กำลังวัสดุ 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 100

ความแข็งแรงของวัสดุ 1

(Strength of Materials I)

Lecturer: Dr. Lyna Prak (ลีน่า ปรัก)


ห้องทางาน: 6010 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
E-mail: lyna_p@rmutt.ac.th
โทรศัพท์: 087 3204 779
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคนธัญบุรี
ปี การศึกษา 2564
เนื้อหา
✓ความรู้เบือ้ งต้นทางกลศาสตร์ของวัสดุ
✓นิยามของแรง ความเค้น และความเครียด
o ลักษณะของแรง ความเค้น ความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเคนและความเครียด แรงตาม
แนวแกน
✓แรงบิด
❖แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด ความเค้นในคาน
❖การโก่งตัวของคาน
❖ความเค้นประสมและวงกลมของมอร์
❖การโก่งเดาะของเสาและเกณฑ์การวิบัติ
2
1. ความรูเ้ บื้องต้นทางกลศาสตร์ของวัสดุ
ความรู้เบื้องต้ นทางกลศาสตร์ ของวัสดุ
1. นิยามกลศาสตร์ของวัสดุ
กลศาสตร์ของวัสดุ (Mechanic of material) เป็ นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศกึ ษาเกี่ยวกับผลของการ
กระทาของแรง (Forces) ต่อวัสดุ (Bodies) รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ (Temperature change)
ของแท่งวัสดุ ซี่งแยกออกเป็ น:
❑กลศาสตร์ของไหล (Fluid mechanic)
❑กลศาสตร์ของแข็ง (Solid mechanic) แยกออกเป็ น 2 กรณี ตามลักษณะของวัตถุเมื่อถูกแรงกระทา
o สถิตยศาสตร์ (Statics)
o จลศาสตร์ (Dynamics)
การศึกษากลศาสตร์ของแข็งของวัสดุท่ีมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อถูกแรงกระทาที่อยู่กบั ที่ เรียกอีกชื่อว่า
“ความแข็งแรงของวัสดุ (Strength of material)” ซึง่ วิชานีม้ งุ่ ศึกษาพฤติกรรมของแท่งวัสดุเมื่อมีแรง
ภายนอกกระทาต่อแท่งวัสดุนนั้ ๆ 4
ความรู้เบื้องต้ นทางกลศาสตร์ ของวัสดุ (ต่ อ)
2. แบบของนา้ หนักบรรทุกหรือแรงกระทา
แบบของน้ำหนักบรรทุกหรือแรงกระท้ำ (Types of load)
1. แรงกระท้ำแบบอยู่กับที่ (Static loads)
2. แรงกระท้ำแบบเคลื่อนที่ (Dynamic loads)
• Repeated load or cyclic load
• Impact load

5
ความรู้เบื้องต้ นทางกลศาสตร์ ของวัสดุ (ต่ อ)
3.แรงภายนอกและแรงภายใน
จำกรูป (a) เมื่อมีแรงภายนอก (External forces) 𝐹1 , 𝐹2 , 𝐹3 , และ 𝐹4 กระท้ำที่ผิวของวัตถุ จะเกิดแรง
ต้ำนทำนภำยในเนือของวัตถุ ซึ่งเมื่อพิจำรณำจำกรูปตัด (b) จะปรำกฏแรงต้ำนทำนที่หน้ำตัดประกอบด้วยแรงตัง
ฉำก Q แรงเฉือน V และโมเมนต์ M โดยแรงต้ำนทำนที่เกิดขึนนีเรียกรวมกันว่ำ “แรงภายใน (Internal force)”

6
ความรู้เบื้องต้ นทางกลศาสตร์ ของวัสดุ (ต่ อ)
4. สมการสมดุล
F1 F2 F3
1

M1

A
B
F4 1 F5

F1 F2
1
V
Q
A M
A𝑥 F4 1
Ay 7
Reaction and Connection Forces

8
Example 1 270 N/m
180 𝑁/𝑚
180 𝑁/𝑚
1,215 N 𝑉𝐶 𝑉𝐶
0 𝑁𝐶 𝑁𝐶 B
A C C
3,645 N-m M𝑐 M𝑐
3m 6m
+
→ ෍ 𝐹𝑥 = 0, 𝑵𝒄 = 𝟎

+ 3
1,215 N → ෍ 𝐹𝑦 = 0, 1,215 − 270 + 180 − 𝑉𝑐 = 0
Solution 2
𝑅𝑦 𝑽𝒄 = 𝟓𝟒𝟎 𝑵
𝑅𝑥
FBD A C B
+ ෍ 𝑀𝑐 = 0,
3×2 3
M𝐴 1,215 × 3 − 3,645 − (90 × ) − (180 × 3 × ) − 𝑀𝑐 = 0
3m 6m 2 2

