Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

TECHNIQUES OF

INTEGRATION
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
(Integration by Partial Fractions)
◦ถ้าตัวที่จะถูกอินทิเกรตอยู่ในรูป f ( x) =
P( x )
Q( x)
◦โดย
(i ) P(x) และ Q(x) ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง แล้ว f(x) จะถูกเรียกว่า
“ฟังก์ชันตรรกยะ (Rational Functions)”
(ii )
ถ้าดีกรีของ P(x) น้อยกว่าดีกรีของ Q(x) แล้ว f(x) ถูกเรียกว่า
“ฟังก์ชันตรรกยะแท้ (Proper Rational Function)”
(iii ) ถ้าดีกรีของ P(x) มากกว่าหรือเท่ากับของ Q(x) แล้ว f(x) ถูกเรียกว่า
“ฟังก์ชันตรรกยะไม่แท้ (Improper Rational Function)”
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
2x − 3
◦ตัวอย่าง 3.A  x 3 − x 2 dx ดีกรีของ P น้อยกว่าดีกรีของ Q
“ฟังก์ชันตรรกยะแท้ (Proper Rational Function)”

◦ตัวอย่าง 3.B 4 x3 − x ดีกรีของ P น้อยกว่าดีกรีของ Q


 ( x 2 + 5)2 dx
“ฟังก์ชันตรรกยะแท้ (Proper Rational Function)”

◦ตัวอย่าง 3.C x5 + x 2 + 2
 x 3 − x dx ถ้าดีกรีของ P มากกว่าดีกรีของ Q
“ฟังก์ชันตรรกยะไม่แท้ (Improper Rational Function)”
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
ขั้นตอนการการอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย (Integration by Partial Fractions)
(i ) ต้องเป็น “ฟังก์ชันตรรกยะแท้”
(ii ) นาตัวส่วน Q(x) มาแยกตัวประกอบให้อยู่ในรูป ax + b หรือ ax 2 + bx + c
(iii ) นาตัวที่ถูกอินทิเกรต P(x) มาเขียนในรูปผลบวกของเศษส่วนย่อย โดยจะมี 4 กรณี
(iv) เมื่อแยกเป็นผลบวกของเศษส่วนย่อยแล้ว ต้องคานวณหาค่าคงที่ มี 2 วิธี
(a) เทียบสัมประสิทธิ์ x ที่มีเลขชี้กาลังเท่ากัน
(b) แทนด้วยค่าที่เหมาะสม (พยายามทาให้แต่วงเล็บเป็น 0)
(v ) นาสมการที่แยกเศษส่วนย่อยและหาค่าคงตัวแล้ว มาอินทิเกรต
การเขียนในรูปผลบวกของเศษส่วนย่อย (iii )
◦แบ่งออกเป็น 4 กรณี ได้แก่
กรณีที่ 1 ตัวส่วน Q(x) อยู่ในรูป ax + b ที่ต่างกันหมด
P ( x) P ( x)
(i ) สมมติโจมย์ของเราอยู่ในรูป Q ( x)
=
( a x + b )( a x + b )( a x + b )
1 1 2 2 3 3 ( an x + bn )
(ii ) เราสามารถเขียนได้ในรูปของผลบวกเศษส่วนย่อยเป็น
P ( x) P ( x)
=
Q ( x) ( a1 x + b1 )( a2 x + b2 )( a3 x + b3 ) ( an x + bn )
A B C N
= + + + +
( 1 1) ( 2 2 ) ( 3 3)
a x + b a x + b a x + b ( an x + bn )
x+3 A B
ตัวอย่าง ( )(
x + 1 x + 2
= +
) ( x + 1) ( x + 2 )
การเขียนในรูปผลบวกของเศษส่วนย่อย (iii )
กรณีที่ 2 ตัวส่วน Q(x) อยู่ในรูป ax + b ที่ซ้ากัน
P ( x) P ( x)
(i ) สมมติโจมย์ของเราอยู่ในรูป Q ( x)
=
( ax + b )
n

(ii ) เราสามารถเขียนได้ในรูปของผลบวกเศษส่วนย่อยเป็น
P ( x) = P ( x)
Q ( x) ( + )
n
ax b

