แบบทดสอบเรื่องนิทานเวตาล

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 7

แบบทดสอบ เรื่องนิทานเวตาลและทุกข์ ของชาวนาในบทกวี

๑. เรื่ องนิทานเวตาลแสดงให้เห็นว่า พระวิกรมาทิตย์เป็ นกษัตริ ยท์ ี่มีคุณธรรมสู ง แต่มีกิเลสทำให้ตอ้ งตกอยูใ่ นที่


ลำบาก เกือบจะเอาชนะเวตาลไม่ได้ กิเลส ในที่น้ ีหมายถึงข้อใด
ก. เชื่อมัน่ ว่าตนมีสติปัญญา ข. ถือตนว่าเป็ นพระมหากษัตริ ย ์
ค. ไม่เชื่อความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ง. ไม่อาจระงับความโกรธของตนได้
๒. ข้อใดเป็ นจุดเด่นของนิทานเวตาล
ก. เนื้อเรื่ องตลกขบขัน ข. มีปัญหาชวนให้ขบคิด
ค. แทรกภาษิตและคติโลก ง. มีบทประพันธ์ร้อยกรองแทรก
๓. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้ อง
ก. โกรศเป็ นมาตรวัดความยาว
ข. ภิลล์เป็ นชื่อชาวป่ าที่อาศัยอยูใ่ นแถบเขาวินธัยในอินเดีย
ค. ดอกไม้ป่าหมายถึงผูห้ ญิงในชนบทที่มีความงามเป็ นพิเศษ
ง. ดอกไม้สวนหมายถึงผูห้ ญิงในพระราชวัง
๔. ”ข้าพเจ้าขอถวายชีวิตพระองค์แก่พระองค์” เป็ นคำกล่าวของใคร
ก. โยคีศานติศีล ข. อสูรปัถพีบาล  ค. เวตาล  ง. พระภรรตฤราช
๕. ข้อคิดที่ได้จากนิทานเวตาล คือเรื่ องใด
ก. สอนให้ฉลาด มีเล่ห์เหลี่ยม รู้เท่าทันผูอ้ ื่น
ข. สอนให้รู้จกั ความพอดี ไม่โลภ ยับยั้งชัง่ ใจได้
ค. สอนให้รู้จกั มีสติรับรู้ได้ รู้จกั คิดวิเคราะห์ รู ้จกั หักห้ามใจก่อนกระทำสิ่ งต่าง ๆ
ง. สอนให้รู้จกั ความกตัญญูต่อผูม้ ีพระคุณ
๖. “ศพนั้นลืมตาโพลง ลูกตาสี เขียวเรื อง ๆ ผมสี น ้ำตาล หน้าที่น ้ำตาล ตัวผอม เห็นซี่ โครง
     เป็ นซี่ ๆ ห้อยเอาหัวลงมาทำนองค้างคาว แต่เป็ นค้างคาวตัวใหญ่ที่สุด เมือจับถูกตัว
     ก็เย็นชืดเหนียวๆ   เหมือนงู ปรากฏเหมือนหนึ่งว่าไม่มีชีวิต แต่หางซึ่ งเหมือนหางแพะ
     นั้นกระดิกได้” ข้อความที่ยกมานี้จดั อยูใ่ นโวหารชนิดใด
       ก. บรรยายโวหาร         ข. พรรณนาโวหาร  ค. เทศนาโวหาร             ง. อธิ บายโวหาร
๗. “ปราชญ์ผมู ้ ีความรู้ยอ่ มใช้เวลาของตนในเรื่ องหนังสื อ มิใช่ใช้เวลาในการนอนและการขี้เกียจอย่างคนโง่” 
       ข้อความนี้สอนใจในเรื่ องใด
       ก. เวลาและวารี ไม่เคยที่จะคอยใคร               ข. การใช้เวลาให้คุม้ ค่า
       ค. ให้แสวงหาความรู้จากการอ่านหนังสื อ       ง. เวลาเป็ นของมีค่า
๘. ข้อใดเป็ นความเชื่อตามวิถีชีวิตของคนไทย
       ก. ลิ้นนั้นตัดคอคนเสี ยมากต่อมากแล้ว
       ข. ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตาซ้าย หัวใจเต้นแรง แลก็มืดมัว
        ค. คงจะเป็ นสาวน้อยตามขนาดแห่งเท้า ส่ วนนางเท้าเขื่องคงจะเป็ นสาวใหญ่
        ง. ความสุ ขแห่งพ่อบ้านซึ่ งอยูโ่ ดดเดี่ยวนั้นมีไม่ได้ในบ้าน แลมีไม่ได้นอกบ้าน

