เอกสารประกอบการสอนวิชาการคิดเชิงเหตุผล

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 135

เอกสารประกอบการเรียนวิชา

สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์
ค.ร.น. 2
ห.ร.ม. 2
ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ 7
สัดส่วนและอัตราส่วน 12
สมการและอสมการ 14
คานวณอายุ 17
ดอกเบี้ย 20
บัญญัติไตรยางศ์ 25
ผลบวก ผลต่าง 28
บทที่ 2 การให้เหตุผลและแบบรูป
การให้เหตุผลเชิงตรรกะ 33
การให้เหตุผลผิด 48
กิจกรรม 52
บทที่ 3 การให้เงื่อนไขเชิงภาษาและเชิงสัญลักษณ์
เงื่อนไขเชิงภาษา 70
เงื่อนไขเชิงสัญลักษณ์ 98
บทที่ 4 การอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวัน การวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหา 103
และการเลือกใช้แนวทาง

บทที่ 5 การวิเคราะห์และอธิบายข้อมูลข่าวสาร และการตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูล 115


บทที่ 1
ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา การคิดเชิงเหตุผล


โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ
่ ้านจอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 2

1. การหา ค.ร.น. และ ห.ร.ม.

1.1 ค.ร.น. คือ จำนวนใด ๆ ที่มีค่ำน้อยที่สุดที่สำมำรถเอำจำนวนที่กำหนดให้ทุก ๆ จำนวนไปหำรลงตัว


เช่น กำหนดให้ 8, 12, 6 จงหำ ค.ร.น. ของ 3 จำนวนนี้
วิธีการ 8 = 2 x 2 x 2
12 = 2 x 2 x 3
6 = 2 x 3
ดังนั้น ค.ร.น. คือ 2 x 2 x 2 x 3 = 24
นั้นคือ 24 เป็นจำนวนที่น้อยที่สุดที่ 8, 12 และ 6 หำรได้ลงตัวพอดี

1.2 ห.ร.ม. คือ จำนวนใด ๆ ที่มีค่ำมำกที่สุดที่สำมำรถไปหำรจำนวนที่กำหนดให้ทุก ๆ จำนวนลงหำรลง


ตัว เช่น กำหนดให้ 8, 12, 6 จงหำ ห.ร.ม. ของ 3 จำนวนนี้
วิธีการ 8 = 2 x 2 x 2
12 = 2 x 2 x 3
6 = 2 x 3
ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2

ข้อสังเกต : ถ้ำเป็น ค.ร.น. จะเอำตัวที่ซ้ำกันและตัวที่ไม่ซ้ำกันมำหำค่ำ แต่ถ้ำเป็น ห.ร.ม. จะเอำเฉพำะตัวที่ซ้ำกัน


มำหำค่ำเท่ำนั้น

1.3 ถ้ำมีเลข 2 จำนวน แล้วควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ค.ร.น. กับ ห.ร.ม. และเลขอีกจำนวนหนึ่งจะเป็นไป


ตำมสูตรดังนี้
เลขอีกจำนวนหนึ่ง = ค.ร.น. x ห.ร.ม.
เลขจำนวนที่โจทย์บอก
ตัวอย่าง เลข 2 จำนวน จำนวนหนึ่งเท่ำกับ 18 ได้ ค.ร.น. เท่ำกับ 72 และ ห.ร.ม. เท่ำกับ 6 เลขอีก
จำนวนหนึ่งคืออะไร
72  6
จำกสูตร เลขอีกจำนวนหนึ่ง =
18

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 3

แบบฝึกหัด 
1.1 เลขชุดหนึ่งคือ 12, 4 และ 24 จงหำ ห.ร.ม. ของเลขชุดนี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.2 จำกจำนวน 84, 21 และ 105 จงหำ ค.ร.น. ของเลขชุดนี้


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................. ................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.3 เลข 2 จำนวน จำนวนหนึง่ เป็น 242 จงหำเลขอีกจำนวนหนึ่งเมื่อมีค่ำ ค.ร.น. เป็น 4,356 และ ห.ร.ม. เป็น 2
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................ ..
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.4 ห.ร.ม. ของ 51, 36 และ 81 คืออะไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 4

1.5 เลข 3 จำนวน มี ค.ร.น. เป็น 108 และมี ห.ร.ม. เป็น 9 ถ้ำเลข 3 จำนวนนั้นคือ 27, X และ 10 แล้ว X มี
ค่ำเท่ำใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.6 มีเลขคี่ 2 จำนวน จำนวนเลขที่น้อยมีค่ำเท่ำกับ 35 ถ้ำ ห.ร.ม. คือ 7 และ ค.ร.น. คือ 245 แล้ว จำนวนเลขที่
มำกมีค่ำเท่ำใด
.......................................................................................................................................................... ....................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1
1.7 บิดำมีที่นำอยู่ 1 แปลง เนื้อที่ 16 ไร่ แบ่งให้บุตร 2 คน โดยคนโตได้ส่วนแบ่งไป 5
คนเล็กได้ส่วนแบ่งไป 4
8
ส่วนที่เหลือยกให้มูลนิธิจะเป็นเนื้อที่กี่ไร่
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

8 7 1
1.8   จะต้องทำส่วนให้เป็นเท่ำใดจึงจะบวกกันได้ง่ำยที่สุด
8 24 16
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 5

1.9 จงหำ ค.ร.น. ของ 51, 136 และ 204


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.10 ถ้ำ ห.ร.ม. ของเลขชุดหนึ่งเป็น 8 และ ค.ร.น. เป็น 208 ถ้ำจำนวนหนึ่งเป็น 104 อีกจำนวนหนึ่งคืออะไร
............................................................................................................................................................................. .
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................ ..............
..............................................................................................................................................................................

1.11 เลข 2 จำนวน มีเลขจำนวนหนึ่งเป็น 10 ซึ่งมี ห.ร.ม. เท่ำกับ 2 และ ค.ร.น. มีค่ำเป็น 15 เท่ำของ ห.ร.ม. จง
หำเลขอีกจำนวน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.12 จำนวนเลขที่มำกมีค่ำเท่ำกับ 72 แล้ว เลขอีกจำนวนหนึ่งมีค่ำเท่ำไร ถ้ำ ห.ร.ม. คือ 4 และ ค.ร.น. เป็น 90
เท่ำของ ห.ร.ม.
.......................................................................................................................................................... ....................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 6

1.13 จงหำเลขที่มีค่ำมำกที่สุดที่หำร 72, 48 และ 168 ได้ลงตัว


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................. .............................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.14 จงหำตัวเลขที่น้อยที่สุดที่หำรด้วย 36, 9 และ 12 แล้วเหลือเศษ 4


..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................. .............................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

1.15 เลขชุดหนึ่งประกอบด้วย 8, 32 และ X หำรด้วย 4 ลงตัว และนำไปหำร 96 ลงตัวด้วย X คือจำนวน


อะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 7

2. ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์

2.1 A% ของ X มีค่ำเท่ำกับ B (เมื่อ A, B เป็นตัวเลขที่โจทย์บอกเพื่อให้ค่ำ X )

B  100
สูตร X
A

เช่น 8% ของเลขจำนวนใดเท่ำกับ 320


320  100
จะได้ X
8
เลขจำนวนนั้นคือ 4000
2.2 B เป็น A% ของเลขจำนวนใด  X 

B
X  100
A

2.3 A% ของ B เท่ำกับเท่ำไร  X 

B A
X
100

2.4 A% ของ B กับ C% ของ D ต่ำงกันเท่ำไร

A  B C D
ผลต่ำง = 
100 100

2.5 A% ของ B% ของ C เท่ำกับเท่ำไร

A  B C 
X  
100  100 

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 8

แบบฝึกหัด 
2.1 2% ของจำนวนหนึ่งมีค่ำ 270 จำนวนนั้นมีค่ำเท่ำใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.2 5% ของ 270 กับ 10% ของ 91 ต่ำงกันอยู่เท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.3 พื้นที่วงกลมเพิ่มขึ้น 4 เท่ำ รัศมีเพิ่มขึ้นกี่เปอร์เซ็นต์


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.4 ติดรำคำสินค้ำไว้สูงกว่ำทุน 1 เท่ำตัว แต่ลดให้ผู้ซื้อเป็นเงินสด 30% จำกรำคำป้ำย เขำจะได้กำไรร้อยละ


เท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................... .........
......................................................................................................................... .....................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 9

2.5 สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้ำนยำวเพิ่มขึ้น 10% พื้นที่จะเพิ่มขึ้นเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.6 เลข 2 จำนวนรวมกันเป็น 25 ถ้ำจำนวนน้อยเป็น 40% ของ 25 จำนวนมำกมีค่ำเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.7 15 จะมีค่ำเป็น 75% ของเลขจำนวนใด


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.8 40% ของ 80% ของ 1500 มีค่ำเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.9 20% ของผู้ชำยเท่ำกับ 25% ของผู้หญิง ถ้ำมีคนทั้งหมด 90 คน จะมีผู้ชำยมำกกว่ำผู้หญิงกี่คน


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................... .....

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 10

2.10 มีคน 15 คน ทำงำนชิ้นหนึ่งเสร็จในเวลำ 20 วัน ถ้ำมีคนเพียง 10 คน จะทำงำนให้เสร็จต้องเพิ่มเวลำอีกกี่


เปอร์เซ็นต์
........................................................................................................................................ ......................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.11 ติดป้ำยรำคำสินค้ำให้ได้กำไร 25% แต่จะลดให้กับผู้ซื้อเป็นเงินสด 20% จำกรำคำป้ำย ดังนั้น จะขำยสินค้ำ


ชิ้นนี้ได้ผลเป็นอย่ำงไร
............................................................................................................................................................. .................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.12 เหล้ำ 1 ขวด มีแอลกอฮอล์ 60% ผสมน้ำเข้ำไปอีก 1


ของขวดเหล้ำ เมื่อผสมใหม่แล้วจะมีแอลกอฮอล์กี่
5
เปอร์เซ็นต์
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.13 นำย ก. ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้น 25% แต่เงินเดือนที่ได้รับเท่ำกับเงินเดือนที่เขำได้รับเมื่อปีก่อน อยำกทรำบ


ว่ำ ปีที่ก่อนเขำถูกลดเงินเดือนเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................. ................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 11

2.14 นำย ข. ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 5122 บำท เพรำะถูกหักเข้ำกองทุนประกันสังคม ถ้ำอัตรำเงินเดือนของนำย


ข. คือ 5200 บำท ดังนั้น ค่ำประกันสังคมคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................... ........
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 12

3. สัดส่วนและอัตราส่วน

ตัวอย่าง เหล้ำ 120 ขวด ซึ่งได้จำกเหล้ำผสมน้ำในอัตรำส่วน 3 : 1 ถ้ำต้องกำรให้ได้เหล้ำจำนวน


150 ขวด (ขวดปริมำตรเท่ำเดิม) โดยให้มีเหล้ำผสมน้ำในอัตรำ 1 : 1 จะต้องทำอย่ำงไร
วิธีทา รวมส่วนน้ำกับเหล้ำ 1  3  4 ส่วน

4 ส่วนนี้เป็นเหล้ำ 120 ขวด


ใน 120 ขวด ถ้ำแยกออกมำเป็นเหล้ำแท้ ๆ เพียง 1204 3  90 ขวด
 จะมีน้ำอยู่ 30 ขวด
ต้องกำรเหล้ำ 150 ขวด ในอัตรำส่วน น้ำ : เหล้ำ = 1 : 1
นั้นคือจะมีเหล้ำแท้ ๆ 75 ขวด และน้ำ 75 ขวด
วิธีกำรคือจำกเหล้ำ 120 ขวด เติมน้ำอีก 60 ขวด จะได้
ส่วนผสม เหล้ำ : น้ำ = 1 : 1 แต่ได้เหล้ำเป็น 180 ขวด แล้วแยกออกมำ 30 ขวด ก็จะ
เหลือเหล้ำ 150 ขวด

แบบฝึกหัด 
3.1 เหล้ำ 1 ลิตร มีควำมเข้มข้น 50% ต้องกำรเหล้ำที่เข้มข้นเพียง 10% จะต้องเติมน้ำลงไปอีกเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................... ........
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 13

3.2 แอลกอฮอล์ 1 ลิตร มีควำมเข้มข้น 80% เติมน้ำลงไป 15 ลิตร ควำมเข้มข้นจะเป็นเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3.3 ซื้อองุ่นมำ 2 ชนิด กิโลกรัมละ 13 บำท และ 18 บำท ตำมลำดับ ผสมกันในอัตรำส่วน 2 : 3 ขำยให้ได้กำไร
500 บำท โดยขำยกิโลกรัมละ 21 บำท ต้องซื้อองุ่นชนิดที่ 2 มำกี่กิโลกรัม
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................... .....
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3.4 ซื้อเงำะชนิดที่ 1 รำคำกิโลกรัมละ 2.50 บำท ชนิดที่ 2 กิโลกรัมละ 3 บำท ผสมกันแล้วขำยไปกิโลกรัมละ 6


บำท ถ้ำผสมในอัตรำส่วนเท่ำ ๆ กัน แล้วขำยให้ได้กำไร 325 บำท ต้องซื้อเงำะชนิดที่ 1 มำกี่กิโลกรัม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................... ...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 14

4. สมการและอสมการ

4.1 สมการ คือ กำรเท่ำกัน โจทย์จะอยู่ในรูปโจทย์ปัญหำ วิธีกำรสำคัญคือ กำรตีโจทย์จะต้องทรำบว่ำ


โจทย์ถำมอะไร และโจทย์ให้อะไรมำบ้ำง เมื่อทรำบแล้วนำมำเขียนในรูปประโยคสัญลักษณ์
กำรแก้สมกำรมีวิธี ดังนี้
1. จัดให้ตัวที่ทรำบค่ำ ไว้ด้ำนใดด้ำนหนึ่ง ส่วนตัวที่ไม่ทรำบค่ำอยู่อีกด้ำนหนึ่ง
2. กำรจัดแยกตำมข้อ 1. ใช้หลักกำรว่ำ เมื่อย้ำยข้ำงจะต้องเปลี่ยนเครื่องหมำยเป็นตรงข้ำม คือ 
เป็น  หรือ  เป็น  หรือ  เป็น  หรือ  เป็น 
ตัวอย่าง สวนแห่งหนึ่งมีเงำะเป็น 2 เท่ำของทุเรียน ส่วนที่เหลือเป็นมังคุดจำนวน 300 ต้น ถ้ำทั้งสวนมี
ผลไม้จำนวน 1200 ต้น จะมีเงำะและทุเรียนอย่ำงละกี่ต้น
วิธีทา ให้ทุเรียนมีจำนวน X ต้น

 จะมีเงำะ 2 X ต้น

ประโยคสัญลักษณ์ 2X  X  300  1200

3X  1200  300

3X  900
900
X 
3

X  300
 เงำะมีจำนวน 2  300  600 ต้น
ทุเรียนมีจำนวน  300 ต้น

4.2 อสมการ คือ กำรไม่เท่ำกัน หลักในกำรแก้โจทย์อสมกำรทำเช่นเดียวกับสมกำร แต่มีข้อที่แตกต่ำงที่


ต้องระวัง คือ
3.2.1 กำรคูณหรือกำรหำรด้วยจำนวนที่น้อยกว่ำศูนย์จะต้องกลับเครื่องหมำยอสมกำร
เช่น 26

เอำ 2 คูณตลอด 2   2   6   2 
4  12
หรือ หำรด้วย 3 ตลอด
2 6
จะได้ 
3 3

0.67  2
ข้อสังเกต : ค่ำตัวเลขที่ติดลบ มีตัวเลขมำกจะมีค่ำน้อย เช่น 1 จะมีค่ำมำกกว่ำ 2 ดังเส้นจำนวน

31 แต่ 3  1

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 15

แบบฝึกหัด 
4.1 มีไก่และหมูอยู่ในบ้ำนรวมกัน 12 ตัว ถ้ำนับขำรวมกันได้ ขำของไก่มำกกว่ำขำของหมูอยู่ 6 ขำ อยำกทรำบว่ำ
ในบ้ำนมีหมูอยู่กี่ตัว
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

4.2 ถังน้ำมันใบหนึ่งเมื่อหย่อนเชือกถึงก้นถังแล้ว ยังเหลือเชือกยำวอีก 10 นิ้ว ถ้ำทบเชือกเส้นนี้เข้ำด้วยกันแล้ว


หย่อนลงไปอีก ปรำกฏว่ำยังขำดอยู่อีก 10 นิ้ว จึงจะถึงก้นถังพอดี อยำกทรำบว่ำ ถังใบนี้สูงเท่ำใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................... ........
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... .....................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

4.3 ปีนี้ช้ำงอำยุมำกกว่ำม้ำอยู่ 5 ปี อีก 2 ปีข้ำงหน้ำอำยุขอวช้ำงจะเป็น 2 เท่ำของอำยุม้ำ อยำกทรำบว่ำ


ปัจจุบันช้ำงมีอำยุกี่ปี
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 16

4.4 นกเอี้ยงฝูงหนึ่งบินมำเกำะหลังควำย ถ้ำเกำะตัวต่อตัว จะเหลือนกเอี้ยง 1 ตัว แต่ถ้ำนกเอี้ยง 2 ตัว เกำะ


ควำย 1 ตัว จะเหลือควำย 1 ตัว อยำกทรำบว่ำ มีนกเอี้ยงกี่ตัว
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

4.5 ตัดเชือก 25 ฟุต ออกเป็น 2 ท่อน ให้ท่อนแรกเป็น 41 ของท่อนที่สอง อยำกทรำบว่ำ ท่อนที่สองยำวเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 17

5. การคานวณอายุ

ตัวอย่าง พี่น้อง 3 คน อำยุรวมกัน 126 ปี คนเล็กอำยุเป็น 1


ของคนกลำง คนโตเมื่อ 5 ปีก่อน
5
อำยุมำกกว่ำคนกลำง 5 ปี น้องคนเล็กจะมีอำยุเท่ำไร
วิธีการ ให้คนกลำงอำยุ X ปี

คนเล็กอำยุ X
ปี
5
คนโตเมื่อ 5 ปีก่อน อำยุมำกกว่ำคนกลำง 5 ปี
 คนโตอำยุ X  5 ปี

แล้วพี่น้อง 3 คน อำยุรวมกัน 126 ปี


X
 X5X  126
5
เอำ 5 คูณตลอด
5X  25  5X  X  630

11X  25  630

11X  630  25

11X  605
605
X   55
11
55
 คนเล็กอำยุ  11 ปี
5

แบบฝึกหัด 
5.1 น้ำ ฟ้ำ และฝน อำยุรวมกัน 57 ปี เมื่อ 3 ปีก่อน อำยุของน้ำมำกกว่ำอำยุของฟ้ำอยู่ 4 ปี ภำยหน้ำอำยุของ
ฟ้ำมำกกว่ำอำยุของฝนอยู่ 1 ปี อยำกทรำบว่ำ ปัจจุบันอำยุของฟ้ำเท่ำกับเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 18

5.2 เมื่อ 5 ปีก่อน เตชินอำยุมำกกว่ำเนติอยู่ 5 ปี ปัจจุบันเนติมีอำยุเป็น 5 เท่ำของเจตตริน อีก 25 ปีข้ำงหน้ำ


เจตตรินจะมีอำยุ 35 ปี อยำกทรำบว่ำ ปัจจุบันเตชินมีอำยุเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

5.3 ไก่อำยุมำกกว่ำไข่ 2 ปี เมื่อ 7 ปีก่อน ปัจจุบันไข่มีอำยุเป็น 2 เท่ำของเจี๊ยบ และอีก 10 ปีข้ำงหน้ำเจี๊ยบจะมี


อำยุครบเบญจเพศ ดังนั้นปัจจุบันไก่จะมีอำยุเป็นเท่ำใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................... ........

5.4 กบมีอำยุมำกกว่ำเขียด 10 ปี อีก 5 ปีข้ำงหน้ำ อำยุของเขียดจะเป็นครึ่งหนึ่งของอำยุกบ แล้วเดิมกบมีอำยุ


เท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 19

5.5 เดชำมีอำยุเป็น 3 เท่ำของหน่อย เมื่อ 10 ปีที่แล้ว อำยุของหน่อยเป็น 71 ของเดชำ ดังนั้น ปัจจุบันหน่อยจะ


มีอำยุเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................. .............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 20

6. ดอกเบี้ย

6.1 ดอกเบี้ย หำได้จำกสูตร

ดอกเบี้ย = เงินต้น x ปี x อัตรำดอกเบี้ย


100

เงินรวม = เงินต้น + ( เงินต้น x ปี x อัตรำดอกเบี้ย )


100

เงินรวมทบต้น = เงินต้น x ( 1 + อัตรำดอกเบี้ย ) ปี


100

โดยที่ เงินต้น หมำยถึง จำนวนเงินที่กู้ยืมมำ เงินฝำก หรือ รำคำสินค้ำที่ซื้อ


ปี หมำยถึง จำนวนปีที่กู้ยืมเงินมำ ปีที่ฝำก หรือ ปีที่ผ่อนสินค้ำ
อัตรำดอกเบี้ย หมำยถึง ร้อยละของเงินที่กู้ยืม เงินฝำก หรือ เงินที่ผ่อนสินค้ำ (ต่อปี)

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 21

แบบฝึกหัด 
6.1 ฝำกเงิน 4000 บำท อัตรำดอกเบี้ย 5% ต่อปี ฝำกเงินนำน 6 เดือน จะได้ดอกเบี้ยเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

6.2 เงินต้น 5000 บำท คิดดอกเบี้ยได้เงิน 800 บำท อัตรำดอกเบี้ย 8% ระยะเวลำที่ฝำกนำนเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................... .....
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ..................

6.3 ฝำกเงิน 3 ปี ถอนได้เงินจำนวน 6655 บำท อัตรำดอกเบี้ย 7% ต่อปี เงินต้นที่ฝำกเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 22

6.4 ได้ดอกเบี้ย 840 บำท อัตรำดอกเบี้ย 6% ต่อปี จำกเวลำที่ฝำกเงิน 2 ปี เงินต้นที่ฝำกที่เท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

6.5 ฝำกเงิน 4000 บำท ในระยะเวลำ 21 ปี ได้ดอกเบี้ย 100 บำท จงหำอัตรำดอกเบี้ย


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

6.6 เงินต้น 5000 บำท อัตรำดอกเบี้ย 8% ได้ดอกเบี้ย 800 บำท จงหำระยะเวลำที่ฝำกเงิน


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 23

6.7 เงินต้น 1000 บำท ได้เงินรวมเท่ำไร ถ้ำฝำกเงิน 5 ปี อัตรำดอกเบี้ย 10% โดยคิดดอกเบี้ยไม่ทบต้น


.................................................................................................................................................................. ............
...................................................................................................................... ........................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................... .........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ ......................................
..............................................................................................................................................................................

6.8 เงินต้น 2000 บำท ฝำกธนำคำรได้ดอกเบี้ย 12% เมื่อครบปี ธนำคำรคิดดอกเบี้ยให้แล้วรวมเป็นเงินต้น ถ้ำ


ฝำกครบ 3 ปี เมื่อถอนหมดจะได้เงินคืนเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

6.9 กู้เงินธนำคำร 18000 บำท ในระยะเวลำ 120 วัน อัตรำดอกเบี้ย 12% ต่อปี ธนำคำรจะหักดอกเบี้ยไว้ก่อน
จะได้รับเงินจำกธนำคำรเท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................... ........................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 24

6.10 ฝำกเงินไว้ 3 ปี อัตรำดอกเบี้ย 10% ได้รับเงินทั้งหมด 5324 บำท โดยคิดดอกเบี้ยทบต้น เงินต้นที่ฝำกไว้


เท่ำไร
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................... ...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. ............................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 25

7. บัญญัติไตรยางค์

กำรคำนวณเรื่องบัญญัติไตรยำงค์เป็นลักษณะหนึ่งของกำรเปรียบเทียบ แต่ใช้กำรเปรียบเทียบปริมำณ
ส่วนหนึ่งก่อน
ตัวอย่าง ผลไม้ชนิดหนึ่งขำยได้ 8 ผล รำคำ 5 บำท ถ้ำซื้อผลไม้ชนิดนี้ 160 ผล จะต้องจ่ำยเงินเท่ำไร
วิธีทา ผลไม้ 8 ผล รำคำ 5 บำท
ผลไม้ 1 ผล รำคำ 5
บำท
8
ถ้ำผลไม้ 160 ผล จะได้รำคำ 5
 160  100 บำท
8
 จะต้องจ่ำยเงิน 100 บำท

บัญญัติไตรยำงค์ผกผัน คือ ถ้ำตัวที่นำไปเทียบมำกขึ้น ผลลัพธ์จะมีค่ำน้อยลง ถ้ำตัวที่นำไปเทียบน้อยลง


ผลลัพธ์จะมีค่ำมำกขึ้น
ตัวอย่าง เจนและโบว์ทำงำนชิ้นหนึ่งเสร็จภำยในเวลำ 8 วัน แต่เจนทำงำนคนเดียวเสร็จภำยในเวลำ 15
วัน อยำกทรำบว่ำ ถ้ำโบว์ทำงำนคนเดียวจะเสร็จภำยในกี่วัน
วิธีทา ภำยใน 8 วัน 2 คน ช่วยทำงำนได้ 1 ส่วน
ภำยใน 1 วัน 2 คน ช่วยทำงำนได้ 1
ส่วน
8

ภำยใน 15 วัน เจนทำงำนคนเดียวได้งำน 1 ส่วน


1
ภำยใน 1 วัน เจนทำงำนคนเดียวได้งำน ส่วน
15
1 1 7
 ภำยใน 1 วัน โบว์ทำงำนคนเดียวได้งำน   ส่วน
8 15 120
120 1
 โบว์ทำงำนคนเดียวเสร็จภำยในเวลำ 7
 17
7
วัน

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 26

แบบฝึกหัด 
7.1 ทำขนมโดยใช้น้ำตำล แป้ง และน้ำ ได้ขนม 13 ถ้วย โดยใช้น้ำ 3 ถ้วย น้ำตำล 1 ถ้วย ถ้ำใช้น้ำรวมกับน้ำตำล
20 ถ้วย จะต้องใส่แป้งกี่ถ้วย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

7.2 คน 3 คน กินอำหำร 7 จำน ถ้ำทุกคนกินอำหำรเท่ำกันเป็นจำนวน 15 คน จะสำมำรถกินอำหำรได้ทั้งหมดกี่


จำน
................................................................................................................................................................. .............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

7.3 ชำย 4 คน ทำงำนเสร็จภำยใน 7 วัน ถ้ำมีชำยทั้งหมด 16 คน แล้วทำงำนเป็น 8 เท่ำของงำนเดิม จะสำมำรถ


เสร็จได้ภำยในกี่วัน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 27

7.4 คน 7 คน ทำชิ้นงำนหนึ่งเสร็จภำยใน 48 วัน ถ้ำมีคนเพียงแค่ 4 คน จะสำมำรถทำงำนชิ้นเดียวกันนี้เสร็จได้


ภำยในกี่วัน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

7.5 หญิง 3 คน ทำงำนอย่ำงหนึ่งเสร็จภำยใน 5 วัน ถ้ำใช้หญิง 4 คน ทำงำนชิ้นเดิมจะเสร็จภำยในกี่วัน


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

7.6 ในกำรทำขนมหม้อแกง 1 ถำด จะต้องใช้กะทิ 3 21 ถ้วย กับแป้ง 4 ถ้วย ถ้ำต้องใช้แป้งทั้งสิ้น 13 ถ้วย ในกำร
ทำขนมจะต้องใช้กะทิทั้งหมดกี่ถ้วย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 28

8. ผลบวกและผลต่าง

8.1 กำรหำผลบวกของเทอมที่ 1 ถึง n

n  n  1
ผลบวก 
2

โดยที่ n คือ จำนวนสุดท้ำย

8.2 กำรหำผลบวกของเลขหลำยจำนวนที่ไม่ได้เริ่มต้นด้วย 1

ผลบวก = ( จำนวนต้น + จำนวนปลำย ) x จำนวนเทอม


2

8.3 กำรหำผลบวกของเลขหลำยจำนวนเรียงกันเฉพำะเลขคู่หรือเลขคี่ ใช้สูตรเช่นเดียวกับข้อ 6.2 แต่


เวลำนับจำนวนเทอมให้นับเฉพำะเลขคู่หรือเลขคี่ตำมที่โจทย์ให้หำเท่ำนั้น

8.4 กำรหำเลขหลำยจำนวนเรียงกันที่จำนวนเทอมเป็นเลขคี่

จำนวนกลำง = ผลบวกของเลขทุกจำนวน
จำนวนเทอม

8.5 กำรหำเลขหลำยจำนวนเรียงกันและจำนวนเทอมเป็นเลขคู่

ค่ำระหว่ำงคู่กลำง = ผลบวกของเลขทุกจำนวน
จำนวนเทอม

8.6 กำหนดผลบวกและผลต่ำงมำให้แล้วให้หำจำนวนมำกหรือจำนวนน้อย

จำนวนมำก = ( ผลบวก – ผลต่ำง ) + ผลต่ำง


2

จำนวนน้อย = ( ผลบวก – ผลต่ำง )


2

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 29

เช่น ผลบวกของเลข 2 จำนวน เท่ำกับ 32 ผลต่ำงเท่ำกับ 16


 32  16 
จำนวนมำก =    16
 2 
= 8  16

= 24
 32  16 
จำนวนน้อย =  
 2 
= 8

แบบฝึกหัด 
8.1 ผลบวกของเลข 2 จำนวนเรียงติดกันมีค่ำเท่ำกับ 125 อยำกทรำบว่ำ เลขจำนวนน้อยมีค่ำเท่ำใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

8.2 จงหำผลบวกของเลข 50, 51, 52, ... , 100


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 30

8.3 ผลบวกของเลข 2 จำนวนเท่ำกับ 450 ผลต่ำงเท่ำกับ 120 จงหำเลขจำนวนมำก


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

8.4 เลข 2 จำนวน จำนวนน้อยที่น้อยกว่ำจำนวนมำกอยู่ 50 แต่ 1


ของเลขจำนวนมำกที่น้อยกว่ำเลขจำนวน
5
น้อยอยู่ 50 เช่นกัน จงหำเลขจำนวนน้อย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

