รายงาน!

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

บทที่ 1

คุณลักษณะของครู ทดี่ ีและอุดมการณ์ ทดี่ ีต่อวิชาชี พครู

เนื้อหา :
1. คุณลักษณะของครู ทดี่ ี
1.1 ความหมายของคุณลักษณะของครู ที่ดี
1.2 คุณลักษณะของครู ที่ดีในศตวรรษที่21
1.3 คุณลักษณะของครู ที่ดีในพุทธศาสนา
1.4 คุณลักษณะของครู ที่ดีตามรอยพระราชดารัสพระบรมราโชวาท
2. อุดมการณ์ ทดี่ ีต่อวิชาชี พครู
1. ความหมายของอุดมการณ์ของครู
3. บทสรุ ป

คุณลักษณะของครู ทดี่ ี
ความหมายของคุณลักษณะของครู ที่ดีคุณลักษณะที่ดีของครู หมายถึง เครื่ องหมายหรื อสิ่ งที่
ชี้ให้เห็นความดี หรื อลักษณะที่ดีของครู และเป็ นลักษณะที่ตอ้ งการของสังคม
คุณลักษณะครู ที่ดี ควรมีความรักและความเมตตาต่อศิษย์ มีความเสี ยสละ หมัน่ เพียรศึกษา
ปรับปรุ งวิธีการสอน เพื่อพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ ต้องมีความเข้าใจและเอาใจใส่ ตวั ศิษย์ทุกคน เป็ นกาลังใจ
และช่วยสร้างแรงบัลดาลใจให้กบั ศิษย์เพื่อให้เขาเป็ นคนใฝ่ เรี ยน รู ้ เป็ นแบบอย่างที่ดีมีจรรยาบรรณใน
วิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของความเป็ นครู สามารถถ่ายทอดความรู ้ได้เป็ นอย่างดี มี วิธีการสอนที่หลากหลาย
มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล มีความยุติธรรม ยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รวมถึงยอมรับและเข้าใจความ
แตกต่างของเด็กแต่ละคน
กรมการฝึ กหัดครู กระทรวงศึกษาธิการได้ทาการวิจยั เรื่ องของครู ที่ดีโดยการสอบถามจากบุคคล
หลายฝ่ าย คือ นักเรี ยน ครู ผูบ้ ริ หารการศึกษา ผูท้ รงคุณวุฒิ ศึกษานิเทศก์ และผูป้ กครอง ใช้เวลาในการวิจยั
พ.ศ.2518 – พ.ศ.2520: ซึ่ ง เป็ นครั้งแรกในประเทศไทยที่ทาการวิจยั เรื่ องลักษณะของครู ที่ดีที่ได้กระทาใน วง
กว้าง ผลจากการวิจยั ลักษณะของครู ที่ดี สรุ ปผลได้ดงั นี้ (กรมการฝึ กหัดครู 2520 : 363 – 371 )
1.ด้าน คุณธรรมและความประพฤติ ได้แก่ ความเที่ยงธรรม ความซื่ อสัตย์สุจริ ต การตรงต่อเวลา ร่ า
เริ งแจ่มใส รู ้จกั เสี ยสละ วาจาสุ ภาพเรี ยบร้อย เป็ นกันเองกับเด็ก และเข้ากับเด็กได้ เป็ นตัวอย่างในการ
ประพฤติดี มีมนุษย์สัมพันธ์ แต่งกายเรี ยบร้อยมีบุคลิกลักษณะที่ดีมีวาจาสุ ภาพอ่อนโยนเว้นจากอบายมุข
ต่างๆ ไม่ทาตัวเสเพล มีระเบียบวินยั อารมณ์มนั่ คง มีความปรานี รู้จกั ปกครองแบบประชาธิ ปไตย เป็ นคนมี
เหตุผล รู ้จกั สิ ทธิและหน้าที่
2. ด้านความยึดมัน่ ในสัญชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ อันเป็ นหลักสาคัญและความจาเป็ นอย่างยิง่
สาหรับบุคคลที่ทาหน้าที่เป็ นครู ที่ ให้การศึกษาแก่อนุชนของชาติ ให้มีความรักและห่วงแหนในสิ่ งที่เป็ น
องค์ประกอบสาคัญของความเป็ นไทย
3. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน รู ้จกั เตรี ยมการสอนเพื่อให้การสอนและการเรี ยนของ
นักเรี ยนบรรลุเป้ าหมายที่ ต้องการเอาใจใส่ การสอน อบรมความประพฤติและปลูกฝั่งค่านิยมดีงามให้แก่
นักเรี ยน มีความขยันขันแข็ง มีความกระตือรื อร้นในการทางาน มีความศรัทธาต่ออาชีพครู อุทิศตัวเพื่อ
ราชการ มีสุขภาพทางกายและจิตใจที่ดี รู ้จกั ติดต่อกับผูป้ กครอง และพยายามเข้าใจเด็ก
4 .ความสามารถในการใช้ภาษาสื่ อสาร รู ้จกั หลักการพูด การอภิปรายบทเรี ยนแจ่มชัด รู ้จกั ใช้ภาษา
ถูกต้อง
5.เอาใจใส่ คน้ คว้าความรู ้อยูเ่ สมอ รู ้และตามความเคลื่อนไหวทางการศึกษาอยูเ่ สมอโดยเฉพาะ
แผนการศึกษาแห่งชาติและ หลักสู ตร รู ้จกั ปรับวิธีการสอนแบบใหม่และเหมาะสมอยูต่ ลอดเวลา
การเป็ นครู สอนให้คนเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ คือ ความรู ้คู่คุณธรรมมิใช่เป็ นสิ่ งที่ทาได้ง่าย การเป็ นครู ที่ดีตอ้ ง
อาศัยความอดทน เสี ยสละ มีเมตตา ซึ่ งเป็ นคุณสมบัติเพียงส่ วนหนึ่งของความเป็ นครู ที่ดี คุณลักษณะของครู
ที่ดีมีหลายประการ ซึ่ งจะได้นามากล่าวถึงลักษณะของครู ที่ดีตามคาสอนในพุทธศาสนา ลักษณะของครู ที่ดี
จากการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับลักษณะครู ดีในประเทศไทยของนักการศึกษาหลายท่าน ดิเรก พร
สี มา และคณะ (2543) พบว่าครู ที่ดีควรมีลกั ษณะที่จาเป็ น 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านคุณลักษณะ
1.1 ต้องมีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และพร้อมที่จะพัฒนาวิชาชีพของตนอยู่
เสมอ
1.2 ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างแก่ผเู ้ รี ยนทั้งด้าน ศีลธรรม วัฒนธรรม กิจนิสัย สุ ข
นิสัย และอุปนิสัย มีความเป็ นประชาธิปไตย
1.3 ใฝ่ หาความรู ้และพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
1.4 มีความเมตตาแก่ศิษย์ และเห็นคุณค่าของศิษย์
1.5 มีสุขภาพสมบูรณ์
1.6 มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ทางวิชาการสามารถใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อ
แก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ได้
