้นในอนาคต
หรือไม่
Yes = มีโอกาสที่จะเกิด
No = ไม่มีโอกาสที่จะเกิด
Remarks - บันทึกข้อสังเกตหรือรายละเอียดของเหตุการณ์ที่สารวจพบ
เป็นการเพิ่มเติ ม (ถ้ามี)
Group C กลุ่มของปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพื้นที่กลุ่ม C
Activity กิจกรรมที่มีผลกระทบต่อพื้ นที่อันเนื่องมาจากการทาไม้
Logging - การทาไม้ ทั้งในส่ว นที่ถูกและผิดกฎหมาย
No. of Stumps - บันทึกจานวนตอไม้ที่ส ารวจพบในแปลงตัวอย่ าง
Remarks - บันทึกข้อสังเกตหรือรายละเอียดของการทาไม้เป็นการเพิ่ มเติ ม
(ถ้ามี)

แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 9 บรรยายลักษณะดิ น (Soil Description)


ไม่มีการเก็บข้อมูลซ้ าในแบบบันทึกข้อมูล นี้

แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 10 การใช้ถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่า (Use of Wildlife Habitat)


ไม่มีการเก็บข้อมูลซ้ าในแบบบันทึกข้อมูล นี้
24
แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 11 การเก็บตัวอย่างพรรณไม้ (Plant Specimens)
หัวเรื่องในแบบบันทึกข้อมูล คาอธิบาย
Project ID บันทึกหมายเลขโครงการที่ดาเนิ นการ
Cluster ID บันทึกค่ า UTM ของ Zone (เลข 2 หลักแรก) ค่า Easting (เลข 3
หลักแรก) และค่า Northing (เลข 4 หลักแรก) รวมเป็นเลข 9 หลัก
Cluster # บันทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
Plot site บันทึกอักษรย่อของแปลงตัวอย่างย่อยในกลุ่ ม โดย
C = แปลงศูนย์กลาง (Cluster centre)
N = แปลงทิ ศเหนือ (North)
E = แปลงทิศตะวันออก (East)
S = แปลงทิศใต้ (South)
W = แปลงทิศตะวันตก (West)
Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี (DD/MM/YY) ที่ทาการส ารวจ โดย
วัน (DD) = วันที่ที่ ทาการสารวจ
เดือน (MM) = เดือนที่ทาการสารวจ โดยใช้เลขเรียงล าดับ
ตั้งแต่ 01 – 12 (มกราคม – ธันวาคม)
ปี (YY) = ปี ค.ศ. ที่ท าการสารวจ โดยใช้เลข 2 ตัวท้าย
GPS Cluster Centre (map) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางกลุ่มแปลงตัวอย่ าง
ที่กาหนดไว้ในแผนที่ เป็นค่า ในแนวทิศตะวั นออก6 หลัก
ค่าในแนวทิศเหนือ 7 หลัก
GPS Plot Centre (site) บันทึกค่ าพิกัด UTM ของจุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างย่อย (Plot
site) ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS เป็นค่าในแนวทิ ศตะวันออก
6 หลัก ค่าในแนวทิ ศเหนือ 7 หลัก
Collector ผู้เก็บตัวอย่างพรรณไม้ โดย
Name บันทึกชื่อผู้เก็บตัวอย่างพรรณไม้
Number บันทึกเลขล าดับการเก็บตัวอย่างพรรณไม้ของบุคคลนั้นๆ
ซึ่งเป็นเลขลาดับต่อเนื่องเฉพาะของผู้เก็บ
Page of กรอบซ้ายบันทึกลาดับเลขที่แผ่นของแบบบันทึกข้อมูล กรอบขวาบันทึก
จานวนแผ่ นทั้งหมดของแบบบัน ทึกข้อมูลแบบนั้น ๆ
Item No. บันทึกล าดับที่ของข้อมูลซึ่งจะเป็นล าดับที่เดียวกับในแบบบัน ทึก
ข้อมูลแบบอื่นที่เกี่ยวข้องที่ได้ท าการบั นทึกไว้ แล้ว แต่ไ ม่สามารถ
จาแนกชนิด พรรณไม้ นั้นได้
Tally Sheet No. บันทึกหมายเลขแบบบัน ทึกข้อมูลที่ บันทึก Item No.
ที่ไม่สามารถจาแนกชนิด พรรณไม้ได้
Forest name บันทึกชื่อป่ าที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้
Moo - Ban บันทึกชื่อหมู่บ้านที่เก็บตั วอย่างพรรณไม้
25
Tam - Bol บันทึกชื่อตาบลที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้
District บันทึกชื่ออาเภอที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้
Province บันทึกชื่อจังหวัดที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้
Altitude (m) บันทึกค่ าความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลางของบริเวณ
ที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้
Local name บันทึกชื่อพรรณไม้ที่เรียกตามท้องถิ่น
Botanical name บันทึกชื่อวิทยาศาสตร์ของพรรณไม้ ที่ได้จากการจาแนก
โดยนัก พฤกษศาสตร์
Family name บันทึกชื่อวงศ์ของพรรณไม้ที่ได้จากการจาแนกโดยนัก พฤกษศาสตร์
Type of forest บันทึกชนิ ดป่ าที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้
Habitat เลือกระบุถิ่นที่อยู่ของตัวอย่างพรรณไม้ ได้แก่ บนบก
(Terrestrial) ในน้า (Aquatic) อาศัย บนต้นไม้อื่น (Epiphyte)
เกาะเกี่ยวบนต้นไม้อื่น (Parasites)
Distribution เลือกระบุการกระจายของตัวอย่างพรรณไม้ในแปลงตัวอย่าง
รูปวงกลมรัศ มี 17.84 ม. ว่ามีการกระจายในลักษณะใด ได้แก่
หนาแน่นมาก (Abundant) หนาแน่ นน้อย (Few) พบทั่วไปในพื้นที่
(Scattered) อยู่เป็นกลุ่ม (Glumpy) หายาก (Rare) หรือหายาก
และใกล้จะสูญพันธุ์ (Endengered)
Habit เลือกระบุประเภทของตัวอย่างพรรณไม้ว่าเป็ นไม้ยื นต้น (Trees)
ไม้พุ่ม (Shrub) ไม้ไผ่ (Bamboo) หวาย (Rattan) ไม้เถา
(Climber) ไม้ล้มลุก (Herb) เฟิร์น (Fern) มอส (Moss) หรือไล
เคน (Lichen)
Height (m) บันทึกความสูงของต้นไม้ที่เก็บตัวอย่าง หน่วยเป็นเมตร
Girth (cm) บันทึกขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของต้นไม้ที่เก็บตัวอย่าง
หน่วยเป็นเซนติเมตร
Leaves เลือกระบุลักษณะใบของตัวอย่างพรรณไม้ ว่าเป็น ใบเดี่ยว
(Simple) หรือใบประกอบ (Compound)
Flowers เลือกระบุลักษณะการออกดอกของตัวอย่างพรรณไม้ โดย
Terminal ออกดอกที่ปลายยอด ปลายกิ่ง
Auxillary ออกดอกตามซอกใบ ตามง่ามใบ
Cauliflorous ออกดอกตามกิ่ง ตามล าต้น
พร้อมกับบั นทึกสี และกลิ่ นของดอก
Fruits บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผลของตัวอย่างพรรณไม้ ในส่วนของสี
(Color) กลิ่น (Smell) การกินได้ (Edible)
26
Remarks บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับตั วอย่างพรรณไม้ ในส่วนของการใช้ประโยชน์
(Use) ความเป็ นพิ ษ (Poisonous)
Notes บันทึกหรือบรรยายส่วนประกอบอื่นๆ ของตัวอย่าง พรรณไม้ที่เห็น
ว่าสาคัญเป็ นการเพิ่ มเติม เช่น สีของเปลือก (ทั้งนอกและใน)
การไหลและสีของน้ายาง การถ่ายภาพประกอบ
27
บทที่ 4
การปฏิบัติงานภาคสนาม

หลังจากศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสารวจและการจัดเก็บข้อ มู ล พร้ อ มกั บได้


วางแผนการดาเนินงานและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ภายในสานักงานเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่ อ ไปคื อ การออก
ปฏิบัติงานเก็บข้อมูลภาคสนาม ในบทนี้จะกล่าวถึงการเตรียมการก่อน เดินทางออกจากที่ พัก การเดิ น ทาง
เข้าหาแปลงตัวอย่าง การวางแปลงตัวอย่างและการเก็บข้อมูล ในแปลงตัวอย่าง โดยอธิบายถึงขั้ น ตอนการ
ดาเนินงานว่าขั้นตอนใดเก็ บและบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ลงในแบบบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ใด ในบางครั้ ง อาจใช้ ค าทั บศั พท์
ภาษาอังกฤษ ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับแบบบันทึก ข้อมูล จึงควรศึกษาควบคู่ไปกั บแบบบั น ทึ ก ข้ อ มู ล เพื่ อ
ช่วยให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น
การเตรียมการก่อนออกเดินทางจากที่ พักไปแปลงตั วอย่าง
1. จากจุดที่พักชั่วคราวในพื้นที่ที่ปฏิบัติงาน บันทึกค่าพิกัด UTM ของจุ ด ที่ พัก (Camp) โดยใช้
เครื่อง GPS ทาเครื่องหมายลงในแผนที่ภูมิประเทศ พร้อมลงรายละเอียดจุดที่พัก ลงในแบบฯ ที่ 1 หัวเรื่ อ ง
Access Notes (From Camp to Starting Point) ซึ่งข้อมูลนี้ จ ะเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ข้ อ มู ล เวลา ในแบบฯ ที่ 2
หัวข้อ Time (24 hour clock) และการติดตามการเปลี่ยนแปลง (Monitoring) ของทรัพยากรธรรมชาติ ใ น
อนาคต
2. กาหนดแปลงตัวอย่างที่ จ ะด าเนิ น การพร้ อ มกั บบั น ทึ ก หมายเลขก ากั บกลุ่ ม แปลงตั ว อย่ า ง
(Cluster No) และค่าพิกัด UTM ของแปลงนั้นๆ ลงในเครื่อง GPS เพื่อ ใช้ ใ นการ น าทางเข้ า หาแปลง
ตัวอย่าง พร้อมกับบันทึกข้อมูลดังกล่าวลงในแบบบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ทุ ก ชุ ด และทุ ก แบบ ในหั ว เรื่ อ ง Cluster #
และ GPS Cluster Center (map)
3. จัดเตรียมแบบบันทึกข้อมูล (Tally Sheets) ซึ่งข้อมูลบางอย่างสามารถทาการบันทึ ก ไว้ ก่ อ นได้
ดังนี้
3.1 บันทึกในแบบบัน ทึกข้อมูลทุกแบบ ได้แก่
- Cluster # บัน ทึกหมายเลขกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
- Measurement Date บันทึก วัน เดือน ปี ที่ปฏิ บัติงาน
- GPS Cluster Centre (map) บัน ทึกค่าพิกัด UTM ของแปลงตัวอย่างนั้น ๆ
- Recorder บันทึกชื่อผู้บันทึกข้อมูล
- Identification บันทึกหมายเลขประจาเขตกริต และค่า พิกัด UTM ของแปลง
ตัวอย่าง จานวน 4 และ 5 หลักแรกในแนวทิศตะวันออกและทิศเหนือ ตามลาดับ
3.2 บันทึกในแบบบัน ทึกข้อมูลเฉพาะแบบที่ 1
- Map No. บันทึกหมายเลขระวางแผนที่ของที่ตั้งกลุ่มแปลงตัวอย่างตามระบบสากล
- Province บันทึกชื่อจังหวัดของที่ตั้งกลุ่ม แปลงตั ว อย่ า ง พร้ อ มรหั ส จั ง หวั ด (Code)
นั้นๆ ตามตารางผนวกที่ 1
3.3 จัดเตรียมแบบบันทึกข้อมูลสารอง สาหรับแบบที่ ค าดว่ า จะส ารวจพบข้ อ มู ล เป็ น
จานวนมาก ได้แก่ แบบฯ ที่ 3 4 5 และ 9
28
4. ก่อนออกเดินทางไปยังกลุ่มแปลงตัวอย่างที่จะดาเนินการ ให้พิจารณาเส้นทางการคมนาคมที่
สะดวกหรือใกล้ที่สุดจากแผนที่ภูมิประเทศ ประกอบการสอบถามคนงานหรือชาวบ้ า น ว่ า มี เ ส้ น ทางอื่ น อี ก
หรือไม่ เนื่องจากบางครั้งข้อมูลเส้นทางในแผนที่ภูมิประเทศมีความไม่ทันสมัย ก่อนออกเดินทางให้ บัน ทึ ก
เวลาการเดินทางออกจากที่พัก (Camp) ลงในแบบฯ ที่ 2 หัวเรื่อง Time (24 hour clock) ในช่องหมายเลข
1 (Leave Camp)

การเดินทางไปจุดศูนย์กลางกลุ่ม แปลงตัวอย่าง
1. เมื่อเดินทางโดยรถยนต์หรือพาหนะอื่นๆ เช่น เรือหรือแพ ถึงบริเวณที่ใกล้ จุ ด ศู น ย์ ก ลางกลุ่ ม
แปลงตัวอย่างมากที่สุด ซึ่งรถยนต์หรือพาหนะอื่นไม่สามารถเดินทางต่อไปได้ต้อ งอาศั ย การเดิ น เท้ า จุ ด นี้
เรียกว่าจุด Starting Point บันทึกค่าพิกัด UTM ของจุดดังกล่าว ลงใน แบบฯ ที่ 2 หัวเรื่ อ ง GPS Starting
Point ช่อง Easting และ Northing ตามลาดับ พร้อมกับบันทึกหมายเลขระวางแผนที่ที่จุ ด ดั ง กล่ า วตกอยู่ ใ น
แบบที่ 1 หัวเรื่อง Map No. ช่อง Starting Point จากนั้นกาหนดจุดใดๆ เป็นจุดอ้างอิง (Reference Point)
โดยเลือกจุดที่อยู่ในรัศมีไม่ควรเกิน 10 เมตร มีลักษณะเด่น สังเกตได้ง่าย ชัดเจนและมี ส ภาพค่ อ นข้ า ง
ถาวร เช่น ก้อนหินขนาดใหญ่ สะพาน เสาไฟฟ้ า หลั ก กิ โลเมตร ต้ น ไม้ ใ หญ่ เป็ น ต้ น จากนั้ น วั ด
ระยะทางและค่ามุม Azimuth จากจุดอ้างอิงไปยัง Starting Point บันทึกค่ า ลงในแบบฯ ที่ 2 หั ว เรื่ อ ง
Ref. Point Details ถ้าหากเป็นต้นไม้ ให้ ร ะบุ ช นิ ด รหั ส พั น ธุ์ ไ ม้ ขนาดเส้ น รอบวงเพี ย งอก (GBH)
พร้อมกับบรรยายการเดิ น ทางจากจุ ด ที่ พัก (Camp) ถึ ง จุ ด Starting Point ลงในแบบฯ ที่ 1 หั ว เรื่ อ ง
Access Notes (From Camp to Starting Point) หลังจากนั้นจัดเตรียมวัส ดุ อุ ปกรณ์ และสั ม ภาระที่ จ าเป็ น
ในการปฏิบัติงาน ก่อนออกเดินทางจาก Starting Point ให้บันทึ ก เวลาลงในแบบฯ ที่ 2 หั ว เรื่ อ ง Time
ช่องหมายเลข 2 (Leave Car)
2. ออกเดินทางจาก Starting Point ไปยังจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่าง โดยใช้ เ ครื่ อ ง
GPS และเข็มทิศในการนาทางและตรวจสอบแนวเส้นทาง เทียบกับแผนที่ภูมิประเทศเป็ น ระยะๆ เพื่ อ ให้
แน่ใจว่าเป็นเส้นทางที่ถูกต้อง โดยให้แผนที่และผู้ใช้อยู่ในแนวทิศเหนือ (ใช้เข็มทิศ) เพื่ อ ป้ อ งกั น การหลง
ทิศและควรพิจารณาลักษณะภูมิประเทศจากแผนที่ภูมิประเทศประกอบ เพื่อเลือกเส้ น ทางเดิ น ที่ เ หมาะสม
เช่นเดินตามลาห้วย ตามสันเขา หรือตัดตรงไปตามทิศทาง ระหว่างเส้ น ทางการเดิ น ให้ สั ง เกตจุ ด เด่ น ที่
สังเกตได้ง่าย เช่น ทางแยก ลานหิน สันเขา ลาห้วย หรื อ ก้ อ นหิ น ขนาดใหญ่ เป็ น ต้ น พร้ อ มบั น ทึ ก
(mark) ค่าพิกัด UTM ของจุ ด ดั ง กล่ า วไว้ ใ นเครื่ อ ง GPS แล้ ว บั น ทึ ก ค่ า ลงใน แบบฯ ที่ 2 หั ว เรื่ อ ง
Navigation Notes และบรรยายการเดินทาง ในหัวเรื่อง Notes (From Starting Point to Cluster Center)
3. เมื่อเดินทางถึงจุดที่ค่าพิกัด UTM ที่อ่านได้จากเครื่อง GPS ตรงกับค่าพิกัดของ กลุ่ม แปลง
ตัวอย่างที่กาหนดไว้ในแผนที่ซึ่งอาจคลาดเคลื่อนเล็กน้อย ทั้งนี้เนื่องจากการอ่ า นค่ า พิ กั ด ของเครื่ อ ง GPS
เอง แสดงว่าได้เดินทางมาถึงจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่างแล้ว บันทึกค่าพิกั ด ดั ง กล่ า วลงในเครื่ อ ง
GPS และในแบบบันทึกข้อมูลทุกแบบหัวเรื่อง GPS Plot Centre (Site) พร้อมกับค่าความคลาดเคลื่ อ น
(EPE) โดยดูจากเครื่อง GPS ลงในแบบฯ ที่ 1 ช่อง Comment และบันทึกเวลาที่เดินทางถึงจุดศู น ย์ ก ลาง
ของกลุ่มแปลงตัวอย่าง ในแบบฯ ที่ 2 หัวเรื่อง Time ช่องหมายเลข 3 (Arrive Plot Centre) จากนั้ น ท า
การฝังแท่งเหล็กที่ตาแหน่งจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่างให้อยู่ต่ ากว่ า ระดั บผิ ว ดิ น ประมาณ 5 ซม.
เพื่อใช้ในการติดตามการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต กรณีไม่สามารถฝั ง แท่ ง เหล็ ก เนื่ อ งจากสาเหตุ ต่ า งๆ
เช่น ชั้นล่างเป็นหิน พื้นที่เป็นลานหินหรือเป็นแหล่งน้า ให้พิจารณาบริเวณใกล้เคียงที่สามารถด าเนิ น การได้
29
แล้ววัดมุม พร้อมระยะทางจากตาแหน่งที่ฝังแท่งเหล็กได้ไปยังจุดศูนย์กลางกลุ่ม แปลงตั ว อย่ า ง แล้ ว บั น ทึ ก
ลงในแบบฯ ที่ 1 ช่อง Comment ด้วย
4. วาดแผนที่สังเขปลงในแบบฯ ที่ 1 หัวเรื่ อ ง Sample Plot Location Sketch Map แสดง
เส้นทางการเดินทางจากที่พัก (Camp) ถึงจุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตัวอย่าง
5. กรณีไม่สามารถเดินทางไปถึงกลุ่ม แปลงตั ว อย่ า งที่ ก าหนด หรื อ ไปถึ ง แล้ ว แต่ ไ ม่ ส ามารถ
ปฏิบัติงานได้เนื่องจากมีอุปสรรคหรือความเสี่ยงภัย เช่น ยานพาหนะเสียหาย ฝนตกหนั ก ไม่ ส ามารถข้ า ม
น้าได้ เป็นหน้าผาสูงชัน พื้นที่หวงห้ามเฉพาะ เป็นต้น ให้ระงับการปฏิบัติงานและพิ จ ารณาว่ า จะระงั บเป็ น
การชั่วคราวหรือถาวร พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ แล้วบันทึกลงในแบบฯ ที่ 10