A B C N
= + + + +
( ax + b ) ( ax + b ) ( ax + b )
2 3
( ax + b )
n

x+3 A B C
ตัวอย่าง ( x + 1)
3 =
( ) ( )
x + 1
+
x + 1
2
+
( x + 1)
3

x+3 A B C
= + +
( x + 1) ( x + 2 ) ( x + 1) ( x + 1)2 ( x + 2 )
2
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
1
◦ตัวอย่าง 3.55 จงหาค่าของ  x + x−2
2
dx

◦ วิธีทา 1 1
x2 + x − 2 =
1
( x − 1)( x + 2)
= A
+
B
x −1 x + 2
A ( x + 2 )+ B ( x − 1)
หา ครน. = ( x − 1)( x + 2)

= Ax +2A+ Bx − B
( x − 1)( x + 2)

= ( A + B ) x + ( 2A − B )
( x − 1)( x + 2)

( A + B) = 0 1 1
◦จะได้ว่า A= B=−
(2A − B) = 1 3 3
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
=
1
◦ตัวอย่าง 3.55 ต่อ ( x − 1)( x + 2)
A
+
B
x −1 x + 2

= 1

1
3( x − 1) 3( x + 2)
u = x −1 v = x +1 1
du
= 1 dv
= 1
 x + x−2
2
dx =  1 1 
  3( x − 1) − 3( x + 2) dx
dx dx
dx = du dx = dv = 1 1
3  ( x − 1)
dx −
1

1
3 ( x + 1)
dx

= 1 1
3u
du 1 1
−  dv
3 v

+C
1
 u du = ln u + C
=
1
ln u − 1 ln v
3 3
1 1
= ln | x − 1 | − ln | x + 2 | +C
3 3
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
1
◦ตัวอย่าง 3.55 จงหาค่าของ  x + x−2
2
dx

◦ วิธีทา 2 1
x2 + x − 2 =
1
( x − 1)( x + 2)
= A
+
B
x −1 x + 2
A ( x + 2 )+ B ( x − 1)
=
1
หา ครน. ( x − 1)( x + 2) ( x − 1)( x + 2)
นาตัวส่วนคูณทั้ง 2 ข้าง 1 = A ( x + 2 ) + B ( x − 1)

◦ให้ x =1 ; 1 = A (1 + 2 ) + B (1 − 1) ◦ให้ x = −2 ; 1 = A (( −2) + 2) + B (( −2) − 1)


1 = 3A 1 = −3B
1 1
A= B=−
3 3
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
=
1
◦ตัวอย่าง 3.55 ต่อ ( x − 1)( x + 2)
A
+
B
x −1 x + 2

= 1

1
3( x − 1) 3( x + 2)
u = x −1 v = x +1 1
du
= 1 dv
= 1
 x + x−2
2
dx =  1 1 
  3( x − 1) − 3( x + 2) dx
dx dx
dx = du dx = dv = 1 1
3  ( x − 1)
dx −
1

1
3 ( x + 1)
dx

= 1 1
3u
du 1 1
−  dv
3 v

+C
1
 u du = ln u + C
=
1
ln u − 1 ln v
3 3
1 1
= ln | x − 1 | − ln | x + 2 | +C
3 3
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
2x + 4
◦ตัวอย่าง 3.56 จงหาค่าของ  x 3 − 2 x 2 dx
◦ วิธีทา 1 2x + 4
x3 − 2 x2
=2x + 4
x 2 ( x − 2)
= A B
+ 2
x x
+
C
x−2
A ( x )( x − 2 ) + B ( x − 2 ) +C ( x 2 )
หา ครน. = x 2 ( x − 2)

นาตัวส่วนคูณทั้ง 2 ข้าง 2x + 4 = A ( x )( x − 2) + B ( x − 2) +C ( x ) 2

◦ให้ x=0 ; 2 ( 0) + 4 = A ( 0 )( 0 − 2 ) + B ( 0 − 2 ) +C ( 02 )

4 = −2B
B = −2
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
◦ตัวอย่าง 3.56 ต่อ 2x + 4 = A ( x )( x − 2 ) + B ( x − 2 ) +C ( x 2 )