8.5 เลขเรียงจำก 1 – 9 ผลบวกของเลขคู่กับเลขคี่ต่ำงกันเท่ำไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 31

8.6 เลขจำนวนน้อยเป็น 75 ของเลขจำนวนมำก และผลต่ำงระหว่ำงเลขจำนวนน้อยกับเลขจำนวนมำกเท่ำกับ


40 จงหำเลขจำนวนมำก
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

8.7 เลข 3 จำนวนเรียงกัน ผลบวกของเลขจำนวนน้อยกับจำนวนมำกเท่ำกับ 908 จงหำผลรวมของเลขทั้ง 3


จำนวน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


บทที่ 2
การให้เหตุผลและแบบรูป

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา การคิดเชิงเหตุผล


โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ
่ ้านจอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 33

การให้เหตุผลเชิงตรรกะ

1. เหตุผลเชิงตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์เป็นวิชาแขนงหนึ่งที่มีการศึกษาและพัฒนามาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ คาว่า “ตรรกศาสตร์”
มาจากภาษาสันสฤตว่า “ตรฺก” (หมายถึง การตรึกตรอง หรือความคิด ) รวมกับ “ศาสตร์” (หมายถึง ระบบ
ความรู้) ดังนั้น “ตรรกศาสตร์ จึงหมายถึง ระบบวิชาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับความคิด ” โดยความคิดที่ว่านี้ เป็น
ความคิดที่เกี่ยวข้องกับการให้เหตุผล มีเกณฑ์ของการใช้เหตุผลอย่างสมเหตุสมผล นักปราชญ์สมัยโบราณได้ศึกษา
เกี่ยวกับการให้เหตุผล แต่ยังเป็นการศึกษาที่ไม่เป็นระบบ จนกระทั่งมาในสมัยของอริสโตเติล ได้ทาการศึกษาและ
พัฒนาตรรกศาสตร์ให้มีระบบยิ่งขึ้น มีการจัดประเภทของการให้เหตุผลเป็นรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นแบบฉบับของ
การศึกษาตรรกศาสตร์ในสมัยต่อมา เนื่องจากตรรกศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฏเกณฑ์ของการใช้เหตุผลจึงเป็น
พื้นฐานสาหรับการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เช่น ปรัชญา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กฎหมาย เป็นต้น นอกจากนี้
ยังถูกนามาใช้ในชีวิตประจาวันอยู่เสมอ เพียงแต่ รูปแบบของการให้เหตุผลนั้น มักจะละไว้ในฐานที่เข้าใจ และ
เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานสาหรับผู้ศึกษาที่จะนาไปใช้และศึกษาต่อไป จึงจะกล่าวถึงตรรกศาสตร์และการให้เหตุผล
เฉพาะส่วนที่จาเป็นและสาคัญเท่านั้น
เหตุผล คือ หลักฐานหรือสิ่งยืนยันความเชื่ออย่างใดอย่างหนึ่งว่าเป็นจริง การใช้เหตุผลเป็นการกระทาหรือ
กิจกรรมในชีวิตประจาวันของคนเรา เมื่อเราเกิดปัญหาหรือข้อขัดแย้งหรือต้องการตัดสินสิ่งต่าง ๆ เราก็สามารถหา
ข้อยุติได้โดยการใช้เหตุผล ผู้ใดมีเหตุผลดีกว่า ข้อสรุปก็เป็นที่ยอมรับได้มากกว่า แต่เหตุผลดังกล่าวอาจไม่ใช่เหตุผล
ที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากเรามักใช้เหตุผลตามความเคยชิน โดยขาดหลักเกณฑ์และการพิจารณาไตร่ตรองอย่าง
รอบคอบเป็นเหตุให้เกิดความสับสนได้ ในการวิเคราะห์ การอ้างเหตุผลเพื่อตัดสินว่าถูกต้องหรือดีพอที่จะยอมรับได้
หรือไม่นั้น เป็นสิ่งที่ทาได้ไม่ง่ายนัก ถ้าปราศจากหลักเกณฑ์มาช่วยในการพิจารณา การหากฎเกณฑ์มาพิจารณา
วินิจฉัยการใช้เหตุผลว่าถูกหรือผิดอย่างไรนั้น เป็นเรื่องของตรรกวิทยา ดังนั้นตรรกวิทยาจึงเป็นความรู้พื้นฐานที่
สาคัญอย่างยิ่งของการใช้เหตุผลที่จะต้องทาความเข้าใจ
ประพจน์
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(1) ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก
(2) เชียงใหม่เป็นเมืองหลวงของประเทศไทย
(3) 0 ไม่ใช่จานวนนับ
(4) กานดามีบุตร 3 คน
(5) กรุณาอยู่ในความสงบ
จากข้อความดังกล่าวจะเห็นว่า ข้อ (1) เป็นประโยคบอกเล่าที่เป็นจริง ข้อ (2) เป็นประโยคบอกเล่าที่
เป็นเท็จ ข้อ (3) เป็นประโยคปฏิเสธที่เป็นเท็จ ข้อ (4) เป็นประโยคบอกเล่าที่สามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ
ข้อ (5) เป็นข้อความที่แสดงการขอร้อง บอกไม่ได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ เราเรียกข้อความ ข้อ (1) ข้อ (2) ข้อ
(3) และข้อ (4) ว่าประพจน์ ส่วนข้อ (5) ไม่เป็นประพจน์ เพราะเป็นประโยคที่แสดงการขอร้องซึ่งบอกไม่ได้ว่า
เป็นจริงหรือเท็จ
โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 34

ตัวอย่างข้อความที่เป็นประพจน์
“3 เป็นจานวนนับ” เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
“นกเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม” เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ
“22 ไม่เท่ากับ 32” เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อความที่อยู่ในรูปคาถาม คาสั่ง ขอร้อง อุทาน หรือแสดงความปรารถนาจะไม่เป็นประพจน์ เพราะไม่
สามารถบอกค่าความจริงได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ
เช่น โปรดเอื้อเฟื้อแก่เด็ก สตรี และคนชรา (ขอร้อง)
ห้ามสูบบุหรี่บนรถโดยสารประจาทาง (คาสั่ง)
อุ๊ย! ตกใจหมด (อุทาน)
หนึ่งบวกด้วยหนึ่งได้เท่าไร (คาถาม)
ฉันอยากมีเงินสักร้อยล้าน (แสดงความปรารถนา)

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(1) เขาเป็นผู้แทนราษฎร
(2) x + 2 = 10
จากข้อ (1) คาว่า “เขา” เราไม่ทราบว่าหมายถึงใคร จึงไม่สามารถบอกค่าความจริงได้ว่าข้อความนี้เป็น
จริ ง หรื อ เท็ จ แต่ ถ้ า ระบุ ว่ า “เขา” คื อ “นายชวน หลี ก ภั ย ” จะได้ ข้ อ ความ “นายชวน หลี ก ภั ย เป็ น
ผู้แทนราษฎร” ซึ่งเป็นประพจน์ เพราะสามารถบอกค่าความจริงได้ว่าข้อความนี้เป็นจริง
จากข้อ (2) คาว่า “x” เราไม่ทราบว่า หมายถึงจานวนเท่าใด จึงยังไม่สามารถบอกค่าความจริงได้ว่า
เป็นจริงหรือเป็นเท็จ แต่ถ้าระบุว่า “x=3” จะได้ข้อความ “x+2=10 เมื่อ x=3” หรือ “3+2=10” ซึ่งเป็น
ประพจน์ เพราะสามารถบอกค่าความจริงได้ว่าเป็นเท็จ
ดังนั้นจะเห็นว่าข้อความ (1) และ (2) นี้ไม่เป็นประพจน์ ทั้งนี้เนื่องจากไม่สามารถบอกค่าความจริงได้ว่า
เป็นจริงหรือเป็นเท็จ แต่เมื่อมีการระบุขอบเขตหรือความหมายของคาบางคาในข้อความว่า หมายถึงสิ่งใด จะทา
ให้ข้อความนั้นเป็นประพจน์ เพราะสามารถบอกค่าความจริงได้ว่าเป็นจริงหรื อเท็จ เราเรียกข้อความ (1) และ
(2) ว่าประโยคเปิด และเรียกคาว่า “เขา” หรือ “x” ว่าตัวแปร
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(1) “y > 0”เป็นประโยคที่มี y เป็นตัวแปร
“จานวนนับ y ทุกตัวมีค่าเท่ากับศูนย์” เป็นประพจน์ เพราะกาหนดขอบเขตของตัวแปร y ว่า “จานวน
นับ y ทุกตัว” และทาให้ประพจน์นี้มีค่าความจริงเป็นจริง
“x + 3 = 1” เป็นประโยคเปิดที่มี x เป็นตัวแปร
“มีจานวนเต็มบวก x บางจานวนที่ x + 3 = 1” เป็นประพจน์ เพราะกาหนดขอบเขตของตัวแปร x
ว่า “มีจานวนเต็มบวก x บางจานวน” และทาให้ประพจน์นี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 35

คาว่า “ทุกตัว” ในข้อ (1) แสดงปริมาณ “ทั้งหมด” ของจานวนนับ และคาว่า “บางจานวน” ในข้อ
(2) แสดงปริมาณ “บางส่วน” ของจานวนเต็มบวก ดังนั้นคาว่า “ทุก” และ “บาง” จึงเป็นตัวบ่งปริมาณของ
สิ่งที่ต้องการที่พิจารณา
ตัวบ่งปริมาณในตรรกศาสตร์ มี 2 ชนิดคือ
1) ตัวบ่งปริมาณ “ทั้งหมด” หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการพิจารณาในการนาไปใช้อาจใช้คาอื่นที่มี
ความหมายเช่นเดียวกับ “ทั้งหมด” ได้ ได้แก่ “ทุก” “ทุก ๆ” “แต่ละ” “ใด ๆ” ฯลฯ เช่น
คนทุกคนต้องตาย
คนทุก ๆ คนต้องตาย
คนแต่ละคนต้องตาย
ใคร ๆ ก็ต้องตาย
2) ตัวบ่งปริมาณ “บาง” หมายถึงบางส่วนหรือบางสิ่งบางอย่างที่ต้องการพิจารณา ในการนาไปใช้อาจ
ใช้คาอื่นที่มีความหมายเช่นเดียวกันได้ ได้แก่ “บางอย่าง” “มีอย่างน้อยหนึ่ง” เช่น
สัตว์มีกระดูกสันหลังบางชนิดออกลูกเป็นไข่
มีสัตว์มีกระดูกสันหลังอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่ออกลูกเป็นไข่

รูปแบบของประโยคตรรกวิทยา
ประพจน์หรือประโยคโดยทั่วไป เมื่อจะนามาพิจารณาการให้เหตุผล ควรจะต้องเปลี่ยนประโยคเหล่านั้นให้
มีรูปแบบเป็นประโยคทางตรรกวิทยาเสียก่อน ซึ่งรูปแบบจะมีองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ ประธาน ตัวเชื่อม และ
ภาคแสดง
ประธาน มีลักษณะเป็นคานาม แสดงสิ่งที่กล่าวถึง ซึ่งอาจเป็นคาหรือกลุ่มคาก็ได้ทาหน้าที่เป็นประธาน
ของประโยค
ตัวเชื่อม เป็นคาที่อยู่ระหว่างประธานกับภาคแสดง มี 2 ประเภทคือ ตัวเชื่อมยืนยัน ได้แก่คาว่า
“เป็น” และตัวเชื่อมปฏิเสธ ได้แก่ “ไม่เป็น”
ภาคแสดง มีลักษณะเป็นคานาม ซึ่งเป็นการแสดงออกของประธาน (ทั้งประธานและภาคแสดง อาจใช้
คาว่า “เทอม”แทนได้)
พิจารณาการแยกองค์ประกอบของข้อความต่อไปนี้
(1) นายวีระเป็นคนดี
ประธาน ได้แก่ “นายวีระ”
ตัวเชื่อม ได้แก่ “เป็น”
ภาคแสดง ได้แก่ “คนใจดี”
(2) คนบางคนไม่เป็นทหาร
ประธาน ได้แก่ “คนบางคน”
ตัวเชื่อม ได้แก่ “ไม่เป็น”
ภาคแสดง ได้แก่ “ทหาร”

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 36

วิธีเปลี่ยนประโยคทั่วไปเป็นประโยคตรรกวิทยา ทาได้ดังนี้
1. กาหนดเทอมแรกเป็นประธาน แล้วใช้คาว่า “เป็น” หรือ “ไม่เป็น” แล้วแต่กรณี เป็นตัวเชื่อม
หลังประธาน แล้วกาหนดเทอมหลังเป็นภาคแสดงของประธาน เช่น
ประโยคทั่วไป :สุนัขมีหาง
ประโยคตรรกวิทยา :สุนัข เป็น สิ่งที่มีหาง

ประธาน ตัวเชื่อม ภาคแสดง

ประโยคทั่วไป :ต้นไม้ทุกชนิดรับประทานได้

ประโยคตรรกวิทยา :ต้นไม้บางชนิด เป็น สิ่งที่รับประทานได้

ประธาน ตัวเชื่อม ภาคแสดง


2. ถ้าคาว่า “ไม่” อยู่ที่ภาคแสดง ให้ใช้คาว่า “ไม่” มาอยู่ที่ตัวเชื่อม เพื่อให้ยังคงมีความหมายเดิม
เช่น
ประโยคทั่วไป :นารีไม่ชอบสีแดง
ประโยคตรรกวิทยา :นารี ไม่เป็น ผู้ชอบสีแดง

ประธาน ตัวเชื่อม ภาคแสดง


หรือ :นารี เป็น ผู้ไม่ชอบสีแดง

ประธาน ตัวเชื่อม ภาคแสดง


ซึ่งประโยคตรรกวิทยาแบบแรกถือว่าปกติกว่าแบบหลัง และเป็นที่นิยมกว่าแบบหลัง
3. ถ้าคาว่า “ไม่” อยู่ที่ประธาน ต้องพิจารณาความหมายแต่ละกรณีดังนี้
1) ถ้ามีความหมายว่า ปฏิเสธประธานทั้งหมด จะสามารถย้ายคาว่า “ไม่” มาอยู่ที่ ตัวเชื่อม
เพื่อให้ความหมายไม่เปลี่ยนแปลง เช่น
ประโยคทั่วไป :ไม่มีตุ๊กตาตัวใดหายใจได้
ประโยคตรรกวิทยา :ตุ๊กตาทุกตัว ไม่เป็น สิ่งที่หายใจได้

ประธาน ตัวเชื่อม ภาคแสดง


2) ถ้ามีความหมายว่า ปฏิเสธประธานเพียงบางส่วน จะไม่สามารถย้ายคาว่า “ไม่” มาอยู่ที่
ตัวเชื่อม หรือจากตัวเชื่อม จะย้ายมาอยู่ที่ประธานไม่ได้ เพราะทาให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไป
จากเดิม เช่น
ประโยคทั่วไป :คนไม่ขยันบางคนเป็นคนยากจน

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 37

ถ้ า เปลี่ ย นเป็ น “คนขยั น บางคนไม่ เ ป็ น คนยากจน” หรื อ “คนขยั น บางคนเป็ น คนที่ ไ ม่ ย ากจน” จะเห็ น ว่ า
ความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เพราะคนขยันบางคนอาจเป็นผู้ที่ยากจนหรือไม่ยากจนก็ได้ กรณีเช่นนี้จะต้อง
คงประโยคเดิมไว้

2. โครงสร้างของการให้เหตุผล
กระบวนการให้เหตุผลเป็นกระบวนการที่นาข้อความ หรือประพจน์ที่กาหนดให้ ซึ่งเรียกว่า เหตุ (โดย
อาจมีมากกว่า 1 เหตุ) มาเป็นข้ออ้าง ข้อสนับสนุนหรือแจกแจงความสัมพันธ์ เพื่อให้ได้ข้อความใหม่ ซึ่งเรียกว่า
ผลสรุป หรือ ข้อสรุป ซึ่งอาจแสดงได้ดังนี้

เหตุ 1
เหตุ 2 ผลสรุป
------

โดยทั่วไปกระบวนการให้เหตุผลมี 2 ลักษณะคือ
1. การให้เหตุผลแบบนิรนัย
2. การให้เหตุผลแบบอุปนัย

(1) การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นการให้เหตุผลโดยนาข้อความที่กาหนดให้ ซึ่งต้องยอมรับว่าเป็นจริงทัง


หมด มาเป็นข้ออ้างและสนับสนุนเพื่อสรุปเป็นข้อความจริงใหม่ข้อความที่เป็น ข้ออ้างเรียกว่า เหตุ และข้อความ
จริงใหม่ที่ได้เรียกว่า ผลสรุป หรือข้อสรุป ซึ่งถ้าพบว่าเหตูที่กาหนดนั้นบังคับให้เกิดผลสรุป แสดงว่า การให้
เหตุผลดังกล่าวสมเหตุส มผล แต่ถ้าพบว่าเหตุที่กาหนดนั้นบังคับให้เกิดผลสรุปไม่ได้ แสดงว่า การให้เหตุผ ล
ดังกล่าวไม่สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 1 เหตุ 1 :คนทุกคนต้องหายใจ


2 :นายเด่นเป็นคนดี
ผลสรุป :นายเด่นต้องหายใจ
จะเห็นได้ว่า จากเหตุ 1 และ 2 บังคับให้เกิดผลสรุป ดังนั้นการให้เหตุผลนี้สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 2 เหตุ 1 :คนทุกคนต้องหายใจ


2 :ไมค์หายใจได้
ผลสรุป :ไมค์เป็นคน
จะเห็นว่า จากเหตุ 2 ไมค์หายใจได้ และจากเหตุ 1 ระบุว่าคนทุกคนต้องหายใจได้ หมายความว่า คน
ทุกคนเป็นสิ่งที่หายใจได้ นั่นคือสิ่งที่หายใจได้อาจมีหลายสิ่ง และการที่ไมค์หายใจได้ ก็ไม่สามารถระบุได้ว่า ไมค์
จะต้องเป็นคนเสมอไป อาจเป็นสิ่งอื่นที่ไม่ใช่คนแต่หายใจได้ ก็อาจเป็นได้ ดังนั้นจะเห็นว่า เหตุ 1 และเหตุ 2
บังคับให้เกิดผลสรุปไม่ได้ แสดงว่า การให้เหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล
โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 38

(2) การให้ เหตุผ ลแบบอุ ป นั ย เป็ นการให้ เหตุผ ลโดยอาศัย ข้ อสั งเกตหรื อผลการทดลองจากหลาย ๆ
ตัวอย่าง มาสรุปเป็นข้อตกลง หรือข้อคาดเดาทั่วไป หรือคาพยากรณ์ ซึ่งจะเห็นว่าการจะนาข้อสังเกต หรือผลการ
ทดลองจากบางหน่วย มาสนับสนุนให้ได้ข้อตกลง หรือ ข้อความทั่วไปซึ่งกินความถึงทุกหน่วย ย่อมไม่สมเหตุสมผล
เพราะเป็ น การอนุ ม านเกิ น สิ่ ง ที่ ก าหนดให้ ซึ่ ง หมายความว่ า การให้ เ หตุ ผ ลแบบอุ ป นั ย จะต้ อ งมี ก ฎของความ
สมเหตุสมผลเฉพาะของตนเอง นั่นคือจะต้องมีข้อสังเกต หรือผลการทดลอง หรือ มีประสบการณ์ที่มากมายพอที่
ปักใจเชื่อได้ แต่ก็ยังไม่สามารถแน่ใจในผลสรุปได้เต็มที่ เหมือนกับการให้เหตุผลแบบนิรนัย ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการ
ให้เหตุผลแบบนิรนัยจะให้ความแน่นอน แต่การให้เหตุผลแบบอุปนัย จะให้ความน่าจะเป็น
ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย เช่น เราเคยเห็นว่ามีปลาจานวนมากที่ออกลูกเป็นไข่เราจึงอนุมานว่า
“ปลาทุกชนิดเป็นไข่” ซึ่งกรณีนี้ถือว่าไม่สมเหตุสมผล ทั้งนี้เพราะ ข้อสังเกต หรือ ตัวอย่างที่พบยังไม่มากพอที่จะ
สรุป เพราะโดยข้อเท็จจริงแล้วมีปลาบางชนิดที่ออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาหางนกยูง เป็นต้น
โดยทั่วไปการให้เหตุผลแบบอุปนัยนี้ มักนิยมใช้ในการศึกษาค้นคว้าคุณสมบัติต่าง ๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์
เช่น ข้อสรุปที่ว่า การสกัดจากสะเดาสามารถใช้เป็นยากาจัดศัตรูพืชได้ ซึ่งข้อสรุปดังกล่าวมาจากการทา การ
ทดลองซ้า ๆ กันหลาย ๆ ครั้ง แล้วได้ผลการทดลองที่ตรงกันหรือในทางคณิตศาสตร์จะใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย
ในการสร้างสัจพจน์ เช่น เมื่อเราทดลองลากเส้นตรงสองเส้นให้ตัดกัน เราก็พบว่าเส้นตรงสองเส้นจะตัดกันเพียงจุด
ๆ เดียวเท่านั้น ไม่ว่าจะทดลองลากกี่ครั้งก็ตาม เราก็อนุมานว่า “เส้นตรงสองเส้นตัดกันเพียง จุด ๆ เดียวเท่านั้น”

3. การตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผลทางตรรกศาสตร์ มีวิธีการใช้กฎเกณฑ์และรูปแบบต่าง ๆ หลายแบบ
ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะกรณีที่ใช้แผนภาพกับการใช้เหตุผลเชิงอนุมาน เท่านั้น
3.1 การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้แผนภาพ
ในการพิจารณาความสมเหตุสมผลกับการให้เหตุผล อาจทาได้โดยใช้แผนภาพซึ่งใช้รูปปิด เช่น วงกลม
หรือวงรี แทนเทอมต่าง ๆ ซึ่งทาหน้าที่เป็นประธานและภาคแสดงในประโยค
ตรรกวิทยา แล้วเขียนรูปปิดเหล่านั้นตามความสัมพันธ์ของเหตุที่กาหนดให้ จากนั้นจึงพิจารณาความสมเหตุสมผล
จากแผนภาพที่ได้

แผนภาพที่ใช้ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผลมีรูปแบบมาตรฐาน 4 รูปแบบดังนี้
รูปแบบที่ 1 “ A ทุกตัวเป็น B ”
B
A

ส่วนที่แรเงา แสดงว่า “A ทุกตัวเป็น B ”

รูปแบบที่ 2 “ A บางตัวเป็น B ”
โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 39

ส่วนที่แรเงาแสดงว่า “ A บางตัวเป็น B ”

รูปแบบที่ 3 “ ไม่มี A ตัวใดเป็น B ” หรือ “A ทุกตัวไม่เป็น B”


A B

ส่วนที่แรเงา แสดงว่า “ ไม่มี A ตัวใดเป็น B”


ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับ “ A ทุกตัวไม่เป็น B ”

รูปแบบที่ 4 “ A บางตัวไม่เป็น B ”
A B

ส่วนที่แรเงา แสดงว่า “ A บางตัวไม่เป็น B ”

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 40

วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล โดยใช้แผนภาพ มีหลักการดังนี้


1. เปลี่ยนประโยคหรือข้อความทั่วไปให้เป็นประโยคตรรกวิทยา เพื่อแยกเทอมและตัวเชื่อม
2. ใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของเทอมต่าง ๆ ในเหตุ 1 และในเหตุ 2 ตามรูปแบบมาตรฐาน
3. นาแผนภาพในข้อ 2 มารวมกันหรือซ้อนกัน จะได้แผนภาพรวมของเหตุ 1 และเหตุ 2 ซึ่ง
แผนภาพรวมดังกล่าวอาจเกิดได้หลายรูปแบบ
4. นาผลสรุปที่กาหนด มาวิเคราะห์ความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาความสอดคล้องกันระหว่ าง
ผลสรุปกับแผนภาพรวม ดังนี้
1) ถ้าผลสรุ ป ไม่สอดคล้ องกับ แผนภาพรวมอย่างน้อย 1 รูปแบบ แสดงว่าการให้ เหตุผ ลนี้ ไม่
สมเหตุสมผล
2) ถ้าผลสรุปสอดคล้องกับแผนภาพทุกรูปแบบ แสดงว่าการให้เหตุผลนี้สมเหตุสมผล
ตัวอย่าง 3 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ
เหตุ 1 : คนดีทุกคนไว้วางใจได้
เหตุ 2 : คนที่ไว้วางใจได้ทุกคนเป็นคนซื่อสัตย์
ผลสรุป : คนดีทุกคนเป็นคนซื่อสัตย์
วิธีทา เหตุ 1 : คนดีทุกคน เป็น คนที่ไว้วางใจได้
เหตุ 2 : คนที่ไว้วางใจ ได้ทุกคน เป็น คนซื่อสัตย์
ผลสรุป : คนดีทุกคน เป็น คนซื่อสัตย์
จากเหตุ 1
คนที่ไว้วางใจได้

คน
ดี
จากเหตุ 2

คนซื่อสัตย์
คนที่ไว้วางใจ
ได้ คน
ดี

จากแผนภาพจะเห็นว่า วง “คนดี” อยู่ในวงของ “คนซื่อสัตย์” แสดงว่า “คนดีทุกคนเป็น


คนซื่อสัตย์” ซึ่งสอดคล้องกับผลสรุปที่กาหนด ดังนั้น การให้เหตุผลนี้สมเหตุสมผล

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 41

ตัวอย่าง 4 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผลต่อไปนี้ โดยใช้แผนภาพ


เหตุ 1 : ชาวภูเก็ตเป็นคนไทย
เหตุ 2 : ชาวใต้เป็นคนไทย
ผลสรุป : ชาวภูเก็ตเป็นชาวใต้
วิธีทา เหตุ 1 : ชาวภูเก็ตทุกคน เป็น คนไทย
เหตุ 2 : ชาวใต้ทุกคน เป็น คนไทย
ผลสรุป : ชาวภูเก็ตทุกคน เป็น ชาวใต้
จากเหตุผล 1
คนไทย
ชาว
ภูเก็ต
จากเหตุ 2 จะได้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งจาก 4 รูปแบบต่อไปนี้
รูปแบบที่ 1
คนไทย
ชาว ชาวใต้
ภูเก็ต

รูปแบบที่ 2

คนไทย
ชาว ชาวใต้
ภูเก็ต

รูปแบบที่ 3

คนไทย

ชาวใต้
ชาว
ภูเก็ต

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 42

รูปแบบที่ 4

คนไทย

ชาวภูเก็ต
ชาว
ใต้

จากแผนภาพจะเห็นว่า รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 และรูปแบบที่ 4 นั้นไม่สอดคล้องกับ


ผลสรุปที่ว่า ชาวภูเก็ตทุกคนเป็นชาวใต้
ดังนั้น การให้เหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 5 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ
เหตุ 1 : สมุนไพรบางชนิดมีโทษต่อร่างกาย
เหตุ 2 : สมุนไพรบางชนิดใช้รักษาโรคได้
ผลสรุป : สิ่งที่มีโทษต่อร่างกายบางชนิดใช้รักษาโรคได้
วิธีทา เหตุ 1 : สมุนไพรบางชนิด เป็น สิ่งที่มีโทษต่อร่างกาย
เหตุ 2 : สมุนไพรบางชนิด เป็น สิ่งที่ใช้รักษาโรคได้
ผลสรุป : สิ่งที่มีโทษต่อร่างกายบางชนิด เป็น สิ่งที่ใช้รักษาโรคได้

จากเหตุ 1
สมุนไพร สิง่ ที่มีโทษ
ต่อ
ร่างกาย
จากเหตุ 2 จะได้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งจาก 5 รูปแบบ ต่อไปนี้

รูปแบบที่ 1

สมุนไพร สิง่ ที่มีโทษ


ต่อ
ร่างกาย
สิ่งที่ใช้
รักษาโรค

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 43

รูปแบบที่ 2

สิ่งที่มีโทษ
สมุนไพร ต่อร่างกาย
สิ่งที่ใช้
รักษาโรคได้

รูปแบบที่ 3
สิ่งที่ใช้รักษาโรค
ได้
สิ่งที่มีโทษ
ต่อร่างกาย
สมุนไพร

รูปแบบที่ 4

สิ่งที่มีโทษต่อร่างกาย

สิ่งที่ใช้รกั ษา
สมุนไพร
โรคได้

จากแผนภาพจะเห็นว่า รูปแบบที่ 2 ไม่สอดคล้องกับผลสรุปที่ว่า สิ่งที่มีโทษต่อร่างกาย


บางชนิดเป็นสิ่งที่ใช้รักษาโรคได้
ดังนั้น การให้เหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 44

ตัวอย่าง 6 กาหนดให้ เหตุ 1 : ไม่มีมนุษย์คนใดเลยที่บินได้


เหตุ 2 : ใช่ว่านกทั้งหมดจะบินได้
จะสรุปได้หรือไม่ว่า มนุษย์บางคนเป็นนก
วิธีทา จากเหตุ 1 : มนุษย์ทุกคนไม่เป็น สิ่งที่บินได้
เหตุ 2 : นกบางชนิด ไม่เป็น สิ่งที่บินได้
ผลสรุป : มนุษย์บางคน เป็น นก
จากเหตุ 1

มนุษย์ สิ่งที่บิน
ได้
จากเหตุ 2 จะได้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งจาก 4 รูปแบบ ต่อไปนี้
รูปแบบที่ 1

