Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน

แบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3


THE DEVELOPMENT OF READING FOR MAIN IDEA SKILLS BY SKILL PRACTICE
WITH SQ6R READING TECHNIQUES FOR MATHAYOMSUKSA 3 STUDENTS
ธันยาลักษณ์ สังขลักษณ์1* และ จุฑารัตน์ เกตุปาน2
Thanyalak Sangkalak1* and Jutarat Ketpan2
มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ต.ท่าโพธิ์ อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก 650001, 2,
Naresuan University, 99 Moo 9, Tha Pho Sub-district, Mueang Phitsanulok District, Phitsanulok Province 650001, 2,
*Corresponding author E-mail: sangkalak4379@gmail.com
(Recieved: 28 Apr, 2021; Revised: 16 Dec, 2021; Accepted: 23 Dec, 2021)

บทคัดย่อ
จุ ด มุ ่ ง หมายของการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คือ 1) เพื่อ สร้ า งและหาประสิ ท ธิ ภ าพของแผนการจั ด การเรี ย นรู ้
เรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะ
ร่ ว มกั บ เทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ6R ส� า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย
คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3/10 โรงเรียนตะพานหิน จังหวัดพิจิตร ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร
ทีก่ า� ลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จ�านวน 1 ห้องเรียน นักเรียน 30 คน โดยใช้วธิ กี ารสุ่มอย่างง่าย (Simple
Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้
เรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ�านวน 5 แผน 2) แบบทดสอบวัดทักษะด้านการอ่านจับใจความ จ�านวน 30 ข้อ และ
3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
แบบ SQ6R จ�านวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน (S.D.)
และ ค่าที t-test (Dependent Samples)
ผลการศึกษาพบว่า 1) การสร้างและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการพัฒนาทักษะ
การอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มีประสิทธิภาพเท่ากับ 89.15/86.44 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้ คือ 80/80 2) ความสามารถในการอ่าน
จับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
แบบ SQ6R หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�าคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 และ 3) นักเรียนพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูด้ ว้ ย
แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.57, S.D. = 0.68)

ค�าส�าคัญ: การอ่านจับใจความ, อ่านแบบ SQ6R


1
นักศึกษาหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์
2
รองศาสตราจารย์ (พิเศษ) สาขาวิชาภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์
78
พิฆเนศวร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2564
ABSTRACT
The aims of the study were 1) to construct and examine the efficiency of learning management
plan for the development of reading for main idea skills by the skill practice with SQ6R reading techniques
for Mattayomsuksa 3 students based on 80/80, 2) to compare the student’s learning achievement before
and after implementation, and 3) to assess the student’s satisfaction toward reading for the main idea
with SQ6R reading techniques. The samples were 30 students from class 3/10 of Tapanhin School in their
second semester of the academic year 2020 selected by simple random sampling using class as selecting factor.
The research instruments were 1) 5 learning management plans on the development of reading for main idea skills by
the skill practice with SQ6R reading techniques for Mattayomsuksa 3 students, 2) 30-item reading for main
idea achievement test of Mattayomsuksa 3 students, and 3) 20-item student’s satisfaction questionnaire
towards the implementation of the development of reading for main idea skills by the skill practice with SQ6R
reading techniques for Mattayomsuksa 3 students. The statistic for data analysis were mean, standard deviation,
and t-test. The result revealed that:
1. The learning management plan for the development of reading for main idea skills by the skill practice
with SQ6R reading techniques for Mattayomsuksa 3 students showed the efficiency scores at 89.15/86.44 which
were higher than those of the 80/80 standard criteria.
2. The student’s learning achievement after implementing the development of reading for main idea skills
by the skill practice with SQ6R reading techniques for Mattayomsuksa 3 students were significantly higher than
those of pre-test at the confidence level of .05.
3. The student’s satisfaction towards the development of reading for main idea skills by the skill
practice with SQ6R reading techniques for Mattayomsuksa 3, in overall, was rated at the highest level
( = 4.57, S.D. = 0.68).

KEYWORDS: Reading for Main Idea Skill, SQ6R Reading Techniques


79
Ganesha Journal Vol. 17 No. 2 July - December 2021
บทน�า การทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน
ภาษาไทยมี ค วามส� า คั ญ ต่ อ การด� า รงชี วิ ต (O-NET) และ Programme for International Student
ความเป็นปึกแผ่นของคนในสังคมไทย เมื่อเราต้องการ Assessment (PISA) ล้วนต้องใช้ความสามารถทางการอ่าน
ถ่ า ยทอดความคิด ความรู ้ สึก และความต้ อ งการ จั บ ใจความด้ ว ยเช่ น กั น ดั ง นั้ น การขาดทั ก ษะด้ า น
เราก็จะใช้ภาษาสื่อความหมายไปสู่ผู้อื่นด้วยการพูด การอ่านจับใจความจะส่งผลต่อการแสวงหาความรู้ เพือ่
และการเขียน รวมทั้งใช้ภาษาท�าความเข้าใจเรื่องราว พัฒนาความรู้ ความสามารถและสติปัญญาให้แก่ตนเอง
ความคิด ความรู้สึก ความต้องการของผู้อ่นื ด้วยการฟัง ซึ่ ง ปั ญ หาด้ า นการอ่ า นจั บ ใจความเป็ น ปั ญ หาที่ มี
การอ่าน และการดู นอกจากนีภ้ าษาไทยยังเป็นเครื่องมือ ความส�าคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะการอ่านจับใจความเป็น