+ 𝑴𝒄 = −𝟏, 𝟎𝟖𝟎 N-m


→ ෍ 𝐹𝑥 = 0, −𝑅𝑥 = 0 + ↑ ෍ 𝐹𝑦 = 0, 𝑅𝑦 − 1,215 = 0
𝑹𝒙 = 𝟎 𝑹𝒚 = 𝟏, 𝟐𝟏𝟓 N

+ ෍ 𝑀𝐴 = 0, 𝑀𝐴 + (1,215 × 3) = 0
𝑴𝑨 = −𝟑, 𝟔𝟒𝟓 N-m 9
Example 2

Solution

10
2. นิ ยามของแรง ความเค้น และความเครียด
นิยามของแรง ความเค้ น และความเครียด
ในการวิเคราะห์ (Analyzing) โครงสร้างต่าง ๆ เราสามารถใช้สมการสมดุลคานวณหาขนาดของ
แรงภายในชิน้ ส่วนของโครงสร้างได้และมีความจาเป็ นต้องทราบค่าของหน่วยแรงหรือความเค้น (Stress)
และความเครียด (Strain) ที่เกิดขึน้ ภายในเนือ้ วัสดุเนื่องจากการกระทาของแรงภายนอกที่มากระทาต่อ
โครงสร้าง ทัง้ นีเ้ พื่อใช้เป็ นข้อมูลในการคานวณออกแบบชิน้ ส่วน (Member) ของโครงสร้างนัน้ ให้มีความ
แข็งแรงและปลอดภัยอย่างเพียงพอ โดยขนาดของความเค้นที่เกิดขึน้ จะต้องไม่เกินกาลังหรือความแข็งแรงของ
วัสดุท่ีใช้ทาชิน้ ส่วนโครงสร้างนัน้
สาหรับการหากาลังของวัสดุจะหาได้โดยการนาชิน้ ส่วนวัสดุไปทาการทดสอบ (Test
specimen) โดยผลการทดสอบจะทาให้ทราบค่าของความเค้นสูงสุดและความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นที่
เกิดขึน้ กับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและจะเขียนความสัมพันธ์ในลักษณะเป็ นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความ
เค้นกับความเครียด (Stress-strain curve)

12
แรง (Force)
F
• แรงกระทำบนหน้ำตัดที่เกิดขึ้นอยูใ่ นแนวตั้งฉำกกับหน้ำตัดและมีทิศ
V
ทำงออกจำกหน้ำตัดเรำจะเรี ยกว่ำ แรงดึงตามแนวแกน (Tensile axial force)

•หำกแรงที่ต้ งั ฉำกนั้นมีทิศทำงพุง่ เข้ำหำหน้ำตัดเรำจะเรี ยกว่ำ แรงอัดตาม


แนวแกน (Compressive axial force)
V F

• แรงกระทำบนหน้ำตัดที่เกิดขึ้นอยูใ่ นแนวขนำนกับหน้ำตัดเรำจะเรี ยกว่ำ


แรงเฉื อน (Shear force)

เมือ่ มีแรงกระทาต่อวัสดุจะเกิดความเค้นแล้วความเครียดภายในเนือ้ วัสดุ

13
ความเค้ น (Stress)
• ความเค้ นคืออัตราส่ วนของแรงต่ อพืน้ ที่หน้ าตัด
• A variable that can be used as a measure of strength of a structural
member.

Learning objectives
• Understanding the concept of stress.
• Understanding the two step analysis of relating stresses to external
forces and moments.