1.7 มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน สามารถเป็ นผูน้ าชุมชนได้
1.8 ใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัย ภาษา และการวิจยั เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาตนเอง
1.9 สามารถพัฒนาตนเองให้เป็ นครู แบบใหม่ในระบบสากลได้คือ การรู ้ในวิทยาการ
ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น มีความหลากหลายเพื่อตอบสนองผูเ้ รี ยนเป็ นหลัก
สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนได้อย่างเต็มศักยภาพและสร้างสรรค์ขอ้ มูลสะท้อนกลับสู่ ผูเ้ รี ยนได้อย่างต่อเนื่ อง
รวมทั้งเป็ นครู ที่เข้าหาผูเ้ รี ยนและชุมชนได้มากขึ้น
2. ด้านความรู ้ของครู
2.1 ครู ตอ้ งเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ในวิชาที่สอนอย่างแท้จริ งสามารถเชื่อมโยงทฤษฎีในศาสตร์
ความรู ้มาสู่ การปฏิบตั ิได้ ทั้งการปฏิบตั ิในระดับสากลและในระดับท้องถิ่น
2.2 มีความรู ้ดา้ นการวิจยั วิทยาการคอมพิวเตอร์และภาษาเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการ
แสวงหาความรู ้
2.3 มีความรู ้เรื่ องเทคนิคการสอนจิตวิทยาการวัดผลและประเมินผลและสามารถ
ประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
2.4 รู ้ขอ้ มูลข่าวสารรอบตัวและเรื่ องราวในท้องถิ่นเพื่อแลกเปลี่ยนความรู ้และฝึ กผูเ้ รี ยน
คิดวิเคราะห์วจิ ารณ์ได้
3. ด้านการถ่ายทอดของครู
3.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อจัดบรรยากาศการเรี ยนรู ้ที่น่าสนใจทา
ให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจเนื้อหาวิชาที่เรี ยนสามารถเชื่ อมโยงความรู ้น้ นั สู่ การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันและ
การเรี ยนรู ้ต่อไปได้
3.2 สามารถอบรมนิสัยให้ผเู ้ รี ยนมีศีลธรรมวัฒนธรรมกิจนิสัย สุ ขนิสัย และอุปนิสัย
รวมทั้งรักในความเป็ นประชาธิ ปไตย เพื่อเป็ นบรรทัดฐานในการใช้ชีวติ อยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมี
ความสุ ข
3.3 สามารถพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนใฝ่ รู ้กา้ วทันเทคโนโลยีตลอดจนสามารถใช้ภาษาสื่ อสารกัน
ได้เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ และสามารถใช้เครื่ องมือต่างๆในการแสวงหาความรู ้และเรี ยนรู ้ได้
ด้วยตนเอง
3.4 สามารถพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมองกว้างคิดไกลและมีวจิ ารณญาณที่จะวิเคราะห์และ
เลือกใช้ข่าวสารข้อมูลให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้
3.5 พัฒนาผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้เรื่ องราวต่างๆของชุมชนสามารถนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้เพื่อ
พัฒนาชุมชน และแก้ปัญหาต่างๆ ในชุมชนได้
คณะกรรมการส่ งเสริ มวิชาชีพครู ได้กาหนดว่าบุคคลที่ประกอบวิชาชีพครู ควรมีความรัก ความ
เมตตาและความปรารถนาดี มีความเสี ยสละและอุทิศตนและเวลาเพื่อส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนทุกคนได้เจริ ญเติบ
โตและมีพฒั นาการในทุกด้าน ทั้งควรมีลกั ษณะอย่างน้อย 4 ประการ คือ 1 รอบรู ้ 2 สอนดี 3 มีคุณธรรม
จรรยาบรรณ 4 มุ่งมัน่ พัฒนา
1. รอบรู ้ คือ จะต้องมีความรู ้เกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงและ
พัฒนาการที่เกิดขึ้นในสังคมของตนและของโลก มีความรอบรู ้ในวิชาชีพของตน เช่น ปรัชญาการศึกษา
ประวัติการศึกษา หลักการศึกษานโยบายการศึกษา แผนและโครงการพัฒนาการศึกษา และจะต้องมีความรู ้
อย่างเชี่ยวชาญในเรื่ องหลักสู ตร วิธีสอนและวิธีประเมินผลการศึกษาในวิชาชีพ หรื อกิจการที่ตนรับผิดชอบ
2. สอนดี คือ จะต้องทาการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีการพัฒนาการสอนให้สอดคล้องกับ
ความสามารถ และความสนใจของนักเรี ยน อีกทั้งสามารถให้บริ การแนะแนวในด้านการเรี ยนการครองตน
และการรักษาสุ ขภาพ อนามัย จัดทาและใช้สื่อการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งสามารถปรับ
การเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของบ้านเมือง
3. มีคุณธรรมจรรยาบรรณ คือ มีศรัทธาในวิชาชี พครู ตั้งใจใช้ความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพเพื่อ
ให้บริ การแก่นกั เรี ยนและสังคม มีความซื่ อสัตย์ต่อหลักการของอาชีพครู มีความรับผิดชอบในด้านการศึกษา
ต่อ สังคม ชุมชน และนักเรี ยน มีความรัก ความเมตตาและความปรารถนาดีต่อนักเรี ยน อุทิศตนและเวลาเพื่อ
ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนทุกคนได้รับความเจริ ญเติบโตและ พัฒนาการในทุกด้าน
4. มุ่งมัน่ พัฒนา คือ รู ้จกั สารวจและปรับปรุ งตนเอง สนใจใฝ่ รู ้ และศึกษาหาความรู ้ต่างๆ รู ้จกั
เพิม่ พูนวิทยฐานะของตน คิดค้นและทดลองใช้วธิ ี การใหม่ๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอน และเป็ น
ประโยชน์ต่อชุมชนด้วย