๙. พระวิกรมาทิตย์ใช้กศุ โลบายใดในการสื บเสาะข่าวสารบ้านเมืองพระองค์และประเทศใกล้เคียง


ก. การมีทูตสัมพันธไมตรี        ข. การส่ งพระโอรสไปเรี ยนวิชา
     ค. การปลอมพระองค์ไปแสวงหาข่าว   ง. การใช้พราหมณ์ตระเวนจาริ กบุญ
๑๐. ข้อใดบอกลักษณะพระวิกรมาทิตย์ไม่ถูกต้อง
 ก.  เผลอสติบ่อย        ข. มีคุณธรรมสู ง   
      ค. ชอบฟังนิทาน ง. รักษาสัญญา
๑๑. ถ้าท่านอ่านนิทานเวตาลเสมอ ๆ ท่านจะได้ประโยชน์เรื่ องใดที่สุด
ก. ได้เชาว์ปัญญาแหลม ข. ได้สำนวนโวหารที่ดี
ค. ได้ความเพลิดเพลินใจ ง. ได้อุบายครองใจคน
๑๒. “ลิ้นคนนั้นตัดคอคนเสี ยมากต่อมากแล้ว” มีความหมายอย่างไร
ก. เป็ นคำขูข่ องเวตาล ข. เตือนให้ระวังคำพูด
ค. บอกให้ระวังความตาย ง. เน้นให้เห็นถึงอำนาจของกษัตริ ย ์
๑๓. ปั ญหาของนิทานเวตาลเรื่ องสุ ดท้าย ยากกว่านิทานเรื่ องอื่นเป็ นเพราะเหตุใด
ก. เป็ นปัญหาการอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์
ข. เป็ นการตัดสิ นความโง่ – ความฉลาด
ค. เป็ นประเด็นความถูก – ผิด – ดี – ชัว่ ของมนุษย์
ง. เป็ นการกระทำที่เบี่ยงเบนไปจากขนบของสังคม
๑๔. นิทานเวตาลเรื่ องที่ ๑๐ มุ่งแสดงประเด็นใดมากที่สุด
ก. โทษของการไม่ใช้สติปัญญาตริ ตรองพิจารณาสิ่ งต่าง ๆ ให้ถว้ นถี่
ข. โทษของการทำศึกสงครามโดยไม่ค ำนึงถึงมนุษยธรรม
ค. โทษของการพูดโดยไม่ใช้ความคิดพิจารณาให้ถ่องแท้
ง. โทษของความอ่อนแอไม่สามารถปกป้ องบ้านเมืองและลูกเมียได้
๑๕. “ข้าพเจ้าขอถวายพระพรให้ทรงรับความสำราญเป็ นผลแห่งการที่ทรงนิ่งครั้งนี้ จากข้อความดังกล่าวแสดงให้เห็น
ว่าพระวิกรมาทิตย์ทรงใช้หลักธรรมข้อใดในการเอาชนะ เวตาล
ก. มุทิตา ข. ปัญญา ค. กตัญญู ง. ขันติ
๑๖. หลักธรรมข้อความเพียรพยายาม ปรากฏตอนใดในเรื่ องนิทานเวตาล
ก. เวตาลมีความเพียรพยายามยัว่ ยุพระวิกรมาทิตย์ให้ตอบคำถามของตน
ข. พระวิกรมาทิตย์มีความเพียรพยายามที่ตอ้ งปี นต้นอโศกเพื่อจับตัวเวตาลหลาย ๆ ครั้ ง
ค. โยคีศานติศีลมีความเพียรพยายามในการที่จะได้เวตาลมาบูชานางทุรคา
ง. โยคีศานติศีลมีความเพียรพยายามในการที่จะเอาชีวิตพระวิกรมาทิตย์
๑๗. หญิงที่พระราชาพบในป่ ามักจะงามกว่าหญิงที่จะหาได้ในกรุ ง มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด
ก. กาในฝูงหงส์ ข. พบไม้งามเมื่อยามขวานบิ่น
ค. ช้างเผือกเกิดในป่ า ง. วานรได้แก้ว

