Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

TSRI

คนไร้บ้านในสถานการณ์โควิด-19 FACTSHEET
November,2563

จากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดโรค COVID-19 อาทิ ห้ามมิให้ประชาชนออกนอกเคหสถานในช่วงเวลา 22.00 –


04.00 น. ปิดสถานที่เสี่ยงต่อการติดต่อโรค เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของคนไร้บ้านอย่างมาก และแม้
ภาครัฐจะมีมาตรการให้ความช่วยเหลือคนไร้บ้าน แต่กลับไม่ได้รับ การตอนรับอย่างที่ควร ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความไม่
สอดคล้องระหว่างมาตรช่วยเหลือของภาครัฐกับวิถีชีวิตและความต้องการของคนไร้บ้าน

ผศ.ดร. บุญเลิศ วิเศษปรีชา และคณะวิจย


ั ได้ทำการสำรวจ
คนไร้บ้านในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และพื้นที่
จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ถึง
วั น ที ่ 22 สิ ง หาคม พ.ศ. 2563 จำนวนทั ้ ง สิ ้ น 139 คน
เพื่อให้เข้าใจถึงวิถีชีวิต ความต้องการและทัศนคติต่อโรค
COVID-19 ของกลุ่มคนไร้บ้าน รวมทั้งศึกษาแนวทางการ
ช่วยเหลือกลุ่มคนไร้บ้านในสถานการณ์การระบาดและหลัง
การระบาดของโรค COVID-19

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET
1. ข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น ของคนไร้ บ้ า น
พื้นทีเ่ ก็บข้อมูล
2.88%
11.51% 2.16%
เพศ 12.23% กรุงเทพมหานคร
ปทุมธานี
เพศชาย 45.32%
นนทบุรี
เพศหญิง
31.65% เชียงใหม่
เพศทางเลือก จังหวัดอื่นๆ
86.33%
3.60% ไม่ประสงค์ตอบคาถาม
4.32%

2. ผลกระทบในช่ ว งการแพร่ ร ะบาด


COVID-19
การจำแนกกลุ ่มคนไร้บ้านตามระยะเวลาที่เป็นคนไร้บ้าน จะสะท้อนถึงการเป็นคนไร้บ้านหน้าใหม่ที่มีความสัมพันธ์กับการ
แพร่ระบาดของโรค COVID-19 หรือผู้ที่เป็นคนไร้บ้านหลังวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2563

จาแนกกลุม
่ คนไร้บา
้ นตามระยะเวลาของการเป็นคนไร้บา
้ น ช่องทางการหารายได้ของคนไร้บา
้ น
3.96% 6.47%
15.11%

20.14%
19.42%

76.98% 13.67%
39.57%
5.04%

เป็นคนไร้บ้านก่อน COVID-19 ระบาด รับจ้างค่อนข้างประจา รับจ้างไม่ประจา


เป็นคนไร้บ้านหลัง COVID-19 ระบาด หรือคนไร้บ้านหน้าใหม่ เก็บของเก่า ขายของเล็กๆ น้อยๆ
ไม่ประสงค์ตอบคาถาม แทบไม่มีงานทา อื่นๆ

การหารายได้ของกลุ่มคนไร้บ้านเปลี่ยนแปลง
จากการสำรวจ พบว่า มีกลุม
่ คนไร้บ้านหน้า
จากเดิมที่ชอ
่ งทางหลักเป็นการขายของเล็กๆ
ใหม่ร้อยละ 19.42 ซึ่งหมายความว่า มีคนไร้
น้อยๆ ตามงาน เป็นดังแผนภูมิข้างต้นที่
บ้านเพิ่มขึ้นราวร้อยละ 20 เนื่องจากผลของ
ส่วนมากแทบจะไม่มง
ี านทำ เนื่องจากมาตรการ
มาตรการควบคุมการระบาด
ควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET
3. ทั ศ นคติ ข องคนไร้ บ้ า นที่ มี ต่ อ COVID-19
ความกังวลเกีย
่ วกับการติดเชือ
้ COVID-19 ความเครียดของคนไร้บา
้ นในช่วง COVID-19
0.72%
0.72% 7.19% 4.32% 2.88%

