นพ.วรัญญู จ านงประสาทพร ประธาน Cluster ยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

การบาบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติด โดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง

นพ.วรัญญู จานงประสาทพร
ประธาน Cluster ยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 1
แนวคิดการบาบัดในชุมชน UNODC นาสู่การบาบัดฟื้นฟู ผู้ใช้ยาเสพติดโดย
ใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง Community Based Treatment and Care
Community Based Treatment (CBTx)

การบาบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติด โดยชุมชมเป็นศูนย์กลาง
“เป็นการดูแลผู้ใช้ ยาเสพติดให้เกิดการบาบัดฟื้นฟูใกล้บ้าน
หรื อ ภายในชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตั้ ง แต่ ก ารค้ น หา คั ด กรอง
บาบัดฟื้นฟู การลดอันตรายจากยาเสพติด และการติดตามดูแล
ช่ว ยเหลื อทางสัง คม รวมถึ ง ประสานการท างานร่ ว มกัน ของ
หน่วยงานด้านสุขภาพและสังคม และคืนคนดีสู่สังคม”
ปรัชญาแนวคิดการดาเนินงาน (CBTx)
 เน้นความต่อเนื่องของกระบวนการดูแลตั้งแต่กระบวนการค้นหาผู้ป่วย (Outreach) การ
ช่วยเหลือขั้นพื้นฐาน (Basic support) การลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm reduction)
และการกลับคืนสู่สังคม (Social reintegration)
 จัดบริการต่าง ๆ ในชุมชนให้ใกล้ชิดกับสถานที่ที่ผู้ใช้ยาเสพติดอาศัยอยู่
 รบกวนความเชื่อมโยงทางสังคมและการทางานของผู้ใช้ยาเสพติดให้น้อยที่สุด
 บูรณาการรูปแบบการดูแลเข้ากับระบบบริการสุขภาพ และระบบบริการทางสังคมที่มีอยู่เดิม
 จัดตั้งรูปแบบการดูแลผู้ใช้ยาเสพติดบนทรัพยากรของชุมชน และทรัพยากรทางครอบครัว
 อาศัยการมีสว่ นร่วมของบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากการใช้ยาเสพติด ครอบครัว และชุมชนใน
การวางแผนและรูปแบบบริการ
ปรัชญาแนวคิดการดาเนินงาน (CBTx)
 อาศัยการจัดการแบบองค์รวม โดยการกาหนดบัญชีความต้องการที่จาเป็นของแต่ละบุคคล
(สุขภาพ ครอบครัว การศึกษา การจ้างงาน และที่อยู่อาศัย)
 มีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดของภาคประชาสังคม ผู้บังคับใช้กฎหมาย และผู้
ให้บริการทางด้านสุขภาพ
 กาหนดเครื่องมือในการดูแลผู้ใช้ยาเสพติดบนหลักฐานเชิงประจักษ์
 ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการแจ้งข้อมูลการบาบัดรักษาและสมัครใจมีส่วนร่วมในการบาบัดรักษา
 เคารพสิทธิมนุษยชน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และพิทักษ์ความลับ
 ยอมรับว่าการติดซ้าเป็นขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการรักษา และไม่ควรหยุดกระบวนการนา
ผู้ใช้ยาเสพติดให้เข้าถึงบริการอีกครั้ง
ขั้นตอนการดาเนินงาน (CBTx)
1. มีกระบวนการวิเคราะห์ การแยกชุมชน (ด้านความมั่นคง แดง เหลือง เขียว ขาว) โดย CBTx
ที่ สธ. เน้นคงอาจจะทาในส่วนชุมชน ขาว หรือ เขียว ถ้า แดงหรือเหลือง เราอาจมีส่วนร่วม
เท่านั้น ให้ทางมหาดไทย ตารวจเคลียร์ก่อน)
2. มีการค้นหาผู้นาธรรมชาติ/สร้างผู้นา
3. สะท้อนข้อมูล ในชุมชน, สร้างความสัมพันธ์ ร่วมมือ ความปลอดภัย ไว้ใจ , สร้างจุดหมาย
เดียวกัน, วางแผนร่วมกันแบบบูรณาการ
4. มีการค้นหา คัดกรองในชุมชน (แบบระบุตัวตน/ไม่ระบุตัวตน)
5. มีการวินิจฉัย (ทางการแพทย์ หรือทางการพยาบาล หรือจาก อสม. หรือคนในชุมชนที่เคยผ่าน
การอบรมเครื่องมือคัดกรอง) และแบ่งแยกความรุนแรงเบื้องต้น (เช่น V2 ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด)
ขั้นตอนการดาเนินงาน (CBTx)
6. มีแนวทางและการบาบัดเบื้องต้นในชุมชน (ตามบริบทของชุมชน เช่น ศาสนบาบัด, อาชีพ
บาบัด, BA, BI, camp, self help group, การทาสาธารณประโยชน์, เข้าค่าย, TC)
7. มีการส่งต่อ มีแม่ข่าย รพช., รพท., รพศ. มาร่วมดูแลหรือวางแนวทาง หรือ เป็นที่ปรึกษา
8. มีการฟื้นฟูครอบครัว สังคม ชุมชน อาชีพ และ สาธาณูปโภค อื่นๆ ร่วมด้วย
9. มีระบบการติดตามโดยทีมสหวิชาชีพ (การเสพซ้า, การมีงานสุจริตทา/ศึกษาต่อ, โรคร่วมอื่นๆ,
การปรับตัวเข้าสังคม หรือการวัดด้านความสุขอื่นๆ)
10. มีการประเมินผล วัดผลความสาเร็จ (เช่น การเลิกเสพ , การมีอาชีพ , ความสุขของครอบครัว
ผู้เสพ ความคิดเห็นของความปลอดภัยในชุมชน)
ความเชื่อมโยงของ CBTx กับ ๙ ขั้นตอนสร้างชุมชนเข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด

75
76
Community Based Treatment (CBTx)

นโยบายผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1
“ดาเนินการ อาเภอละ 1 แห่ง”

งบประมาณ ?
เป้าหมาย ?

You might also like