๑๘. นิทานเวตาลให้ขอ้ คิดอย่างไรสำ หรับการดำ รงชีวิตในปั จจุบนั


ก. ควรมีปฏิภาณไหวพริ บ ข. ควรไตร่ ตรองด้วยเหตุผล
ค. ควรมีวิจารณญาณที่ดี ง. ควรมีสติสมั ปชัญญะ
๑๙. ใครเป็ นผูแ้ ต่งวรรณคดีเรื่ อง “ นิทานเวตาล ”ฉบับแรกเริ่ ม
ก.  กาลิทาส                                             ข.  ศิวทาส
ค.  พุทธทาส                                            ง.  ธรรมทาส
๒๐. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของเวตาล
ก.  หน้าเป็ นรู ปเหลี่ยม  นัยน์ตาเรี ยวเล็ก          ข.  ปากอ้า  แก้มตอบ  ขากรรไกรกว้าง
ค.  แขนขาสั้น  มือสั้น  ท้องพลุย้                      ง.  จมูกยาวเป็ นขอ  ปี กคล้ายค้างคาว
๒๑. ระยะเวลาที่เวตาลใช้ในการเล่านิทานคือข้อใด
ก.  ตั้งแต่เที่ยงคืน  จนถึงเที่ยงวัน                    ข.  ตั้งแต่หวั ค่ำ  จนถึงใกล้สว่าง
ค.  ตั้งแต่เที่ยงวัน  จนถึงเที่ยงคืน                    ง.  ตั้งแต่ใกล้สว่าง  จนถึงหัวค่ำ
๒๒. วรรณคดีเรื่ องใดไม่ได้มีลกั ษณะเป็ น “นิทานซ้อนนิทาน”
ก.  พันหนึ่งทิวา                                              ข.  อาหรับราตรี
ค.  พระอภัยมณี                                               ง.  นิทานเวตาล
๒๓. “สัญญาแบ่งนาง” ระหว่างท้าวจันทรเสนและพระราชบุตรใช้สิ่งใดเป็ นเครื่ องตัดสิ น
ก.  อายุ                                                           ข.  ความสมัครใจของฝ่ ายหญิง
ค.  ขนาดของเท้า                                           ง.  ความสมัครใจของฝ่ ายชาย
๒๔. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่พระวิกรมาทิตย์ชนะเวตาล
ก.  ตีปัญหาไม่แตก                                       ข.  พระราชบุตรธรรมธวัชสะกิดเตือน
ค.  จนปัญญา                                                ง.  นึกถึงเงื่อนไขของเวตาล
๒๕. ข้อใดแสดงวาจาเสี ยดสี
       ก. ครั้งนี้ขา้ พเจ้าให้เกิดกระเหม่นตาซ้าย หัวใจเต้นแรง แลก็มืดมัว เป็ นลางไม่ดีเสี ยแล้ว  แต่ขา้ พเจ้าก็เล่าเรื่ องจริ ง
ถวายอีกเรื่ องหนึ่ง
       ข. แลเพราะเหตุขา้ พเจ้าเบื่อหน่ายการถูกแบกสะพายไปมาเป็ นหลายเที่ยวแล้ว
       ค. แม้พระองค์ไม่ทรงเบื่อเป็ นผูแ้ บกก็จริ ง  ข้าพเจ้าจะตั้งปั ญหาที่ยากทูลถามสักที ถ้าทรงตอบได้ พระปัญญาก็มาก
ยิง่ กว่าที่ขา้ พเจ้าคิดว่าจะมีในพระราชาพระองค์ใด
       ง. บางทีพระองค์จะโปรดฟังเรื่ องสั้น ๆ อีกสักเรื่ องหนึ่งกระมัง
๒๖. “พระวิกรมาทิตย์ได้ทรงฟังปัญหาเวตาลก็ทรงตรึ กตรองเอาเรื่ องพ่อกับลูก แม่กบั ลูกแลพี่กบั น้อง มาปนกันยุง่  
แลมิหนำซ้ำมีเรื่ องแม่เลี้ยงกับแม่ตวั   แลลูกสะใภ้กบั ลูกตัวอีกเล่า”   ท้าววิกรมาทิตย์ตอบปั ญหาของเวตาลไม่ได้
เพราะเหตุผลในข้อใด
       ก. เพราะรู ้ทนั ความคิดของเวตาล รวมทั้งทรงเหนื่อยอ่อน
       ข. ไม่กล้าพูดเพราะเกรงว่าจะผิดคำที่ให้ไว้กบั เวตาล
       ค. เพราะเป็ นเรื่ องผิดขนบประเพณี เกี่ยวกับการแต่งงานตามที่สงั คมกำหนดไว้
       ง. เพราะเป็ นปัญหาที่ยาว เนื่องจากเป็ นความเข้าใจผิด

