Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 73

ระบบการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

ิ่
สาน ักอนาม ัยสงแวดล้อม กรมอนาม ัย
สาเหตุของปัญหาเหตุราคาญหรือผลกระทบด้านอนาม ัยสงิ่ แวดล้อมจากการประกอบกิจการ

ผู้ประกอบการ/ผู้ดาเนินกิจการ
ไม่มีความเข้าใจในเรื่องความเสี่ยงหรือผลกระทบด้าน
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการประกอบกิจการ เจ้าภาพหลัก?

ไม่มีการวางแผน/มาตรการป้องกันควบคุม
• ทาเลที่ตั้ง
• การวางผัง การกากับดูแล
• มาตรการควบคุม จากภาครัฐ

ปัญหาเหตุราคาญ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ความสาคญ
ั ในการควบคุมกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข
กิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ ???

กิจการทีเ่ ป็นอน
ั ตรายต่อสุขภาพ

ป้องกน

❖ กิจการทีม
่ ก
ี ระบวนการหรือกรรมวิธีการผลิต
เหตุ
ราคาญ
❖ ก่อให ้เกิดมลพิษหรือสงิ่ ทีท
่ าให ้เกิดรร

❖ มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย สุขภาพ
ประชาชน

จุลน
ิ ทรีย ์ มลพิษ
ก่อโรค คุม
้ ครอง สิ่งแวดล้อ ม
ั ันธ์ของกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพและปัญหาเหตุราคาญ
ความสมพ
สถานการณ์ปัญหาเหตุราคาญทีเ่ กิดจากกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ
พระราชบ ัญญ ัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

หมวด 7 กิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

มาตรา ให ้รัฐมนตรีมอี านาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให ้กิจการใด


31 เป็ นกิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ

ปั จจุบน
ั กระทรวงสาธารณสุขได ้ประกาศกาหนดประเภทกิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
จานวน 13 กลุ่ม รวม 142 ประเภทกจิ การ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง กิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

ประกาศเพิม่ เติม 1 ประเภท


9(22) “การประกอบกิจการใหบริ ้ การ
ลานสะสมตู ้บรรจุสน ิ ้าหรือลานจอดรถ
ิ ้า”
หัวลากตู ้บรรจุสน

2558 2560 2562


13 กลุม

142 ประเภทกิจการ

➢ ประกาศ สธ. เรือ


่ ง กิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
13 กลุ่ม ประกาศยกเว ้นกิจการทีอ
่ ยู่ภายใต ้ พ.ศ. 2558
กฎหมายว่าด ้วยสถานพยาบาล หรือ ➢ ประกาศ สธ. เรือ่ ง กิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
141 ประเภทกิจการ
สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2562
กลุ่มกิจการทีเ่ ป็ น
อันตรายต่อสุขภาพ สัตว์เลีย
้ ง (2 ประเภทกิจการ)

กิจการอืน
่ ๆ (13 ประเภทกิจการ) 1 สัตว์และผลิตภัณฑ์ (7 ประเภทกิจการ)
13 2
ปิ รตรเลียม ปิ รตรเ มี ถ่านหิน อาหาร เ รือ
่ งดืม
่ น้าดืม

ถ่านร ก้ และสารเ มีตา่ งๆ 12 3 (24 ประเภทกิจการ)
(17 ประเภทกิจการ)

หิน ดิน ทราย ซีเมนต์ ยา เวชภัณฑ์ อุปกรณ์การแพทย์


หรือวัตถุท ี่ ลาย
้ ลึง 11 4 เ รื่องสาอาง ผลิตภัณฑ์ทา
(12 ประเภทกิจการ) วามสะอาด (5 ประเภทกิจการ)

สงิ่ ทอ (8 ประเภทกิจการ) 10 5 การเกษตร (9 ประเภทกิจการ)

การบริการ (22 ประเภทกิจการ) 9 6 รลหะหรือแร่ (6 ประเภทกิจการ)

8 7
ยานยนต์ เ รื่องจักร เ รื่องกล (9 ประเภทกิจการ)
ไม ้หรือกระดาษ (8 ประเภทกิจการ)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง กิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2560 (ฉบ ับที่ 2)

กลุม
่ ที่ 9 กิจการทีเ่ กีย
่ วก ับการบริการ

9(1) กิจการสปาเพือ
่ สุขภาพ
เว ้นแต่เป็ นการให ้บริการ
9(3) กิจการนวดเพือ
่ สุขภาพ
ในสถานพยาบาลตาม
กฎหมายว่าด ้วยสถานพยาบาล
9(4) กิจการสถานทีอ
่ าบน้า อบไอน้า
สมุนไพร หรือในสถานประกอบการ
เพือ
่ สุขภาพตามกฎหมาย
ว่าด ้วยสถานประกอบการ
เพือ
่ สุขภาพ
เว ้นแต่เป็ นกิจการทีอ
่ ยู่ใน
9(11) กิจการเสริมสวยหรือแต่งผม บัง ับตามกฎหมายว่าด ้วย
การประกอบวิชาชพ ี เวชกรรม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง กิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ (ฉบ ับที่ 3) พ.ศ. 2562

ประกาศเพิม
่ 1 ประเภทกิจการ

การประกอบกิจการใหบริ ิ ้า
้ การลานสะสมตู ้บรรจุสน
หรือลานจอดรถหัวลากตูบรรจุ
้ ิ ้า
สน
กลไกการควบคุมกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน

ตามพระราชบ ัญญ ัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

การสั่งใหปรั
้ บปรุง แก ้ไข
หยุดดาเนินกิจการ
มาตรา
45

มาตรา
33
การอนุญาต
ประกอบกิจการ การออกข ้อบัญญัต ิ
มาตรา 32 ของทองถิ
้ น ่
ราชการส่วนท้องถนมี ิ่ อานาจออกข้อกาหนดของท้องถน
ิ่
มาตรา 32
ควบคุมกจ
ิ การทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

ราชการสว่ นท้องถิน
่ เจ้าพน ักงานท้องถน
ิ่

กาหนดประเภทกิจการ กาหนดหล ักเกณฑ์ กาหนดเงือ


่ นไขเฉพาะ
ทีต
่ อ
้ งควบคุมภายในท้องถิน
่ และเงือ
่ นไขทว่ ั ไป ในใบอนุญาต

ประกอบกิจการ ขออนุญาตต่อ จพง.ท้องถน


ิ่
ในล ักษณะทีเ่ ป็นการค้า ภายใน 90 ว ัน

ประกอบกิจการ ปฏิบต ั ต
ิ าม
หล ักเกณฑ์และ
ในลักษณะทีไ่ ม่เป็ นการ ้า
เงือ
่ นไขทว่ ั ไป
การออกข้อบ ัญญ ัติทอ
้ งถิน
่ ควบคุมกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

กาหนดประเภทกิจการที่ วบ ุมในทองถิ
้ น ่
o ทุกประเภทกิจการ ตามประกาศ สธ.
o บางประเภทกิจการ
o ขนาดของกิจการ

กาหนดหลักเกณฑ์ เงือ่ นไขทัว่ ไป


o สุขลักษณะของสถานที่
o มาตรการป้ องกันอันตรายต่อสุขภาพ

➢ หลักเกณฑ์ วิธก
ี าร เงือ
่ นไขการขอใบอนุญาต
➢ ่าธรรมเนียมใบอนุญาต รดยไม่เกินอัตรา
ทีก
่ าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 33 ผู ้ประกอบกิจการในลักษณะทีเ่ ป็ นการ ้าต ้องดาเนินการขออนุญาต

เมือ
่ พ ้นกาหนด 90 วัน นับแต่วันทีก ่ มีผลใชบั้ ง ับ “ผู ้ใดประกอบกิจการ
่ าหนดท ้องถิน
ประเภททีท ่ ้องถิน
่ ประกาศ วบ ุมในลักษณะทีเ่ ป็ นการ ้า ต ้องดาเนินการขออนุญาต”
ก่อนประกอบกิจการ

