Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน

ประจาประเทศไทย 6 กรกฎาคม 2565

ด้ วยพระนามของเอกองค์ อลั ลอฮ์


จดหมายข่าวอิหร่ าน (ฉบับที่ 8 )
การเมื อ ง
ประธานาธิ บ ดี อิ ห ร่ านเข้ า ร่ วมการประชุ ม สุ ด ยอดทะเลแคสเปี ยน
ฯพณฯ ระอีซี ประธานาธิ บดี สาธารณรั ฐอิสลามแห่ งอิหร่ าน ได้เดินทางไปยังเติร์กเมนิ สถาน ในนาม
ของหัวหน้าคณะผูแ้ ทนระดับสู งเจ้าหน้าที่ทางการเมืองและเศรษฐกิ จ ในการเข้าร่ วมประชุ มสุ ดยอดประเทศ
ชายฝั่งแคสเปี ยน ครั้งที่ 6
การเดิ น ทางในครั้ งนี้ นอกเหนื อ จากการเข้ า ร่ วมและกล่ า วสุ นทรพจน์ ใ นการประชุ ม ฯ แล้ ว
ประธานาธิ บดีอิหร่ านยังได้พบปะและพูดคุยกับคู่เจรจาของอิหร่ านในระดับทวิภาคีอีกด้วย และในช่วงท้ายของ
การเดินทาง ฯพณฯ ระอีซี เน้นว่า การไม่มีชาวต่างชาติในทะเลแคสเปี ยนได้รับการเห็นชอบจากทุกประเทศแถบ
ชายฝั่งของทะเลนี้ และกล่าวว่า: ทรัพยากรของทะเลแคสเปี ยนต้องได้รับการปกป้ องดูแล
ประธานาธิ บดี อิหร่ านยังได้ช้ ี ถึงการพบปะของเขากับผูน้ าอาเซอร์ ไบจาน, เติร์กเมนิสถาน และรัสเซี ย
ว่า ในการพบปะกับผูน้ าทั้งสามนี้ น้ นั เน้นถึงความจาเป็ นในการปฏิบตั ิตามข้อตกลงทวิภาคี การพบปะพูดคุย
เหล่านี้ คือ การพัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจ
ฯพณฯ ระอีซี ได้เน้นถึงจุดเริ่ มสาหรับเส้นทางใหม่ดา้ นความสัมพันธ์กบั ประเทศเพื่อนบ้านบางประเทศ
การเพิ่มความสัมพันธ์ทางการค้า และการพัฒนาความสัมพันธ์ โดยกล่าวว่า: การแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างเติร์กเม
นิสถานและอาเซอร์ ไบจานจากดินแดนอิหร่ านกาลังได้รับการพัฒนา ทั้งยังหยิบยกปัญหาของอัฟกานิสถาน และ
สงครามในยูเครน รวมถึงประเด็นอื่นๆ ขึ้นมาหารื อร่ วมกับผูน้ าเติร์กเมนิ สถาน, อาเซอร์ ไบจาน และรัสเซี ย โดย
ชี้แจงว่า เราขอประกาศความพร้อมในการใช้สถานะและความน่าเชื่ อถือของสาธารณรัฐอิสลามแห่ งอิหร่ านเพื่อ
แก้ไขสงครามในยูเครน
รั ฐ มนตรี ว่า การกระทรวงการต่ า งประเทศอิ ห ร่ า นเขี ย นในทวี ต เตอร์ วิเ คราะห์ ถึ ง การเข้า ร่ ว มของ
ประธานาธิบดีอิหร่ านในการประชุมสุ ดยอดแคสเปี ยน โดยเขียนว่า การประชุ มครั้งนี้ ฯพณฯ ระอีซี ได้อธิ บาย
ตาแหน่งที่ต้ งั และความได้เปรี ยบพิเศษของการขนส่ งอิหร่ านในทะเลแคสเปี ยน, ทะเลโอมาน และอ่าวเปอร์ เซี ย
การประชุ มของคณะรั ฐมนตรี ต่างประเทศ ของประเทศแถบชายฝั่ งแคสเปี ยน จัดขึ้ นโดยมี รัฐมนตรี
ต่างประเทศอิหร่ านเข้าร่ วมด้วย

