Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 60

ประชาสั งคม (Civil Society)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา พรรณราย


สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คาว่ า “ประชาสั งคม”
“เป็ นเรื่ อ งของมนุ ษ ย์ ที่ ร วมตั ว กั น เพื่ อ มุ่ ง หวั ง การเกิ ด ผลของการ
รวมตัวทีค่ าดว่าน่ าจะก่อให้ เกิดผลตามทีต่ นเองต้ องการได้ ”
แนวความคิด “ประชาสั งคม”

“เป็ นแนวความคิดทีเ่ กิดขึน้ ได้ เองในทุกสั งคม และทุกระบอบการเมือง


(ทั้ง ระบอบเผด็ จ การ และระบอบประชาธิ ป ไตย) แต่ หากว่ า รั ฐมี การใช้
การเมื องในระบอบประชาธิ ปไตยแล้ ว จะเป็ นปั จจั ยเร่ งให้ เกิด ความเป็ น
ประชาสั งคมได้ มากยิง่ ขึน้ ”
คาศัพท์ “ประชาสั งคม”

“เป็ นคาศั พท์ ที่ถูกนามาใช้ เรี ยกความพยายามของภาคประชาชนใน


การเข้ าไปมีส่วนร่ วมทางการเมือง เศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดล้ อม เพื่อ
สร้ างอานาจในการจัดการประโยชน์ สาธารณะ
- หน่ วยงานรัฐ เรียกว่า ประชาคม
- NGOs เรียกว่า การเคลื่อนไหวทางสั งคม
- นักวิชาการ เรียกว่า ประชาสั งคม”
การเปลีย่ นแปลงของคาจากัดความของคาว่ า “ประชาสั งคม”
ถวิลวดี บุรีกุล, 2549: 1-9
ลักษณะ / 17 - 18 19 20 21
ศตวรรษที่

รู ปแบบของ ระบบรัฐและรัฐที่ คำสัง่ ของจักรวรรดิ รัฐสวัสดิกำร กำรปกครองสังคม


อำนำจทำง ทันสมัยยุคแรก นิยม และรัฐชำติ โลก รวมรัฐ
กำรเมือง ข้ำงเคียง
ลักษณะ / 17 - 18 19 20 21
ศตวรรษที่

ประเภทของสิ ทธิ พลเรื อน กำรเมือง เศรษฐกิจและ กำรขยำยเรื่ องสิ ทธิ


สังคม
ลักษณะ / 17 - 18 19 20 21
ศตวรรษที่
รู ปแบบของกำร สงครำม สงครำมและ สงครำม และ กำรบังคับใช้
บังคับในระดับ จักรวรรดินิยม สงครำมเย็น กฎหมำยนำนำชำติ
โลก
ลักษณะ / 17 - 18 19 20 21
ศตวรรษที่
คำจำกัดควำมของ รวมกับรัฐ ตรงข้ำม ต่ำงจำกรัฐ รวม ต่ำงจำกรัฐและเรื่ อง กำรรวมตัวกันและ
ประชำสังคม กับอนำธิปไตย เรื่ องของเศรษฐกิจ ทุน สถำบันที่เป็ นอิสระ
แต่ไม่รวมเรื่ อง ระหว่ำงชำติ
ครอบครัว
องค์ ประกอบของคาว่ า “ประชาสั งคม”
Salamon, Sokolowski and List, 2003: 7
แนวความคิดที่ 1

จิตสำนึกประชำสังคม (civic consciousness)

โครงสร้ ำงองค์ กรประชำสังคม (civic organization)

เครือข่ ำยประชำสังคม (civic network)


1. จิตสานึกประชาสั งคม (civic consciousness)

- ลักษณะของการรวมตัวกัน
จิ ต ส านึ ก ประชาคมจะท าให้ ก ารรวมตั ว กัน ของสมาชิ ก มี
ลักษณะเป็ นหุ้นส่ วนกัน (partnership) ซึ่งเป็ นความสั มพันธ์ ในแนวราบ
(horizontal) ทีส่ มาชิ กมีอสิ ระ เท่ าเทียมกัน และมีการเรียนรู้ ร่วมกัน
- จิตสานึกประชาคม ถือเป็ น หัวใจสาคัญของประชาสั งคม
2. โครงสร้ างองค์ กรประชาสั งคม (civic organization)

