Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

ภาษา

พาที
ชั้นประถมศึกษาปีที่

บทที่
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑
ตามหา
บทที่ ๔

อ่านจา นาเรียน

ภูผาหาอ้อยเพื่อไปให้ลูกช้าง คือ ใบโบก ใบบัว กิน


แต่ ไ ม่ เ ห็ น ลู ก ช้ า ง จึ ง เดิ น ตามหาจนไปพบลู ก ช้ า งทั้ ง
สองเชือกเล่นน้าที่ลาธาร เมื่อลูกช้างขึ้นจากลาธาร ภูผาจึง
ผูกกระดึงที่คอให้ ใบโบก และผูกกระพรวนที่คอให้ ใบบัว
เพราะกระดึงและกระพรวนจะทาให้เกิดเสียงดังเวลาเดิน
ทาให้ตามหา ใบโบก และ ใบบัว เร็วขึ้น
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๒
ตามหา
บทที่ ๔

ให้นักเรียนวงกลมคาที่ตรงกับภาพ

๑ กระพรวน ๒ กระพรวน
กระดึง กระดึง

๓ ไหล่ ๔ เดิน
คอ วิ่ง

๕ ดึง ๖ ลาน
ผูก ลาธาร

๗ น้าตก ๘ เล่นน้า
ลาธาร ว่ายน้า
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๓
ตามหา
บทที่ ๔

เขียนแต่งประโยคจากภาพ

๑ ชอบ =

๒ ไป ที่ =

๓ ตาม หา =

๔ หา =

๕ ผูก =

๖ ผูก =

๗ ดัง โป๊ก เป๊ก =

๘ ดัง กรุ๋ง กริ๋ง =


ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๔
ตามหา
บทที่ ๔

เรียงประโยคให้ถูกต้องตามเนื้อเรื่อง

๑ หา ไป ภูผา อ้อย

๒ ไม่ ลูกช้าง ลาน อยู่ ที่

๓ เดิน ลูกช้าง ภูผา หา

๔ เล่นน้า ใบโบก อยู่ ใบบัว

๕ ผูก ภูผา ที่ กระดึง ใบโบก คอ

๖ ใบบัว ผูก ที่ คอ กระพรวน ภูผา

๗ ดัง โป๊ก กระดึง เป๊ก

๘ ดัง กระพรวน กรุ๋งกริ๋ง


ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๕
ตามหา
บทที่ ๔

ใส่ / หน้าข้อความที่ถูก และใส่ x หน้าข้อความที่ผิด


๑ ภูผาหากล้วยให้ ใบโบก และ ใบบัว
๒ ใบโบก และ ใบบัว เล่นน้าที่ลาธาร
๓ ใบโบก ผูกกระดึงที่คอ
๔ ใบบัว ผูกกระพรวนที่คอ
๕ กระดึงมีเสียงดัง กรุ๋ง กริ๋ง
๖ กระพรวนมีเสียงดัง โป๊ก เป๊ก
๗ เด็ก ๆ ผูกกระดึงและกระพรวนที่คอลูกช้าง
๘ เมื่อใบโบกและใบบัวหายไป ภูผาฟังเสียงกระดึง
และกระพรวนก็จะหาลูกช้างพบ
นาคาจากด้านซ้ายมือมาใส่ในช่องว่างทางขวามือให้ถูกต้อง
๑ ภูผาผูก ที่คอใบโบก
ผูก ที่คอใบบัว
๒ ภูผาตามหา
๓ ใบโบก ใบบัว ไม่อยู่ที่
ลาน ๔ ภูผาหา ไปให้
๕ ใบโบก ใบบัว ที่
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๖
ตามหา
บทที่ ๔

สระ โ-

สระ โ - เป็นสระเสียงยาว
สระ โ - เขียนไว้หน้าพยัญชนะต้น เช่น โบ โน โล
สระ โ - เมื่อมีตัวสะกดจะเขียนตัวสะกดไว้หลัง
พยัญชนะต้น เช่น โสม โรม โหม
การอ่านสะกดคาตามรูป
โค อ่านว่า คอ-โอ-โค
โน อ่านว่า นอ-โอ-โน
โก อ่านว่า กอ-โอ-โก
โง่ อ่านว่า งอ-โอ-โง-ไม้เอก-โง่
โต้ อ่านว่า ตอ-โอ-โต-ไม้โท-โต้
โล้น อ่านว่า ลอ-โอ-นอ-โลน-ไม้โท-โล้น
โป่ง อ่านว่า ปอ-โอ-งอ-โปง-ไม้เอก-โป่ง
โหน่ง อ่านว่า หอ-นอ-โอ-งอ-โหนง-ไม้เอก-โหน่ง
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๗
ตามหา
บทที่ ๔