กาหนดเงือ
่ นไขรดยเฉพาะให ้ผู ้รับใบอนุญาตปฏิบัตเิ พือ
่ ป้ องกันอันตรายต่ อสุขภาพ

้ ้สาหรับกิจการประเภทเดียวและสาหรับสถานทีแ
ใบอนุญาตให ้ใชได ่ ห่งเดียว
กระบวนการออกใบอนุญาต

รับ าขออนุญาต

ไม่ถก
ู ต ้อง/ แจ ้งใหแก
้ ้ไข/
ตรวจเอกสาร ไม่ รบถวน ้ ยืน
่ เอกสารเพิม ่ เติม

ไม่ดาเนินการ
ถูกต ้อง/ รบถวน

▪ กฎกระทรวง น
ื าขอ
▪ ประกาศกระทรวง ตรวจสุขลักษณะ
▪ ข ้อบัญญัตข
ิ องทองถิ
้ น ่
▪ เงือ
่ นไขในใบอนุญาต
▪ กฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้อง ถูกสุขลักษณะ ไม่ถูกสุขลักษณะ
แก ้ไข

ออก ออกคาแนะนา
ใบอนุญาต ให้ปร ับปรุงแก้ไข
กรณีผู ้ดาเนินกิจการไม่ปฏิบัตห
ิ รือปฏิบัตไิ ม่ถูกต ้องตาม พ.ร.บ. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข ้อบัญญัติ
หรือเงือ ่ มีอานาจสั่งให ้ผู ้ดาเนินกิจการแก ้ไขปรับปรุงให ้ถูกต ้อง
่ นไขทีร่ ะบุในใบอนุญาต เจ ้าพนักงานท ้องถิน

มาตรา 45 มาตรา 45 มาตรา 59 มาตรา 60

ออกคาสั่งให้ ออกคาสั่งให้
เจ้าพนักงาน พักใช้ เพิกถอน
แก้ไขหรือ หยุดดาเนิน
ท้องถิน่ ใบอนุญาต ใบอนุญาต
ปรับปรุง กิจการ
การควบคุมกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพตามกฎหมาย

กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข ้อบัญญั ตท


ิ ้องถิน

พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
และทีแ
่ ก ้ไขเพิม
่ เติม

รวมถึงประกาศ สธ. ที่ออกภายใต้


อานาจของ พ.ร.บ. สธ.

กิจการทีเ่ ป็น
อ ันตรายต่อสุขภาพ

กฎกระทรวง วบ ุมสถาน
ข ้อบัญญั ต ิ
ประกอบกิจการทีเ่ ป็ นอันตราย
ต่อสุขภาพ พ.ศ. 2560 ของท ้องถิน่

รวมถึงประกาศ สธ. ที่ออกภายใต้


อานาจของกฎกระทรวง
กฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2560
20
เงือ
่ นไขการปฏ ิบ ัติตามกฎกระทรวงสถานประกอบกิจการฯ

1
ผู ้ดาเนินกิจการในสถานประกอบกิจการประเภทราชการส่วนทองถิ ้ น่ ได ้
ออกข ้อกาหนดของทองถิ ้ น ่ กาหนดใหเป็ ้ นกิจการทีต
่ ้อง วบ ุม และมีผล
ใชบั้ ง ับในทองถิ
้ น่ นัน
้ แล ้ว ต ้องปฏิบต
ั ใิ หเป็
้ นไปตามกฎกระทรวงนี้

2
สถานประกอบกิจการที่ตัง้ อยู่ในท ้องที่ที่กฎหมายว่าด ้วยการผังเมืองหรือ
กฎหมายว่าด ้วยการ วบ ุมอา ารมีผลใชบั้ ง ับ สถานประกอบกิจการทีเ่ ป็ น
รรงงานตามกฎหมายว่าด ้วยรรงงาน หรือสถานประกอบกิจการที่มีการ
ประกอบกิจการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ต ้องปฏิบต ั ต
ิ ามกฎหมายว่าด ้วยการนัน้
และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข ้องด ้วย
หล ักเกณฑ์การควบคุมกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ
ตามกฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

หมวด 1 สถานทีต
่ งั ้ ลักษณะอา าร และการสุขาภิบาล

สถานทีต่ งั ้ เหมาะสม และมีระบบป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน


ระยะห่างเป็ นไปตามกฎหมาย

อา ารมั่น ง แข็งแรง ทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ หรือทางออกฉุกเฉิน ใหเป็ ้ นไปตามกฎหมายว่ าดวย



การ วบ ม ุ อา าร หรือกฎหมายทีเ่ กี่ยวข ้อง แสงสว่างเพียงพอ และมีป้ายหรือเ รื่องหมายแสดง
ชัดเจน ทางออกฉุกเฉินต ้องมีไฟสอ่ งสว่างฉุกเฉินเมื่อระบบไฟฟ้ าขัดข ้อง

การจัดแสงสว่างและการระบายอากาศ เป็ นไปตามกฎหมายว่าดวยการ


้ วบ ุมอา าร
และกฎหมายอืน ่ ทีเ่ กีย่ วข ้อง
กฎกระทรวง ฉบ ับที่ 39
(พ.ศ. 2537) ออกตามความ
ใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522

หมวด 3
ระบบการจ ัดแสงสว่าง
และการระบายอากาศ
หองน
้ ้า หองส้ วม้ สะอาด
ดูแล วามสะอาด จัดวางสงิ่ ของ ถูกสุขลักษณะ และเพียงพอ
เป็ นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ o ตามแบบและจานวนที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วย
การควบคุมอาคารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

เก็บ รวบรวม หรือกาจัดมูลฝอย


ทีถ่ ก
ู สุขลักษณะ
o มีภาชนะบรรจุ รองรับที่เหมาะสม เพียงพอ
่ น้าใช ้ สะอาด เพียงพอ
น้าดืม o กรณีที่มีการกาจัดมูลฝอยเอง ต้องได้รับความเห็นชอบ
สาหรับผู ้ปฏิบตั งิ าน จากเจ้าพนักงานท้องถิ่น และดาเนินการให้ถูกต้อง
การ ตามข้อกาหนดท้องถิ่นและกฎหมาย
สุขาภ ิบาล o กรณีมูลฝอยปนเปื้อนสารพิษ หรือวัตถุอันตราย
ต้องดาเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

รรงอาหารหรือห ้อง รัวทีจ ่ ัดไว ้


ดูแลไม่ใหมี้ น้ าท่วมขังบริเวณสถาน
สาหรับผู ้ปฏิบัตงิ าน ดาเนินการให ้
ประกอบกิจการ และมีการระบายน้ า
ถูกต ้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
อย่างเหมาะสม
o กรณีมีน้าทิ้งหรือน้าเสียเกิดขึ้น ต้องดาเนินการ
ตามที่กฎหมายกาหนด

ป้ องกัน กาจัดแมลงและสัตว์พาหะนารร
กฎกระทรวง ฉบ ับที่ 39
(พ.ศ. 2537) ออกตามความ
ใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522

หมวด 2
แบบและจานวนของ
ห้องน ้าและห้องสว้ ม
หมวด 2 วามปลอดภัย อาชวี อนามัย และการป้ องกันเหตุรา าญ

มาตรการความปลอดภย ั ในการทางาน
- ความร้อน แสงสว่าง เสย ี ง สารเคมี
- การทางานในทีสู
่ ง ทีอ
่ บ
ั อากาศ
- การทางานทีเ่ กียวก
่ ับสารเคมีอน
ั ตราย

การตรวจสุขภาพผูป
้ ฏิบ ัติงาน
การเก็ บรก
ั ษาว ัตถุอ ันตราย

ความปลอดภ ัย
& อาชวี อนาม ัย

อุปกรณ์ เครือ ่ งมือ ทีอ


่ าบนา้ ฉุกเฉิน
เครือ
่ งจ ักร ปลอดภ ัย ทีล่ า้ งตาฉุกเฉิน
30
31
32
33
การป้องก ันควบคุมมลพิษและเหตุราคาญ