ในการเรียนรู้ทงั้ ด้านความรู้และประสบการณ์อนั มีคณ ุ ค่า พืน้ ฐานในการเรียนรูแ้ ละเป็นการรับสารทีส่ มั ฤทธิผ์ ล แสดง
ของบรรพบุ รุ ษ โดยการใช้ ภ าษาบั น ทึ ก บอกเล่ า ให้เห็นว่าการอ่านจับใจความเป็นสิง่ ทีจ่ า� เป็นทีผ่ สู้ อนควรสอน
เรื่องราวสืบต่อ ๆ กันมา ผ่านแต่ละยุคสมัย คนรุ่นหลัง ให้ผเู้ รียนมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ตัง้ แต่ขณะทีก่ า� ลังศึกษา
สามารถแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ และสิ่งที่เป็น ในระดับมัธยมศึกษา โดยเฉพาะผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษา
ประโยชน์จากสิ่งที่ได้บันทึกไว้ แล้วน�ามาพัฒนาตนเอง ปีที่ 3 ซึ่งจะเข้าสู่การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
และสังคม (วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์, 2554, น. 7) ขั้นพื้นฐาน (O-NET) และ Programme for International
ทักษะการอ่าน เป็นทักษะทีม่ คี วามส�าคัญต่อการ Student Assessment (PISA) (โรงเรียนตะพานหิน, 2562ข,
เรียนภาษาไทย เป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้ผอู้ า่ นเกิดการเรียนรู้ น. 2)
และจ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตของคนในยุคปัจจุบันที่ต้อง จากการศึ ก ษาและส� า รวจสภาพปั ญ หา
อาศัยการอ่านจึงจะสามารถเข้าใจและสือ่ สารกันได้ ดังนัน้ ท�าให้ทราบว่า นักเรียนยังขาดทักษะด้านการอ่าน
คนเราจึงจ�าเป็นต้องมีทกั ษะในการอ่าน กล่าวคือ ต้องอ่าน โดยเฉพาะการอ่านจับใจความ นักเรียนไม่เข้าใจความหมาย
ได้รวดเร็ว อ่านได้ถูกต้อง อ่านได้คล่องแคล่ว และมี อ่านแล้วไม่สามารถสรุปใจความส�าคัญได้ สาเหตุที่ท�าให้
ประสิทธิภาพเพือ่ แสวงหาความรู้ ความเข้าใจ และติดตาม นักเรียนมีปัญหาในการอ่านจับใจความอาจขึ้นอยู่กับ
การเปลี่ยนแปลงความเจริญก้าวหน้าทางสังคม รวมทั้ง ปัจจัยหลายประการ เช่น ความพร้อมทางร่างกาย
ข้อมูลข่าวสารเหล่านั้นได้ทัน การอ่านจึงเป็นการเรียนรู้ และสติปัญญาของนักเรียน รูปแบบเทคนิคการสอน
ที่ส�าคัญผู้ที่อ่านมากย่อมรู้มาก ผู้มีประสิทธิภาพในการ ของครู การสอนไม่มีการวางแผนที่ดี เรื่องที่น�ามาอ่าน
อ่านสูงจึงจะได้รับทั้งความรู้ ประสบการณ์และความ ยากเกินไป นักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทย
บันเทิงซึ่งน�าไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้ นักเรียนไม่รักการอ่าน ซึ่งท�าให้ผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่าน
การอ่านจับใจความเป็นสิ่งที่มีความจ�าเป็น จับใจความของผู้เรียนไม่ถึงเกณฑ์มาตรฐานที่หลักสูตร
และมีความส�าคัญต่อการน�าไปปรับใช้ในการเรียนรู้ ก�าหนดไว้ (โรงเรียนตะพานหิน, 2562ก, น. 3) การศึกษา
ทุกรายวิชาดังที่ วิไล ทองสม (2558, น. 26) ได้กล่าวถึง ข้อมูลรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ความส�าคัญของการอ่านจับใจความไว้วา่ การอ่านจับใจความ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) สาระการอ่าน มาตรฐานที่ ท1.1
มีความส�าคัญอย่างยิง่ ต่อการด�ารงชีวติ ของมนุษย์ในสังคม ของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะพานหิน
ในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นยุคข้อมูลข่าวสาร ผู้รับสารจะได้รับ จังหวัดพิจิตร ในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง (ปีการศึกษา
ประโยชน์จากการอ่านอย่างเต็มทีถ่ า้ ผูร้ บั สารสามารถรับสาร 2560 - 2562) พบว่าผลคะแนนเฉลีย่ ของปีการศึกษา 2561
ทีผ่ สู้ ง่ สารส่งให้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง กระบวนการส�าคัญ มี ร ะดั บ คะแนนเฉลี่ ย สู ง ขึ้ น กว่ า ปี ก ารศึ ก ษา 2560
ทีส่ ดุ ทีจ่ ะท�าให้ผรู้ บั สารสามารถรับสารจากเรือ่ งทีอ่ า่ นได้กค็ อื ทัง้ ระดับโรงเรียนและระดับประเทศ แต่ระดับคะแนนเฉลีย่
การจับใจความ หากขาดความรูห้ รือไม่เข้าใจหลักการอ่าน ระดับโรงเรียนของปีการศึกษา 2562 มีผลคะแนนเฉลี่ย
จับใจความ ย่อมท�าให้ผเู้ รียนสับสนในเนือ้ หาทีอ่ า่ นได้ อีกทัง้ ใน ต�่ากว่าปีการศึกษา 2560 ทั้งคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน
80
พิฆเนศวร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2564
และระดับประเทศ (โรงเรียนตะพานหิน, 2562ข, น. 35) ทั้งการอ่าน การฟัง การพูด และการเขียนไปพร้อม ๆ กัน
จากข้อมูลคะแนนดังกล่าว ท�าให้ทราบว่านักเรียนมีทกั ษะ มีค�าถามที่กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์และท้าทาย
ในการอ่ า นลดลง โดยเฉพาะการอ่ า นจั บ ใจความ ความสามารถผู้เรียน (จันทนา สุขสมบูรณ์, 2554, น. 19)
ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อการแสวงหาความรู้ แต่ทักษะ ผูว้ จิ ยั จึงใช้การจัดการเรียนรูด้ ว้ ยแบบฝึกร่วมกับ
ด้านการอ่านนัน้ เป็นทักษะทีส่ ามารถฝึกฝนและพัฒนาได้ วิธีการอ่านแบบ SQ6R ซึ่งการจัดการเรียนการสอน
หากมีการฝึกฝนและพัฒนาอย่างจริงจัง นักเรียนก็จะสามารถ อ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะเป็นการสอนทีม่ กี จิ กรรม
อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถจับใจความและสรุป และแบบฝึกในแต่ละขัน้ ตอน โดยการท�าแบบฝึกในแต่ละ
สาระส�าคัญของเรื่องที่อ่านได้ ขั้นตอนจะช่วยให้นักเรียนได้เรียนขั้นตอนในการอ่าน
แนวทางในการพัฒนาความสามารถการอ่าน พร้อมทั้งพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความให้ดีและ
จั บ ใจความของนั ก เรี ย นมี ห ลายแนวทาง เช่ น มีประสิทธิภาพ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า
การจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึก การจัดการเรียนรู้แบบ การจัดการเรียนรูด้ ว้ ยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
บูรณาการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวกหกใบ แบบ SQ6R จะสามารถเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความ
การจัดการเรียนรูแ้ บบกระบวนการกลุม่ ร่วมมือ การจัดการ ได้อย่างแน่นอน เนื่องจากการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es การจัดการเรียนรู้ อ่านแบบ SQ6R มีขั้นตอนในการอ่านที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน
ด้วยวิธีการอ่านแบบ SQ6R การจัดการเรียนรู้โดยใช้ เกิดทักษะกระบวนการอ่านจับใจความและการใช้แบบฝึก
เทคนิค 5W1H เป็นต้น ผู้วิจัยสนใจการจัดการเรียนรู้ ร่วมกับกระบวนการสอนนั้นก็เป็นการสอนที่มีการฝึก