17.99%
28.06%

73.38%
53.96%
4.32%

6.47%

กังวลมาก กังวลปานกลาง มีความเครียด เพราะกังวลเรื่องการติดเชือ


้ และการเจ็บป่วย

กังวลน้อย ไม่แน่ใจ มีความเครียด เพราะขาดรายได้

ไม่ประสงค์ตอบคาถาม มีความเครียด เพราะกังวลเรื่องที่นอนและเคอร์ฟิว

มีความเครียด ในเรื่องอื่นๆ

สุขภาพจิตเหมือนเดิม

สบายใจขึ้นในช่วงแพร่ระบาด เพราะมีอาหารแจกเพิ่มขึ้น

ทัศนคติของคนไร้บา
้ นที่มีตอ
่ COVID-19

ทัศนคติของคนไร้บา
้ นต่อการติดเชือ
้ เห็นด้วย
COVID-19 (ร้อยละ)
จากการสำรวจทัศนคติของคนไร้บ้าน พบว่า
1. คนไร้บ้านมีภูมิคุ้มกันดี 49.64 ประมาณครึง
่ หนึ่งของคนไร้บ้านมองว่า COVID-19
2. คนไร้บ้านออกกำลังกายมาก 53.24 ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน ซึง

3. คนไร้บ้านอยู่กลางแดดมาก 43.88 สอดคล้องกับความเครียดของคนไร้บ้านที่ราวร้อยละ


50 มีสุขภาพจิตเหมือนช่วงไม่มีการระบาดของโรค
4. COVID-19 เป็นเรื่องไกลตัว 46.04

อย่างไรก็ตาม กลุ่มคนไร้บา
้ นให้ความสำคัญกับปัญหาปากท้องหรือความอดอยาก มากกว่าการติดเชื้อ COVID-19
โดยคิดเป็นจำนวนร้อยละ 79.14 เนือ
่ งจากเป็นปัญหาที่ตอ
้ งเผชิญทุกวัน และช่องทางการหารายได้เพื่อยังชีพน้อยลง
จากมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET

ความเดือดร้อนจากนโยบายเคอร์ฟว

2.16% 5.76% มาตรการเคอร์ฟิวเป็นคำสั่งห้ามออกนอกเคหสถานในเวลา
22.00 - 04.00 น. ซึ่งคนไร้บ้านไม่สามารถปฏิบัตต
ิ ามกฎได้
จึงส่งผลให้มีความเสี่ยงจะต้องถูกลงโทษ

36.69% ทั้งนี้ มีเพียงร้อยละ 5.76 เท่านั้นที่ถูกจับเพราะเข้าใกล้ด่านตรวจ


55.40%

อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ได้บังคับใช้กฎเคอร์ฟว
ิ อย่าง
เคร่งครัดกับกลุ่มคนไร้บ้าน เพราะเข้าใจถึงข้อจำกัดด้านที่อยู่อาศัย
ถูกตารวจจับ ดังนั้น คนไร้บ้านมากกว่าครึ่ง (ร้อยละ 55.40) จึงไม่ได้รับ
ถูกตารวจหรือเจ้าหน้าทีย
่ ้ายที่นอน ผลกระทบ และมีร้อยละ 36.69 ที่ถูกย้ายที่นอน
ไม่ได้รับผลกระทบใดๆ
เนื่องจากเป็นสถานทีโ่ จ่งแจ้ง
ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

4. การเข้ า ถึ ง สวั ส ดิ ก ารความช่ ว ยเหลื อ


การลงทะเบียนโครงการคนไทยไม่ทง
ิ้ กัน วิธก
ี ารลงทะเบียนของผูท
้ ล
ี่ งทะเบียนสาเร็จ