เติมคาให้ตรงกับภาพและได้ความหมายสระ โ-
๑ ๒ ๓

ปิ่น แตง กระ


๔ ๕ ๖

สิง ลูก
๗ ๘ ๙

จิง ส้ม เรียน


๑๐ ๑๑ ๑๒

ไฟ น้า เปีย
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๘
ตามหา
บทที่ ๔

เลือกคาด้านซ้ายมือเติมลงในประโยคให้มีความหมาย

โน / โค ๑ ตา มี
ไมโล / โทโส ๒ ฉัน กิน
โบ / โย ๓ น้อง ผูก
โจ้ / โล ๔ แม่ ซื้อ เงาะ ๑
โต / โห ๕ น้อง ตา
โก / โอ ๖ แม่ ปอก ส้ม
โห / โน ๗ ฉัน ถูก ตี หัว
โก้ / โจ้ ๘ ยาย ทา ตะ

โหน่ง / โป่ง ๙ พ่อ ซื้อ ลูก


โขน / โสน ๑๐ ยาย ชอบ ดู
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๙
ตามหา
บทที่ ๔

เรียงพยัญชนะ และสระให้ได้เป็นคาแล้วเขียนลงในช่องว่าง
๑ ๒ ๓ พ
ต โ
ต โ ซ ซ ใ โ
า เ บ
๔ ๕ า ๖

ห โ ถ ช โ ม
ม โ บ
๗ ๘ ย ๙ ก้

ไ ม โ ช ต ะ
ล ไ โ
๑๐ ๑๑ ง ๑๒ โ
หั
น โ จ้ จิ ล้ พ
ว โ ะ
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๐
ตามหา
บทที่ ๔

เขียนสะกดคาสระ โ-
๑ โม = มอ - =
๒ โน = - โอ - =
๓ โป = ปอ - =
๔ โข = ขอ - =
๕ โล่ = ลอ - - โล - ไม้เอก =
๖ โง่ = งอ – โอ - - ไม้เอก =
๗ โต๋ = - - โต – ไม้จัตวา =
๘ โย้ = ยอ - - - ไม้โท =
๙ โปก = - - กอ =
๑๐ โลก = ลอ - - กอ =
๑๑ โป่ง = - โอ - - โปง – ไม้เอก =
๑๒ โค้ง = คอ – โอ – - - ไม้โท =
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๑
ตามหา
บทที่ ๔

สระ ไ-

สระ ไ - เป็นสระเสียงสั้น
สระ ไ - เขียนไว้หน้าพยัญชนะต้น เช่น ไต ไข ไว
สระ ไ - สระ ไ – ไม่มีตัวสะกด

การอ่านสะกดคาตามรูป
ไป อ่านว่า ปอ-ไอ-ไป
ไฟ อ่านว่า ฟอ-ไอ-ไฟ
ไต อ่านว่า ตอ-ไอ-ไต
ได้ อ่านว่า ดอ-ไอ-ได-ไม้โท-ได้
ไม้ อ่านว่า มอ-ไอ-ไม-ไม้โท-ไม้
ไหม อ่านว่า หอ-มอ-ไอ-ไหม
ไก๋ อ่านว่า กอ-ไอ-ไก-ไม้จัตวา-ไก๋
ไกล อ่านว่า กอ-ลอ-ไอ-ไกล
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๒
ตามหา
บทที่ ๔

เปลี่ยนภาพเป็นพยัญชนะ แล้วเขียนลงในช่องว่าง

-ะ ไ- ไ-

ไ- ไ- ไ-

ไ- -ะ ไ-

ไ- -า ไ-

ไ- เ- ไ-
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๓
ตามหา
บทที่ ๔

โยงเส้นจับคู่ให้ได้ความหมาย

๑ ไม้ ไหม้
๒ ไฟ ไหม
๓ เปิด ไล
๔ ลา ไผ่
๕ กา ไข่
๖ เก๋ ไว
๗ ผ้า ไกร
๘ กล้วย ไห
๙ ว่อง ไก๋
๑๐ กรร ไย
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๔
ตามหา
บทที่ ๔