ด้วยแบบฝึก ร่วมกับเทคนิคการอ่าน SQ6R ของเชอรี กระบวนอ่านและการท�าแบบฝึก โดยที่นักเรียนจะปฏิบัติ
วิลเลียมส์ ที่ได้พัฒนาวิธีการแก้ปัญหาการอ่านที่เรียกว่า กิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านหลังจากที่ครูสอนทุกครั้ง
SQ6R ซึ่งเป็นกลยุทธ์การอ่านที่ออกแบบมาส�าหรับ ซึ่งจะท�าให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในเรื่องที่อ่านอย่างเป็น
ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีคู่มือวิธีการอธิบายแต่ละ ระบบ สามารถจดจ�าสิ่งที่อ่านได้ดี อีกทัง้ สามารถพัฒนา
ขัน้ ตอนของวิธกี ารอ่านทีส่ ามารถช่วยให้ผ้เู รียนเข้าใจเรือ่ ง ทักษะการอ่าน ด้านการวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินสิง่
ที่อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Sherie Williams, 2005, ทีอ่ า่ นได้ดว้ ยเหตุผล เพือ่ ทีจ่ ะน�าข้อมูลทีไ่ ด้รบั จากการอ่าน
p. 137-139) โดยพัฒนามาจาก SQ3R เป็นการสอนให้ นัน้ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ผู้วจิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะน�า
ผูเ้ รียนได้ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง สามารถสร้างและ แนวคิดการจัดการเรียนรูด้ ว้ ยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิค
ตอบค�าถามด้วยตัวเอง สามารถวิเคราะห์โครงสร้าง การอ่านแบบ SQ6R มาพัฒนาและส่งเสริมความสามารถ
ของเนื้อหาและท�าให้สะท้อนการเรียนรู้ของตนเองได้ ในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
วิธีสอนแบบ SQ6R ประกอบไปด้วย 8 ขั้นตอน คือ เพือ่ ให้มที กั ษะการอ่านทีด่ ขี นึ้ และสามารถแสวงหาความรู้
ขั้นส�ารวจ (Survey) ขั้นตั้งค�าถาม (Question) ขั้นอ่าน เพิม่ เติมจากการอ่านได้อย่างต่อเนือ่ งและมีประสิทธิภาพ
(Read) ขั้นบันทึก (Record) ขั้นจดจ�า (Recite) ขัน้ ทบทวน ต่อไป
(Review) ขั้นสะท้อน (Reflect) ขั้นสร้างใหม่ (Reshape)
ซึ่งจะช่วยสร้างนิสัยการอ่านที่ดีและมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
นอกจากนั้นผู้เรียนยังได้รับประโยชน์ ดังนี้คือ เรียนรู้ 1. เพื่ อ สร้ า งและหาประสิ ท ธิ ภ าพของ
ทีจ่ ะจับใจความส�าคัญอย่างรวดเร็ว เข้าใจเนือ้ หาทีม่ คี วาม แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการพัฒนาทักษะการอ่าน
ยากได้ง่ายขึน้ จดจ�าเรือ่ งทีอ่ ่านได้นาน ช่วยให้ร้จู กั คาดเดา จับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
ค�าถามที่จะพบในแบบทดสอบ อีกทั้งยังช่วยให้อ่านได้ แบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เร็วขึ้น กระบวนการสอนทั้ง 8 ขั้นตอน มีความส�าคัญต่อ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
การเรียนภาษาไทย เพราะสามารถพัฒนาทักษะทางภาษา
81
Ganesha Journal Vol. 17 No. 2 July - December 2021
2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่าน เทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ6R ส� า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น
จับใจความก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ
โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R (Rating Scale) จ�านวน 3 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านการจัดการเรียนรู้
ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 2) ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ และ 3) ด้านประโยชน์ทไี่ ด้รบั
3. เพื่ อ ศึ ก ษาความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย น ขั้นตอนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ
ทีม่ ตี ่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิค 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ทีใ่ ช้ประกอบการสอน
การอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับใจความ ด้วยแบบ
ฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับ
วิธีด�าเนินการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยมีข้ันตอนการจัดท�า
ประชากร แผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียน 1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะพานหิน จังหวัดพิจิตร ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ที่ก�าลัง ที่ 3 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จ�านวน 10 1.2 ศึกษารายละเอียดและวิธีการสร้าง
ห้องเรียน มีจ�านวนนักเรียน 404 คน แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ จากเอกสารและงานวิ จั ย
กลุ่มตัวอย่าง ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นก�าหนดสาระการเรียนรู้ในการสร้าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี้ คือ นักเรียน แผนการจัดการเรียนรู้
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3/10 โรงเรียนตะพานหิน จังหวัดพิจติ ร 1.3 ศึกษาเอกสาร ต�ารา และงานวิจัย
ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ที่ก�าลัง ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เพื่อเป็น
ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จ�านวน 1 ห้องเรียน แนวทางในการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ โดยแผน
มีจ�านวนนักเรียน 30 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย การจัดการเรียนรู้แต่ละแผนมีขั้นตอนดังนี้
(Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลากโดยใช้ ขัน้ ที่ 1 Survey (S) ขัน้ ส�ารวจ คือ การอ่าน
ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ส� า รวจเนื้ อ หาโดยการกวาดสายตาอย่ า งรวดเร็ ว
เครื่องมือการวิจัย อ่านผ่าน ๆ ดูย่อหน้าแรกและย่อหน้าสุดท้าย เพื่อที่จะได้
1. แผนการจั ด การเรีย นรู ้ เ รื่อ งการพั ฒ นา เห็นภาพรวม เห็นการเชื่อมโยงของข้อมูล
ทักษะการอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับ ขั้นที่ 2 Question (Q) ขั้นตั้งค�าถาม คือ
เทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ6R ส� า หรั บ นั ก เรี ย น หลังจากอ่านส�ารวจเนื้อหาให้ผู้อ่านตั้งค�าถามที่สนใจ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ�านวน 5 แผน ใช้เวลาทดลอง อยากรู้ หรือสงสัยในเนือ้ หาของบทความในระหว่างอ่าน เช่น
10 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) เรื่อง เทคนิค - ใคร ท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
