Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

ลม − 182 ลักษณะรถใหม − ระบบปรับอากาศ

„ โครงสรางและการทํางาน
1. คอมเพรสเซอร
ขอมูลทั่วไป
คอมเพรสเซอรนี้เปนชนิดปริมาตรเปลี่ยนแปลงโดยความจุของคอมเพรสเซอรจะเปลี่ยนไปตามภาระการทํา
ความเย็นของเครื่องปรับอากาศ
• ชุดคอมเพรสเซอรประกอบดวย พูลเลย เพลา ลักเพลท สวอชเพลท ลูกสูบ ฝก หองขอเหวีย่ ง กระบอกสูบ
โซลินอยดวาลวควบคุมแบบมีวาลว CS (วาลวระบายจากหองขอเหวีย่ งไปที่ชองทางดูด) ติดตั้งไวภายในเซ็นเซอร
วัดมวลการไหลของอากาศของระบบปรับอากาศ ตัวกัน้ น้ํามัน และลิ้นเรงดานดูดแบบแปรผัน
• ตัวกั้นน้ํามันเครื่องประกอบดวยกระบอกสูบและหองกัน้ น้ํามัน
• พูลเลยเครื่องปรับอากาศที่ใชเปนแบบตัวดูดซับแรงแบบพลาสติก (DL)

เซ็นเซอรวัดมวลการไหลของ
อากาศของระบบปรับอากาศ
หองขอเหวี่ยง ลูกสูบ
ฝก

เพลา

โซลินอยดวาลวควบคุมแบบมี
วาลว CS ติดตั้งไวภายใน

ลักเพลท ลูกสูบ กระบอกสูบ

08T3NF57C
ลักษณะรถใหม − ระบบปรับอากาศ ลม − 183

การทํางาน
1) คอมเพรสเซอรแบบปริมาตรเปลี่ยนแปลง
• หองขอเหวี่ยงจะตอเขากับชองทางดูด โดยมีโซลินอยดวาลวควบคุมอยูระหวางชองทางดูด (แรงดันต่ํา) และ
ชองทางอัด (แรงดันสูง)
• โซลินอยดวาลวควบคุมจะทํางานภายใตการควบคุมของวงจรสัญญาณดิวตี้ตามสัญญาณจากแอมปลิฟายเออร
เครื่องปรับอากาศ แอมปลิฟายเออร
เครื่องปรับอากาศ
การดูด

หองขอเหวี่ยง

การอัด

โซลินอยดวาลวควบคุม

11C0BE38C

• เมื่อโซลินอยดวาลวควบคุมปด (ขดลวดโซลินอยดถูกกระตุน) จะเกิดความแตกตางในแรงดันและแรงดันใน


หองขอเหวี่ยงจะลดลง จากนั้นแรงดันที่จายไปยังดานขวาของลูกสูบจะมากกวาแรงดันที่จายไปยังดานซายของ
ลูกสูบ จึงไปกดสปริงทําใหลักเพลทเอียง เปนผลใหระยะชักลูกสูบเพิม่ ขึ้นและทําใหปริมาตรการอัดมากขึ้น
แอมปลิฟายเออร
เครื่องปรับอากาศ
การดูด

หองขอเหวี่ยง
ลูกสูบ

การอัด

แรงดันหองขอเหวี่ยง + โซลินอยดวาลวควบคุม
แรงดันสปริง ลูกสูบ

ระยะชักลูกสูบ: ยาว 11C0BE39C


ลม − 184 ลักษณะรถใหม − ระบบปรับอากาศ

• เมื่อโซลินอยดวาลวควบคุมเปด (ขดลวดโซลินอยดไมถกู กระตุน) จะไมมีความแตกตางในแรงดัน จากนัน้ แรงดัน


ที่จายไปยังดานซายของลูกสูบจะเทากับแรงดันที่จา ยไปยังดานขวาของลูกสูบ สปริงจึงยืดออกและทําให ลักเพลท
หยุดเอียง ดวยเหตุนี้ จึงทําใหระยะชักลูกสูบสั้นและปริมาตรการอัดเพิ่มขึ้น
แอมปลิฟายเออร
เครื่องปรับอากาศ

การดูด

หองขอเหวี่ยง

การอัด

โซลินอยดวาลวควบคุม
แรงดันหองขอเหวี่ยง +
แรงดันสปริง
ระยะชักลูกสูบ: สั้น 11C0BE40C

