Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

ใบงาน ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ

สาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่......... เทอม........ ปี การ
ศึกษา..........
ชื่อ – นามสกุล ........................................................................... ชัน
้ ม.
6/ ....... เลขที่ ...............
วิวัฒนาการนาฏศิลป์ ไทย
1. สมัยน่านเจ้า มีนิยายเรื่อง นามาโนห์รา หรือเรื่องมโนราห์ เป็ นนิยายของพวกไต หรือ
คนไทย ในสมัยน่านเจ้า
2. สมัยสุโขทัย พบหลักฐาน การละครและฟ้ อนรำ ปรากฏอยู่ในศิลาจารึก ของพ่อขุน
รามคำแหง
3. สมัยอยุธยา มีการแสดงละครชาตรี ละครนอก ละครใน ละครในเรื่องที่นิยมมาแสดงมี
3 เรื่องคือ อิเหนา รามเกียรติ ์ อุณรุท ส่วนละครนอก ชาวบ้านจะแสดง ใช้ผช
ู้ ายล้วนดำเนิน
เรื่องอย่างรวดเร็ว
4. สมัยธนบุรี สมัยนีบ
้ ทละครในสมัยอยุธยาได้สูญหายไป สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงรวบรวมศิลปิ น บทละคร ที่เหลือมาทรงพระราชนิพนธ์
บทละคร เรื่อง รามเกียรติ ์
5. สมัยรัตนโกสินทร์
5.1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่1)
สมัยนีไ้ ด้ฟ้ื นฟูและรวบรวม สิ่งที่สูญหายให้มีความสมบูรณ์มากขึน
้ และรวบรวม ตำราการ
ฟ้ อนรำ ไว้เป็ นหลักฐานที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ พระองค์ทรงพัฒนาโขน โดยให้ผู้
แสดงเปิ ดหน้าและสวมมงกุฎ หรือชฎา
5.2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่2)
สมัยนีว้ รรณคดี และละครเจริญถึงขีดสุด ถือว่าเป็ นยุคทองของนาฏศิลป์ พระองค์ทรง
เปลี่ยนแปลงการแต่งกาย ให้เป็ นการแต่งยืนเครื่อง เมื่อปี พ.ศ.2511 ยูเนสโก ได้ถวายพระ
เกียรติคุณแด่พระองค์ ให้ในฐานะบุคคลสำคัญ ที่มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ระดับโลก
5.3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่3)
สมัยนีพ
้ ระองค์ ให้ยกเลิกละครหลวง พระบรมวงศานุวงศ์ จึงพากันฝึ กหัดโขนละคร คณะ
ละครที่มีแบบแผนในเชิงฝึ กหัดและแสดง
ทางโขน ละครถือเป็ นแบบแผนในการปฏิบัติสืบต่อมา ถึงปั จจุบัน
5.4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่4)
ได้ฟ้ื นฟูละครหลวง ขึน
้ ใหม่อนุญาตให้ราษฎรฝึ กละครในได้ ซึ่งแต่เดิมละครในจะแสดงได้
แต่เฉพาะในพระราชวังเท่านัน
้ ด้วยเหตุที่ละครแพร่หลายไปสู่ประชาชนมากขึน
้ จึงมีการ
บัญญัติข้อห้ามในการแสดงละครที่มิใช่ละครหลวง
5.5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5)
ในสมัยนีส
้ ภาพบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า และขยายตัวอย่างรวดเร็ว เพราะได้รับ
วัฒนธรรมจากตะวันตก ทำให้ศิลปะการแสดงละครได้มีวิวัฒนาการขึน
้ อีกรูปแบบหนึ่ง
นอกจากนี ้ ยังกำเนิดละครดึกดำบรรพ์ ละครเสภา และละครพันทางอีกด้วย
5.6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่6)
ในสมัยนีเ้ ป็ นสมัยที่โขน ละคร ดนตรี ปี่ พาทย์เจริญถึงขีดสุด พระองค์ทรงเป็ นราชาแห่ง
ศิลปิ น แม้ว่าจะมีประสมการณ์ด้านละครพูดแบบตะวันตก แต่ก็ทรงมีพระราชปณิธานอัน
แรงกล้า ที่จะทรงไว้ซึ่ง “ความเป็ นไทย” และดนตรีปี่พาทย์ ทัง้ ยังทรงพระราชทาน
บรรดาศักดิใ์ ห้แก่ศิลปิ นโขนที่มีฝีมือให้เป็ นขุนนางอีกด้วย
5.7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่7)
สมัยนีภ
้ าวะเศรษฐกิจตกต่ำ การเมืองเกิดการคับขัน จึงได้มีการปรับปรุงระบบบริหาร
ราชการกระทรวงวังครัง้ ใหญ่ ให้โอนงานช่างกอง
วังนอก และกองมหรสพไปอยู่ในสังกัดของกรมศิลปากร และการช่างจึงย้ายมาอยู่ในสังกัด
ของกรมศิลปากร
5.8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่8)
ในสมัยนีก
้ ารแสดงนาฏศิลป์ โขน ละคร จัดอยู่ในการกำกับดูแลของกรมศิลปากร หลวง
วิจิตรวาทการ อธิบดีคนแรกของกรมศิลปากรได้ฟ้ื นฟู เปลี่ยนแปลงการแสดงโขน ละครใน
รูปแบบใหม่ โดยจัดตัง้ โรงเรียนนาฏดุริยางค์ศาสตร์ขน
ึ ้ เพื่อให้การศึกษาทัง้ ด้านศิลปะและ
สามัญ และเพื่อยกระดับศิลปิ นให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ   
5.9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (รัชกาลที่9)
ในสมัยนีพ
้ ระองค์โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิธีไหว้ครู อีกทัง้ ยังมีการปลูกฝั งจิตสำนึกในการร่วมกัน
อนุรักษ์ สืบสาน สืบทอด และพัฒนาศิลปะการแสดงของชาติผ่านการเรียนการสอนใน
ระดับการศึกษาทุกระดับ