14
ความเค้ นตั้งฉาก (Normal stress)
• แรงกระทำบนหน้ำตัดที่เกิดขึ้นอยูใ่ นแนวตั้งฉำกกับหน้ำตัด
𝐹 และมีทิศทำงออกจำกหน้ำตัดเรำจะเรี ยกว่ำ ควำมเค้นดึง (Tensile Stress)

𝐹
𝜎=
𝐴

• หำกแรงที่ต้ งั ฉำกนั้นมีทิศทำงพุง่ เข้ำหำหน้ำตัดเรำจะเรี ยก ควำมเค้นกด (Compressive Stress)

𝐹′ 𝐹′

ค่ำควำมเค้นตั้งฉำกเฉลี่ย กรณี ที่แรงที่กระทำเป็ นแรงในแนวเดียวและแรงนั้นจะกระจำยไปเท่ำ ๆ กันตลอด 𝐹


𝜎𝑎𝑣 = 15
พื้นที่หน้ำตัด และที่สำคัญก็คือคำว่ำตั้งฉำกไปกับหน้ำตัด 𝐴
การกระจายของความเค้ น (Stress distribution)
F
𝐹 𝜎

𝐹
F’

𝐹′ 𝐹′ 𝐹′

16
หน่ วยวัด (Units of stress)
• Force/area
• SI: N/m2 = Pa, kPa, MPa, GPa
• USCS: psi, ksi
• Thai: kg/cm2 (ksc)
ความถูกต้ องของหน่ วยวัด (Numerical accuracy)

17
ความเค้ นเฉื อน (Shear stress)
• ควำมเค้นที่มีทิศทำงขนำนไปกับหน้ำตัด

ค่ำควำมเค้นเฉือนเฉลี่ย กรณี ที่แรงที่กระทำเป็ นแรงในแนวเดียวและแรงนั้นจะกระจำยไปเท่ำ ๆ กัน


ตลอดพื้นที่หน้ำตัด และที่สำคัญก็คือคำว่ำขนำนไปกับหน้ำตัด
18
Shearing Stress Examples
F F
V=F ; =
F V= ; =
A 2 2A

19
Other Stresses
Bearing Stress
• The compressive normal stress that is produced when one surface presses against other
• Occurs in joints, connections, pins, etc.
– anywhere you have surfaces in contact
• Actual contact stresses are very complicated
• Bearing stress analysis is a simple way to estimate the stress

𝜎𝑏 คือความเค้นแบกทาน
𝑃 𝐹 𝑡 คือความหนาของแท่งวัสดุ
𝜎𝑏 = = 𝑑 คือขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรูเจาะบนแท่งวัสดุ
𝑡𝑑 𝑡𝑑
𝑃, 𝐹 คือแรงเฉือนที่เกิดขึน้ ในสลักเกลียว
20
Axial Loading: Normal Stress

21
Exercise
ตัวอย่าง: จงหาความเค้น (Normal stress) ในเหล็กเสริม และความเค้นเฉือน
(Shear stress) ระหว่างเหล็กเสริมและคอนกรีต
Normal stress

𝑃 𝜋𝑑2
𝜎= A=
𝐴 4

Shear stress
𝑉
𝜏= A= 𝜋𝑑𝐿
𝐴

22
Stress analysis example

23
Internal force in each member

24
Rod & Boom axial stress

25
Pin shear stresses

26
Pin shear stresses

27
Pin bearing stresses

28
Stress on an Oblique Plane

29
Maximum Stress

30
โจทย์ ตัวอย่ างทบทวนความเค้ น
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเค้นตั้งฉำก

32
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเค้นตั้งฉำก

33
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเค้นตั้งฉำก

34
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเค้นเฉื อน

35
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเค้นบดอัด

36
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเค้นเฉื อนและควำมเค้นบดอัด

37
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเค้นในกรณี หน้ำตัดเป็ นระนำบเอียง

38
ความเครียด (Strain)
• ควำมเครี ยดคือปริ มำณที่ใช้วดั กำรเปลี่ยนรู ปของวัตถุเมื่อเทียบต่อสภำพเดิม

Learning objectives
• Learning the concept of strain.
• Understanding the use of approximate deformed shape for
calculating strains from displacements.

39
Strain (ความเครียด),

40
การเปลีย่ นรู ปร่ าง (Deformation),
วัตถุจะถูกเรียกว่ำ วัตถุที่สำมำรถเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงได้ (deformable body) เมื่ออนุภำคในวัตถุนันมีกำรเปลี่ยนต้ำแหน่งเกิดขึน
ภำยใต้กำรกระท้ำของแรง ในทำงตรงกันข้ำม วัตถุจะถูกเรียกว่ำ วัตถุแกร่ง (rigid body) เมื่ออนุภำคในวัตถุนันไมมีกำรเปลี่ยนต้ำแหน่ง
เกิดขึนเลย ภำยใต้กำรกระท้ำของแรง เมื่อ deformable body ถูกกระท้ำโดยแรงแล้ว วัตถุนันจะเกิดกำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำง
(deformation) ขึน
กำรเปลี่ยนต้ำแหน่ง (Displacement) ของอนุภำคสองอนุภำคในวัตถุจำกต้ำแหน่งหนึ่งไปยังอีกต้ำแหน่งหนึ่งเป็นปริมำณ vector
ดังนัน ในกำรหำค่ำกำรเปลี่ยนต้ำแหน่งของอนุภำค เรำจะต้องท้ำกำรวัดทังกำรเปลี่ยนแปลงของควำมยำวของเส้นที่เชื่อมระหว่ำงอนุภำคที่
เรำสนใจและมุมที่เส้นนันเปลี่ยนไปจำกเดิม