2) การทํางานของวาลว CS (วาลวระบายจากหองขอเหวี่ยงไปที่ชองทางดูด)
• วาลว CS (วาลวระบายจากหองขอเหวี่ยงไปที่ชองทางดูด) จะติดตั้งอยูในโซลินอยดวาลวควบคุมและทํางาน
ตามแรงดันดานดูด วาลว CS ประกอบดวยชองทาง A และชองทาง B
• ถาจอดรถทิ้งไวเปนเวลานาน สารทําความเย็นอาจสะสมอยูในหองขอเหวี่ยงเนื่องจากความแตกตางของความจุ
ความรอน
• โซลินอยดวาลวควบคุมจะถูกควบคุมโดยชุดแอมปลิฟายเออรเครื่องปรับอากาศ ในขณะที่ชด ุ คอมเพรสเซอร
ทํางาน โซลินอยดวาลวควบคุมจะกดกานวาลว CS ลง และเปดชองทาง A
• ภายใตสภาวะดานบน เฉพาะถามีสารทําความเย็นสะสมอยูในหองขอเหวีย่ ง แรงดันหองขอเหวีย่ งจะสูงขึ้น
ดวยเหตุนี้ ลูกยางจะลดลงเนือ่ งจากความแตกตางของแรงดันภายใน (สุญญากาศ) และเปดชองทาง A
• ลักษณะเชนนีจ้ ะทําใหสารทําความเย็นที่สะสมอยูระบายออกผานทางชองทาง A และชองทาง B ทําใหสารทํา
ความเย็นที่สะสมอยูระบายออกไดโดยงายและประสิทธิภาพการทําความเย็นเปนไปอยางรวดเร็วยิง่ ขึ้น

ชองทาง A ชองทาง B

กานวาลว CS
ไปที่ชองทางดู

วาลว CS จากหอง
ขอเหวี่ยง
08T3NF72C
โซลินอยดวาลวควบคุม
ลักษณะรถใหม − ระบบปรับอากาศ ลม − 185

3) การทํางานของเซ็นเซอรวัดมวลการไหลของอากาศของระบบปรับอากาศ
• การใชสปูลซึ่งเปลี่ยนตําแหนงตามปริมาณการไหลเวียนของสารทําความเย็น ซึ่งเซ็นเซอรวัดมวลการไหลของ
อากาศของระบบปรับอากาศจะตรวจจับปริมาณการไหลเวียนของสารทําความเย็น
• เซ็นเซอรวดั มวลการไหลของอากาศของระบบปรับอากาศจะสงแรงดันไฟฟาออกมาโดยการแปลงความผันแปร
ของเสนแรงแมเหล็กที่เกิดขึน้ จากแมเหล็กที่ติดตั้งอยูที่สปูล
• สปูลจะเปลีย่ นตําแหนงไปตามความแตกตางของแรงดันระหวางแรงดันกอนและหลังลิน ้ เรงควบคุมการไหลเวียน
ของสารทําความเย็น
• ถาปริมาณการไหลเวียนของสารทําความเย็นนอย ความแตกตางของแรงดันระหวางหองทางเขาสารทําความเย็น
A และ B จะต่าํ จึงทําใหแรงดันสปริง B ไปกดสปูลขึ้น
• ถาปริมาณการไหลเวียนของสารทําความเย็นมาก ความแตกตางของแรงดันระหวางหองทางเขาสารทําความเย็น
A และจะสูง B ความแตกตางของแรงดันทําใหแรงดันของสปริง B เพิม่ ขึ้น และสปูลเลื่อนลง
• แอมปลิฟาเออรเครื่องปรับอากาศจะควบคุมชุดคอมเพรสเซอรตามปริมาณการไหลเวียนของสารทําความเย็น
ที่ตรวจจับไดโดยเซ็นเซอรวดั มวลการไหลของอากาศของระบบปรับอากาศ

หองทางเขาสารทําความเย็น A
แอมปลิฟายเออร
เซ็นเซอรแมเหล็ก เครื่องปรับอากาศ
แมเหล็ก

สปริง A
สปูล
สปริง B
หองทางเขาสารทําความเย็น B
การไหลเวียนของสารทําความเย็น
ลิ้นเรง
08T3NF73C
ลม − 186 ลักษณะรถใหม − ระบบปรับอากาศ