เติมคาให้ตรงกับภาพและได้ความหมายสระ ไ-
๑ ๒ ๓

ไฟ ไม้
๔ ๕ ๖

บัน ลา ปลา
๗ ๘ ๙

รถ กล้วย กรร
๑๐ ๑๑ ๑๒

กา แม่ ร้อง
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๕
ตามหา
บทที่ ๔

เขียนสะกดคาสระ ไ-
๑ ไพ = พอ - =
๒ ไถ = - ไอ =
๓ ไย = ยอ - =
๔ ไร = รอ - =
๕ ไข้ = ขอ - - ไข - ไม้โท =
๖ ไส้ = สอ – ไอ - - ไม้โท =
๗ ไย่ = - - ไย – ไม้เอก =
๘ ไหล = หอ - - ไอ =
๙ ไหม = - - ไอ =
๑๐ ไกล = กอ - - ไอ =
๑๑ ไหว = - วอ - =
๑๒ ไคร่ = คอ – รอ – - - ไม้เอก =
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๖
ตามหา
บทที่ ๔

สระ ใ-

สระ ใ - เป็นสระเสียงสั้น
สระ ใ - เขียนไว้หน้าพยัญชนะต้น เช่น ใส ใด
สระ ใ - สระ ใ – ไม่มีตัวสะกด
สระ ใ - มีคาที่ใช้ ๒๐ คา
การอ่านสะกดคาตามรูป
ใด อ่านว่า ดอ-ใอ-ใด
ใน อ่านว่า นอ-ใอ-ใน
ใจ อ่านว่า จอ-ใอ-ใจ
ใย อ่านว่า ยอ-ใอ-ใย
ใส อ่านว่า สอ-ใอ-ใส
ใช่ อ่านว่า ชอ-ใอ-ใช-ไม้เอก-ใช่
ใต้ อ่านว่า ตอ-ใอ-ใต-ไม้โท-ใต้
ใกล้ อ่านว่า กอ-ลอ-ใอ-ใกล-ไม้โท-ใกล้
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๗
ตามหา
บทที่ ๔

ให้นักเรียนคัดให้สวยงาม

ผู้ใหญ่ หา ผ้า ใหม่ ให้ สะใภ้ ใช้ คล้อง คอ


ใฝ่ ใจ เอา ใส่ ห่อ มิ หลงใหล ใคร ขอ ดู
จะ ใคร่ ลง เรือ ใบ ดู น้า ใส และ ปลา ปู
สิ่ง ใด อยู่ ใน ตู้ มิ ใช่ อยู่ ใต้ ตั่ง เตียง
บ้า ใบ้ ถือ ใย บัว หู ตา มัว มา ใกล้ เคียง
เล่า ท่อง อย่า ละเลี่ยง ยี่สิบ ม้วน จา จง ดี
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๘
ตามหา
บทที่ ๔

เปลี่ยนภาพเป็นพยัญชนะ แล้วเขียนลงในช่องว่าง
๑ ๒ ๓
ใ- ใ- ใ-
๔ ๕ ๖
ใ- ใ- ใ-
๗ ๘ ๙ ๑๐
ใ- ใ- ใ- ใ-
๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔
ใ- ใ- ใ- ใ-
๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘
ใ- ใ- ใ- ใ-
๑๙ ๒๐
ใ- ใ-
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๑๙
ตามหา
บทที่ ๔

แยกส่วนประกอบของคาสระ ใ-

พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์


ใบ
ใจ
ใภ้
ใช้
ใส่
ใต้
ใกล้
ใคร่
ใหญ่
ใหม่
ใหล
ใคร
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๒๐
ตามหา
บทที่ ๔

นาคาต่อไปนี้ใส่ในช่องว่างให้ถูกต้อง

ใน ใต้ ใย ใส ใบ ให้ ใช่ ใจ ใส่ ใช้

๑ ตา แล่น เรือ
๒ ลูก มะม่วง ตก ต้นไม้
๓ น้า ใน คลอง น่า เล่น
๔ มาลา ดอกไม้ มานี
๕ มานี ดี ได้ ดอกไม้
๖ ดอกไม้ นี้ ไม่ ดอก มะลิ
๗ แม่ ฉัน ถู พื้น
๘ ยาย เก็บ มะลิ ตะกร้า
๙ แม่ กวาด แมงมุม
๑๐ ฉัน ชอบ เดิน ไป สวน
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๒๑
ตามหา
บทที่ ๔