41
Average Strain (ความเครียดเฉลีย่ )

42
ความเครียดตั้งฉาก (Normal strain)

𝐹
∆ℎ

𝐿𝑖 ℎ𝑖 ℎ𝑓

𝐹 𝐹
∆𝐿

𝐿𝑓
𝐹
∆𝐿 𝐿𝑓 − 𝐿𝑖 ∆ℎ ℎ𝑓 − ℎ𝑖
𝜀= = 𝜀= =
𝐿𝑖 𝐿𝑖 ℎ𝑖 ℎ𝑖

43
Normal Strain (ความเครียดตั้งฉาก)

Units of Normal Strain (หน่ วยวัด)


• in/in, or cm/cm, or m/m
• Percentage 0.5% is equal to a strain of 0.005
44
Shear Strain (ความเครียดเฉื อน)

Units of Shear Strain (หน่ วยวัด)


• rad
• prefix: µ = 10-6. 1000 µ rad is equal to a strain 0.001 rad

45
46
Small Strain Approximation

47
โจทย์ ตัวอย่ างทบทวนความเครียด
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเครี ยดตั้งฉำก

49
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเครี ยดตั้งฉำก

50
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเครี ยดตั้งฉำก

51
โจทย์ตวั อย่ำงทบควำมเครี ยดเฉื อน

52
โจทย์ตวั อย่ำงควำมเครี ยดตั้งฉำกและควำมเครี ยดเฉื อน

53
โจทย์ตวั อย่ำงทบควำมเครี ยดเฉื อน

54
Stress-Strain Relationship

55
Stress-Strain Diagram

56
57
yield Strain-hardening Necking

58
u, tension

u, compression

59
Material Constants (ค่ำคงที่ของวัสดุ)

60
Material Constants (ค่ำคงที่ของวัสดุ)
- Hooke’s Law (กฎของฮุค)

61
- Hooke’s Law for uniaxial loading

62
Factor of Safety and Failure

Ultimate Load
Factor of Safety =
Allowable Load
Failure producing value
=
Computed (allowable) value

63
โจทย์ ตัวอย่ างทบทวน
ความเค้ น ความเครียด และ Factor of Safety
65
66
67
68
69
70
3. การบิด (Torsion)
กำรเปลี่ยนแปลงรู ปร่ ำงเนื่องจำกกำรบิดเพลำกลม (Torsional deformation of a circular shaft)
กำรบิด (Torsion) หมำยถึงเป็ นกำรบิดของชิ้นส่ วนของโครงสร้ำงหรื อชิ้นส่ วนของเครื่ องจักรกล เช่น เพลำรถยนต์ เป็ นต้น
เนื่องจำกกำรกระทำของแรงบิด (torque) โดยที่แรงบิดเป็ นโมเมนต์บิด (twisting moment) ที่พยำยำมที่จะบิดชิ้นส่ วนของโครงสร้ำง
ในแนวแกนของชิ้นส่ วนของโครงสร้ำงนั้น

เมื่อแรงบิดกระทำ ต่อเพลำยำงนี้ grid lines ที่ประกอบด้วยเส้นวงกลมและ


เส้นตรงที่อยู่ในแนวแกนของเพลำจะเกิดกำรบิดขึ้นในลักษณะดังที่แสดงใน
รู ปที่ ซึ่ งจะเห็นได้ว่ำ เส้นวงกลมจะยังคงมีรูปร่ ำงเป็ นทรงกลมเหมือนเดิม แต่
เส้นตรงแต่ละเส้นที่อยูใ่ นแนวแกนของเพลำจะเกิดกำรบิดเป็ นเกลียว