1
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 6 กรกฎาคม 2565

จี น -รั ส เซี ย สนั บ สนุ น อิ ห ร่ านในการเข้ า ร่ วมกลุ่ ม BRICS


โฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีน ประกาศว่า: ประเทศของเขาสนับสนุนกระบวนการเพิ่มสมาชิ กและ
ขยายความร่ วมมือของ "BRICS Plus" อย่างจริ งจัง รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศรัสเซี ยยังถื อว่า
อิหร่ านคู่ควรกับการเป็ นสมาชิกกลุ่ม BRICS
โฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีน กล่าวว่า: ประเทศจะทางานด้วยความมุ่งมัน่ เพื่อการขยายกลุ่มใน
ฐานะประธานกลุ่ม BRICS ในครั้งนี้ และในอนาคตจะมีพนั ธมิตรจานวนมากขึ้นเข้าร่ วมกับครอบครัว BRICS
เช่นเดียวกันนี้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศรัสเซี ย ฯพณฯ เซอร์ เกย์ ลาฟรอฟ ถือว่าอิหร่ าน
เป็ นผูส้ มัครที่คู่ควรสาหรับกลุ่มนี้ และกล่าวว่าการเป็ นสมาชิกของเตหะรานใน BRICS นั้นมีค่ามาก
เขาเสริ มว่าประเด็นที่สาคัญที่สุด คือ กระบวนการเตรี ยมการสาหรับการพัฒนากลุ่ม BRICS ได้เริ่ มต้นขึ้นแล้ว
สาธารณรั ฐอิ สลามแห่ งอิหร่ านและอาร์ เจนติ นามีความต้องการเป็ นสมาชิ กในกลุ่ ม BRICS จีนและ
รัสเซี ยได้สนับสนุนการเป็ นสมาชิกอย่างเป็ นทางการของทั้งสองประเทศ
ณ ปั จจุบนั กลุ่ ม BRICS ประกอบด้วยมหาอานาจทางเศรษฐกิ จเกิ ดใหม่ของโลก 5 ประเทศ ได้แก่
บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริ กาใต้
ฯพณฯ ระอีซี ประธานาธิ บดีแห่ งสาธารณรัฐอิสลามแห่ งอิหร่ าน เข้าร่ วมในการประชุ มผ่านทางระบบ
วิดีโอคอนเฟอเรนซ์ล่าสุ ดของกลุ่มประเทศ BRICS Plus ซึ่ งจีนเป็ นเจ้าภาพ โดยเน้นย้ าว่า: สาธารณรัฐอิสลาม
แห่งอิหร่ านพร้อมที่จะใช้ความสามารถและศักยภาพทั้งหลายของตน ยกตัวอย่างเช่น การสารองพลังงานที่เหนื อ
ชั้น, เครื อข่ายการขนส่ ง การขนส่ งระยะสั้นและราคาถูก, การแบ่งปั นความมัง่ คัง่ จากความสามารถอันโดดเด่น
ของบุคลากรที่ได้รับการฝึ กอบรมมาเป็ นอย่างดี ตลอดจนความสาเร็ จทางวิทยาการ วิทยาศาสตร์ ที่น่าประทับใจ
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายของ BRICS และตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ ทางการเมืองและเศรษฐกิจที่เฉพาะตัวไม่เหมือน
ใครนี้ สามารถทาให้อิหร่ านเป็ นพันธมิตรที่มนั่ คงและเชื่ อถือได้ในการเชื่ อมต่อ BRICS กับคอขวดด้านพลังงาน
และตลาดใหญ่ที่สาคัญของโลก
เศรษฐกิจ
การเติ บ โตของการส่ งออกบริ ก ารด้ า นเทคนิ ค และวิ ศ วกรรมของอิ ห ร่ านเพิ่ ม ขึ้ น 4 เท่ า ในหนึ่ ง ปี
ตามสถิ ติขององค์การพัฒนาการค้าแห่ งอิ หร่ าน ในสิ้ นปี ที่ ผ่านมานี้ (เดื อนมีนาคม พ.ศ. 2565) การ
ส่ งออกบริ การด้านเทคนิ คและวิศวกรรมของอิหร่ านเพิ่มขึ้นประมาณ 4 เท่า เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้านี้ และมี
มูลค่าเกิน 2.3 พันล้านดอลลาร์ ตัวเลขนี้เป็ นผลมาจากการส่ งออกไป 18 ประเทศของโลก
ในช่วง 3 เดือนที่ผา่ นมา แนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของการส่ งออกบริ การด้านเทคนิ คและวิศวกรรมยังคงดาเนิ น
ต่อไป ซึ่ งมีมูลค่าไปถึง 105 ล้านดอลลาร์ แล้ว
2
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 6 กรกฎาคม 2565