ความหมายของโครงสร้ า งองค์ ก รประชาสั ง คม หมายถึ ง


“การรวมตัวของพลเมืองเป็ นองค์ กรที่เป็ นทางการหรื อไม่ เป็ นทางการก็
ได้ เป็ นการรวมตั ว กัน เฉพาะคราวหรื อ ต่ อ เนื่ อ งก็ไ ด้ สมาชิ ก มี ค วาม
หลากหลายได้ ทั้ ง ที่ อ ยู่ ใ นภาครั ฐ ภาคธุ ร กิ จ ภาคประชาชน จ านวน
สมาชิกมีได้ ไม่ จากัด การมีองค์ กรขึน้ จะทาให้ เกิดระบบการจัดการ เพื่อให้
เกิดการเรียนรู้ ร่วมกันในการปฏิบัติและนาไปสู่ การแก้ ไขปั ญหา”
3. เครื อข่ ายประชาคม (civic network)

- ความหมายของเครื อข่ ายประชาคม หมายถึง “โครงสร้ างขององค์ กร


และกระบวนการดาเนินการขององค์ กรซึ่งเชื่ อมโยงสมาชิ กในองค์ กรหรื อ
เชื่ อมโยงระหว่างองค์ กรประชาสั งคมต่ างๆ เข้ าด้ วยกัน”
- ปั จ จัยสาคัญของเครื อข่ ายประชาคม คื อ “การมีระบบการจั ดการ
สื่ อสารทั้งภายในองค์ กร และระหว่ างองค์ กรประชาสั งคมด้ วยกัน อย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ และมีความสมานฉันท์ ”
แนวความคิดที่ 2

กำรมีโครงสร้ ำงองค์ กร (organizations)

กำรเป็ นเรื่ องส่ วนบุคคล (private)

ไม่ แบ่ งสรรกำไร (non profit distribution)

กำรปกครองตนเอง (self-governing)

ควำมสมัครใจ (voluntary)
1. การมีโครงสร้ างองค์ กร (organizations)

- เป็ นองค์ กรที่เป็ นทางการ (กฎหมายให้ การรั บรอง) หรื อไม่ ก็ได้ , มี
โครงสร้ างองค์ กร, มีกระบวนการดาเนินการขององค์ กร และมีการบริ ห าร
จัดการองค์ กร
2. การเป็ นเรื่ องส่ วนบุคคล (private)

- เน้ นสภาวะที่ไม่ เป็ นส่ วนของรั ฐ แม้ ว่ารั ฐจะมีการใช้ อานาจเข้ ามา
แทรกแซง หรื อให้ การสนับสนุนก็ตามที
3. การไม่ แบ่ งสรรกาไร (not profit distributing)

- เน้ นให้ องค์ กรไม่ เกี่ยวข้ องกับการค้ าแบบองค์ กรธุ รกิจ จึ งไม่ มีการ
แสวงหากาไร หรื อหากแสวงหากาไรต้ องเอาผลกาไรนั้นมาดาเนินงานของ
องค์ กรเพื่อสนองตอบต่ อสาธารณะ
4. การปกครองตนเอง (self-governing)

- เน้ นสภาวะที่องค์ กรมีอิสระในการบริ หารจัดการองค์ กรขอตนเอง


เพื่อให้ บรรลุสาเร็จตามเป้ าหมายขององค์ กรทีก่ าหนดไว้
5. การเน้ นความสมัครใจ (voluntary)

- เน้ นการทางานเพื่ อให้ บรรลุเป้ าหมายสาธารณะโดยปราศจากการ


บังคับเพื่อให้ เกิดการมีส่วนร่ วมทั้งสิ้น
บทบาทสาคัญของคาว่ า “ประชาสั งคม”
ถวิลวดี บุรีกุล, 2549: 1-16
ความหมายสาคัญของประชาสั งคม