คุณลักษณะของครู ที่ดีในศตวรรษที่21
ครู เป็ นบุคคลที่สังคมให้ความสาคัญและยกย่อง ครู เป็ นบุคคลสาคัญในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ เป็ นบุคคล
ที่ส่งเสริ มและสร้างสรรค์การเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพ คุณภาพของผูเ้ รี ยนขึ้นอยูก่ บั คุณภาพของครู ใน
บันทึกนี้ ใคร่ ขอเสนอลักษะของครู ในยุคศตวรรษที่ ๒๑ มาดังนี้
บทบาทของครู
ขอจะต้ องเปลีย่ นบทบาทใหม่ จากเคยเป็ นผู้สอน ผู้ให้ ความรู้ มาเป็ น
1. ครู เป็ นผูอ้ านวยความสะดวก(facilitator)
2. ครู เป็ นผูแ้ นะแนวทาง (guide/coach)
3. ครู เป็ นผูร้ ่ วมเรี ยน/ผูร้ วมศึกษา (co-learning/co-investigator)
ลักษณะของครู ในยุคศตวรรษที่ 21
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส(2557) กล่าวบรรยายว่า "ครู ในยุคศตวรรษที่ 21 ต้องมีลกั ษณะ E-Teacher"ดังนี้
1. Experience มีประสบการณ์ในการจัดการเรี ยนรู ้แบบใหม่
2. Extended มีทกั ษะการแสวงหาความรู ้
3. Expended มีความสามารถในการถ่ายทอดหรื อขยายความรู ้ของตนสู่ นกั เรี ยนผ่านสื่ อเทคโนโลยี
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
4. Exploration มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเนื้อหาความรู ้หรื อเนื้ อหาที่ทนั สมัย
เหมาะสมและเป็ นประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยนผ่านทางสื่ อเทคโนโลยี
5. Evaluation เป็ นนักประเมินที่ดี มีความบริ สุทธิ์ และยุติธรรม และสามารถใช้เทคโนโลยีในการ
ประเมินผล
6. End-User เป็ นผูท้ ี่ใช้เทคโนโลยี (user) อย่างคุม้ ค่า และใช้ได้อย่างหลากหลาย
7. Enabler สามารถใช้เทคโนโลยีสร้างบทเรี ยน
8. Engagement ต้องร่ วมมือและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ซ่ ึ งกันผ่านสื่ อเทคโนโลยีจนพัฒนาเป็ นเครื อข่าย
ความร่ วมมือ เช่น เกิดชุมชนครู บน web
9. Efficient and Effective สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลทั้งในฐานะที่เป็ น
ผูผ้ ลิตความรู ้ ผูก้ ระจายความรู ้ และผูใ้ ช้ความรู ้
รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสงได้เสนอทักษะที่จาเป็ นสาหรับครู ไทยในอนาคตไว้ 8 ประการคือ
1. Content ครู ตอ้ งมีความรู ้และทักษะในเรื่ องที่สอนเป็ นอย่างดี หากไม่แม่นในเรื่ องที่สอนหรื อ
ถ่ายทอดแล้ว ก็ยากที่นกั เรี ยนจะมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อหานั้น ๆ
2. Computer (ICT) Integration ครู ตอ้ งมีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรี ยน
การสอน เนื่องจากกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีจะช่วยกระตุน้ ความสนใจให้กบั นักเรี ยน และ
หากออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จะช่วยส่ งเสริ มความรู ้และทักษะที่ตอ้ งการได้
เป็ นอย่างดี
3. Constructionist ครู ผสู ้ อนต้องเข้าใจแนวคิดที่วา่ ผูเ้ รี ยนสามารถสร้างองค์ความรู ้ข้ ึนเองได้จาก
ภายในตัวของผูเ้ รี ยนเอง โดยเชื่อมโยงความรู ้เดิมที่มีอยูภ่ ายในเข้ากับการได้ลงมือปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่ ง
ครู สามารถนาแนวคิดนี้ไปพัฒนาวางแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความรู ้และทักษะที่
ต้องการได้
4. Connectivity ครู ตอ้ งสามารถจัดกิจกรรมให้เชื่อมโยงระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกัน ผูเ้ รี ยนกับครู ครู
ภายในสถานศึกษาเดียวกันหรื อต่างสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษา และสถานศึกษากับชุมชน เพื่อสร้าง
สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้ที่เป็ นประสบการณ์ตรงให้กบั นักเรี ยน
5. Collaboration ครู มีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในลักษณะการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือกัน
ระหว่างนักเรี ยนกับครู และนักเรี ยนกับนักเรี ยนด้วยกัน เพื่อฝึ กทักษะการทางานเป็ นทีม การเรี ยนรู ้ดว้ ย
ตนเอง
6. Communication ครู ตอ้ งมีทกั ษะการสื่ อสาร ทั้งการบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ การ
นาเสนอสื่ อ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ เพื่อถ่ายทอดความรู ้ให้กบั นักเรี ยนได้อย่าง
เหมาะสม
7. Creativity ในยุคสมัยหน้าครู ตอ้ งออกแบบสร้างสรรค์กิจกรรมการเรี ยนรู ้ จัดสภาพแวดล้อม ให้
เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองของผูเ้ รี ยน มากกว่าการเป็ นผูถ้ ่ายทอดความรู ้โดยตรงเพียงอย่างเดียว
8.Caring ครู ตอ้ งมีมุทิตาจิตต่อนักเรี ยน ต้องแสดงออกถึงความรัก ความห่วงใยอย่างจริ งใจต่อ
นักเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความเชื่อใจ ส่ งผลให้เกิดสภาพการเรี ยนรู ้ตื่นตัวแบบผ่อนคลาย ซึ่ งเป็ นสภาพที่
นักเรี ยนจะเรี ยนรู ้ได้ดีที่สุด
ดร.พิณสุ ดา สิ ริธรังศรี (2557) เสนอรายงานการสังเคราะห์องค์ความรู ้ในหัวข้อ"การยกระดับคุณภาพครู
ไทยในศตวรรษที่ ๒๑" สรุ ปคุณลักษณะครู ไทยที่มีคุณภาพ จะต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1. เป็ นผูม้ ีจิตวิญญาณของความเป็ นครู และผูใ้ ห้
2. มีความรู ้ ความสามารถและทักษะการจัดการเรี ยนรู ้
3. มีทกั ษะการสื่ อสาร
4. อานวยความสะดวกในการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิภาพ
5. ตื่นรู ้ ทันสมัยทันเหตุการณ์
6. ตามทันเทคโนโลยีและข่าวสาร
7. สร้างแรงบันดาลใจในการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
8. ใฝ่ คว้าและแสวงหาความรู ้อย่างต่อเนื่ อง
9. เป็ นแบบอย่างทางคุณธรรมจริ ยธรรมและศีลธรรม
10. รู ้และเข้าใจในอัตลักษณ์ความเป็ นชนชาติไทยที่หลากหลาย
11. ภาคภูมใจในความเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
12. ยอมรับและเป็ นผูน้ าการเปลี่ยนแปลง
13. มีความพร้อมและปรับปรุ งต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและประชาคมอาเซียน

คุณลักษณะของครู ที่ดีในพุทธศาสนา
คุณลักษณะของครู ที่ดีตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนาก็คือ คุณลักษณะของครู ที่ดีตามหลักคาสอนของ
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ความจริ งหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา ทุกหมวดหมู่ ครู อาจารย์ หรื อ
บุคคลทัว่ ไปสามารถนามายึดถือปฏิบตั ิให้เกิดประโยชน์ท้ งั ตนเองและผูอ้ ื่นได้ตลอดชีวิต อย่างไรก็ตาม
สาหรับหลักธรรมในพระพุทธศาสนาซึ่ งมีความเกี่ยวข้องกับครู มากที่สุด และถือว่าเป็ น “คุณธรรมพื้นฐาน
ของความเป็ นครู ” หรื อ “คุณลักษณะของครู ที่ดี” หลักธรรมหมวดนี้คือ “กัลยาณมิตตธรรม” ซึ่งมี
อยู่ 7 ประการ ดังนี้
1.1 ปิ โย – น่ารัก หมายความว่า บุคคลที่เป็ นครู น้ นั จะต้องเป็ นผูท้ ี่น่ารัก ศิษย์ได้พบเห็นแล้วรู ้สึกทา
ให้อยากเข้าไปพบหาปรึ กษาไต่ถาม สบายใจเมื่อได้พบปะพูดคุยกับครู อาจารย์ผนู ้ ้ นั การกระทาตนให้เป็ นที่
น่ารักของศิษย์น้ นั มิใช่การที่ครู ไม่ยอมว่ากล่าวตักเตือนเมื่อศิษย์ทาสิ่ งใดผิดพลาด ตรงกันข้าม จะต้องกระทา
หน้าที่ของครู ให้สมบูรณ์ตลอดเวลานั้น คือหากศิษย์คนใดกระทาไม่ถูกต้อง ครู จะต้องคอยชี้นา ตักเตือน
ห้ามปรามมิให้ศิษย์กระทาสิ่ งนั้นๆ
1.1.1 มีเมตตาหวังดีต่อเด็กเสมอ
1.1.2 ยิม้ แย้มแจ่มใส ไม่บ้ ึงตึงทั้งเวลาทาการสอนและนอกเวลาสอน
1.1.3 ให้ความสนิทสนมกับศิษย์ตามสมควรแก่กาลเทศะ
1.1.4 พูดจาอ่อนหวานสมานใจ
1.1.5 เอาใจใส่ อบรมสั่งสอนศิษย์ให้เกิดความรู ้อย่างแท้จริ ง
1.1.6 เป็ นเพื่อนในสนามกีฬา เป็ นครู ที่งามสง่าในห้องเรี ยน
1.1.7 เมื่อเด็กมีความทุกข์ ครู ให้ความเอาใจใส่ คอยปลอบประโลมให้กาลังใจ ฯลฯ
1.2 ครุ – น่าเคารพ หมายความว่า บุคคลที่เป็ นครู น้ นั ต้องเป็ นผูท้ ี่ประพฤติตนเหมาะสมแก่ฐานะของ
ความเป็ นครู กระทาตนให้เป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ท้ งั พฤติกรรมทางกายและทางวาจา จิตใจสงบ เยือกเย็น
มีเหตุมีผล ไม่เป็ นคนเจ้าอารมณ์ เป็ นคนเสมอต้นเสมอปลายทุกๆ กรณี บุคลิกลักษณะประดุจดังผูท้ รงศีล ทา
ให้เป็ นที่น่าเคารพศรัทธาเลื่อมใสของศิษย์
1.3 ภาวนีโย – น่าเจริ ญใจหรื อน่ายกย่อง หมายความว่า บุคคลที่เป็ นครู น้ นั จะต้องกระทาตนให้เป็ น
ที่น่าเจริ ญใจหรื อน่ายกย่องของศิษย์และบุคคลทัว่ ไปมีความรู ้และภูมิปัญญาอย่างแท้จริ ง มีคุณธรรมความดี
ควรแก่การกราบไหว้บูชาของศิษย์เสมอสิ่ งต่างๆ เหล่านี้จะบังเกิดมีในตัวครู ได้ ผูท้ ี่เป็ นครู จะต้องหมัน่
ฝึ กอบรมตนให้เจริ ญงอกงาม ศึกษาหาความรู ้อยูเ่ สมอ เป็ นผูม้ ีวสิ ัยทัศน์ เปิ ดใจรับความรู ้ใหม่ๆ ไม่กระทาตน
ย่าอยูก่ บั ที่ เป็ นครู เวลาทาการสอน เป็ นนักเรี ยนเมื่อมีเวลาว่าง เป็ นนักสากลนิยม ถือศาสนาเป็ นหลักใจ ไม่
เป็ นคนมีมิจฉาทิฎฐิ เชื่ อกฎแห่งกรรม เป็ นผูร้ ักษากายด้วยศีล ควบคุมจิตด้วยสมาธิ และควบคุมความเห็น
ด้วยปั ญญา หากครู คนใดมีคุณลักษณะดังกล่าว ย่อมเป็ นที่น่าเจริ ญใจเมื่อศิษย์ได้พบเห็น หรื อเป็ นที่น่ายกย่อง
ของศิษย์และบุคคลทัว่ ไป นอกจากนี้ผเู ้ ป็ นครู จะต้องพยายามพัฒนาชีวติ ความเป็ นอยูใ่ นด้านอื่นๆ ให้
เจริ ญก้าวหน้า ไม่ปล่อยชีวติ ให้ซอมซ่อ น่าหดหู่แก่ผพู ้ บเห็นทัว่ ไป
1.4 วัตตา – มีระเบียบแบบแผน หมายความว่า บุคคลที่เป็ นครู น้ นั จะต้องกระทาตนให้เป็ นบุคคลที่
เคารพระเบียบแบบแผน ขณะเดียวกันก็คอยอบรมตักเตือนให้ศิษย์เป็ นผูม้ ีระเบียบแบบแผน ว่ากล่าวตักเตือน
ในสิ่ งที่ควรกระทา เป็ นที่ปรึ กษาที่ดีของศิษย์ดว้ ย กล่าวโดยรวม คุณลักษณะของครู ในข้อนี้ คือ ความเป็ นผูม้ ี
ระเบียบแบบแผนของครู และคอยอบรมตักเตือนศิษย์ให้อยูใ่ นระเบียบกฎเกณฑ์ดว้ ย
1.5 วจนักขโม – อดทนต่อถ้อยคา หมายความว่า บุคคลที่เป็ นครู น้ นั จะต้องเป็ นผูท้ ี่มีความอดทนต่อ
คาพูดของศิษย์ที่มากระทบต่อความรู ้สึก เพราะบางครั้งคาพูดของศิษย์ที่กล่าวออกมานั้นอาจจะทาให้ครู รู้สึก
ไม่พอใจหรื อไม่สบายใจ ครู ก็ตอ้ งอดทนและพร้อมที่จะรับฟังข้อซักถามและให้ปรึ กษาหารื อ แนะนา ไม่เบื่อ
ไม่ฉุนเฉี ยว
1.6 คัมภีรัญจะ กถัง กัตตา – แถลงเรื่ องได้อย่างลึกล้ า หมายความว่า บุคคลที่เป็ นครู น้ นั จะต้องมี
ความสามารถในการสอน มีความสามารถในการใช้คาพูดอธิ บายเรื่ องราวต่างๆ ให้ศิษย์ฟังได้อย่างแจ่มแจ้ง
การที่ครู คนใดจะกระทาได้ดงั กล่าว ก็ตอ้ งพยายามหาวิธีการที่สามารถทาให้ศิษย์เข้าใจได้ง่ายที่สุด ครู ที่มี
คุณลักษณะในด้านนี้จะสามารถอธิ บายเรื่ องที่ยงุ่ ยากซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่าย หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า
สามารถทาเรื่ องยากให้เป็ นเรื่ องง่าย ทาเรื่ องซับซ้อนให้เป็ นเรื่ องธรรมดา
1.7 โน จัฏฐาเน นิโยชเย – ไม่ชกนาศิษย์ไปในทางที่เสื่ อม หมายความว่า บุคคลที่เป็ นครู น้ นั จะต้อง
ไม่นาศิษย์ไปในที่ต่าทรามใดๆ สิ่ งใดเป็ นความเสื่ อมโทรมทางจิตใจ จะไม่ชกั นาศิษย์ไปทางนั้น ใน
ขณะเดียวกัน ผูท้ ี่เป็ นครู ก็จะต้องไม่ประพฤติสิ่งที่เสื่ อมทรามทั้งหลายทั้งปวงให้ศิษย์เห็น ครู จะต้อง
หลีกเลี่ยงสิ่ งที่เป็ นอบายมุขทั้งปวง คุณลักษณะของครู ตามหลักกัลยาณมิตตธรรมทั้ง 7 ประการ ดังกล่าวนี้
หากบังเกิดมีกบั ผูท้ ี่เป็ นครู คนใดแล้ว บุคคลนั้นย่อมได้ชื่อว่าเป็ นครู ที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคม
อย่างแน่นอน

