Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

วิชาธรรม ๓

ภาคเรียนที่ ๒
ธรรมวิภาค
ธรรมมีอปุ การะมาก 2 (ธรรมที่เกื้ อกูลในกิจหรือในการทาความดีทุกอย่าง)
1. สติ (ความระลึกได้, นึ กได้, สานึ กอยูไ่ ม่เผลอ)
2. สัมปชัญญะ (ความรูช้ ดั , รูช้ ดั สิ่งที่นึกได้, ตระหนัก, เข้าใจชัดตามความเป็ นจริง)
D.III.273; A.I.95. ที.ปา.11/378/290; องฺ.ทุก.20/424/119.

ธรรมคุ้มครองโลก 2 (ธรรมที่ชว่ ยให้โลกมีความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ไม่เดือดร้อนและสับสนวุน่ วาย)


1. หิ ริ (ความละอายบาป, ละอายใจต่อการทาความชัว่ )
2. โอตตัปปะ (ความกลัวบาป, เกรงกลัวต่อความชัว่ )
A.I.51; It.36. องฺ.ทุก.20/255/65; ขุ.อิติ. 25/220/257.

ธรรมทาให้งาม 2
1. ขันติ (ความอดทน, อดได้ทนได้เพื่อบรรลุความดีงามและความมุง่ หมายอันชอบ)
2. โสรัจจะ (ความเสงี่ยม, อัธยาศัยงาม รักความประณีตหมดจดเรียบร้อยงดงาม)
Vin.I.349; A.I.94. วินย.5/244/335; องฺ.ทุก. 20/410/118.

บุคคลหาได้ยาก 2
1. บุพการี (ผูท้ าอุปการะก่อน, ผูท้ าความดีหรือทาประโยชน์ให้แต่ตน้ โดยไม่ตอ้ งคอยคิดถึงผลตอบแทน)
2. กตัญญูกตเวที (ผูร้ อู ้ ุปการะที่เขาทาแล้วและตอบแทน , ผูร้ จู ้ กั คุณค่าแห่งการกระทาดีของผูอ้ ื่น และแสดงออก
เพื่อบูชาความดีน้ัน)
A.I.87. องฺ.ทุก.20/364/108


รัตนตรัย (รัตนะ 3, แก้วอันประเสริฐ หรือสิ่งล้าค่า 3 ประการ, หลักที่เคารพบูชาสูงสุดของพุทธ -ศาสนิ กชน 3
อย่าง)
1. พระพุทธเจ้า (พระผูต้ รัสรูเ้ องและสอนผูอ้ ื่นให้รตู ้ าม)
2. พระธรรม (คาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า ทั้งหลักความจริงและหลักความประพฤติ)
3. พระสงฆ์ (หมูส่ าวกผูป้ ฏิบตั ิตามคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า)
ในบาลีที่มา เรียกว่า สรณะ 3
Kh.1. ขุ.ขุ.25/1/1.

คุณของรตนะ ๓ อย่าง
๑ พระพุทธเจ้ารู้ดีรชู อบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผูอ้ ื่นให้ร้ตู ามด้วย.
๒ พระธรรมย่อมรักษาผูป้ ฏิ บตั ิ ไม่ให้ตกไปในที่ชว.
ั่
๓ พระสงฆ์ปฏิ บตั ิ ชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนผูอ้ ื่นให้กระทาตามด้วย.


อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสังสอน
่ ๓ อย่าง
๑ ทรงสังสอนเพื
่ ่อจะให้ผฟ้ ู ังรู้ยิ่งเห็นจริ งในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น.
๒ ทรงสังสอนมี
่ เหตุที่ผฟ้ ู ังอาจตรองตามให้เห็นจริ งได้.
๓ ทรงสังสอนเป็
่ นอัศจรรย์ คือผูป้ ฏิ บตั ิ ตามย่อมได้ประโยชน์ โดยสมควรแก่ความปฏิ บตั ิ .
นัย. องฺ. ติก. ๒๐/๓๕๖.