▪ สถานประกอบกิจการทีอ ี อันตราย หรือมีการใช ้


่ าจก่อให ้เกิดมลพิษ ของเสย
สารเ มี วัตถุอันตราย ต ้องมีระบบ วบ ุม ป้ องกัน มิให ้เกิดผลกระทบจน
เป็ นเหตุรา าญ หรือเป็ นอันตรายต่อสุขภาพของ นงานและผู ้อยู่อาศัย
บริเวณใกล ้เ ย
ี ง
▪ สถานประกอบกิจการต ้องปฏิบัตใิ ห ้เป็ นไปตาม ่ามาตรฐานมลพิษตามที่
รัฐมนตรีประกาศกาหนด หรือตามทีก ่ ฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้องกาหนด

❖ ในระหว่างทีย
่ ังไม่มป
ี ระกาศของรัฐมนตรี กาหนดหลักเกณฑ์ตามกฎกระทรวงนีใ้ นเรือ
่ งใด
ให ้นาหลักเกณฑ์ตามกฎหมายอืน
่ ทีเ่ กีย ้
่ วข ้อง มาปรับใชรดยอนุ รลมก่อน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขทีอ
่ อกภายใต้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

อานาจตาม พ.ร.บ.สธ. อานาจตามกฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ


➢ ประกาศ สธ. เรื่อง กาหนด ➢ ประกาศ สธ. เรื่อง กาหนดค่ามาตรฐานมลพิษทางเสียงอันเกิดจากการประกอบกิจการ
ประเภทหรือขนาดของกิจการ ที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ 2561
➢ ประกาศ สธ. เรื่อง หลักเกณฑ์ มาตรการควบคุมการประกอบกิจการสักผิวหนัง หรือ
และหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย พ.ศ. 2562
ที่ผู้ขออนุญาตจะต้องดาเนินการ ➢ ประกาศ สธ. เรื่อง หลักเกณฑ์การป้องกันและกาจัดแมลงและสัตว์ทเี่ ป็นพาหะนาโรค
ก่อนออกใบอนุญาต พ.ศ. 2561 ในสถานประกอบกิจการทีเ่ ป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2564
➢ ประกาศ สธ. เรื่อง หลักเกณฑ์ ➢ ประกาศ สธ. เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการป้องกันความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อ
ในการรับฟังความคิดเห็นของ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 สาหรับสถานประกอบกิจการทีเ่ ป็นอันตรายต่อ
ประชาชนที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. สุขภาพ พ.ศ. 2564
2561 ➢ ประกาศ สธ. เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันเหตุราคาญหรือผลกระทบทีอ่ าจเป็น
อัน ตรายต่อสุขภาพของสถานประกอบกิจการ การเพาะพัน ธุ์ เลี้ยง และการอนุบาลสุกร
พ.ศ. 2564
➢ ประกาศ สธ. เรื่อง มาตรการควบคุม กากับ ดูแล การประกอบกิจการให้บริการดูแล
ผู้สูงอายุที่บ้านของผูร้ ับบริการ พ.ศ. 2564
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรือ ่ ง กาหนดประเภทหรือขนาดของกิจการและหลักเกณฑ์ วิธีการ เงือ
่ นไข
ทีผ
่ ู ้ขออนุญาตจะต ้องดาเนินการก่อนออกใบอนุญาต พ.ศ. 2561

ประเภทกิจการทีผ
่ ข
ู ้ ออนุญาตต้องดาเนินการก่อนออกใบอนุญาต

1 2 3
กิจการรับทาการกาจัด กิจการรับทาการกาจัด กิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่อ
มูลฝอยทั่วไป มูลฝอย ติดเชอื้ ด ้วย สุขภาพ
• การเผาในเตาเผา วิธีการเผาในเตาเผา • 29 ประเภทกิจการ
• การฝั งกลบอย่าง
ถูกหลักสุขาภิบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง หลักเกณฑ์ในการรับฟั ง วาม ด
ิ เห็นของประชาชนทีเ่ กีย
่ วข ้อง พ.ศ. 2561

กระบวนการรับฟั ง วาม ด
ิ เห็นของประชาชน

1 2 3

การสารวจความคิดเห็น การประชุมปรึกษาหารือ
กรณีกิจการนั้นเข้าข่ายต้องจัดทา 1. การสัมภาษณ์ 1. การอภิปรายสาธารณะ
EIA ตามกฎหมายว่าด้วยการ 2. การเปิดให้แสดงความคิดเห็นทาง
ไปรษณีย์ โทรศัพท์ โทรสาร E-mail
2. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
3. การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ซึ่งได้รับฟังความเห็นของประชาชน 3. การเปิดโอกาสให้ประชาชนที่เกี่ยวข้อง
มารับข้อมูลและแสดงความคิดเห็น 4. การประชุมระดับตัวแทนของ
ให้ถือว่าได้ดาเนินการตามประกาศนี้ กลุ่มบุคคลทีเ่ กี่ยวข้อง
4. การสนทนากลุ่มย่อย
แบบรายการตรวจสอบ
แบบรายการตรวจสอบ
แบบรายการตรวจสอบ
แบบรายการตรวจสอบ
แบบสรุปการรบ
ั ฟังความคิดเห็ นของประชาชน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง กาหนดค่ามาตรฐานมลพ ิษทางเสย ี งอ ันเก ิดจาก
การประกอบก ิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2561

มาตรฐานทีก
่ าหนดในประกาศ

ี งรบกวนไม่เกิน 10 dBA
ค่าระด ับเสย

หลักเกณฑ์และวิธก ี ารตรวจวัดระดับเสยี งรบกวน


้ นไปตามกฎหมายว่าด ้วยการส่งเสริมและ
ใหเป็
รักษา ุณภาพสงิ่ แวดล ้อมแห่งชาติ
หลก
ั เกณฑ์และวิธก
ี ารตรวจวด
ั ระดบ ี ง ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรก
ั เสย ั ษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ

แบบบันทึกการตรวจวัดเสียงรบกวน

การตั้งไมโครโฟนและ การตรวจวัดระดับเสียง การคานวณระดับเสียง


มาตรระดับเสียง

วิธีการคานวณค่า แบบบันทึกการตรวจวัด
ระดับการรบกวน เสียงรบกวน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ ั
่ ง หล ักเกณฑ ์ มาตรการควบคุมการประกอบก ิจการสกผิวหน ัง
หรือเจาะส่วนหนงส ึ่ ่วนใดของร่างกาย พ.ศ. 2562

หลักเกณฑ์ มาตรการควบคุมการประกอบกิจการสักผิวหนัง หรือเจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย

• ความสะอาด การดูแล บารุงรักษาสถานประกอบการ


สุขลักษณะของสถาน • การจัดพื้นที่และระยะห่างในการปฏิบัติงาน
ประกอบกิจการ • จัดให้มีอ่างล้างมือและสบู่พร้อมใช้งาน
• การระบายอากาศ

• โต๊ะ เก้าอี้ เตียงสัก เครื่องสัก เครื่องเจาะ ให้ทาความ


ความปลอดภัยของ สะอาดและฆ่าเชื้อด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ก่อนและหลังให้บริการ
เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ • เข็มสัก เข็มเจาะ มีดโกน สะอาด ใช้ครั้งเดียวทิ้ง
สี เครื่องประดับ
• สี ต้องระบุว่าเป็นสีเพื่อการสัก แสดงวันที่ผลิต หมดอายุ