สิ่งที่บินได้ นก
มนุษย์

รูปแบบที่ 2

มนุษย์ สิ่งที่บินได้

นก
รูปบแบบที่ 3

มนุษ
นก ย์ สิ่งที่บินได้

รูปแบบที่ 4
นก
มนุษ สิ่งที่บิน
ย์ ได้

จากแผนภาพจะเห็นได้ว่า รูปแบบที่ 1 ไม่สอดคล้องกับผลสรุป


ดังนั้น จึงไม่สามารถสรุปได้ว่า มนุษย์บางคนเป็นนก

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 45

3.2 การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้เหตุผลเชิงอนุมาน
เนื่องจากการให้เหตุผลเชิงอนุมานมีรูปแบบมาตรฐานของประโยคที่สมเหตุสมผลใน
ตัวเอง โดยอนุมานสรุปจากกลุ่มของประโยคเหตุ และมีกฎการให้เหตุผลเฉพาะแบบหลัก ๆ 5 แบบ
ดังนี้
3.2.1 การแจงผลตามเหตุ (modus ponens)
ซึ่งระบุว่า
เหตุ ถ้า ก แล้ว ข และ ก เป็นจริง
ผลสรุป ข ก็จะสมเหตุสมผล
ตัวอย่าง
เหตุ (1) ถ้าพรุ่งนี้ฝนตกแล้วการแข่งขันจะถูกยกเลิก
(2) ถ้าการแข่งขันถูกยกเลิก ทีมเราจะแพ้
(3) ฝนจะตกพรุ่งนี้
จาก (1) และ (3) เราสามารถอนุมาน (4) ได้ ตามการให้เหตุผลแบบ การแจงผลตามเหตุ คือ
(4) เกมจะถูกยกเลิก
จาก (2) และ (4) เราสามารถสรุป (5) ได้ว่า
(5) ทีมเราต้องแพ้แน่ๆ
ตัวอย่างที่ให้เป็นการอนุมานที่สมเหตุสมผล หมายถึง เมื่อประโยคเหตุ (1) ถึง (3) เป็นจริง
ข้อสรุป (5)จะต้องเป็นจริง และถ้าประโยคเหตุไม่เป็นจริง ในกรณีนี้ข้อสรุปก็ไม่จาเป็นต้องจริง การ
ให้เหตุผลเชิงตรรกะไม่จาเป็นต้องตรวจสอบความจริงของประโยคเหตุ จะสนใจเพียงว่าประโยคเหตุ
นาไปสู่ข้อสรุปที่สมเหตุสมผลหรือไม่

3.2.2 การแจงผลค้านเหตุ (modus tollens)


ซึ่งระบุว่า
เหตุ ถ้า ก แล้ว ข และ ปฏิเสธ ข
ผลสรุป ปฏิเสธ ก จะสมเหตุสมผล
ตัวอย่าง
เหตุ (1) ถ้าวันนี้แดดออกแล้วเราจะไปว่ายน้า
(2) ถ้าเราไปว่ายน้าเราจะมีความสุข
(3) เราไม่มีความสุข
เมื่อใช้ รูปแบบการแจงผลค้านเหตุ จาก เหตุ (2) และ (3) แล้ว สรุปเป็น (4) ได้ว่า
(4) เราไม่ได้ไปว่ายน้า
เมื่อใช้ รูปแบบการแจงผลค้านเหตุ จาก เหตุ (1) และ (4) แล้ว สรุปเป็น (5) ได้ว่า
(5) วันนี้แดดไม่ออก

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 46

3.2.3 ตรรกบทแบบสมมุติฐาน (hypothetical syllogism)


ซึ่งระบุว่า
เหตุ ถ้า ก แล้ว ข และ ถ้า ข แล้ว ค
ผลสรุป ถ้า ก แล้ว ค จะสมเหตุสมผล
ตัวอย่าง
เหตุ (1) ถ้าดอกเบี้ยเงินกู้ต่ากว่า 5 % แล้วจะเช่าซื้อบ้านหลังนี้
(2) ถ้าเช่าซื้อบ้านหลังนี้แล้วจะไปทางานทันทุกวัน
(3) ถ้าไปทางานทันทุกวันแล้วจะได้โบนัสสูงตอนสิ้นปี
เมื่อใช้ รูปแบบตรรกบทแบบสมมุติฐาน จาก เหตุ (2) และ (3) แล้ว สรุปเป็น (4) ได้ว่า
(4) ถ้าเช่าซื้อบ้านหลังนี้แล้วจะได้โบนัสสูงตอนสิ้นปี
เมื่อใช้ รูปแบบตรรกบทแบบสมมุติฐาน จาก เหตุ (1) และ (4) แล้ว สรุปเป็น (5) ได้ว่า
(5) ถ้าดอกเบี้ยเงินกู้ต่ากว่า 5 % แล้วจะได้โบนัสสูงตอนสิ้นปี

3.2.4 ตรรกบทแบบตัดออก (disjunction syllogism)


ซึ่งระบุว่า
เหตุ ถ้า ก หรือ ข และ ปฏิเสธ ข
ผลสรุป ก จะสมเหตุสมผล
ในทานองเดียวกัน
เหตุ ถ้า ก หรือ ข และ ปฏิเสธ ก
ผลสรุป ข จะสมเหตุสมผล
ตัวอย่าง
เหตุ (1) หน้าร้อนนี้อาจจะกลับบ้านหรือไม่ก็ ไปเที่ยวล่องทะเล
(2) หน้าร้อนนี้ไม่ได้กลับบ้าน
เมื่อใช้ รูปแบบตรรกบทแบบตัดออก จาก เหตุ (1) และ (2) แล้ว สรุปเป็น (3) ได้ว่า
(3) หน้าร้อนนี้ ไปเที่ยวล่องทะเล
(2.5) รูปแบบการเลือกผลตามเหตุ (constructive dilemma) ซึ่งระบุว่า
เหตุ (1) ถ้า ก แล้ว ข และ ถ้า ค แล้ว ง
เหตุ (2) ก หรือ ค
ผลสรุป ข หรือ ง จะสมเหตุสมผล
ตัวอย่าง
เหตุ (1) ถ้าเดินทางด้วยรถยนต์แล้วจะถึงที่หมายไม่ทันกาหนด และถ้าเดินทางด้วย
เครื่องบินจะถึงที่หมายก่อนกาหนด 1 วัน
เหตุ (2) อาจเดินทางด้วยรถยนต์หรือไม่ก็เครื่องบิน

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 47

เมื่อใช้ รูปแบบการเลือกผลตามเหตุ จากเหตุ (1) และ (2) แล้ว สรุปเป็น (3) ได้ว่า
(3) ถึงที่หมายไม่ทันกาหนด หรือไม่ก็ถึงที่หมายก่อนกาหนด 1 วัน
ปกติการให้เหตุผลเพื่อการตัดสินใจมักจะใช้แบบหลายแบบพร้อม ๆ กัน เช่น
เหตุ (1) ถ้าขาดงานเกิน 15 วัน แล้วจะไม่ผ่านการประเมิน
(2) ถ้าไม่ผ่านการประเมินแล้วจะไม่ได้รับการต่อสัญญา
(3) ถ้ามีผลงานดีเด่นแล้วจะได้รับการต่อสัญญาเป็นกรณีพิเศษ
(4) ถ้ากรณีของอารยา ขาดงานเกิน 15 วันหรือมีผลงานดีเด่น
จะมีข้อสรุปที่สมเหตุสมผลอย่างไร
เมื่อใช้ แบบตรรกบทแบบสมมติฐาน จาก (1) และ (2) แล้ว สรุปเป็น (5) ได้ว่า
(5) ขาดงานเกิน 15 วัน แล้วจะไม่ได้รับการต่อสัญญา
เมื่อใช้ แบบการเลือกผลตามเหตุ จาก (5) ,(3) และ (4) แล้ว สรุปเป็น (6) ได้ว่า
(6) อารยาไม่ได้รับการต่อสัญญาหรือได้รับการต่อสัญญาเป็นกรณีพิเศษ

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 48

การให้เหตุผลผิด ( fallacy)

เหตุผลผิดในที่นี้หมายถึงการคิดที่มีฐานอยู่บนการให้เหตุผลที่ไม่ถูกต้องแม้บางครั้งการให้
เหตุผลดูน่าจะสมเหตุสมผล และมักก่อให้เกิดการตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยการกระทาที่ไม่สอดคล้องกับ
ปัญหาที่เป็นเหตุ พบได้บ่อยในชีวิตประจาวัน เช่นนักแสดงคนหนึ่งให้สัมภาษณ์ว่าช่ว งนี้ดวงไม่ดี
เกิดอุบัติเหตุบ่อย งานไม่ค่อยมี ต้องไปนุ่งขาวห่มขาวบวชเป็นชีพราหมณ์สะเดาะเคราะห์ ลักษณะ
ของการให้เหตุผลผิดมีหลายลักษณะเช่นอาจเนื่องมาจาก ให้เหตุผลผิดแบบแผน การเล่นคา เล่น
สานวน เพื่อให้เกิดความคล้องจอง การสรุปจากเหตุที่เป็นเท็จ ซึ่งเราอาจแบ่งลักษณะของเหตุผลผิด
ได้ 3 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 เหตุผลผิดแบบแผน (formal fallacy)
เหตุผลผิดแบบแผน ได้แก่ การให้เหตุผลที่ผิดแบบทางตรรกศาสตร์ เช่น
ก. การนาเงื่อนไขเป็นผล เช่น
“ ถ้าสถาบันไม่จ่ายเงินงวดค่าก่อสร้างงวดที่สี่แล้วบริษัทก่อสร้างทางานไม่เสร็จตามสัญญา” และ
“ที่บริษัทก่อสร้างทางานไม่เสร็จตามสัญญาแล้วสถาบันไม่จ่ายเงินค่าก่อสร้างงวดที่สี่”
ประโยคอ้างอิงดังกล่าวไม่สามารถที่จะหาข้อสรุปที่สมเหตุสมผลได้
ข. การสรุปนอกประเด็น เกิดขึ้นในกรณีที่ผู้พูดไม่สามารถหาเหตุผลมาอ้างอิงได้เหมาะสม
จึงอ้างเหตุการณ์เฉพาะหน้าหรืออ้างเหตุการณ์เท่าที่มีความรู้อยู่ หรืออาจเป็นคนละประเด็นกับเรื่องที่
กาลังพูดกันอยู่ เช่น
ในการประชุมครูใหญ่กล่าวว่า “ ผมรู้นะว่าใครทิ้งชั่วโมงสอน“ ครูคนหนึ่งถามว่า
”ทาไมท่านจึงไม่ดาเนินการทางวินัย “ ครูใหญ่ตอบว่า “ เพราะไม่มีใครเป็นต้นเรื่องทาบันทึกแจ้งผม”
การอ้างเหตุของครูใหญ่ดูคล้ายกับว่าจะสมเหตุสมผลเป็นคนละประเด็นกับคาถาม เนื่องจากครูใหญ่
กล่าวไว้แต่ต้นแล้วว่าใครทิ้งชั่วโมงสอนจึงไม่จาเป็นต้องมีบันทึกบอก
ค. การสรุปเกินข้ออ้าง เป็นลักษณะที่ผิดอีกลักษณะหนึ่ง คือ ประโยคเหตุไม่ครอบคลุม
ประโยคสรุปทั้งหมด เช่น
“ มีนักศึกษาบางคนเล่นพนันบอลกันในสถาบัน แสดงว่าความประพฤติของนักศึกษาสถาบัน
นี้แย่มากชอบเล่นการพนันทาให้สถาบันเสื่อมเสีย ” ลักษณะของการให้เหตุผลผิด คือ เหตุกล่าวถึง
บางส่วน แต่ข้อสรุปกล่าวถึงทั้งหมด

ประเภทที่ 2 เหตุผลผิดทางเนื้อหา (material fallacy)


เหตุผลผิดทางเนื้อหา หมายถึง การให้เหตุผลที่ไม่ถูกต้องอันเนื่องมาจากเนื้อหาไม่ชัดเจน
เนื้อหาผิด หรือเนื้อหาไม่เพียงพอที่จะใช้อ้างอิง มีแบบ ดังนี้
ก. ข้อผิดพลาดในการให้นิยาม วัตถุประสงค์ของการให้นิยามเพื่อระบุอย่างแจ่มชัดว่าสิ่ง
นั้นหมายถึงอะไร ผู้อ่านนิยามจะเข้าใจสาระของแนวคิดนั้นได้ทันทีโดยไม่ต้องมีตัวช่วยจากภายนอก

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 49

แต่การให้นิยามนั้นมีข้อผิดพลาดที่ทาให้เข้าใจผิดแล้วนาไปสู่ก ารคิดและตัดสินใจผิดได้ซึ่งจาแนกเป็น
5 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 นิยามที่กว้างเกินไป หมายถึง นิยามที่นาเอาสิ่งที่ไม่จาเป็นเอามา
รวมเข้าเป็นนิยาม เช่น ส้ม คือ สิ่งที่มีสีเหลืองและกลม (พระจันทร์ก็มีสีเหลืองและกลมซึ่งก็อยู่
ในนิยามนี้แต่พระจันทร์กไ็ ม่ใช่ส้ม)
ประเภทที่ 2 นิ ย ามแคบเกินไป หมายถึง นิยามที่ไม่ได้รวมสิ่ งที่ควรจะรวม เช่น
หนังสือโป๊ คือ หนังสือที่มีภาพเปลือยของคนอยู่ข้างใน แต่หนังสือบางประเภทไม่มีภาพเปลือยของคน
ก็ถูกจัดว่าเป็นหนังสือโป๊เช่นกัน แสดงให้เห็นว่านิยามนี้แคบไป
ประเภทที่ 3 นิ ย ามที่ ใ ช้ ค าซึ่ ง ท าให้ ชัดเจนได้ ยาก ความผิ ด พลาดของนิยาม
ประเภทนี้ คือ ตัวนิยามเข้าใจยากกว่าเทอมที่นิยาม เช่นวัตถุจะสวยก็ต่อเมื่อประสบความสาเร็จใน
เชิงสุนทรียเท่านั้น ความสาเร็จในเชิงสุนทรียเข้าใจยากกว่าคาว่าความสวย
ประเภทที่ 4 นิยามที่วกวน หมายถึง การนาเอาถ้อยคาที่นิยามมานิยามเทอมที่
ต้องการนิยาม เช่น สัตว์เป็นมนุษย์ก็ต่อเมื่อมีพ่อแม่เป็นมนุษย์ เทอมที่ต้องนิยามในที่นี้คือมนุษย์ แต่
แทนที่จะหาคาว่ามนุษย์ เราจะต้องค้นหาพ่อแม่มนุษย์ ซึ่งการจะหาพ่อแม่มนุษย์ก็จาเป็นต้องรู้ว่า
มนุษย์คืออะไรเสียก่อน
ประเภทที่ 5 นิยามที่มีเงื่อนไขขัดแย้ง หมายถึง การนิยามที่ใช้เงื่อนไขขัดกันภายใน
เช่น ผู้ที่จะขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู จะต้อง (1) ไม่เคยเป็นครูมาก่อน (2) มีประสบการณ์
ในการสอนมาไม่ต่ากว่า 1 ปี ซึ่งทั้ง 2 ข้อจะแย้งกันเอง ไม่สามารถจะเป็นจริงพร้อมกั นถ้าเหตุหนึ่ง
เป็นจริงอีกเหตุหนึ่งจะเป็นเท็จ
ข. การสรุปเร็วเกินไป เป็นลักษณะของการให้ เหตุผ ลแบบอุปมาน สิ่งที่ทาให้การให้
เหตุผลไม่ถูกต้องเนื่องมาจากประสบการณ์หรือข้อมูลยังมีไม่เพียงพอที่จะสรุปได้ เช่น ในการพูดถึง
บุคคลผู้หนึ่งเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการเข้าดารงตาแหน่งผู้จัดการสหกรณ์ของโรงเรียน มีข้อ
ถกเถียงถึงคุณสมบัติ ดังนี้
“ อาจารย์คนนี้เงินเดือนไม่กี่พัน ขับรถยุโรปป้ายแดง อย่างนี้คอร์รัปชันแน่ๆ ” .การให้
เหตุผลนี้ถือว่าสรุปเร็วเกินไปเนื่องจากการขับรถยุโรปป้ายแดง มีเหตุผลประกอบได้หลายข้อ ไม่ได้ มา
จากการคอร์รัปชันเท่านั้น การสรุปที่ใช้เงื่อนไขเดียวโดยไม่ดูเงื่อนไขอื่นถือว่ารีบสรุปเกินไปทาให้
ตัดสินใจผิด และเกิดความขัดแย้งได้ภายหลัง
ค. การสรุ ป จากเหตุที่เป็ นเท็จ ปรกติแล้ ว ถ้าเรารู้เหตุเราสามารถจะยื นยันผลที่ เ กิ ด
ตามมาได้อย่างสมเหตุสมผลตามหลักการอนุมาน แต่ถ้าเหตุเป็นเท็จก็จะไม่สามารถยืนยันข้อสรุปได้
มักจะพบบ่อยว่าการให้เหตุผลผิดแบบนี้เป็นสาเหตุของการโต้เถียงเมื่อฝ่ายหนึ่งยกข้อเสนอที่ไม่จริง
หรือต่างฝ่ายยกข้อเสนอที่ไม่จริง เช่นในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรเป็นต้น หรือตัวอย่างบางกรณี
ของการตัดสินความในศาล ถ้าเหตุผลที่อ้างเป็นเท็จมีแนวโน้มที่ผู้ต้องหาจะไม่ผิดเพราะสิ่งที่อ้าง
ไม่มานาไปสู่ข้อสรุปไม่ได้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 50

ง. ใช้ผลลัพธ์ยืนยันเหตุ การให้เหตุผลบางกรณีจะรอให้เกิดผลก่อนแล้วจึงยืนยันว่าเหตุ
เป็นจริง ซึ่งแสดงว่าไม่ว่าจะอ้างเหตุอย่างไรจะทาให้เกิดผลเช่นนี้แ น่นอน เช่น “ งานโครงการนี้
สาเร็จได้ด้วยดี เพราะได้บนเจ้าที่เจ้าทางไว้ก่อนแล้ว ” เรามักพบว่ามีคนจานวนมากอ้างในลักษณะ
ดังกล่าวนี้ และมีคนจานวนมากเชื่อการกล่าวอ้างแบบนี้เนื่องจากมีผลเกิดขึ้นจริง ข้อสังเกตคือเมื่อผล
เกิ ด ขึ้ น แล้ ว ไม่ ว่ า จะอ้ า งเหตุ อ ย่ า งไรจะไม่ ท าให้ ผ ลเปลี่ ย นเป็ น อย่ า งอื่ น ส าหรั บ กรณี ตั ว อย่ า ง
ข้อเท็จจริงคือโครงการดังกล่าวสาเร็จได้ด้วย การวางแผนและการดาเนินการที่ดีจึงทาให้โครงการ
สาเร็จ
จ. การอ้างข้อสนั บสนุ นด้านเดียว เป็นการอ้างโดยเลื อกเฉพาะสิ่ งที่นามาสนั บสนุน
ความคิดของตน และละเลยส่วนที่ จะมาลบล้างความคิด เช่น “ รับราชการดีกว่าอาชีพอื่น ๆ เพราะ
มีเงินเดือนแน่นอนทุกเดือน เงินเดือนขึ้นทุกปี ไม่ว่าจะทางานมากหรือทางานน้อย มีสวัสดิการอื่น ๆ
เช่น ค่าพยาบาล ค่าเช่าบ้าน ค่าเล่าเรียนบุตร ถึงแม้จะเกษียณไปแล้วก็ยังมีเงินเดือนใช้” ซึ่งทั้งหมด
นี้ไม่ได้กล่าวถึงข้อเสีย เช่น ความไม่เป็นอิสระในการทางาน ค่าตอบแทนต่า หรือ อื่น ๆ ซึ่งเป็น
จุดอ่อนของการรับราชการ

ประเภทที่ 3 เหตุผลผิดทางจิตวิทยา (Psychological fallacy)


เหตุผลวิบัติทางจิตวิทยา ได้แก่ การสร้างสถานการณ์ให้เกิด ความรู้สึกคล้อยตามโดยได้รับ
อิทธิพลจากอารมณ์ซึ่งมีโอกาสทาให้การให้เข้าใจผิดได้ มีลักษณะของเหตุผลผลต่างๆ ดังนี้
ก. การอ้างผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญ ปรกติการอ้างผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญนั้นใช้กันอยู่ทั่วไปซึ่งถือว่า
สมเหตุสมผล ถ้าอ้างในเรื่องที่ต่างไปจากความเชี่ยวชาญของผู้รู้นั้น ก็ถือว่าไม่สมเหตุส มผล เช่น
“งานวิจัยการออกแบบกระบวนการบริหารฉบับนี้ผ่านการวิพากษ์จาก รศ.ดร.นิพนธ์ แล้วและแก้ไข
ตามคาวิพากษ์แล้วน่าจะสมบูรณ์และยอมรับได้ ” ถ้า รศ.ดร.นิพนธ์ เป็นผู้เชี่ยวชาญการเกี่ยวกับการ
ออกแบบกระบวนการบริหารก็ถือว่าสมเหตุสมผล แต่ถ้า รศ.ดร.นิพนธ์ ไม่เป็นผู้เชี่ยวชาญการในเรื่อง
ดังกล่าวก็ถือว่าไม่สมเหตุสมผล
ข. อ้างประเพณีหรือความเชื่อ เป็นลักษณะการให้เหตุผลตามความเชื่อในกฎเกณฑ์ที่ตั้ง
ขึ้นมานานแล้ว ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันหรืออ้างความเชื่อในสิ่งที่ไม่ อาจพิสูจน์ได้ เช่น
“ ในเมืองไทยยังไม่เคยมีผู้หญิงบวชพระ คงอนุญาตให้คุณบวชไม่ได้”
ค. อ้ า งจ านวน ซึ่ ง หมายถึ ง การใช้ข นาดเป็ นสิ่ งสนับ สนุ น ความเห็ นซึ่ ง บางกรณี ก็ไม่
สามารถใช้อ้างอิงได้ เช่น “ ผมเห็นนักศึกษาส่วนใหญ่ไม่แต่งเครื่องแบบเข้าเรียน ผมเลยไม่ใส่บ้าง
เพื่อจะได้ไม่ต่างกับคนอื่น” กรณีดังกล่าวเหตุผลที่อ้างไม่ถูกต้องเนื่องจากข้ออ้างที่เป็นนักศึกษา
ส่วนใหญ่นั้นไม่ถูกต้อง
ง. อ้างอานาจ หมายถึงการใช้อานาจที่เหนือกว่าเป็นข้ออ้างเพื่อให้ดูหนักแน่นน่าเชื่อถือ
และไม่กล้าสรุปแย้ง เช่น “ ในฐานะที่ผมเป็นอาจารใหญ่ผมคิดว่าอาจารย์เวรควรมีหน้าที่ในการจับผู้
ที่ เ ข้ า มาขโมยของของโรงเรี ย น” เนื่ อ งจากผู้ อ้ า ง อ้ า งความเป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาท าให้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 51

ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องคล้อยตามทั้งที่อาจารย์เวรไม่จาเป็นต้องมีหน้าที่จับขโมยเพราะเป็นหน้าที่ของ
ยามหรือตารวจ
จ. อ้างความไม่รู้ มีลักษณะของการอ้าง 2 อย่าง คือ อ้างความไม่รู้ของตนเอง และอ้าง
ความไม่รู้ของคนอื่น เช่น “ จะมาโทษผมไม่ได้ที่ให้คุณยกของหนัก ผมจะไปรู้ได้อย่างไรว่าคุณเป็น
โรคหัวใจ” หรือ “ ที่ผมซื้อรถให้ลูกก็เพราะว่าผมรักลูก คุณไม่เคยมีลูกคุณจะรู้ได้อย่างไรว่าพ่อแม่รัก
ลูกแค่ไหน” เหตุผลแรกเป็นการอ้างความไม่รู้ของตนเอง และเหตุผลที่สองเป็นการอ้างความไม่รู้ของ
คนอื่น
ฉ. ขอความเห็นใจ ความเป็นพวกเดียวกัน หรือให้รู้สึกเกรงใจหมายถึง การอ้อนวอน
ขอร้องให้ผู้ฟังเกิดความเห็นใจ การเป็นพวกเดียวกันต้องมีความเห็นคล้อยตามกัน หรือคล้อยตามด้วย
ความเกรงใจ ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับความสมเหตุสมผลได้ เช่น ในการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรมักจะ
เห็นคาหาเสียงของผู้สมัคร เขียนในลักษณะดังนี้
“แพ้เขาแน่ ๆ ถ้าพ่อแม่ไม่เลือก“
“เราเป็นพี่น้องกัน ต้องช่วยกัน”
“โปรดเลือก…………………..ลูกกานัน…………………..ผู้ก่อตั้ง……………..”
จะเห็นว่าเหตุผลที่อ้างทั้งหมดไม่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของผู้ที่จะเป็นผู้แทนราษฎรเหตุผลที่
อ้างถือว่าไม่สมเหตุสมผล

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 52

กิจกรรม
การค้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลในสถานการณ์ปัญหา แล้วคาดเดาคาตอบโดยใช้เหตุผล คาตอบจะ
ถูกต้องได้ ต้องผ่านการตรวจสอบ

1. จงเติมจำนวนที่ตำแหน่ง ให้ถูกต้อง
การคิดเชิงเหตุผล 53

2. จงตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลของกำรให้เหตุผลต่อไปนี้ โดยใช้แผนภำพ
1) เหตุ 1 : คนดีทุกคนไว้วางใจได้
เหตุ 2 : คนที่ไว้วางใจได้ทุกคนเป็นคนซื่อสัตย์
ผลสรุป : คนดีทุกคนเป็นคนซื่อสัตย์

2) เหตุ 1 : สมนุไพรบางชนิดมีโทษต่อร่างกาย
เหตุ 2 : สมุนไพรบางชนิดใช้รักษาโรคได้
ผลสรุป : สิ่งที่มีโทษต่อร่างกายบางชนิดใช้รักษาโรคได้

3) เหตุ 1 : นักกีฬาทุกคนเป็นคนแข็งแรง
เหตุ 2 : นักกีฬาบางคนเป็นคนขยัน
ผลสรุป : คนแข็งแรงบางคนเป็นคนขยัน

4) เหตุ 1 : ขวดเป็นสิ่งมีชีวิต
เหตุ 2 : สิ่งมีชีวติ ย่อมเจริญเติบโต
ผลสรุป : ขวดเจริญเติบโต

5) เหตุ 1 : ไม่มีคนคิดมากคนใดมีความสุข
เหตุ 2 : สิตาไม่มีความสุข
ผลสรุป : สิตาเป็นคนคิดมาก

6) เหตุ 1 : สัตว์น้าบางชนิดเลี้ยงลูกด้วยนม
เหตุ 2 : สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดเป็นสัตว์เลือดอุ่น
ผลสรุป : สัตว์น้าบางชนิดไม่เป็นสัตว์เลือดอุ่น

7) เหตุ 1 : ไม่ว่าใครที่กินนมเป็นประจา จะมีรูปร่างสูงใหญ่


เหตุ 2 : ปานทิพย์มีรูปร่างสูงใหญ่
ผลสรุป : ปานทิพย์กินนมเป็นประจา
การคิดเชิงเหตุผล 54

3. จงตรวจสอบควำมสมเหตุสมผลของกำรให้เหตุผลต่อไปนี้ โดยใช้ตำรำง

1) มีเรือ 3 ลา ลอยอยู่ในทะเล เป็นเรือประมง เรือบรรทุกสินค้า และเรือใบ


ซึ่งมีชื่อว่า จ้าวสมุทร หวานเย็น และ พยัคฆ์คาราม ถ้าทราบข้อมูลว่า
"เรือประมงกาลังออกจากฝั่ง ขณะที่เรือหวานเย็นกาลังมุ่งหน้าเข้าสู่ฝั่ง และเรือจ้าวสมุทรกาลังกางใบอยู่ใกล้
ชายฝั่ง "
จะสรุปได้หรือไม่ว่า " เรือบรรทุกสินค้าชื่อหวานเย็น"

เรือประมง เรือบรรทุก เรือใบ


ประเภท สินค้า
ชื่อเรือ
จ้าวสมุทร

หวานเย็น

พยัคฆ์คาราม
การคิดเชิงเหตุผล 55

2) จ้อย แจ๋ว และแจง นั่งเรียงหน้ากระดาน


ถ้าทราบข้อมูลว่า จ้อยเป็นคนที่พูดจริงเสมอ
แจ๋ว เป็นคนที่พูดเท็จเสมอ
แจง เป็นคนที่พูดจริงบ้าง เท็จบ้าง
และถ้าท่านถามคนที่นั่งข้างซ้ายว่า "ใครนั่งถัดไปจากคุณ" ผู้นั้นตอบว่า "จ้อย"
ถ้าท่านถามคนที่นั่งตรงกลางว่า "คุณชื่ออะไร" ผู้นั้นตอบว่า "แจง"
ถ้าท่านถามคนที่นั่งทางขวาว่า "ใครนั่งข้างคุณ" ผู้นั้นตอบว่า "แจ๋ว"
อยากทราบว่า แต่ละคนนั่งตรงไหน
ตาแหน่งที่นั่ง ซ้าย กลาง ขวา
ชื่อ
จ้อย

แจ๋ว

แจง
การคิดเชิงเหตุผล 56

3) มีนักศึกษา 3 คน ชื่อ มีชัย วันชัย และวิชัย เขาลงทะเบียนเรียนคนละ 3 วิชา จากวิชาต่อไปนี้ คือ


ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และดนตรี โดยที่ไม่มีวิชาใดเลยที่ทั้งสามคน
ลงทะเบียนเรียนเหมือนกัน และถ้าทราบว่า
วันชัยไม่เคยเรียนคณิตศาสตร์เลยตั้งแต่จบ ม. 6
มีชัย กาลังศึกษาประวัติศาสตร์อียิปต์ ขณะที่อีกสองคนไม่ได้เรียนวิชานี้เลย
และวิชัยไม่เคยให้ความสนใจดนตรีเลยแม้แต่น้อย
อยากทราบว่าใครเรียนอะไรบ้าง

วิชา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดนตรี


ชื่อ
มีชัย

วันชัย

วิชัย
การคิดเชิงเหตุผล 57

4) พี่น้อง 3 คน ชื่อ นายทอง นายดาและนายสม แต่ละคนอายุห่างกันคนละ 2 ปี นายทองเป็นคนที่


พูดเท็จเสมอ นายดาเป็นคนที่พูดจริงบ้างเท็จบ้าง ส่วนนายสมเป็นคนที่พูดจริงเสมอ
ถ้าท่านถามคนที่อายุน้อยที่สุดว่า "ใครแก่กว่าคุณ 2 ปี" ผู้นั้นตอบว่า "นายทอง"
ถ้าท่านถามคนกลางว่า "คุณคือใคร" ผู้นั้นตอบว่า "นายดา"
ถ้าท่านถามคนที่อายุมากที่สุดว่า "ใครอ่อนกว่าคุณ 2 ปี " ผู้นั้นตอบว่า "นายสม"
จากข้อมูลดังกล่าวจะสรุปได้หรือไม่ว่า นายทองเป็นพี่คนโต

ลาดับ คนโต คนกลาง คนเล็ก


ชื่อ
นายทอง

นายดา

นายสม
การคิดเชิงเหตุผล 58

4. 1 = 11 = 1
1+3 = 22 = 4
1+3+5 = 33 = 9
จงหาค่าของ 1 + 3 + 5 + ….… + 47

5. จงหาค่าของ 1 + 3 + 5 + 7 + ... + 55

6.