พุทธโอวาท 3 (ประมวลคาสอนของพระพุทธเจ้าที่เป็ นหลักใหญ่ 3 ข้อ)


1. สพฺพปาปสฺส อกรณ (ไม่ทาความชัว่ ทั้งปวง — not to do any evil)
2. กุสลสฺสปู สมฺปทา (ทาแต่ความดี — to do good; to cultivate good)
3. สจิ ตฺตปริ โยทปน (ทาใจของตนให้สะอาดบริสุทธิ์ — to purify the mind)
หลัก 3 ข้อนี้ รวมอยูใ่ นโอวาทปาฏิโมกข์ ที่ทรงแสดงในวันเพ็ญ เดือน 3 ที่บดั นี้ เรียกว่า วันมาฆบูชา
D.II.49; Dh.183. ที.ม.10/54/57; ขุ.ธ.25/24/39.

ทุจริ ต ๓ (ความประพฤติชวั ่ , ประพฤติไม่ดี - Duccarita: evil conduct; misconduct)


1. กายทุจริ ต (ความประพฤติชวั ่ ด้วยกาย) มี 3 คือ ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร
2. วจีทุจริ ต (ความประพฤติชวั ่ ด้วยวาจา) มี 4 คือ มุสาวาท ปิ สุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปะ
3. มโนทุจริ ต (ความประพฤติชวั ่ ด้วยใจ) มี 3 คือ อภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐิ
ดู รายละเอียดที่ [321] อกุศลกรรมบถ 10.
D.III.214; Dhs.1305. ที.ปา.11/228/227; อภิ.สํ.34/840/327.

สุจริ ต ๓ (ความประพฤติดี, ประพฤติชอบ - Sucarita: good conduct)


1. กายสุจริ ต (ความประพฤติชอบด้วยกาย: good conduct in act) มี 3 คือ งดเว้นและประพฤติตรงข้ามกับ
ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร
2. วจีสจุ ริ ต (ความประพฤติชอบด้วยวาจา: good conduct in word) มี 4 คือ งดเว้นและประพฤติตรงข้ามกับ
มุสาวาท ปิ สุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปะ
3. มโนสุจริ ต (ความประพฤติชอบด้วยใจ: good conduct in thought) มี 3 คือ อนภิชฌา อพยาบาท และสัมมา
ทิฏฐิ.
ดู รายละเอียดที่ [320] กุศลกรรมบถ 10 2.
D.III.215; Dhs.1306. ที.ปา.11/228/227; อภิ.สํ.34/840/327.

อกุศลมูล 3 (รากเหง้าของอกุศล, ต้นตอของความชัว่ )


1. โลภะ (ความอยากได้ — Lobha: greed)
2. โทสะ (ความคิดประทุษร้าย — Dosa: hatred)
3. โมหะ (ความหลง — Moha: delusion)
D.III.275; It.45. ที.ปา.11/393/291; ขุ.อิต.ิ 25/228/264.


กุศลมูล 3 (รากเหง้าของกุศล, ต้นตอของความดี)
1. อโลภะ (ความไม่โลภ, ธรรมที่เป็ นปฏิปักษ์กบั โลภะ, ความคิดเผื่อแผ่, จาคะ)
2. อโทสะ (ความไม่คิดประทุษร้าย, ธรรมที่เป็ นปฏิปักษ์กบั โทสะ, เมตตา)
3. อโมหะ (ความไม่หลง, ธรรมที่เป็ นปฏิปักษ์กบั ความหลง, ปั ญญา)
D.III.275. ที.ปา.11/394/292.

สัปปุริสบัญญัติ ๓ (บัญญัติของสัตบุรุษ, ข้อปฏิบตั ิที่สตั บุรุษวางเป็ นแบบไว้ หรือกล่าวสรรเสริญไว้, ความดีที่คน


ดีถือลงกัน)
1. ทาน (การให้ปัน, สละของตนเพื่อประโยชน์แก่ผอู้ ื่น: giving; generosity; charity; benefaction)
2. ปัพพัชชา (การถือบวช, เว้นการเบียดเบียน ดารงในธรรม คือ อหิงสา สัญญมะ และทมะ อันเป็ นอุบายให้ไม่
เบียดเบียนกัน และอยูร่ ว่ มกันด้วยความสุข: renunciation consisting in non-violence, restraint and self-
control)
3. มาตาปิ ตุอปุ ัฏฐาน (การบารุงมารดาบิดา, ปฏิบตั ิมารดาบิดาของตนให้เป็ นสุข: support of mother and
father)
A.I.151. องฺ.ติก.20/484/191.