หัวหน้าโครงการและองค์กรงบประมาณของอิหร่ าน กล่าวว่า: หลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตก


และส่ วนอื่ น ๆ ของโลกกาลังมองหาบริ ก ารด้านวิศวกรรมและเทคนิ ค ของสาธารณรั ฐอิ ส ลามอิ หร่ า น และ
อิหร่ านสามารถให้บริ การนั้นแก่พวกเขาได้
ฯพณฯ มี รกาเซมี ได้เน้นย้ าในการประชุ มพบปะกับ บริ ษ ทั คู่ สั ญญารายใหญ่ ข องอิ หร่ า นว่า : บริ ษ ทั
เหล่ านี้ ค วรมีการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและการสร้ างมู ลค่าให้มากขึ้ น การรั กษาตลาดต่างประเทศมี ความสาคัญ
มากกว่า การเข้า ถึ ง ตลาด และเพื่ อให้ตระหนัก ถึ ง ประเด็น นี้ รั ฐบาลควรให้ค วามสนใจเป็ นพิ เศษกับ การจัด
กิจกรรม การดาเนินงานของภาคเอกชนในตลาดเป้ าหมาย
เป็ นที่น่ากล่าวถึ งเป็ นอย่างยิ่งว่า ตามสถิ ติขององค์การพัฒนาการค้าแห่ งอิหร่ าน มูลค่าการส่ งออกและ
นาเข้าของประเทศในสิ้ นปี ที่ ผ่านมานี้ (เดื อนมีนาคม พ.ศ. 2565) เพิ่มขึ้นเป็ น 48.6 และ 53 พันล้านดอลลาร์
ตามลาดับ ซึ่ งแสดงให้เห็นถึงการเติบโตประมาณร้อยละ 40 ของการส่ งออกและร้อยละ 36 ของการนาเข้าของ
ประเทศเมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า
เช่นเดียวกันนี้ ในช่วงสามเดือนที่ผา่ นมากระบวนการปรับปรุ งการค้าต่างประเทศของอิหร่ านยังดาเนิ น
ต่อไป ตามสถิ ติ ตัวเลขการส่ งออกและนาเข้าของประเทศในช่ วงเวลานี้ อยู่ที่ 13.1 และ 12.5 พันล้านดอลลาร์
ตามลาดับ ซึ่ งเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนหน้า การส่ งออกและนาเข้าของอิหร่ านเพิ่มขึ้น ร้อยละ 21 และ
ร้อยละ 18 ตามลาดับ
ในขณะเดียวกัน ตามรายงานใหม่ของ British Petroleum Company เรื่ อง World Energy Statistical
Review การผลิ ตน้ ามันของอิหร่ านในปี พ.ศ. 2564 เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า แม้จะมีการคว่า
บาตรอย่างต่อเนื่ องก็ตาม และยังไปถึงระดับ 3,170,000 บาร์ เรลต่อวัน ซึ่ งเท่ากับร้อยละ 4.1 ของการผลิตน้ ามัน
ของโลก
ดังนั้น อิหร่ านจึงเป็ นประเทศที่สองของโลกที่มีการผลิตน้ ามันเพิ่มขึ้นมากที่สุดในปี พ.ศ. 2564
บริ ษั ท MAPNA GROUP ของอิ ห ร่ านซ่ อมแซมโรงไฟฟ้ าในซี เ รี ย
MAPNA บริ ษทั ชั้นนาด้านพลังงานและวิศวกรรมของอิหร่ าน สามารถซ่ อมแซมส่ วนระบายความร้อน
ในโรงไฟฟ้ าของเมือง Aleppo ทางตอนเหนือของซี เรี ย ในสัญญาณว่าสาธารณรัฐอิสลามกาลังแสดงบทบาท
สาคัญในการฟื้ นฟูประเทศอาหรั บที่ ถูกทาลายล้างจากสงครามและพยายามฟื้ นฟูโครงข่ายไฟฟ้ าที่ถูกทาลาย
ในช่วงหลายปี ที่เกิดความขัดแย้งในซี เรี ย
บริ ษทั MAPNA Group ซึ่งทางานอย่างแข็งขันในการพัฒนาและดาเนิ นการด้านพลังงานความร้อนและ
พลังงานหมุนเวียน โรงงานน้ ามันและก๊าซ และการขนส่ งทางรถไฟ ได้ซ่อมแซมโรงงานแห่ งที่ 5 และได้น
พลังงานจานวน 200 เมกะวัตต์กลับสู่ โครงข่ายไฟฟ้ าขอเมือง Aleppo สถานีซ่ ึ งมี 5 หน่ วยผลิ ต สามารถผลิต
พลังงานได้มากกว่า 1,000 เมกะวัตต์ก่อนซี เรี ยจะเกิดความขัดแย้งซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดแห่ งหนึ่ งในประเทศ
3
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 6 กรกฎาคม 2565