จงหาว่า แทนจานวนใด

7. แดง ดา ดาว และเดือน ได้รับเงินเดือนจานวน 4,500 บาท 5,000 บาท 6,000 บาท และ 7,000 บาท
ดาวมีเงินเดือนมากกว่าเดือนและน้อยกว่าแดง ดามีเงินเดือนน้อยกว่าดาวและมากกว่าเดือน จงเรียงลาดับว่า
ใครมีเงินเดือนเท่าใด จากน้อยไปหามากตามลาดับ
การคิดเชิงเหตุผล 59

8. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
เอก อายุมากกว่า อ้อม แต่น้อยกว่า ดา
แสน อายุมากกว่า เอก แต่น้อยกว่า บอย
ดา อายุมากกว่า บอย
จงเรียงลาดับว่าใครอายุน้อยที่สุดไปหามากที่สุด

9. จงเติมจานวน............ที่ถูกที่สุด
3 , …… , 13 , 21 , 31

4 , …… , 14 , 22 , 32

3 , …… , 11 , 18 , 29

4 , …… , 12 , 19 , 30

20 , …… , 29 , 38 , 49

100 , …… , 64 , 49 , 36

45 , …… , 270 , 1080 , 5400

7, …… , 504 , 5040 , 55440


การคิดเชิงเหตุผล 60

10. จากภาพที่กาหนดให้ จงหาว่าภาพใดต่างจากพวก

ก. ข. ค. ง. จ.

11. จากภาพที่กาหนดให้ จงหาว่าภาพใดต่างจากพวก

ก. ข. ค. ง. จ.

12. จากภาพที่กาหนดให้ จงหาว่าภาพใดต่างจากพวก

ก. ข. ค. ง. จ.

13. จากภาพที่กาหนดให้ จงหาว่าภาพใดต่างจากพวก

ก. ข. ค. ง. จ.
การคิดเชิงเหตุผล 61

14. การหาแบบรูป

15. การหาแบบรูป

16. การหาแบบรูป
การคิดเชิงเหตุผล 62

17. การหาแบบรูป

18. การหาแบบรูป
การคิดเชิงเหตุผล 63

19. การหาแบบรูป
การคิดเชิงเหตุผล 64

20. การหาแบบรูป

21. การหาแบบรูป
การคิดเชิงเหตุผล 65

22.

จำกรูปที่กำหนดให้จงตอบคำถำมต่อไปนี้

1) รูปที่ 7 มีพื้นที่ทั้งหมดกี่ตารางหน่วย

2) รูปที่ 9 มีรูปที่แรเงาทั้งหมดกี่รูป

3) รูปที่ n มีพื้นที่ทั้งหมดกี่ตารางหน่วย

4) รูปที่ n มีรูปที่แรเงาทั้งหมดกี่รูป

5) ถ้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่ทั้งหมด 100 ตารางหน่วย รูปนี้เป็นรูปที่เท่าใด

6) ถ้ารูปมีรูปที่แรเงา 19 รูป รูปนี้เป็นรูปที่เท่าใด


การคิดเชิงเหตุผล 66

23.

ก. ข. ค. ง.

24.

ก. ข. ค. ง.

25.

ก. ข. ค. ง.
การคิดเชิงเหตุผล 67

26.

ก. ข. ค. ง.

27.

กระดาษ 1 แผ่น พับครั้งที่ 1 พับครั้งที่ 2 เจาะรู


จากรูป แสดงการพับกระดาษ และเจาะรู ข้อใดคือรูปกระดาษเมื่อคลี่ออก

ก. ข. ค. ง

28. ข้อใดรูปร่างต่างจากข้ออื่น

ก. ข. ค. ง.
การคิดเชิงเหตุผล 68

29.

จากภาพ จะต้องเติมลูกบาศก์ขนาด 1 หน่วย เท่าใด จึงทาให้วัตถุในภาพเป็นทรงสี่เหลี่ยมตัน

ก. 35 หน่วย ข. 36 หน่วย ค. 37 หน่วย ง. 38 หน่วย

30. ข้อใดคือรูปที่เกิดจากการพับแผ่นกระดาษที่กาหนดให้

แผ่นกระดาษที่กาหนดให้

ก. ข. ค. ง.

31.

จากภาพที่กาหนดให้ ภาพในข้อใดเป็นภาพด้านหน้า

ก. ข. ค. ง.
บทที่ 3
การให้เงื่อนไขเชิงภาษา
และเชิงสัญลักษณ์

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา การคิดเชิงเหตุผล


โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ
่ ้านจอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 70

1. เงื่อนไขเชิงภาษา

เงื่อนไขเชิงภาษา เป็นการกาหนดเงื่อนไขทางภาษาเกี่ยวกับข้อความใดข้อความหนึ่งมา โดยข้อความ


จะประกอบไปด้วย บุคคลและความสัมพันธ์ของบุคคลในลักษณะที่เกี่ยวข้องกันขึ้นมาให้เราพิจารณาและ
วิเคราะห์แล้ว จึงสรุปตอบตามความเป็นจริงของเงื่อนไขนั้น อาจจะออกมาในรูปของการเปรียบเทียบ หรือใน
รูปของความสัมพันธ์กันในลักษณะต่างๆกัน
ตัวอย่างที่ 1 การวิเคราะห์เงื่อนไขแบบเปรียบเทียบ
เงื่อนไข A, B, C, D และ E มีส่วนสูงโดยเฉลี่ย 160 ซม. โดยที่
D สูงกว่า A
E เตี้ยกว่า C
B เตี้ยกว่า D
E สูงกว่า B
D เตี้ยกว่า C
B เตี้ยที่สุด
1. ข้อสรุป 1 E สูงที่สุด
ข้อสรุป 2 E สูงกว่า A
2. ข้อสรุป 1 C สูงที่สุด
ข้อสรุป 2 C สูงเกิน 160 ซม.
3. ข้อสรุป 1 ถ้า F สูงกว่า E แต่เตี้ยกว่า D แสดงว่า E เตี้ยกว่า A
ข้อสรุป 2 B สูงไม่เกิน 160 ซม.
แนวคิดในการหาคาตอบ
1. วิเคราะห์หาความจริงจากเงื่อนไขที่กาหนดให้ก่อนว่าข้อสรุปทั้ง 2 ข้อเป็นจริงหรือไม่จริงหรือไม่
แน่ชัด
2. เลือกตอบโดยยึดหลักการตอบดังนี้
ตอบ 1. กรณีที่ข้อสรุปทั้งสองเป็นจริง
ตอบ 2. กรณีที่ข้อสรุปทั้งสองไม่เป็นจริง
ตอบ 3. กรณีที่ข้อสรุปทั้งสองไม่แน่ชัดหรือไม่อาจสรุปได้แน่นอน
ตอบ 4. กรณีที่ข้อสรุป 1 และข้อสรุป 2 ข้อสรุปใดข้อสรุปหนึ่งเป็นจริง ไม่เป็นจริงหรือไม่แน่ชัด
ซึ่งไม่ซ้ากับอีกข้อสรุปหนึ่ง

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 71

ขั้นตอนในการวิเคราะห์เงื่อนไขทางภาษา
1. อ่านเงื่อนไขที่กาหนดให้อย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้วจับใจความสาคัญ ( อย่านาเอาข้อเท็จจริงในชีวิต
มาประกอบจะทาให้สับสนและผิดพลาดได้ง่าย )
2. สร้างแผนภาพหรือแผนผังที่แสดงความสัมพันธ์ของเงื่อนไข
3. บรรจุรายละเอียดของเงื่อนไขเช่นตัวบุคคลลงในแผนภาพ
4. ทบทวน ตรวจสอบจากแผนภาพเพื่อความถูกต้อง
5. พิจารณาความเป็นไปได้ของข้อสรุปจากแผนภาพที่สร้างขึ้น
จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าเรานามาสร้างแผนภาพจะได้ดังนี้
D C D C

A E B D

สรุปได้ว่า
C C

D E

จากแผนภาพเราสามารถพิจารณาคาตอบได้ดังนี้
1. ข้อสรุป 1 E สูงที่สุด ไม่จริง เพราะ จากแผนภาพ C สูงที่สุด
ข้อสรุป 2 E สูงกว่า A ไม่แน่ชัด เพราะเราไม่สามารถตัดสินใจได้ว่าจริงหรือเท็จจึง
ตอบ ตัวเลือกที่ 4
2. ข้อสรุป 1 C สูงที่สุด เป็นจริง
ข้อสรุป 2 C สูงเกิน 160 ซม. เป็นจริง เพราะ ความสูงเฉลี่ยต่ากว่าคนที่สูงที่สุด

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 72

ตอบ ตัวเลือกที่ 1
3. ข้อสรุป 1 ถ้า F สูงกว่า E แต่เตี้ยกว่า D แสดงว่า E เตี้ยกว่า A ไม่แน่ชัดเพราะ
เราไม่สามารถสรุปได้จากเงื่อนไข
ข้อสรุป 2 B สูงไม่เกิน 160 ซม. ไม่แน่ชัด เพราะ B อาจจะสูงหรือไม่สูงกว่า 160
ซม. ซึ่งเป็นค่ากลางก็ได้
ตอบ ตัวเลือกที่ 3
การวิ เ คราะห์ ส รุ ป เหตุ ผ ลตามเงื่ อ นไขทางภาษานี้ จะประกอบด้ ว ยเงื่ อ นไขหลายๆเงื่ อ นไขที่ มี
ความสัมพันธ์กันหรือบางเงื่อนไขอาจไม่สั มพันธ์กันก็ได้ ซึ่งอาจจะเป็นเงื่อนไขที่เป็นภาษาล้ว นๆ หรือเป็น
เงือ่ นไขที่เป็นภาษาแล้วมีข้อมูลที่มีปริมาณหรือเป็นตัวเลขมาเกี่ยวข้องด้วยก็ได้ ดังนั้นจะต้องพิจารณาทาความ
เข้าใจกับเงื่อนไขที่กาหนดให้เสียก่อน แล้วอาศัยข้อมูลจากเงื่อนไขดังกล่าวมาพิจารณาข้อสรุปแต่ละข้อและ
เลือกตอบข้อสรุปที่ตรงกับหลักในการตอบคาถาม

ตัวอย่างที่ 2 พิจารณาเงื่อนไขที่กาหนดให้ดังต่อไปนี้
- นายสุขไม่สูบบุหรี่
- เพื่อนของนายมากทุกคนสูบบุหรี่
- นายมากไม่ได้เป็นชาวนา
- นายไก่เพื่อนของนายมากเป็นชาวนา
- นายสีเพื่อนของนายมากเป็นข้าราชการ
1. ข้อสรุป 1 นายสีสูบบุหรี่
ข้อสรุป 2 นายไก่สูบบุหรี่
แนวคิด จากเงื่อนไข - นายสีเป็นเพื่อนของนายมาก
- เพื่อนของนายมากสูบบุหรี่ทุกคน
เพราะฉะนั้น สรุปได้ว่านายสีสูบบุหรี่ นั่นคือ ข้อสรุป 1 เป็นจริงตามเงื่อนไข
จากเงื่อนไข - เพื่อนของนายมากทุกคนสูบบุหรี่
- นายไก่เป็นเพื่อนของนายมาก
เพราะฉะนั้น สรุปได้ว่านายไก่สูบบุหรี่ นั่นคือ ข้อสรุป 2 เป็นจริงตามเงื่อนไข
ตอบ ตัวเลือกที่ 1
2. ข้อสรุป 1 นายสุขเป็นเพื่อนของนายมาก
ข้อสรุป 2 นายไก่ไม่สูบบุหรี่
แนวคิด จากเงื่อนไข - เพื่อนของนายมากสูบบุหรี่ทุกคน

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 73

- นายสุขไม่สูบบุหรี่
เพราะฉะนั้น สรุปได้ว่านายสุขไม่ได้เป็นเพื่อนของนายมาก นั่นคือ ข้อสรุป 1 ไม่เป็นจริงตาม
เงื่อนไข
จากเงื่อนไข - เพื่อนของนายมากทุกคนสูบบุหรี่
- นายไก่เป็นเพื่อนของนายมาก
เพราะฉะนั้น สรุปได้ว่านายไก่สูบบุหรี่ นั่นคือ ข้อสรุป 2 ไม่เป็นจริงตามเงื่อนไข
ตอบ ตัวเลือกที่ 2
3. ข้อสรุป 1 ชาวนาบางคนสูบบุหรี่
ข้อสรุป 2 นายสุขเป็นข้าราชการ
แนวคิด จากเงื่อนไข - นายไก่สูบบุหรี่
- นายไก่เป็นชาวนา
เพราะฉะนั้น สรุปได้ว่าชาวนาบางคนสูบบุหรี่ (มีนายไก่ซึ่งเป็นชาวนาอย่างน้อย 1 คนที่สูบ
นั่นคือ ข้อสรุป 1 เป็นจริงตามเงื่อนไข
ข้อสรุป 2 ไม่มีข้อมูลหรือเงื่อนไขที่กาหนดให้เห็นว่านายสุขเป็นข้าราชการ
หรือไม่เป็นข้าราชการ
เพราะฉะนั้น ข้อสรุป 2 ยังไม่แน่ชัด
ตอบ ตัวเลือกที่ 4
4. ข้อสรุป 1 นายสุขไม่ใช่ข้าราชการ
ข้อสรุป 2 นายมากไม่สูบบุหรี่
แนวคิด จากข้อสรุป 1 ไม่ มี ข้ อ มู ล หรื อ เงื่ อ นไขที่ ก าหนด แสดงให้ เ ห็ น ว่ า นายสุ ข เป็ น
ข้าราชการหรือไม่เป็นข้าราชการ
เพราะฉะนั้น ข้อสรุป 1 ยังไม่แน่ชัด
จากเงื่อนไข - เพื่อนนายมากทุกคนสูบบุหรี่ เพราะฉะนั้นนายมากอาจสูบบุหรี่
หรือไม่ก็ได้
เพราะฉะนั้น ข้อสรุป 2 ยังไม่แน่ชัด
ตอบ ตัวเลือกที่ 3

ตัวอย่างที่ 3 พิจารณาเงื่อนไขที่กาหนดให้ดังต่อไปนี้
กนก อดิเรก และสุกิจ เป็นเพื่อนกัน
- ทั้งสามคนชอบปลูกดอกไม้ เล่นกีฬา มีอาชีพและโรคประจาตัวไม่ซ้ากัน
- ไม้ดอกและอาชีพของแต่ละคนจะมีพยัญชนะหน้าเหมือกับพยัญชนะตัวหน้าของชื่อของเขา
โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 74

- ไม้ดอกที่เขาชอบปลูกคือ กุหลาบ อัญชัน และสายหยุด


- อาชีพของเขาคือ กสิกร อาจารย์ และสถาปนิก
- โรคประจาตัวที่พวกเขาเป็นคือ โรคกระเพาะ โรคผิวหนัง และโรคลาไส้
- กีฬาที่เขาชอบเล่นคือ วอลเลย์บอล บาสเกตบอล และฟุตบอล
- สุกิจเป็นโรคกระเพาะและชอบเล่นฟุตบอล
แนวคิด จากเงื่อนไขที่กาหนดให้เราจะพบว่ามีความสัมพันธ์ของ คน 3 คน กับ การปลูกดอกไม้ เล่น
กีฬา อาชีพและโรคประจาตัว ซึ่งนามาสร้างตารางหาความสัมพันธ์จะได้ดังนี้

ปลูกดอกไม้ เล่นกีฬา อาชีพ โรคประจาตัว


กนก กุหลาบ วอลเลย์บอล กรรมกร ผิวหนัง
อดิเรก อัญชัน หรือ อาจารย์ หรือ
บาสเกตบอล ลาไส้
สุกจิ สายหยุด ฟุตบอล สถาปนิก กระเพาะ

ข้อที่ 1. ข้อสรุปที่ 1 กนกมีโรคประจาตัวคือ โรคลาไส้ [ ไม่แน่ชัด ]


เพราะ โจทย์ไม่ได้ชี้ชัดว่าเป็นโรคอะไร ระหว่างโรคผิวหนังกับโรคลาไส้
ข้อสรุปที่ 2 อดิเรกมีโรคประจาตัวคือโรคผิวหนัง [ ไม่แน่ชัด ]
เพราะ โจทย์ไม่ได้ชี้ชัดว่าเป็นโรคอะไร ระหว่างโรคผิวหนังกับโรคลาไส้
ตอบ ตัวเลือกที่ 3
ข้อที่ 2. ข้อสรุปที่ 1 สุกิจเป็นอาจารย์และเป็นโรคกระเพาะ [ไม่จริง]
เพราะ สุกิจเป็นโรคกระเพาะจริง แต่มีอาชีพเป็นสถาปนิก ไม่ใช่อาจารย์
ข้อสรุปที่ 2 อดิเรกเป็นกสิกร และเป็นโรคผิวหนัง [ไม่จริง]
เพราะ อดิเรกมีอาชีพเป็นอาจารย์ สาหรับโรคนั้น อาจจะเป็นโรคผิวหนังหรือโรคลาไส้ก็ได้
ตอบ ตัวเลือกที่ 2
ข้อที่ 3. ข้อสรุปที่ 1 ถ้ากนกเป็นโรคผิวหนัง อดิเรกจะเป็นโรคลาไส้ [จริง]
เพราะ กนกกับอดิเรกเป็นโรคใดโรคหนึ่งระหว่างโรคผิวหนังกับโรคลาไส้ ดังนั้น ถ้ากนกเป็น
โรคผิวหนัง อดิเรกก็ต้องเป็นโรคลาไส้
ข้อสรุปที่ 2 ถ้ากนกเล่นวอลเลย์บอล อดิเรกจะชอบเล่าบาสเกตบอล [จริง]
เหตุผลทานองเดียวกับข้อสรุปที่ 1
ตอบ ตัวเลือกที่ 1
ข้อที่ 4. ข้อสรุปที่ 1 กนกและอดิเรก อาจเป็นโรคผิวหนังเหมือนกันก็ได้ [ไม่จริง]

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 75

เพราะ โจทย์กาหนดให้แต่ละคนต้องเป็นโรคใดโรคหนึ่ง

ข้อสรุปที่ 2 อดิเรกชอบปลูกอัญชัน และเล่นวอลเลย์บอล [ไม่แน่]


เพราะ โจทย์กาหนดว่า อดิเรกชอบปลูกอัญชันจริง แต่โรคนั้น ไม่แน่ใจ
ตอบ ตัวเลือกที่ 4
ข้อที่ 5. ข้อสรุปที่ 1 อดิเรกไม่เป็นโรคกระเพาะและสุกิจไม่ได้เป็นโรคลาไส้ [จริง]
เพราะ อดิเรกไม่เป็นโรคกระเพาะ คนที่เป็นคือสุกิจ สุกิจเป็นโรคกระเพาะแล้ว จึงเป็นโรค
ลาไส้ไม่ได้
ข้อสรุปที่ 2 กนกไม่ชอบเล่นฟุตบอล แต่ชอบเล่นวอลเลย์บอล หรือบาสเกตบอล [ไม่แน่]
เพราะ โจทย์ไม่ได้กาหนดว่า “กนกเทพไม่ชอบเล่นฟุตบอล” โจทย์กาหนดเพียงแต่ว่า กนก
ชอบเล่นอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างวอลเลย์บอลหรือบาสเกตบอล
ตอบ ตัวเลือกที่ 4

ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาเงื่อนไขที่กาหนดให้ดังต่อไปนี้
- มีบ้าน 5 หลังสีของบ้านแต่ละหลังต่างกัน (มี 5 สี) ส่วนสัญชาติของคนที่อยู่ในบ้านแต่ละหลัง (มี 5สัญชาติ)
ตลอดจนอาหารที่คนในบ้านกิน (มี 5 ประเภท) รวมทั้งเครื่องดื่มที่คนในแต่ละบ้านดื่ม (มี 4 อย่าง) และสัตว์
เลี้ยงอยู่ในแต่ละบ้าน (มี 5 ชนิด) ไม่ซ้ากัน
- คนอังกฤษอยู่ในบ้านสีแดง
- คนสเปนมีหมาหนึ่งตัว
- คนในบ้านสีเขียวดื่มกาแฟ
- คนรัสเซียดื่มชา
- บ้านสีเขียวอยู่ติดด้านขวาของบ้านสีขาว
- คนกินหมูเลี้ยงนก
- คนในบ้านสีเหลืองกินสเต็ก
- คนที่อยู่บ้านกลางดื่มนม
- คนนอรเวย์อยู่บ้านหลังแรก
- คนกินเนื้อแกะอยู่ติดกับคนเลี้ยงวัว
- คนที่อยู่บ้านหลังที่ติดกับบ้านของคนเลี้ยงม้ากินสเต็ก
- คนกินปลาดื่มน้าส้ม
- คนญี่ปุ่นกินผัก

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 76

- คนนอรเวย์อยู่บ้านที่ติดกับบ้านสีน้าเงิน
- คนที่บ้านขาวสุดเลี้ยงแมว
ข้อที่ 1. ข้อสรุปที่ 1 ชาวสเปนอยู่บ้านหลังที่ 4 ชอบกินปลาและดื่มน้าส้ม
ข้อสรุปที่ 2 ชาวรัสเซียอยู่ในบ้านหลังสีน้าเงินชอบกินเนื้อแกะ และเลี้ยงม้า
ข้อที่ 2. ข้อสรุปที่ 1 คนที่อยู่บ้านหลังสีเหลือง ชอบกินสเต็ก และเลี้ยงแมว
ข้อสรุปที่ 2 คนที่อยู่บ้านหลังสีเขียว ชอบดื่มกาแฟ และเลี้ยงวัว

ข้อที่ 3. ข้อสรุปที่ 1 คนที่อยู่บ้านหลังสีแดง ชอบกินเนื้อหมู และเลี้ยงนก


ข้อสรุปที่ 2 คนที่อยู่บ้านหลังที่ 2 มีบ้านสีน้าเงิน ชอบดื่มน้าชา
ข้อที่ 4. ข้อสรุปที่ 1 คนที่อยู่บ้านหลังสีขาว ชอบดื่มนม และเลี้ยวแมว
ข้อสรุปที่ 2 คนที่อยู่หลังที่ 5 ชอบดื่มกาแฟ มีสัญชาติญี่ปุ่น
ข้อที่ 5. ข้อสรุปที่ 1 คนที่ชอบกินผักอยู่บ้านหลังที่ติดกับบ้านของคนเลี้ยงหมา
ข้อสรุปที่ 2 คนที่อยู่บ้านหลังสีเหลือง ไม่ชอบดื่มเครื่องดื่ม เป็นชาวนอรเวย์
แนวคิด ในบ้าน 5 หลังดังกล่าวมีอะไรบ้าง ดังนี้
สี 1) แดง 2) เขียว 3) ขาว 4) เหลือง 5) น้าเงิน
สัญชาติ 1) อังกฤษ 2) สเปน 3) รัสเซีย 4) นอรเวย์ 5) ญี่ปุ่น
อาหาร 1) หมู 2) สเต็ก 3) แกะ 4) ปลา 5) ผัก
เครื่องดื่ม 1) กาแฟ 2) ชา 3) นม 4) น้าส้ม
สัตว์เลี้ยง 1) หมา 2) นก 3) วัว 4) ม้า 5) แมว

ขั้นต่อไป อ่านข้อความเพื่อจะนาข้อมูลลงตาราง ดังนี้


- คนนอรเวย์อยู่บ้านหลังแรก
- คนนอรเวย์อยู่บ้านที่ติดกับบ้านสีน้าเงิน
- คนที่อยู่บ้านกลางดื่มนม
- บ้านสีเขียวอยู่ติดด้านขวาของบ้านสีขาว
ตรงนี้ต้องทาความเข้าใจให้ ดี ถ้าภาษาตรรกวิทยาหรือภาษาเงื่อนไขกล่าวว่า “บ้านสีเขียวอยู่ติด
ด้านขวา” ก็หมายถึงว่า บ้านหลังนั้นอยู่ขวามือสุดด้วย ดังนั้น บ้านหลังที่ 5 จึงมีสีเขียว หลังที่ 4 จึงมีสีขาว
- คนที่บ้านขาวสุดเลี้ยงแมว
- คนในบ้านสีเขียวดื่มกาแฟ

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 77

จากข้อมูลดังกล่าว เราสามารถใส่ข้อมูลในตารางได้ดังนี้

ขั้นต่อไป อ่านข้อความเพื่อลงข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้


- คนอังกฤษอยู่ในบ้านสีแดง
จากตารางด้านบน เราเหลือจะต้องใส่ช่องสีแดงได้ 2 ช่อง บ้านหลังที่ 1 กับหลังที่ 3 แต่บ้านหลังที่ 1
เป็นของชาวนอรเวย์ไปแล้ว ดังนั้น บ้านหลังที่ 3 จึงมีสีแดงและเป็นของคนอังกฤษ และบ้านหลังที่ 1 ต้องเป็นสี
เหลือง
- คนในบ้านสีเหลืองกินสเต็ก
- คนที่อยู่บ้านหลังที่ติดกับบ้านของคนเลี้ยงม้ากินสเต็ก
- คนรัสเซียดื่มชา
- คนกินเนื้อแกะอยู่ติดกับคนเลี้ยงวัว
- คนญี่ปุ่นกินผัก
- คนสเปนมีหมาหนึ่งตัว
- คนกินปลาดื่มน้าส้ม
- คนกินหมูเลี้ยงนก

จากข้อมูลดังกล่าว เราสามารถใส่ข้อมูลในตารางได้ครบถ้วน ดังนี้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 78

เมื่อสามารถหาความสัมพันธ์ของข้อมูลได้ทุกข้อแล้ว เราก็สามารถกลับไปตอบถามข้อ 1-5 ในตัวอย่าง


ที่ 4 ได้

3.2 เงื่อนไขเชิงสัญลักษณ์
เงื่อนไขเชิงสัญลักษณ์ จะเป็นการเปรียบเทียบโดยใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
- เครื่องหมายเท่ากัน    เช่น A  B
- เครื่องหมายไม่เท่ากัน    เช่น A  B
- เครื่องหมายมากกว่า    เช่น A  B
- เครื่องหมายน้อยกว่า    เช่น A  B
- เครื่องหมายมากกว่าหรือเท่ากับ    เช่น A B

- เครื่องหมายน้อยกว่าหรือเท่ากับ    เช่น A B
- เครื่องหมายไม่มากกว่า    เช่น A  B
- เครื่องหมายไม่น้อยกว่า    เช่น A  B เป็นต้น
ในการแก้ปัญหาโจทย์ที่เกี่ยวกับการเปรียบเทียบ มีหลักการเบื้องต้น หรือ คุณสมบัติการไม่เท่ากันของ
จานวนจริง (Properties of Inequalities) ที่ควรทราบ คือ
1. คุณสมบัติด้านการส่งผ่าน (Transitive Property) ถ้าเรานาค่ามาเรียงกันในทิศทางเดียวกัน เรา
สามารถข้ามตัวกลางได้ เช่น
1) A  B  C  D เราสามารถสรุปได้ว่า A  D นั่นคือ เราสามารถข้าม B และ C ได้
2) A  B  C  D เราสามารถสรุปได้ว่า A  D
3) A  B  C  D เราสามารถสรุปได้ว่า A  D

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 79

ข้อสังเกต
1. ความเท่ากันของเครื่องหมาย  จะหายไป เมื่อมีเครื่องหมายที่ต่างกัน
2. ทิศทางของเครื่องหมาย ต้องมีทิศทางเดียวกัน จะมีทิศทางสวนกันหรือต่างกันไม่ได้ เช่น
ถ้า A  B  C  D แล้ว จะสรุปความสัมพันธ์ใด ๆ ระหว่าง A และ D ไม่ได้เลย
2. คุณสมบัติการกลับ (Reversal Property) เราสามารถพูดได้ว่า ถ้า A  B แล้ว เราสามารถพูด
กลับกันได้ว่า A  B เช่น พ่อสูงมากกว่าแม่ พูดได้อีกอย่างว่า แม่สูงน้อยกว่าพ่อ
3. การบวกและลบ เราสามารถนาตัวเลขตัวเดียวกันได้ โดยยังมีทิศทางคงเดิม เช่น
ถ้า A  B  C แล้วสรุปได้ว่า A  D  B  D  C  D หรือ
ถ้า A  B  C แล้วสรุปได้ว่า A  5  B  5  C  5 หรือ
ถ้า A  D  B  D  C  D แล้วสรุปได้ว่า A  B  C หรือ
ถ้า A  D  B  D  C  D แล้วสรุปได้ว่า A  B  C
ตัวอย่าง พี่มีเงินมากว่าน้อง พ่อให้เงินพี่และน้องอีกคนละ 5 บาท เราสามารถสรุปได้ว่า พี่มีเงินมากกว่าน้อง
เหมือนเดิม
4. การคูณและหาร ด้วยจานวนเต็มบวกที่ไม่ใช่ศูนย์ เราสามารถนาเลขจานวนเต็มที่มีค่าเป็นบวกที่ไม่เป็น
ศูนย์มาคูณหรือหาร จานวนที่ไม่เท่ากัน ได้ โดยไม่ทาให้ทิศทางการไม่เท่ากันเปลี่ยนแปลง เช่น
ถ้า A  B  C และ D เป็นเลขจานวนเต็มบวกที่ไม่ใช่ศูนย์ แล้ว สรุปได้ว่า DA  DB  DC หรือ
ถ้า A  B  C แล้ว สรุปได้ว่า 5 A  5B  5C
ตัวอย่าง พี่มีเงิน 7 บาท น้องมีเงิน 5 บาท พ่อให้เงินพี่และน้องเพิ่มอีกคนละ 2 เท่า สรุปได้ว่า พี่มีเงิน
มากกว่าน้อง เพราะ พ่อให้เงินพี่ เท่ากับ 7x2 = 14 บาท ให้เงินน้อง 5x2 = 10 บาท ดังนั้น พี่มีเงิน 14+7
= 21 บาท น้องมีเงิน 5+10=15 บาท
5. การคูณ หรือหาร ด้วยจานวนลบ จะทาให้เครื่องหมายกลับเป็นตรงข้าม เช่น
ถ้า a  b และ c เป็นเลขจานวนเต็มลบ จะสรุปได้ว่า ac  bc
6. การคูณไขว้ เศษส่วน ในกรณีที่ทุกตัวมีค่ามากกว่า 0 สามารถนามาคูณไขว้กันได้ เช่น
A B 1 2
ถ้า  แล้ว 4 A  3B หรือ   1 5   2  2   5  4
3 4 2 5
7. การกลั บ เศษเป็ น ส่ ว น(Multiplicative Inverse) จะท าให้ เ ครื่ อ งหมายเปลี่ ย นเป็ น ตรงข้ า ม เช่ น
ถ้า a และ b เป็นเลขจานวนบวก หรือ จานวนลบ
a b 1 1
ถ้า  สรุปได้ว่า 
1 1 a b
1 1
ตัวอย่าง 3  2 สรุปได้ว่า 
3 2
หรือ ในการแข่งขันการเดิน ระยะทาง 12 กม. สมศักดิ์เดินได้เร็ว 6 กม/ชม. สุดาเดินได้เร็ว 4 กม/ชม
12 12
64 แต่สมศักดิ์ใช้เวลาน้อยกว่าสุดา  23
6 4