ประชาสั งคม มีลักษณะความร่ วมมือกันของพลเมื องเพื่อรั บผิ ดชอบ


ต่ อสาธารณะ โดยมีค วามรั บ ผิด ชอบต่ อสั งคมในฐานะพลเมื อง (citizen)
เป็ นแรงจู งใจ มีความสมัครใจ และร่ วมมื อกันปฏิบัติการเพื่อให้ สาธารณะ
เกิดการมีคุณภาพชี วติ ทีด่ ี
สาระสาคัญของประชาสั งคม

ตามแนวคิดของผู้สอน ประชาสั งคมมีสาระสาคัญดังนี้


1. ความเป็ นอาสาสมัคร (voluntary orientation)
2. เป้ าหมายคือประโยชน์ สาธารณะ (pursue for public good)
3. ความโปร่ งใส (accountability)
4. เปิ ดโอกาสให้ เกิดการมีส่วนร่ วม (commit to openness)
5. ความเป็ นอิสระในการคิด และการกระทา (autonomous)
บทบาทสาคัญของประชาสั งคม
1. สร้ างและเสริมสร้ างความเป็ นเอกภาพของพืน้ ทีส่ าธารณะทีไ่ ม่ ใช่ รัฐ
2. พัฒนาและกากับการปกครองตนเองในประชาสั งคม
3. พัฒนาวิธีการของการปฏิบัติทมี่ ีเหตุผล
บทบาทสาคัญของประชาสั งคม
ระดับของบทบาท ตัวอย่ างของบทบาทเฉพาะ

สร้ำงและเสริ มสร้ำงควำมเป็ นเอกภำพของ - สร้ำงระบบของสิ ทธิของปั จเจกชนและ


พื้นที่สำธำรณะที่ไม่ใช่ของรัฐ กลุ่ม และสิ ทธิในกำรต่อรองระหว่ำงประชำ
สังคม รัฐและประชำสังคมและตลำด
บทบาทสาคัญของประชาสั งคม

ระดับของบทบาท ตัวอย่างของบทบาทเฉพาะ
พัฒนำและกำกับกำรปกครองตนเองใน - พัฒนำสถำบันที่ไม่ใช่รัฐ กำหนดกำร
ประชำสังคม จัดกำรทรัพยำกร
- ค้นหำและแก้ปัญหำในสังคมในภำพรวม
โดยทัว่ ไปขยำยมิติของกำรปกครองที่ไม่ใช่
รัฐที่ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ
- ป้ องกันกำรทำลำยอำนำจรัฐจำกัดกำร
แทรกแซงรัฐในชีวติ เรื่ องส่วนตั สังคม และ
เศรษฐกิจของพลเมือง
บทบาทสาคัญของประชาสั งคม

ระดับของบทบาท ตัวอย่างของบทบาทเฉพาะ
พัฒนำวิธีกำรของกำรปฏิบตั ิที่มีเหตุผล - พัฒนำโครงสร้ำงสำหรับกำรแสดงควำม
ชัดเจน กำรรวมกำรเป็ นตัวแทนของควำม
สนใจของประชำชน
- กำรให้ควำมรู ้พ้นื ฐำนสำหรับกำร
ดำเนินกำรสื่ อสำร
ลักษณะของประชาสั งคมในช่ วงเวลาต่ างๆ
Kaldor, 2003: 80-81
ประเด็น
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบเก่ำ - กำรกระจำยรำยได้ กำรจ้ำงงำน สวัสดิกำร และต่อต้ำนกำรเป็ น
(ก่อน ค.ศ.1970) อำณำนิคม
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบใหม่ - สิ ทธิ มนุษยชน สันติภำพ ผูห้ ญิง สิ่ งแวดล้อม กำรรวมตัวใน
(ระหว่ำง ค.ศ.1970 และ 1980) โลกที่ 3
องค์กรพัฒนำเอกชน กลุ่มนักวิชำกำร - สิ ทธิมนุษยชน กำรพัฒนำ และกำรลดควำมยำกจน
(ปลำย ค.ศ.1980-1990) มนุษยธรรม กำรจัดกำรควำมขัดแย้ง
เครื อข่ำยพลเรื อนนำนำชำติ - ผูห้ ญิง เขื่อน ระเบิด ศำลอำชญำกรรมนำนำชำติ กำร
(ปลำย ค.ศ.1980-1990) เปลี่ยนแปลงบรรยำกำศของโลก
กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มผูร้ ักชำติ - กำรเมือง
(ค.ศ.1990)

กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้ำนทุนนิยม - ควำมสมำนฉันท์กบั เหยือ่ ของโลกำภิวตั น์ กำรสิ้ นสุ ดหรื อกำร


(ค.ศ.1990-2000) ปฏิรูปสถำบันต่ำงๆของโลก
องค์ ประกอบทางสังคม
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบเก่ำ - คนงำน และผูม้ ีควำมรู้
(ก่อน ค.ศ.1970)
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบใหม่ - นักศึกษำและชนชั้นที่อยูใ่ นแวดวงข้อมูลข่ำวสำร และ
(ระหว่ำง ค.ศ.1970 และ 1980) นักวิชำกำร
องค์กรพัฒนำเอกชน กลุ่มนักวิชำกำร - นักวิชำกำรและผูท้ รงคุณวุฒิ
(ปลำย ค.ศ.1980-1990)
เครื อข่ำยพลเรื อนนำนำชำติ - นักวิชำกำร ผูท้ รงคุณวุฒิ และนักกิจกรรม
(ปลำย ค.ศ.1980-1990)
กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มผูร้ ักชำติ - คนงำน นักธุรกิจ เกษตรกร กลุ่มไม่เป็ นทำงกำร
(ค.ศ.1990)

กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้ำนทุนนิยม - นักศึกษำ คนงำน และชำวนำ


(ค.ศ.1990-2000)
รู ปแบบขององค์ กร
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบเก่ำ - แนวนอน และแนวตั้ง
(ก่อน ค.ศ.1970)
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบใหม่ - หลวม และประสำนกันในแนวนอน
(ระหว่ำง ค.ศ.1970 และ 1980)
องค์กรพัฒนำเอกชน กลุ่มนักวิชำกำร - จำกแบบรำชกำร และบริ ษทั ไปเป็ นรู ปแบบเล็กๆที่ไม่เป็ น
(ปลำย ค.ศ.1980-1990) ทำงกำร
เครื อข่ำยพลเรื อนนำนำชำติ - เครื อข่ำยขององค์กรพัฒนำเอกชน หรื อ NGOs กลุ่มรำกหญ้ำ
(ปลำย ค.ศ.1980-1990) และกลุ่มเคลื่อนไหวทำงสังคม
กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มผูร้ ักชำติ - แนวตั้งและแนวนอน ผูน้ ำแบบไม่เป็ นทำงกำร
(ค.ศ.1990)

กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้ำนทุนนิยม - เครื อข่ำยขององค์กรพัฒนำเอกชน หรื อ NGOs กลุ่มรำกหญ้ำ


(ค.ศ.1990-2000) และกลุ่มเคลื่อนไหวทำงสังคม
รู ปแบบของการดาเนินงาน
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบเก่ำ - ต่อต้ำน เดินขบวน หยุดงำน วิ่งเต้นชักจูง
(ก่อน ค.ศ.1970)
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบใหม่ - ใช้สื่อดำเนินกำรโดยตรง
(ระหว่ำง ค.ศ.1970 และ 1980)
องค์กรพัฒนำเอกชน กลุ่มนักวิชำกำร - ให้บริ กำรก่อกระแสให้ควำมรู ้ผำ่ นผูเ้ ชี่ยวชำญ ใช้สื่อ
(ปลำย ค.ศ.1980-1990)
เครื อข่ำยพลเรื อนนำนำชำติ - ประชุมสุดยอดของผูน้ ำรัฐบำล ใช้สื่อ ใช้ผเู้ ชี่ ยวชำญ และ
(ปลำย ค.ศ.1980-1990) ควำมรู ้จำกท้องถิ่น และผูเ้ ชี่ยวชำญก่อกระแส
กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มผูร้ ักชำติ - ใช้สื่อ เดินขบวนด้วยคนเป็ นจำนวนมำก ก่อควำมรุ นแรง
(ค.ศ.1990)

กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้ำนทุนนิยม - ประชุมสุดยอดของผูน้ ำรัฐบำล ดำเนินกำรโดยตรง ใช้สื่อ


(ค.ศ.1990-2000) เคลื่อนไหวโดยใช้อินเตอร์เน็ต
แหล่ งทุน
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบเก่ำ - สมำชิก
(ก่อน ค.ศ.1970)
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบใหม่ - ผูส้ นับสนุนรำยบุคคล กิจกรรมเช่นกำรแสดงคอนเสิ ร์ต
(ระหว่ำง ค.ศ.1970 และ 1980)
องค์กรพัฒนำเอกชน กลุ่มนักวิชำกำร - รัฐบำล สถำบันนำนำชำติ มูลนิธิเอกชน
(ปลำย ค.ศ.1980-1990)
เครื อข่ำยพลเรื อนนำนำชำติ - ผูส้ นับสนุนรำยบุคคล มูลนิธิเอกชน องค์กรพัฒนำเอกชน
(ปลำย ค.ศ.1980-1990) นำนำชำติ
กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มผูร้ ักชำติ - กลุ่มคนที่อยูน่ อกประเทศ และกิจกรรมทำงอำชญำกรรม
(ค.ศ.1990)

กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้ำนทุนนิยม - ผูส้ นับสนุนรำยบุคคล โบสถ์ มูลนิธิเอกชน


(ค.ศ.1990-2000)
ความสัมพันธ์ กบั อานาจ
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบเก่ำ - ใช้อำนำจรัฐ
(ก่อน ค.ศ.1970)
กำรเคลื่อนไหวทำงสังคมแบบใหม่ - เปลี่ยนควำมสัมพันธ์รัฐและสังคม
(ระหว่ำง ค.ศ.1970 และ 1980)
องค์กรพัฒนำเอกชน กลุ่มนักวิชำกำร - สร้ำงอิทธิ พลต่อประชำสังคม รัฐ และสถำบันนำนำชำติ
(ปลำย ค.ศ.1980-1990)
เครื อข่ำยพลเรื อนนำนำชำติ - สร้ำงแรงกดดันต่อรัฐและสถำบันนำนำชำติ
(ปลำย ค.ศ.1980-1990)
กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มผูร้ ักชำติ - ใช้อำนำจรัฐ
(ค.ศ.1990)

กำรเคลื่อนไหวของกลุ่มต่อต้ำนทุนนิยม - เผชิ ญหน้ำกับรัฐ สถำบันนำนำชำติ และบรรษัทนำนำชำติ


(ค.ศ.1990-2000)
การจาแนกกลุ่มขององค์ กรประชาสั งคม
Salamom, 2003: 56
กลุ่มที่ ประเภท
1. วัฒนธรรม และสันทนำกำร

2. กำรศึกษำ และวิจยั

3. สุขภำพ

4. บริ กำรทำงสังคม

5. สิ่ งแวดล้อม

6. กำรพัฒนำและที่อยูอ่ ำศัย
กลุ่มที่ ประเภท
7. กฎหมำย กำรสนับสนุน และกำรเมือง

8. ส่งเสริ มกำรเป็ นอำสำสมัคร และบริ กำรสำธำรณประโยชน์

9. นำนำชำติ

10. ศำสนำ

11. สมำคมวิชำชีพ ธุรกิจ และสหภำพ

12. อื่นๆ
ทฤษฎีเกีย่ วกับ “ประชาสั งคม”
การให้ ความหมายประชาสั งคมของนักคิดตะวันตก

The Classical Period

Socrates Plato Aristotle


การให้ ความหมายประชาสั งคมของนักคิดตะวันตก (ต่ อ)

The Middle Age

St. Augustine St. Aquinas Martin Luther John Calvin


การให้ ความหมายประชาสั งคมของนักคิดตะวันตก (ต่ อ)