การอ่านแบบ SQ6R 2) เรือ่ ง บทความวัยรุน่ กับสือ่ ออนไลน์ - แนวคิดหลักของบทความนี้คืออะไร
3) เรื่ อ ง RSV ภั ย ร้ า ยที่ ยั ง ไม่ มี ย ารั ก ษาอั น ตราย - ผู้เขียนต้องการจะสื่ออะไร
ต่อลูกน้อย แพร่เชื้อคล้าย “โควิด-19” 4) เรื่อง นิทาน ขั้นที่ 3 Read (R1) ขั้นอ่าน คือ การอ่าน
ชาดกวัยรุ่นวุ่นรัก 5) เรื่อง วรรณกรรมในบทเรียนเพลง เนื้อหาอย่างละเอียดทีละย่อหน้า ในขณะที่อ่านให้ค้นหา
นี้มีประวัติ ค�าตอบของค�าถามที่ตั้งไว้ก่อนหน้านี้ การมีค�า ถาม
2. แบบทดสอบวั ด ทั ก ษะด้ า นการอ่ า น ในใจเวลาอ่านจะท�าให้สามารถจับใจความทีส่ า� คัญได้ดขี นึ้
จับใจความ เป็นข้อสอบแบบปรนัย จ�านวน 30 ข้อ เพราะจะช่วยให้การอ่านในขั้นต่อไปเป็นไปอย่างมี
3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน จุดมุ่งหมายและสามารถจับประเด็นส�าคัญได้ถูกต้อง
ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับ ไม่ผิดพลาด
82
พิฆเนศวร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2564
ขั้นที่ 4 Record (R2) ขั้นบันทึก คือ ทีค่ าดหวัง จ�านวน 5 แผน แผนละ 2 ชัว่ โมง รวม 10 ชัว่ โมง
การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้ อ ่ า นอย่ า งละเอี ย ด ดังนี้
โดยมุ่งเน้นให้บันทึกข้อความที่ส�าคัญและสิ่งที่จ�าเป็น แผนที่ 1 เรื่ อ ง เทคนิ ค การอ่ า น
เป็ น ข้ อ ความที่ รั ด กุ ม ตามความเข้ า ใจของผู ้ อ ่ า น แบบ SQ6R จ�านวน 2 ชั่วโมง
และบันทึกค�าตอบของข้อค�าถามที่ตั้งไว้ แล้วจดบันทึก แผนที่ 2 เรื่ อ ง บทความ วั ย รุ ่ น กั บ
ใจความส�าคัญและความคิดเห็นของผู้อ่านออกมาแล้ว สื่อออนไลน์ จ�านวน 2 ชั่วโมง
เชื่อมโยงสิ่งที่อ่านอยู่กับสิ่งที่รู้อยู่แล้วจะท�าให้เข้าใจ แผนที่ 3 เรื่อง RSV ภัยร้ายที่ยังไม่มี
มากขึ้นด้วย ยารั ก ษา อั น ตรายต่ อ ลู ก น้ อ ย แพร่ เ ชื้ อ คล้ า ย
ขั้ น ที่ 5 Recite (R3) ขั้ น จดจ� า คื อ “โควิด-19”จ�านวน 2 ชั่วโมง
การอ่านเพื่อจดจ�าและท�าความเข้าใจกับข้อมูลที่ส�าคัญ แผนที่ 4 เรื่อง นิทานชาดก วัยรุ่นวุ่นรัก
ของบทความ เขียนสรุปใจความส�าคัญ โดยใช้ภาษา จ�านวน 2 ชั่วโมง
ของตนเอง หากยั ง ไม่ แ น่ ใ จในบทใดหรื อ ตอนใด แผนที่ 5 เรื่อง วรรณกรรมในบทเรียน
ให้กลับไปอ่านซ�า้ ใหม่ เพลงนี้มีประวัติ จ�านวน 2 ชั่วโมง
ขั้นที่ 6 Review (R4) ขั้นทบทวน คือ 1.6 น�าแผนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา
การอ่ า นอี ก ครั้ ง เพื่ อ ทบทวนสิ่ ง ที่ ไ ด้ อ ่ า นไปแล้ ว ทั ก ษะด้ า นการอ่ า นจั บ ใจความด้ ว ยแบบฝึ ก ทั ก ษะ
โดยการอ่ า นสรุ ป ที่ จ ดไว้ ห รื อ อ่ า นใหม่ ทั้ ง หมด ร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียน
การทบทวนช่วยในการเอาสิ่งที่อ่านไปไว้ในความจ�า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ให้อาจารย์
ระยะยาว ที่ ป รึ ก ษาพิ จ ารณาความเหมาะสมของแผนการ
ขั้นที่ 7 Reflect (R5) ขั้นสะท้อนความรู้ จัดการเรียนรู้ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาสาระ
คือ การวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นในประเด็น กิจกรรม การเรียนการสอน การวัดประเมินผล ให้ขอ้ แนะน�า
ทีม่ คี วามคิดเห็นสอดคล้องหรือความคิดเห็นไม่สอดคล้อง และปรับปรุงแก้ไขตามค�าแนะน�าของอาจารย์ท่ปี รึกษา
อาจขยายความสิ่งที่ได้อ่าน โดยการเชื่อมโยงความคิด 1.7 น�าแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น
จากบทอ่านกับความรู้เดิมแล้วน�ามาพูดคุยกับเพื่อน ไปตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม โดยใช้แบบเครื่อง
เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ซ่งึ กันและกัน มือประเมินที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
ขั้นที่ 8 Reshape (R6) ขั้นสร้างใหม่ คือ (Rating Scale) 5 ระดับ ดังนี้
การเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลจากบทความที่อ่านไปสร้างงาน ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
ใหม่ โดยน�าข้อมูลไปสร้างเป็นกรอบแนวคิด ผังความคิด ระดับ 4 หมายถึง เหมาะสมมาก
บันทึก ย่อความ โปสเตอร์ เป็นต้น ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
1.4 ก� า หนดองค์ ป ระกอบของแผนการ ระดับ 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย
จัดการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R 1.8 น� า แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ป รั บ ปรุ ง
ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ แล้วน�าไปทดลองใช้
1.5 สร้ า งแผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ที่ ใ ช้ (Try Out) กับนักเรียนที่ไม่ใช่นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
ประกอบการสอนเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นการอ่ า น ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จ�านวน 30 คน
จับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน โดยใช้วิธีการเลือกแบบการสุ่มอย่างง่าย (Simple
แบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลากโดยใช้ห้องเรียน
ให้สอดคล้องกับค�าอธิบายรายวิชาและผลการเรียนรู้ เป็นหน่วยสุ่ม
83
Ganesha Journal Vol. 17 No. 2 July - December 2021
1.9 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้มี ของผู้เชี่ยวชาญ ไปทดลองใช้ (Try Out) กับนักเรียน
ความเหมาะสมด้านเวลา ด้านเนื้อหา และด้านอื่น ๆ เพื่ อ หาค่ า ความยากง่ า ย (p) ค่ า ความเชื่ อ มั่ น (r)
เพือ่ จะน�าไปใช้จดั การเรียนการสอนกับนักเรียนกลุม่ ตัวอย่าง และค่ า อ� า นาจจ� า แนกของแบบทดสอบ จากนั้ น
2. แบบทดสอบวั ด ทั ก ษะด้ า นการอ่ า น จึงเลือกแบบทดสอบจ�านวน 30 ข้อ ที่มีค่าเป็นไป
จับใจความ เรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ ตามเกณฑ์ที่ก�าหนด
ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R 2.7 น� า แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ทั ก ษ ะ ด ้ า น
ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 พร้อมแบบฝึกทักษะ การอ่านจับใจความที่ได้ปรับปรุงแก้ไข หรือตามเกณฑ์
ผู้วิจัยมีขั้นตอนการจัดท�าแบบทดสอบวัดทักษะด้าน ที่ก�าหนดเพื่อจะน�าไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ทดสอบ
การอ่านจับใจความ ดังนี้ ก่อนเรียน จ�านวน 1 ชั่วโมง และทดสอบหลังเรียน
2.1 ศึก ษาหลั ก สู ต รแกนกลางการศึก ษา จ�านวน 1 ชั่วโมง
