แบบประเมินการนิเทศงานอาจารย์นิเทศงานในค

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

แบบประเมินการนิเทศงานอาจารย์นิเทศงานในคณะ

และอาจารย์นิเทศงานภาคสนาม
สำหรับนักศึกษา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
------------------------------------------------------
แบบประเมินนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการประเมินการนิเทศงานของอาจารย์นิเทศงานของคณะอาจารย์
และอาจารย์ภาคสนาม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาการศึกษาภาคปฏิบั ติของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดังนั้นคณะกรรมการฝ่านการศึกษาภาคปฏิบัติขอความร่วมมือจากนักศึกษาทุกคน
ตอบแบบประเมินนี้ตามความจริงเพื่อพัฒนาแนวทางการฝึกภาคปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วมของคณะ ฯ ครั้งต่อไป

ส่3วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา

1. นักศึกษาศูนย์ 1) รังสิต 2) ลำปาง


2. หน่วยฝึก.........................................................................................................................................
3. อาจารย์นิเทศงานในคณะ...............................................................................................................
4. อาจารย์นิเทศงานภาคสนาม..........................................................................................................
ส่วนที่ 2 การนิเทศงานของอาจารย์ในคณะและอาจารย์นิเทศงานภาคสนาม

5. การมีส่วนร่วมในการปฐมนิเทศ มัชฌิมนิเทศ และปัจฉิมนิเทศ และอาจารย์นิเทศงานในคณะ


(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
5.1 การเข้าร่วมปฐมนิเทศ มัชฌิมนิเทศ และปัจฉิมนิเทศ
การปฐมนิเทศในคณะ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม
การมัชฌิมนิเทศ (ในคณะหรือในหน่วยงาน) เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม
การปัจฉิมนิเทศ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม
5.2 การนิเทศงานช่วง 1 (สัปดาห์ที่ 1-2)
1. ร่วมปฐมนิเทศในหน่วยงาน 2. วางแผนงาน
3. ติดตามการฝึกภาคปฏิบตั ิ 4. ไม่ได้นิเทศงาน

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5.3 การนิเทศงานช่วงที่ 2 (สัปดาห์ที่ 3-5)
1. ลงเยี่ยมนักศึกษา 2. ให้คำแนะนำปรึกษา
3. ติดตามการฝึกภาคปฏิบัติ 4. ไม่ได้นิเทศงาน
5.4 การนิเทศงานช่วงที่ 3 (สัปดาห์ที่ 6-8)
1. ร่วมปัจฉิมนิเทศในหน่วยงาน 2. ให้ขอ้ เสนอแนะการฝึกฯ
3.สรุปบทเรียนรู้ 4. ไม่ได้นิเทศงาน
6. การนิเทศงานของอาจารย์ภาคสนาม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1 การนิเทศงานช่วง 1 (สัปดาห์ที่ 1-2)
1. ร่วมปฐมนิเทศในหน่วยงาน 2. วางแผนงาน
3. ติดตามการฝึกภาคปฏิบัติ 4. ไม่ได้นิเทศงาน
6.2 การนิเทศงานช่วงที่ 2 (สัปดาห์ที่ 3-5)
1. ลงเยี่ยมนักศึกษา 2. ให้คำแนะนำปรึกษา
3. ติดตามการฝึกภาคปฏิบัติ 4. ไม่ได้นิเทศงาน
6.3 การนิเทศงานช่วงที่ 3 (สัปดาห์ที่ 6-8)
1. ร่วมปัจฉิมนิเทศในหน่วยงาน 2. ให้ขอ้ เสนอแนะการฝึกฯ
3.สรุปบทเรียนรู้ 4. ไม่ได้นิเทศงาน

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ส่วนที่ 3 ระดับการปฏิบัติงานของอาจารย์นิเทศงานในคณะต่อการนิเทศงานการฝึกภาคปฏิบัติ
คำชี้แจง จงกาเครื่องหมาย  หรือ  ในช่องที่ตรงกับระดับการปฏิบัติของอาจารย์นิเทศงานในคณะที่กำหนด
ไว้โดบ 6 ระดับ คือ 5-มากที่สุด /4-มาก / 3-ปานกลาง / 2-น้อย / 1-น้อยที่สุด / 0-ไม่ได้ดำเนินการเลย
ระยะ บทบาทการนิเทศงานของ ระดับการปฏิบัติงาน
อาจารย์นิเทศงานในคณะ 5 4 3 2 1 0
1) เข้าร่วมปฐมนิเทศการฝึกภาคปฏิบตั ิกับ
นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
2) กำหนดแนวทางการเรียนรู้ร่วมกับอาจารย์
นิเทศงานภาคสนามและนักศึกษา
ระยะเริ่มต้น

3) เตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนการ
ลงพื้นที่ฝึกภาคปฏิบัติ
4) ชี้แจงวัตถุประสงค์ ทำความเข้าใจ
ข้อตกลงการฝึกภาคปฏิบัติร่วมกับหน่วย
ฝึกฯ และนักศึกษา
5) ให้คำแนะนำปรึกษาการจัดทำแผนงาน
การฝึกภาคปฏิบัติแก่นกั ศึกษา
6) แนะนำเครื่องมือ เทคนิค ทักษะการ
ทำงานกับชุมชนทั้งการเขียนบันทึกและ
การจัดทำรายงาน ผ่านการนิเทศงานใน
หน่วยงานหรือการติดต่อสื่อสารต่าง ๆ กับ
ระยะดำเนินการ