การวางแปลงตัวอย่าง
แปลงตัวอย่างที่ใช้ใ นการเก็บข้อมูลมี ทั้งแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) และ
แปลงตัวอย่างชั่วคราว (Temporary Sample Plot) โดยแปลงตัวอย่ างถาวรจะเก็บข้อมูล ครบทุกหัวข้อ
และมีการติดตามผล ส่วนแปลงตัวอย่างชั่วคราวจะไม่เก็บข้อมูล บางรายการและไม่มีการติดตามผล โดยมี
ขั้นตอนการวางแปลงตัวอย่างดังนี้
1. วางแปลงตัวอย่างรูปวงกลมที่ มี จุ ด ศู น ย์ ก ลางร่ ว มกั น รั ศ มี ต่ า งกั น จ านวน 3 แปลง
คือรัศมี 3.99 12.62 และ 17.84 เมตรตามลาดับ จุดศูนย์กลางของกลุ่มแปลงตั ว อย่ า งที่ ฝั ง แท่ ง
เหล็กจะเป็นจุดศูนย์กลางของแปลงตั ว อย่ า งถาวร หาเศษไม้ ปลายไม้ ที่ อ ยู่ น อกพื้ น ที่ แปลงตั ว อย่ า ง
(ระยะทางมากกว่า 20 เมตรจากจุดศูนย์กลาง) เพื่อไม่ให้มีผลกระทบกั บข้ อ มู ล ในแปลงตั ว อย่ า ง ท า
เป็นหลักปักไว้ที่จุดศูนย์กลางแล้วใช้เชือกสร้างเป็นวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกันทั้ง 3 แปลง
2. วางแปลงตัวอย่างรูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากันแต่จุดศูนย์กลางต่างกันจานวน 4 แปลง รัศมี 0.631
เมตร โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ไปตามทิศ หลั ก ทั้ ง 4 ทิ ศ คื อ
ทิศเหนือ (N) ทิศตะวันออก (E) ทิศใต้ (S) และทิศตะวันตก (W)
3. วางแปลงตัวอย่างที่มีลักษณะเป็นเส้นตรง (Transect Line) จานวน 2 เส้ น ความยาวเส้ น ละ
17.84 เมตร ทั้งสองเส้นเริ่มต้นจากจุดศูนย์กลางของแปลงตั ว อย่ า ง ท ามุ ม ตั้ ง ฉากกั น โดยเส้ น ที่ 1
(Transect 1) ได้กาหนดค่ามุม Azimuth ไว้แล้ว เส้นที่ 2 (Transect 2) จะมีค่ามุมเท่ากับเส้น ที่ 1 บวก
90 องศา
4. รัศมีของแปลงตัวอย่างรูปวงกลมกาหนดเป็นค่าของระยะทางตามแนวราบ (Horizontal Length)
ดังนั้นหากพื้นที่มีความลาดชัน (Slope) จะต้องทาการปรับแก้ระยะทาง โดยใช้ เ ข็ ม ทิ ศ วั ด ค่ า ความลาดชั น
แล้วปรับแก้ระยะทางตามตารางเปรียบเทียบระยะทางตามแนวราบกับระยะทาง ตามแนวลาดชั น ดั ง แสดง
ในตารางที่ 3
5. ตาแหน่งจุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่างชั่วคราว จานวน 4 แปลง ก าหนดให้ ห่ า ง จากจุ ด
ศูนย์กลางของแปลงตัวอย่างถาวร เป็นระยะทางในแนวราบเท่ า กั บ 50 เมตร ตามทิ ศ หลั ก ทั้ ง 4 ทิ ศ
การหาตาแหน่งจุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่างชั่วคราวทั้ง 4 แปลง สามารถด าเนิ น การได้ ด้ ว ยการใช้ เ ทป
วัดระยะทางหรือเครื่อง GPS ขึ้นกับสภาพภูมิประเทศ การวางแปลงตัวอย่าง ให้ดาเนินการเช่ น เดี ย วกั บ
การวางแปลงตัวอย่างถาวร ที่จุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่า งชั่ ว คราว ทุ ก แปลงให้ บัน ทึ ก ค่ า พิ กั ด UTM
ลงในเครื่อง GPS และบันทึกลงในแบบฯ ทุกแบบของแต่ละ Plot Site หัวเรื่อง GPS Plot Centre (Site)
30
6. เพื่อความชัดเจนในการบันทึกและรวบรวมแบบบั น ทึ ก ข้ อ มู ล แต่ ล ะชุ ด ได้ ก าหนดอั ก ษรย่ อ
ประจาแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง (Plot Site) ไว้ดังนี้
6.1 อักษร C = แปลงตัวอย่างถาวร หรือแปลงที่อยู่ตรงกลาง (Cluster Center)
6.2 อักษร N = แปลงที่อยู่ทางด้านทิศเหนือ (North)
6.3 อักษร E = แปลงที่อยู่ทางด้านทิศตะวันออก (East)
6.4 อักษร S = แปลงที่อยู่ทางด้านทิศใต้ (South)
6.5 อักษร W = แปลงที่อยู่ทางด้านทิศตะวันตก (West)
เมื่อเก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่างใด ให้บันทึกอักษรย่อประจ าแปลงตั ว อย่ า งนั้ น ๆ ควบคู่ ไ ปกั บ
หมายเลขกลุ่มแปลงตัวอย่าง หัวเรื่อง Cluster # และ Plot Site ในแบบฯ ทุกแบบทุกหน้า
7. เมื่อวางแปลงตัวอย่างเสร็จแล้ว ให้ถ่ายภาพบริเวณจุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่า งและสภาพ
ทั่วไปบริเวณแปลงตัวอย่าง จานวน 3-4 ภาพ พร้อมกับบันทึกเลขลาดับม้วนฟิล์มและหมายเลขล าดั บภาพ
เช่น ม้วนที่ 1 ภาพที่ 1–4 ไว้ในแบบฯ ที่ 1 หัวเรื่อง Comment
8. บันทึกค่าความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (MSL) ของที่ ตั้ ง แปลงตั ว อย่ า งใน หั ว เรื่ อ ง
Elevation Plot Centre (m)
31
ตารางที่ 2 เปรียบเทีย บรัศ มีของแปลงตัวอย่ างรูปวงกลมระหว่างระยะทางตามแนวราบกับระยะทาง
ตามแนวลาดชัน

ระยะรัศมีตามแนวลาดชันเมือ่ เทียบกับระยะตามแนวราบ (เมตร)