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา 3. แบบสอบถามความพึ ง พอใจ เป็ น แบบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษา มาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) แบ่งระดับ
ปีที่ 3 ความพึงพอใจเป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง
2.2 ศึ ก ษาเอกสาร ต� า รา และงานวิ จั ย น้อย น้อยที่สุด ประกอบด้วยข้อค�าถามจ�านวน 20 ข้อ
ที่เกี่ยวกับแบบทดสอบวัดทักษะด้านการอ่านจับใจความ ผู ้ วิ จั ย มี ขั้ น ตอนการสร้ า งแบบสอบถาม
2.3 สร้ า งแบบทดสอบวั ด ทั ก ษะด้ า น ความพึงพอใจของนักเรียน ดังนี้
การอ่านจับใจความ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 3.1 ศึ ก ษาเอกสาร ต� า รา และงานวิ จั ย
จ�านวน 60 ข้อ โดยออกข้อสอบเป็นจ�านวน 2 เท่าทีใ่ ช้จริง ที่เกี่ยวกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ
โดยใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3.2 สร้ า งแบบสอบถามความพึ ง พอใจ
2.4 น�าแบบทดสอบวัดทักษะด้านการอ่าน ของนักเรียนทีม่ ตี ่อมีการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะ
จับใจความเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความ ร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R
ถู ก ต้ อ งของภาษาและเนื้อ หา เพื่อ ให้ ข ้ อ เสนอแนะ 3.3 น�าแบบสอบถามความพึงพอใจของ
แล้วน�ามาปรับปรุงแก้ไขให้มคี วามเหมาะสม นั ก เรี ย นเสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาเพื่ อ ตรวจสอบ
2.5 น�าแบบทดสอบวัดทักษะด้านการอ่าน ความถูกต้องและหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
จับใจความที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อค�าถามกับวัตถุประสงค์
จ�านวน 5 ท่าน ตรวจสอบค่าความตรงของเนื้อหา 3.4 น� า แบบสอบถามความพึ ง พอใจ
ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) และให้ข้อเสนอแนะ ให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง
โดยค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป ถือว่า ของเนือ้ หา (Content Validity) โดยใช้เกณฑ์การประเมิน ดังนี้
มีความสอดคล้องกันในเกณฑ์ทยี่ อมรับได้ ซึง่ มีเกณฑ์ดงั นี้ +1 หมายถึ ง แน่ ใ จว่ า แบบสอบถาม
+1 หมายถึ ง แน่ ใ จว่ า ข้ อ สอบข้ อ นั้ น วัดพฤติกรรมนัน้ จริง
สอดคล้องกับตัวชี้วัด 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าหรือตัดสินใจไม่ได้
0 หมายถึ ง ไม่ แ น่ ใ จว่ า ข้ อ สอบนั้ น ว่าแบบสอบถามพฤติกรรมนั้นจริง
สอดคล้องกับตัวชี้วัดหรือไม่ -1 หมายถึง แน่ใจว่า แบบสอบถาม
-1 หมายถึ ง แน่ ใ จว่ า ข้ อ สอบข้ อ นั้ น ไม่ได้วัดพฤติกรรมนั้นจริง
ไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัด 3.5 น� า แบบสอบถามที่ไ ด้ รั บ การตรวจ
2.6 น�าแบบทดสอบวัดทักษะด้านการอ่าน จากผู ้ เ ชี่ ย วชาญน� า มาหาค่ า ดั ช นี ค วามสอดคล้ อ ง
จั บ ใจความที่ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไ ขแล้ ว ตามข้ อ เสนอแนะ กับจุดประสงค์ (IOC) ที่มีเกณฑ์ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป
84
พิฆเนศวร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2564
ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1.00 แสดงว่า แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับ
แบบสอบถามความเทีย่ งตรงเชิงโครงสร้าง และสอดคล้อง นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 จ�านวน 20 ข้อ แล้วน�าคะแนน
กับพฤติกรรมที่ต้องการวัด ที่ได้ไปหาค่าเฉลี่ยและแปลผล
3.6 น�าแบบสอบถามความพึงพอใจมาปรับแก้ 6. น�าข้อมูลที่ได้จากการทดลองไปวิเคราะห์
ตามค�าแนะน�าของผู้เชี่ยวชาญ ทางสถิติตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
3.7 น�าแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try Out) การวิเคราะห์ข้อมูล
กับนักเรียนที่ไม่ใช่นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน 1. วิ เ ค ร า ะ ห ์ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ผ น ก า ร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จ�านวน 30 คน จัดการเรียนรู้เรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ
3.8 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจ ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R
ฉบับสมบูรณ์ เพื่อน�าไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80
วิธีด�าเนินการทดลอง โดยใช้สูตร E1/E2
1. ชี้แจงรายละเอียดขั้นตอน และวิธีปฏิบัติ 2. เปรี ย บเที ย บทั ก ษะการอ่ า นจั บ ใจความ
ในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับ
ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ส� า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ให้ นั ก เรี ย น ปีที่ 3 โดยหาค่าค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
กลุ่มทดลองเกิดความเข้าใจ (S.D.) และค่าที (t-test)
2. ทดสอบก่ อ นเรี ย น (Pre-test) ด้ ว ย 3. วิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียน
แบบทดสอบการอ่ า นจั บ ใจความ จ� า นวน 30 ข้ อ ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับ
ใช้เวลาในการทดสอบ 60 นาที แล้วตรวจและบันทึก เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
คะแนนไว้ ปีที่ 3 โดยหาค่าเฉลีย่ ( ) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
3. ด�าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
แผนการเรี ย นรู ้ เ รื่ อ งการพั ฒ นาทั ก ษะการอ่ า น ผลการวิจัย
จับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน 1. การตรวจสอบหาประสิทธิภาพของแผน
แบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การจั ด การเรี ย นรู ้ เ รื่ อ งการพั ฒ นาทั ก ษะการอ่ า น
จ�านวน 5 แผน ใช้เวลาทดลอง 10 ชั่วโมง และบันทึก จับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
คะแนนจนครบทุกแผน ซึ่งในแต่ละแผนการเรียนรู้ แบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จะมีกิจกรรมการอ่านแบบ SQ6R อยู่ในแผนเพื่อให้การ กับนักเรียนที่เป็นนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน
จัดการเรียนการสอนเป็นไปตามเทคนิควิธีการอ่าน ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3/10 โรงเรียนตะพานหิน จังหวัดพิจติ ร