72
ควำมเครี ยดเนื่องจำกกำรบิด (Distortion strain)
จำกรู ปถ้ำเพลำถูกยึดแน่นที่ปลำยด้ำนหนึ่ง และถูกกระทำโดย
แรงบิดที่ปลำยอีกด้ำนหนึ่ งแล้ว ระนำบที่ระบำยสี ทึบจะเกิ ด
กำรบิ ด เอี ย ง (skew) และมุ ม ที่ เ กิ ด กำรบิ ด เอี ย งหรื อ มุ ม บิ ด
(angle of twist) จะมีค่ำขึ้นอยูก่ บั ตำแหน่ง x

ในกำรหำค่ำควำมเครี ยดที่เกิดขึ้นจำกกำรบิด (distortion strain) พิจำรณำ differential element ที่ตดั ออกมำจำกเพลำที่รัศมี ρ


จำกจุดศูนย์กลำงของหน้ำตัดของเพลำ จะเห็นได้ว่ำ หน้ำตัดของ differential element ที่ตดั ออกมำจำกเพลำที่ระยะ x จะเกิดกำร
บิดเป็ นมุม φ(x) และหน้ำตัดของ differential element ที่ตดั ออกมำจำกเพลำที่ระยะ x + Δx จะเกิดกำรบิดเป็ นมุม φ(x) + Δφ
ดังนั้น ค่ำควำมแตกต่ำงของกำรบิดที่เกิดขึ้นจะทำ ให้ differential element นี้ถูกกระทำโดยควำมเครี ยดเฉือน (shear strain)
ก่อนเกิดกำรเปลี่ยนแปลงรู ปร่ ำง มุมระหว่ำงขอบ AB และ AC มีค่ำเท่ำกับ 𝜋/2 แต่หลังเกิดกำรเปลี่ยนแปลงรู ปร่ ำง มุม
𝝅
ดังกล่ำวมีค่ำเท่ำกับ θ’ ดังนั้น มุมบิด 𝜸 = 𝟐 − 𝜽′
ควำมยำวจำก B ถึง D ซึ่งมีค่ำน้อยมำกและจะมีค่ำเท่ำกับ 𝒅
𝜸=𝝆 (1)
𝑩𝑫 = 𝝆𝒅 = 𝜸𝒅𝒙 𝒅𝒙 73
ควำมเครี ยดเนื่องจำกกำรบิด (Distortion strain)

เนื่ องจำกมุม 𝑑 และระยะ 𝑑𝑥 ของทุก ๆ differential element ที่อยูท่ ี่หน้ำตัดที่ระยะ 𝑥 มีค่ำคงที่


ตลอดทั้ง หน้ำ ตัด ดัง นั้น 𝑑/𝑑𝑥 ที่ ห น้ำ ตัด ใด ๆ จะมี ค่ำ คงที่ และจำกสมกำรที่ (1) จะได้ค่ ำ
ควำมเครี ยดเฉือนของ differential element ซึ่งจะแปรผันตรงกับรัศมี ρ ของเพลำ โดยจะมีค่าเท่ ากับ
ศู นย์ ที่แกนของเพลาและจะมีค่ามากที่สุดที่ผิวด้ านนอกของเพลา ถ้ำกำหนดให้รัศมีของเพลำที่ผิว
ด้ำนนอกมีค่ำเท่ำกับ 𝑐 แล้ว กำรบิดของ differential element ที่รัศมี 𝜌 และที่ 𝜌 = 𝑐 จะมี
ลักษณะดังที่แสดงในรู ป

จำกรู ปจะได้ 𝝆𝒅 = 𝜸𝒅𝒙 หรื อ 𝒅/𝒅𝒙 = 𝜸/𝝆 = 𝜸𝒎𝒂𝒙 /𝒄

ดังนั้น ควำมเครี ยดเฉือน

𝝆
𝜸= 𝜸 (2)
𝒄 𝒎𝒂𝒙

74
สู ตรกำรบิด (Torsion formula)