2.88% 7.14%
7.91%
20.14%
17.86% 28.57%

10.07%

46.43%
42.45%

16.55%

ลงทะเบียนสาเร็จ ใช้โทรศัพท์ของตนเอง

ลงทะเบียน แต่ไม่สาเร็จ ใช้โทรศัพท์ของเพื่อนหรือญาติ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

ไม่ได้ลงทะเบียน เพราะไม่เข้าเกณฑ์ ใช้โทรศัพท์ของเพื่อนหรือญาติ โดยจะให้ค่าสินน้าใจ หากได้รับเงิน

ไม่ได้ลงทะเบียน เพราะไม่มีโทรศัพท์ อื่นๆ


ไม่ได้ลงทะเบียน เพราะคิดว่าจะไม่ได้รบ
ั ความช่วยเหลือ

ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET

มาตรการช่วยเหลือแรงงานนอกระบบทีส
่ ำคัญของภาครัฐ คือ โครงการคนไทยไม่ทง
ิ้ กัน ที่ให้เงินช่วยเหลือแรงงาน
นอกระบบผ่านการลงทะเบียนออนไลน์ ทัง
้ นี้ คนไร้บ้านเพียงร้อยละ 20.14 เท่านั้นทีส
่ ามารถเข้าถึงความช่วยเหลือ
ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ภาครัฐขาดการประเมินความสามารถในการเข้าถึงระบบเทคโนโลยีของกลุ่มคนไร้บ้าน

การรับรูด
้ า
้ นทีพ
่ ก
ั อาศัยชัว
่ คราวทีก
่ ระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมัน ่ คงของมนุษย์ (พม.) จัดให้

2.16%

43.88%

53.96%

เมื่อเกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทาง


ทราบ ไม่ทราบ ไม่ประสงค์ตอบคาถาม
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ (พม.) ได้จัดเตรียมบ้านพักชั่วคราวสำหรับ
หากประสงค์จะเข้าพักอาศัยในบ้านชัว
่ คราวของ พม. กลุ่มคนไร้บ้าน เพื่อป้องกันการติดเชื้อและแพร่เชือ

จะต้องทาอย่างไร
ทั้งนี้ จากการสำรวจพบว่า คนไร้บ้านน้อยกว่า
7.14%
16.55%
ครึ่งหนึ่งไม่ทราบว่ามีบา
้ นพักชั่วคราวให้อาศัย
ในช่วงการแพร่ระบาด
4.32%

75.54%

ร้อยละ 75.54 ของคนไร้บา


้ นที่ต้องการเข้าพัก
อาศัยในบ้านพักชั่วคราวของ พม. ไม่ทราบช่อง
ทราบ วิธีการเดินทางไปด้วยตนเอง ทางการติดต่อสอบถาม
ทราบว่าสามารถสอบถามได้ทางสายด่วน 1300

ไม่ทราบ

ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET
ความประสงค์ทจ
ี่ ะเข้าพักในบ้านพักชัว
่ คราวของ พม.

คนไร้บ้านในกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 15.83 เท่านั้นที่มีความ


ประสงค์จะเข้าพักอาศัยที่บ้านพักชั่วคราวของ พม. 15.83%
20.86%
ซึ่งเหตุผลที่ตอ
้ งการเข้าพักส่วนมาก คือ
ไม่กังวลว่าจะถูกจับและมีอาหารให้

ส่วนเหตุผลหลักที่ไม่ต้องการเข้าพัก คือ 61.87%

ความไม่เป็นอิสระ

สนใจและอยากเข้าพัก ไม่สนใจที่จะพัก ไม่แน่ใจ

เหตุผลทีต
่ ้องการเข้าพัก เห็นด้วย เหตุผลที่ไม่ตอ
้ งการเข้าพัก เห็นด้วย
บ้านพักชัว
่ คราวของ พม. (ร้อยละ) บ้านพักชัว
่ คราวของ พม. (ร้อยละ)