ในปี 2017 บริ ษทั MAPNA Group ได้ลงนามในสัญญากับรัฐบาลซี เรี ยเพื่อที่จะสร้างโรงงานผลิตไฟฟ้ า


25 เมกะวัตต์ สถานีท้ งั 5 แห่งของโรงไฟฟ้ าในเมือง Aleppo สัญญามูลค่า 155 ล้านดอลลาร์ ถูกมอบให้กบั บริ ษทั
อิหร่ านซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของข้อตกลงระหว่างดามัสกัสและเตหะราน เพื่อให้บริ ษทั อิหร่ านเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง
ในการสร้างพื้นฐานขึ้นใหม่ของโครงสร้างพื้นฐานในซีเรี ย โดยมีการลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างกระทรวง
ไฟฟ้ าของทั้งสองประเทศ เพื่อสร้างโรงงาน 5 แห่ งที่มีกาลังการผลิตรวม 540 เมกะวัตต์ เช่นเดียวกับพลังงานลม
และพลังงานแสงอาทิตย์ โรงไฟฟ้ าในจังหวัดลาตาเกีย ตั้งอยูท่ างตอนเหนือ
ข้อตกลงดังกล่าวรวมถึงโครงการฟื้ นฟูโรงไฟฟ้ าใน Dayr al-Zawr และ Homs บริ ษทั MAPNA Group
เริ่ ม ท างานในซี เ รี ย เมื่ อ กว่า ทศวรรษที่ แ ล้ว แม้จ ะมี ค วามขัด แย้งในประเทศซี เ รี ย แต่ ไ ม่ ไ ด้ห ยุ ดด าเนิ นการ
บริ ษทั MAPNA เพิ่งได้รับเชิ ญจาก ฯพณฯ มาดูโร ประธานาธิ บดี ของเวเนซุ เอลาให้เริ่ มต้นโครงการขนาดใหญ่
ในประเทศ โดยคาเชิญนี้เกิดขึ้นหลังจาก ฯพณฯ มาดูโร เยี่ยมชมโรงงาน MAPNA ในกรุ งเตหะรานในครั้งล่าสุ ด
ที่มาเยือนเมืองหลวงอิหร่ านอย่างเป็ นทางการ เวเนซุ เอลายังแสดงความเต็มใจที่จะทาสัญญากับบริ ษทั MAPNA
เพื่อจัดหาอุปกรณ์ที่จาเป็ นสาหรับภาคปิ โตรเลียมและภาคการรถไฟ
ข่ า วสารอื่น ๆ
จรั ส แสงของนั ก กี ฬ าหญิ ง อิ ห ร่ านในช่ วงไม่ กี่ วั น ที่ ผ่ า นมา
ในช่วงไม่กี่วนั ที่ผา่ นมา บรรดานักกีฬาหญิงชาวอิหร่ านได้ฉายแววในการแข่งขันระดับนานาชาติและ
ประสบความสาเร็ จอย่างยิง่ ใหญ่
เทควันโดหญิงทีมชาติอิหร่ านคว้าแชมป์ รายการนี้ ได้เป็ นครั้งแรกในการแข่งขันชิ งแชมป์ เอเชี ย และ
เป็ นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ เทควันโดของอิหร่ านที่สมาชิ กทุกคนในทีมได้รับเหรี ยญรางวัลหลังจากจบการ
แข่งขัน โดยในการแข่งขันครั้งนี้ ทีมชาติอิหร่ านได้รับรางวัล 3 เหรี ยญทอง, 2 เหรี ยญเงิน และ 1 เหรี ยญทองแดง
ลัยลา ฮัยดารี ได้รับรางวัลเหรี ยญแรกในประวัติศาสตร์ การปั่ นจักรยานของสตรี ชาวอิหร่ าน และได้รับ
รางวัลเหรี ยญทองแดงในการแข่งขัน Asian Track Cycling Championships ประอินเดียอีกด้วย
แฮนด์บอลหญิงทีมชาติอิหร่ าน สามารถคว้าชัยชนะครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ของนักกี ฬาแฮนด์บอล
หญิ งชาวอิ หร่ านในการแข่งขันชิ งแชมป์ โลกด้วยการเอาชนะทีมชาติเม็กซิ โก ชัยชนะอันหอมหวานของที ม
เยาวชนหญิงอิ หร่ านกับที มเม็กซิ โก ด้วยผลการแข่งขัน 46-26 แต้ม เป็ นชัยชนะครั้ งแรกของแฮนด์บอลหญิ ง
อิหร่ านในการแข่งขันชิงแชมป์ โลก
ฟารซอเนะฮ์ ฟะซี ฮี นักวิ่งหญิงชาวอิหร่ าน สามารถทาลายสถิ ติการวิง่ 100 เมตรในการแข่งขันกรี ฑา
ของตุรกีที่รู้จกั กันในชื่ อ Turkish Championship ลงได้ เธอแสดงผลงานอย่างยิ่งใหญ่ และทาลายสถิ ติ 8 ปี ลงได้