จำก Hooke’s law เรำจะได้วำ่ 𝝉 = 𝑮𝜸

𝝆
และจำกสมกำรควำมเครี ยดเฉื อน 𝜸 = 𝜸𝒎𝒂𝒙
𝒄

จะได้
𝝆 (3)
𝝉 = 𝝉𝒎𝒂𝒙
𝒄

75
สู ตรกำรบิด (Torsion formula) (ต่อ)
เนื่องจำกแรงบิดลัพธ์ภำยในตัวเพลำเกิดจำกกำรกระจำยของหน่วยแรงเฉื อนที่กระจำยอยูต่ ลอดทั้งหน้ำตัดของเพลำ ดังนั้น ที่
differential element ใด ๆ ที่มีพ้นื ที่ 𝑑A และมีระยะในแนวรัศมี 𝝆 จำกแกนของเพลำจะถูกกระทำโดยแรง
𝒅𝑭 = 𝝉𝒅𝑨
และแรงบิดที่เกิดจำกแรงนี้มีคำ่ เท่ำกับ 𝒅𝑻 = 𝝆𝒅𝑭
เมื่อพิจำรณำตลอดทั้งหน้ำตัดของเพลำแล้วจะได้ 𝝆
𝑻 = න 𝝉𝒅𝑨 = න 𝝆 𝝉𝒎𝒂𝒙 𝒅𝑨 (4)
𝑨 𝑨 𝒄
𝝉𝒎𝒂𝒙
เนื่องจำก มีค่ำคงที่ ดังนั้น
𝒄

𝝉𝒎𝒂𝒙
𝑻= න 𝝆𝟐 𝒅𝑨 (5)
𝒄 𝑨

76
สู ตรกำรบิด (Torsion formula) (ต่อ)
จำกสมกำรที่ 5 ในเทอม integral กำหนดให้เป็ นค่ำ 𝐽 จะสำมำรถเขียนสมกำรใหม่ได้ใหม่เป็ น
𝝉𝒎𝒂𝒙
𝑻= 𝑱
𝒄 (6)
𝑻𝒄
หรื อ 𝝉𝒎𝒂𝒙 =
𝑱

แทนสมกำรที่ 6 ใน 3 จะได้ค่ำของหน่วยแรงเฉื อนที่รัศมี ρ ใด ๆ ของเพลำ

𝑻𝝆 (7)
𝝉=
𝑱

***Torsion formula ใช้ ได้ กับเพลาที่มหี น้ าตัดทรงกลมที่ทาด้ วยวัสดุแบบ homogenous และมีพฤติกรรมแบบ linear elastic เท่ านั้น 77
Polar moment of inertia ของพื้นที่หน้ำตัดของเพลำ, J
Solid Shaft
ในกรณี ที่เพลำมีหน้ำตัดกลมตันแล้ว ค่ำ polar moment of inertia J
จะหำมำได้โดยกำรพิจำรณำ differential ring ที่มีควำมหนำเท่ำกับ
dρ และมี เส้นรอบวงเท่ำกับ 2πρ ดังที่แสดงในรู ป และมี พ้ืนที่
เท่ำกับ dA = 2πρ dρ ดังนั้น เรำจะได้วำ่

(8)

78
Polar moment of inertia ของพื้นที่หน้ำตัดของเพลำ, J
Tubular Shaft

c0 กำรวิเครำะห์เพลำกลวงซึ่งถูกกระทำ โดยแรงบิดจะมีลกั ษณะที่คล้ำยคลึงกับกำร


วิเครำะห์เพลำตัน ในกรณี ที่เพลำกลวง ซึ่ งมีรัศมีภำยใน ci และรัศมีภำยนอก co
ρ แล้ว จำกสมกำรที่ 5-8 เรำจะหำค่ำ polar moment of inertia J ได้โดยกำรหักค่ำ J
ci ของเพลำตันที่มีรัศมี ci ออกจำกค่ำ J ของเพลำตันที่มีรัศมี co ดังนั้น เรำจะได้

𝑐0 𝑐0 𝑐 𝜌4 𝑐0
𝐽= ‫𝜌 𝑐׬‬2 𝑑𝐴 = ‫𝜌 𝑐׬‬2 2𝜋𝜌 𝑑𝜌 = 2𝜋 ‫ 𝑐׬‬0 𝜌3 𝑑𝜌 = 2𝜋
4 𝑐𝑖
𝑖 𝑖 𝑖

J = 𝜋2 (𝑐04 − 𝑐𝑖4) (9)