1. ได้ทานอาหารครบ 3 มื้อ 95.45 1. ไม่อิสระ อึดอัด 77.91

2. นอนหลับสบาย ไม่ต้องกังวลจะถูกจับ 100.00 2. อยู่ห่างไกล เดินทางลำบาก 61.63

3. อาจได้รับความช่วยเหลือด้านอื่นๆ 43.88 3. เข้าไปแล้ว ไม่ทราบว่าจะได้ออกมาเมื่อไหร่ 62.79

5. ความช่ ว ยเหลื อ ที่ ส อดคล้ อ งกั น ความต้ อ งการ


ความสนใจลงทะเบียนเพือ
่ รับความช่วยเหลือจากภาครัฐ วิธก
ี ารทีส
่ ะดวกเพือ
่ ลงทะเบียนขอรับความช่วยเหลือ

7.19% 1.44% 9.35% 5.76%


11.51%
12.23%

5.04%
21.58%
46.04%

23.74% 56.12%

สนใจลงทะเบียนอย่างมาก ลงทะเบียนทางโทรศัพท์
สนใจลงทะเบียน แต่ต้องดูเงื่อนไขและวิธีการ ลงทะเบียนที่ธนาคารของรัฐ
ไม่สนใจ ไปที่กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน
่ คงของมนุษย์

ไม่แน่ใจ มีเจ้าหน้าที่มารับลงทะเบียนในพื้นที่

ไม่ประสงค์ตอบคาถาม อื่นๆ
ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET

การให้ความช่วยเหลือของภาครัฐจำเป็นต้องให้คนไร้บา
้ นลงทะเบียนขอรับสิทธิ โดยกลุ่มตัวอย่างคนไร้บ้านร้อยละ
69.78 มีความสนใจจะลงทะเบียน หากภาครัฐมีมาตรการให้ความช่วยเหลือ และร้อยละ 56.12 ต้องการให้มีเจ้าหน้าที่
เข้ามาอำนวยความสะดวกเรื่องการลงทะเบียน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า คนไร้บ้านส่วนมากอยากมีปฏิสัมพันธ์กับภาครัฐ

ดังนั้น การดำเนินนโยบายให้ความช่วยเหลือของภาครัฐต้องคำนึงถึงความสามารถในการเข้าถึงการลงทะเบียนและ
ช่องทางการรับความช่วยเหลือของกลุ่มคนไร้บ้านด้วย

การใช้โทรศัพท์มอ
ื ถือ การมีบต
ั รประจาตัวประชาชน

0.72% 14.39%
2.16%
6.47%
8.63%

6.47%

85.61%
58.27%
17.27%
มี ไม่มี

การมีสมุดบัญชี
ไม่มีโทรศพท์มือถือ
6.47%
มีโทรศัพท์มือถือแบบกดปุ่มและใช้อยู่เสมอ

มีโทรศัพท์มือถือแบบกดปุ่ม แต่ไม่พร้อมใช้งาน

มีโทรศัพท์สมาร์ทโฟน แต่ไม่ได้เติมเงินใช้เน็ต
43.88% 54.68%
มีโทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ตพร้อมใช้

อื่นๆ

ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

มี ไม่มี ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

คนไร้บ้านร้อยละ 6.47 เท่านั้นที่มีโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและต่ออินเทอร์เน็ตพร้อมใช้งาน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า คนไร้บ้าน


จำนวนมากไม่สามารถเข้าถึงมาตรการช่วยเหลือได้ หากภาครัฐดำเนินการผ่านระบบออนไลน์

คนไร้บ้านที่ไม่ได้รับการอำนวยความสะดวกจากเจ้าหน้าที่ธนาคาร (ร้อยละ 43.88) อาจประสบปัญหาการรับความ


ช่วยเหลือจากภาครัฐ เพราะความช่วยเหลือของภาครัฐส่วนมากจะดำเนินการผ่านบัญชีธนาคาร

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET

หากคนไร้บ้านไม่มีบัตรประชาชนก็จะไม่สามารถใช้สิทธิการรักษาพยาบาลได้ โดยกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 48.20