หลักเกณฑ์ มาตรการในการ • ความเข้มแสงที่ใช้ในการสัก


ปฏิบัติงานและควบคุมความ • การเตรียมสีและอุปกรณ์ใส่สี ใช้เสร็จแล้วให้ทิ้ง ห้ามใช้ซ้า
ปลอดภัยในการทางาน • ผู้ปฏิบัติงานสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง
หลักเกณฑ์ มาตรการเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย หลักเกณฑ์ มาตรการเกี่ยวกับสุขอนามัยและข้อปฏิบัติในการประกอบกิจการ
❖ คัดแยกมูลฝอยทั่วไป มูลฝอยมีคม มูลฝอยที่ปนเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่ง ❖ ผู้ดาเนินกิจการ
o มีคู่มือการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการทางานที่ปลอดภัย
❖ มีภาชนะรองรับมูลฝอยที่เหมาะสม เพียงพอ รวบรวมและนาไปกาจัดอย่าง o ควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อ และการ
ถูกสุขลักษณะ จัดการมูลฝอยที่เกิดจากการประกอบกิจการ
❖ เข็มสัก มีดโกน ของมีคม ให้ใช้ครั้งเดียวทิ้ง ก่อนทิ้งให้มีการจัดการอย่างหนึ่ง o แจ้งเตือนสาหรับผู้มารับบริการที่มีโรคประจาตัว ไม่ควรใช้บริการ
อย่างใด ดังนี้ o ให้คาแนะนาแก่ผู้รับบริการในปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติ ดูแลตัวเอง
o ฆ่าเชื้อด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ทิ้งลงในกล่องหรือภาชนะที่ไม่แทงทะลุ มีฝาปิด เพื่อป้องการติดเชื้อ
รวบรวมนาไปกาจัดอย่างถูกสุขลักษณะ ❖ ผู้ปฏิบัติงาน
o ทิ้งลงในกล่องหรือภาชนะที่ไม่แทงทะลุ มีฝาปิด รวบรวมนาไปกาจัด o มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคติดต่อในระบบทางเดินหายใจ
โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกาจัดมูลฝอย และโรคผิวหนังที่น่ารังเกียจ
ติดเชื้อ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง o มีการตรวจเฝ้าระวังโรคติดต่อ ได้แก่ ไวรัสตับอักเสบ วัณโรค
❖ วัสดุปนเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่ง เช่น วัสดุลอกลาย สาลี ผ้าก๊อช ภาชนะ o ปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อ และการจัดการมูลฝอยที่ถูก
รองรับสี กระดาษชาระ ก่อนทิ้งให้มีการจัดการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ สุขลักษณะ
o ฆ่าเชื้อด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ รวบรวมนาไปกาจัดอย่างถูกสุขลักษณะ
o ทิ้งลงในภาชนะปิดมิดชิด รวบรวมนาไปกาจัด โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ
เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกาจัดมูลฝอยติดเชื้อ หรือกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ ั ทเี่ ป็นพาหะนาโรค
่ ง หล ักเกณฑ ์การป้องก ันและกาจ ัดแมลงและสตว์
ในสถานประกอบกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2564

48
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ ั
่ ง หล ักเกณฑ์การป้องก ันและกาจ ัดแมลงและสตว์ที
เ่ ป็นพาหะนาโรค
ในสถานประกอบกิจการทีเป ่ ็ นอ ันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2564

49
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ ั
่ ง หล ักเกณฑ์การป้องก ันและกาจ ัดแมลงและสตว์ที
เ่ ป็นพาหะนาโรค
ในสถานประกอบกิจการทีเป ่ ็ นอ ันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2564

การกาหนดกลุ่มสถานประกอบกิจการแนบท้ายประกาศ

สถานประกอบกิจการตามประกาศ สธ. และราชการสว่ นท ้องถิน ่ ออกข ้อบัญญั ต ิ


กาหนดให ้เป็ นกิจการทีต
่ ้อง วบ ม
ุ ในท ้องถิน
่ ต ้องปฏิบัตใิ หเป็
้ นไปตามประกาศนี้

สถานประกอบกิจการกลุมที ่ ่1
่ ที่ 1. กิจการที่เกี่ยวกั บสัตว์เลียง
➢ กิจการกลุม ้ ได ้แก่ 1(1)-(2)
➢ กิจการกลุม่ ที่ 2. กิจการที่เกี่ยวกั บสัตว์และผลิตภัณฑ์ ได ้แก่ 2(1)

สถานประกอบกิจการกลุมที ่ ่2
➢ กิจการกลุม
่ ที่ 3. กิจการที่เกี่ยวกั บอาหาร เ รื่องดืม
่ น้ าดืม
่ ได ้แก่ 3(1)-(24)
➢ กิจการตาม 4. กิจการที่เกีย ่ วกับยา เวชภัณฑ์ฯ ได ้แก่ 4(1)

สถานประกอบกิจการกลุมที ่ ่3
➢ กิจการกลุม
่ ที่ 9. กิจการที่เกี่ยวกั บบริการ ได ้แก่ 9(5)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการป้องกันความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
หรือโรคโควิด 19 สาหรับสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. 2564
องค์ประกอบของประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ
ข้อ 1 ชื่อประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ข้อ 2 วันที่มีผลบังคับใช้
ข้อ 3 การยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ ฉบับ พ.ศ. 2563
ข้อ 4 นิยามศัพท์ ระดับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด -19
ในสถานประกอบการและเขตการปกครอง
ข้อ 5 มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับที่ 1
ข้อ 6 มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับที่ 2
ข้อ 7 มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับที่ 3
ข้อ 8 การเพิ่ม หรือลดระดับของสถานการณ์
ข้อ 9 การปฏิบัติตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยมีผลบังคับใช้ วันที่ 18 กันยายน 2564
การกาหนดระดับของการระบาดของโรคโควิด-19 ในประกาศฯ

• มีการระบาดของเชื้อไวรัสภายในประเทศและต่างประเทศ
• ไม่พบผู้ติดเชื้อไวรัส ทั้งในสถานประกอบกิจการ ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระดับที่ 1 ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานประกอบกิจการ และในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีพื้นที่ติดต่อกัน

• ไม่พบผู้ติดเชื้อในสถานประกอบกิจการ
• มีประวัติการพบผู้ติดเชื้อเข้ามาใช้บริการในสถานประกอบกิจการ หรือพบผู้ติดเชื้อในเขต
ระดับที่ 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น หรือในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีพื้นที่ติดต่อกัน