◦ให้ x=2 ; 2 ( 2) + 4 = A ( 2 )( 2 − 2 ) + B ( 2 − 2 ) +C ( 22 )

8 = 4C
C=2

◦ให้ x =1 ; 2 (1) + 4 = A (1)(1 − 2 ) + B (1 − 2 ) +C (12 )

6 = − A − B +C
◦แต่ B = −2 C=2 6 = −A − ( −2 ) +2
A = −2
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
◦ตัวอย่าง 3.56 ต่อ 2x + 4
x3 − 2 x2
= 2x + 4
x 2 ( x − 2)
= A B
+ 2 +
x x
C
x−2

= −
2 2
− 2 +
x x
2
x−2
2x + 4
 x − 2x
3 2
dx =  2 2
− +
2 
  x x 2 x − 2 dx

= 1 1
−2  dx −2  2 dx +2 
x x
1
x−2
dx

= 1
−2  dx −2  x dx +2 
x
−2 1
x−2
d ( x − 2)

= −2 ln | x | + 2 +2 ln | x − 2 |
x +C
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
3x 4 + 3x 3 − 5 x 2 + x − 1
◦ตัวอย่าง 3.57 จงหาค่าของ  x + x−2
2
dx

◦ วิธีทา 1 3x 4 + 3x3 − 5 x 2 + x − 1
x2 + x − 2
***ในกรณีที่เป็น“ฟังก์ชันตรรกยะไม่แท้” ต้องทาให้เป็น “ฟังก์ชันตรรกยะแท้” ก่อนโดยวิธีการหารยาว***
3x 2 +1
3x 4
= x 2 + x − 2 3x 4 + 3x3 − 5 x 2 + x − 1

2
3 x
x2
3x + 3x − 6 x
4 3 2
3x 2
(x 2
+ x − 2 ) = 3x + 3x − 6 x
4 3 2

+ x2 + x −1
x2
2
=1 x2 + x − 2 −
x
+1
1( x + x − 2 ) = x + x − 2
2 2
3x 4 + 3x3 − 5 x 2 + x − 1 1
= 3 x 2
+1 +
x + x−2
2
x2 + x − 2
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
◦ตัวอย่าง 3.57 ต่อ 3x 4 + 3x3 − 5 x 2 + x − 1
= 3x + 1 + 2
2
1
x2 + x − 2 x + x−2
1
จากโจทย์เราจะแยกเศษส่วนย่อยแต่ในพจน์ x2 + x − 2

แต่บังเอิญโจทย์เหมือนกับข้อ 3.55 ที่เราทามา


1
( x − 1)( x + 2)
= 1

1
3( x − 1) 3( x + 2)

=
3x 4 + 3x3 − 5 x 2 + x − 1 1 1
3x + 1 +
2

x2 + x − 2 3( x − 1) 3( x + 2)

จะได้ว่า 
3x 4 + 3x 3 − 5 x 2 + x − 1
x + x−2
2
dx =  3x 2
+1+
1

1
3( x − 1) 3( x + 2)
dx
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
◦ตัวอย่าง 3.57 ต่อ 
3x 4 + 3x 3 − 5 x 2 + x − 1
x + x−2
2
dx =  3x 2
+1+
1

1
3( x − 1) 3( x + 2)
dx

=  dx +  1dx + 
3x 2 1
3( x − 1)
dx − 
1
3( x + 2)
dx

= 3x3
3
+x 1 1
+ ln | x − 1| − ln | x + 2 |
3 3 +C
การเขียนในรูปผลบวกของเศษส่วนย่อย (iii )
กรณีที่ 3 ตัวส่วน Q(x) อยู่ในรูป ax 2 + bx + c ที่ต่างกันหมด
P ( x) P ( x)
(i ) สมมติโจมย์ของเราอยู่ในรูป =
Q ( x ) ( a x + b x + c )( a x
2 2
+ b2 x + c2 ) (a x 2
+ bn x + cn )
1 1 1 2 n

(ii ) เราสามารถเขียนได้ในรูปของผลบวกเศษส่วนย่อยเป็น
P ( x) = P ( x)
Q ( x ) ( a1 x + b1 x + c1 )( a2 x + b2 x + c2 ) (a x + bn x + cn )
2 2 2
n