มีสิทธิในการรักษาพยาบาลตามหลักประกันสุขภาพ ส่วนอีกราวครึ่งหนึง
่ ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิรักษาได้
นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างคนไร้บ้านเพียงร้อยละ 22.30 เท่านั้นที่ใช้สิทธิรักษาพยาบาลเมื่อมีอาการเจ็บป่วย

การเข้าถึงสิทธิในการรักษาพยาบาลฟรี (บัตรทอง) กรณีทเี่ จ็บป่วยไม่รา


้ ยแรง
2.16%
4.32% 1.44% 5.04%
5.04% 8.63%
18.71%

15.11%
8.63%
48.20%

36.69%

23.74% 22.30%

มีสิทธิ ทนเจ็บ รอหายเอง


มีสิทธิ แต่โรงพยาบาลอยูค
่ นละพื้นที่
ขอยาฟรี ตามที่แจกยา
ไม่มีสิทธิ
ไปหาหมอ โดยใช้สท
ิ ธิรก
ั ษาพยาบาลฟรี
มีสิทธิประกันสังคม
ซื้อยากินเอง
ไม่แน่ใจ หรือ ไม่ทราบ

อื่นๆ อื่นๆ

ไม่ประสงค์ตอบคาถาม ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

ความยากลาบากในการดาเนินชีวต
ิ ของคนไร้บา
้ น
100%

80%
จากประเด็นปัญหาในการดำเนินชีวิตของกลุ่มคนไร้
60%
บ้าน 7 ข้อ ได้แก่ 1) อาหาร 2) เงิน 3) งาน 40%

4) ที่นอน 5) ความปลอดภัย 6) ความเครียด และ 20%

0%
7) ห่างไกลครอบครัว พบว่า

ปัญหาที่คนไร้บ้านประสบมากที่สุด คือ เงินไม่พอใช้


ซึ่งเกิดควบคู่กับปัญหาการไม่มีงานทำ

ลาบาก ไม่ลาบาก ไม่แน่ใจ ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET

ปัจจัยทีจ
่ าเป็นของทีพ
่ ก
ั อาศัยสาหรับคนไร้บา
้ น
100%

80%

60%

40%
ปัจจัยหลักของที่พักอาศัยที่กลุ่มคนไร้บ้านให้น้ำหนัก
20%
หรือลักษณะที่พักอาศัยที่กลุม
่ คนไร้บ้านต้องการ
0%
มากที่สุด คือ

ความอิสระในการเข้าออก การเดินทางทีส
่ ะดวก
และการนอนเดี่ยว ตามลำดับ

จาเป็น ไม่จาเป็น ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

ความคิดเห็นของคนไร้บา
้ นต่อแนวทางการช่วยเหลือ

ได้รับเงินเดือนละ 3,000 บาท 3 เดือน แต่ต้องนาไปใช้เช่าที่อยู่อาศัย

รัฐบาลให้งานทา 3 เดือน

อานวยความสะดวกในที่อยู่แบบปัจจุบน

0% 20% 40% 60% 80% 100%

เห็นด้วยมาก เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

สำหรับแนวทางการให้ความช่วยเหลือกลุ่มคนไร้บ้านที่ถูกเห็นด้วยมากที่สุด คือ
ภาครัฐจัดหางานให้ทำเป็นระยะเวลา 3 เดือน (ร้อยละ 65.47)

นอกจากนี้ แนวทางการอำนวยความสะดวกในที่อยู่ปัจจุบน
ั ได้รับการเห็นด้วยมากกว่าแนวทางการให้เงินเพือ
่ ทีอ
่ ยู่อาศัย
อาจเพราะกลุ่มคนไร้บ้านไม่เห็นด้วยกับการกำหนดเป้าหมายการใช้เงิน