79
กำรกระจำยของหน่วยแรงเฉื อนในแนวรัศมีบนหน้ำตัดของเพลำ
Solid Shaft

Tubular Shaft

80
หน่วยแรงเฉื อนสู งสุ ดสัมบูรณ์ (Absolute maximum torsional stress)
ที่หน้ำตัดใด ๆ ของเพลำ ค่ำสู งสุ ดของหน่ วยแรงเฉื อนจะเกิ ดขึ้นที่ผิวด้ำนนอกของเพลำในกรณี ที่เพลำถูกกระทำโดยแรงบิ ด
ภำยนอกหลำย ๆ ค่ำหรื อรัศมีของเพลำมีกำรเปลี่ยนแปลงเป็ นช่วง ๆ ดังที่แสดงในรู ป ค่ำสู งสุ ดของหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นจะมี
ควำมแตกต่ำงกันจำกหน้ำตัดหนึ่ งไปยังอี กหน้ำตัดหนึ่ ง ในกำรออกแบบเพลำที่ มีลกั ษณะดังกล่ำวจำเป็ นทีจ่ ะต้องหำค่ำสู งสุ ด
สัมบูรณ์ (absolute maximum) ของหน่วยแรงเฉื อนและตำแหน่งที่เกิดด้วย ซึ่ งจะทำได้โดยกำรเขียน torque diagram ที่เป็ น
แผนภำพแสดงกำรเปลี่ยนแปลงของแรงบิดภำยใน 𝑇 ที่เกิดขึ้นเทียบกับระยะ 𝑥 ในแนวแกนของเพลำ ในกำรเขียนแผนภำพนี้ เรำ
จะให้แรงบิดภำยใน 𝑇 มีค่ำเป็ นบวกเมื่อมีทิศทำงพุง่ ออกจำกหน้ำตัดของเพลำโดยใช้กฎมือขวำ หลังจำกที่ได้ torque diagram แล้ว
เรำจะหำค่ำ absolute maximum ของหน่วยแรงเฉื อนและตำ แหน่งที่เกิดได้โดยง่ำย

81
มุมบิด (Angle of twist)
เนื่องจากแรงบิดภายนอกอาจจะทาให้แรงบิดลัพธ์ภายในมีค่าเปลี่ยนแปลงตลอด
ความยาวของเพลา (หน้าตัดเพลามีการเปลี่ยนแปลง) ดังนัน้ T และ J ภายในที่
เกิดขึน้ จะเป็ นฟั งก์ช่ นั กับ x
จำก Hooke’s law 𝝉 = 𝑮𝜸 𝑻(𝒙)𝝆
===>𝜸 =
𝑻(𝒙)𝝆 𝑱 𝒙 𝑮
และ Torsion formula 𝝉 = 𝑱(𝒙)
𝑻(𝒙)
แทนค่ำ 𝜸 ในสมกำร (10) จะได้ 𝒅 =
𝑱 𝒙 𝑮
𝒅𝒙

จากรูปพิจารณาที่ differential disk ที่มีความหนา dx และค่ามุมบิดที่เกิดขึน้ ตลอดความยาว L ของเพลาจะหาได้จาก


จะได้ค่ามุมบิดที่เกิดขึน้ 𝑻(𝒙)𝑳
𝑻 𝒙 𝑳
=න 𝒅𝒙 = (11)
𝒅𝒙 𝟎 𝑱 𝒙 𝑮 𝑱 𝒙 𝑮
𝒅 = 𝜸 (10)
𝝆
 =มุมบิดที่เกิดขึน้ ที่ปลายด้านหนึ่งของเพลาเทียบกับปลายอีกด้านหนึ่ง ซึง่ มีหน่วยเป็ น radian
𝑻(𝒙) = แรงบิดภายในที่เกิดขึน้ ที่ระยะ 𝒙 ใด ๆ
𝑱(𝒙) = polar moment of inertia ของหน้าตัดของเพลาที่ระยะ 𝒙 ใด ๆ
𝑮 = shear modulus ของวัสดุท่ีใช้ทา เพลา 82
Constant Torque and Cross-Sectional Area
โดยทั่วไปแล้ว เพลาจะทาด้วยวัสดุแบบ homogenous และมีพืน้ ที่หน้าตัดที่คงที่ ในกรณีท่ีเพลาถูกกระทาโดยแรงบิดหลายแรงบิดตลอดความยาวของเพลา
และถูกกระทาโดยแรงบิดที่มีค่าคงที่ตลอดความยาวของเพลา ดังนัน้ ค่า T(x) = T , หรือพืน้ ที่หน้าตัดหรือวัสดุท่ีใช้ทาเพลามีการเปลี่ยนแปลงจากส่วนหนึ่งของ
J(x) = J , และ G มีค่าคงที่ และสมการที่ 11 จะลดรูปลงเป็ น เพลาไปยังอีกส่วนหนึ่งแล้ว มุมบิดที่เกิดขึน้ ที่จดุ ๆ หนึ่งเทียบกับจุดอ้างอิงบน
เพลาดังกล่าวจะหาได้จากสมการ
𝑻𝑳
= (12) 𝑻𝒊 𝑳𝒊
𝑱𝑮 =෍ (13)
𝑱𝒊 𝑮𝒊
𝒊