๒๗. เวตาลยอมละความมุ่งหมายที่จะทำให้พระวิกรมาทิตย์ทรงดำเนินทวนไปทวนมา
     จนสิ้ นพระชนม์   ลงในระหว่างทาง เพราะคุณธรรมข้อใด
        ก. ความสุ ภาพ ความนอบน้อมถ่อมตน และมีสติ
        ข. ความกล้าหาญและความมีสติ รู้จกั อดกลั้น ความเพียรพยายาม
         ค. ความเมตตาและความกรุ ณาต่อผูอ้ ื่น
         ง. ความเสี ยสละและความมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด
๒๘. ข้อใดใช้โวหารเปรี ยบเทียบ
         ก. ชายผูไ้ ม่ใช่คนโง่ไม่ยอมคืนสู่ เรื อนซึ่ งไม่มีนางที่รักผูม้ ีรูปงามคอยรับรองในขณะที่กลับถึงเรื อนนั้น
         ข. แม้เรี ยกว่าเรื อนก็ไม่ใช่อื่น คือคุกซึ่ งไม่มีโซ่เท่านั้นเอง
         ค. พระองค์ยอ่ มทรงทราบด้วยพระองค์เองว่า ความสุ ขแห่งพ่อบ้านซึ่ งอยูเ่ ดี่ยวโดดนั้นมีไม่ได้ในบ้าน
         ง. แลมีไม่ได้นอกบ้านเพราะไม่มีหวังจะได้ความสุ ขเมือกลับมาสู่ เรื อนแห่งตน
๒๙. เรื่ องเวตาลเข้าลักษณะนิทานประเภทใด ชัดเจนที่สุด
         ก. นิทานอุทาหรณ์เพื่อแสดงคติธรรม
         ข. นิทานพื้นบ้านของอินเดียเพื่อแสดงคติธรรม
         ค. นิทานชาดกแสดงคุณธรรมของพระโพธิ สตั ว์
         ง. นิทานที่เน้นความสนุกสนานเพลิดเพลิน
๓๐. นิทานเวตาลเขียนด้วยภาษาใด
ก. อังกฤษ ข. บาลี
ค. สันสกฤต ง. ฝรั่งเศส
๓๑. เรื่ องทุกข์ของชาวนาในบทกวี แสดงแนวพระราชดำริ เกี่ยวกับบทกวีไทยและบทกวีจีน ส่ วนที่สำคัญที่สุด
อย่างไร
ก. ทรงชี้ให้เห็นกลวิธีน ำเสนอของกวีท้ งั สอง ที่แตกต่างกัน
ข. กล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนา
ค. สะท้อนให้เห็นพระเมตตาธรรมอันเปี่ ยมล้นของพระองค์ที่มีต่อชาวนา
ง. แสดงถึงความเข้าพระทัยปัญหาต่างๆ ของชาวนา
๓๒. สิ่ งที่นกั เรี ยนควรศึกษาและพิจารณา ในการอ่านเรื่ องทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ก. แนวความคิดที่แจ่มแจ้งชัดเจน
ข. กลวิธีการนำเสนอ
ค. ลำดับความให้ผอู้ ่านเข้าใจได้สะดวก
ง. การใช้ถอ้ ยคำและการผูกประโยค
๓๓. สรรพนามในบทกวี ผลงานของจิตร ภูมิศกั ดิ์ ที่ใช้วา่ "กู" แสดงว่าผูท้ ี่พดู คือใคร
ก. ผูเ้ ขียน ข. ชาวนา
ค. ผูอ้ ่าน ง. ไม่เฉพาะว่าใคร