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 80

การแก้ปัญหาโจทย์เงื่อนไขเชิงสัญลักษณ์ มีหลักการดังนี้

1. ในกรณี ที่ เ งื่ อ นไขมี เ ครื่ อ งหมาย ไม่ ม ากกว่ า    หรื อ เครื่ อ งหมายไม่ น้ อ ยกว่ า    ให้ แ ปลง
เครื่องหมายดังกล่าวเป็น  หรือ  ดังนี้
แปลงเครื่องหมายไม่มากกว่า    เป็นเครื่องหมาย น้อยกว่าหรือเท่ากับ   
แปลงเครื่องหมายไม่น้อยกว่า    เป็นเครื่องหมายมากกว่าหรือเท่ากับ   
แปลงเครื่องหมายไม่มากกว่าหรือเท่ากับ    เป็นเครื่องหมาย น้อยกว่า   
แปลงเครื่องหมายไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ    เป็นเครื่องหมายมากกว่า   
ทั้งนี้เพื่อให้สะดวกในการแก้ปัญหา เช่น A  B  C  D เขียนใหม่เป็น A  B  C  D

2. ในกรณีที่ โจทย์กาหนดเงื่อนไข ในลักษณะการบวกกัน ให้กระจายการบวกออกเป็นตัวเดี่ยว ๆ เช่น


P  A  B สามารถกระจายออกได้เป็น
P  A  B  A (เพราะ A  B ย่อมมากกว่า A ) และ P  A  B  B
หรือเขียนใหม่ได้ว่า P  A  B  A, B
นั่นคือ จากเงื่อนไขข้างบนนี้ เราสามารถสรุปได้ว่า
PA
PB
P มีค่ามากที่สุด จากเงื่อนไขข้างต้น เราไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง A และ B ได้

3. ถ้าโจทย์มีมากกว่า 1 เงื่อนไข ให้มองหาตัวเชื่อมในระหว่างเงื่อนไข และทาตัวเชื่อมให้เท่ากันเสียก่อน


โดยเพิ่มค่าเชื่อมที่น้อยกว่า ให้เท่ากับตัวเชื่อมที่มากกว่า ด้วยการ คูณ ซึ่งจะทาให้เปรียบเทียบค่าทั้งในเงื่อนไข
ที่ 1 และ เงื่อนไขที่ 2 ได้ เช่น
เงื่อนไขที่1 : A  3C  3E  D
เงื่อนไขที2่ : F  C  2 B
จะเห็นว่า ทั้งสองเงื่อนไขมีตัวเชื่อมคือ C และค่าของ C ในเงื่อนไขที่ 2 มีค่าน้อยกว่าในเงื่อนไขที่ 1
ดั ง นั้ น จึ ง ท าค่ า ของ C ให้ เ ท่ า กั บ C ในเงื่ อ นไขที่ 1 โดยการเอา 3 คู ณ เงื่ อ นไขที่ 2 ได้ ค่ า ใหม่ เ ป็ น
3F  3C  6 B

4. ในกาหาคาตอบให้ดูข้อสรุปของโจทย์เป็นหลัก เช่น
เงื่อนไขที่1 : A  3C  4 D  K
เงื่อนไขที2่ : 3F  3C  6 B
ข้อสรุป : 3F  5D

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 81

โจทย์ต้องการให้พิสูจน์การเปรียบเทียบระหว่าง F กับ D โดย F อยู่ทางซ้ายของเครื่องหมาย และ D อยู่


ทางขวาของเครื่องหมาย
ในการพิสูจน์ ให้เริ่มจาก F ไปหา D เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบตามข้อสรุปของโจทย์ ไม่ควรเริ่มจาก D
เพราะจะได้ไม่ต้องสลับที่กันภายหลัง
จากเงื่อนไข จะเห็นว่า F และ D มีความสัมพันธ์ ดังนี้ 3F  3C  4 D
ดังนั้น สรุปได้คือ 3F  4 D
แต่โจทย์ต้องการเปรียบเทียบ 3F กับ 5D ในที่นี้ เรามี 3F ซึ่งเท่ากับค่าที่อยู่ในข้อสรุปของโจทย์แล้ว และ
เรายังรู้ว่า มีค่ามากกว่า 4D แต่โจทย์ต้องการเปรียบเทียบกับ 5D
ดังนั้น ให้เอาสิ่งที่ข้อสรุปของโจทย์ที่ ต้องการเปรียบเทียบ (ซึ่งก็คือ 5D ) มาวางต่อท้าย 4D เพื่อ
เปรียบเทียบกัน ดังนี้ 3F  4 D 5D
จากนั้น ใส่เครื่องหมายเปรียบเทียบกับค่าที่มีอยู่แล้ว เนื่องจาก 5D มากกว่า 4D จึงเขียนได้ ดังนี้
3F  4 D  5D ดังนั้นผลจากการพิสูจน์ จึงสรุปได้ว่า 3F  5 D
เมื่อดูข้อสรุปที่ได้ กับข้อสรุปของโจทย์ ที่ว่า 3F  5D จึงพบว่า ข้อสรุปของโจทย์ เป็นเท็จ

5. ในกรณีที่ปรับตัวเชื่อมให้เท่ากันแล้ว แต่พบว่า ไม่มีตัวใดเลยที่เท่ากับข้อสรุปของโจทย์ เราต้องทาตัวใด


ตัวหนึ่งให้เท่ากับที่มีในเงื่อนไขของโจทย์ จากนั้น จึงเพิ่มตัวที่เหลือในข้อสรุปของโจทย์ และใส่เครื่องหมายเพื่อ
เปรียบเทียบ เช่น
เงื่อนไขที่1 : A  3C  4 D  K
เงื่อนไขที2่ : 3F  3C  6 B
ข้อสรุป : F  5D
จากเงื่อนไข เห็นมีตัวเชื่อม 3C จึงสามารถสรุปความสัมพันธ์ของ F และ D จากเงื่อนไข ได้ดังนี้
3F  3C  4 D (เริ่มจาก F ไปหา D ตามลักษณะในข้อสรุปของโจทย์)
ดังนั้น 3F  4 D
จะเห็นว่า ข้อสรุปต้องการทราบผลการเปรียบเทียบของ F กับ 5D เราจึงต้องทา ค่าใดค่าหนึ่ง ให้เท่ากับ
ข้อสรุปของโจทย์
ในที่นี้ จะทาค่า 3F ให้เป็น 1F โดยการใช้ 3 หาร ซึ่งจะได้ผล ดังนี้
3F 4 D

3 3
4D
F
3
เมื่อได้ค่า F ตรงตามที่ข้อสรุปโจทย์ต้องการแล้ว เราจะนาข้อสรุปตัวที่เหลือมาวางด้านตรงข้ามกับค่าที่มีอยู่
4D
แล้ว ดังนี้ F 5D
3

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 82

4D 4
จากนั้นจึงใส่เครื่องหมายเปรียบเทียบ ซึ่งพบว่า 5D มีค่ามากกว่า (เพราะ 5 มีค่ามากกว่า ซึ่งเท่ากับ
3 3
4D 4D
1.33) หรือ มีค่าน้อยกว่า 5D จึงได้ดังนี้ F  5D
3 3
จะเห็นว่า ทิศทางของเครื่องหมาย สวนทางกัน ดังนั้น จึงสรุปไม่ได้ว่าอะไรเป็นอะไร เพราะ 5D มีค่ามากกว่า
4D
และอาจจะมากกว่า F หรือน้อยกว่า F ก็ได้ จึงสรุปไม่ได้
3
ดังนั้น จึงทาให้ข้อสรุปของโจทย์ที่ว่า F  5D จึงสรุปไม่ได้ เพราะ F อาจจะมากกว่า 5D ก็เป็นไปได้
ตามที่เราพิสูจน์แล้ว
สรุปว่า ข้อสรุปของโจทย์ที่ว่า F  5D คือ สรุปไม่ได้

6. เทคนิคเพิ่มเติม
1) ถ้าการเปรียบเทียบ มีเครื่องหมายไปในทิศทางเดียวกัน เราสามารถสรุปได้ เช่น
A BC  D สรุปว่า A  D เป็นจริง
A BC  D สรุปว่า A  D เป็นจริง
2) ในกรณีที่มีเครื่องหมายเท่ากับ ก็สามารถข้ามไปได้เลย เช่น
A  B  C  D  G สามารถสรุปว่า A  D เป็นจริง
สามารถสรุปว่า A  G เป็นจริง
3) ในกรณีที่มีเครื่ องหมายมากกว่าหรือเท่ากับ    หรือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ    รวมอยู่ด้วย
ความสัมพันธ์ด้านความเท่ากันระหว่างคู่ที่เปรียบเทียบซึ่งมีเครื่องหมายอื่นมาคั่น จะหายไป เช่น
A  B  C  D  G สามารถสรุปว่า A  D เพราะความเท่ากันหายไปแล้ว ระหว่าง A และ
B และ B กับ C
เราไม่สามารถสรุปว่า A  G แต่สามารถสรุปได้ว่า A  G
4) ถ้าการเปรียบเทียบ มีเครื่องหมายมากกว่า หรือน้อยกว่า รวมอยู่ด้วยในการเปรียบเทียบชุด
เดียวกัน หรือพูดอีกอย่างว่า เครื่องหมายหันไปคนละทางกัน หรือสวนทางกัน เราไม่สามารถสรุปได้ เช่น
A BC  D เราไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง A และ D หรือ ความสัมพันธ์
ระหว่าง B กับ D ได้
5) ในกรณีที่ ข้อสรุปของโจทย์ ดูซับซ้อน เช่น มีเครื่องหมายบวก ลบ รวมอยู่ด้วย อาจจะพิสูจน์จาก
ข้อสรุป แล้วไปเปรียบเทียบกับเงื่อนไขว่า เป็นจริงตามเงื่อนไขหรือไม่

7. การตัดสินข้อสรุปของโจทย์ หลังจากที่เราได้ผลลัพธ์จากพิสูจน์เงื่อนไขแล้ว จึงนามาเปรียบเทียบกับ


ข้อสรุปของโจทย์ และตัดสินข้อสรุปของโจทย์ว่า เป็นจริง เป็นเท็จ หรือ ไม่แน่นอน เพื่อนาไปสู่การเลือก
ตัวเลือกที่เกี่ยวข้องต่อไป ดังตารางข้างล่างนี้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 83

ผลที่ได้จากการพิสูจน์
ข้อสรุปโจทย์
A B A B A B A B A B เครื่องหมายสวนกัน
A B จริง ไม่แน่ เท็จ เท็จ เท็จ ไม่แน่
A B จริง จริง เท็จ เท็จ จริง ไม่แน่
A B เท็จ เท็จ จริง ไม่แน่ เท็จ ไม่แน่
A B เท็จ เท็จ จริง จริง จริง ไม่แน่
A B เท็จ ไม่แน่ เท็จ ไม่แน่ จริง ไม่แน่
A B จริง ไม่แน่ จริง ไม่แน่ เท็จ ไม่แน่

การวิเคราะห์เงื่อนไขเชิงสัญลักษณ์เพื่อหาคาตอบที่ถูกต้อง
ตัวอย่างที่ 5 เงื่อนไข A B  C  D
D  P  Q  R (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์)
1. ข้อสรุป 1. C  D
ข้อสรุป 2. D  R
แนวคิด แนวในการพิจารณา C  D เพราะเห็นได้ชัดจากเงื่อนไข
นั่นคือ ข้อสรุปที่ 1. เป็นจริง
จากเงื่อนไข P  Q จะได้ว่า P  Q
Q R
 P R
เพราะว่า P  D เพราะฉะนั้นสรุปได้ว่า D  R
นั่นคือ ข้อสรุป 2 เป็นจริง
ข้อสรุปทั้งสองเป็นจริงตามเงื่อนไข เพราะฉะนั้นตอบ 1.
2. ข้อสรุป 1. Q  C
ข้อสรุป 2. P  C
แนวคิด แนวในการพิจารณาจากเงื่อนไข 1. C  D
2. D  P
3. P  Q หรือ P  Q
สรุปได้ว่า C  Q หรือ Q  C
นั่นคือ ข้อสรุปที่ 1. นั้นผิดหรือไม่เป็นจริง
จากเงื่อนไข 1. C  D
2. D  P
สรุปได้ว่า C  P
นั่นคือ ข้อสรุป 2 นั้นผิดหรือไม่เป็นจริง
โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 84

ข้อสรุปทั้งสองเป็นจริงตามเงื่อนไข เพราะฉะนั้นตอบ 2.
3. ข้อสรุป 1. A  R
ข้อสรุป 2. Q  D
แนวคิด แนวในการพิจารณาจากเงื่อนไข 1. A B หรือ A B
2. B  C
A  C
3. จากข้อสรุป P R และ C P

C  R
 สรุปได้ว่า A  C  R
ไม่มีข้อมูลจากเงื่อนไขมาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่าง A กับ R เพราะฉะนั้น
จึงสรุปไม่ได้ว่า A  R นั่นคือ ข้อสรุป 1 ยังไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด
จากเงื่อนไข 1. D  P
2. P  Q ซึ่งหมายถึง P  Q
 DQ
เพราะฉะนั้น D อาจจะเท่ากับ Q หรือ D อาจจะมากกว่า Q ก็ได้ นั่นคือ ข้อสรุปที่ 2 ยัง
ไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด
ข้อสรุปทั้งสองยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด เพราะฉะนั้นตอบ 3.
4. ข้อสรุป 1. C  Q
ข้อสรุป 2. B  Q
แนวคิด ในการพิจารณา จากเงื่อนไข 1. จากข้อสรุป C  P
2. P  Q
 C Q
นั่นคือ ข้อสรุป 1 เป็นจริง
จากเงื่อนไข 1. C  Q
2. C  Q
 BC Q
นั่นคือ ข้อสรุป 2 ยังไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด
ข้อสรุปที่ 1 เป็นจริงแต่ข้อสรุปที่ 2ยังไม่แน่ชัด เพราะฉะนั้นตอบ 4.

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 85

ตัวอย่างที่ 6 พิจารณาเงื่อนไขทางสัญลักษณ์ต่อไปนี้
M  N  W   X  Y   P
เงื่อนไข W ( ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์ )
Q  R  S  T  2Y 
2
5. ข้อสรุป 1. X  3Y
ข้อสรุป 2.  P T   P W 
W
แนวคิด ในการพิจารณา จากเงื่อนไข 1. 2Y 
2
 4Y  W
2. W   X  Y 
 4Y  X  Y
จะได้ 4Y  Y  X
เพราะฉะนั้น สรุปได้ว่า 3Y  X หรือ X  3Y
นั่นคือ ข้อสรุป 1 ไม่เป็นจริง
จากเงื่อนไข 1. T  2Y
W
2. 2Y 
2
W
จะได้ T
2
ทาได้ T W
เพราะฉะนั้น  P  T    P  W 
นั่นคือ ข้อสรุป 2 ไม่เป็นจริง
ข้อสรุปทั้งสองไม่เป็นจริง เพราะฉะนั้นตอบ 2
W
6. ข้อสรุป 1. 3 P  3
2
ข้อสรุป 2. 2 ST  XY
แนวคิด ในการพิจารณา จากเงื่อนไข W  P หรือ P  W
 3 P  3W
W
 3 P  3
2
นั่นคือ ข้อสรุป 1 เป็นจริง
จากเงื่อนไข 1. T  2Y และ S  2Y
 S  Y และ T  Y
และจากข้อสรุป 3Y  X ดูจากข้อ 1
 2Y  X
T  X

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 86

เพราะฉะนั้ น 2 ST  XY ก็ ต่ อ เมื่ อ 4 S  X แต่ ไ ม่ มี เ งื่ อ นไขที่ ก าหนดหรื อ ไม่


สามารถสรุปได้ว่า 2 ST  XY หรือไม่สามารถสรุปได้ว่า 2 ST  XY
นั่นคือ ข้อสรุป 2 ไม่สามารถบอกได้แน่ชัด
ข้อสรุปทั้งสองมีข้อสรุปหนึ่งเป็นจริง อีกข้อสรุปหนึ่งไม่แน่ชัด เพราะฉะนั้นตอบ 4
7. ข้อสรุป 1. NP  SW
ข้อสรุป 2. Q M
แนวคิด ในการพิจาณา จากเงื่อนไข N  W  P
 N  W และ P  W
พิจารณา NP  SW ในกรณีที่ N  W จะได้ว่า P  S
แต่ ใ นกรณี ที่ N  W นั่ น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ P กั บ S แล้ ว จะเป็ น ได้ ทั้ ง
P  S , P  S , และ P  S
ใ น ท า น อ ง เ ดี ย ว กั น ถ้ า พิ จ า ณ า ก ร ณี ที่ P  W ผ ล ส รุ ป ก็ จ ะได้
N  S , N  S , และ N  S ทาให้เราไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่า NP  SW
นั่นคือ ข้อสรุป 1 ไม่สามารถบอกได้แน่ชัด
จากเงื่อนไข 1. M  N  W
จะได้ว่า M  N  W
M  W
2. Q  R  S  T
จะได้ว่า Q  R  S T
Q  T
W
3.  T เพราะฉะนั้น W  2T
2
 M  2T
จาก Q T ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า Q  2T และไม่มีเงื่อนไขกาหนดให้
ว่า Q  2T
นั่นคือ ข้อสรุป 2 ยังไม่สามารถบอกได้แน่ชัด
ข้อสรุปทั้ง 2 ข้อ ไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด เพราะฉะนั้นตอบ 3
8. ข้อสรุป 1. 2Y  X
ข้อสรุป 2. T Y   X
W
แนวคิด ในการพิจารณา จากเงื่อนไข 2Y 
2
 4Y  W
และจาก W  X  Y
ทาให้ 4Y  X  Y

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 87

4Y  Y  X
3Y  X
แสดงว่า 2Y  X
นั่นคือ ข้อสรุป 1 เป็นจริง
จากการพิจาณา 3Y  X
จะได้ 2Y  Y  X
ซึง่ T  2Y
 T Y  X
นั่นคือ ข้อสรุป 2 เป็นจริง
ข้อสรุปทั้ง 2 เป็นจริง เพราะฉะนั้นตอบ 1

ตัวอย่างที่ 7
เงื่อนไข 
B  L  3D L K
   C  R  (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์)
10 2 4 2
A L C  D  B Q
3D     
4 6 2 2 2
1. เปลี่ยนเครื่องหมายที่มีสัญลักษณ์เป็นนิเสธ
 B  L   3D  L  C  R  K
10 2 4 2
A L C  D  B Q
3D     
4 6 2 2 2
2. แทนค่าตัวอักษรจะได้ว่า
1

1 4

2 5

3 12 1 12 3 3 6

 B  L   3D  L  C  R  K
10 2 4 2
A L C  D  B Q
3D     
4 6 2 2 2
1 8 12 = 3 1 4 3

5 2

6 1

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 88

9. ข้อสรุป 1. L มีค่ามากที่สุด
ข้อสรุป 2.  L  C   3C
แนวคิด แนวในการพิจารณา L=12 มีค่ามากที่สุด
นั่นคือข้อสรุป 1 ถูกต้อง
จาก L=12, C=3 แทนค่าใน
 L  C   3C
12  3   3  3
9=9
นั่นคือข้อสรุป 2 เป็นจริง
ข้อสรุปทั้งสองเป็นจริง เพราะฉะนั้นตอบ 1
10. ข้อสรุป 1. 2K  3Q
ข้อสรุป 2. D มีค่าน้อยที่สุด
แนวคิด แนวในการพิจารณา K มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 6
 2K จึงมีค่าเป็น 2, 4, 6, 8, 10, 12
และ Q มีค่าตั้งแต่ 1 ขึ้นไป
 3Q จึงมีค่าเป็น 3, 6, 9, 12, …
เมื่อ 2K มีค่าเป็น 6 เท่าของ 3Q จึงค่าได้ตั้งแต่ 3, 6, 9, 12, … ได้ทุกค่า
ฉะนั้น 2K อาจมากกว่า หรือเท่ากับหรือน้อยกว่า 3Q ก็ได้
นั่นคือ ข้อสรุป 1 ไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด
เพราะว่าถ้า C มากกว่า 3 ค่าของ D จะมีค่ามากกว่า 1
แต่ค่า Q มีค่าได้ตั้งแต่ 1 ขึ้นไป
เพราะฉะนั้นยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่า D น้อยที่สุด
ข้อสรุปทั้งสองข้อยังไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด เพราะฉะนั้นตอบ 3
11. ข้อสรุป 1.  A  Q    B  C 
ข้อสรุป 2. 3B   2C  D 
แนวคิด แนวในการพิจารณา A  8, Q  1, 2,3,...
B  3, C=3
 A  Q  มีค่าน้อยที่สุดคือ 9
 B  C    3  3  6
  A  Q    B  C 
นั่นคือ ข้อสรุป 1 เป็นจริง
3B  3  3  9
2C  2  3  6

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 89

D 1
 2C  D   6  1  7
 3B   2C  D 
นั่นคือ ข้อสรุป 2 ไม่เป็นจริง
ข้อสรุป 1 เป็นจริง แต่ข้อสรุป 2 ไม่เป็นจริง, เพราะฉะนั้นตอบ 4
12. ข้อสรุป 1. RA   B  2 D 
L
ข้อสรุป 2. BA 
A
แนวคิด แนวในการพิจารณา R  1, 2, และ 3
A 8
B 3
D 1
RA  1 8  ,  2  8  ,  3  8   8,16, 24
 B  2D  =3+2=5
เพราะฉะนั้น RA   B  2 D 
นั่นคือ ข้อสรุป 1 ไม่เป็นจริง
B  3, K=1,2,3,4,5,6
L  12, A=8
BK  3, 6, 9, 12, 15, 18
L
= 1.5
A
L
BK 
K
นั่นคือ ข้อสรุป 2 ไม่เป็นจริง
ข้อสรุปทั้งสองข้อไม่เป็นจริง เพราะฉะนั้นตอบ 2
ตัวอย่างที่ 8 T  U  V  W  X
P  Q  V  R  S (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์)
เปลี่ยนเครื่องหมายที่เป็นนิเสธให้เป็นเครื่องหมายธรรมดาให้มากขึ้น
T U V W  X
P  Q V  R  S
กาหนดตัวเลขแทนด้วยตัวอักษรได้ดังนี้
4 4 3
3 3 2 1 2
T U >V>W< X
P >Q =V< R S
3 2 2 3 3
4 4 4
โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 90

13. ข้อสรุป 1. U  X
ข้อสรุป 2. T  R
แนวคิด แนวในการพิจารณา U  3, 4, 5, ...
X  2, 3, 4, ...
U อาจจะมีค่ามากกว่า, น้อยกว่า หรือ เท่ากับ X ก็ได้
นั่นคือข้อสรุป 1 ไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด
T = 3, 4, 5, ...
R = 3, 4, 5, ...
T อาจจะมีค่ามากกว่า, น้อยกว่า หรือ เท่ากับ R ก็ได้
นั่นคือข้อสรุป 2 ไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด
ข้อสรุปทั้งสองข้อไม่สามารถตัดสินได้แน่ชัด เพราะฉะนั้นตอบ 3

14. ข้อสรุป 1. U  W
ข้อสรุป 2. T  Q
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

15. ข้อสรุป 1. R  T
ข้อสรุป 2. P  W
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 91

16. ข้อสรุป 1. Q  S
ข้อสรุป 2. V  W
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 92

แบบฝึกหัด 
เรื่องเงื่อนไขเชิงภาษา
พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 1-5
- เช้าวันจันทร์ สุพรและคณะไปสถานีขนส่งสายเหนือ
- สุมล ไปสถานีขนส่งสายใต้
- สุเทพกับมานพไปกับสุพร แต่น้องของมานพไปกับสุมล
- มาลีโทรศัพท์ไปนัดสุมล
- สุดา และสุพรไปด้วยกัน
1. ข้อสรุปที่1 สุพรและเพื่อนจะเดินทางไปภาคเหนือ
ข้อสรุปที่2 มาลีไปสถานีขนส่งสายใต้
2. ข้อสรุปที่1 สุมลไปสถานีขนส่งสายใต้คนเดียว
ข้อสรุปที่2 คณะของสุพรมีทั้งหมด 3 คน
3. ข้อสรุปที่1 มานพมีน้องสาว
ข้อสรุปที่2 สุเทพ สุพร สุดา และมาลี เป็นพี่น้องกัน
4. ข้อสรุปที่1 สุเทพ สุพร สุดา ไปด้วยกัน
ข้อสรุปที่2 สุเทพมีน้อง
5. ข้อสรุปที่1 มานพ มาลี สุมล ไปด้วยกัน
ข้อสรุปที่2 คณะของสุมลมี 2 คนเท่านั้น

พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 6-14
- นายดารงไม่ดื่มเหล้า
- สมศรีเป็นครู
- ญาติของสมศรีทุกคนดื่มเหล้า
- สมศักดิ์ญาติของสมศรีดื่มเหล้า
- สมชายญาติของสมศรีเป็นทหาร
- ปรีชาดื่มสุรา
- สามีของปราณีไม่ดื่มสุรา
- ปรีชาเป็นเพื่อนกับสมศักดิ์
- ดนัยเป็นญาติของสมศรี
6. ข้อสรุปที่ 1 สมชายดื่มเหล้า

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 93

ข้อสรุปที่ 2 ตารวจบางคนดื่มเหล้า
7. ข้อสรุปที่ 1 ดารงค์เป็นญาติของสมศรี
ข้อสรุปที่ 2 สมศักดิ์ไม่ดื่มสุรา
8. ข้อสรุปที่ 1 ตารวจทุกคนดื่มเหล้า
ข้อสรุปที่ 2 ภรรยาของดารงค์ไม่ชอบดื่มสุรา
9. ข้อสรุปที่ 1 สมศรีดื่มสุรา
ข้อสรุปที่ 2 ญาติบางคนของสมศรีรับราชการ
10. ข้อสรุปที่ 1 สามีของสมศรีเป็นครู
ข้อสรุปที่ 2 ดารงค์เป็นญาติของสมชาย
11. ข้อสรุปที่ 1 ดารงค์เป็นทหาร
ข้อสรุปที่ 2 ดารงค์เป็นสามีของปราณี
12. ข้อสรุปที่ 1 ปรีชาเป็นญาติของสมศรี
ข้อสรุปที่ 2 เพื่อนของสมศักดิ์บางคนดื่มสุรา
13. ข้อสรุปที่ 1 สามีของปราณีเป็นญาติกับสมศรี
ข้อสรุปที่ 2 ปรีชาเป็นตารวจ
14. ข้อสรุปที่ 1 ดนัยเป็นครู
ข้อสรุปที่ 2 ดนัยเป็นเพื่อนกับปรีชา

พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 15-19
- หนังสือ 20 เล่ม จัดวางไว้บนชั้นวางหนังสือ จานวน 4 ชั้น ชั้นละเท่าๆกัน
- มีหนังสืออยู่ 3 ประเภท คือ นิยาย ธรรมะ จิตวิทยา
- มีหนังสือนิยาย มีจานวน 2 เท่าของหนังสือธรรมะ
- หนังสือนิยาย อยู่บนชั้นอย่างน้อย ชั้นละ 1 เล่ม
- หนังสือธรรมะมีจานวนทั้งหมด 4 เล่ม อยู่บนชั้นวางชั้นที่ 2
- ชั้นวางหนังสือ ชั้นที่ 3 และ 4 มีหนังสือนิยายจานวนชั้นละเท่าๆกัน
- ไม่มีชั้นใด วางหนังสือเพียงประเภทเดียว
15. ข้อสรุปที่ 1 หนังสือจิตวิทยามีจานวนทั้งสิ้น 8 เล่ม
ข้อสรุปที่ 2 หนังสือชั้นที่สามมีหนังนิยาย 3 เล่ม
16. ข้อสรุปที่1 ไม่มีชั้นใดมีหนังสือนิยาย เพียง1เล่ม
ข้อสรุปที่ 2 หนังสือธรรมะอยู่ในชั้น 2 เท่านั้น

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 94

17. ข้อสรุปที่ 1 หนังสือจิตวิทยามีมากกว่าหนังสือธรรมะ


ข้อสรุปที่ 2 หนังสือนิยาย ชั้น2 มีจานวน 2 เล่ม
18. ข้อสรุปที่ 1 ไม่มีชั้นใดที่มีหนังสือจิตวิทยามากกว่าหนังสือนิยาย
ข้อสรุปที่ 2 บางชั้นอาจมีหนังสือน้อยกว่า 5 เล่ม
19. ข้อสรุปที่ 1 การจัดหนังสือจัดได้มากกว่า 1 แบบ
ข้อสรุปที่ 2 หนังสือนิยายมีจานวนเท่ากับหนังสือจิตวิทยา

พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 20-24
ในการแสดงมอร์เตอร์โชว์ มีรถยนต์ จานวน 7 คัน เรียงกันหันหน้ามุ่งไปทางทิศตะวันออก รถคันที่ 1
อยู่ ท างขวาสุ ด รถทั้ ง 7 มี ร ถยี่ ห้ อ ต่ อ ไปนี้ Ford Toyota Honda Benz Mazda Isuzu Mitsubishi การ
เรียงลาดับ เป็นไปตามเงื่อนไข ต่อไปนี้
1. FordFord อยู่ติดด้านขวาของ Toyota
2. Toyota จอดเป็นคันที่ 5
3. Benz จอด ระหว่าง Isuzu และ Mitsubishi
4. Honda จอดอยู่ริมสุด ตาแหน่งเป็นคันที่ 3 ไปทางซ้ายของ Isuzu
20. ข้อสรุปที่ 1 รถ Isuzu จอดอยู่กลางแถวพอดี
ข้อสรุปที่ 2 รถ Toyota จอดต่อจากรถ Isuzu
21. ข้อสรุปที่ 1 รถ Benz จอดห่างจากรถ Ford 2 คัน
ข้อสรุปที่ 2 รถ Ford อยู่ทางทิศเหนือของรถ Benz
22. ข้อสรุปที่ 1 รถ Ford จอดอยู่ระหว่าง รถ Toyota และ Isuzu
ข้อสรุปที่ 2 ด้านซ้ายของ Mitsubishi คือ Honda
23. ข้อสรุปที่ 1 Mitsubishi จอดติดกันกับ Honda
ข้อสรุปที่ 2 รถ Ford จอดอยู่ริมสุด
24. ข้อสรุปที่ 1 รถ Mazda สีเดียวกับรถ Toyota
ข้อสรุปที่ 2 รถ Benz ราคาแพงกว่า รถ Ford

พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 25-29
- จัดเรียงเก้าอี้ หมายเลข 1 -10 เป็นวงกลม ตามเข็มนาฬิกา
- เก้าอี้ทั้ง 10 ตัว มีคนนั่ง ไม่เรียงลาดับ คือ แมว มน มด มะลิ มะยม จอม จอย จ๋า ปอ
และปู โดยนั่งหันหน้าเข้าหาวงกลม

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 95

- แมวนั่งติดกับมน โดยแมวนั่งเก้าอี้ หมายเลข 1


- มะยมกับจอม นั่งติดกัน มะยมนั่งอยู่ทางซ้ายของมน
- จอยนั่งเก้าอี้หมายเลข 2 ปอนั่งเก้าอี้หมายเลข 5
- มะลิ นั่งระหว่าง จอยกับจ๋า
- มด นั่งติดกับ ปอ
25. ข้อสรุปที่ 1 แมว นั่งตรงข้ามกับ มด
ข้อสรุปที่ 2 ด้านซ้ายของมะยมคือ มน
26. ข้อสรุปที่ 1 มน นั่งระหว่างแมวกับ มะยม
ข้อสรุปที่ 2 จ๋า นั่งติดกับ ปอ
27. ข้อสรุปที่ 1 มะลิ นั่งเก้าอี้หมายเลข 4
ข้อสรุปที่ 2 มด นั่งเก้าอี้หมายเลข 5
28. ข้อสรุปที่ 1 ด้านซ้ายของแมว คือ จอย
ข้อสรุปที่ 2 ด้านขวาของ จ๋า คือ ปอ
29. ข้อสรุปที่ 1 จอย เป็นเพื่อนกับ แมว
ข้อสรุปที่ 2 จอม เป็นเพื่อนกับ มะยม

พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 30-34
- พนม ทินกร วิทยาและสุชาติ มีที่อยู่กันคนละแห่ง คือ หมู่บ้านลาด บ้านบาก หนองบัว
และเนินสูง ซึ่งไม่ได้เรียงกันตามลาดับ
- หมู่บ้านในแต่ละแห่งอยู่ในตาบลต่างๆกันไป คือ น้าเย็น บ้านนา พระนอน แม่บัว ซึ่ง
ไม่ได้เรียงตามลาดับ
- ตาบลแต่ละแห่งอยู่ในอาเภอต่างๆกันคือ พนาไพร ไกรลาส สามมิตร และเมือง
- ทินกร อยู่ตาบลพระนอน ในขณะที่พนมอยู่ในอาเภอสามมิตร
- หมู่บ้านเนินสูงอยู่ในตาบลบ้านนาในอาเภอไกรลาส
- คนหนึ่งอยู่ตาบลน้าเย็นในอาเภอเมือง
- สุชาติอยู่บ้านบาก
30. ข้อสรุปที่ 1 พนมอยู่ที่หมู่บ้านหนองบัว
ข้อสรุปที่ 2 ทินกรอยู่ที่หมู่บ้านลาด
31. ข้อสรุปที่ 1 คนที่อยู่ในตาบลน้าเย็น คือวิทยา
ข้อสรุปที่ 2 บ้านหนองบัว อยู่ในอาเภอสามมิตร

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 96

32. ข้อสรุปที่ 1 คนที่อยู่ในอาเภอไกรลาศ คือวิทยา


ข้อสรุปที่ 2 คนที่อยู่ในอาเภอพนาไพร คือทินกร
33. ข้อสรุปที่ 1 บ้านบากอยู่ในตาบลน้าเย็น
ข้อสรุปที่ 2 วิทยาไม่ได้อยู่ที่บ้านเนินสูง
34. ข้อสรุปที่ 1 ตาบลพระนอนมีหมู่บ้านชื่อหนองบัว
ข้อสรุปที่ 2 สุชาติอยู่ที่อาเภอเมือง

พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 35-39
- มีนักท่องเที่ยว 5 ชาติ คือ จีน สิงค์โปร์ เกาหลี คูเวต และมาเลเซีย มาเที่ยวเมืองไทย แต่
ละคนต้องการไปชมสถานที่ต่างๆซึ่งไม่ซ้ากัน
- สถานที่ที่นักท่องเที่ยวแต่ละคนต้องการไปคือ วัดเบญจมบพิตร ตลาดน้าวัดไทร วัดพระ
แก้ว ศาลหลักเมือง และพิพิธภัณฑ์ แต่ปรากฎว่ามีนักท่องเที่ยว 4 คน หลงไปที่อื่น คือ ตลาดน้าตลิ่ง
ชัน วัดอรุณราชวราราม วักโพธิ์ และวัดสุทัศน์
- มีนักท่องเที่ยวที่ต้องการไปตลาดน้าวัดไทร ไปถามจากนักศึกษา จึงหลงทางไปตลาดน้า
ตลิ่งชัน
- มีนักท่องเที่ยวอยู่คนหนึ่งไม่ได้ถามทางใครและไม่หลงทางไปไหน
- ชาวคูเวต ต้องการไปชมหินอ่อนที่วัดเบญจมบพิตร
- ชาวสิงคโปร์ ไปถามทางจากคนแต่งชุดสีกากีแล้วหลงทางไปวัดโพธิ์
- คนจีน ไม่ต้องการไปพิพิธภัณฑ์และหลงทางไปวัดอรุณราชวราราม
- ชาวมาเลเซีย ไปถามทางจากพระจึงหลงทางไปที่อื่นทั้งๆ ที่จะไปศาลหลักเมือง
- คนที่หลงทางไปตลาดน้าตลิ่งชันคือชาวเกาหลี
- มีนักท่องเที่ยวคนหนึ่งที่ถามทางจากกระเป๋ารถเมล์
35. ข้อสรุปที่ 1 ชาวจีนไปถามทางจากกระเป๋ารถเมล์
ข้อสรุปที่ 2 ชาวสิงค์โปร์ถามทางจากตารวจ
36. ข้อสรุปที่ 1 ชาวคูเวตหลงทางไปวัดสุทัศน์
ข้อสรุปที่ 2 ชาวมาเลเซียไม่ได้หลงทาง
37. ข้อสรุปที่ 1 นักศึกษาบอกทางคนเกาหลี
ข้อสรุปที่ 2 ชาวจีนต้องการไปเที่ยววัดพระแก้ว
38. ข้อสรุปที่ 1 คนที่หลงทางไปวัดสุทัศน์คือคนอยากไปวัดเบญจมบพิตร
ข้อสรุปที่ 2 ชาวเกาหลีต้องการไปเที่ยวตลาดน้ามากกว่าเที่ยววัด

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 97

39. ข้อสรุปที่ 1 คนที่ต้องการไปพิพิธภัณฑ์กลับหลงไปเที่ยวที่วัดโพธิ์


ข้อสรุปที่ 2 กระเป๋ารถเมล์ช่วยบอกทางให้กับคนที่ต้องการไปวัดเบญจมบิตร

พิจารณาเงื่อนไขต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 40-44
- ในการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ผ่านมา ปรากฏว่ามีพรรคที่ได้รับการเลือกตั้งจานวน 8 พรรค
- พรรค A มีจานวน ส.ส. มากกว่าพรรค B 70 คน
- พรรค C มีจานวน ส.ส. อยู่ระหว่างพรรค D และ B
- พรรค C และพรรค D มี ส.ส. รวม 40 คน
- พรรค B และพรรค C มี ส.ส. รวม 20 คน
- พรรค E มี ส.ส. มากกว่าพรรค B แต่น้อยกว่าพรรค A
- พรรค H มี ส.ส. มากกว่าพรรค C สามเท่า
- พรรคที่มี ส.ส. น้อยที่สุดมี ส.ส. 5 คน
- จานวน ส.ส. ของแต่ละพรรคมีความแตกต่างกันในลักษณะเลขอนุกรมเว้นห่างกันเท่ากับ
10
- ในการจัดตั้งรัฐบาล ฝ่ายที่เป็นรัฐบาลจะต้องได้รับเสียงสนับสนุนเกินกว่าครึ่งหนึ่งของ ส.ส.
ทั้งหมด
- พรรค A ไม่สามารถร่วมกับพรรค F ได้
- พรรค G ไม่สามารถร่วมกับพรรค H และพรรค E ได้
40. ข้อสรุปที่ 1 พรรค A มีจานวน ส.ส. มากที่สุด
ข้อสรุปที่ 2 พรรค B มีจานวน ส.ส. น้อยที่สุด
41. ข้อสรุปที่ 1 พรรค E มีจานวน ส.ส. 40 คน
ข้อสรุปที่ 2 พรรค G มีจานวน ส.ส. มากเป็นอันดับที่ 2
42. ข้อสรุปที่ 1 จานวน ส.ส. พรรค E และ D รวมกันแล้วไม่น้อยกว่า ส.ส. พรรค G
ข้อสรุปที่ 2 พรรค F ได้รับเลือกตั้งมากกว่าพรรค G
43. ข้อสรุปที่ 1 หากพรรค A เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาล จาเป็นต้องมีพรรคอื่นร่วมด้วยอีก 3 พรรค
ข้อสรุปที่ 2 จานวน ส.ส. ของพรรคที่มีคะแนนเสียงสูงสุด 2 พรรคแรก รวมกันแล้วไม่ น้อยกว่ากึ่ง
หนึ่งของ ส.ส.ทั้งหมด
44. ข้อสรุปที่ 1 พรรค A ได้เป็นรัฐบาล
ข้อสรุปที่ 2 พรรค E ไม่สามารถร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับพรรค A ได้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 98

2. เงื่อนไขเชิงสัญลักษณ์

เงื่อนไข
A  B  DC  F และ
C  E G  J (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 1-5)
1. ข้อสรุปที่ 1 J  F
ข้อสรุปที่ 2 J  E
2. ข้อสรุปที่ 1 A  D
ข้อสรุปที่ 2 D  F
3. ข้อสรุปที่ 1 E  F
ข้อสรุปที่ 2 G  E
4. ข้อสรุปที่ 1 C  G
ข้อสรุปที่ 2 J  G
5. ข้อสรุปที่ 1 B  F
ข้อสรุปที่ 2 2D  C

เงื่อนไข
L  M  P O  N และ
QP U R  S (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 6-10)
6. ข้อสรุปที่ 1 L  Q
ข้อสรุปที่ 2 O  S
7. ข้อสรุปที่ 1 Q  R
ข้อสรุปที่ 2 P  S
8. ข้อสรุปที่ 1 U  O
ข้อสรุปที่ 2 O  L
9. ข้อสรุปที่ 1 L  O
ข้อสรุปที่ 2 R  M
10. ข้อสรุปที่ 1 M  S
ข้อสรุปที่ 2 R  N

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 99

เงื่อนไข
A  B  D C  F และ
I  B G  J  H (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 11 – 18)
11. ข้อสรุปที่ 1 J D

ข้อสรุปที่ 2 C J

12. ข้อสรุปที่ 1 H I

ข้อสรุปที่ 2 DH

13. ข้อสรุปที่ 1 IH

ข้อสรุปที่ 2 J I

14. ข้อสรุปที่ 1 GC

ข้อสรุปที่ 2 AC

15. ข้อสรุปที่ 1 FH

ข้อสรุปที่ 2 H A

16. ข้อสรุปที่ 1 JA

ข้อสรุปที่ 2 AG

17. ข้อสรุปที่ 1 I F

ข้อสรุปที่ 2 H C

18. ข้อสรุปที่ 1 CA

ข้อสรุปที่ 2 I C

เงื่อนไข
M L N  K  J และ
I J O  P (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 19 – 23 )
19. ข้อสรุปที่ 1 I P

ข้อสรุปที่ 2 K O

20. ข้อสรุปที่ 1 P J

ข้อสรุปที่ 2 K I

21. ข้อสรุปที่ 1 N L

ข้อสรุปที่ 2 I O

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 100

22. ข้อสรุปที่ 1 PK

ข้อสรุปที่ 2 M N

23. ข้อสรุปที่ 1 2 L  2M

ข้อสรุปที่ 2 P J

เงื่อนไข
Z  W  S  Q V และ
QPK  L (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 24 – 28 )
24. ข้อสรุปที่ 1 L V
ข้อสรุปที่ 2 L  P
25. ข้อสรุปที่ 1 Z  S
ข้อสรุปที่ 2 S V
26. ข้อสรุปที่ 1 P  V
ข้อสรุปที่ 2 K  P
27. ข้อสรุปที่ 1 Q  K
ข้อสรุปที่ 2 L  K
28. ข้อสรุปที่ 1 W V
ข้อสรุปที่ 2 2S  Q

เงื่อนไข
A  B CD  E และ
H C  N  F  G (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 29 – 33 )
29. ข้อสรุปที่ 1 A H

ข้อสรุปที่ 2 D G

30. ข้อสรุปที่ 1 H F

ข้อสรุปที่ 2 C G

31. ข้อสรุปที่ 1 N D

ข้อสรุปที่ 2 D A

32. ข้อสรุปที่ 1 A D

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 101

ข้อสรุปที่ 2 FB

33. ข้อสรุปที่ 1 BG

ข้อสรุปที่ 2 F E

เงื่อนไข
O  H  GF E และ
C H D  B  A (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 34 – 38 )
34. ข้อสรุปที่ 1 BG

ข้อสรุปที่ 2 F B

35. ข้อสรุปที่ 1 A C

ข้อสรุปที่ 2 G A

36. ข้อสรุปที่ 1 C  A

ข้อสรุปที่ 2 BC

37. ข้อสรุปที่ 1 DF

ข้อสรุปที่ 2 OF

38. ข้อสรุปที่ 1 EA

ข้อสรุปที่ 2 AO

เงื่อนไข
A  D  N B และ
R DQ (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 39 – 42 )
39. ข้อสรุปที่ 1 A N

ข้อสรุปที่ 2 QD

40. ข้อสรุปที่ 1 A B

ข้อสรุปที่ 2 DB

41. ข้อสรุปที่ 1 BN


ข้อสรุปที่ 2 NA

42. ข้อสรุปที่ 1 NA

ข้อสรุปที่ 2 RQ

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 102

เงื่อนไข
3Q  4 A  4 B  2 D และ
3R  3 A  D (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 43 – 47 )
43. ข้อสรุปที่ 1 QR

ข้อสรุปที่ 2 D  3R

44. ข้อสรุปที่ 1 D  3Q

ข้อสรุปที่ 2 4A  D
45. ข้อสรุปที่ 1 4 A  2D
ข้อสรุปที่ 2 D A
46. ข้อสรุปที่ 1 BD
ข้อสรุปที่ 2 B  3R

47. ข้อสรุปที่ 1 D  3Q

ข้อสรุปที่ 2 4A  D

เงื่อนไข
A B  M  N  D และ
F  M  G  Y  Q (ทุกตัวอักษรมีค่ามากกว่าศูนย์และใช้สาหรับข้อ 48 – 50 )

48. ข้อสรุปที่ 1 A  B
ข้อสรุปที่ 2 N  Q
49. ข้อสรุปที่ 1 F  Y
ข้อสรุปที่ 2 M  Q
50. ข้อสรุปที่ 1 F  G
ข้อสรุปที่ 2 M  D

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


บทที่ 4
การอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวัน
การวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหา
และการเลือกใช้แนวทาง

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา การคิดเชิงเหตุผล


โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ
่ ้านจอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 104

ในชีวิตประจำวันทุกคนต้องเคยพบกับปัญหำต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นปัญหำด้ำนกำรเรียน กำรงำน กำรเงิน


หรือแม้แต่กำรเล่นเกมส์ เมื่อพบกับปัญหำ แต่ละคนมีวิธีที่จะจัดกำรหรือแก้ปัญหำเหล่ำนั้นแตกต่ำงกันไป ซึง่ แต่ละ
วิธีกำรอำจให้ผลลัพธ์ที่เหมือนหรือแตกต่ำงกันเล็กน้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับควำมรู้ ควำมสำมำรถ และประสบกำรณ์
ของบุคคลผู้นั้น อย่ำงไรก็ตำม หำกเรำนำวิธีกำรแก้ปัญหำต่ำงวิธีนั้นมำวิเครำะห์ให้ดี จะพบว่ำสำมำรถสรุปวิธีกำร
เหล่ำนั้นเป็นทฤษฎีซึ่งมีรูปแบบที่แน่นอนได้ และบำงครั้งต้องอำศัยกำรเรียนรู้ในระดับสูงเพื่อแก้ปัญหำบำงอย่ำงให้
สมบู ร ณ์ แ บบ และจำกกำรศึ ก ษำพฤติ ก รรมในกำรเรี ย นรู้ แ ละแก้ ปั ญ หำของมนุ ษ ย์ พ บว่ ำ โดยปกติ ม นุ ษ ย์ มี
กระบวนกำรในกำรแก้ปัญหำ ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. กำรวิเครำะห์และกำหนดรำยละเอียดของปัญหำ
2. กำรวำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
3. กำรดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแนวทำงที่วำงไว้
4. กำรตรวจสอบและปรับปรุง

1. การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา
กำรวิเครำะห์และกำหนดรำยละเอียดของปัญหำ ในกำรที่จะแก้ปัญหำใดปัญหำหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำ
คือทำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับถ้อยคำต่ำง ๆ ในปัญหำ แล้วแยกปัญหำให้ออกว่ำอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหำ แล้วมีอะไรเป็น
ข้อมูลที่กำหนด และมีเงื่อนไขใดบ้ำง หลังจำกนั้นจึงพิจำรณำว่ำข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหำ
คำตอบของปัญหำได้หรือไม่ ถ้ำไม่เพียงพอ ให้หำข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสำมำรถแก้ไขปัญหำได้ ดังนี้
1. กำรระบุข้อมูลเข้ำ ได้แก่ กำรพิจำรณำข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมำกับปัญหำ
2. กำรระบุข้อมูลออก ได้แก่ กำรพิจำรณำเป้ำหมำยหรือสิ่งที่ต้องหำคำตอบหรือผลลัพธ
3. กำรกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ กำรพิจำรณำวิธีหำคำตอบ หรือผลลัพธ์

ตัวอย่างที่ 1 “เด็กหญิงมีนำต้องกำรทำบะหมี่น้ำโดยใช้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป” จำกสถำนกำรณ์ข้ำงต้นจงระบุข้อมูล


เข้ำ ข้อมูลออก และวิธีประมวลผล
วิธีทา จำกสถำนกำรณ์ข้ำงต้นสำมำรถวิเครำะห์และกำหนดรำยละเอียดของปัญหำได้ดังนี้
กำรระบุข้อมูลเข้ำ คือ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
กำรระบุข้อมูลออก คือ บะหมี่น้ำ
กำรกำหนดวิธีประมวลผล คือ กำรต้ม
โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 105

ตัวอย่างที่ 2 “เด็กชำยกำนันมีของเล่นเป็นรูปสำมเหลี่ยมต้องกำรคำนวณหำพื้นที่ของของเล่นชิ้นนี้”
จำกสถำนกำรณ์ข้ำงต้น จงวิเครำะห์และกำหนดรำยละเอียดของปัญหำ
วิธีทา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.1 การวางแผนในการแก้ปัญหา
กำรวำงแผนในกำรแก้ปัญหำ จำกกำรทำควำมเข้ำใจกับปัญหำจะช่วยให้เกิดกำรคำดคะเนว่ำจะใช้วิธีกำรใด
ในกำรแก้ปัญหำเพื่อให้ได้มำซึ่งคำตอบ ประสบกำรณ์เดิมของผู้แก้ปัญหำจะมีส่วนช่วยอย่ำงมำก ฉะนั้นในกำร
เริ่ ม ต้ น จึ ง ควรจะเริ่ ม ด้ว ยกำรถำมตนเองว่ ำ “เคยแก้ ปั ญ หำในท ำนองเดี ยวกั น นี้ม ำก่ อ นหรื อ ไม่ ” ในกรณี ที่ มี
ประสบกำรณ์มำก่อนควรจะใช้ประสบกำรณ์เป็นแนวทำงในกำรแก้ปัญหำ สิ่งที่จะช่วยให้เรำเลือกใช้ประสบกำรณ์
เดิมได้ดีขึ้นคือ กำรมองดูสิ่งที่ต้องกำรหำ และพยำยำมเลือกปัญหำเดิมที่มีลักษณะคล้ำยคลึงกัน เมื่อเลือกได้แล้วก็
เท่ำกับมีแนวทำงว่ำจะใช้ควำมรู้ใดในกำรหำคำตอบหรือแก้ปัญหำ โดยพิจำรณำว่ำวิธีกำรแก้ปัญหำเดิมนั้นมีควำม
เหมำะสมกับปัญหำหรือไม่ หรือต้องมีกำรปรับปรุงเพื่อให้ได้วิธีกำรแก้ปัญหำที่ดีขึ้น ในกรณีที่ไม่เคยมีประสบกำรณ์
ในกำรแก้ปัญหำทำนองเดียวกันมำก่อน ควรเริ่มจำกกำรมองดูสิ่งที่ต้องกำรหำ แล้วพยำยำมหำวิธีกำรเพื่อให้ได้
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งที่ต้องกำรหำกับข้อมูลที่มีอยู่ เมื่อได้ควำมสัมพันธ์แล้วต้องพิจำรณำว่ำควำมสัมพันธ์ นั้น
สำมำรถหำคำตอบได้หรือไม่ ถ้ำไม่ได้ก็แสดงว่ำต้องหำข้อมูลเพิ่มเติมหรืออำจจะต้องหำควำมสัมพันธ์ในรูปแบบอื่น
ต่อไป เมื่อได้แนวทำงในกำรแก้ปัญหำแล้วจึงวำงแผนในกำรแก้ปัญหำเป็นขั้นตอน

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 106

ตัวอย่างที่ 3 จำกสถำนกำรณ์ข้อ 1 “เด็กหญิงมีนำต้องกำรทำบะหมี่น้ำโดยใช้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป”


จำกสถำนกำรณ์ข้ำงต้นจงวำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
วิธีทา จำกสถำนกำรณ์ข้ำงต้นสำมำรถวำงแผนในกำรแก้ปัญหำได้ดังนี้
1. เริ่มต้นเตรียมวัสดุ
2. ต้มน้ำให้เดือด
3. ใส่บะหมี่ลงในน้ำเดือด
4. รอ 2 นำที
5. ใส่เครื่องปรุงแล้วยกหม้อลงจำกเตำ
6. ได้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป

ตัวอย่างที่ 4 จำกสถำนกำรณ์ข้อ 2 จงวำงแผนในกำรแก้ปัญหำ


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 การดาเนินการแก้ปัญหาตามแนวทางที่วางไว้
กำรดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแนวทำงที่วำงไว้ เมื่อได้วำงแผนแล้วก็ดำเนินกำรแก้ปัญหำ ระหว่ำงกำร
ดำเนินกำรแก้ปัญหำอำจทำให้เห็นแนวทำงที่ดีกว่ำวิธีที่คิดไว้ ก็สำมำรถนำมำปรับเปลี่ยนได้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 107

1.3 การตรวจสอบและปรับปรุง
หลังจำกที่ลงมือแก้ปัญหำแล้วต้องตรวจสอบให้ แน่ใจว่ำวิธีกำรนี้ให้ผลลั พธ์ที่ถูกต้องโดยผู้แก้ปัญหำต้ อง
ตรวจสอบว่ำขั้นตอนวิธีที่สร้ำงขึ้นสอดคล้องกับรำยละเอียดของปัญหำ ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้ำและข้อมูลออกเพื่อให้
มั่นใจว่ำสำมำรถรองรับข้อมูลเข้ำได้ทุกกรณีอย่ำงถูกต้องสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีกำรเพื่อให้กำร
แก้ปัญหำนี้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

ตัวอย่างที่ 5 จำกสถำนกำรณ์“เด็กหญิงเมษำต้องกำรไปโรงเรียน” จำกสถำนกำรณ์ข้ำงต้นจงบอกกระบวนกำร


แก้ปัญหำ
วิธีทา 1) กำรวิเครำะห์และกำหนดรำยละเอียดของปัญหำ
กำรระบุข้อมูลเข้ำ คือ กำรตื่นนอน
กำรระบุข้อมูลออก คือ ไปถึงโรงเรียน
กำรกำหนดวิธีประมวลผล คือ กำรเดินทำง

2) กำรวำงแผนในกำรแก้ปัญหำ
1. ตื่นนอน
2. ง่วงใช่ไหม
3. ถ้ำง่วงนอนต่อ 10 นำที แล้วตื่นไปอำบน้ำและแต่งตัว
4. ถ้ำไม่ง่วงอำบน้ำและแต่งตัว
5. ไปโรงเรียน

3) กำรดำเนินกำรแก้ปัญหำตำมแนวทำงที่วำงไว้
ปฏิบัติตำมขั้นตอนในข้อ 2

4) กำรตรวจสอบ
ตรวจสอบว่ำถึงโรงเรียนตำมเวลำที่กำหนดไหม

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 108

ตัวอย่างที่ 6 หำกต้องกำรคำนวณหำผลรวมตั้งแต่เลข 1-8 จงบอกกระบวนกำรแก้ปัญหำ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 109

แบบฝึกหัด 
การอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวัน การวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหา และการเลือกใช้แนวทาง

1. จงบอกกระบวนกำรแก้ปัญหำ โดยจำลองควำมคิดเป็นข้อควำม ในกำรวำงแผนทำไข่เจียวโดยใช้เตำ


ถ่ำน มำโดยละเอียด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 110

2. ในกำรหำพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีกระบวนกำรในกำรแก้ปัญหำอย่ำงไรบ้ำง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. “หำกนักศึกษำลืมเอำสมุดกำรบ้ำนมำ นักศึกษำมีวิธีแก้ปัญหำอย่ำงไร”

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 111

4. พิจำรณำแผนผังแสดงเส้นทำงระหว่ำงจุดเริ่มต้น A ไปยังโรงอำหำรของโรงเรียนที่ จุด H ตำมรูป ระหว่ำง


จุด A และจุด H มีจุด B C D E F และ G ซึ่งเป็นอำคำรเรียนเส้นที่มีลูกศรเป็นทำงเชื่อมระหว่ำงอำคำร และตัวเลข
ที่กำกับอยู่บนเส้นแสดงเวลำ (นำที) ที่ใช้ในกำรเดินทำงระหว่ำงสองจุด ถ้ำนักเรียนเดินทำงจำกอำคำร A ไปโรง
อำหำรให้หำว่ำเส้นทำงใดใช้เวลำในกำรเดินทำงน้อยที่สุด และใช้เวลำกี่นำที

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 112

5. จำกโจทย์ข้อ 4 จงบอกขั้นตอนในกำรแก้ปัญหำ 4 ขั้นตอน ได้แก่


5.1 กำรวิเครำะห์และกำหนดรำยละเอียดของปัญหำ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5.2 กำรวำงแผนในกำรแก้ปัญหำ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5.3 กำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5.4 กำรตรวจสอบและปรับปรุง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 113

6. จำกสถำนกำรณ์ที่กำหนด จงบอกขั้นตอนในกำรแก้ไขสถำนกำรณ์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 114

7. ให้นักศึกษำยกตัวอย่ำงปัญหำในชีวิตประจำวันที่พบเจอ พร้อมทั้งบอกขั้นตอนในกำรแก้ไขปัญหำนั้นๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


บทที่ 5
การวิเคราะห์และอธิบายข้อมูลข่าวสาร
และการตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูล

เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา การคิดเชิงเหตุผล


โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ
่ ้านจอมบึง
การคิดเชิงเหตุผล 116