Ax + B Cx + D Nx + M
= + + +
( a1 x + b1 x + c1 ) ( a2 x + b2 x + c2 )
2 2
( an x 2 + bn x + cn )
x+3 Ax + B Cx + D
ตัวอย่าง = +
( x 2 + x + 1)( x 2 + x + 2 ) ( x 2 + x + 1) ( x2 + x + 2 )
x+3 A Bx + C
= +
( x + 1) ( x 2 + x + 2 ) ( x + 1) ( x 2 + x + 2 )
การเขียนในรูปผลบวกของเศษส่วนย่อย (iii )
กรณีที่ 4 ตัวส่วน Q(x) อยู่ในรูป ax 2 + bx + c ที่ซ้ากัน
P ( x) P ( x)
(i ) สมมติโจมย์ของเราอยู่ในรูป Q ( x ) ( ax + bx + c )
=
2 n

(ii ) เราสามารถเขียนได้ในรูปของผลบวกเศษส่วนย่อยเป็น
P ( x) P ( x)
=
Q ( x) ( ax + bx + c )
2 n

Ax + B Cx + D Nx + O
= + + +
( ax + bx + c ) ( ax + bx + c )
2 2 2
( ax 2
+ bx + c )
n

x+3 Ax + B Cx + D
ตัวอย่าง = 2 +
( x 2 + x + 1) ( x + x + 1) ( x + x + 1)
2 2 2
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
x2 + x − 2
◦ตัวอย่าง 3.61 จงหาค่าของ  3x3 − x 2 + 3x − 1dx
x2 + x − 2 Bx + C
= =
◦ วิธีทา 1 x2 + x − 2 A
+ 2
3x3 − x 2 + 3x − 1 (3 x − 1)( x 2 + 1) 3x − 1 x + 1

หา ครน. = A( x 2 + 1) + ( Bx + C )(3 x − 1)
(3 x − 1)( x 2 + 1)

= Ax 2 + A +3Bx 2 − Bx + 3Cx − C
(3 x − 1)( x 2 + 1)

x2 + x − 2 = ( A + 3B ) x 2 + ( 3C − B ) x + ( A − C )
(3 x − 1)( x 2 + 1) (3 x − 1)( x 2 + 1)
3C − B = 1
จะได้ว่า A + 3B = 1 A=−
7
B=
4
C=
3
A − C = −2 5 5 5
การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย
x2 + x − 2
◦ตัวอย่าง 3.55 ต่อ (3 x − 1)( x 2 + 1)
= A Bx + C
+ 2
3x − 1 x + 1
4x + 3
= −
7
5(3 x − 1)
+
5 x 2
(+1 )
u = 3x − 1 v =x 2
+1
 4x + 3 
du
= 3 dv
= 2x
x2 + x − 2
 3x3 − x 2 + 3x − 1dx = 7 
  − 5(3x − 1)  + 5 ( x 2 + 1) dx
dx dx  

= = =
du dv −7 1 4 x 3 1
dx
3
dx
2x 
5 3x − 1
dx + 
5 x +12
dx + 
5 x +1
2
dx

= −7 1 du 4 1 dv + 3

5 u 3
− 
5 v 2x

1
5 x +1
2
dx

=
−7
15
3
ln u − 2 ln v + arctan x
5 5 +C
−7 2 3
= ln | 3x − 1 | + ln( x 2 + 1) + arctan x + C
15 5 5
Workshop
ข้อที่ 1 ตัวอย่าง 3.58
ข้อที่ 2 ตัวอย่าง 3.60
ข้อที่ 3 แบบฝึกหัดที่ 3.4 หน้า 121
ข้อ 15 , 21 , 27 เลือกทาอย่างน้อย 1 ข้อ
ข้อที่ 4 แบบฝึกหัดที่ 1.5 หน้า 21
ข้อ 3.1 – 3.6 เลือกทาอย่างน้อย 2 ข้อ
ข้อที่ 5 แบบฝึกหัดที่ 1.5 หน้า 21
ข้อ 6.1 – 6.5 เลือกทาอย่างน้อย 2 ข้อ

ข้อที่ 6 อยากบอก หรือ สื่อ ให้อาจารย์รับรู้

You might also like