๓๔. ชื่อกวีจีนที่ปรากฏในบทพระราชนิพนธ์ เรื่ องทุกข์ของชาวนาในบทกวี คือใคร


ก. ถัง
ข. อู่ซี่
ค. หลี่เชิน
ง. ณ้อปาอ๋ อง
๓๕. เทคนิคในการนำเสนอเนื้อหาบทกวีจีน คือวิธีใด
ก. บรรยายให้เห็นความเป็ นอยูข่ องชาวนาในยุคนั้น
ข. เสมือนกับนำชาวนามาบรรยาย เรื่ องของตนให้ผอู ้ า่ นฟัง
ค. บรรยายความรู้สึกอันเกิดจากความสะเทือนใจ ออกเป็ นบทกวี
ง. บรรยายภาพที่เห็นเหมือนจิตรกรวาดภาพให้คนชม
๓๖.เทคนิคในการนำเสนอเนื้อหาบทกวีไทย คือวิธีใด
ก. บรรยายให้เห็นความเป็ นอยูข่ องชาวนาในยุคนั้น
ข. เสมือนกับนำชาวนามาบรรยาย เรื่ องของตนให้ผอู ้ า่ นฟัง
ค. บรรยายความรู้สึกอันเกิดจากความสะเทือนใจ ออกเป็ นบทกวี
ง. บรรยายภาพที่เห็นเหมือนจิตรกรวาดภาพให้คนชม
๓๗. เมื่ออ่านบทพระราชนิพนธ์ เรื่ องทุกข์ของชาวนาในบทกวี จบลง พอสรุ ปได้ว า่ กวีไทยกับกวีจีน
ก. ร่ วมสมัยกัน ข. อยูค่ นละสมัยกัน
ค. อายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ง. เป็ นมิตรกัน
๓๘. "เมื่อครั้งเป็ นนิสิต ข้าพเจ้าได้เคยอ่านผลงานของจิตร ภูมิศกั ดิ์ อยูบ่ า้ ง แต่กไ็ ม่ได้ศึกษาอย่างละเอียด หรื อ
วิเคราะห์อะไร... " น่าจะเป็ นช่วงใดของบทพระราชนิพนธ์ เรื่ องทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ก. ช่วงความนำ ข. ช่วงเนื้อเรื่ อง
ค. ช่วงความลงท้าย ง. ช่วงสรุ ป
๓๙. สาระสำคัญของบทกวีท้ งั สอง มีส่วนเหมือนกัน คือข้อใด
ก. วิธีการนำเสนอ
ข. สะท้อนให้เห็นเมตตาธรรม ที่มีต่อชาวนา
ค. แสดงถึงความเข้าใจปัญหาต่างๆ ของชาวนา
ง. กล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนา
๔๐. สารสำคัญของบทกวีท้ งั สอง มีส่วนต่างกันอย่างไร
ก. วิธีการนำเสนอ
ข. สะท้อนให้เห็นเมตตาธรรม ที่มีต่อชาวนา
ค. แสดงถึงความเข้าใจปัญหาต่างๆ ของชาวนา
ง. กล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนา

*************************************************************************************

แบบทดสอบ
เรื่ อง นิทานเวตาล และเรื่ อง นมัสการมาตาปิ ตุคุณ นมัสการอาจริ ยคุณ
คำสั่ ง ให้นกั เรี ยนเลือกตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. เรื่ องนิทานเวตาลแสดงให้เห็นว่า พระวิกรมาทิตย์เป็ นกษัตริ ยท์ ี่มีคุณธรรมสู ง แต่มีกิเลสทำให้ตอ้ งตกอยูใ่ นที่


ลำบาก เกือบจะเอาชนะเวตาลไม่ได้ กิเลส ในที่น้ ีหมายถึงข้อใด
ก. เชื่อมัน่ ว่าตนมีสติปัญญา ข. ถือตนว่าเป็ นพระมหากษัตริ ย ์
ค. ไม่เชื่อความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ง. ไม่อาจระงับความโกรธของตนได้
๒. ข้อใดเป็ นจุดเด่นของนิทานเวตาล
ก. เนื้อเรื่ องตลกขบขัน ข. มีปัญหาชวนให้ขบคิด
ค. แทรกภาษิตและคติโลก ง. มีบทประพันธ์ร้อยกรองแทรก
๓. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของเวตาล
ก.  หน้าเป็ นรู ปเหลี่ยม  นัยน์ตาเรี ยวเล็ก          ข.  ปากอ้า  แก้มตอบ  ขากรรไกรกว้าง
ค.  แขนขาสั้น  มือสั้น  ท้องพลุย้                      ง.  จมูกยาวเป็ นขอ  ปี กคล้ายค้างคาว
๔. ”ข้าพเจ้าขอถวายชีวิตพระองค์แก่พระองค์” เป็ นคำกล่าวของใค
ก. โยคีศานติศีล ข. อสูรปัถพีบาล  ค. เวตาล  ง. พระภรรตฤราช
๕. ข้อคิดที่ได้จากนิทานเวตาล คือเรื่ องใด
ก. สอนให้ฉลาด มีเล่ห์เหลี่ยม รู้เท่าทันผูอ้ ื่น
ข. สอนให้รู้จกั ความพอดี ไม่โลภ ยับยั้งชัง่ ใจได้
ค. สอนให้รู้จกั มีสติรับรู้ได้ รู้จกั คิดวิเคราะห์ รู ้จกั หักห้ามใจก่อนกระทำสิ่ งต่าง ๆ
ง. สอนให้รู้จกั ความกตัญญูต่อผูม้ ีพระคุณ
๖. “ศพนั้นลืมตาโพลง ลูกตาสี เขียวเรื อง ๆ ผมสี น ้ำตาล หน้าที่น ้ำตาล ตัวผอม เห็นซี่ โครง
     เป็ นซี่ ๆ ห้อยเอาหัวลงมาทำนองค้างคาว แต่เป็ นค้างคาวตัวใหญ่ที่สุด เมือจับถูกตัว
     ก็เย็นชืดเหนียวๆ   เหมือนงู ปรากฏเหมือนหนึ่งว่าไม่มีชีวิต แต่หางซึ่ งเหมือนหางแพะ
     นั้นกระดิกได้” ข้อความที่ยกมานี้จดั อยูใ่ นโวหารชนิดใด
       ก. บรรยายโวหาร         ข. พรรณนาโวหาร  ค. เทศนาโวหาร             ง. อธิ บายโวหาร
๗. “ปราชญ์ผมู ้ ีความรู้ยอ่ มใช้เวลาของตนในเรื่ องหนังสื อ มิใช่ใช้เวลาในการนอนและการขี้เกียจอย่างคนโง่” 
       ข้อความนี้สอนใจในเรื่ องใด
       ก. เวลาและวารี ไม่เคยที่จะคอยใคร               ข. การใช้เวลาให้คุม้ ค่า
       ค. ให้แสวงหาความรู้จากการอ่านหนังสื อ       ง. เวลาเป็ นของมีค่า
๘. ข้อใดเป็ นความเชื่อตามวิถีชีวิตของคนไทย
       ก. ลิ้นนั้นตัดคอคนเสี ยมากต่อมากแล้ว
       ข. ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตาซ้าย หัวใจเต้นแรง แลก็มืดมัว
        ค. คงจะเป็ นสาวน้อยตามขนาดแห่งเท้า ส่ วนนางเท้าเขื่องคงจะเป็ นสาวใหญ่
        ง. ความสุ ขแห่งพ่อบ้านซึ่ งอยูโ่ ดดเดี่ยวนั้นมีไม่ได้ในบ้าน แลมีไม่ได้นอกบ้าน