The Age of Reasoning

Thomas Hobbes John Locke


การให้ ความหมายประชาสั งคมของนักคิดตะวันตก (ต่ อ)

The Age of Enlightenment

Jean Jacques Rousseau David Hume Adam Ferguson Adam Smith

Immanuel Kant Thomas Paine


การให้ ความหมายประชาสั งคมของนักคิดตะวันตก (ต่ อ)

The Nineteenth Century

G.W. Hegel Alexis de Tocqueville Karl Marx Antonio Gramsci


กำรให้ ควำมหมำยประชำสังคมของนักคิดตะวันตก (ต่ อ)
The Twentieth Century

John Rawls Robert D. Putnam Ralf Dahrendorf


การให้ ความหมายประชาสั งคมของนักวิชาการไทย

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร เกษม ศิริสัมพันธ์

สมคิด เลิศไพฑูรย์ ชูชัย ศุภวงศ์

เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ธีรยุทธ บุญมี

ชัยอนันต์ สมุทวนิช ประเวศ วะสี

เสรี พงศ์พิศ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา


การให้ ความหมายของคาว่ า “ประชาสั งคม”
- นักวิชาการของไทยได้ ให้ คาจากัดความของคาว่ าประชาสั งคมที่มี
ความแตกต่ างกันออกไปใน 3 ลักษณะคือ
กลุ่ม 1 เน้ นภาคประชาชนเป็ นหลัก โดยรวมกับภาคทุนธุรกิจ
ด้ วย แต่ ไม่ เปิ ดโอกาสให้ ภาครัฐเข้ ามาเกีย่ วข้ อง หรื อใช้ คาว่ า “ส่ วนรวมที่
ไม่ ใช่ รัฐ” เป็ นคาจากัดความทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมใช้ กนั มาก
กลุ่ ม 2 เน้ น ภาคประชาชนเป็ นหลัก โดยไม่ เ ปิ ดโอกาสให้
ภาครัฐ และภาคทุนธุรกิจเข้ ามาเกีย่ วข้ องด้ วย เพราะเชื่ อว่ าภาคทุนธุรกิจ
มีอานาจต่ อภาครัฐ
กลุ่มที่ 3 เน้ นการประสานร่ วมมือกัน (partnership) ทั้งภาค
ประชาชน ภาคทุนธุรกิจ และภาครัฐ
- ในพืน้ ทีส่ ั งคม ประกอบขึน้ ด้ วย กลุ่มอานาจทีส่ าคัญ 3 กลุ่ม คือ
1. ภาครัฐ
2. ภาคทุน
3. ภาคประชาชน

ภำครัฐ ภำคทุนธุรกิจ ภำคประชำชน

- เมื่ อกลุ่มอานาจต่ างๆ เหล่ านั้ น เกิดการใช้ อานาจที่ส่งผลกระทบกัน


สั งคมจะเกิดภาวะขาดดุลยภาพทาให้ สังคมเกิดภาวะวิกฤตการณ์ ขึน้ ได้
ภาครัฐ

- ภาครัฐ มีทมี่ าจากความชอบธรรม (legitimacy) สามารถใช้ อานาจได้


ตามกฎหมายในการจัดการสั งคม
- รัฐชาติ (nation state) เสริ มภาครั ฐให้ ใช้ อานาจในลักษณะรวมศู นย์
อานาจ (หลักการรวมอานาจ (centralization)) การรวมอานาจมากทาให้ รัฐ
เกิดการขยายตัว และมักใช้ ความรุ นแรงในการจัดการกับสั งคม
ภาครัฐ

- โลกาภิ วัฒ น์ (globalization) ท าให้ สั ง คมมี ค วามซั บ ซ้ อนมากขึ้ น


ภาครัฐขาดประสิ ทธิภาพในการจัดการสั งคม
- กล่ าวกันว่ าปั จจุบัน รั ฐ มีความเล็กและไร้ ประสิ ทธิภาพในการแก้ ไข
ปัญหาใหญ่ ๆ ในสั งคมได้ ขณะเดียวกันรั ฐเองก็ใหญ่ เทอะทะจนไม่ ส ามารถ
แก้ปัญหาเล็กๆ ได้
ภาคทุนธุรกิจ