4) การทํางานของตัวกั้นน้ํามัน
• สวนผสมของสารทําความเย็นกับน้ํามันคอมเพรสเซอรจะไหลเขาสูหองกั้นน้ํามันจากทางหองอัด (*a)
• แรงดันของสวนผสมของสารทําความเย็นกับน้ํามันคอมเพรสเซอรจะทําใหกระบอกสูบตัวกัน ้ น้ํามันทํางาน
จึงทําใหน้ํามันและสารทําความเย็นถูกแยกออกจากกันโดยแรงเหวีย่ งหนีศูนย (*b)
• สารทําความเย็นที่แยกออกมาจะไหลไปทีค ่ อนเด็นเซอรผานทางชองจาย (*c)
• น้ํามันที่แยกออกมาจะหมุนเวียนและหลอลื่นภายในของคอมเพรสเซอรโดยการไหลเวียนผานหองพักน้ํามัน
หองทางเขาสารทําความเย็น กระบอกสูบ และหองอัด นอกจากนี้ ปริมาณของน้าํ มันทีถ่ ูกจายโดยคอมเพรสเซอร
จะถูกกําจัดไป (*d)
• ตัวกั้นน้ํามันจะติดตั้งอยูในชองทางสารทําความเย็นเพื่อแยกน้ํามันคอมเพรสเซอรออกจากสารทําความเย็นที่ถูกอัด
เขาไป ลักษณะเชนนี้จะชวยปองกันไมใหน้ํามันคอมเพรสเซอรเขาไปในระบบปรับอากาศและเพิ่มประสิทธิภาพ
การทําความเย็น (*e)

หองพักน้ํามัน

น้ํามันคอมเพรสเซอร สารทําความเย็น
(ไปที่หองพักน้ํามัน) (ไปที่ชองจาย)
*d

หองกั้นน้ํามัน *c
*b

*e กระบอกสูบ
*a
ตัวกั้นน้ํามัน
น้ํามันคอมเพรสเซอร
สารทําความเย็น
หองทางเขาสาร
ทําความเย็น
ตัวกั้นน้ํามัน
หองอัด
08T3NF74C
ลักษณะรถใหม − ระบบปรับอากาศ ลม − 187

5) การทํางานของลิ้นเรงดานดูดแบบแปรผัน
• แรงดันชองทางเขาสารทําความเย็นจะถูกจายเขาไปที่ดานบนของลิ้นเรงดานดูดแบบแปรผันและแรงดันหอง
ขอเหวีย่ งจะถูกจายไปที่ดานลางของลิ้นเรงดานดูดแบบแปรผัน
• ความแตกตางของแรงดันจะเลื่อนลิ้นเรงดานดูดแบบแปรผันขึ้นและลง ซึ่งจะขยายและลดชองทางเขาสารทํา
ความเย็น
• เมื่อการไหลเวียนของสารทําความเย็นอยูทรี่ ะดับสูงสุด แรงดันชองทางเขาสารทําความเย็นจะสูงกวาแรงดัน
หองขอเหวีย่ ง ลักษณะเชนนี้จะทําใหลนิ้ เรงดานดูดแบบแปรผันเลื่อนลง ซึ่งจะเปดชองทางเขาสารทําความเย็น
จนสุดและลดความตานทานของสารทําความเย็น
• เมื่อปริมาณการไหลเวียนของสารทําความเย็นถูกควบคุม แรงดันหองขอเหวีย่ งจะสูงกวาแรงดันชองทางเขา
สารทําความเย็น ซึ่งจะเลื่อนลิ้นเรงดานดูดแบบแปรผันขึน้ เพื่อไปลดชองทางสารทําความเย็นลงนัน่ เอง
• การควบคุมตางๆ เหลานี้จะทําใหเสียงรบกวนลดลงโดยการลดสัญญาณพัลสจากชองทางเขาสารทําความเย็น

การไหลเวียน
ชองทางสารทํา การไหลเวียนของสาร
ชองทางสารทําความเย็น A ของสารทํา
ความเย็น A ทําความเย็น: นอย
ความเย็น: มาก

หองทางเขาสาร หองทางเขาสาร ลิ้นเรงดานดูด


ทําความเย็น ลิ้นเรงดานดูด ทําความเย็น แบบแปรผัน
แบบแปรผัน

หองแรงดันขอเหวี่ยงเขา

แรงดันหองขอเหวี่ยง แรงดันหองขอเหวี่ยง
ขณะที่ปริมาณการไหลเวียนของ ขณะที่ปริมาณการไหลเวียนของ
สารทําความเย็นสูงสุด: สารทําความเย็นถูกควบคุม: 08T3NF75C

2. พูลเลยเครื่องปรับอากาศแบบมีตัวดูดซับแรงแบบพลาสติก (DL)
พูลเลยนี้ประกอบดวยตัวดูดซับแรงเพื่อดูดซับการเปลี่ยนแปลงในแรงบิดของเครื่องยนตและกลไกของตัวจํากัดเพื่อ
ปองกันสายพานขับในกรณีที่คอมเพรสเซอรล็อค ในกรณีที่คอมเพรสเซอรล็อค กลไกของตัวจํากัดจะทําใหสวนของ
กานพูลเลยแตกหัก ดวยเหตุนี้ จึงตองแยกพูลเลยออกจากชุดคอมเพรสเซอร

สวนของกานพูลเลย

ตัวดูดซับแรง
08T3NF58C

You might also like