เขียนสะกดคาสระ ใ-
๑ ใบ = บอ - =
๒ ใย = - ใอ =
๓ ใส = สอ - =
๔ ใคร = คอ - - ใอ =
๕ ใต้ = ตอ - - - ไม้โท =
๖ ใช่ = - - - ไม้เอก =
๗ ใหล = - - ใอ =
๘ ใหญ่ = หอ - - ใอ - - ไม้เอก =
๙ ใภ้ = - - ใอ - ไม้โท =
๑๐ ใกล้ = กอ - - ใอ – ใกล - ไม้โท =
๑๑ ใคร่ = - รอ - - ใคร - ไม้เอก =
๑๒ ใฝ่ = ฝอ – ใอ – - ไม้เอก =
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๒๒
ตามหา
บทที่ ๔

เลือกคาที่กาหนดให้ใส่ในช่องว่างให้ถูกต้อง

๑ มีคนทิ้งลา บน แมงมุม
(ไย, ใย)
๒ เด็กดี เล่นไฟ
(ไม่, ไหม้)
๓ เหล็ก ผึ้ง อยู่ ผิวหนัง
(ใน, ไน)
๔ คนเหลว มัวไปหลง สิ่งผิด
(ใหล, ไหล)
๕ กบ ไม้ หล่น ลาธาร น้า
(ไส, ใส)
๖ ตาจุด ไว้ ต้นไม้
(ไต, ใต้)
๗ ดวง ซื้อไหมมา ๑
(ไจ, ใจ)
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๒๓
ตามหา
บทที่ ๔

ตอบคาถามต่อไปนี้

๑ ภูผานาสิ่งใดไปให้ลูกช้างกิน
ตอบ
๒ จากบทเรียนนี้ ช้างกินอะไรเป็นอาหาร
ตอบ
๓ ภูผาไม่พบลูกช้าง เพราะลูกช้างพากันไปอยู่ที่ไหน
ตอบ
๔ ใบโบก และ ใบบัว ไปทาอะไรที่ลาธาร
ตอบ
๕ ภูผาผูกสิ่งใดที่คอ ใบโบก
ตอบ
๖ ภูผาผูกสิ่งใดที่คอ ใบบัว
ตอบ
๗ เพราะอะไรภูผาจึงต้องผูกกระพรวน และกระดึงให้ลูกช้าง
ตอบ
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๒๔
ตามหา
บทที่ ๔

ใส่ หน้าคาตอบที่ถูกต้อง
๑ ภูผาหาอะไรมาให้ลูกช้าง
ก. ไผ่ ข. อ้อย ค. หญ้า
๒ นอกจากอ้อยแล้วข้อใดเป็นอาหารของลูกช้างได้อีก
ก. กล้วย ข. ปลา ค. กุ้ง
๓ ใบโบกและใบบัวอยู่ที่ไหน
ก. ลาธาร ข. ลานกว้าง ค. ชายป่า
๔ ปกติแล้วลูกช้างของภูผาจะอยู่ที่ใด
ก. ในคอก ข. ลานดิน ค. ในป่า
๕ ลูกช้างพากันไปทาอะไร
ก. กินใบไผ่ ข. เล่นน้า ค. นอนหลับ
๖ เพราะเหตุใดภูผาจึงตามหาลูกช้าง
ก. คนขโมยลูกช้างไป
ข. ลูกช้างหนีไป
ค. ลูกช้างไม่อยู่ที่ลาน
๗ ภูผาผูกสิ่งใดไว้ที่คอใบโบก
ก. กระดิ่ง ข. กระดึง ค. กระพรวน
ป.๑ ภาษาพาที (บทที่ ๔ ตามหา) หน้า ๒๕
ตามหา
บทที่ ๔

๘ “กรุ๋ง กริ๋ง” เป็นเสียงของอะไร


ก. กระดิ่ง ข. กระดึง ค. กระพรวน
๙ “โป๊ก เป๊ก” เป็นเสียงของอะไร
ก. กระดิ่ง ข. กระดึง ค. กระพรวน
๑๐ ภูผานากระพรวนและกระดึงมาผูกที่คอลูกช้างเพราะอะไร
ก. เพราะ ต้องการทาโทษลูกช้าง
ข. เพราะ กระพรวนและกระดึงสวยงาม ทาให้ลูกช้าง
ดูน่ารักขึ้น
ค. เพราะ กระพรวนและกระดึงมีเสียงดัง เวลาลูกช้าง
หายไปจะได้ตามเจอในทันที

You might also like