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET
หากได้รบ
ั เงินเยียวยาจากโครงการคนไทยไม่ทง
ิ้ กัน โอกาสทีจ
่ ะพ้นจากการเป็นคนไร้บา้ น
(5,000 บาท) จะนาไปใช้ทาอะไร หากไม่ได้รบั ความช่วยเหลือ

29.32% 5.04% 2.88%


7.19%
57.89%
7.52% 17.27%

5.26% 30.22%

9.02%

27.08%
31.59% 37.41%

เก็บไว้ใช้จ่ายทัว
่ ไป มีโอกาสมาก
ไปเช่าที่อยู่อาศัย
มีโอกาสระดับหนึ่ง
ลงทุนค้าขาย
มีโอกาสน้อย
ซื้อเครื่องมืออืน
่ ๆ เพื่อประกอบอาชีพ
ไม่แน่ใจ
เป็นค่าเดินทางกลับภูมิลาเนาเดิม

ให้ลูกหลาน ญาติพี่น้อง อื่นๆ

อื่นๆ ไม่ประสงค์ตอบคาถาม

ข้อสมมติการใช้เงินเยียวยาจำนวน 5,000 บาทต่อเดือน ข้อมูลการประเมินความสามารถตนเองของกลุ่ม


เป็นระยะเวลา 3 เดือน แสดงถึงเป้าหมายของการใช้เงิน คนไร้บ้าน สะท้อนให้เห็นว่า คนไร้บ้านสามารถ
ของกลุ่มคนไร้บ้านในช่วง COVID-19 ดำเนินชีวิตตามสถานทีส
่ าธารณะได้ด้วยตนเอง
แต่โอกาสทีจ
่ ะข้ามพ้นจากการเป็นคนไร้บ้านมีนอ
้ ย
ทั้งนี้ หากได้รับเงินเยี่ยวยา กลุ่มตัวอย่างส่วนมาก
ต้องการจะเก็บเงินไว้ใช้จ่ายทั่วไป เช่าที่อยู่อาศัยและลงทุน จึงมีความจำเป็นที่ภาครัฐและภาคประชาสังคม
ค้าขาย โดยมีสัดส่วนร้อยละ 57.89 31.59 และ 27.08 ต้องสนันสนุนและให้การช่วยเหลือ
ตามลำดับ กลุ่มคนไร้บ้านในการยกระดับคุณภาพชีวิต

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
ผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวต
ิ ของกลุม
่ คนไร้บา
้ นและคนจนเมือง TSRI
คนไร้บา
้ นในสถานการณ์โควิด-19
FACTSHEET

จากข้ อมู ล ของคนไร้บ้า นข้า งต้ น ชี ้ ให้ เ ห็ นว่ า การจั ดความช่วยเหลือสำหรั บกลุ ่ มคนไร้ บ้ านจำเป็น ต้ องพิจารณาความ
ต้องการด้านที่อยู่อาศัยและด้านการจ้างงานควบคู่กัน เพื่อให้ มาตรการความช่วยเหลือมีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อ
ความต้องการของคนไร้บ้านอย่างแท้จริง

สถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 แสดงให้เห็นว่า

โค รงส ร้ า งพื้ น ฐานแ ละ ระบ บส วั ส ดิ ก ารขอ งกร ะทร วงการพั ฒ นาสั ง คมแ ละค วามมั่ น คงขอ งมนุ ษ ย์ แ ละ
อ งค์ ก รป กครอ งส่ ว นท้ อ งถิ่ น ไม่ ส อ ดคล้ อ งกั บ ค วามต้ อ งการแ ละข้ อ จ ำ กั ด ขอ ง กลุ่ ม คน ไร้ บ้ า น

แหล่งที่มาของข้อมูล
รายงานผลกระทบโควิด-19 ต่อชีวิตของกลุ่มคนไร้บ้านและคนจนเมือง

จัดทำโดย
ภารกิจการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรม (สกสว.)
พฤศจิกายน 2563
Thailand Science Research and Innovation (TSRI)

You might also like