นักศึกษา
7) ส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และ
เห็นความเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีไปสู่การ
ฝึกภาคปฏิบตั ิ
8) จัดมัชฌิมนิเทศงานนักศึกษาในพื้นที่
ร่วมกับอาจารย์นิเทศภาคสนาม
9) ลงพื้นพื้นที่เพื่อนิเทศงานฝึกภาคปฏิบัติแก่
นักศึกษาตามปฏิทินการฝึกภาคปฏิบัติ
หรือเมื่อมีความจำเป็น
10) จัดการและแก้ไขปัญหาการฝึกภาคปฏิบัติ
กับหน่วยฝึกและหรือชุมขน

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
11) พัฒนากระบวนการการเรียนรู้ร่วมกันของ
นักศึกษากับเพื่อนๆ และอาจารย์นิเทศ
ภาคสนาม
12) ประสานงานกับอาจารย์นิเทศงาน
ระยะสิ้นสุด

ภาคสนามในการประเมินผลการฝึก
ภาคปฏิบัติของนักศึกษา จากการนิเทศ
งาน การเข้าร่วมสัมมนา การเขียนบันทึก-
รายงาน-และถอดบทเรียน
13) เข้าร่วมปัจฉิมนิเทศการฝึกภาคปฏิบัติกับ
ที่คณะจัดให้เพื่อถอดบทเรียนรู้ที่นักศึกษา
ได้จากพื้นที่
14) เข้าร่วมปัจฉิมนิเทศการฝึกภาคปฏิบัติกับ
คณะจัดให้เพื่อถอดบทเรียนรู้ที่นักศึกษา
ได้จากพื้นที่
15) มีการประเมินผลและสะท้อนผลการ
เรียนรู้ร่วมกันกับอาจารย์นิเทศงาน
ภาคสนามและนักศึกษา
ข้อเสนอแนะของนักศึกษาต่อการปฏิบัติงานของอาจารย์นิเทศงานในคณะต่อการนิเทศงานการฝึก
ภาคปฏิบัติ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ส่วนที่ 3 ระดับการปฏิบัติงานของอาจารย์นิเทศงานภาคสนามต่อการนิเทศงานการฝึกภาคปฏิบัติ
คำชี้แจง จงกาเครื่องหมาย  หรือ  ในช่องที่ตรงกับระดับการปฏิบัติของอาจารย์นิเทศงานในคณะที่กำหนด
ไว้โดบ 6 ระดับ คือ 5-มากที่สุด /4-มาก / 3-ปานกลาง / 2-น้อย / 1-น้อยที่สุด / 0-ไม่ได้ดำเนินการเลย
ระยะ บทบาทการนิเทศงานของ ระดับการปฏิบัติงาน
อาจารย์นิเทศงานในคณะ 5 4 3 2 1 0
1) ชี้แจงข้อมูลของหน่วยฝึกทั้งด้านโครงสร้าง
กฎระเบียบ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และวิธี
ปฏิบัติงานรวมถึงข้อควรระวัง
2) ชี้แจงบทบาทความรับผิดชอบของนักศึกษา
ระยะเริ่มต้น

ระหว่างการฝึกภาคปฏิบัติและแนวทางปฏิบัติและ
แนวทางปฏิบัตติ นที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ การ
ปรับตัว และความปลอดภัยของนักศึกษา
3) มีการปฐมนิเทศงานนักศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติงานในหน่วยงาน
4) มีการจัดทำแผนร่วมฝึกภาคปฏิบัติร่วมกับนักศึกษา
5) มีเวลานิเทศงานสำหรับนักศึกษาอย่างน้อยสัปดาห์
ละ 1-2 ชั่วโมงต่อนักศึกษาหนึ่งคน
6) ให้ข้อคิดเห็น คำแนะนำ คำปรึกษา เพื่อพัฒนาการ
ฝึกภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
7) ในกรณีที่เกิดมีข้อขัดแย้งหรือปัญหาเกี่ยวกับการ
ฝึกภาคปฏิบัติ อาจารย์นิเทศงานภาคสนาม
สามารถตัดสินใจโดยหารือและทำข้อตกลงร่วมกับ
ระยะดำเนินการ

อาจารย์นิเทศของคณะได้
8) เข้าร่วมมัชฌิมนิเทศในคณะและ/หรือในหน่วยงาน
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันตามปฏิทินการฝึก
ภาคปฏิบัติ
9) ดูแลให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบของการฝึก
ภาคปฏิบัติ
10) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของนักศึกษากับ
เพื่อน ๆ

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
11) ส่งเสริมสนับสนุนแผนงาน/กิจกรรมการดำเนินงาน
ของนักศึกษา
12) ประสานงานกับอาจารย์นิเทศของคณะในการ
ประเมินผลการฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษาตาม
แนวทางการประเมินผลการฝึกภาคปฏิบัติ
13) เข้าร่วมปัจฉิมนิเทศการฝึกภาคปฏิบัติกับหน่วยงาน
ในพื้นที่เพื่อสรุปบทเรียนรู้ในพื้นที่ ให้ข้อคิดเห็น
และข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาการฝึกภาคปฏิบัติใน
ปีต่อไป
14) เข้าร่วมปัจฉิมนิเทศการฝึกภาคปฏิบัติกับคณะที่จัด
เพื่อถอดบทเรียนรู้ที่ได้จากพื้นที่ร่วมกับนักศึกษา
และอาจารย์นิเทศงานในคณะ
15) ให้ความเห็นต่อรายงานประจำวัน/สัปดาห์ของ
นักศึกษา รวมถึงรายงานสรุปผลการฝึกภาคปฏิบัติ
และการถอดบทเรียนของนักศึกษา
ข้อเสนอแนะของนักศึกษาต่อการปฏิบัติงานของอาจารย์นิเทศงานภาคสนามต่อการนิเทศงานการฝึก
ภาคปฏิบัติ 1
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะของนักศึกษาต่อการพัฒนาการฝึกภาคปฏิบัติ 1
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

You might also like