• พบผู้ติดเชื้อในสถานประกอบกิจการ
ระดับที่ 3
มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 ในระดับที่ 1
ข้อ การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันความเสี่ยง ระดับที่ 1
5 (1) ทาความสะอาดอาคารสถานประกอบกิจการ พื้น ผนัง ด้วยน้ายาทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ
โดยเฉพาะบริเวณพื้นผิวที่มีการสัมผัสบ่อยหรือสัมผัสร่วมกัน และห้องน้าและห้องส้วม
5 (2) มีการระบายอากาศทีด่ แี ละเพียงพอ กรณีมีระบบปรับอากาศต้องมีอัตราการระบายอากาศเป็นไปตาม
• ไม่พบผู้ติดเชื้อไวรัส กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ดูแลบารุงรักษาระบบปรับอากาศสม่ าเสมอ
ทั้งในสถานประกอบกิจการ ตรวจสอบให้อยู่ในสภาพดี และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และในเขต อปท.
ที่สถานประกอบกิจการตั้งอยู่ 5 (3) มีพื้น ที่ปฏิบตั ิงาน/พื้นทีใ่ ห้บริการ 1 คนต่อ 4 ตร.ม. หรือมีมาตรการเว้น ระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร
และในเขต อปท. อื่น
ที่มีพื้นที่ติดต่อกัน 5 (4) ทาความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้ ภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องจักร เกี่ยวกับกระบวนการผลิต และการ
• ยังพบการระบาดของเชือ้ ไวรัส ประกอบกิจการที่มีการสัมผัสบ่อย หรือสัมผัสร่วมกัน ก่อนและหลังประกอบกิจการหรือให้บริการทุกครั้ง
ภายในประเทศและต่างประเทศ
5 (5) มีอ่างล้างมือพร้อมน้าและสบูอ่ ย่างเพียงพอ หรือแอลกอฮอล์เข้มข้นไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบ
เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 (6) มีภาชนะรองรับมูลฝอยทีเ่ หมาะสมและเพียงพอกับประเภทและปริมาณของมูลฝอย
สถานประกอบกิจการ
ผู้ติดเชื้อ 5 (7) มีอุปกรณ์ทาความสะอาด น้ายาทาความสะอาด สารฆ่าเชื้อ อย่างเพียงพอ
5 (8) มีอุปกรณ์ป้องกันตนเองสาหรับพนักงานทาความสะอาดอย่างเพียงพอ เช่น ถุงมือยาง หน้ากากอนามัย
ข้อ การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันความเสี่ยง ระดับที่ 1
5 (9) กากับ ดูแลให้ผู้ปฏิบัตงิ านต้องมีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคติดต่อ รักษาความสะอาดของร่างกาย สวมใส่เสื้อผ้า
ที่สะอาดและมีสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ดี
5 (10) มีการวัดอุณหภูมขิ องผู้ปฏิบตั งิ านและผูม้ าใช้บริการ และมีการลงทะเบียนเข้าและออกจากสถาน
• ไม่พบผู้ติดเชื้อไวรัส ประกอบกิจการ ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทางราชการกาหนด เช่น ไทยชนะ หรือใช้การบันทึกข้อมูล
ทั้งในสถานประกอบกิจการ 5 (11) กากับ ดูแล คัดกรองผู้ปฏิบตั งิ าน ดังนี้
และในเขต อปท.
ที่สถานประกอบกิจการตั้งอยู่ • ให้ผู้ปฏิบัติงานประเมิน ตนเองก่อนเข้าทางานทุกวัน ผ่านระบบ Thai Save Thai
และในเขต อปท. อื่น • สาหรับกิจการกลุ่มที่ 9 เกี่ยวกับการบริการ ให้ผู้ใช้บริการต้องประเมินตนเองก่อนเข้ารับบริการ
ที่มีพื้นที่ติดต่อกัน ผ่านระบบ Thai Save Thai หากพบว่ามีความเสี่ยงที่อาจจะเป็นผู้ติดเชื้อให้งดเข้าใช้บริการ
• ยังพบการระบาดของเชือ้ ไวรัส
ภายในประเทศและต่างประเทศ • ให้ผู้ปฏิบัตงิ าน ผู้มาติดต่อ และผู้ใช้บริการ สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ตลอดระยะเวลา
ที่อยู่ในสถานประกอบกิจการ ยกเว้นขณะดื่มหรือรับประทานอาหาร
เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5 (12) ให้สถานประกอบกิจการประเมินตนเอง ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19
สถานประกอบกิจการ
ผู้ติดเชื้อ ผ่านระบบ Thai Stop COVID Plus
5 (13) กรณีที่มีการให้บริการอาหารและเครื่องดืม่ ในสถานประกอบกิจการ ต้องจัดบริการทีถ่ ูกสุขลักษณะ
ปลอดภัย ป้องกัน การแพร่กระจายของเชื้อโรค และต้องจัดให้มีอ่างล้างมือพร้อมสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์
มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับที่ 2
ข้อ การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันความเสี่ยง ระดับที่ 2
ให้สถานประกอบการปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันความเสี่ยง ระดับที่ 1 และมาตรการเพิ่มเติม ดังนี้
6 (1) เพิ่มการทาความสะอาดจุดสัมผัสร่วม เป็นอย่างน้อยวัน ละ 2 ครั้ง
6 (2) • กรณีมีผู้ติดเชื้อเข้ามาในสถานประกอบการ ให้หยุดการดาเนินกิจการในส่วนที่เกี่ยวข้องทันที
ทาความสะอาดสถานประกอบกิจการ เครื่องปรับอากาศ หรือระบบระบายอากาศ
• ไม่พบผู้ติดเชื้อ 6 (3) มีมาตรการลดความแออัด ลดการสัมผัสในสถานประกอบกิจการ เช่น การเหลื่อมเวลาทางาน การ
ในสถานประกอบกิจการ ปฏิบัติงานที่บ้าน การประชุมออนไลน์ จากัดจานวนผู้ใช้บริการ การนัดรับบริการล่วงหน้า
• มีประวัติการพบ
ผู้ติดเชื้อเข้ามา 6 (4) จัดทาทะเบียนบันทึกประวัตแิ ละข้อมูลการเดินทางของผู้ปฏิบตั งิ าน กรณีที่มีการเดินทางไปในพื้นที่
ในสถานประกอบกิจการ หรือสถานที่เสี่ยง และให้มีมาตรการป้องกันควบคุมโรค เช่น การกักตัวเพื่อสังเกตอาการ
• หรือพบผู้ติดเชื้อในเขต อปท. หรือ
ในเขต อปท. อื่นที่มีพื้นที่ติดต่อกัน 6 (5) มีการตรวจหาเชื้อไวรัสให้แก่พนักงานตามความเหมาะสม กรณีตรวจแล้วพบผู้ติดเชื้อให้รายงานต่อ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโดยทันที และปฏิบัติตามมาตรการควบคุมโรคตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อกาหนด
เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานประกอบกิจการ
6 (6) ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบตั งิ านทุกคนได้รบั วัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัส ตามที่กรมควบคุมโรคกาหนด
ผู้ติดเชื้อ 6 (7) กรณีมีบุคคลภายนอกเข้ามาติดต่อสถานประกอบการมากกว่า 1 ชม. ให้ประเมิน ตนเองด้วย TST
6 (8) จัดที่นั่งรับประทานอาหารเป็นการเฉพาะ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ เช่น แยกที่นั่ง หรือมีฉากกั้น
มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับที่ 3
ข้อ การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันความเสี่ยง ระดับที่ 3
ให้สถานประกอบการปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันความเสี่ยง ระดับที่ 2 และมาตรการเพิ่มเติม ดังนี้
7 (1) • ให้ทาความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค ในบริเวณที่ผตู้ ดิ เชื้อปฏิบตั ิงานหรือเกี่ยวข้องทันที
• พิจารณาหยุดกิจกรรมหรือการให้บริการ ในแผนกทีม่ ีผปู้ ฏิบัตงิ านติดเชื้อและบริเวณทีเ่ กี่ยวข้อง
สามารถเปิดดาเนินการได้หลังจากที่ทาความสะอาดแล้วเสร็จหนึ่งวัน หรือตามที่ จพง.สธ. กาหนด
7 (2) เพิ่มความถี่ในการทาความสะอาดอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง หรือภายหลังการให้บริการทุกครั้ง กรณีที่มี
ให้บริการเป็นรอบ เช่น การให้เข้าชมมหรสพ ให้ทาความสะอาดหลังมีผู้ใช้บริการในแต่ละรอบ
พบผู้ติดเชื้อ
7 (3) เพิ่มการดูแลการระบายอากาศในสถานประกอบกิจการ โดยให้ถ่ายเทอากาศบริเวณทีพ่ บผูต้ ิดเชื้อทันที
ในสถานประกอบกิจการ
และปรับปรุงระบบระบายอากาศให้ดียิ่งขึ้น โดยอาจติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม เช่น พัดลมระบายอากาศ
7 (4) จัดที่ทิ้งมูลฝอยติดเชื้อเป็นการเฉพาะ แยกเก็บรวบรวม โดยใส่ถุงบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ จานวน 2 ชั้น
เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถุงชั้นแรกให้ราดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ หรือน้ายาฟอกขาว จากนั้นมัดปากถุงให้แน่น แล้วซ้อนด้วยถุงแดง
สถานประกอบกิจการ อีกหนึ่งชั้น มัดปากถุงให้แน่นอีกครั้ง หากไม่มีถุงแดง ต้องมีข้อความ “มูลฝอยติดเชื้อ”
ผู้ติดเชื้อ
มูลฝอยติดเชื้อให้เก็บรวบรวมเพื่อรอการเก็บขนและกาจัดแบบมูลฝอยติดเชื้อ หรือรวบรวมแยกไว้เฉพาะ
ตามที่ อปท. กาหนด และจัดให้มีเจ้าหน้าที่กากับดูแลการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออย่างเคร่งครัด
การดาเนินการตามระดับสถานการณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

