Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 41

การช่ วยชีวิตขัน้ พืน้ ฐาน

นพ.ปั ณณวิชญ์ เบญจวลีมาศ


ภาควิชาวิสัญญีวทิ ยา
คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คณะกรรมการมาตรฐานการช่ วยชีวติ แห่ งประเทศไทย
Bystander CPR
• ช่ วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต (survival rates)

• เพียง 15% - 30% ที่ได้ รับการช่ วยเหลือ


Barriers to Bystander CPR
• กลัวทาให้ เกิดการบาดเจ็บมากขึน้
• กลัวช่ วยผิดวิธี
• ร่ างกายช่ วยไม่ ไหว
• กลัวถูกฟ้ องร้ อง
• กลัวการติดเชือ้
• กลัวบาดแผล
Recognition of Cardiac Arrest

• Gasping การหายใจเป็ นเฮือก ๆ


• คิดว่ าเป็ นการหายใจปกติ
• การช่ วยช่ วงนีจ้ ะดีมากเพราะอัตราการรอดชีวิตสูง
Survival
100%
90
80
70
60
50
40
30
20
Chances of success reduced
10 7% to 10% each minute
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
©2000 American Heart Association 5
Adult
Basic Life Support
ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต
Adult Chain of Survival
1. รู้ว่าหัวใจหยุดเต้น และตามผูช้ ่วยเหลือ
2. ทา CPR โดยเน้ นการกดอก
3. รีบช็อคไฟฟ้ า
4. ให้การช่วยเหลือต่อโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
5. การดูแลต่อในโรงพยาบาล
แผนภมู กิ าร
ช่ วยชีวิต
การตรวจสอบความรู้สึกตัว

-เรี ยกผู้หมดสติดังๆ โดย


ตบที่บ่า
-ถ้ าไม่ ร้ ู สึกตัวหรื อหายใจ
เป็ นเฮือกๆ
-ให้ ตามทีมผู้ช่วยเหลือ
ทันที
การตรวจสอบความรู้สึกตัว
ผู้ช่วยเหลือต้ องเตรียมตอบคาถามดังต่ อไปนี ้
• ตาแหน่ งหรือสถานที่เกิดเหตุ
• เหตุการณ์ ในที่เกิดเหตุ
• จานวนผู้ประสบเหตุ
• การช่ วยเหลือที่ได้ รับอยู่
ไม่ ต้องคลาชีพจร
การกดหน้ าอก
• กดหน้ าอกด้ วยอัตราเร็วอย่ างน้ อย 100-120 ครัง้ ต่ อนาที
• กดลึกอย่ างน้ อย 5 เซนติเมตร
• ไม่ กดหน้ าอกค้ างในจังหวะปล่ อย
• หลีกเลี่ยงการขัดจังหวะการกด
• จังหวะการกดอกต่ อการช่ วยหายใจ 30:2
• ตาแหน่ งกดที่ครึ่งล่ างของกระดูกหน้ าอก
การกดหน้ าอก
การช่ วยหายใจ
• ช่ วยหายใจโดยการเป่ าปาก
• เป่ าช้ าใน1 วินาทีให้ เห็นทรวงอกขยาย
• ช่ วยหายใจ 2 ครัง้
• ใช้ เพียงลมหายใจเข้ าธรรมดา ไม่ ต้องหายใจเข้ าเต็มที่ก่อนเป่ า
ปาก
การช่ วยหายใจ
Hands-Only CPR
(chest compression only CPR)
New Recommendations
to Integrate CPR and AED Use

3 actions must occur within the first moments


of a cardiac arrest
• activation of the emergency medical services
(EMS) system
• provision of CPR
• operation of an AED
AED (automated external defibrillator)
เปิ ดเครื่อง เสียบสายแผ่ นติดหน้ าอกที่เครื่อง
ติดแผ่ นปิ ดหน้ าอกเพื่อดูคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ
รอให้ เครื่องอ่ านคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ ไม่ ถูกตัวผู้ป่วย

VT (ventricular tachycardia)

VF (ventricular fibrillation)
ช็อคไฟฟ้ าถ้ าคลื่นไฟฟ้ าหัวใจที่สามารถช็อคได้
ปุ่ มไฟสีส้มขึน้ ให้ กดที่ปุ่มสีส้มเพื่อช็อคไฟฟ้ า
ถ้ าเป็ นคลื่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดอื่นไฟสีส้มจะไม่ ตดิ
• หลังช็อคไฟฟ้ าเสร็จให้ รีบกดอกทันที
• เป็ นเวลา 2 นาทีแล้ วจึงให้ เครื่องอ่ านคลื่นไฟฟ้ าใหม่ อีกครัง้
ท่ านอนตะแคงหลังจากที่ร้ ูสึกตัว
Foreign-Body Airway Obstruction
(Choking)
• การตระหนักถึงอาการการสาลักช่ วยให้ ประสบผลสาเร็จในการ
ช่ วยเหลือ
Foreign-Body Airway Obstruction
(Choking)
• การสาลักพบได้ บ่อย แต่ ป้องกันได้
• มักเกิดในขณะกาลังรับประทานอาหาร
• ในเด็กมักเกิดขณะกาลังกินหรือเล่ นซึ่งมักมีผ้ ูดแู ลอยู่ด้วย
• การให้ การช่ วยเหลือมักประสบความสาเร็จสูงถึง 95%
Recognition of FBAO
• ให้ การช่ วยเหลือเมื่อมีการสาลักอย่ างรุ นแรง
• อาการแสดงคือมีอาการหายใจลาบาก ได้ แก่ ไอไม่ มี
เสียง เขียว ไม่ สามารถพูดหรือหายใจได้
• อาจเอามือจับที่ลาคอ
• ให้ รีบถามว่ า กาลังสาลักอยู่ใช่ ไหม?
• ถ้ าตอบว่ าใช่ โดยการพยักหน้ าโดยไม่ สามารถพูดได้ให้
คิดว่ ามีอาการรุ นแรงแล้ ว
Relief of FBAO
• ถ้ าอาการน้ อย มักจะไอมีเสียงได้ ไม่ ต้องทาอะไรให้ ไอออกเพื่อให้
สิ่งที่สาลักออกมา
• ให้ อยู่ดแู ละสังเกตอาการและช่ วยเหลือเมื่อมีอาการรุ นแรงคือ
1. ไอไม่ มีเสียง
2. การหายใจมีเสียงดัง
3. หรือหมดสติ
Relief of FBAO
The critical lifesaving steps of BLS
● Immediate Recognition and Activation of
the emergency response system
● Early CPR
● Rapid Defibrillation for VF
Metabolic
Thank you for your
● Avoid Hypotonic Fluids
● Rationale: May increase edema,
attention
including cerebral edema

WWW.ThaiCPR.org
FB/thaicpr

You might also like