มุมลาดชัน (องศา)
0.631* 3.99* 12.62* 17.84*
1 0.631 3.99 12.62 17.84
2 0.631 3.99 12.63 17.85
3 0.632 4.00 12.64 17.86
4 0.633 4.00 12.65 17.88
5 0.633 4.01 12.67 17.91
6 0.634 4.01 12.69 17.94
7 0.636 4.02 12.71 17.97
8 0.637 4.03 12.74 18.02
9 0.639 4.04 12.78 18.06
10 0.641 4.05 12.81 18.12
11 0.643 4.06 12.86 18.17
12 0.645 4.08 12.90 18.24
13 0.648 4.09 12.95 18.31
14 0.650 4.11 13.01 18.39
15 0.653 4.13 13.07 18.47
16 0.656 4.15 13.13 18.56
17 0.660 4.17 13.20 18.66
18 0.663 4.20 13.27 18.76
19 0.667 4.22 13.35 18.87
20 0.671 4.25 13.43 18.98
21 0.676 4.27 13.52 19.11
22 0.681 4.30 13.61 19.24
23 0.685 4.33 13.71 19.38
24 0.691 4.37 13.81 19.53
25 0.696 4.40 13.92 19.68
26 0.702 4.44 14.04 19.85
27 0.708 4.48 14.16 20.02
28 0.715 4.52 14.29 20.21
29 0.721 4.56 14.43 20.40
30 0.729 4.61 14.57 20.60
31 0.736 4.65 14.72 20.81
32 0.744 4.70 14.88 21.04
33 0.752 4.76 15.05 21.27
34 0.761 4.81 15.22 21.52
35 0.770 4.87 15.41 21.78
36 0.780 4.93 15.60 22.05
37 0.790 5.00 15.80 22.34
38 0.801 5.06 16.02 22.64
39 0.812 5.13 16.24 22.96
40 0.824 5.21 16.47 23.29
หมายเหตุ : * = ระยะรัศมีตามแนวราบ
32
การเก็บและบันทึกข้อมูลในแปลงตัวอย่าง
แปลงตัวอย่าง 1 กลุ่ม (Cluster) ประกอบด้ ว ยแปลงตั ว อย่ า งถาวร 1 แปลง (แปลงที่ อ ยู่ ต รง
กลาง) และแปลงตัวอย่างชั่วคราว 4 แปลง (ตามทิศหลักทั้ง 4 ทิศ) การเก็ บข้ อ มู ล ในแปลงตั ว อย่ า ง
ถาวรจะดาเนินการทุกหัวเรื่อง ส่วนแปลงตัวอย่างชั่วคราวจะเก็ บข้ อ มู ล ในลั ก ษณะเดี ย วกั น ยกเว้ น ข้ อ มู ล
ตาแหน่งของต้นไม้ (Position) และความกว้างของเรื อ นยอด (Crown width) เนื่ อ งจากไม่ มี ก ารติ ด ตาม
การเปลี่ยนแปลง คาอธิบายต่อไปนี้จึงหมายถึงการเก็บและบันทึกข้อมูลต่างๆ ในแปลงตัวอย่างถาวร
ในกรณีของข้อ มู ล ที่ เ กี่ ย วกั บระยะทาง จะหมายถึ ง ระยะทางตามแนวราบ หากพื้ น ที่ แปลง
ตัวอย่างมีความลาดชันให้ทาการปรับแก้ให้เป็นระยะทางตามแนวราบ โดยใช้สูตร
B = A Cos 
เมื่อ
B = ระยะทางตามแนวราบ
A = ระยะทางตามความลาดชัน
 = ค่ามุมความลาดชัน (Slope)

θ
B
ภาพที่ 2 การปรับแก้ระยะทางตามความลาดชันเป็นระยะทางในแนวราบ

1. การเก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Landuse Type)


1.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 1
1.2 เก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร
1.3 พิจารณาการใช้ประโยชน์ที่ดินในแปลงตั ว อย่ า งว่ า เป็ น ป่ า ชนิ ด ใด เลื อ กระบุ ต าม
หัวข้อที่กาหนด หากเป็นพื้นที่ลักษณะอื่นให้บันทึกรายละเอียดว่าเป็นพื้นที่อะไร

2. การเก็บข้อมูลลักษณะทั่วไปของพื้นที่ (Site Features)


2.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 2
2.2 เก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร
2.3 เก็บและบันทึกข้อมูล ดังนี้
2.3.1 ความลาดชัน (Slope) ใช้เข็มทิศในการวัดค่าความลาดชัน หน่วยเป็นองศา
2.3.2 ทิศด้านลาด (Aspect) ใช้เข็ ม ทิ ศ ตรวจสอบว่ า พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ ล าดไปทาง
ทิศใด บันทึกชื่อทิศด้วยอักษรย่อ คือ N NE E SE S SW W และ NW
33
2.3.3 พิจารณาตาแหน่งของแปลงตัวอย่างว่าวางตัวอยู่บนความลาดชั น ต าแหน่ ง ใด
ของพื้นที่โดยรวม (Rel. Slope Position) เลือกระบุตามหัวข้อที่กาหนด
2.3.4 ประเมินการครอบคลุมพื้นที่ของหินแบบต่างๆ (หิ น ก้ อ น = Cobbles/ Stone
หรือหินดาน = Bedrock) บันทึกเป็นเปอร์เซ็นต์
2.3.5 พิจารณารูปร่างของพื้นผิวแปลงตัวอย่า ง (Surface Shape) โดยรวม ว่ า เป็ น
ลักษณะใด เลือกระบุตามหัวข้อที่กาหนด
2.3.6 บันทึกเปอร์เซ็นต์การครอบคลุ ม พื้ น ที่ ข องน้ าบริ เ วณแปลงตั ว อย่ า ง (Open
Water)

3. การเก็บข้อมูลพืชล้มลุก ไม้พุ่ม กล้าไม้และลูกไม้ (Herb Shrub Seedlings & Saplings)


3.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 3
3.2 เก็ บข้ อ มู ล ชนิ ด และจ านวนกล้ า ไม้ (Seedling) ของพรรณไม้ ทุ ก ชนิ ด ในแปลง
ตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 0.631 เมตร ทั้ง 4 วง บันทึกข้อมูลของแต่ละวงให้ตรงตามช่องที่กาหนด โดยกล้ า
ไม้ คือไม้ที่พิจารณาแล้วว่ารอดตายและมีความสูงจากระดับพื้นดินไม่ถึง 1.30 เมตร
3.3 ประเมินเปอร์เซ็นต์การครอบคลุ ม พื้ น ที่ ข องกล้ า ไม้ ทุ ก ชนิ ด รวมกั น ภายในแปลง
ตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
3.4 เก็บข้อมูลชนิดและจานวนลูกไม้ (Sapling) ของพรรณไม้ทุกชนิด ในแปลง ตั ว อย่ า ง
รูปวงกลมรัศมี 3.99 เมตร โดยลูกไม้ คือไม้ที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้ น รอบวงเพี ย ง
อก (GBH) น้อยกว่า 15 เซนติเมตร

4. การเก็บข้อมูลไม้ยืนต้น (Trees)
4.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 4
4.2 เก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร
4.3 เลือกวัดเฉพาะต้นไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า หรื อ เท่ า กั บ 15
เซนติเมตรขึ้นไป พร้อมระบุว่าวัดด้วยเครื่องมือ (M) หรือการประมาณ (E)
4.4 บันทึกข้อมูลชนิดไม้และรายละเอียดเกี่ยวกับต้นไม้ ดังนี้
4.4.1 ตาแหน่งของต้นไม้ (Position) ทาการวั ด ค่ า มุ ม Azimuth โดยใช้ เ ข็ ม ทิ ศ
ส่องมุมจากจุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่างไปยังจุด กึ่ ง กลางของต้ น ไม้ พร้ อ มวั ด ระยะทางระหว่ า งจุ ด
ศูนย์กลางของแปลงตัวอย่างถึงจุดกึ่งกลางด้านข้างบริเวณเปลือกนอกของต้นไม้ (ภาพที่ 3)
34

ภาพที่ 3 การวัดมุมและระยะทางของตาแหน่งต้นไม้

4.4.2 ตรวจสอบว่าต้นไม้นั้ น ยั ง มี ชี วิ ต หรื อ ตาย (Live/Dead) ยื น ต้ น หรื อ ล้ ม ลง


(Stand/Fall)
4.4.3 วัดขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ของต้นไม้ด้วยเทปวัดความโต
4.4.4 วัด (M) ความสูงของต้นไม้จากโคนต้ น ถึ ง ปลายยอด (Total Height) ด้ ว ย
เครื่องมือวัดความสูง (Clinometer หรือ Haga Hypsometer) หรือเป็นการประมาณ (E)
4.4.5 ประมาณจานวนท่ อ นของต้ น ไม้ (Number of logs) โดยก าหนดให้ ไ ม้ 1
ท่อนมีความยาว 5 เมตร ถ้าความยาวของท่อนไม้ไม่ถึง 5 เมตร แต่ยาวมากกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของความยาว
เต็มท่อนให้คิดเป็น 1 ท่อน ถ้าความยาวน้อยกว่าครึ่งท่อน ไม่คิดจานวนท่อน
4.4.6 ประเมินคุณภาพของท่ อ นซุ ง ที่ ใ ช้ ท าเป็ น สิ น ค้ า ได้ (Timber Quality) โดย
พิจารณาตามชั้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก และลักษณะทางกายภาพของต้นไม้ว่าเปลาตรงดีเพียงใด
4.4.7 ประเมินระดับชั้นของเรื อ นยอด (Crown Class) โดยจ าแนกออกเป็ น
Dominant Co – Dominant Intermediate และ Suppress
35
4.4.8 ประเมิ น ความสมบู ร ณ์ ข องเรื อ นยอด (Crown Condition) โดยจ าแนก
ออกเป็น Good Medium และ Poor
4.4.9 ประเมินความกว้างของเรือนยอด (Crown Width) โดยการถ่ า ยทอดขนาด
ของเรือนยอดลงในแนวดิ่งแล้วประมาณด้านกว้าง (W1) และด้านยาว (W2)
4.4.10 หากต้นไม้ที่เก็บข้อมูลมีกล้วยไม้เกาะอยู่ ให้นับจานวนกอ หรื อ มี ลั ก ษณะ
ผิดปกติ เช่น มีหลายนาง พูพอนสูง ยอดหัก ฯลฯ ให้บันทึกในช่อง Remark ให้ตรงกับลาดับของต้ น ไม้
นั้นๆ ด้วย

5. การเก็บข้อมูลไม้ไผ่ หวาย และตอไม้ (Bamboo, Erect rattan and Tree stump)