83
Sign Convention
Sign convention ที่จะใช้ในการคา นวณหามุมบิดจะเป็ นไปตามกฎมือขวา โดยที่แรงบิดและมุมบิดที่เกิดขึน้ จะมีค่า
เป็ นบวกเมื่อมีทิศทางพุ่งออกมาจากหน้าตัดของเพลา และจะมีคา่ เป็ นลบเมื่อมีทิศทางพุ่งเข้าหาหน้าตัดของเพลา

84
ตัวอย่ างที่ 1

85
ตัวอย่ างที่ 1 (ต่ อ)

86
ตัวอย่ างที่ 2

87
ตัวอย่ างที่ 2 (ต่ อ)

88
ตัวอย่ างที่ 2 (ต่ อ)

89
ตัวอย่ างที่ 3 (ต่ อ)

90
ตัวอย่ างที่ 3

91
เพลำส่ งกำ ลัง (Power shaft)
ในกรณี น้ ี แรงบิดที่กระทำกับเพลำจะขึ้นอยูก่ บั กำลังของเครื่ องจักรและควำมเร็ วเชิงมุมของเพลำ กำลังของเครื่ องจักร 𝑷 จะเป็ น
งำนที่เครื่ องจักรทำให้เกิดขึ้นต่อหนึ่ งหน่ วยเวลำซึ่ งจะมีค่ำเท่ำกับผลคูณของแรงบิดกับมุมบิดที่เกิดขึ้นจำกแรงบิดนั้น ดังนั้น ถ้ำ
ในช่วงเวลำ 𝒅𝒕 เครื่ องจักรส่ งแรงบิดกระทำต่อเพลำ 𝑻 และทำให้เพลำหมุนไปเป็ นมุม 𝒅𝜽 แล้ว กำ ลังที่เกิดขึ้นจะมีค่ำเท่ำกับ

𝒅𝜽
กำลังของเครื่ องจักร 𝑷 = 𝑻
𝒅𝒕
เนื่องจำกควำมเร็วเชิงมุมของเพลำ 𝝎 = 𝒅𝜽
𝒅𝒕
ดังนั้น 𝑷 = 𝑻𝝎 (14)

𝝎
และเนื่องจำกควำมถี่ของกำรหมุนของเพลำ 𝒇 = 𝟐𝝅 ดังนั้น 𝑷 = 𝟐𝝅𝒇𝑻 (15)
92
93
ตัวอย่ างที่ 4

94
ตัวอย่ างที่ 4 (ต่ อ)

95
ตัวอย่ างที่ 4 (ต่ อ)

96
กำรวิเครำะห์ชิ้นส่ วนของโครงสร้ำงแบบ Statically Indeterminate ที่รับแรงบิด (Statically
Indeterminate Torque-Loaded Members)
ปลำยของเพลำถูกยึดแน่นที่จุด A และจุด B ซึ่ งเมื่อเขียนแผนภำพ free-body
diagram ของเพลำดังกล่ ำวได้ ดังที่ แสดงในรู ป จำกแผนภำพจะมี แรงบิ ด
ปฏิกิริยำที่ไม่ทรำบค่ำสองค่ำที่จุด A และที่จุด B ซึ่ งจะสำมำรถหำค่ำแรงบิด
ปฏิกริ ยำดังกล่ำวได้โดยใช้สมการความสมดุลที่มีอยูห่ นึ่งสมกำรและสมการ
ความสอดคล้ อง (compatibility equation) อีกหนึ่งสมกำร

จำกสมกำรควำมสมดุลของโมเมนต์ในแนวแกนของเพลำ เรำจะได้วำ่

จำกสมกำรควำมสอดคล้อง เนื่องจำกปลำยของเพลำถูกยึดแน่นทั้งสองด้ำน ดังนั้น ภำยใต้กำรกระทำ ของแรงบิด


มุมบิดที่เกิดขึ้นที่ปลำยด้ำนหนึ่งของเพลำเทียบกับมุมบิดที่เกิดขึ้นที่ปลำยอีกด้ำนหนึ่งของเพลำจะมีค่ำเป็ นศูนย์ หรื อ

97
98
ตัวอย่ างที่ 5

99
ตัวอย่ างที่ 5 (ต่ อ)

100

You might also like