- ภาคธุรกิจ มุ่งทากิจกรรมเพื่อกาไรเป็ นหลัก สะสมอานาจเงินมากขึน้


จนเป็ นภาคที่มีอานาจเงิน ถึงแม้ จะไม่ มีอานาจรั ฐ แต่ ภาคธุ รกิจก็สามารถ
อาศั ยอานาจเงิ นในการเชื่ อมโยงกับ ภาครั ฐ เพื่ อ ให้ ภ าครั ฐใช้ อานาจเอื้อ
ประโยชน์ ต่อภาคธุรกิจได้
ภาคทุนธุรกิจ

- ด้ วยเจตจานงของภาคธุรกิจทีม่ ่ ุงแสวงหากาไรเป็ นหลัก ภาคธุรกิจจึง


ดาเนินการทุกวิถีทางโดยจัดการให้ ภาครั ฐร่ วมมือด้ วยเพื่อการอานวยความ
สะดวกทางธุ รกิจ ซึ่ งนาไปสู่ ปั ญหาทางการเมื อ ง เศรษฐกิจ สั งคม และ
สิ่ งแวดล้อมต่ อสาธารณะ
ภาคประชาชน

- ภาคประชาชน มี ลักษณะเป็ นผู้รับผล (passive) จากการใช้ อานาจ


ของภาครั ฐเป็ นหลัก เพราะขาดทั้งอานาจรั ฐ อานาจเงินทุน ภาคประชาชน
จึงเป็ นผู้แบกรับปัญหาทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดล้อม โดยไม่
สามารถแสดงบทบาทหลักในการจัดการแก้ไขปัญหาได้
ภาคประชาชน

- การแสดงบทบาทของภาคประชาชน เกิดขึน้ ได้ ก็ต่อเมื่อประชาชนมี


การรวมตัวกันเป็ นกลุ่มหรื อองค์ กร สร้ างอานาจในการต่ อรองกับ ภาครั ฐ
และภาคทุนธุรกิจ ในการเข้ าไปมีบทบาทในการจัดการแก้ ไขปั ญหาที่เกิดขึน้
ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดล้ อม เพื่อก่ อให้ เกิดประโยชน์ ต่อ
สาธารณะ
การก่อตัวของแนวคิดประชาสั งคม

ปัญหำประสิทธิภำพและควำมโปร่ งใสของภำครัฐ

กำรกำเนิดของชนชั้นกลำง

พัฒนำกำรของกระบวนกำรประชำธิปไตย

ระบบกำรติดต่ อสื่อสำร

วิกฤติในสังคม
พืน้ ทีส่ าธารณะ
พื้นที่สาธารณะ (public space) คือ พื้นที่ที่พลเมืองมารวมตัวกันเพื่อ
พูดคุยแลกเปลีย่ นข้ อมูล ความคิดเห็น ความรู้ คุณค่ า อุดมการณ์ ปัญหา การ
แก้ไขปัญหา การวางแผนงาน และมีการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้ เกิ ดประโยชน์
สาธารณะ การพูดคุยกันนั้นจะมีความเป็ นทางการ หรื อไม่ ก็ได้ การพบปะ
กันจะเป็ นครั้ งคราว สม่ าเสมอ หรื อเมื่ อมี วิก ฤติหรื อประเด็ น ร่ วมกันก็ไ ด้
ลักษณะของการรวมตัวกันเป็ นกลุ่ม หรื อองค์ กร หรื อเครื อข่ ายก็ได้
พืน้ ทีส่ าธารณะ
พื้นที่สาธารณะ (public space) ถือเป็ นโครงสร้ างพื้นฐานสาธารณะ
(civic infrastructure) ของชุ มชน เพราะการรวมตัวกันของพลเมืองถือเป็ น
การเปิ ดช่ องทางการสื่ อสารทีจ่ ะนาไปสู่ กระบวนการตัดสิ นใจและดาเนินการ
ร่ วมกันของสมาชิ กในชุ มชน
ขอบคุณครับ ขอบคุณค่ะ

You might also like