4
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 6 กรกฎาคม 2565

ในการแข่งขันวิง่ 100 เมตรนี้ ฟะซี ฮีได้รับชัยชนะมาครอบครอง โดยได้รับการบันทึกสถิติไว้ที่ 11.43 วินาที และ


ทาลายสถิติการแข่งขันวิง่ 100 เมตรหญิงของอิหร่ าน ในรอบ 8 ปี ได้สาเร็ จ
ซาร่ า คอเดมุลชารี อะฮ์ ผูเ้ ล่นหมากรุ กหญิงคนแรกของอิหร่ าน สามารถคว้าแชมป์ ลี กหมากรุ กฝรั่งเศส
กับทีมสโมสร Clichy ได้สาเร็ จ เธอเคยได้รับรางวัลเหรี ยญเงินในการแข่งขัน World Rapid Chess Championship
ซาร่ า คอเดมุลชารี อะฮ์ ได้เข้าเป็ นสมาชิ กของทีมฝรั่งเศสเมื่อไม่นานมานี้ และเธออยู่ในอันดับที่ 16 ของผูเ้ ล่น
หมากรุ กหญิงชั้นนาของโลก
สหรั ฐ ฯ ส่ งคื น แผ่ น จารึ ก ยุ ค อะคี เ มนิ ค (ACHAEMENID) อี ก หนึ่ ง ชึ้ น คื น ให้ อิ ห ร่ าน
สถาบัน The Oriental Institute of the University of Chicago กาลังเตรี ยมส่ งคืนแผ่นจารึ กในยุค อะคีเม
นิค (Achaemenid) คืนให้กบั รัฐบาลอิหร่ านหลังจากผ่านไป 87 ปี
“อี ก ไม่ น าน เราจะได้เ ห็ นการกลับ มาของอี ก ส่ วนหนึ่ ง ของแผ่น จารึ ก ของยุค อะคี เ มนิ ด ” โดย Mr.
Morteza Adibzadeh ผูอ้ านวยการพิพิธภัณฑ์และทรัพย์สินทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยชิคาโก
กล่าวว่า: ข่าวดีจะมีการประกาศในเร็ วๆ นี้ โดยเขาได้กล่าวเสริ มว่า: พวกเขากาลังออกเอกสารที่จาเป็ น และการ
ติดต่อโต้ตอบในการคว่าบาตรของสหรัฐฯ ไม่มีผลกับเรื่ องนี้
เดือนกันยายน ปี ค.ศ. 2019 แผ่นดินจารึ กชุดหนึ่ง ซึ่ งประกอบด้วย 1,783 ชึ้ น ได้คืนกลับบ้านหลังจาก
ผ่า นไป 84 ปี เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของแผ่นจารึ ก นับพันและส่ ว นที่ เกี่ ย วข้องอื่ น โดยทุ ก ชิ้ นส่ วนที่ ไ ด้ถู ก เก็ บ ไว้ที่
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติของชิคาโก และสถาบันโอเรี ยนเต็ลแห่งมหาวิทยาลัยชิคาโก
ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 2018 หลายปี ผ่านไป ชะตากรรมของมรดกชาวเปอร์ เซี ยโบราณเหล่านั้นตก