5.1 ใช้แบบบั นทึกข้อมูล แบบที่ 5
5.2 เก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่ างรูปวงกลมรั ศมี 12.62 เมตร
5.3 การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับไม้ไผ่ (Bamboo) จะต้องเป็นไม้ไผ่ที่ยังมีชี วิตอยู่ มีความสูง
มากกว่าหรือเท่ากับ 1.30 เมตรขึ้นไป และให้ตรวจสอบว่ากอไผ่ตกอยู่ในแปลงตัวอย่ างทั้งกอหรือไม่
ถ้าอยู่ในแปลงตัวอย่างเพี ยงบางส่ว นให้เก็บข้อมูลเฉพาะส่วนที่อยู่ในแปลงตัวอย่าง เท่านั้ น ข้อมูลที่เก็บคือ
5.3.1 ชนิดและจานวนล าของไม้ไผ่ในกอหนึ่งๆ
5.3.2 ขนาดเส้นรอบวงเพียงอกเฉลี่ยของลาไผ่ในแต่ ละกอ
5.3.3 ความยาวเฉลี่ยของลาไผ่ใ นแต่ ละกอ
5.4 การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับหวายเส้นตั้ง (Erect rattan) จะต้องเป็นเส้นหวายที่ยังมีชีวิตอยู่
มีความสูงมากกว่าหรือเท่ากับ 1.30 เมตรขึ้นไป เป็นหวายที่ยังไม่ทอดเลื้อยและให้ ตรวจสอบว่ า กอหวาย
ตกอยู่ในแปลงตัวอย่างทั้งกอหรือไม่เช่นเดียวกับกรณีไม้ไผ่ ข้อมูลที่เก็บ คือ
5.4.1 ชนิดและจานวนเส้นหวายในแต่ละกอ
5.4.2 ขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของหวายเส้นที่มีขนาดเล็กที่สุด ใหญ่ที่ สุ ด และเส้ น
รอบวงเฉลี่ยของเส้นหวายในกอ
5.4.3 ความยาวเฉลี่ยของเส้นหวายในกอ
5.5 การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับตอไม้ (Tree stump) จะต้องเป็นตอไม้ที่มีขนาด เส้ น รอบวงที่
ปลายตอมากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป และมีความสูงน้อยกว่า 1.30 เมตร ถ้ า ตอไม้ มี ค วาม
สูงมากกว่า 1.30 เมตร จะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นต้นไม้ ข้อมูลที่เก็บ คือ
5.5.1 ขนาดเส้นรอบวงของปลายตอ
5.5.2 ความสูงจากระดับพื้นดินถึงปลายตอ
5.5.3 พิจารณาความเก่าหรือใหม่ของตอ โดยตอเก่า คือ ตอที่ มี อ ายุ ม ากกว่ า หรื อ
เท่ากับ 1 ปี ตอใหม่ คือตอที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี

6. การเก็บข้อมูลไม้ล้มขอนนอนไพร (Coarse Woody Debris : CWD) หวายเลื้ อ ย (Rattan)


และไม้เถา (Climbers)
6.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 6 และ 7 ซึ่งมีหัวเรื่องที่เหมือนกัน ยกเว้นค่ามุม Azimuth
6.2 เก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่างที่มีลักษณะเป็นเส้นตรง (Transect line) ความยาว 17.84
เมตร จานวน 2 เส้น โดยแบบฯ ที่ 6 ใช้เก็บข้อมูลของเส้นที่ 1 แบบฯ ที่ 7 ใช้เก็บข้อมูลของเส้นที่ 2
36
6.3 ข้อมูลที่ทาการศึกษา
6.3.1 ไม้ CWD คือไม้ล้มขอนนอนไพร เศษไม้ ปลายไม้ ที่ ต าย หรื อ หลุ ด ขาดจาก
ต้นเดิมโดยไม่มีส่วนที่ถูกพยุงหรือค้าจุนลาต้นติดอยู่ในดิน และต้ อ งมี ข นาดเส้ น รอบวงตรงจุ ด ที่ Transect
line พาดผ่านมากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป
6.3.2 ไม้เถา เก็บข้อมูลเฉพาะไม้เถาที่ยังมีชีวิตอยู่และมี ข นาดเส้ น รอบวง ณ จุ ด ที่
Transect line พาดผ่านมากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป
6.3.3 หวายเลื้อย เก็บข้อมูลเฉพาะหวายเลื้อยที่ยังมีชีวิตอยู่ ทุ ก เส้ น ทุ ก ขนาดเส้ น
รอบวงที่ Transect line พาดผ่าน
6.4 วัดขนาดและเก็บข้อมูล ไม้ CWD หวายเลื้อยและไม้ เ ถาที่ อ ยู่ บนและเหนื อ พื้ น ดิ น
ทุกจุดที่เส้น Transect line พาดผ่าน ข้อมูลที่ต้องบันทึกแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
6.4.1 ลักษณะเป็ น รู ปทรงกระบอก (Round Pieces) เก็ บข้ อ มู ล ชนิ ด เส้ น รอบ
วงและวัดมุมที่ทากับแนวระนาบ ตรงจุดที่ Transect line พาดผ่าน
6.4.2 ลั ก ษณะเป็ น กองหรื อ ไม่ เ ป็ น รู ปทรงกระบอก (Accumulation or Odd
Shaped Pieces) เก็บข้อมูลความยาวในส่วนที่ Transect line พาดผ่านและความสูงหรือความหนาของสิ่ ง นั้ น
ไม่ต้องระบุชนิด เนื่องจากบางครั้งสิ่งที่เก็บข้อมูลผุสลาย หรือมีหลากหลายชนิด กองสุ ม กั น เป็ น กองใหญ่
ยากต่อการแยกชนิด
6.5 ในกรณีที่ไม่สามารถวัดข้อมูลได้ เช่น อยู่สูงเกินไป ให้ทาการประมาณค่ า แล้ ว บั น ทึ ก
ข้อมูลในช่อ ง M/E ด้วยตัวอักษร E

7. การเก็บข้อมูลปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพื้นที่ป่า (Site disturbance)


7.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 11
7.2 เก็บข้อมูลในแปลงตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร
7.3 พิจารณาปัจจัยต่างๆ ทั้งที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ สัตว์ และเกิดตามธรรมชาติ
ซึ่งมีผลกระทบต่อสภาพป่า พืชพรรณ และสิ่งแวดล้อม แล้วบันทึกตามหัวข้อที่กาหนด

8. การเก็บข้อมูลตัวอย่างพรรณไม้ (Plant specimens)


8.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 12
8.2 ทาการเก็บตัวอย่างพืชหรือพรรณไม้ที่ไม่สามารถจาแนกชื่อเป็นทางการได้ หรื อ ทราบ
ชื่อท้องถิ่นแต่ไม่แน่ใจชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical Name) ตามวิธีการเก็บพรรณไม้ พร้ อ มบั น ทึ ก ข้ อ มู ล
ต่างๆ ให้ชัดเจนครบถ้วน เพื่อให้นักพฤกษศาสตร์ตรวจหาชื่อที่ถูกต้องต่อไป
8.3 การเก็บตัวอย่าง ควรเก็บจากพืชชนิดเดียวกันที่อยู่นอกแปลงตัวอย่างแทน เพื่อไม่ให้
เป็นการรบกวนสภาพพืชพรรณในแปลงตัวอย่าง
8.4 วิธีการเก็บตัวอย่างพรรณไม้ที่ถูกต้อง ดูรายละเอียดในบทที่ 5

9. การบันทึกข้อมูลแปลงตัวอย่างที่ไม่สามารถดาเนินการได้ (Unavailable Plot Site)


9.1 ใช้แบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 10
37
9.2 กรณีที่ไม่สามารถดาเนินการได้ทั้งกลุ่มแปลงตัวอย่าง (Cluster) ให้บันทึกรายละเอี ย ด
ต่างๆ ลงในแบบฯเพียงชุดเดียว พร้อมบันทึกในช่อง Remark ว่าไม่สามารถดาเนินการได้ทั้งกลุ่ม
9.3 กรณีไม่สามารถดาเนินการได้เ ฉพาะแปลงย่ อ ย (Plot Site)แปลงหนึ่ ง แปลงใด ให้
บันทึกรายละเอียดเฉพาะแปลงนั้นๆ

10. การบันทึกสภาพอากาศ (Weather) ขณะปฏิ บัติ ง านให้ บัน ทึ ก ลั ก ษณะสภาพภู มิ อ ากาศ


ขณะที่ปฏิบัติงานว่าเป็นเช่นไร เช่น แดดจัด ร้อนอบอ้าว ฝนตก ลมแรง เป็ น ต้ น ในแบบฯ แบบที่ 2
หัวเรื่อง Weather

การกาหนดจุดอ้างอิงของแปลงตัวอย่าง
การกาหนดจุดอ้างอิงของแปลงตัวอย่างจะมีทั้งภายในและภายนอกแปลงตัวอย่าง ซึ่งจะดาเนินการ
เฉพาะในแปลงตัวอย่างถาวรเท่านั้น เพื่อใช้เป็นจุดอ้างอิงสาหรับติดตามการเปลี่ยนแปลง