อปั ณณกปฏิ ปทา 3 (ข้อปฏิบตั ิที่ไม่ผิด, ปฏิปทาที่เป็ นส่วนแก่นสารเนื้ อแท้ ซึ่งจะนาผูป้ ฏิบตั ิให้ถึงความเจริญ
งอกงามในธรรม เป็ นผูด้ าเนิ นอยูใ่ นแนวทางแห่งความปลอดพ้นจากทุกข์อย่างแน่ นอนไม่ผิดพลาด)
1. อิ นทรียสังวร (การสารวมอินทรีย์ คือระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมครอบงาใจ เมื่อรับรูอ้ ารมณ์ดว้ ยอินทรียท์ ้งั 6)
2. โภชเนมัตตัญญุตา (ความรูจ้ ักประมาณในการบริโภค คือรูจ้ ักพิจารณารับประทานอาหารเพื่อหล่อเลี้ ยง
ร่างกายใช้ทากิจให้ชีวติ ผาสุก มิใช่เพื่อสนุ กสนานมัวเมา)
3. ชาคริ ยานุโยค (การหมัน่ ประกอบความตื่น ไม่เห็นแก่นอน คือขยันหมัน่ เพียร ตื่นตัวอยูเ่ ป็ นนิ ตย์ ชาระจิตมิให้
มีนิวรณ์ พร้อมเสมอทุกเวลาที่จะปฏิบตั ิกิจให้กา้ วหน้าต่อไป)
A.I.113. องฺ.ติก.20/455/142.

บุญกิ ริยาวัตถุ ๓ (ที่ต้งั แห่งการทาบุญ, เรื่องที่จดั เป็ นการทาความดี, หลักการทาความดี, ทางทาความดี)


1. ทานมัย บุญกิ ริยาวัตถุ (ทาบุญด้วยการให้ปันสิ่งของ)
2. สีลมัย บุญกิ ริยาวัตถุ (ทาบุญด้วยการรักษาศีล หรือประพฤติดีมีระเบียบวินัย)
3. ภาวนามัย บุญกิ ริยาวัตถุ (ทาบุญด้วยการเจริญภาวนา คือฝึ กอบรมจิตใจเจริญปั ญญา)
D.III.218; A.IV.239; It.51. ที.ปา.11/228/230; องฺ.อฏฺ ก.23/126/245; ขุ.อิติ.25/238/270.

ไตรลักษณ์ หรือสามัญญลักษณะ ๓ (ลักษณะ 3, อาการที่เป็ นเครื่องกาหนดหมาย 3 อย่าง อันให้รถู ้ ึงความ


จริงของสภาวธรรมทั้งหลาย ที่เป็ นอย่างนั้นๆ ตามธรรมดาของมัน)
1. อนิ จจตา (ความเป็ นของไม่เที่ยง: impermanence; transiency)
2. ทุกขตา (ความเป็ นทุกข์: state of suffering or being oppressed)
3. อนัตตตา (ความเป็ นของไม่ใช่ตน; state of being not self)
 ลักษณะเหล่านี้ มี 3 อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์
 ลักษณะทั้ง 3 เหล่านี้ มีแก่ธรรมที่เป็ นสังขตะคือสังขารทั้งปวง เป็ นสามัญเสมอกัน จึงเรียกว่า สามัญ
ลักษณะ หรือ สามัญลักษณ์ [ไม่สามัญแก่ธรรมที่ เป็ นอสังขตะ อันได้แก่วิสงั ขาร ซึ่งมีเฉพาะลักษณะที่ 3 คือ

อนัตตาอย่างเดียว ไม่มีลกั ษณะ 2 อย่างต้น]
 ลักษณะทั้ง 3 เหล่านี้ ปรากฏอยูต่ ามธรรมดาที่แน่ นอน เป็ นไปตามกฎธรรมชาติ คือ ธรรมนิ ยาม
 คาว่า ไตรลักษณ์ ก็ดี สามัญลักษณ์ ก็ดี เกิดขึ้ นในยุคอรรถกถา ส่วนในพระไตรปิ ฎก พระพุทธเจ้าตรัส
แสดงลักษณะ 3 อย่างนี้ ไว้ในหลัก ธรรมนิ ยาม
ดู [86] ธรรมนิ ยาม 3.
S.IV.1; Dh.277-9. สํ.สฬ.18/1/1; ขุ.ธ.25/30/51.