๙. พระวิกรมาทิตย์ใช้กศุ โลบายใดในการสื บเสาะข่าวสารบ้านเมืองพระองค์และประเทศใกล้เคียง


ก. การมีทูตสัมพันธไมตรี        ข. การส่ งพระโอรสไปเรี ยนวิชา
     ค. การปลอมพระองค์ไปแสวงหาข่าว   ง. การใช้พราหมณ์ตระเวนจาริ กบุญ
๑๐. ข้อใดบอกลักษณะพระวิกรมาทิตย์ไม่ถูกต้อง
 ก.  เผลอสติบ่อย        ข. มีคุณธรรมสู ง   
      ค. ชอบฟังนิทาน ง. รักษาสัญญา
๑๑. ข้อใดใช้โวหารเปรี ยบเทียบ
       ก. ชายผูไ้ ม่ใช่คนโง่ไม่ยอมคืนสู่ เรื อนซึ่ งไม่มีนางที่รักผูม้ ีรูปงามคอยรับรองในขณะที่กลับถึงเรื อนนั้น
       ข. แม้เรี ยกว่าเรื อนก็ไม่ใช่อื่น คือคุกซึ่ งไม่มีโซ่เท่านั้นเอง
       ค. พระองค์ยอ่ มทรงทราบด้วยพระองค์เองว่า ความสุ ขแห่งพ่อบ้านซึ่ งอยูเ่ ดี่ยวโดดนั้นมีไม่ได้ในบ้าน
       ง. แลมีไม่ได้นอกบ้านเพราะไม่มีหวังจะได้ความสุ ขเมือกลับมาสู่ เรื อนแห่งตน
๑๒. “ลิ้นคนนั้นตัดคอคนเสี ยมากต่อมากแล้ว” มีความหมายอย่างไร
ก. เป็ นคำขูข่ องเวตาล ข. เตือนให้ระวังคำพูด
ค. บอกให้ระวังความตาย ง. เน้นให้เห็นถึงอำนาจของกษัตริ ย ์
๑๓. ปั ญหาของนิทานเวตาลเรื่ องสุ ดท้าย ยากกว่านิทานเรื่ องอื่นเป็ นเพราะเหตุใด
ก. เป็ นปัญหาการอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์
ข. เป็ นการตัดสิ นความโง่ – ความฉลาด
ค. เป็ นประเด็นความถูก – ผิด – ดี – ชัว่ ของมนุษย์
ง. เป็ นการกระทำที่เบี่ยงเบนไปจากขนบของสังคม
๑๔. นิทานเวตาลเรื่ องที่ ๑๐ มุ่งแสดงประเด็นใดมากที่สุด
ก. โทษของการไม่ใช้สติปัญญาตริ ตรองพิจารณาสิ่ งต่าง ๆ ให้ถว้ นถี่
ข. โทษของการทำศึกสงครามโดยไม่ค ำนึงถึงมนุษยธรรม
ค. โทษของการพูดโดยไม่ใช้ความคิดพิจารณาให้ถ่องแท้
ง. โทษของความอ่อนแอไม่สามารถปกป้ องบ้านเมืองและลูกเมียได้
๑๕. “ข้าพเจ้าขอถวายพระพรให้ทรงรับความสำราญเป็ นผลแห่งการที่ทรงนิ่งครั้งนี้ จากข้อความดังกล่าวแสดงให้เห็น
ว่าพระวิกรมาทิตย์ทรงใช้หลักธรรมข้อใดในการเอาชนะ เวตาล
ก. มุทิตา ข. ปัญญา ค. กตัญญู ง. ขันติ
๑๖. ข้อใดมีโวหารเปรี ยบเทียบสิ่ งหนึ่งเป็ นสิ่ งหนึ่ง
ก. ผูก้ อบนุกลู พูน ผดุงจวบเจริ ญวัย
ข. ฟูมฟักทะนุถนอม บ บำราศนิราไกล
ค. ใหญ่พ้ืนพสุ นธรา ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน
ง. เปรี ยบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผา
๑๗. แท้บูชไนยอัน อุดมเลิศประเสริ ฐคุณ หมายถึง บุคคลใด
ก. บิดา มารดา ข. ครู อาจารย์
ค. พระภิกษุสงฆ์ ง. พระพุทธเจ้า