5.1 การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง การนําข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ จากกลุ่มตัวอย่างหรือจากประชากรการวิจัย
จํานวนหนึ่ง มาจําแนกเพื่อตอบประเด็นปัญหาการวิจัย หรือทดสอบสมมุติฐานการวิจัยให้ครบทุกข้อ ถ้าข้อมูลเชิง
ปริมาณหรือเป็นตัวเลข ผู้วิจัยจะใช้วิธีการทางสถิติสรุปรวมข้อมูล แต่ถ้าเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยจะใช้วิธีการ
สรุปความ หรือสังเคราะห์ข้อความ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นวิธีการวิเคราะห์ที่จะต้องใช้วิธีการทางสถิติช่วยสรุปรวมข้อมูลเพื่อตอบ
ประเด็นปัญหาการวิจัยต่างๆ วิธีการทางสถิติแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง ก่อนที่จะ
กล่าวถึงรายละเอียดของสถิติแต่ละประเภท จะขอกล่าวถึงการใช้วิธีการทางสถิติในการวิจัยก่อนดังนี้
การหาค่าสถิติต่าง ๆ ในปัจจุบันผู้วิจัยไม่จําเป็นต้องคํานวณหาค่าโดยการแทนค่าลงในสูตร เพราะเรามี
โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูปสําหรับคํานวณหาค่าสถิติต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการได้โดยที่ผู้วิจัยจะต้องมีมโนทัศน์
(Concept) ดังนี้
1. ผู้ วิจัย ต้องเลื อกใช้วิธีการทางสถิติให้ เหมาะสมกับลั กษณะของข้อมูล หรือ สมมุติฐานการวิจั ย เช่น
ผู้วิจัยต้องมีความรู้ว่าข้อมูลแบบต่อเนื่อง หรือไม่ต่อเนื่องควรใช้สถิติอะไรที่เหมาะสม หรือสมมุติฐานการวิจัยอย่างนี้
ควรใช้สถิติอะไร เป็นต้น
2. ผู้ วิ จั ย ต้ อ งอ่ า นค่ าสถิ ติ ห รื อ แปลความหมายค่ าสถิ ติ ที่ โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ คํ า นวณมาให้ ได้ ว่ า
หมายความอย่างไร เช่น ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ที่ได้หมายความว่าอย่างไร หรือค่าสถิติทดสอบที่ได้ผู้วิจัยจะตัดสินใจ
ปฏิเสธ หรือไม่ปฏิเสธสมมุติฐานการวิจัย เป็นต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยไม่ใช้สถิติ มีดังนี้
1. การวิเคราะห์เอกสาร ( Documentary Analysis ) ใช้ในการวิจัยเอกสารและวิเคราะห์เกี่ยวกับเนื้อหา
( content ) ในเอกสาร
2. การวิเคราะห์โดยสังเกต โดยสังเกตพฤติกรรม / เหตุการณ์ที่อยู่ในสังคมแล้วผู้วิจัยแปลความหมายเอง
สรุปความเอง วิเคราะห์เอง
การวิเคราะห์ขอ้ มูลของการวิจัยเชิงคุณภาพทางด้านสังคมศาสตร์นั้นต้องมีการเชื่อมโยงความรู้อื่น ๆ ดังนี้
1. ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์
2. ความรู้ด้านชุมชน สังคม วัฒนธรรม
3. ความรู้ทางปรัชญาและศาสนาเพื่ออธิบายสรุปนามธรรมจากข้อมูลที่ปรากฏในรูปธรรมได้ด้วยการ
สังเคราะห์ เป็ น กระบวนบู รณาการปั จจั ย ต่าง ๆตั้งแต่สองปัจจัยขึ้นไปซึ่งอาจเป็นได้ทั้ งคน สั ตว์ สิ่ งของรวมทั้ ง
เหตุการณ์และสิ่งที่อยู่ในรูปของแนวคิดเข้ามาเป็นองค์ประกอบร่วมกัน เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือเกิดปรากฏการใหม่ที่
อาจเรี ยกได้ว่าเป็ น การบู รณาภาพ โดยปั จ จัยหรือองค์ประกอบต่าง ๆที่เ ข้ามาสู่กระบวนการบูรณาการในการ
สังเคราะห์นั้น บางปัจจัยอาจจะได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมาก่อนแล้ว ขณะที่บางปัจจัยก็อาจจะยังไม่ได้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 117

ผ่านการวิเคราะห์ แยกแยะสืบ ค้น มาก่อน สภาวะรูปของปัจจัยและองค์ประกอบต่าง ๆ ที่นํามาเป็นปัจจัยและ


องค์ประกอบในการสังเคราะห์นั้นอาจเป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรม ซึ่งบูรณภาพที่เป็นปรากฏการณ์ใหม่
หรือสิ่งใหม่อันเกิดขึ้นจากการสังเคราะห์นั้นก็เป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรมเช่นกัน
ขั้นตอนการสังเคราะห์
1. กําหนดหัวเรื่องและจุดประสงค์ที่จะสังเคราะห์ให้ชัดเจนว่าต้องการสังเคราะห์เพื่อให้ เกิดบูรณาภาพ
หรื อ ปรากฏการณ์ ใหม่ ในรู ป แบบใด เช่ น เพื่ อ ให้ เกิ ด ผลผลิ ต เพื่ อ ให้ เกิ ด ข้ อ สรุป หรือ เพื่ อ ให้ เกิ ด การทํ า นาย
เหตุ การณ์ ในอนาคตโดยกํ า หนดวัต ถุป ระสงค์ ให้ ชั ดเจนด้ ว ยว่าจะสั งเคราะห์ เพื่ อนํ า ผลการสั งเคราะห์ ที่ ได้ ไป
ดําเนินการในสิ่งใดต่อ
2. จัดเตรียมปัจจัยและองค์ประกอบต่าง ๆ ที่จะนําเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์สิ่งของ
หรือเป็ นประเด็น นามธรรมต่าง ๆ คัดกรอง คัดเลือกให้ได้ข้อมูล หรือปัจจัยวัตถุดิบต่าง ๆที่มีคุณ ภาพเพื่อนําสู่
กระบวนการสังเคราะห์
3. สังเคราะห์ ปัจจัยและองค์ป ระกอบต่าง ๆ ที่เตรียมไว้ตามจุดประสงค์ที่กําหนด โดยให้กระบวนการ
สังเคราะห์มุ่งที่การน าปรากฏการใหม่หรือบูรณาภาพที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามที่ได้ กําหนด
ไว้ในวัตถุประสงค์ของการสังเคราะห์
4. ตรวจสอบและประเมินผลการสังเคราะห์ที่ได้ว่าน่าจะมีความแม่นยําความเที่ยง และความเป็นไปได้มาก
น้อยเพียงใดเพื่อเตรียมนําไปใช้ตามวัตถุประสงค์
4.1 ผลการสังเคราะห์ที่มีคุณภาพ มีความแม่นยํา น่าเชื่อถือและมีความเป็นไปได้สูง สามารถนํา
ผลของการสังเคราะห์ดําเนินการนําไปใช้ในขั้นต่อไปได้ตามวัตถุประสงค์
4.2 ผลของการสั งเคราะห์ ที่ ไม่ มีคุ ณ ภาพ ให้ นํ า ผลของการสั งเคราะห์ นั้ น เข้าสู่ ก ระบวนการ
วิเคราะห์ เพื่อดําเนินการแยกแยะตรวจสอบหาที่มาของปั จจัยและองค์ประกอบต่างๆที่ได้นํา เข้าสู่กระบวนการ
สังเคราะห์ รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพของผู้ทําการสังเคราะห์เพื่อสืบค้นหาที่มาและเหตุปัจจัยที่ทํา ให้ผลของการ
การสังเคราะห์เป็นผลการสังเคราะห์ที่ไม่มีคุณภาพ และเมื่อวิเคราะห์หาเหตุปัจจัยต่างๆนั้นได้แล้วให้แก้ไขปรับปรุง
หรือเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาข้อมูลหรือองค์ประกอบปัจจัยต่างๆนั้นให้มีคุณภาพต่อไปเพื่อนําเข้าสู่กระบวนการ
สังเคราะห์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง
5. นําผลการสังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมายโดยจะนํา เสนอต่อสาธารณะหรือเก็บเป็นข้อมูล
สังเคราะห์ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทํา การสังเคราะห์ เช่น สังเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อ นําไปใช้
ประกอบการคาดเดาโอกาสของเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 118

5.2 สังคมข้อมูลข่าวสาร
สังคมยุคข้อมูลข่าวสาร (Information Society) เป็นวิวัฒนาการทางสังคมครั้ งหลังสุดของสังคมมนุษย์
เกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 20 ข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศมีความสําคัญต่อสังคมและเศรษฐกิจ จนคุ้นเคยกันว่า
“ข้อมูลข่าวสารคืออํานาจ” (Information is power)
วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์ ประกอบด้วย
1. สังคมยุคก่อนการเกษตรกรรม (Preargricultural Society)
2. สังคมยุคการเกษตรกรรม (Argricultural Society)
3. สังคมยุคอุตสาหกรรม (Industrial Society)
4. สังคมยุคข้อมูลข่าวสาร (Information Society)

แฟรงค์ เว็บสเตอร์ (Frank Webster) สังคมยุคข้อมูลข่าวสารมีลักษณะที่สามารถวัดระดับได้ จากปัจจัยมี


ปัจจัยสําคัญ คือ นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและการแพร่หลายของนวัตกรรมการเปลี่ยนแปลงทางอาชีพ การสร้ าง
มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ การไหลเวียนของข่าวสารในสังคม สํานักสังคมวิทยาและนักอนาคตศาสตร์ นับเป็ นผู้
บุ ก เบิ ก กระบวนทั ศ น์ สั งคมยุ ค ข้ อ มู ล ข่ า วสาร เริ่ ม จากกลุ่ ม นั ก วิ ช าการเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารเป็ น ตั ว กํ า หนด
(Communication Technological Determinism) แล้วขยายไปสู่นักสังคมวิทยา กลุ่มนักอนาคตศึกษา ซึ่งพบว่า
เทคโนโลยีการสื่อสารและข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และเศรษฐกิจ
นักคิดสังคมข้อมูลข่าวสารที่สําคัญ ดังนี้
1. ฮาโรลด์ เอ อินนิส (Harold A. Innis)
2. มาร์แชล แมคลูฮัน (Marshall McLuhan)
3. เอเวอร์เรตต์ เอ็ม โรเจอร์ (Everett M. Rogers)
4. อัลวิน ทอฟฟ์ เลอร์ (Alvin Toffler)
5. จอห์น ไนส์บิตต์ (John Naisbitt)
6. เจอร์เกน ฮาเบอร์มาส (Jürgen Habermas)
7. นิโคลัส นิโกรปอนเต้ (Nicholas Negroponte)
8. โรเจอร์ ฟิดเลอร์ (Roger Fidler)

สื่อและการเปลี่ยนแปลงของสังคม
การสื่อสารในสังคมแต่ละยุคสมัยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสื่อกับสังคม (Media and Society) ใน
สั งคมยุ ค ข้อ มูล ข่าวสารที่ เทคโนโลยี ก ารสื่ อสารได้ มี ก ารหลอมรวมทางเทคโนโลยีส่ งผลให้ เกิ ดสื่ อใหม่ (New
Media) ที่มี “การหลอมรวม” (convergence) ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโลกและสังคมอย่างมากในหลาย ๆ

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 119

ด้าน ทั้งการอุบัติขึ้นของสื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การกลมกลืนกั นของเทคโนโลยีการสื่อสาร การถ่ายโอนข้อมูล


ข่าวสารของอาณาจักรสื่อการเกิดวิถีชีวิตแบบใหม่ รวมทั้ง ความท้าทายของงานและอาชีพ การเปลี่ยนแปลงของ
องค์ก รและวิธี การควบคุม และกากับ สื่ อ การเกิด ขึ้ นของประเด็ น ทางสั งคมใหม่ ๆ รวมทั งพลวัตใหม่ ของพลั ง
ขับเคลื่อนทางสังคมจนกล่าวได้ว่า “สื่อเปลี่ยนแปลง สังคมเปลี่ยนไป”
ลักษณะและสภาพสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร
สั งคมไทยในปั จ จุ บั น ก้ าวเข้าสู่ สั งคมยุค ข้ อ มูล ข่าวสาร (Information Society) แต่ยังไม่ส มบู รณ์ แ บบ
เพราะยังมีลักษณะกึ่งสังคมการเกษตรกรรม กับสังคมอุตสาหกรรมไปพร้อม ๆ กัน
สภาพสังคมยุคข้อมูลข่าวสารของสังคมไทย ประกอบด้วย
1. เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) หรือ “เศรษฐกิจสารสนเทศ” (Information Economy)
2. พื้นที่สาธารณะในโลกไซเบอร์ (Public Sphere หรือ Public Space)
3. กระบวนการทําให้เป็นประชาธิปไตยโดยสื่อ (Democratization of the Media)
4. ช่องว่างทางข้อมูลข่าวสาร (Information Gap)
5. ช่องว่างทางดิจิทัล (Digital Divied)
6. ข้อมูลข่าวสารท้วมท้น (Information Overload)
7. การกระจุกตัวของความเป็นเจ้าของสื่อ (Conglomerate ownership)
8. การครอบงําทางความคิดและวัฒนธรรม (Cultural Domination)
สภาพเช่นนี้ ทําให้สังคมไทยต้องตระหนักถึงประเด็นต่างๆ และหาแนวทางปรับเปลี่ยนและแก้ ไขให้เกิด
ความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อรับโอกาสจากความเป็นสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร และกระบวนการโลกา
ภิวัตน์

5.3 การวิเคราะห์การตัดสินใจ
การตัดสิ น ใจ (Decision Making) หมายถึงกระบวนการเลื อกทางเลื อกใดทางเลื อกหนึ่ง จากหลาย ๆ
ทางเลือกที่ได้พิจารณา หรือประเมินอย่างดีแล้วว่า เป็นทางให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์การ การ
ตัดสิ น ใจเป็ น สิ่ งสําคัญ และเกี่ยวข้องกับ หน้าที่การบริห าร หรือการจัดการเกือบทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็ นการ
วางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทํางาน การประสานงาน และการควบคุม การตัดสินใจได้มีการศึกษามา
นาน
ความหมายของการตัดสินใจ นักวิชาการได้ให้ความหมายไว้แตกต่างกันดังนี้
- บาร์น าร์ด (Barnard, 1938) ได้ให้ ความหมายของการตัดสินใจไว้ว่า คือ "เทคนิคในการที่จะพิ จารณา
ทางเลือกต่างๆ ให้เหลือทางเลือกเดียว"

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 120

- ไซมอน (Simon) ได้ให้ความหมายว่า การตัดสินใจ เป็นกระบวนการของการหาโอกาสที่จะตัดสินใจ การ


หาทางเลือกที่พอเป็นไปได้ และทางเลือกจากงานต่าง ๆ ที่มีอยู่
- ไม่มูดี (Moody) ได้ให้ความหมายว่า การตัดสินใจเป็ นการกระทําที่ต้องทําเมื่อไม่มีเวลาที่จะหาข้อเท็จจริง
อีกต่อไป ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ เมื่อใดถึงจะตัดสินใจว่าควรหยุดหาข้อเท็จจริง แนวทางแก้ไขจะเปลี่ยนแปลงไปตาม
ปัญหาที่ต้องการแก้ไข ซึ่งการรวบรวมข้อเท็จจริง เกี่ยวพันกับการใช้จ่ายและการใช้เวลา
- กิ บ สั น และอิ ว าน เซวิ ช (Gibson and Ivancevich) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของการตั ด สิ น ใจไว้ ว่ า เป็ น
กระบวนการสําคัญขององค์การ ที่ผู้บริหารจะต้องกระทําอยู่ บนพื้นฐานของข้อมูลข่าวสาร (information) ซึ่ง ได้
รับมาจากโครงสร้างองค์การ พฤติกรรมบุคคล และกลุ่มในองค์กา
- โจนส์ (Jones) ได้ให้ความหมายของการตัดสินใจองค์การว่าเป็นกระบวนการ ที่จะแก้ไขปัญหาขององค์กร
โดยการค้น หาทางเลื อก และเลื อกทางเลื อกหรือแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การที่ได้
กําหนดไว้
จากคํ านิ ย ามข้ างต้ น อาจกล่ าวได้ ว่า มี มุม มองของนั ก วิช าการที่ แ ตกต่ างกัน ไปบ้ างในรายละเอี ยดแต่
ประเด็นหลักที่มองเหมือนกันคือ
1. การตัดสิน ใจเป็ น กระบวนการ (process) นั่นหมายความว่าการตัดสินใจต้องผ่านกระบวนการคิด
พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์แล้ว ค่อยตัดสินใจเลือก ทางที่ดีที่สุด มีหลายท่านคิดว่าการตัดสินใจไม่มีขั้นตอนอะไร
มากคิดแล้วทําเลย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วการคิดก็ต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสาร (search) การออกแบบ
(design) และการเลือก (choice) เพื่อให้สามารถเลือกทางเลือกได้ดีที่สุด
2. การตัดสินใจเกี่ยวข้องกับทางเลือก (solution) การตัดสินใจเป็นการพยายามสร้างทางเลือกให้มาก
ที่สุดเท่าที่จะทําได้ ทางเลือกที่น้อยอาจปิดโอกาสให้เกิดความคิดสร้างสรรค์หรือทางเลือกที่ดีกว่าได้ ผู้บริหารที่ดี
จําเป็นต้องมีการฝึกฝนการสร้างทางเลือกที่มากขึ้น หลากหลายด้วยวิธีการคิดแบบริเริ่ม (initiative) และคิดแบบ
สร้างสรรค์ (creative thinking)
3. การตัดสินใจเกี่ยวข้องกับโครงสร้างขององค์การ จะเห็นว่าผู้บริหารในแต่ละระดับชั้นก็มีหน้าที่ในการ
ตัดสินใจต่างกัน กล่าวคือ ผู้บริหารระดับสูงจําเป็นต้องตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (strategic decision) เป็นการตัดสินใจ
เกี่ยวกับแนวทางที่ถูกต้องเพื่อใช้ทรัพยากรที่จํา เป็นให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทําให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การที่
กําหนดไว้ ผู้บริหารระดับกลางจะตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ (management decision) เป็นการตัดสินใจเพื่อให้
สามารถใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้บริหารระดับต้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการปฏิบัติ การ
(Operational decision) เป็นการตัดสินใจดําเนินการควบคุมงานให้สําเร็จตามระยะเวลาและเป้าหมายที่กําหนด
ไว้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 121

4. การตัดสินใจเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมคน จะเห็นว่าการตัดสินใจเกี่ยวข้องตั้งแต่คนเดียว กลุ่มและทั้ง


องค์การ ซึ่งพฤติกรรมคนแต่ละคนก็แตกต่างกัน ผู้บริหารที่ดีจะต้องมีความเข้าใจและมีจิตวิทยาเกี่ยวข้องกับบุคคล
กลุ่ม และองค์การที่ดีพอจึงจะทําให้การตัดสินใจประสบผลสําเร็จได้
ดังนั้นกล่าวได้ว่า การตัดสินใจ คือ ผลสรุปหรือผลขั้นสุดท้ายของกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อเลือก
แนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ ทรัพยากร และบุคคล สามารถนําไปปฏิบัติและทําให้งาน
บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ
การตัดสิ น ใจ เป็ น ส่ว นหนึ่ งของบทบาทของผู้บ ริห ารที่เกิดจากตําแหน่งและอํานาจที่ เป็นทางการ คือ
บทบาทการเป็ น ผู้ ป ระกอบการ (Enterpreneur) บทบาทผู้ จั ด การสถานการณ์ ที่ เป็ น ปั ญ หา (Disturbance
Handler) บทบาทผู้จัดทรัพยาการ (Resource Allocator) และบทบาทผู้เจรจาต่อรอง (Negotiator)

ส่วนประกอบในการตัดสินใจ
ความสําคัญของการตัดสินใจ
ทฤษฎี การบริห ารองค์การในยุ คหนึ่ งได้ให้ ความสํ าคัญ เกี่ยวกับ กระบวนการบริห าร (Management
Process) อันได้แก่ การวางแผน การจัดกาiองค์การ การบริหารงานบุคคล การอํานวยการและการควบคุม ต่อมา
ได้มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดไปว่า แม้ว่าจะทําหน้าที่ดังกล่าวได้ดีเพียงใดก็ตาม แต่ถ้าขาดการตัดสินใจที่ดีพอแล้ว
ยากที่จะทําให้การบริหารองค์การสู่ความสําเร็จได้ การตัดสินใจจึงมีความสําคัญ 4 ประการ ดังนี้
1. การตัดสินใจเป็นเครื่องวัดความแตกต่างระหว่างผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงาน ผู้ที่เป็นผู้บริหารในระดับต่าง
ๆ จะต้องแสดงความรู้ ความสามารถในการตัดสินใจที่ดีกว่าผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหารจะต้องมีเหตุผล มีหลักการ มีเจต
คติและวิจารณญาณที่ดีกว่า ความสามารถในการตัดสิ นใจคือมูลค่าเพิ่มที่ผู้ บริหารต้องทําให้ เห็ นว่า นี่คือความ
แตกต่างที่สมแล้วกับค่าจ้างเงินเดือนในตําแหน่งผู้บริหาร
2. การตัดสินใจเป็นมรรควิธีนําไปสู่เป้าหมายองค์การ ผู้บริหารควรตระหนักเสมอว่า การตัดสินใจมิใช่
เป็นเป้าหมายในตัวของมันเอง แต่เป็นมรรควิธีแนวทาง วิธีการและเครื่องมือที่จะทําให้การบริหารองค์กรประสบ
ความสําเร็จบรรลุเป้าหมายที่ได้กําหนดไว้ ดังนั้น การกําหนดเป้าหมายองค์การให้ชัดเจนก็เป็นสิ่งสําคัญที่จะต้อง
เริ่มต้น การหาวิธีการและแนวทางปฏิบัติที่ หลากหลายก็เป็นขั้นตอนที่กระทําตามมา และนี่คือการตัดสินใจนั่นเอง
การกําหนดแนวทางวิธีการที่ดี ที่หลากหลายและสร้างสรรค์จะนําพาให้องค์การสู่ความสําเร็จได้
3. การตั ด สิ น เป็ น เสมื อ นสมองขององค์ ก าร การตั ด สิ น ใจที่ ดี ก็ เหมื อ นกับ คนเรามี ส มอง และระบบ
ประสาทที่ดีก็จะทําให้ตัวเราประสบผลสําเร็จในชีวิตการงาน ชีวิตส่วนตัวและชีวิตทางสังคมได้ ในขณะเดียวกันถ้า
เป็ น การตั ด สิ น ใจขององค์ ก รที่ ดี ก็ จ ะต้ อ งมี ส มอง และระบบประสาทขององค์ ก รที่ ดี ด้ ว ยจึงจะทํ าให้ อ งค์ ก รมี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลได้ ผู้บริหารที่ดีจะต้องกระตือรือร้น ใฝ่หาแนวทางแก้ ไขปัญหาอยู่ตลอดเวลา จะต้อง

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 122

ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงสถานการณ์ กําหนดแนวทางใหม่ๆ ยกระดับมาตรฐานและป้องกันปัญหาที่


ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานตามแผนที่กําหนดไว้ได้
4. การตัดสินปัญหาเป็นกลยุทธ์การแก้ปัญหาในอนาคต ในทฤษฎีการตัดสินใจทั่วไปมองว่ าเป็นการแก้ไข
ปัญหาในอดีต ซึ่งได้แก่ปัญหาข้อขัดข้องซึ่งมีสะสมมาตั้งแต่ในอดีต และมีแนวโน้มมากขึ้นในอนาคต ซึ่งก็ไม่สามารถ
แก้ปัญหาได้หมดสิ้นและยังมีปัญหาใหม่ ๆ เข้ามาอีกมากมาย โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนกรอบแนวคิด (paradigm)
ในการมองปัญหาใหม่ให้มองไปถึงปัญหาในอนาคต ซึ่งได้แก่ปัญหาป้องกัน รู้แล้วว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ก็ควรมีการ
ตัดสินใจล่วงหน้าก่อนที่ปัญหาจะเกิดขึ้น ปัญหาเชิงพัฒนาก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ผู้บริหารต้องให้ความสนใจ เป็นการ
มองโดยใช้วิสัยทัศน์ (vision) ของผู้บริหารในการพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคต กําหนดภาพอนาคต (scenario) ไว้
พร้อมกําหนดทางเลื อกเพื่อแก้ปั ญ หาในแต่ล ะภาพอนาคตนั้นด้วย อาทิ ภาพอนาคตมุ่งเน้น 3 C ได้แก่ ลูกค้า
(Customer) การแข่ งขั น (Competition) และการเปลี่ ย นแปลง (Change) ดังนั้ น ผู้ บ ริห ารเตรียมการที่ จะคิ ด
วางแผนและกําหนดกลยุทธ์ในเรื่องดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นกลยุทธ์ในการบริการลูกค้าเหนือความคาดหวัง กลยุทธ์
การแข่งขันสู่ความเป็นเลิศ และกลยุทธ์สู่องค์การอัจฉริยะ เป็นต้น

ลักษณะของการตัดสินใจ
กุลชลี ไชยนันตา (2539:130) ได้สรุปลักษณะของการตัดสินใจจาก ลูมบา (Loomba, 1978:100-103)
ไว้ดังนี้
1. การตัด สิ น ใจเป็ น กระบวนการของการเปรียบเที ยบผลตอบแทนหรือ ผลประโยชน์ ที่ จะได้ รับ จาก
ทางเลือกหลาย ๆ ทาง โดยที่ผู้ตัดสินใจจะเลือกทางเลือกที่ให้ประโยชน์สูงสุด
2. การตัด สิ น ใจเป็ น หน้ าที่ ที่ จํ าเป็ น เพราะทรัพ ยากรมี จํากัด และมนุ ษ ย์มี ค วามต้อ งการไม่ จํากัด จึ ง
จําเป็นต้องมีการตัดสินใจ เพื่อให้ได้รับประโยชน์และ ความพอใจจากการใช้ทรัพยากรที่มีจํากัดเพื่อบรรลุเป้าหมาย
ขององค์การ
3. ในการปฏิบัติงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์การ อาจมีการขัดแย้งกัน เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่าย บุคคล ฝ่าย
การเงินการบัญชี ฝ่ายการบริหารงานบุคคลแต่ละฝ่ายอาจมีเป้าหมายของการทํางานขัดแย้งกัน ผู้บริหารจึงต้องเป็น
ผู้ตัดสินใจชี้ขาด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การโดยส่วนรวม
4. กระบวนการตัดสินใจประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นเรื่องเกี่ยวกับการกําหนดวัตถุประสงค์
เป้าหมาย ข้อจํากัด การกําหนดทางเลือก ส่วนที่สอง เป็นการเลือกทางเลือกหรือ กลยุทธ์ที่ดีที่สุดตามสภาวการณ์
5. การตัดสินใจมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายและลักษณะของปัญหา เช่น อาจแบ่งออกได้เป็นการ
ตัดสิน ใจตามลํ าดับ ขั้น ซึ่งมักเป็ น งานประจํา เช่น การจัดซื้อวัส ดุอุปกรณ์ ตารางการทํางาน เป็นต้น และการ
ตัดสินใจที่ไม่เป็นไปตามลําดับขั้น เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่ไม่ได้เกิดขึ้นประจํา เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นนาน ๆ
ครั้ง เช่น การตัดสินใจเกี่ยวกับการริเริ่มงานใหม่ เช่น ตั้งคณะใหม่ หรือขยายโรงงานใหม่

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 123

การตัดสินใจ
ขั้นตอนในการตัดสินใจ
ไซมอน (Simon, 1960:5-6) ได้แบ่งชนิดของการตัดสินใจออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ดังนี้
1. การตัดสินใจที่กําหนดไว้ล่วงหน้าหรือมีแบบอย่างไว้ล่วงหน้า (Programmed decisions) เป็นการ
ตัดสินใจตามระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบแผนที่เคยปฏิบัติมาจนกลายเป็นงานประจํา เช่น การตัดสินใจเกี่ยวกับการลา
ป่ ว ย ลากิจ ลาบวช การอนุ มัติ การเบิ ก จ่ ายเงิ น การอนุ มัติผ ลการศึกษา เป็น ต้น การตัดสิ นใจแบบกําหนดไว้
ล่วงหน้านี้ เปิดโอกาสให้ผู้บริหารเลือกทางเลือกได้น้อย เพราะว่าเป็น การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่แน่นอน
2. การตัดสินใจที่ไม่ได้กําหนดหรือไม่มีแบบอย่างไว้ล่วงหน้า (Nonprogrammed decisions) เป็นการ
ตัดสินใจในเรื่องใหม่ ที่ไม่เคยมีมาก่อน ไม่มีระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบแผนที่เคยปฏิบัติมาก่อน จึงเป็นเรื่องยุ่งยากแก่
ผู้ตัดสินใจ โดยที่ผู้บริหาร หรือผู้ตัดสินใจ จะต้องคํานึงถึงความเสี่ยงและความไม่แน่นอนด้วย เช่น การตัดสินใจนํา
เงินไปลงทุนเพื่อหาผลตอบแทนหรือผลกําไรในธุรกิจ การตัดสินใจผลิตสินค้าตัวใหม่ การตัดสินใจในการขยาย
กิจการ เป็นต้น

กระบวนการตัดสินใจ (Process of decision making)


หมายถึง การกําหนดขั้นตอนของการตัดสินใจ ตั้งแต่ขั้นตอนแรกไป จนถึง ขั้นตอนสุดท้าย การตัดสินใจ
โดยมีลําดับขั้นของกระบวนการดังกล่าวเป็นการตัดสินใจโดยใช้หลักเหตุผลและมีกฎเกณฑ์ ซึ่งเป็นการตัดสินใจ
โดยใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือช่วยในการหาข้อสรุปเพื่อ การตัดสินใจ ขั้นตอนของกระบวนการ
ตัดสินใจมีอยู่หลายรูปแบบ แล้วแต่ความคิดเห็นของนักวิชาการ พลันเกต และแอ็ตเนอร์ (Plunkett and Attner,
1994:162) ได้เสนอลํ าดั บ ขั้น ตอนของกระบวนการตัดสิ น ใจเป็ น 7 ขั้น ตอน ดั งนี้ อ้างจาก กุล ชลี ไชยนั นตา
(2539:135-139)
1. การระบุปัญหา (Define the problem)
เป็ น ขั้น ตอนแรกที่ มีค วามสํ าคั ญ อย่างมาก เพราะการระบุ ปั ญ หาได้ถู กต้ องหรือไม่ ย่ อมมีผ ล ต่อการ
ดําเนินการในขั้นต่อ ๆ ไปของกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการตัดสินใจด้วย ดังนั้น
ผู้บริหารจึง ควรระมัดระวังมิให้เกิดความผิดพลาดในการระบุปัญหาขององค์การ ทั้งนี้ ผู้บริหารควรแยกแยะความ
แตกต่าง ระหว่าง อาการแสดง (symptom) ที่ เกิด ขึ้น กับ ตั ว ปั ญ หาที่ แ ท้จ ริงเสี ยก่อ น ยกตัว อย่างเช่ น กรณี ที่
ยอดขายของบริษัทลดลง ซึ่งมีสาเหตุมาจาก คุณภาพสินค้าต่ํา จะเห็นว่าการที่ยอดขายลดลง เป็นอาการแสดง และ
ปัญหาที่ต้องแก้ไข ได้แก่ การที่คุณภาพสินค้าต่ํา ดังนั้นผู้บริหาร ที่ชาญฉลาดต้องคอยสังเกตอาการแสดงต่าง ๆ ทั้ง
ต้องรวบรวมข้อมูลที่จําเป็นต่อการค้นหา สาเหตุของอาการแสดงเหล่านั้น ซึ่งจะนําไปสู่การระบุปัญหาที่แท้จริงได้
อย่างถูกต้องแม่นยํา
2. การระบุข้อจํากัดของปัจจัย (Indentify limiting factors)