วุฒิ ๔ หรือ วุฑฒิ ธรรม 4 (ธรรมเป็ นเครื่องเจริญ, คุณธรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม)


1. สัปปุริสสังเสวะ (เสวนาสัตบุรุษ, คบหาท่านผูท้ รงธรรมทรงปั ญญาเป็ นกัลยาณมิตร)
2. สัทธัมมัสสวนะ (สดับสัทธรรม, ใส่ใจเล่าเรียนฟั งอ่านหาความรูใ้ ห้ได้ธรรมที่แท้)
3. โยนิ โสมนสิ การ (ทาในใจโดยแยบคาย, รูจ้ กั คิดพิจารณาหาเหตุผลโดยถูกวิธี)
4. ธัมมานุธมั มปฏิ ปัตติ (ปฏิบตั ิธรรมสมควรแก่ธรรม, ปฏิบตั ิธรรมถูกหลัก ให้ธรรมย่อยคล้อยแก่ธรรมใหญ่
สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของธรรมทั้งหลายที่สมั พันธ์กนั , ดาเนิ นชีวติ ถูกต้องตามธรรม)
ธรรมหมวดนี้ ในบาลีที่มา เรียกว่า ธรรมที่เป็ นไปเพือ่ ปั ญญาวุฒิ [ปั ญญาวุฒิธรรม] คือ เพื่อความเจริญงอก
งามแห่งปั ญญา (virtues conducive to growth in wisdom)
อย่างไรก็ดี ในการเล่าเรียนธรรมในประเทศไทยที่สืบกันมา ได้รจู ้ กั ธรรมหมวดนี้ ในชื่อสั้นๆ ว่า วุฒิ 4 และ
อธิบายความหมายโดยมุง่ ให้คนทัว่ ไปเข้าใจและนาไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างๆ จึงจะแสดงความหมายแบบ
ง่ายๆ ไว้ดว้ ยดังนี้
1. สัปปุริสสังเสวะ คบหาสัตบุรุษ, เสวนาท่านผูร้ ผู ้ ทู้ รงคุณความดี มีความประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
2. สัทธัมมัสสวนะ ฟั งสัทธรรม, ตั้งใจฟั งคาสัง่ สอนของท่าน เอาใจใส่เล่าเรียน
3. โยนิ โสมนสิ การ ทาในใจโดยแยบคาย, รูจ้ กั คิดพิจารณาให้เห็นเหตุผลคุณโทษในสิ่งที่ได้เล่าเรียนสดับฟั งนั้น
จับสาระที่จะนาไปใช้ประโยชน์ได้
4. ธัมมานุธมั มปฏิ ปัตติ ปฏิบตั ิธรรมสมควรแก่ธรรม, นาสิ่งที่ได้เล่าเรียนและตริตรองเห็นแล้วไปใช้ปฏิบตั ิให้
ถูกต้องตามหลัก สอดคล้องกับความมุง่ หมายของหลักการนั้นๆ
A.II.245. องฺ.จตุกฺก.21/248/332.

จักร 4 (ธรรมนาชีวติ ไปสู่ความเจริญรุง่ เรือง ดุจล้อนารถไปสู่ที่หมาย)


1. ปฏิ รปู เทสวาสะ (อยูใ่ นถิ่นที่ดี มีสิ่งแวดล้อมเหมาะสม)
2. สัปปุริสปู ัสสยะ (สมาคมกับสัตบุรุษ)
3. อัตตสัมมาปณิ ธิ (ตั้งตนไว้ชอบ, ตั้งจิตคิดมุง่ หมายนาตนไปถูกทาง)
4. ปุพเพกตปุญญตา (ความเป็ นผูไ้ ด้ทาความดีไว้ก่อนแล้ว, มีพื้นเดิมดี, ได้สร้างสมคุณความดีเตรียมพร้อมไว้แต่
ต้น)
ธรรม 4 ข้อนี้ เรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า พหุการธรรม คือธรรมมีอุปการะมาก เป็ นเครื่องช่วยให้สามารถสร้างสม
ความดีอื่นๆ ทุกอย่าง และช่วยให้ประสบความเจริญก้าวหน้าในชีวติ บรรลุความงอกงามไพบูลย์.
A.II.32; D.III.276. องฺ.จตุกฺก.21/31/41; ที.ปา.11/400/293.