ตอนที่ 1 ประเมินการอ่าน
1. ละครเรื่องมโนราห์ เกิดขึน
้ ในสมัย
ใด...........................................................................................................................................
............
2. สมัยอยุธยา เกิดละครขึน
้ 3 ประเภทได้แก่
...........................................................................................................................................
3. รัชกาลใด ถือว่ายุคทองของ
นาฏศิลป์ ................................................................................................................................
......................
4. ละครดึกดำบรรพ์ ละครเสภา และละครพันทาง เกิดขึน
้ ในรัชกาล
ที่.......................................................................................................
5. หลวงวิจิตรวาทการ เกี่ยวข้องอะไรกับละครไทย
...................................................................................................................................

ตอนที่ 2 ประเมินการคิด วิเคราะห์


1. ต้นกำเนิดชาวไต มา
จาก........................................................................................................................................
..................................
2. นิยายเรื่อง นามาโนห์รา เป็ นเรื่องเกี่ยวกับ
อะไร.....................................................................................................................................
3. เพราะเหตุใด รัชกาลที่3 ให้ยกเลิกละคร
หลวง......................................................................................................................................
...
4. การแต่งอย่าง พิถีพิถันตามแบบแผนกษัตริย์ เรียกการแต่งกายนี ้
ว่า........................................................................................................
5. ละครนอก นิยมเล่นเรื่องใดบ้าง ยกตัวอย่างมา 3 เรื่อง
...........................................................................................................................

ตอนนที่ 3 ประเมินการเขียนสื่อความ
จงเขียนอธิบายเพื่อสื่อความว่าข้อต่อไปนี ้ ถูก หรือ ผิด เพราะเหตุใด
1. ต้นกำเนิดของละครไทยมาจาก “ชาวไต”
ตอบ .......................... เพราะ
.................................................................................................................
2. ละครใน นิยมใช้ผช
ู้ ายล้วนดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว แสดงแบบชาวบ้าน
ตอบ .......................... เพราะ
.................................................................................................................
3. ละครเสภา เป็ นละครเกี่ยวกับการพูดบรรยาย
ตอบ .......................... เพราะ
.................................................................................................................
4. นาฏศิลป์ ไทยถูกย้ายจากกรมมหรสพไปอยู่ในสังกัดของกรมศิลปากร
ตอบ ..........................เพราะ .............................................................................................
....................
5. หลวงวิจิตรวาทการ ให้จัดพิธีไหว้ครู อีกทัง้ ยังมีการปลูกฝั งจิตสำนึกในการร่วมกัน
อนุรักษ์ สืบสาน สืบทอด และพัฒนาศิลปะ
ตอบ .......................... เพราะ
.................................................................................................................

สรุปผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ


รายการ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
อ่าน
คิดวิเคราะห์
เขียนสื่อ
ความ
สรุป

ผู้ประเมิน....................................................
วันที่.........................................

You might also like