๑๘. จากคำประพันธ์ตรงกับ ปรัชญาการศึกษา ข้อใด


ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ ทั้งบุญบาปทุกสิ่ งอัน
ชี้แจงและแบ่งปัน ขยายอัตถ์ให้ชดั เจน
ก. มีความรู้ความพร้อม ข. มีคุณธรรมนำความรู ้
ค. มีความดีเป็ นเครื่ องประดับชีวิต ง. มีความรู ้คู่คุณธรรม
๑๙. “เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์” แกล้ง ในที่น้ ี มีความหมายว่าอย่างไร
ก. ทำให้ไม่พอใจ ข. เอาใจใส่
ค. ดุวา่ ง. ตั้งใจ
๒๐. กังขา ณ อารมณ์ ก็สว่างกระจ่างใจ สาระของคำประพันธ์น้ ี ตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. เกิดปัญญา ข. เกิดวิมุตติ
ค. เกิดญาณทัศนะ ง. เกิดกิเลส
๒๑. ควรนึกและตรึ กใน จิตน้อมนิยมชม จากคำประพันธ์น้ ี นักเรี ยนควรทำอย่างไร
ก. คิดถึงครู ข. รำลึกพระคุณครู
ค. กตัญญูครู ง. กตเวทิตาครู
๒๒. คำว่า อนุสาสน์ ในคำประพันธ์มีความหมายตามข้อใด
“อนึ่งข้าคำนับน้อม ต่อพระครู ผกู ้ ารุ ณ
โอบเอื้อและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่ งสรรพ์”
ก. สัง่ สอน ข. ดูแล
ค. มอบให้ ง. เอื้อเฟื้ อ
๒๓. ควรนึกและตรึ กใน จิตน้อมนิยมชม คำใดต้องอ่านให้ลง ลหุ
ก. ตรึ -กะ ข. ตรึ ก-กะ
ค. จิ-ตะ ง. จิด-ตะ
๒๔. ข้อใดคือ พระคุณของครู ตามที่ปรากฏในคำนมัสการอาจริ ยคุณ
ก. โอบเอื้อและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่ งสรรพ์
ข. ชี้ทางพระนฤพาน อันพ้นโศกวิโยคภัย
ค. กำจัดน้ำใจหยาบ สันดานบาปแห่งชายหญิง
ง. ฟูมฟักทะนุถนอม บ บำราศนิราไกล
๒๕. ข้อใดคือ พระคุณที่สำคัญของบิดามารดา
ก. โอบเอื้อและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่ งสรรพ์
ข. โปรดหมู่ประชากร มละโอฆกันดาร
ค. ชี้แจงและแบ่งปัน ขยายอัตถ์ให้ชดั เจน
ง. ตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเลี้ยง ฤ รู ้วาย

You might also like