• สถานประกอบการต้องดาเนินการตาม • สถานประกอบกิจการที่มีมาตรการที่เข้มข้นกว่า
มาตรการป้องกันความเสี่ยง ตามระดับ มาตรการตามประกาศนี้ ให้ปฏิบัติตามมาตรการ
ของสถานการณ์การแพร่ระบาด นั้นต่อไป
(ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3) • ให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติมาตรการตาม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วย
ประกาศ สธ. เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันเหตุราคาญหรือผลกระทบที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ของสถานประกอบกิจการ การเพาะพันธุ์ เลี้ยง และการอนุบาลสุกร พ.ศ. 2564
องค์ประกอบของประกาศ

บทนา ข้อ 5 การกาหนดระยะห่างของสถาน ข้อ 7 ผู้ดาเนินกิจการต้องควบคุมและ ข้อ 11 กรณีสถานที่ตามข้อ 5 เข้ามาตั้งอยู่ใกล้


อานาจในการออกประกาศฯ ประกอบกิจการจาก ศาสนสถาน โรงพยาบาล ป้องกันมิให้เกิดผลกระทบจนเป็นเหตุ กับสถานประกอบการจนเป็นเหตุให้ระยะห่างไม่
ข้อ 1 ชื่อประกาศ สถานศึกษา สถานเลี้ยงเด็ก สถานดูแล ราคาญหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นไปตามข้อ 5 ให้สถานประกอบกิจการดาเนิน
ข้อ 2 วันที่ใช้บังคับ ผู้สูงอายุหรือผู้พิการหรือผู้ป่วยพักฟื้น กิจการต่อไปได้ และต้องจัดให้มีมาตรการควบคุม
ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในประกาศนี้
o 11 - 20 ตัว ระยะห่าง 50 ม. และป้องกันเหตุราคาญหรือผลกระทบที่อาจเป็น
ข้อ 3 นิยาม ข้อ 8 หลักเกณฑ์สุขลักษณะโรงเรือน
o 21 – 50 ตัว ระยะห่าง 100 ม. อันตรายต่อสุขภาพ
ข้อ 4 การกาหนดให้สถาน o 51 – 500 ตัว ระยะห่าง 200 ม. ข้อ 9 หลักเกณฑ์สุขลักษณะเครื่องมือ ข้อ 12 สถานประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาตก่อน
ประกอบกิจการ ต้องมี o 501 – 5000 ตัว ระยะห่าง 1000 ม. เครื่องใช้ อุปกรณ์ วัตถุดิบ อาหารสุกร วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ไม่ต้องปฎิบัติตาม
มาตรการควบคุมและป้องกัน o 5001 ตัวขึ้นไป ระยะห่าง 2000 ม. ข้อ 10 หลักเกณฑ์การจัดการของเสีย หลักเกณฑ์ในข้อ 5 วรรคหนึ่ง และ ข้อ 6 แต่ต้อง
เหตุราคาญหรือผลกระทบที่ ข้อ 6 บริเวณเพาะพันธุ์ เลี้ยงสุกร และ มีมาตรการควบคุมและป้องกันผลกระทบตาม
อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ บริเวณที่กาจัดของเสีย ต้องอยู่ห่างเขตรั้วของ หลักเกฑ์ที่กาหนดในข้อ 8 ข้อ 9 และข้อ10
ตามที่ประกาศนี้กาหนด สถานประกอบกิจการ และมีที่ว่างอัน
ปราศจากหลังคาหรือสิ่งปกคลุมไม่น้อยกว่า
20 เมตร

ใช้บังคับกับสถานประกอบกิจการที่ตั้งขึ้น ใช้บังคับกับสถานประกอบกิจการทั้งที่ตั้งขึ้น
บทเฉพาะกาลในการยกเว้นสถานประกอบกิจการ
หลังวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ก่อนและหลังวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
สรุปบทบาทหล ักของเจ ้าพน ักงานในการควบคุมกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ
ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

การออก การพิจารณา การควบคุม การออกคาสง่ ั


ข้อบ ัญญ ัติของ อนุญาตประกอบ กาก ับ ดูแล ▪ ปร ับปรุงแก้ไข
ท้องถิน่ ควบคุม กิจการ ให้ถูกต้องด้วย ▪ หยุดกิจการ
กิจการทีเ่ ป็น สุขล ักษณะ ้ เพิกถอน
▪ พ ักใช/
อ ันตรายต่อ ใบอนุญาต
สุขภาพ

▪ ไม่ถูกต้องตาม พ.ร.บ. กฎกระทรวง ประกาศ สธ.


▪ ฝ่าฝื นข้อบ ัญญ ัติทอ
้ งถิน
่ /เงือ
่ นไขในใบอนุญาต
▪ ไม่ถูกต้อง/ผิดสุขลก ั ษณะ
▪ ก่อมลพิษ เหตุราคาญ
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
มาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนาม ัยสงิ่ แวดล้อม
ั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน
สาหรบ ่
(Environmental Health Accreditation : EHA)
ด้านการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ
EHA 7000
ระบบการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

กระบวนการ ว ิธีการ และแนวทางในการควบคุมและป้องก ันการประกอบกิจการ


ทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ อย่างมีระเบียบแบบแผน เพือ
่ มิให้เกิดผลกระทบ
่ ผลกระทบต่อ
จนเป็นเหตุราคาญ หรืออาจเป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ หรือสง
่ เี่ หมาะสมต่อการดารงชวี ต
สภาวะความเป็นอยูท ิ ของประชาชน
องค์ประกอบระบบการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

o นรยบาย/กาหนดร รงสร ้าง


o สนั บสนุนงบประมาณ
ผูบ
้ ริหาร o สนั บสนุนการปฏิบัตงิ านของเจ ้าหน ้าที่
o การออกข ้อบัญญัตท ิ ้องถิน

o กาหนดผูร้ ับผ ิดชอบ
o ม ีองค์ความรูในการปฏิบ
้ ัติงาน

o การควบคุมตามกฎหมาย
ระบบ/กลไก
เจ้าหน้าที่ องค์ประกอบ o การป้องก ัน เฝ้าระว ัง
การทางาน

มาตรฐานการปฏิบ ัติงาน (SOP) 6 ขนตอนหล


ั้ ัก
o อง ์ วามรู ้ในการปฏิบัตงิ าน 1. การกาหนดผู ้รับผิดชอบ
o มู่ ือ/แนวทางการปฏิบัตงิ าน 2. การออกข ้อบัญญั ต ิของท ้องถิน

o เ รื่องมือวิทยาศาสตร์ เครือ
่ งมือ 3. การอนุญาตและตรวจสอบด ้านสุขลักษณะ
o รปรแกรมการออกใบอนุญาต การทางาน 4. การจั ดทาฐานข ้อมูลสถานประกอบกิจการ
o แบบตรวจสุขลักษณะ / Application 5. การเฝ้ าระวั งผลกระทบจากการประกอบกิจการ
o แบบฟอร์ม แบบรายงาน 6. การ วบ ม ุ กากั บ ติดตาม
มาตรฐานการปฏ ิบ ัติงานการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ (SOP)

ประกอบด้วย 6 ขนตอนหล
ั้ ัก

4
1 การจ ัดทา
การกาหนด
ฐานข้อมูล
ผูร้ ับผิดชอบ
กิจการฯ

5
การออก
2
ี่ ง
การเฝ้าระว ังความเสย
ข้อบญ
ั ญ ัติ หรือผลกระทบจาก
ของท้องถิน
่ การประกอบกิจการ

6
3
การตรวจสุขล ักษณะ การควบคุม
ประกอบการ
กาก ับ ติดตาม
พิจารณาอนุญาต
กระบวนการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

กาหนดผูร้ ับผิดชอบ ❖ มีผู้รับผิดชอบงานกิจการฯ ที่ชัดเจน ซึ่งอาจเป็นคาสั่งคณะทางานหรือมอบหมาย