1. จุดอ้างอิงภายในแปลงตัว อย่ า ง (Reference Point Inside Plot ; RIP) มี ขั้ น ตอน ด าเนิ น การ
ดังนี้
1.1 เลือกต้นไม้ขนาดใหญ่ที่อยู่ในแปลงตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร ที่เป็นจุดเด่ น
สังเกตได้ง่าย แล้วทาเครื่องหมายจุดอ้างอิงโดยใช้สีสเปรย์พ่นคาว่า “RIP” ตามด้วยหมายเลข Cluster นั้ น ๆ
เช่น “RIP 123” โดยพ่นให้อยู่ในระดับสายตา
1.2 บันทึก คาว่า RIP ในช่อง Remark ของแบบฯ แบบที่ 4 ให้ตรงกับช่ อ งข้ อ มู ล ของ
ต้นไม้ที่เลือก
1.3 บันทึกค่าพิกัดของต้นไม้ที่ถูกเลือก พร้อมบันทึกค่าลงในแบบฯ ที่ 2 ช่อง Comments
1.4 กรณีหาต้นไม้ที่เหมาะสมไม่ได้หรือไม่มีต้นไม้ ให้หาจุดอ้างอิงอื่นๆแทน เช่ น ก้ อ น
หินขนาดใหญ่ หรือใช้ไม้ปักในตาแหน่งที่เหมาะสมแล้วดาเนินการเช่นเดียวกัน
2. จุด อ้ า งอิ ง ภายนอกแปลงตั ว อย่ า ง (Reference Point Outside Plot ; ROP) มี ขั้ น ตอน
ดาเนินการ ดังนี้
2.1 เลือกต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ เ ป็ น จุ ด เด่ น สั ง เกตได้ ง่ า ย มี ข นาดเส้ น รอบวงเพี ย งอก
ไม่น้อยกว่า 70 ซม. ที่อยู่นอกแปลงตัวอย่างรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร และควรอยู่ห่างจากจุ ด ศู น ย์ ก ลาง
ของแปลงตัวอย่างไม่เกิน 50 เมตร ทาเครื่องหมายจุดอ้างอิง โดยใช้สีสเปรย์ พ่น ค าว่ า ROP ตามด้ ว ย
หมายเลข Cluster นั้นๆ เช่น “ROP 123” โดยพ่นให้อยู่ในระดับสายตา
2.2 บันทึกชนิดไม้ ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก ค่าพิกัด ค่ามุม Azimuth และระยะทาง
จากจุด ROP ถึงจุดศูนย์กลางของแปลงตัวอย่าง ลงในแบบฯที่ 2 ในช่ อ ง Comment พร้ อ มกั บบั น ทึ ก ค่ า
พิกัดของ ROP ไว้ในเครื่อง GPS ด้วย
2.3 กรณีไม่สามารถหาต้นไม้ที่เหมาะสมได้ ให้ ห าจุ ด อ้ า งอิ ง อื่ น ๆแทน เช่ น ก้ อ นหิ น
ขนาดใหญ่ หรือใช้ไม้ปักในตาแหน่งที่เหมาะสมแล้วดาเนินการเช่นเดียวกัน
38
การดาเนิ นการหลังเสร็จสิ้ นการเก็บข้อมูล

หลังจากดาเนินการเก็บข้อมูลต่างๆ ในแปลงตัวอย่างเสร็จสิ้นทั้ง 5 แปลงแล้ว ควรดาเนินการดังนี้


1. ตรวจสอบแบบบันทึกข้อมูลทุกแบบทุกหน้าว่า ได้บันทึ ก ข้ อ มู ล ครบถ้ ว นถู ก ต้ อ งแล้ ว หรื อ ไม่
กรณีที่หัวเรื่องใดไม่มีข้อมูลที่ต้องบันทึกให้กากบาทขีดคร่อมส่วนที่ไม่ใช้ ในส่วนที่มีการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล แต่ ยั ง
มีพื้นที่ตอนล่างเหลืออยู่ให้ขีดเส้นใต้ยาวแสดงการสิ้นสุดข้อความ พร้อมขีดคร่อมส่วนที่เหลือ
2. รวบรวมแบบบันทึกข้อมูลตามข้อ 1 จัดเป็นชุด พร้อมตรวจสอบว่ า มี ค รบทุ ก แบบ หรื อ ไม่
แต่ละแบบมีกี่หน้า แล้วบันทึกลงในแบบฯ ที่ 1 หั ว เรื่ อ ง Tally Sheet Index (Number) และตรวจสอบว่ า
ใน 1 Cluster มีครบ 5 ชุดหรือไม่
3. ก่อนเดินทางออกจากแปลงตัวอย่าง ให้ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ให้ครบถ้วนแล้ ว บั น ทึ ก เวลาที่
ออกจากแปลงตัวอย่าง ในแบบฯ ที่ 2 หัวเรื่อง Time ช่องหมายเลข 4 (Leave Plot)
4. เมื่อเดินทางถึงจุดที่รถยนต์หรือพาหนะจอดอยู่ ให้ บัน ทึ ก เวลาลงในแบบฯ ที่ 2 หั ว เรื่ อ ง
Time ช่องหมายเลข 5 (Arrive Car)
5. เมื่อเดินทางถึงที่พัก (Camp) ให้บันทึกเวลาลงในแบบฯ ที่ 2 หัวเรื่อง Time ช่องหมายเลข
6 (Arrive Camp) เป็นอันเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานภาคสนามในแต่ละวัน

หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานภาคสนามในแต่ละเดือน ให้ตรวจสอบและรวบรวมแบบบั น ทึ ก
ข้อมูลทุกแบบทุกแปลงตัวอย่างที่ปฏิบัติงานในเดือนนั้นๆ ส่งให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิ ด ชอบด้ า นการประมวลผล
และวิเคราะห์ข้อมูลดาเนินการต่อไป พร้อมนาข้อมูลในเครื่อง GPS บันทึกลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย
39
บทที่ 5
การเก็บตัวอย่างพรรณไม้

จากการที่พรรณไม้ในป่าธรรมชาติมีอยู่มากมายหลายชนิด ทาให้ไม่สามารถชี้ชัดหรือจ าแนกได้ ว่ า


ประเทศไทยมีพรรณไม้ จ านวนกี่ ช นิ ด ซึ่ ง ต้ อ งใช้ เ วลาในการส ารวจและศึ ก ษาต่ อ ไปอี ก การศึ ก ษาด้ า น
พฤกษศาสตร์ที่ว่าด้วยการจาแนกพันธุ์พืชหรือที่เรียกว่าอนุ ก รมวิ ธ านพื ช (Plant Taxonomy) เป็ น เรื่ อ งที่
ละเอียดอ่อน จะต้องเริ่มศึกษาจากพื้นฐานของพืชชนิดต่างๆ จากความรู้จักพืชแต่ละชนิ ด ในระดั บท้ อ งถิ่ น
หรือระดั บพื้ น บ้ า น รู้ จั ก การใช้ ป ระโยชน์ ศึ ก ษารายละเอี ย ดต่ า ง ๆ ของพื ช จากชนิ ด ที่ รู้ จั ก แล้ ว น ามา
เปรียบเทียบกับชนิดที่ไม่รู้จักต่อไปเรื่อย ๆ จนถึงระดับสากล กล่ า วคื อ รู้ จั ก ชื่ อ พฤกษศาสตร์ (Botanical
name) ที่ถูกต้อง ซึ่งต้องใช้เวลาในการศึกษาอาศัยความรู้และประสบการณ์ ใ นการได้ พบเห็ น ตั ว อย่ า งพื ช
จานวนมากอันจะส่งผลให้การวิเคราะห์ชื่อพืชกระทาได้ง่าย และถูกต้องแม่นยายิ่งขึ้น

ในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ ข้อมูลสาคัญอย่างหนึ่งที่ต้องบันทึกขณะปฏิบัติงานคื อ ชื่ อ พรรณไม้


ซึ่งการได้ชื่อพรรณไม้ที่ถูกต้อง จะทาให้ข้อมูลการสารวจถูกต้องสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น การได้ ชื่ อ ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
อาจทาให้ข้อมูลเกิดความคลาดเคลื่อน ปัญหาที่พบก็คือนักสารวจทรัพยากรป่ า ไม้ ไ ม่ แน่ ใ จหรื อ ไม่ รู้ จั ก ชื่ อ
พฤกษศาสตร์ของพรรณไม้ แต่ ล ะชนิ ด ที่ ส ารวจพบทั้ ง หมด การบั น ทึ ก ชื่ อ พื้ น เมื อ งแล้ ว น ามาค้ น หาชื่ อ
พฤกษศาสตร์นั้น บางชนิดก็ถูกต้องบางชนิดอาจผิดพลาดได้ เนื่องจากพรรณไม้บางชนิ ด มี ชื่ อ เรี ย กแตกต่ า ง
กันในแต่ละท้องถิ่น ทั้งๆ ที่เป็นชนิดเดียวกัน หรือบางชนิดมีชื่อพื้นเมืองในแต่ละท้องถิ่นซ้าหรือเหมื อ นกั น
แต่เป็นไม้คนละชนิด ทาให้เกิดความสับสนหรือไม่แน่ใจในชื่อพฤกษศาสตร์ ที่ ถู ก ต้ อ ง วิ ธี แก้ ปัญหาก็ คื อ
การเก็บตัวอย่างพรรณไม้ชนิดนั้น ๆ ทั้งใบ ดอก และผล (ตามวิธีการเก็บตัวอย่า งที่ ถู ก ต้ อ ง) น าไปให้
ผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านพฤกษศาสตร์ตรวจวิเคราะห์ ห าชื่ อ ที่ ถู ก ต้ อ งซึ่ ง เป็ น วิ ธี ที่ ดี ที่ สุ ด แต่ เ นื่ อ งจากงาน
สารวจทรัพยากรป่าไม้ ผู้ปฏิบัติจะต้องบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ในแปลงตัวอย่างให้ครบถ้วนสมบู ร ณ์ ที่ สุ ด เท่ า ที่
จะทาได้ในขณะนั้น เมื่อสารวจพบพรรณไม้ที่ไม่รู้ชื่อหรือไม่แน่ใจให้เก็บตัว อย่ า งตามวิ ธี ที่ ถู ก ต้ อ ง แต่ ใ น
บางครั้งการเก็บตัวอย่างพรรณไม้อาจกระทาได้ไม่สมบูรณ์ครบถ้วน เช่น เก็บได้เฉพาะใบ ดอกหรือผลอย่า ง
ใดอย่างหนึ่ง เนื่องจากขณะนั้นไม่ใช่ฤ ดูกาลออกดอกออกผลของพรรณไม้นั้นๆ ต้นไม้มีขนาดสู ง ใหญ่ ม าก
หรือเป็นฤดูผลัดใบของพรรณไม้ไม่มีเลย ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานด้ า นการส ารวจทรั พยากรป่ า ไม้ จึ ง ควรจะได้
ศึกษาวิธีการเก็บตัวอย่างพรรณไม้ที่ถูกต้อ ง ตลอดจนการดู แลรั ก ษาตั ว อย่ า งพรรณไม้ จนกระทั่ ง ส่ ง ถึ ง
ผู้เชี่ยวชาญด้านพฤกษศาสตร์ เพื่อตรวจวิเคราะห์หาชื่อที่ถูกต้องต่อไป

อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างพรรณไม้
1. ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ สาหรับเก็ บตั ว อย่ า งพรรณไม้ ข ณะเดิ น ป่ า และขนาด 4 x 6 นิ้ ว
สาหรับดองตัวอย่างขนาดเล็ก เช่น ดอก ผล
2. แผงอัดพรรณไม้ ขนาด 12 x 18 นิ้ว พร้อมด้วยเชือกหรือเข็มขัดสาหรับมัดหรือรัดแผง
3. กระดาษอัดพรรณไม้ โดยอาจใช้กระดาษฟาง กระดาษหนังสือพิมพ์ หรือกระดาษลูกฟูก ในการอัด
4. กรรไกรตัดกิ่งไม้ เพื่อใช้ตัด ตกแต่ง ตัวอย่างพรรณไม้
5. ป้า ย (Tag) สาหรับเขียนหมายเลขหรือชื่อพรรณไม้ ผูกติดกับตัวอย่างพรรณไม้
40
6. สมุด บัน ทึก สาหรับบั นทึกรายละเอียดพรรณไม้ที่เก็บ
7. ดินสอดาอย่างดี สาหรับจดบัน ทึก (ไม่ควรใช้ปากกาในการจดบันทึก เพราะสีของหมึก
จะจางหรือซึมได้เมื่อถูกความชื้น )

วิธีเก็บตัวอย่างพรรณไม้
ในการตรวจหาชื่อพรรณไม้ (Identification) นั้น ต้องอาศัยลักษณะต่ าง ๆ ของใบ ดอกและ
ผลเป็นหลักส าคั ญ ส่วนมากตรวจจากส่ว นประกอบต่ าง ๆ ของดอก คือ จานวน ลัก ษณะ ขนาดของ
เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย รังไข่ กลีบดอก กลีบเลี้ ยง และลัก ษณะของผล พืชบางชนิด มีลัก ษณะ
เด่นชัด สามารถตรวจหาชื่อได้เ พียงแต่เห็ นใบ บางชนิด ต้องตรวจถึงดอกด้ว ย บางชนิดต้องอาศัย ทั้งใบ
ดอกและผลด้ว ย ดังนั้นการเก็บตัวอย่างพรรณไม้ จึงต้องพยายามเก็บให้ได้ตั วอย่างที่ส มบูร ณ์ คือ มีครบ
ทั้งใบ ดอกและผล (ภาพที่ 4)

ที่มา: Veldkamp, J.F. (1987)


ภาพที่ 4 การเก็บตัวอย่างที่สมบูรณ์ ครบทั้งใบ ดอกและผล

หากช่อดอกหรือใบมีลักษณะยาวเกินหน้ากระดาษอัดก็ควรหั ก พั บให้ พอดี ห้ า มตั ด ทิ้ ง


เพราะจะได้ทราบขนาดที่แท้จริง ควรเก็บใบ ดอก ผลหรือเนื้อไม้จากต้นเดียวกัน ข้อควรสังเกต คือ

ใบ ให้เลือกเก็บเฉพาะใบที่สมบูรณ์ ไม่ถูกแมลงหรือสัตว์กัดทาลายหรือใบเป็ น โรค หงิ ก งอ


ไม่ควรเก็บใบที่เกิดตามหน่อที่แตกจากตอหรือกิ่งที่ถูกตัด เพราะจะมีขนาดและ สั ด ส่ ว นผิ ด ไปจากปกติ
41
ควรเก็บใบที่แก่จัดและเก็บมาทั้งช่อติดกับกิ่งด้ ว ย ไม่ ค วรเด็ ด มาเป็ น ใบๆ โดยเฉพาะพวกใบประกอบ
จะต้องเก็บให้ครบทั้งใบ พร้อมใบย่อยให้ครบทุกใบ (ภาพที่ 5)

ที่มา: ก่องกานดา (2541)

ภาพที่ 5 ลักษณะการเก็บใบ

A : ใบเดี่ยว (Simple Leaf)


B : ใบประกอบขนนก (Pinnate Leaf)
C : ใบประกอบแบบนิ้ วมือ (Palmate Leaf)

ดอก เก็บเป็นช่อ เก็บให้ได้ทั้งดอกตูมและดอกบานเต็มที่แล้ว และควรเก็ บ ช่ อ ด อกที่


ติดกับใบด้วย ไม่ควรเก็บดอกที่ร่วงหล่นจากต้นแล้ว

ผล เก็บให้ติดกับกิ่งและใบเช่นกัน ควรเก็บให้ได้ทั้งผลอ่อนและผลแก่ จั ด ที่ ติ ด อยู่ บนต้ น


หากไม่จาเป็นจริง ๆ ไม่ควรเก็บผลที่ร่วงหล่นอยู่ใต้ต้ น ถ้ า ผลเป็ น ผลแห้ ง ขนาดใหญ่ หรื อ ผลสดขนาด
ใหญ่ก็ให้ตากแห้ง แล้วติดป้ายหมายเลขให้ตรงกับหมายเลขของตัวอย่างใบและดอกไว้ ใ ห้ ชั ด เจน ผลสด
อาจตากแห้งโดยการผ่าครึ่งตามยาวเพื่อรักษารูปทรงของผลไว้ หรื อ อาจใช้ ใ ส่ ถุ ง พลาสติ ก แล้ ว ดองด้ ว ย
แอลกอฮอล์ 70% พร้อมกับติดป้ายกากับ

ประเภทไม้ต้น ไม้พุ่มหรือไม้ ล้ ม ลุ ก บางชนิ ด เก็ บเฉพาะกิ่ ง ที่ มี ด อกหรื อ ผลติ ด กั บใบ


ขนาดยาวประมาณ 1 ฟุต

ประเภทไม้ล้ม ลุกต้นเล็ก ๆ หญ้าหรือพืชชั้นต่ าอื่น ๆ เช่น มอส เฟิร์น ควรเก็บทั้งต้นทั้งรากและ


ควรเลือกเฉพาะต้นที่ มีดอกและผล (ภาพที่ 6)
42

ที่มา: ก่องกานดา (2541)

ภาพที่ 6 ลักษณะการเก็บไม้ ล้มลุก ต้ นเล็ก ๆ หญ้าหรือพืชชั้นต่าอื่น ๆ

A : ตัวอย่างที่ส มบูร ณ์ มีทั้งใบ ดอก และผล


B : ตัวอย่างพืชล้ม ลุก เช่น หญ้า และพืชขนาดเล็ก

การเก็บตัวอย่างพืชในวงศ์ปาล์ม (Palme) เช่น หมาก หวาย และปาล์ ม ชนิ ด ต่ า ง ๆ จะต้ อ ง


เก็บกาบใบ ก้านใบและแผ่นใบ รวมทั้งกาบหุ้มช่อดอก ดอกและผล แต่เนื่องจากพืช ในวงศ์นี้ มั ก มี ข นาด
ใหญ่และมีหนามแหลมคม สร้างความยุ่งยากแก่ผู้เก็บ การเก็บตัวอย่างจึงอาจต้ อ งแยกชิ้ น ส่ ว นเป็ น แต่ ล ะ
ส่วนๆ ไป เช่น ส่วนของแผ่นใบ ก้านใบ กาบใบ กาบช่อดอก ช่อดอก และผล เป็นต้น (ภาพที่ 7)

การเก็บตัวอย่างไม้ไผ่ จะต้องเก็บทั้งใบ กาบและลาไผ่ในส่วนที่มีตาไผ่ซึ่งแตกแขนง ซึ่งส่วนต่างๆ


เหล่านี้สามารถนามาจาแนกสกุลชนิดได้ และถ้าสามารถเก็บขุยไผ่ (ดอกและผลของไผ่) ได้ด้ ว ยก็ จ ะท าให้
การจาแนกชนิดไผ่ง่ายขึ้น