คุณลักษณะของครู ที่ดีตามพระราชดารัส
พระราชดารัสในที่น้ ี หมายถึง พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพล อดุลยเดชมหาราช ซึ่ ง
พระองค์ได้พระราชทานแก่ครู อาวุโสประจาปี 2522 เมื่อวันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2523 มีขอ้ ความที่
เกี่ยวกับคุณลักษณะของครู ดีตอนหนึ่งว่า “... ครู ที่แท้น้ นั ต้องเป็ นผูก้ ระทาแต่ความดี ต้องขยันหมัน่ เพียรและ
อุตสาหะพากเพียร ต้องเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่และเสี ยสละ ต้องหนักแน่นอดกลัน่ และอดทน ต้องรักษาวินยั สารวม
ระวังความประพฤติของตนให้อยูใ่ นระเบียบแบบแผนอันดีงาม ต้องปลีกตัวปลีกใจจากความสะดวกสบาย
และความสนุกรื่ นเริ งที่ไม่สมควรแก่เกียรติภูมิของตน ต้องตั้งใจให้มนั่ คงและแน่วแน่ ต้องซื่ อสัตย์รักษา
ความจริ งใจ ต้องมีเมตตาหวังดี ต้องวางใจเป็ นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ ต้องอบรมปั ญญาให้เพิ่มพูน
สมบูรณ์ข้ ึน ทั้งในด้านวิทยาการและความฉลาดรอบรู ้ในเหตุและผล..”
จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ตามที่ผเู ้ ขียนได้
อัญเชิญมาข้างต้นนี้ เมื่อนามาเปรี ยบเทียบกับหลักธรรมคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้
กล่าวแล้ว สามารถเข้ากันได้กบั หลักคาสอนในพระพุทธศาสนาทุกประการทั้งในหลักกัลยาณมิตตธรรมและ
หลักธรรมอื่นๆ ดังเช่น
1. หมัน่ ขยันและอุตสาหะพากเพียร ตรงกับหลักธรรม “วิริยะ” หรื อ “วิริยารัมภะ”
2. เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่และเสี ยสละ ตรงกับหลักธรรม “จาคะ”
3. หนักแน่น อดกลั้นอดทน ตรงกับหลักธรรม “ขันติ”
4. รักษาวินยั ...อยูใ่ นระเบียบแบบแผน ตรงกับหลักธรรม “วัตตา” หรื อ “วินโย”
5. ปลีกตัวปลีกใจจากความสะดวกสบาย ตรงกับหลักธรรม “สังวร”
6. ตั้งใจให้มนั่ คงและแน่วแน่ ตรงกับหลักธรรม “สมาธิ”
7. ซื่ อสัตย์รักษาความจริ งใจ ตรงกับหลักธรรม “สัจจะ”
8. เมตตาหวังดี ตรงกับหลักธรรม “เมตตา”
9. วางใจเป็ นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ ตรงกับหลักธรรม “อุเบกขา”
10. อบรมปั ญญาให้เพิม่ พูนสมบูรณ์ข้ ึน ตรงกับหลักธรรม “ปัญญา”