รายบุคคล เป็นลายลักษณ์อักษร
❖ ผู้รับผิดชอบมีบัตรประจาตัวเจ้าพนักงานสาธารณสุขตามกฎหมาย
ออก ❖ ผู้รับผิดชอบมีองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานด้านการจัดการกิจการฯ
ข้อบ ัญญ ัติ
ของท ้องถิน

❖ อปท. มีการออกข้อบัญญัติของท้องถิ่นควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
❖ มีการกาหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการปฏิบัติ เกี่ยวกับการดูแลสภาพหรือ
สุขลักษณะ ของสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในข้อบัญญัติของ
การตรวจสุขล ักษณะ
ประกอบการพิจารณาอนุญาต
ท้องถิ่น

*กฎกระทรวง
ตรวจสอบ
❖ จัดทาแผนผังขั้นตอน/กระบวนการออกใบอนุญาต
*ประกาศกระทรวง รบ
ั คาขอ
*ข ้อบัญญั ตท
ิ ้องถิน
่ เอกสาร ❖ มีแบบฟอร์มรับคาขออนุญาต
*เงื่อนไขในใบอนุญาต ❖ การยื่นขอประกอบกิจการรายใหม่ต้องแนบเอกสารครบถ้วนตามที่กฎหมายกาหนด
*กฎหมายที่เกี่ยวของ ้
ตรวจสอบ ❖ มีการตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการก่อนออกใบอนุญาต ทั้งกรณียื่นขอ
สุขล ักษณะ
อนุญาตรายใหม่ และรายต่อใบอนุญาต
ถูกสุขล ักษณะ ไม่ถก
ู สุขล ักษณะ ❖ กรณีสถานประกอบการปฏิบัติไม่ถูกต้องด้านสุขลักษณะ ไม่เป็นตามข้อบัญญัติหรือ
แก ้ไข กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีการออกคาแนะนาปรับปรุงแก้ไข
ออก/ต่อ ออกคาแนะนา ❖ มีรายงานและผลการตรวจสอบสุขลักษณะเสนอผู้บริหาร เพื่อประกอบการ
ใบอนุญาต ให้ปร ับปรุง พิจารณาอนุญาต
ต ัวอย่างแบบตรวจสุขล ักษณะกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ
ผลการตรวจ ข้อเท็จจริง/ประเด็น ข้อแนะนา/ข้อเสนอแนะ
รายการตรวจแนะนา ผ่าน ปรับ ไม่ม/ี ที่ตรวจพบ
ปรุง ไม่เกี่ยวข้อง
1. สถานที่ตั้งเป็นไปตามกฎหมายผังเมือง กฎหมายอาคาร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง √
2. ตั้งอยู่ห่างจากชุมชน วัด ศาสนสถาน สถานศึกษา หรือสถานที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายกาหนด √
(กรณีที่มีกฎหมายกาหนดหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นกาหนดไว้)
3. อาคารมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย √
4. พื้นที่ปฏิบัติงาน สะอาด เป็นสัดส่วน จัดวางสิ่งของเป็นระเบียบเรียบร้อย และปลอดภัย √
5. มีการระบายอากาศภายในอาคารที่เหมาะสม √
6. มีการระบายน้าที่ดี เหมาะสม ไม่มีน้าท่วมขัง √
7. กรณีมีโรงอาหารหรือห้องครัวสาหรับบริการผู้ปฏิบัติงาน ต้องดาเนินการตามหลักสุขาภิบาลอาหาร √
8. น้าดื่มสาหรับผู้ปฏิบัติงาน สะอาด เพียงพอ √
9. น้าใช้มีปริมาณและคุณภาพเหมาะสม √
10. ห้องน้า ห้องส้วม อ่างหรือที่ล้างมือ สะอาด ถูกสุขลักษณะ √
11. มีการเก็บ รวบรวม กาจัดมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ √
12. มีการจัดการของเสียอันตราย วัตถุอันตราย หรือมูลฝอยที่ปนเปื้อนสารพิษตามที่กฎหมายกาหนด √ มีการทิ้งภาชนะบรรจุสารเคมี ให้แยกภาชนะบรรจุสารเคมี
รวมกับมูลฝอยทั่วไป และส่งกาจัดตามกฎหมาย
13. มีการป้องกัน ควบคุม และกาจัดสัตว์ แมลงนาโรคในพื้นที่สถานประกอบกิจการอย่างเหมาะสม
ต ัวอย่างแบบตรวจสุขล ักษณะกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ
ผลการตรวจ ข้อเท็จจริง/ประเด็น ข้อแนะนา/ข้อเสนอแนะ
รายการตรวจแนะนา ผ่าน ปรับ ไม่ม/ี ที่ตรวจพบ
ปรุง ไม่เกี่ยวข้อง
14. แสงสว่างในพื้นที่ปฏิบัติงานเหมาะสม เพียงพอ √
15. อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร สายไฟ มีสภาพปลอดภัย จัดวางเป็นระเบียบ ไม่กีดขวางทางเดิน √
16. มีทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ หรือทางออกฉุกเฉิน ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร √
17. ติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องดับเพลิง อย่างเพียงพอ เหมาะสม อยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งาน √
18. มีที่อาบน้า ที่ล้างตาฉุกเฉิน ตามความเหมาะสม √
19. มีสถานที่ปลอดภัยสาหรับเก็บรักษาวัตถุอันตราย √ สถานที่จัดเก็บวัตถุอันตรายไม่ ควรมีห้องจัดเก็บวัตถุอันตราย
เหมาะสม เก็บรวมกับมูลฝอยอื่น แยกเฉพาะ และควรมีวัสดุดูด
ซับสารเคมี เช่น ทรายกรอง
20. มีมาตรการ ความปลอดภัยในการทางาน √
21. มีการตรวจสุขภาพผู้ปฏิบัติงานตามกฎหมาย √
22. มีการป้องกัน ควบคุม หรือบาบัดมลพิษทางน้า อากาศ เสียง ฯลฯ ก่อนปล่อยหรือระบายสู่ √
สิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามค่ามาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
23. มีมาตรการ วิธีการ หรือการจัดการ เพื่อป้องกัน ควบคุมเหตุราคาญหรืออันตรายต่อสุขภาพของ √
ผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียง
24. สถานประกอบกิจการปฏิบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในข้อบัญญัติของท้อ งถิ่น √
25. สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามเงื่อนไขเฉพาะที่ระบุในใบอนุญาต √
กระบวนการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

❖ มีการสารวจข้อมูลกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพในพื้นที่
❖ จัดทาทะเบียนข้อมูลกิจการฯ
การจัดทาฐานข้อมูลกิจการ ❖ ประเภทและจานวนกิจการ มี/ไม่มีใบอนุญาต
ที่เป็น อันตรายสุขภาพ ❖ สถิติการร้องเรียน/เหตุราคาญ (รายเดือน/รายปี)
❖ ความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากกระบวนการผลิต/การประกอบกิจการฯ
❖ จัดทารายงานสถานการณ์ประจาปี
ต ัวอย่างการจ ัดทาทะเบียนข้อมูล
ลาด ับ ประเภทกิจการ จานวน ม ีใบ ไม่ม ี ไม่เคยถูก เคยถูก ประเด็นท ี่ หมายเหตุ
(ราย) อนุญาต ใบอนุญาต ร้องเรียน ร้องเรียน ถูกร้องเรียน

1 การเผาถ่าน 10 10 - 8 2 กลิน
่ เหม็ น

2 การเลีย
้ งสุกร 8 8 - 2 6 กลิน
่ เหม็ น

3 เสริมสวย 20 18 2 20 - -

4 สถานบันเทิง 6 5 1 4 1 ี งดัง
เสย

5 อู่เ าะ พ่นสรี ถยนต์ 6 6 - 3 3 กลิน


่ เหม็ น
เสยี งดัง
ไอระเหยสารเ มี

รวม 50 47 3 37 12
ต ัวอย่างการจ ัดทาทะเบียนสรุปข้อมูลกจ
ิ การทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ
กระบวนการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ

การเฝ้าระวังกิจการที่เป็นอันตรายสุขภาพ ❖ ประเมินสถานการณ์จากฐานข้อมูลกิจการฯ วิเคราะห์ข้อมูล และกาหนดประเด็น


หรือประเภทกิจการที่จาเป็นต้องมีการเฝ้าระวัง เพื่อป้องกันปัญหาเหตุราคาญ
มีฐานข้อมูลกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพในพื้นที่
หรือผลกระทบต่อประชาชน/ชุมชน
วิเคราะห์ข้อมูลกิจการฯ และสภาพปัญหาหรือผลกระทบ ❖ จัดทาโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม เพื่อการเฝ้าระวังกิจการที่เป็นอันตรายต่อ
ที่เกิดจากกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สุขภาพ
จัดลาดับความสาคัญของปัญหาหรือผลกระทบ ❖ เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการเฝ้าระวัง เช่น ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
พร้อมกาหนดประเภทกิจการฯ หรือประเด็นการเฝ้าระวัง ข้อมูลการร้องเรียนเหตุราคาญ ข้อมูลการได้รับผลกระทบของประชาชน เป็นต้น
❖ วิเคราะห์ แปรผลข้อมูล เช่น แนวโน้มการเกิดปัญหาในช่วงเวลาใด ความถี่
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการเฝ้าระวัง
ความรุนแรง หรือกลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบ
วิเคราะห์ แปรผล และกาหนดมาตรการป้องกันแก้ไข ❖ กาหนดมาตรการ/แนวทางแก้ไข และดาเนินการตามมาตรการที่กาหนด

การควบคุม กากับ ติดตาม ❖ จัดทาแผนการตรวจตรา กากับ ดูแสถานประกอบกิจการ ให้ปฏิบัติ


จัดทาแผนตรวจตรา กากับ ดูแล ถูกต้องตามข้อบัญญัติของท้องถิ่น และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
❖ มีคาแนะนา และกากับดูแลให้ถูกสุขลักษณะ ตามข้อบัญญัติท้องถิ่น และ
ออกคาแนะนาด้านสุขลักษณะหรือมาตรการป้องกัน
เป็นไปตามกฎหมาย
จัดทารายงานการตรวจตราตามแผนที่กาหนด ❖ จัดทารายงานผลการตรวจตรา กากับดูแลสถานประกอบการ
การประเมินระบบการจ ัดการกิจการทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพ : EHA 7000

คะแนนเต็ม ผ่าน ไม่ผ่าน


องค์ประกอบการประเม ิน
้ ฐาน
พืน เกียรติบ ัตร

ส่วนที่ 1 100 60 80 < 60

การจ ัดการกระบวนการ
(SOP)

ส่วนที่ 2 100 60 80 < 60

การว ัดผลล ัพธ์


การว ัดกระบวนการหรือมาตรฐานการปฏ ิบ ัติงาน (SOP)
ขนตอน
ั้ ผงั กระบวนการ คะแนน การพิจารณาหล ักฐาน/ข ้อมูลประกอบการให้คะแนน

1 การกาหนดผู ้รับผิดชอบ 10 1. มีการมอบหมายผู ้รับผิดชอบเป็ นลายลักษณ์อักษร (3 คะแนน)


2. ผู ้รับผิดชอบมีบัตรประจาตัวเจ ้าพนักงานสาธารณสุข (2 คะแนน)
3. ผู ้รับผิดชอบไดรั้ บการพัฒนาหรืออบรม วามรู ้ทีเ่ กี่ยวของกั
้ บการจัด การกิจการฯ
- ภายใน 3 ปี ย ้อนหลัง (3 คะแนน) / ภายใน 5 ปี ย ้อนหลัง (2 คะแนน)
2 การออกขอบั ้ ญญัตท ิ องถิ
้ น ่ วบ ม
ุ 20 1. มีข ้อบัญญัต ิทองถิ
้ น ่ กาหนดประเภทกิจการฯ ที่ วบ ม
ุ (10 คะแนน)
กิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ 2. มีการกาหนดหลักเกณฑ์ดานสุ ้ ขลักษณะในขอบั
้ ญญัต ิของทองถิ
้ น่ (10 คะแนน)
3 การตรวจสุขลักษณะเพื่อ 20 1. มีผังกระบวนการ/ขัน
้ ตอนการออกใบอนุญาต (5 คะแนน)
ประกอบการพิจารณาอนุญาต 2. มีแบบตรวจสุขลักษณะสถานประกอบกิจการ (5 คะแนน)
3. มีรายงานการตรวจสุขลักษณะ (10 คะแนน)
4 การจัดทาฐานขอมู
้ ลกิจการฯ 15 1. มีฐานข ้อมูล/ทะเบียนกิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ (5 คะแนน)
2. มีรายงานสถานการณ์กจ ิ การทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพประจาปี (10 คะแนน)

5 การเฝ้ าระวัง วามเสย ี่ งหรือ 20 1. มีร รงการ/แผนงาน/กิจกรรมการเฝ้ าระวังกิจการฯ (5 คะแนน)


ผลกระทบจากการประกอบกิจการ 2. มีการเก็ บรวบรวมขอมู
้ ลทีเ่ กี่ยวของเพื
้ ่อการเฝ้ าระวัง (5 คะแนน)
ทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ 3. มีการวิเ ราะห์ แปลผล สรุปขอมู ้ ล (5 คะแนน)
4. มีมาตรการหรือแนวทางการจัดการ (5 คะแนน)
6 การ วบ ม
ุ กากับ และติดตาม 15 1. มีแผนการตรวจตราและกากับดูแลสถานประกอบกิจการ (5 คะแนน)
2. มี าแนะนา/ าสงั่ ให ้ปฏิบัตห
ิ รือปรับปรุงแก ้ไขด ้านสุขลักษณะ (5 คะแนน)
3. มีรายงานการตรวจตรา กากับ และติดตามประเมินผล (5 คะแนน)
รวมคะแนน 100
การว ัดผลล ัพธ์
ประเด็ นการวด
ั หล ักฐาน คะแนน หล ักฐานประกอบการพิจารณา

1. ร ้อยละของกิจการทีเ่ ป็ นอันตราย A = จานวนกิจการฯ ทีไ่ ด ้รับการตรวจสุขลักษณะฯ 50 ❖ รายงานการตรวจสุขลักษณะ


ต่อสุขภาพ ไดรั้ บการตรวจสอบดาน ้ B = จานวนกิจการฯ ทีย ่ ื่น าขออนุญาตหรือ ชาระ ❖ รายงานการตรวจสอบสถาน
สุขลักษณะ า่ ธรรมเนียมใบอนุญาต ประกอบกิจการ เสนอผู ้บริหาร
พิจารณาอนุญาต
การ ิด ะแนน = (A/B) x 50

2. ร ้อยละของกิจการทีเ่ ป็ นอันตราย A = จานวนกิจการฯ ทีไ่ ม่ถูกร ้องเรียนเหตุรา าญ 50 ❖ ทะเบียนขอมู ้ ลกิจการทีเ่ ป็ น


ต่อสุขภาพ ไม่ถูกร ้องเรียนเหตุ หรือไม่ก่อปั ญหาด ้านอนามัยสงิ่ แวด ้อม อันตรายต่อสุขภาพ
รา าญ หรือไม่ก่อปั ญหาดาน ้ B = จานวนกิจการฯ ทีย ่ ื่น าขออนุญาตหรือ ชาระ ❖ ทะเบียนขอมู ้ ลปั ญหาเหตุรา าญ
อนามัยสงิ่ แวดล ้อม า่ ธรรมเนียมใบอนุญาต หรือเรื่องร ้องเรียนดานอนามั
้ ย
สงิ่ แวดล ้อมทีเ่ กิดจากการประกอบ
การ ิด ะแนน = (A/B) x 50 กิจการทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ

รวมคะแนน 100
Thank you

You might also like