อยู่ในมือของศาลฎี กาสหรัฐ, นักโบราณคดี ร่วมกับทางมหาวิทยาลัยชิ คาโก ได้คน้ พบแผ่นจารึ กในทศวรรษที่
1930 ขณะขุดค้นในบริ เวณ Persepolis เมืองหลวงของจักรวรรดิเปอร์ เซี ย อย่างไรก็ตาม ทางสถาบันได้กลับมา
ทางานโดยร่ วมมือกับเพื่อนร่ วมงานในอิหร่ าน และการกลับมาของแผ่นจารึ กนี้เองซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของการขยาย
การติดต่อระหว่างนักวิชาการของทั้งสองประเทศ โดย Mr. Gil Stein ผูอ้ านวยการ Oriental Institute แห่ ง
มหาวิทยาลัยชิคาโก
แผ่นจารึ กนี้ ได้เผยให้เห็นฉากของประวัติศาสตร์ ทางเศรษฐกิจ, สังคมและศาสนาของจักรวรรดิอะคีเม
นิด (550-330 ปี ก่อนคริ สตกาล) ดาริ อสั มหาราช เป็ นกษัตริ ยแ์ ห่ งเปอร์ เซี ยตั้งแต่ 522 ปี ก่อนคริ สตกาล ถึง 486 ปี
ก่อนคริ สตกาล หนึ่งในผูป้ กครองที่ยงิ่ ใหญ่ที่สุดของราชวงศ์ยุคอะคีเมนิค (Achaemenid ) ผูซ้ ่ ึ งได้รับการยกย่อง
ว่าเป็ นอัจฉริ ยะด้านการบริ หาร และความยิง่ ใหญ่ของเขาโครงการก่อสร้าง ดาริ อสั มหาราชพยายามหลายครั้งเพื่อ
พิชิตกรี ซ แต่ก็ไม่ประสบความสาเร็ จ
จักรวรรดิอะคีเมนิค (เปอร์ เซี ย) เป็ นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุด และแข็งแกร่ งที่สุดในยุคนั้น โดยจักรวรรดิ น้ ี
ได้ขยายอานาจจากเอธิ โอเปี ย ผ่านอียปิ ต์, กรี ซ, อนาโตเลีย (สมัยใหม่ตุรกี), เอเชียกลางและอินเดีย
5
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 6 กรกฎาคม 2565

คลัง ภาพที่ ง ดงามของอิ ห ร่ า น

ชูกาซันบิล เป็ นอาคารโบราณสถานทางตะวันตกเฉี ยงใต้ของอิหร่ าน ซึ่ งสร้างขึ้นเมื่อราว 1,250 ปี ก่อน


คริ สตกาล และในปี พ.ศ. 2522 ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็ นมรดกโลกให้เป็ นโบราณสถานทางประวัติศาสตร์ ชิ้น
แรกจากอิหร่ าน โดยองค์การยูเนสโก
***
คุณสามารถติดตามข่าวสารล่าสุ ดของสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
และสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน ประจาประเทศไทย ได้ที่เพจเฟซบุก้ @IranInTh

You might also like