Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

ละครพูด

ดำเนินการแสดงผ่านการแสดงบทพูด

คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ ภาควิชา
นาฎดุริยางคศิลป์
จัดการแสดงละคร
เวที เรื่อง “รัชนี
สตรีที่โลกจำ”

ยุคทองของละคร
พูด เกิดขึ้นใน ประวัติความเป็นมา
สมัยพระบาท
สมเด็จ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการแสดง

!พระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว
ละครพูดสมัครเล่นเป็นครั้งแรก เนื้อเรื่องละครพูดที่แสดงมักดัดแปลงมาจากบทละครรำที่รู้จักกันอย่าง
แพร่หลายในสมัยนั้น

พ.ศ. ๒๔๒๒ สมาคมแมจิกัลโซไซเอตี ที่มีสมเด็จฯเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ เป็นนายกสมาคมจัดการ


แสดงละครเรื่อง “ ลิลิตนิทราชาคริตขึ้น ”
พ.ศ. ๒๔๒๕ จัดการแสดงละครรำเรื่อง “ อิเหนา ” ในงานเฉลิมพระราชมนเทียร พระที่นั่งจักรีมหา
ปราสาทโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงพิชิตปรีชากรและเจ้านายพระ
องค์อื่นๆ แต่งถวาย
พ.ศ. ๒๔๔๗ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการ
ศึกษา และได้ตั้ง " ทวีปัญญาสโมสร " ขึ้นในพระราชอุทยานสราญรมย์ แต่ในสมัยเดียวกันนี้ได้มีการตั้ง "
สามัคยาจารย์สโมสร " ซึ่งมีเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเป็นประธานอยู่ก่อนแล้ว ทั้ง 2 สโมสรมีความ
คล้ายคลึงกัน มีการแสดงละครพูดแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากละครตะวันตกด้วยกันทั้งคู่ และเนื่องจาก
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ทรงมีส่วนร่วมในกิจการการแสดงละครพูดของทั้ง 2 สโมสรนี้ จึงได้ถวาย
พระเกียรติว่า ทรงเป็น “ ผู้ให้กำเนิด ” ละครพูด

ความ เป็นการแสดงที่ใช้บทพูดเป็นวิธีดำเนินเนื้อเรื่อง ผู้ชม


จะรู้เรื่องราวได้จากคำพูดของตัวละคร ดังนั้นละคร
หมาย ชนิดนี้จึงให้ความสำคัญกับบทพูดและการถ่ายทอด
ของละครพูด อารมณ์ของนักแสดงเป็นอย่างมาก
รูปแบบของละครพูด โดยรวมแล้วละครพูดจะแบ่งได้ 3 รูปแบบใหญ่ๆ คือ

ละครพูดล้วนๆ ละครพูดแบบ ละครพูด


( ละครพูดแบบร้อยแก้ว ) ร้อยกรอง สลับลำ

1 2 3

— คือ ละครที่ดำเนินเรื่องด้วยบท — เป็นละครที่จะดำเนินเรื่องด้วยวิธีการ — เป็นละครที่จะยึดถือบทพูดเป็น


พูดและใช้ท่าทางสามัญเป็น พูดที่เป็นคำประพันธ์ชนิดต่างๆ มีวิธี สิ่งสำคัญที่จะคอยดำเนินเรื่อง
ตัวประกอบ อ่านออกเสียงปกติ แต่มีจังหวะเน้นตาม เพียงอย่างเดียว แต่จะมีบทร้อง
สัมผัสของคำประพันธ์นั้นๆ โดยสามารถ
— ลักษณะพิเศษ : ขณะที่ตัวละคร เข้ามาแทรกเพื่อเสริมหรือย้ำ
แบ่งละครพูดแบบร้อยกรองได้อีก 3
นั้นคิดอะไรมักจะใช้วิธีป้องปาก ความ ( หากไม่มีบทร้องก็ไม่ทำให้
ประเภทย่อย ได้แก่ ละครพูดคำกลอน,
บอกกับผู้ชม ใจความสำคัญของเรื่องหายไป )
ละครพูดคำฉันท์ และละครพูดคำโคลง
องค์ประกอบของละครพูด
1 ผู้แสดง
ละครพูดล้วนๆ : ในสมัยโบราณนิยมแสดงโดยชายล้วน แต่ต่อมาได้มีการใช้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง

ละครพูดแบบร้อยกรอง : ใช้ทั้งผู้ชายและผู้หญิงแสดง มีบุคลิกและการแสดงตามลักษณะตัวละครนั้น


มีน้ำเสียงแจ่มใสชัดเจน พูดฉะฉานและมีไหวพริบดี

ละครพูดแบบสลับลำ : รูปแบบเดียวกับละครพูดแบบร้อยกรอง

2 การแต่งกาย

ละครพูดล้วนๆ : แต่งตามสมัยนิยมและตามเนื้อเรื่อง โดยจะคำนึงถึงความเป็นจริงของตัวละครนั้นๆ

ละครพูดแบบร้อยกรอง : แต่งตามบุคลิกของตัวละคร และรวมไปถึงแต่งให้ตรงกับยุคสมัยที่ได้บอก


ไว้ในละครอีกด้วย

ละครพูดแบบสลับลำ : แต่งกายลักษณะเดียวกับละครพูดล้วนๆ
3 เรื่อง หรือ บทประพันธ์ที่นำมาใช้
ละครพูดแบบสลับลำ : แต่งกายลักษณะเดียวกับละครพูดล้วนๆ

ละครพูดแบบร้อยกรอง 1) ละครพูดคำกลอน : เรื่องเวนิชวาณิช, พระร่วง


2) ละครพูดคำฉันท์ : เรื่องมัทนะพาธา, สามัครเภท
3) ละครพูดคำโคลง : เรื่องสี่นาฬิกา

ละครพูดสลับลำ : เรื่องชิงนาง, ปล่อยแก่ ซึ่งหลาย ๆเรื่องส่วนใหญ่แล้วมักจะเป็นพระราชนิพนธ์ใน


พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ รัชกาลที่ 6
4 ดนตรี
ละครพูดล้วนๆ : จะบรรเลงเฉพาะตอนปิดฉาก และจะบรรเลงโดยวงดนตรีสากลหรือวงปีพาทย์ไม้นวม

ละครพูดแบบร้อยกรอง : บรรเลงดนตรีคล้ายกับละครพูดล้วนๆ

ละครพูดสลับลำ : จะมีทั้งที่คล้ายกับละครพูดล้วนและแตกต่าง โดยแตกต่างตรงหากมีบทร้อง


ก็จะมีดนตรีบรรเลงร่วมด้วย
5 เพลงร้อง
ละครพูดล้วนๆ : ไม่มีเพลงร้อง

ละครพูดแบบร้องกรอง : ไม่มีเพลงร้อง แต่ผู้แสดงจะดำเนินเรื่องโดยการใช้ลักษณะการพูดเป็น


คำประพันธ์ชนิดนั้นๆ

ละครพูดสลับลำ : มีร้องเพลงบางเป็นบางช่วง โดยทำนองเพลงนั้นขึ้นอยู่กับผู้ประพันธ์ที่จะแต่งเสริม


เข้ามาในเนื้อเรื่อง
จัดทำโดย
1) ณัฐชยา ชัยโชคสมพร เลขที่ 8
2) ปาลิน วิวัฒน์เดชากุล เลขที่ 12
3) ภัทราภา วิจิตรไพบูลย์ เลขที่ 13
4) อาทิตยา นาภะสินธุ์ เลขที่ 15
5) ธัญชนก สนธิสวัสดิ์ เลขที่ 21
6) ปิยะรัตน์ เสริมชาติเจริญกาล เลขที่ 33

You might also like