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 124

เมื่อสามารถระบุปัญหาได้ถูกต้องแล้ว ผู้บริหารควรพิจารณาถึง ข้อจํากัดต่าง ๆ ขององค์การ โดยพิจารณา


จากทรัพยากรซึ่งเป็นองค์ประกอบของกระบวนการผลิต ได้แก่ กําลังคน เงินทุน เครื่องจักร สิ่งอํานวยความสะดวก
อื่น ๆ รวมทั้งเวลาซึ่งมักเป็นปัจจัยจํากัดที่พบอยู่เสมอ ๆ การรู้ถึงข้อจํากัดหรือเงื่อนไข ที่ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลง
ได้ จะช่วยให้ผู้บริหารกําหนดขอบเขตในการพัฒนาทางเลือกให้แคบลงได้ ตัวอย่างเช่น ถ้ามีเงื่อนไขว่าต้องส่งสินค้า
ให้แก่ลูกค้าภายในเวลา 1 เดือน ทางเลือกของการแก้ไขปัญหาการผลิ ตสินค้าไม่เพียงพอ ที่มีระยะเวลาดําเนินการ
มากกว่า 1 เดือน ก็ควรถูกตัดทิ้งไป
3. การพัฒนาทางเลือก (Develop potential alternatives)
ขั้นตอนต่อไป ผู้บริหารควรทําการพัฒนาทางเลือกต่าง ๆ ขึ้นมา ซึ่งทางเลือกเหล่านั้นควรเป็นทางเลือกที่มี
ศักยภาพและมีความเป็ นไปได้ ในการแก้ปั ญหาให้ น้อยลงหรือให้ประโยชน์สู งสุด ตัวอย่างเช่น กรณีที่องค์การ
ประสบปัญหาเวลาการผลิตไม่เพียงพอ ผู้บริหารอาจพิจารณาทางเลือกดังนี้
1) เพิ่มการทํางานกะพิเศษ
2) เพิ่มการทํางานล่วงเวลาโดยใช้ตารางปกติ
3) เพิ่มจํานวนพนักงาน หรือ
4) ไม่ทําอะไรเลย ในการพัฒนาทางเลือกผู้บริหาร อาจขอความ คิดเห็น จากนักบริหารอื่น ๆ ที่
ประสบความสําเร็จทั้งภายในและภายนอกขององค์การ ซึ่งอาจใช้วิธีการปรึกษาหารือเป็นรายบุคคล หรือจัดการ
ประชุมกลุ่มย่อยขึ้น ข้อมูลที่ได้รับจากบุคคลเหล่านั้น เมื่อผนวกรวมกับ สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ ความคิด
สร้างสรรค์และประสบการณ์ของตนเอง จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถพัฒนา ทางเลือกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การวิเคราะห์ทางเลือก (Analyze the alternatives)
เมื่ อ ผู้ บ ริ ห ารได้ทํ าการพั ฒ นาทางเลื อกต่ าง ๆ โดยจะนํ าเอาข้อ ดี แ ละข้ อ เสี ย ของแต่ ล ะทางเลื อ กมา
เปรียบเทียบกันอย่างรอบคอบ และควรวิเคราะห์ทางเลือกในสองแนวทาง คือ 1) ทางเลือกนั้นสามารถ นํามาใช้
จะเกิดผลต่อเนื่องอะไรตามมา ตัวอย่างเช่น ถ้าโควตาปกติในการผลิตมอเตอร์ของแผนกผลิตเท่ากั บ 500 เครื่องต่อ
เดือน แต่แผนกผลิตต้องผลิตมอเตอร์ให้ได้ 1,000 เครื่อง ภายในสิ้นเดือนนี้ โดยมีข้อจํากัดด้านต้นทุนขององค์การ
ว่า จะจ่ายค่าจ้างพนักงาน เพิ่มขึ้น ไม่เกิน 10,000 บาทเท่านั้น ทางเลือกหนึ่งของการแก้ปัญหา อาจทําได้โดยการ
จ้ างพนั ก งาน ทํ างานล่ ว งเวลา ในวัน หยุ ด และเวลากลางคืน แต่ เมื่อ ประเมิ น ได้ แ ล้ ว พบว่า วิธีนี้ จ ะต้ องเสี ย
ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นถึง 17,000 บาท ผู้บริหารก็ควรตัดทางเลือกนี้ทิ้งไป เพราะไม่สามารถ นํามาใช้ได้ภายใต้ ข้อจํากัด
ด้านต้นทุน
อย่างไรก็ตามทางเลือกบางทางเลือกที่อยู่ภายใต้ข้อจํากัดขององค์การก็อาจทําให้เกิดผลต่อเนื่องที่ไม่พึง
ประสงค์ตามมา เช่น ทางเลือกหนึ่ง ของการเพิ่มผลผลิต ได้แก่การลงทุนติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะช่วยให้
แก้ปัญหาได้ แต่อาจมีปัญหาเกี่ยวกับ การลดลงของขวัญกําลังใจของพนักงานในระยะต่อมา เป็นต้น
5. การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Select the best alternative)

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 125

เมื่อผู้บริหารได้ทําการ วิเคราะห์และประเมินทางเลือกต่าง ๆ แล้ว ผู้บริหารควรเปรียบเทียบข้อดีและ


ข้อเสีย ของแต่ละทางเลื อกอีกครั้งหนึ่ ง เพื่อพิจารณาทางเลือกที่ดีที่สุดเพียงทางเดียว ทางเลื อกที่ดีที่สุ ด ควรมี
ผลเสี ย ต่ อ เนื่ อ งในภายหลั งน้ อ ยที่ สุ ด และให้ ผ ลประโยชน์ ม ากที่ สุ ด แต่ บ างครั้งผู้ บ ริห าร อาจตั ด สิ น ใจเลื อ ก
ทางเลือกแบบประนีประนอม โดยพิจารณาองค์ประกอบที่ดีที่สุดของแต่ละทางเลือกนํามาผสมผสานกัน
6. การนําผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ (Implement the decision)
เมื่อผู้บริหารได้ทางเลือกที่ดีที่สุดแล้ว ก็ควรมีการนําผล การตัดสินใจนั้น ไปปฏิบัติ เพื่อให้การดําเนินงาน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารควรกําหนดโปรแกรมของการตัดสินใจ โดยระบุถึง ตารางเวลาการดําเนินงาน
งบประมาณและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ควรมีการมอบหมายอํานาจหน้าที่ที่ชัดเจน และจัดให้มีระบบการ
ติดต่อสื่อสารที่จะช่วยให้การตัดสินใจเป็นที่ยอมรับ นอกจากนี้ผู้บริหารควรกําหนดระเบียบวิธี กฎ และนโยบาย ซึ่ง
มีส่วนสนับสนุนให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
7. การสร้างระบบควบคุมและประเมินผล (Establish a control and evaluation system)
ขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการตัดสินใจ ได้แก่ การสร้างระบบการควบคุมและการประเมินผล ซึ่งจะช่วย
ให้ผู้บริหาร ได้รับข้อมูล ย้อนกลับ เกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ ข้อมูลย้อนกลับจะช่วย
ให้ผู้บริหารแก้ปัญหา หรือทําการตัดสินใจ ใหม่ได้โดยได้ผลลัพธ์ของการปฏิบัติที่ดีที่สุด

ขั้นตอนเพื่อการตัดสินใจ (The stages of decision making) มี 6 ขั้นตอนคือ


1) Identifying and diagnosing the problem การระบุและตรวจสอบปัญหา
2) Generating alternative solutions สร้างทางเลือกเพื่อแก้ไขปัญหา
3) Evaluating alternatives การประเมินทางเลือก
4) Making the choice การตัดสินใจเลือกทางที่ดีที่สุด
5) Implementing the decision การดําเนินงานตามทางเลือกที่ได้สินใจไว้แล้ว
6) Evaluating the decision การประเมินผลของการตัดสินใจ

5.4 ตารางของปัญหาการตัดสินใจ
การตัดสินใจเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นตลอดเวลาในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะในหน่วยงาน การตัดสินใจอาจ
กระทําโดยบุคคลเพียงคนเดียว หรือเป็นกลุ่มบุคคลแล้วแต่ความเหมาะสมของกรณี รูปแบบของการตัดสินใจโดย
ถือเอาจํานวนคนที่ร่วมตัดสินใจ เป็นเกณฑ์สามารถ จําแนกออกได้ 2 รูปแบบ ดังนี้
1. การตัดสินใจโดยบุคคลคนเดียว (Individual decision making) ใช้สําหรับการตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ
ที่ผู้ทําการตัดสินใจ ได้กําหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว หรือเรื่องเร่งด่วนฉุกเฉินที่ไม่มีเวลาพอสําหรับการปรึกษาหารือกับ
บุคคลอื่น

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 126

2. การตัดสินใจโดยกลุ่มบุคคล (Group decision making) เป็นการตัดสินใจโดยให้ผู้ที่มีหน้าที่ที่จะต้อง


ปฏิบัติตามผลของการตัดสินใจนั้น ได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและให้ข้อมูล การตัดสินใจโดยกลุ่มบุคคล
นี้ เหมาะสําหรับ การตัดสินใจ ในเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อน หรือเรื่องที่ผู้บริหารไม่ มีข้อมูลข่าวสารเพียงพอหรือยังขาด
ประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ หรือไม่มีความชํานาญ ทางด้านนั้นอย่างเพียงพอ จึงจําเป็นต้องฟังความคิดเห็นจากผู้ที่
มีความรู้และประสบการณ์ แล้วประมวลความคิดเห็นเหล่านั้น มาเป็น สิ่งกําหนดการตัดสินใจ กลุ่มบุคคล ดังกล่าว
อาจได้แก่ กลุ่ มผู้ บ ริห าร ซึ่งประกอบด้วยหั ว หน้าส่ว นต่าง ๆ ของหน่ว ยงาน คณะกรรมการเฉพาะกิจ ซึ่งอาจ
ประกอบด้วยผู้บริหาร ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิร่วมกัน วิธีการตัดสินใจโดย กลุ่มอาจทําได้ใน ลักษณะต่างๆ
(1) การตัดสินใจโดยใช้ข้อยุติที่เป็นมติในเสียงข้างมาก อาจใช้ระบบเสียงข้างมากเกินครึ่งหนึ่ง หรือระบบ
สองในสามของกลุ่ม แล้วแต่ความสําคัญของเรื่องที่ตัดสินใจ
(2) การตัดสินใจโดยข้อยุติเป็นเอกฉันท์คือการที่สมาชิกทุกคนเห็นพร้องต้องกันโดยไม่มีความขัดแย้ง
(3) สมาชิกในที่ประชุมเสนอความคิดเห็น แล้วให้ผู้บริหารนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจเอง

โดยปกติแล้ว ผู้นําหรือผู้บริหารมักจะต้องทําการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์หรือสภาวการณ์ต่างกัน ซึ่ง


เป็ นเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนื อ การควบคุมของผู้นํา แต่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจอย่างยิ่งจึงต้องนํามาพิจารณา
ประกอบการตัดสินใจ สภาวการณ์หรือสถานการณ์ ของ การตัดสินใจสามารถแบ่งได้เป็น 3 แบบ ดังนี้
1. การตัดสินใจภายใต้ความที่แน่นอน (Decision-making under certainty)
2. การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง (Decision-making under risk)
3. การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน (Decision-making under uncertainty)

สภาวการณ์หรือสถานการณ์ของการตัดสินใจ
1. การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน คือการตัดสินใจที่ทราบผลลัพธ์การตัดสินใจล่วงหน้าอย่างแน่นอน
แล้วว่า ถ้าเลือกทางเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร ลักษณะของการตัดสินใจประเภทนี้ คือ
(1) ผู้ตัดสินใจมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการตัดสินใจ และทราบถึงผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก
(2) ผลลัพธ์จะเกิดขึ้นแน่นอนคือเกือบไม่มีการเสี่ยงใด ๆ เลย
(3) การตัดสินใจจะเลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนสูงที่สุด
2. การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง คือ การตัดสินใจที่ทราบผลลัพธ์ของการตัดสินใจน้อยกว่าการตัดสินใจ
ภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน แต่พอจะคาดคะเนความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่น่าจะเกิดขึ้น (probability)
ลักษณะสําคัญของการตัดสินใจประเภทนี้ได้แก่
(1) ผู้ตัดสินใจมีข้อมูลสําหรับการตัดสินใจไม่เพียงพอ

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 127

(2) การตัดสินใจอยู่ภายใต้ความเสี่ยงคือผู้ตัดสินใจจะต้องคาดคะเนถึงโอกาสหรือความน่าจะเกิดขึ้นโดย
อาศัยประสบการณ์ร่วมด้วย
(3) การตัดสินใจจะพิจารณาเลือกทางเลือกที่ผลตอบแทนสูงสุดและโอกาสที่จะเกิดขึ้นของทางเลือกด้วย
3. การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน คือ การตัดสินใจที่ไม่สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์และโอกาส หรือ
ความน่าจะเป็นที่เกิดขึ้นได้เลย การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอนจะมีลักษณะใหญ่ๆ ดังนี้คือ
(1) ผู้ตัดสินใจไม่ทราบผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นของแต่ละทางเลือก เพราะไม่มีข้อมูลที่จะใช้ประกอบในการ
ตัดสินใจ
(2) ผู้ตัดสินใจไม่ทราบถึงโอกาสที่จะเป็นไปได้
(3) มีสภาวะนอกบังคับ (State of Nature) หรือตัวแปรที่ควบคุมไม่ได้ หรือตัวแปรที่ผู้ตัดสินใจไม่อาจ
คาดการณ์ได้ แต่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจเกิดขึ้น เช่น ภาวะเศรษฐกิจรุ่งเรือง หรือซบเซา ภาวะเงินเฟ้อ การเมือง
แรงงาน การแข่งขัน จากภายนอกประเทศ กฎหมายการค้า วัฒ นธรรมของผู้ บริโภคที่ เปลี่ ยนไป เป็ นต้น การ
ตัดสินใจแบบนี้ ผู้นําต้องอาศัยประสบการณ์ ความเชื่อมั่น และลางสังหรณ์มาคาดการณ์ โอกาสที่จะเป็นไปได้ แล้ว
จึงทําการตัดสินใจ
การตั ด สิ น ใจแบบนี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได้ น้ อ ยมาก ในยุ ค ของการสื่ อ สาร และระบบข้ อ มู ล สาร สนเทศ
เจริญก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เหมือนในปัจจุบัน ยกเว้นในกรณีที่มีเวลามาเป็นตัวกําหนด ให้ต้องทําการ
ตัดสินใจ เท่านั้นการตัดสินใจและกระบวนการแก้ไขปัญหา

ทฤษฎีการตัดสินใจ
1. (Rational Decision-Making Model)
- การกําหนดเป้าหมาย
- การกําหนดปัญหา
- การพิจารณารูปแบบการตัดสินใจ
- การกําหนดทางเลือก
- การประเมินและการเลือกทางเลือก(ทําการตัดสินใจ)
- การปฏิบัติการตามการตัดสินใจ
- การควบคุม การประเมินผลลัพธ์และการจัดหาการป้อนกลับ

2. Bounded Rationality
* Herbert Simon : Good Enough

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 128

* ผู้ตัดสินใจจะใช้ข้อมูลที่สะดวกและเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ไม่จําเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ทําให้มีผลลัพธ์สูงสุด

3. Mix Scanning - Amitai Etzioni


ประเภทของการตัดสินใจ = Programmed / Non-programmed
= Centralization / Decentralization

ขั้นตอนการตัดสินใจ สามารถแบ่งออกได้เป็นดังนี้ คือ


ขั้นที่ 1 การระบุปัญหา(Define problem) เป็นขั้นตอนแรกที่มีความสําคัญอย่างมาก เพราะจะต้องระบุ
ปัญหาได้ถูกต้อง จึงจะดําเนินการตัดสินใจในขั้นตอนต่อๆ ไปได้
ขั้นที่ 2 การระบุข้อจํากัดของปัจจัย(Identify limiting factors) เป็นการระบุปัญหาได้ถูกต้องแล้ว นําไป
พิจารณาถึงข้อจํากัดต่างๆ ขององค์กร โดยพิจารณาจากทรัพยากรซึ่งเป็นองค์ประกอบของกระบวนการผลิต
ขั้นที่ 3 การพัฒนาทางเลือก(Development alternative) ขั้นตอนที่ผู้บริหารต้องพัฒนาทางเลือกต่างๆ
ขึ้นมา ซึ่งทางเลือกเหล่านี้ ควรเป็นทางเลือกที่มีศักยภาพและมีความเป็นไปได้ ในการแก้ปัญหาให้น้อยลงหรืให้
ประโยชน์สูงสุด เช่น เพิ่มการทํางานกะพิเศษ เพิ่มการทํางานล่วงเวลาโดยใช้ตารางปกติ เพิ่มจํานวนพนักงานขั้นที่
4 การวิเคราะห์ทางเลือก(Analysis the altematives) เมื่อได้ทําการพัฒนาทางเลือกต่างๆ โดยนําเอาข้อดีข้อเสีย
ของแต่ละทางเลือกมาเปรียบเทียบกันอย่างรอบคอบ ควรพิจารณาว่าทางเลือกนั้นนํามาใช้ จะเกิดผลต่อเนื่องอะไร
ตามมา
ขั้นที่ 5 การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Select the best alternative) เมื่อผู้บริหารได้ทําการวิเคราะห์ และ
ประเมินทางเลือกต่างๆ แล้ว ผู้บริหารควรเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของแต่ละทางเลือกอีกครั้งหนึ่งเพื่อพิจารณา
ว่าทางเลือกที่ดีที่สุดเพียงทางเดียว
ขั้น ที่ 6 การนําผลการตัดสิน ใจไปปฏิบัติ (Implernent the decision) เมื่อผู้ บริหารได้หาทางเลือกที่ดี
ที่สุดแล้ว ก็ควรมีการนําผลการตัดสินใจนั้นไปปฏิบัติ เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นที่ 7 การสร้างระบบควบคุมและประเมินผล(Establish a control and evaluation system) เป็น
ขั้นตอนสุดท้ายของ กระบวนการตัดสินใจ ได้แก่การสร้างระบบการควบคุมและประเมินผล ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหาร
ได้รับ ข้อมูลย้ อนกลับ ที่เกี่ยวกับ ผล การปฏิบัติงานว่าเป็ นไปตามเป้าหมายหรือไม่ ข้อมูล ย้อนกลั บจะช่วยให้
ผู้บริหารแก้ปัญหา หรือทําการตัดสินใจใหม่ได้

1. แนวคิดและความหมาย

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 129

การตัดสินใจ คือ กระบวนการที่ใช้แก้ไขปัญหาที่เกิดจากการดําเนินการด้านต่างๆของธุรกิจตามลําดับ


ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไข
ขั้นตอนที่ 2 เลือกวิธีการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อสร้างแบบจําลองการตัดสินใจ
ขั้นตอนที่ 4 ระบุทางเลือกที่ได้จากแบบจําลองการตัดสินใจ
ขั้นตอนที่ 5 ประเมินข้อดีและข้อเสียของแต่ละทางเลือก
ขั้นตอนที่ 6 เลือกและปฏิบัติตามแนวทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
2. แบบจําลองการตัดสินใจและการแก้ปัญหา มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นอัจฉริยะ คือ ขั้นของจําแนกและนิยามถึงปัญหาและโอกาสทางธุรกิจไว้อย่างชัดเจน
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นออกแบบ คือ ขั้นของการพัฒนาทางเลือกของการแก้ปัญหาที่หลากหลายด้วยวิธีการ
ต่างๆเป็นขั้นการประดิษฐ์
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตัวเลือก คือ ขั้นของการเลือกชุดปฏิบัติการที่ดีที่สุดโดยใช้เครื่องมือสื่อสาร
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นทําให้เกิดผล คือ ขั้นของการนําชุดปฏิบัติการที่เลือกไว้ในขั้นตัวเลือกไปใช้ให้เกิดผล
ลัพธ์ที่ดีที่สุดตามที่คาดไว้ล่วงหน้า
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นกํากับดูแล คือ ขั้น ของการประเมินผลชุดปฏิบัติการที่ถูกนําไปใช้โดยผู้ตัดสินใจและ
ติดตามผลลัพธ์ ของการตัดสินใจว่าสามารถจะบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่
3. ก า ร จํ า แ น ก ป ร ะ เภ ท โด ย จั ด แ บ่ ง ป ร ะ เภ ท ข อ ง ก า ร ตั ด สิ น ใจ ข อ ง ผู้ จั ด ก า ร ห รื อ
ผู้บริหาร ทั้ง 3 ระดับ เป็น 3ประเภท
3.1 การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง เป็นการตัดสินใจของปัญหาที่เกิดขึ้นซ้ํา
3.2 การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้างเป็นการตัดสินใจซึ่งเกี่ยวกับเรื่องที่มักใช้กฎเกณฑ์เพียงบางส่วน การ
ตัดสินใจจึงอาศัยวิจารณญาณเข้าช่วยร่วมกับการใช้สารสนเทศช่วยตัดสินใจซึ่งมักใช้กับการทํางานของผู้จัดการ
ระดับกลางในองค์การ
3.3 การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องที่ไม่ค่อยเกิดขึ้นบ่อยนัก ไม่เป็นงาน
ประจํา ไม่มีกรอบการทํางาน และไม่สามารถสร้างแบบจําลองในการแก้ปัญหาได้
4. รูปแบบการตัดสินใจ จะจัดแบ่งการตัดสินใจออกเป็น 2 ระดับ
4.1 ระดับบุคคล เป็นระดับการตัดสินใจในส่วนการใช้แบบแผนการรับรู้ซึ่งสามารถเลือกแนวทางและการ
ประเมินค่าผลที่ตามมาได้ 2 รูปแบบ ดังนี้
รูป แบบที่ 1 การตั ด สิ น ใจอย่างเป็ น ระบบ คื อ การใช้ วิธีศึ ก ษาปั ญ หาอย่ างมี ระเบี ยบแบบ
แผน โดยทําการเก็บ

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 130

รวบรวมข้อมูล และประเมินค่าข่าวสารตามวิธีการเลือกใช้อย่างเป็นระบบ
รูป แบบที่ 2 การตัด สิ น ใจโดยใช้ส ามั ญ สํ านึ ก คือ การใช้วิธีก ารลายรูป แบบมาผสมผสาน
กัน ตลอดจนใช้วิธีลอง
ผิดลองถูกในการค้นหาทางปฏิบัติโดยไม่มีการประเมินค่าข่าวสารที่รวบรวมได้ ซึ่งการนําไปใช้จะขึ้นกับลักษณะ
งาน
4.2 ระดับองค์การ เป็นระดับการตัดสินใจที่ถูกกระทําโดยกลุ่มบุคคลภายในองค์การโดยให้ความสําคัญ
กับโครงสร้างและนโยบายเป็นสําคัญ โดยแบ่งรูปแบบการตัดสินใจในระดับนี้เป็น 3 รูปแบบดังนี้
รูปแบบที่1 การตัดสินใจตามรูปแบบราชการ คือ รูปแบบที่ใช้ในองค์การที่ปฏิบัติงานมาหลายปีและแบ่ง
หน่วยงานออกเป็นหลายหน่วยย่อย
รูปแบบที่ 2 การตัดสินใจตามรูปแบบการปกครอง คือ รูปแบบที่ใช้ในองค์การที่มีการยกอํานาจการ
ปกครองอยู่ในมือบุคคลเพียงไม่กี่บุคคล
รู ป แบบที่ 3 การตั ด สิ น ใจตามรู ป แบบขยะ คื อ รู แ บบการตั ด สิ น ใจที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ บ นพื้ น ฐานการใช้
เหตุผล การตัดสินใจมักเกิดขึ้นจากความบังเอิญมากกว่าแต่ผู้แก้ ปัญหาจะพยายามหาเหตุผลมาสนับสนุ นวิธีการ
แก้ปัญหาของแต่ละคน
สารสนเทศเพื่อการจัดการและการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อการจัดการมีคุณลักษณะที่ดี 7 ประการ คือ
1. สารสนทศที่ช่วยให้ผู้บริหารทราบสถานการณ์ปัจจุบันหรือระดับผลงานที่ทําได้
2. สารสนเทศด้านปัญหาจากการดําเนินงานและรายงานด้านโอกาสที่กําลังจะเกิดขึ้น
3. สารสนทศด้านการเปลี่ยนแปลงที่มักส่งผลให้การดําเนินงานของธุรกิจหยุดชะงัก
4. สารสนเทศเกี่ยวกับแผนงานหรือโครงการใหม่ที่กําลังจะเริ่มต้นในอนาคตอันใกล้
5. สารสนเทศที่แจ้งให้ทราบถึงผลดําเนินงานของธุรกิจ ทั้งในส่วนผลประกอบการ ส่วนแบ่ง
ตลาดและยอดขายในช่วงฤดูกาลต่างๆรวมทั้งผลดําเนินงานที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
6. สารสนเทศภายนอกเกี่ยวกับข้อคิดเห็น ข่าวเกี่ยวกับองค์การ คู่แข่งแลการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ทางด้านการเงิน การตลาด เศรษฐกิจและการเมือง
7. สารสนเทศที่แจกจ่ายออกสู่ภายนอก เพื่อแจ้งให้ผู้ถือหุ้นและผู้สื่อข่าวทราบ เช่น รายงานา
รายรับช่วงไตรมาส หรือรายละเอียดแผนบริการสาธารณชน
จําแนกประเภทของสารสนเทศเพื่อการจัดการและการตัดสินใจ ออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
1. รายงานตามกําหนดการ คือ รายงานที่ผลิตขึ้นตามงวดเวลาหรือตามตารางเวลาที่วางไว้

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 131

2. รายงานตัวชี้วัดหลัก คือ รายงานสรุปถึงกิจกรรมวิกฤตของวันก่อนหน้านี้และใช้เป็นแบบฉบับ


ของการเริ่มตนกิจกรรมใหม่ รายงานเหล่านี้จะสรุปถึงระดับสินค้าคงเหลือ กิจกรรมผลิต ปริมาณขาย และอื่นๆ
โดยมักมีการนําเสนอต่อผู้จัดการและผู้บริหาร เพื่อการดําเนินการที่รวดเร็วและถูกต้องของธุรกิจ
3. รายงานตามคําขอ คือ รายงานที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อนําเสนอสารสนเทศตามที่ผู้ใช้ร้องขอหรือ อีก
นัยหนึ่งคือการผลิตรายงานตามความต้องการของผู้ใช้
4. รายงานตามยกเว้น คือ รายงานที่มักมีการผลิตขึ้นอย่างอัตโนมัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ผิดกติหรือ
เกิดความต้องการพิเศษทางการจัดการ
5. รายงานเจาะลึ ก ในรายละเอี ยด คื อ รายงานที่ ช่ว ยสนั บ สนุ น รายละเอี ยดที่ เพิ่ ม ขึ้น ภายใต้
สถานการณ์ การใช้รายงานประเภทนี้นักวิเคราะห์จะมองข้อมูลในภาพรวมก่อน

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 132

แบบฝึกหัดท้ายบท
1. การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึงอะไร
2. ค่าสถิติต่าง ๆ ถูกนํามาใช้เพื่ออะไร
3. ข้อมูลสามารถนําไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง
4. ปัจจุบัน โลกของเราอยู่ในสังคมใด
5. การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง อะไร
6. ระบบประกอบไปด้วยองค์ประกอบ อะไร
7. ระบบและรูปแบบการคิด มี กี่รูปแบบ
8. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
9. หลักการคิดหรือการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ประกอบไปด้วย อะไร
10. Creative Thinking หมายถึง อะไร
11. หน่วยระบบทั้งหลายในเอกภพแบ่งระบบออกเป็น กี่ประเภท
12. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
- ขาดข้อมูล/ข้อเท็จจริง ขาดข้อมูลด้านวิชาการ รู้จักวิธีทางวิชาการ วิธีทางวิทยาศาสตร์
- การคิดอย่างเป็นระบบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
- การคิดอย่างเป็นระบบทางอ้อม มุ่งกระทําโดยตรง มีเป้าหมายกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่จําแนกรูปแบบการคิด
ตามพื้นฐานของมนุษย์
- การคิดอย่างเป็นระบบโดยตรง คือ การคิดอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยพื้นฐานแห่งการคิด เช่น การ
วิเคราะห์ การอุปมาอุปมัย
13. หลักการคิดหรือการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ประกอบไปด้วย อะไร
14. Analytical Thinking หมายถึง อะไร
15. การวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ( Computer Data Analysis ) หมายถึงอะไร
16. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) มีกี่แบบอะไรบ้าง
17.การวิเคราะห์แบบอุปนัย (Analytic Induction) หมายถึงอะไร

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง


การคิดเชิงเหตุผล 133

18. เกณฑ์การตัดสินใจเพื่อการลงทุนมี กี่ประเภท


19. ประเภทของการเก็บข้อมูล มีกี่ประเภท
20. หน่วยระบบทั้งหลายในเอกภพแบ่งระบบออกเป็น กี่ประเภท

โดย คณาจารย์สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มรภ.จอมบึง

You might also like