อุดมการณ์ ครู
มีหลักการที่จะยึดไว้ประจาใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครู มีอยู่ 5 ประการ ดังนี้
เต็มรู ้ คือ มีความรู ้บริ บูรณ์
อาชีพครู เป็ นอาชีพที่ตอ้ งถ่ายทอด อธิ บายให้ความรู ้แก่คน ดังนั้นครู ทุกคนจะต้องเป็ นผูท้ ี่ทาให้ตนเองนั้น
บริ บูรณ์ หรื อเต็มไปด้วยความรู ้ ครู ควรจะทาให้บริ บูรณ์ในตัวครู ประกอบด้วยความรู ้ 3 ประการ คือ
1. ความรู ้ดา้ นวิชาการและวิชาชีพ ครู ควรเสาะแสวงหาความรู ้ รวบรวมข้อมูลโดยการอ่าน การฟัง และ
พยายามนาประสบการณ์ใหม่ ๆ เพื่อมาถ่ายทอดให้ผเู ้ รี ยนของตนได้เกิดความรู ้ที่ทนั สมัย ดังนั้นครู จะต้อง
แสวงหาความรู ้ที่เป็ นประโยชน์และเหมาะสมให้ผเู ้ รี ยน เรี ยนอย่างครบถ้วนเหมาะสมตามระดับความรู ้น้ นั
2. ความรู ้เรื่ องโลก ครู ควรมีความรู ้และประสบการณ์ชีวติ อย่างเพียงพอ เพื่อสามารถอธิ บายบอกเล่า
ถ่ายทอด ทัศนคติ ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ที่ดีงามของชาติ ของสังคมไปสู่ ศิษย์ ครู ควรเข้าใจชี วติ อย่าง
เพียงพอที่จะให้คาแนะนา คาสั่งสอน เพื่อให้ศิษย์ได้ดาเนิ นชีวติ ที่ดีในอนาคตได้ ดังนั้น นอกเหนื อจากตารา
วิชาการ ครู แสวงหาความรู ้รอบตัวด้านอื่น ๆ ให้บริ บูรณ์โดยเฉพาะความเป็ นไปของระเบียบ ประเพณี สังคม
วัฒนธรรม
3. ความรู ้เรื่ องธรรมะ ครู ควรมีสิ่งยึดเหนี่ยวในจิตใจ เพื่อที่จะสามารถอบรมสั่งสอนให้ศิษย์มีความคิดที่ดี
มีความประพฤติดี ไม่วา่ ครู จะนับถือศาสนาใดก็ตาม ทุกศาสนามีจุดหมายเดียวกันคือมุ่งให้คนเป็ นคนดี ครู ที่
มีความรู ้ดา้ นธรรมะจะสามารถหยิบยกเรื่ องธรรมะมาเป็ นอุทาหรณ์ สาหรับสั่งสอนศิษย์ได้ เช่น จะสอนให้
ศิษย์ประสบผลสาเร็ จด้านการศึกษา เล่าเรี ยนได้ดี ก็ยกหัวข้อธรรมะ อย่าง
อิทธิบาท 4 คือ
1.พอใจในการศึกษา รักและสนใจในวิชาที่ตนเรี ยน
2.มีความเพียรที่จะเรี ยน ไม่ยอ่ ท้อ
3.เอาใจใส่ ในบทเรี ยน การบ้าน รายงาน
4. หมัน่ ทบทวนอยูเ่ สมอ
ถ้าศิษย์เข้าใจและนาไปปฏิบตั ิได้ก็ยอ่ มทาให้ศิษย์ประสบความสาเร็ จในการศึกษานอกจากที่ครู จะต้องทาตน
ให้บริ บูรณ์ดว้ ยธรรมะเพื่อไปสอนศิษย์ ครู ก็จะได้รับประโยชน์จากการศึกษาธรรมะเพื่อให้ครู ไม่หวัน่ ไหว
ต่อกิเลส อันทาให้จิตของครู ตอ้ งเป็ นทุกข์เศร้าหมอง ครู ก็ยอ่ มจะเบิกบานและได้รับความสุ ขที่จะได้สอนคน
ในเรื่ องต่าง ๆ อีกด้วย การศึกษาธรรมะจึงจาเป็ นสาหรับอาชีพครู