แบบ SQ6R ที่ผู้วิจัยเลือกใช้ในการพัฒนาทักษะการอ่าน ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ที่ก�าลัง
จับใจความในงานวิจัยนี้ ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จ�านวน 1
4. ด�าเนินการทดสอบหลังเรียน (Post-test) ห้องเรียน มีจ�านวนนักเรียน 30 คน พบว่ามีประสิทธิภาพ
ด้วยแบบทดสอบการอ่านจับใจความ ซึ่งเป็นข้อสอบ อยู่ในเกณฑ์ 89.15/86.44 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้
เดียวกันกับข้อสอบก่อนเรียน แต่สลับข้อค�าถามและ คือ 80/80
ตัวเลือก แล้วตรวจและบันทึกคะแนนไว้ 2. ความสามารถในการอ่ า นจั บ ใจความ
5. หลังจากเสร็จสิ้นการทดลอง ให้นักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้
ท�าแบบประเมินความพึงพอใจเพื่อวัดความพึงพอใจ แบบฝึ ก ทั ก ษะร่ ว มกั บ เทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ6R
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทีม่ ตี อ่ การจัดการเรียนรู้ดว้ ย ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปรากฏผลดังตารางที่ 1
85
Ganesha Journal Vol. 17 No. 2 July - December 2021
ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบอ่านจับใจความ ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
แบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3
การทดสอบ คะแนนเต็ม n S.D. T sig. p
ก่อนเรียน 30 30 19.10 2.29
18.71 0.000
หลังเรียน 30 30 26.03 1.92
*มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 1 พบว่ า ค่ า เฉลี่ ย คะแนน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05


ความสามารถในการอ่ า นจั บ ใจความของนั ก เรีย น 3. ความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ การ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ จั ด การเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยแบบฝึ ก ทั ก ษะร่ ว มกั บ เทคนิ ค
แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เท่ากับ การอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนซั้นมัธยมศึกษา
19.10 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับ ปี ที่ 3 โดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ พึง พอใจมากที่สุ ด
เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เท่ากับ 26.03 และเมื่อ ( = 4.57, S.D. = 0.68)
เปรีย บเทีย บความในสามารถการอ่ า นจั บ ใจความ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการ การอภิปรายผลการวิจัย
จัดการเรียนรู้พบว่า ความในสามารถการอ่านจับใจ การวิจยั ในครัง้ นีเ้ ป็นการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะ
ความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียน การอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิค
สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
3. ความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ ปีที่ 3 สามารถอภิปรายผลการศึกษาได้ดังนี้
การจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิค 1. การสร้างและหาประสิทธิภาพของแผน
การอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา การจั ด การเรี ย นรู ้ เ รื่ อ งการพั ฒ นาทั ก ษะการอ่ า น
ปีที่ 3 พบว่าภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด จับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
( = 4.57, S.D. = 0.68) เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า
ล�าดับที่หนึ่ง คือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ( = 4.59, ผลการประเมินความเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน
S.D. = 0.63) ล�าดับทีส่ อง คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.79, S.D. = 0.41) และ
( = 4.57, S.D. = 0.70) และล�าดับที่สาม คือด้าน เมื่ อ น� า ไปทดลองใช้ จ ริ ง กั บ นั ก เรี ย นกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง
บรรยากาศการเรียนรู้ ( = 4.53, S.D. = 0.71) คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/10 โรงเรียนตะพานหิน
พบว่า มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 89.15/86.44
สรุปผลการวิจัย เนื่อ งจากเทคนิค การอ่ า นแบบ SQ6R เป็ น เทคนิค
1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการพัฒนา การอ่านที่ช่วยให้ผู้เรียนมีทิศทางในการอ่าน มีขั้นตอน
ทักษะการอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับ การอ่านที่เปรียบเสมือนขั้นบันได ให้ผู้เรียนค่อย ๆ
เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ก้าวไปทีละขั้นจนถึงเป้าหมาย ท�าให้ผู้เรียนอ่านแล้ว
ปีที่ 3 มีประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 89.15/86.44 ซึง่ สูงกว่า เข้าใจมากขึ้น ประกอบไปด้วย 8 ขัน้ ตอน คือ ขั้นส�ารวจ
เกณฑ์ที่ก�าหนดไว้คอื 80/80 (Survey) ขั้นตั้งค�าถาม (Question) ขั้นอ่าน (Read)
2. ความสามารถในการอ่านจับใจความของ ขัน้ บันทึก (Record) ขัน้ จดจ�า (Recite) ขัน้ ทบทวน (Review)
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการ ขัน้ สะท้อน (Reflect) และขัน้ สร้างใหม่ (Reshape) ทีส่ อดคล้อง
เรียนรู้ พบว่าความสามารถในการอ่านจับใจความหลังเรียน กับงานวิจยั ของ จันทนา สุขสมบูรณ์ (2554) ศึกษาผลการ
86
พิฆเนศวร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2564
จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ เ พื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการอ่ า น ให้ ผู ้ เ รี ย นเห็ น ความส� า คั ญ เข้ า ใจสาระส� า คั ญ ของ
ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยเทคนิค SQ6R บทเรียนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ เทคนิคการอ่านแบบ
พบว่า ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ SQ6R ยังช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการ
การอ่านภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยเทคนิค อ่านจับใจความด้วยการอ่านที่มีล�าดับขั้นตอนดังนี้
SQ6R ที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ 78.89/76.38 เป็นไป ขั้นที่ 1 Survey (S) ขั้นส�ารวจ คือการอ่านส�ารวจเนื้อหา
ตามเกณฑ์ ที่ตั้ง ไว้ และสอดคล้ อ งกั บ งานวิจั ย ของ โดยการกวาดสายตาอย่ า งรวดเร็ ว อ่ า นผ่ า น ๆ