การเก็บตัวอย่างพรรณไม้ที่มีขนาดใหญ่หรือเห็นว่าจาเป็นต้องแยกชิ้นส่วนของพรรณไม้ อ อกเป็ น
หลายชิ้นส่วน จะต้องเขียนหมายเลขหรือผูกหมายเลขติดกับชิ้นส่วนตัวอย่างทุกชิ้น ด้วยหมายเลขเดียวกั น
เพื่อป้องกันความสับสน และถ้าเป็นไปได้ควรบันทึกภาพของพรรณไม้ไว้ด้วย พร้อมทั้งบั น ทึ ก รายละเอี ย ด
ของพรรณไม้ที่เก็บให้ชัดเจนครบถ้วน (ตามแบบบันทึกข้อมูลแบบที่ 9) จะช่วยให้ ก ารวิ เ คราะห์ ชื่ อ พรรณ
ไม้กระทาได้สะดวกรวดเร็วขึ้น
43
พรรณไม้ชนิดหนึ่งๆ นั้น ควรเก็บตัวอย่างประมาณ 3 – 8 ชิ้น แล้วแต่กรณี เก็บใส่ถุงพลาสติ ก
เมื่อเวลาเดินสารวจ แล้วนาออกมาอัดในแผงอัดพรรณไม้ทันทีเมื่อมีโอกาส ถ้าเป็นไปได้ค วรรีบด าเนิ น การ
เพื่อที่พรรณไม้จะยังคงความสด เขียวและจัดแต่งง่าย ใบจะเรียบไม่เสียรูปทรง

ที่มา: Dransfield, J. (1979)


ภาพที่ 7 การเก็บตัวอย่างหวาย พืชในวงศ์ ปาล์ ม (Palme) ที่มีชิ้น ส่ว นขนาดใหญ่ ตัดเป็น ส่วนๆ
(ตามภาพคือหวายน้ า)

A : ส่วนของกาบใบ และก้านใบ D : ช่อผล G : เมล็ดผ่าตามยาว


B : ส่วนของกลางใบพร้อมใบย่อย E : ผล
C : ส่วนของปลายใบ F : เมล็ด
44
วิธีอัดแห้งพรรณไม้

เมื่อเก็บตัวอย่างพรรณไม้จากต้นที่ต้องการแล้ ว ให้ เ ขี ย นชื่ อผู้ เ ก็ บ หมายเลขที่ เ ก็ บ ติ ด กั บ


พรรณไม้และบันทึกรายละเอียดต่างๆ ให้ ค รบถ้ ว น ในการอั ด จะจั ด เรี ย งตั ว อย่ า งพรรณไม้
วางลงบนกระดาษหนังสือพิมพ์ซึ่งพับเป็นคู่ๆ จัดให้ขนาดพอดี อย่ า ให้ เ กิ น หน้ า กระดาษและ
แผงอัด ถ้ามีขนาดใหญ่เกินแผงให้พับงอได้ตามความจาเป็น เรียงใบให้คว่า บ้ า งหงายบ้ า งเพื่ อ
จะได้เห็นลักษณะของใบทั้งสองด้านเมื่ อตั ว อย่ า งแห้ ง แล้ ว เมื่ อจั ด ตั ว อย่ า งเสร็ จแล้ ว ให้ พลิ ก
กระดาษแผ่นที่คู่กันปิดทับตัวอย่างลงไป ระหว่างพรรณไม้ ช นิ ด หนึ่ ง ๆ นั้ น ให้ ส อดกระดาษ
ลูกฟูกขั้นไว้เพื่อช่วยให้ความชื้นระเหยออกไปได้เร็วขึ้น ก่อนปิดแผงให้ใช้ กระดาษลู กฟู กปิ ด ทั บ
กระดาษหนังสือพิมพ์ทั้งสองด้านแล้วผูกด้วยเชือกหรือรัดด้วยเข็ม ขั ด ให้ แน่ น เพื่ อเวลาพรรณ
ไม้แห้งจะได้เรียบ แผงหนึ่งๆสามารถอัดพรรณไม้ได้ หลายตั ว อย่ า ง น าแผงที่ อัด แล้ ว ไปตาก
แดด โดยวางแผงตั้งขึ้นทางใดทางหนึ่ง อย่าวางนอนตามแนวราบ ทั้ ง นี้ เ พื่ อใ ห้ ค วามชื้ น ใน
พรรณไม้ได้ระเหยง่าย ในระหว่างตากแดดซึ่งต้องใช้เวลาหลายวัน ให้หมั่นเปิดออกตรวจสอบ
เพราะบางครั้ ง อาจจะมี แมลงกั ด กิ น ใบและดอก ท าให้ ตั ว อย่ า งเสี ย หายได้ การเปลี่ ย น
กระดาษใหม่จะช่วยให้ตัวอย่างแห้งเร็วขึ้น หากมีแดดดีก็จะใช้เวลาประมาณ 3 วั น พรรณไม้
ก็จะแห้งและมีสีสดเกือบเหมือนธรรมชาติ (ภาพที่ 8, 9 และ 10)

ที่มา: Veldkamp, J.F. (1987)


ภาพที่ 8 การจัดตัวอย่างในกระดาษพร้อม tag ที่บันทึกรายละเอียด
45

ที่มา: ก่องกานดา (2541)


ภาพที่ 9 การเรียงตัวอย่างพรรณไว้ ลงในกระดาษและแผงอัด

A : 1. เล็มใบทิ้งบางส่วน 2. พับใบ 3. ตัดตัวใบทิ้งแต่เหลือส่วนโคนไว้ 4. ตัดกิ่งทิ้ง


B : พับกิ่งใบเพื่อให้พอดีกับกระดาษ
C : ตัดใบที่บังดอกหรือผลออก

ที่มา: ก่องกานดา (2541)


ภาพที่ 10 แผงอัดพรรณไม้ ที่มัดเรีย บร้อยแล้ว
46
กรณีที่ยังไม่สามารถอัดแห้งได้ ให้นาตัวอย่างพรรณไม้มาห่อด้วยหนัง สื อ พิ ม พ์ ใ ห้ เช่ น เดี ย วกั บ
การอัดแห้ง แล้วนามามัดรวมกันเป็นห่อราดด้วยแอลกอฮอล์ 70% ให้ชุ่มทั้งห่อ บรรจุใส่ถุงพลาสติ ก ผู ก
ให้แน่นแล้วนากลับไปที่สานักงานเพื่ออัดแห้งหรืออบให้แห้งต่อไป (ภาพที่ 11)

ที่มา: Veldkamp, J.F. (1987)


ภาพที่ 11 การปฏิ บัติใ นกรณี ที่ไม่ส ามารถอัดแห้งได้

A : เตรียมถุงพลาสติก และตัวอย่ างพรรณไม้ ที่ห่อด้วยหนังสือพิม พ์


B : บรรจุตัวอย่างพรรณไม้ใส่ใ นถุงพลาสติก
C : บรรจุตัวอย่างพรรณไม้ซ้อนทับกันที ละห่อ
D : เลื่อนตัวอย่างพรรณไม้ให้อยู่ตรงกลางถุงพลาสติก
E : พับถุงข้างหนึ่งขึ้น
F : ราดแอลกอฮอล์ลงในถุงพลาสติกให้ชุ่มตั วอย่าง
G : ปิดถุงพลาสติกและผูกให้ แน่น
เมื่อเดินทางกลับถึงสานักงาน ให้นาตัวอย่างพรรณไม้พร้อมบันทึกรายละเอียดต่าง ๆ
ให้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพฤกษศาสตร์ตรวจวิเคราะห์หาชื่อที่ถูกต้องต่อไป
47
เอกสารอ้างอิง

ก่องกานดา ชยามฤต. 2541. คู่มือการจาแนกพรรณไม้ . ส่วนพฤกษศาสตร์ สานักวิชาการป่ าไม้


กรมป่าไม้ , กรุงเทพฯ. 235 น.

กรมป่าไม้ และองค์การไม้เขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คู่มือการเก็บข้อมูลด้านการสารวจ


ทรัพยากรป่าไม้ โครงการศึกษาเพื่อจัดทาระบบ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดการทรัพยากรป่ าไม้
แบบยั่งยืน สาหรั บประเทศไทย, สานักวิช าการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ , กรุงเทพฯ. 44 น.

กลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้. 2545. แผนปฏิบัตงิ านการสารวจทรัพยากรป่าไม้ระหว่างปี พ.ศ. 2545 – 2549


ในช่วงแผนพั ฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549 ).
ส่วนวิเคราะห์ทรัพยากรป่ าไม้ สานักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้ , กรุงเทพฯ. 38 น.

ชวลิต นิยมธรรม. 2545. ทรัพยากรป่าไม้ของประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ สานักวิชาการป่าไม้


กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. 10 น.

ธงชัย จารุพพัฒน์. 2541. สถานการณ์ป่าไม้ของประเทศไทยในช่วงระยะเวลา 37 ปี (พ.ศ. 2504 - 2541).


ส่วนวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. 116 น.

ราชบั ณฑิตยสถาน. 2541. ศัพท์พฤกษศาสตร์ อังกฤษ – ไทย ฉบับราชบั ณฑิตยสถาน.


กรุงเทพฯ. 331 น.

วิชาญ ตราชู. 2543. แนวทางการสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์. ส่วนวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้


สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่าไม้ , กรุงเทพฯ. 95 น.

ส่วนพฤกษศาสตร์ . 2544. ชื่อพรรณไม้ แห่งประเทศไทย เต็ม สมิติ นัน ทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม


สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่าไม้ , กรุงเทพฯ. 810 น.

Dransfield, J. 1979. A Manul of The Rattans of the Malay Peninsular. Forest Department,
Ministry of Primary Industries Malaysia. 270 P.

Olympic Learning Center. : Concepts in Ecosystem Management : Coarse Woody


Debris. Olympic National Forest. Available :
http://www.fs.fed.us/r6/olympic/ecomgt/unecosys/woody.htm, July 26, 2002.

Veldkamp, J.F. 1987. Survey of Vegetative Characters. Manual of Herbarium Taxonomy Theory
and Practice, UNESCO. MAB Jakata, Indonesia. 74 P.
48

ภาคผนวก

You might also like