เต็มใจ คือ ความมีใจเป็ นครู


พุทธศาสนาถือว่า “ใจนั้นแหละเป็ นใหญ่ ทุกสิ่ งทุกอย่างเกิดจากใจทั้งนั้น” ดังนั้น คนจะเป็ นครู ที่มีอุดมการณ์
จาเป็ นต้องสร้างใจ ให้เป็ นใจที่เต็มบริ บูรณ์ดว้ ยการ มีใจเป็ นครู การทาใจให้เต็มนั้นมี มีความหมาย 2
ประการคือ
ใจครู การทาใจให้เต็มบริ บูรณ์ นั้น จะต้องถึงพร้อมด้วยองค์ประกอบดังนี้
1. รักอาชีพ ครู ตอ้ งมีทศั นคติที่ดีต่ออาชีพ เห็นว่าอาชีพครู มีประโยชน์ มีเกียรติ มีกุศล ได้บุญ ได้ความภูมิใจ
และพอใจที่จะสอนอยูเ่ สมอ พยายามที่จะแสวงหาวิธีสอนที่ดีเพื่อศิษย์
2. รักศิษย์ มีใจคิดอยากให้ศิษย์ พ้นจากสิ่ งที่ไม่พึงปรารถนา ครู ตอ้ งมีใจนึกอยากให้ทุกคนมีความสุ ข
พยายามชี้แนะหนทางสู่ ความสาเร็ จและความสุ ขให้แก่ศิษย์
ยินดีหรื อมีมุทิตาจิต เมื่อเห็นศิษย์ประสบความก้าวหน้าในชีวติ ความรักศิษย์ยอ่ มทาให้ครู สามารถทุ่มเทและ
เสี ยสละเพื่อศิษย์ได้
ใจสู ง ครู ควรพยายามทาใจให้สูงส่ ง มีจิตใจที่ดีงาม การจะวัดใจเราว่าสู งหรื อไม่ มีขอ้ ที่ลองถามตัวเองได้
หลายประการ เช่น
1. ทางานอยูท่ ี่ใด ท่านมักจะด่าว่านินทา เจ้านายแห่งนั้น หรื อดูถูกสถาบันหรื อเปล่า
2. ท่านมักจะคิดว่าเพื่อน ๆ ร่ วมงานของท่านนิสัยไม่ดีส่วนใหญ่หรื อเปล่า
3. ทาไมท่านก็ทาดี แต่เจ้านายไม่เห็น
4. ทาไมคนอื่น ๆ จึงโง่และเลว
5. ท่านยอมไม่ได้ที่จะให้คนอื่นดีกว่า เพราะท่านคิดว่าท่านดีกว่าคนอื่น
6. ทาไมที่ทางานของท่าน จึงเอาเปรี ยบท่านและกีดกันท่านตลอด
การทาจิตใจให้สูง ก็คือ การที่มองเห็นคุณค่าของมนุษย์โลกและการคิดที่จะสร้างสรรค์ให้โลกมีแต่สิ่งที่ดีงาม
มองโลกและคนในแง่ดีใจกว้าง ยอมรับข้อดีและข้อเสี ยของตนเองและคนอื่นไม่คิดว่าตนเองฉลาด หรื อเก่ง
กว่าผูใ้ ด ไม่คิดว่าตนเองดีกว่าคนอื่น คิดเสมอว่าจะช่วยให้คนมีความรู ้มีความคิดและความประพฤติปฏิบตั ิที่
ดี คิดอย่างเป็ นธรรมว่าตนเองมีขอ้ บกพร่ องเช่นกัน
เต็มเวลา คือ การรับผิดชอบ การทุ่มเทเพื่อการสอน
ครู ที่มีอุดมการณ์ จะต้องใช้ชีวติ ครู อย่างเต็มเวลาทั้ง 3 ส่ วน คือ
1. งานสอน ครู ตอ้ งใช้เวลาในการเตรี ยมการสอนอย่างเต็มที่ วางแผนการสอนค้นคว้าหาวิธีการที่จะสอนศิษย์
ในรู ปแบบต่าง ๆ และในขณะที่ดาเนินการสอนต้องสอนให้ครบตามเวลาที่กาหนด เข้าสอนตรงเวลา เลิก
สอนให้ตรงเวลา
2. งานครู นอกเหนือไปจากการสอน ครู ตอ้ งให้เวลาแก่งานด้านต่าง ๆ เช่น งานธุ ระการ งานบริ หาร บริ การ

และงานที่จะทาให้สถาบันก้าวหน้า
3. งานนักศึกษา ให้เวลา ให้การอบรม แนะนาสั่งสอนศิษย์ เมื่อศิษย์ตอ้ งการคาแนะนา หรื อต้องการความ
ช่วยเหลือ ไม่วา่ ในเวลาทางานหรื อนอกเวลาทางาน ครู ควรมีเวลาให้ศิษย์

เต็มคน คือ การพัฒนาตนเองให้มีความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์