สุดารัตน์ ฉายทอง (2556) ที่ศึกษาการพัฒนาผล ดู ย ่ อ หน้ า แรกและย่ อ หน้ า สุ ด ท้ า ยเพื่ อ ที่ จ ะได้ เ ห็ น
สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นด้ ว ยชุ ด ทั ก ษะการอ่ า นจั บ ใจ ภาพรวม เห็นการเชื่อมโยงของข้อมูล ขั้นที่ 2 Question
ความโดยใช้ เ ทคนิ ค SQ6R เรื่อ ง Travel Around (Q) ขัน้ ตั้งค�าถาม คือหลังจากอ่านส�ารวจเนื้อหาให้ผู้อ่าน
Sisaket ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ตั้ ง ค� า ถามที่ ส นใจ อยากรู ้ หรื อ สงสั ย ในเนื้ อ หา
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้เทคนิค SQ6R ของบทความในระหว่ า งอ่ า น เช่ น ใคร ท� า อะไร
เรื่อง Travel Around Sisaket สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้ ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ขั้นที่ 3 Read (R1) ขั้นอ่าน
คือ 80/80 คื อ การอ่ า นเนื้ อ หาอย่ า งละเอี ย ดที ล ะย่ อ หน้ า
2. การเปรี ย บเที ย บความสามารถในการ ในขณะที่ อ ่ า นให้ ค ้ น หาค� า ตอบของค� า ถามที่ ตั้ ง ไว้
อ่ า นจั บ ใจความ ก่ อ นเรีย นและหลั ง เรีย นด้ ว ยการ ก่อนหน้านี้ การมีค�าถามในใจเวลาอ่านจะท�าให้จับใจ
จั ด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะร่ ว มกั บ เทคนิ ค ความทีส่ า� คัญได้ดขี นึ้ เพราะจะช่วยให้การอ่านในขัน้ ต่อไป
การอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา เป็นไปอย่างมีจุดมุ่งหมายและสามารถจับประเด็นส�าคัญ
ปีที่ 3 พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการอ่าน ได้ถูกต้องไม่ผดิ พลาด ขั้นที่ 4 Record (R2) ขั้นบันทึก คือ
จับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ก่อนการ การบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ทีไ่ ด้อ่านอย่างละเอียด โดยมุ่งเน้น
จัดการเรียนรู้ เท่ากับ 19.10 หลังการจัดการเรียนรู้ ให้บันทึกข้อความที่ส�าคัญและสิ่งที่จ�าเป็น เป็นข้อความ
เท่ากับ 26.03 และเมื่อเปรียบเทียบความสามารถใน ที่รัดกุมตามความเข้าใจของผู้อ่าน และบันทึกค�าตอบ
การอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของข้อค�าถามที่ตั้งไว้ แล้วจดบันทึกใจความส�าคัญ
ก่อนและหลังการจัดการเรียนรูพ้ บว่า ความสามารถในการ และความคิดเห็นของผู้อ่านออกมาแล้วเชือ่ มโยงสิง่ ทีอ่ ่าน
อ่านจับใจความของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียน กับสิง่ ทีร่ ้อู ยู่แล้วจะท�าให้เข้าใจมากขึน้ ขัน้ ที่ 5 Recite (R3)
สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ขัน้ จดจ�า คือการอ่านเพือ่ จดจ�าและท�าความเข้าใจกับข้อมูล
แสดงว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับ ทีส่ า� คัญของบทความ เขียนสรุปใจความส�าคัญโดยใช้ภาษา
เทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ6R ส� า หรั บ นั ก เรี ย น ของตนเอง ถ้าหากไม่แน่ใจในบทใดหรือตอนใดให้กลับไป
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท�าให้นักเรียนมีทักษะด้านการ อ่านซ�้าใหม่ ขั้นที่ 6 Review (R4) ขั้นทบทวน คือการอ่าน
อ่านจับใจความดีขึ้นจึงส่งผลให้ความสามารถการ อีกครั้งเพื่อทบทวนสิ่งที่ได้อ่านไปแล้ว โดยการอ่านสรุป
อ่ า นจั บ ใจความของนั ก เรีย นชั้น มั ธ ยมศึก ษาปี ที่ 3 ที่จดไว้ หรืออ่านใหม่ทั้งหมด การทบทวนช่วยในการน�า
หลั ง เรีย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรีย น เป็ น ไปตามสมมติฐ าน สิ่งที่อ่านไปไว้ในความจ�าระยะยาว ขั้นที่ 7 Reflect (R5)
การวิจัยที่ก�าหนดไว้ ทั้งนี้เนื่องจากการใช้แบบฝึกทักษะ ขัน้ สะท้อนความรู้ คือการวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น
ร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เป็นรูปแบบการ ในประเด็นที่มีความคิดเห็นสอดคล้องหรือไม่สอดคล้อง
จัดการเรียนรู้อีกวิธีหนึ่งที่เน้นให้ผู้เรียนมีบทบาทส�าคัญ อาจขยายความสิ่งที่ได้อ่านโดยการเชื่อมโยงความคิด
ในการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม จากบทอ่านกับความรู้เดิมแล้วน�ามาพูดคุยกับเพื่อน
ด้วยตนเองอย่างเป็นขั้นตอน อีกทั้งผู้เรียนยังได้น�า เพือ่ แลกเปลีย่ นความรู้ซงึ่ กันและกัน ขัน้ ที่ 8 Reshape (R6)
องค์ความรู้มาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนร่วมกลุ่ม ซึ่งส่งผล ขั้นสร้างใหม่ คือ การเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลจากบทความ
87
Ganesha Journal Vol. 17 No. 2 July - December 2021
ไปสร้างงานใหม่ โดยน�าข้อมูลไปสร้างเป็นกรอบแนวคิด เป็นกระบวนการสอนที่มีเนื้อหาเหมาะสมกับวัยและ
ผังความคิด บันทึก ย่อความ โปสเตอร์ เป็นต้น เทคนิคการอ่าน ความสนใจของผูเ้ รียน มีขนั้ ตอนชัดเจนท�าให้นกั เรียนสนใจ
แบบ SQ6R เป็นวิธกี ารอ่านที่มขี นั้ ตอนในการอ่าน มุ่งเน้น ทีจ่ ะติดตามอ่านในแต่ละขัน้ ตอน กิจกรรมไม่ยากจนเกินไป
ให้ผู้อ่านเกิดทักษะการอ่าน ซึ่งท�าให้ผู้อ่านมีความเข้าใจ นักเรียนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได้อีกทั้งนักเรียนยัง
ในเรือ่ งทีอ่ ่านอย่างเป็นระบบ สามารถจดจ�าสิง่ ทีอ่ ่านได้ดี ได้ตั้งค�าถามและหาค�าตอบในสิ่งที่ต้องการรู้ นอกจากนี้
อีกทัง้ ยังช่วยเสริมสร้างนิสยั รักการอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้แบบนี้ยังส่งเสริมกระบวนการกลุ่ม
และยังช่วยในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กัน จึงท�าให้นักเรียนเกิดองค์
เช่ น การส� า รวจ การตั้ ง ค� า ถาม การตอบค� า ถาม ความรู้ที่กว้างขวาง มีความสัมพันธ์ท่ีดีภายในกลุ่ม
โดยขัน้ ตอนดังกล่าวเป็นการตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจ และเพือ่ นในชัน้ เรียน ท�าให้ผ้เู รียนมีความสุขในการปฏิบตั ิ
ของการอ่านได้เป็นอย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย กิจกรรมทุกขัน้ ตอน และสามารถน�าความรู้ท่ไี ด้จากการ
ของ อารีย์ ทองเพ็ง (2556) ที่ศึกษาการจัดการเรียน อ่านจับใจความไปใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ สอดคล้องกับ
การสอนด้วยวิธี SQ6R ร่วมกับเทคนิค KWL ที่มีต่อ ปิยาภรณ์ ศรีจนั ทร์ (2557) ทีศ่ กึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ความเข้าใจในการอ่าน ภาษาไทยและความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ6R ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ความพึงพอใจ
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�าคัญที่ระดับ .01 ของนักเรียนอยู่ในระดับมาก
2) ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�าคัญทีร่ ะดับ .01 และ 3) ผลสัมฤทธิ์ ข้อเสนอแนะ
ทางการเรียนภาษาอังกฤษ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ข้อเสนอแนะเพื่อการน�าผลการวิจัยไปใช้
อย่างมีนัยส�าคัญที่ระดับ .01 และสอดคล้องกับงานวิจัย 1. ครูผู้สอนควรศึกษากระบวนการจัดการ
ของ ปิยาภรณ์ ศรีจนั ทร์ (2557) ศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ
เรียนภาษาไทยและความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ SQ6R ให้เข้าใจ เพื่อที่จะสามารถอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ
โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ6R ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก ได้และสามารถให้ความช่วยเหลือในกรณีท่ีผู้เรียนสงสัย
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ หรือไม่เข้าใจในขัน้ ตอนต่าง ๆ
ทางการเรียนวิชาภาษาไทยนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ขั้ น ตอนต่ า ง ๆ ของการจั ด การเรี ย นรู ้
โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ6R ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ สามารถปรับเปลี่ยนให้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา
ที่ระดับ .01 2) ความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ และระยะเวลาที่ใช้สอน
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบ 3. การจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับ
SQ6R ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ผู้สอนควรเน้นบรรยากาศ
อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในการจัดการเรียนให้ผเู้ รียนมีอสิ ระในการอ่านจับใจความ
3. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มี 4. การจัดการเรียนรู้สามารถปรับเปลีย่ นเนือ้ หา
ต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิค หรือสอดแทรกเนื้อหาที่มีความสอดคล้องกับสภาพ
การอ่านแบบ SQ6R ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา สังคมหรือสภาพท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะ
ปีที่ 3 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด การแสวงหาความรู้และทักษะการอ่านจับใจความ
( = 4.57, S.D. = 0.68) เนื่องจากการจัดการเรียนรู้ 5. การจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับ
ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R มีข้อจ�ากัดในเรื่องของเวลา
ในการจัดการเรียนรู้ เนื่องจากการอ่านแบบ SQ6R
88
พิฆเนศวร์สาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2564
เป็นการอ่านที่มีหลายขั้นตอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ 2. ควรศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การน� า การจั ด
ด้านความเหมาะสมของเวลา ควรจัดกิจกรรมการเรียน การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่าน
เป็นคาบคู่ เพื่อให้นักเรียนได้ท�ากิจกรรมครบทุกขั้นตอน แบบ SQ6R ไปพัฒนาการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
อย่างต่อเนือ่ ง ท�าให้ทกั ษะการอ่านจับใจความแบบ SQ6R หรือการอ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นต้น
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3. ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการสร้างหนังสือ
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป อิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน
1. ควรศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นา จั บ ใจความร่ ว มกั บ เทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ6R
ความสามารถในการอ่านจับใจความด้วยการจัดการเรียนรู้ เพือ่ เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทีน่ า� เทคโนโลยี
ด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เข้ามาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพทางการเรียนมากขึ้น
ในระดับชัน้ อื่น ๆ

เอกสารอ้างอิง
จันทนา สุขสมบูรณ์. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ด้วยเทคนิค SQ6R. (วิท ยานิพนธ์ ก ารศึก ษามหาบั ณ ฑิต , สาขาวิช าหลั ก สู ตรและวิธีสอน มหาวิท ยาลั ย
มหาสารคาม).
ปิ ย าภรณ์ ศรี จั น ทร์ . (2557). ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นภาษาไทยและความสามารถด้ า นการอ่ า นเชิ ง วิ เ คราะห์
โดยใช้วธิ สี อนแบบ SQ6R ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ).
โรงเรียนตะพานหิน. (2562ก). การวัดและประเมินผลการศึกษา. พิจิตร: โรงเรียนตะพานหิน.
โรงเรี ย นตะพานหิ น . (2562ข). รายงานผลคะแนนการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET).
สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร เขต 1. พิจิตร: โรงเรียนตะพานหิน.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2554). นวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
วิไล ทองสม. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยแผนผังความคิด เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านจับใจความ
กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ส�าหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3. (การค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต,
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนเรศวร).
สุดารัตน์ ฉายทอง. (2556). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยชุดทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้เทคนิค SQ6R
เรื่อง Travel Around Sisaket ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. สืบค้นจาก http://www.kruwandee.com/
print.php?action=print&id=1245&module=forum
อารีย์ ทองเพ็ง. (2556). ผลการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธี SQ6R ร่วมกับเทคนิค KWL ทีม่ ตี ่อความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ ความเข้าใจในการอ่านและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3.
(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ).
Williams, S. (2005). Guiding students through the jungle of research based literature. College Teaching, 53(4),
137-139.

You might also like