การพัฒนาตนเองให้มีความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์โดยที่ครู เป็ นแม่พิมพ์หรื อพ่อพิมพ์ที่คนในสังคมคาดหวังไว้
สู ง และมีอิทธิ พลต่อผูเ้ รี ยนมาก ครู จึงจาเป็ นที่ตอ้ งมีความบริ บูรณ์ในความเป็ นมนุษย์ท้ งั ร่ างกาย จิตใจ
อารมณ์สังคม ครู จึงควรสารวมกาย วาจา ใจให้มีความมัน่ คงเป็ นแบบอย่างที่ดีงามในการแสดงออกทั้งใน
และนอกห้องเรี ยน การที่จะทาให้ตนเองเป็ นคนที่เต็มบริ บูรณ์ได้ คนผูน้ ้ นั ควรเป็ นคนที่ดีมีความคิดที่ถูกต้อง
เห็นสิ่ งที่ดีงามถูกต้อง มีการพูดที่ดี มีการงานที่ดี มีการดาเนินชีวิตที่ดี ปฏิบตั ิการถูกต้อง หมัน่ คิด พิจารณา
ตนเอง เพื่อหาทางแก้ไข้ปรับปรุ งตนเองให้มีความบริ บูรณ์อยูเ่ สมอ

เต็มพลัง คือ การทุ่มเทพลังสติปัญญาและความสามารถเพื่อการสอน


ครู จะต้องใช้ความสามารถอย่างเต็มที่ ทุ่มเทไปเพื่อการสอน เพื่อวิชาการ เพื่อศิษย์ ครู ตอ้ งอุทิศตนอย่างเต็มที่
ทางานอย่างไม่คิดออมแรง เพื่อผลงานที่สมบูรณ์น้ นั ก็คือ การปั้ นศิษย์ให้มีความรู ้ความประพฤติงดงาม เป็ น
ที่พึงประสงค์ของสังคม
ครู ที่มีหลักยึดไปครบเต็ม 5 ประการนี้ ย่อมเป็ นครู ที่มีครุ ธรรม ที่พร้อมจะเป็ นผูช้ ้ ีทางแห่งปั ญญา ชี้ทางแห่ง
ชีวติ และชี้ทางแห่งสังคมในอนาคตได้เป็ นอย่างดี ดังนั้นครู ควรสร้างอุดมการณ์ครู เพื่อความก้าวหน้าของ
สังคมไทย และการพัฒนาวิชาชีพครู
บทสรุ ป
ลักษณะของครู ที่ดีน้ นั มีมากมายหลายแบบ และการที่จะยอมรับว่า ครู ที่ดีจะต้องมี ลักษณะอย่างไร
นั้น ขึ้นอยูก่ บั ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล แต่เมื่อพิจารณาโดยทัว่ ไปแล้ว ก็สามารถสรุ ปได้วา่ ครู ที่ดีควรจะ
ประกอบด้วยคุณลักษณะที่สาคัญ ๆ คือ
1. บุคลิกภาพดี คือ รู ปร่ างท่าทางดี แต่งกายสะอาด สุ ภาพเรี ยบร้อย พูดจา ไพเราะ และมีลกั ษณะ
เป็ นผูน้ า
2. มีความรู ้ดี มีความคิดสร้างสรรค์ เชื่ อมัน่ ในตนเอง กระตือรื อร้นและสุ ขภาพ แข็งแรง
3. การสอนดีและปกครองดี คือ อธิ บายได้แจ่มแจ้งชัดเจนครบทุกกระบวนความ สอนสนุกสนาน
ปกครองดูแลนักเรี ยนให้อยูใ่ นระเบียบวินยั ที่ดีงาม
4. ความประพฤติดี คือ เว้นจากอบายมุขทุกอย่าง ทาแต่ความดีท้ งั กาย วาจา ใจ มีคุณธรรมและ
จริ ยธรรมสู ง มีความซื่อสัตย์ เสี ยสละ มีเมตตากรุ ณา มีความยุติธรรม และ มีมานะอดทน
5. มีมนุษย์สัมพันธ์อนั ดี คือ มีอธั ยาศัยไมตรี กบั คนทุกเพศทุกวัยและทุกฐานะ และมีน้ าใจเป็ น
ประชาธิปไตย
คุณครู เป็ นปูชนียบุคคลที่ได้รับความเคารพนับถืออย่างสู ง จะเป็ นรองก็แต่คุณพ่อคุณแม่
เท่านั้น คนไทยเรามีอธั ยาศัยน่ารัก ต่างจากชนชาติอื่นอยูอ่ ย่างหนึ่งคือ เมื่อจะไปสมัครเป็ นศิษย์ของท่านผูใ้ ด
ก็ไม่ใช่เพียงมุ่งแต่จะไปถ่ายทอดคัดลอกวิชาความรู ้จากครู อาจารย์ เสร็ จแล้วก็ตีเสมอ แต่ต้ งั ใจจริ งจะไปมอบ
ตัวเองเป็ นลูกเต้าของท่านด้วย ไทยเราจึงนิยมใช้คาเต็มอย่างภาคภูมิวา่ “ลูกศิษย์” หมายถึง ยินยอมมอบตัวลง
เป็ นทั้งลูกทั้งศิษย์ของท่านผูเ้ ป็ นครู
อ้างอิงเอกสาร
Jeerawut Kokyai (2557). “คุณลักษณะของครู ที่ดี”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/laksna-khxng-khru-thi-di [ม.ป.ป].
สื บค้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2565.
อร วรรณดา (2558). “คุณลักษณะของครู ในศตวรรษที่ 21 ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.gotoknow.org/posts/589309 [ม.ป.ป].
สื บค้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2565.
อัจฉรา คงประเสริ ฐ (2556). “คุณลักษณะของครู ที่ดีตามหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา”.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/521299 [ม.ป.ป].
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565.
อัจฉรา คงประเสริ ฐ (2556). “คุณลักษณะของครู ที่ดีตามตามพระราชดารัส”. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/521302 [ม.ป.ป].
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565.
เดชพงษ์ อุ่นชาติ (2561). “อุดมการณ์ของความเป็ นครู ”. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://www.kruchiangrai.net/2018/04/16/อุดมการณ์ของความ
เป็ นคร/ [ม.ป.ป].
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565.

You might also like