อคติ ๔ (ฐานะอันไม่พึงถึง, ทางความประพฤติที่ผิด, ความไม่เที่ยงธรรม, ความลาเอียง)
1. ฉันทาคติ (ลาเอียงเพราะชอบ: prejudice caused by love or desire; partiality)
2. โทสาคติ (ลาเอียงเพราะชัง: prejudice caused by hatred or enmity)
3. โมหาคติ (ลาเอียงเพราะหลง, พลาดผิดเพราะเขลา: prejudice caused by delusion or stupidity)
4. ภยาคติ (ลาเอียงเพราะกลัว: prejudice caused by fear)
D.III.182,228; A.II.18. ที.ปา.11/176/196; 246/240; องฺ.จตุกฺก.21/17/23.

๖.๑ อันตรายของภิ กษุสามเณรผู้บวชใหม่ ๔ อย่าง (ภัยสาหรับกุลบุตรผูบ้ วชในพระธรรมวินัยนี้ อันเป็ น


เหตุให้ประพฤติพรหมจรรย์อยูไ่ ด้ไม่ยงั ่ ยืน ต้องลาสิกขาไป)
๑) อูมิภยั (ภัยคลื่น คือ อดทนต่อคาสัง่ สอนไม่ได้ เกิดความขึ้ งเคียดคับใจ เบื่อหน่ ายคาตักเตือนพรา่ สอน)
๒) กุมภีลภัย (ภัยจรเข้ คือเห็นแก่ปากแก่ทอ้ ง ถูกจากัดด้วยระเบียบวินัยเกี่ยวกับการบริโภค ทนไม่ได้)
๓) อาวฏภัย (ภัยน้ าวน คือ ห่วงพะวงใฝ่ ทะยานในกามสุข ตัดใจจากกามสุขไม่ได้)
๔) สุสกุ าภัย (ภัยปลาร้าย หรือภัยฉลาม คือ เกิดความปรารถนาทางเพศ รักผูห้ ญิง)
ม.ม.๑๓/๑๙๐/๑๙๘ จาตุมสูตร, องฺ.จตุกฺก.๒๑/๑๒๒/๑๖๕
จาตุมสูตร
เรื่องพระอาคันตุกะพูดเสียงดัง
[๑๘๖] ข้ าพเจ้ าได้ สดับมาอย่างนี้:
สมัยหนึ่ง พระผูม้ ีพระภาคประทับอยู่ ณ อามลกีวนั ใกล้บา้ นจาตุมา. ก็สมัยนั้น ภิกษุประมาณห้ าร้ อยรูป มีพระสารีบุตรและพระ
โมคคัลลานะเป็ นหัวหน้ าไปถึงจาตุมคาม เพื่อเฝ้ าพระผู้มพี ระภาค. ก็ภิกษุอาคันตุกะเหล่านั้น ปราศรัยกับภิกษุเจ้ าถิ่น จัดเสนาสนะ เก็บบาตร
และจีวร เป็ นผู้มเี สียงสูง มีเสียงดัง. ครั้งนั้นแล พระผู้มพี ระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาว่า ดู กรอานนท์ ผูท้ ี่เสียงสูง เสียงดังนั้น เป็ น
ใคร ราวกะชาวประมงแย่งปลากัน?
ท่านพระอานนท์ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ภิกษุประมาณห้ าร้ อยนั้น มีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็ นหัวหน้ า มาถึง
จาตุมคาม เพื่อเฝ้ าพระผู้มพี ระภาค ภิกษุผ้ อู าคันตุกะเหล่านั้น ปราศรัยกับภิกษุเจ้ าถิ่น จัดเสนาสนะ เก็บบาตรและจีวรอยู่ เป็ นผู้มเี สียงสูงมีเสียงดัง.
ดูกรอานนท์ ถ้ าเช่นนั้น เธอจงไปเรียกพวกภิกษุมาตามคาของเราว่า พระศาสดาตรัสเรียกท่านทั้งหลาย. ท่านพระอานนท์ทูลรับพระ
ผู้มพี ระภาคแล้ ว จึงเข้ าไปหาภิกษุเหล่านั้นถึงที่พัก ได้ กล่าวกะภิกษุเหล่านั้นว่า พระศาสดาตรัสเรียกท่านทั้งหลาย. ภิกษุเหล่านั้นรับคาท่าน
พระอานนท์แล้ ว เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มพี ระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มพี ระภาคแล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง. พระผู้มีพระภาคตรัสกะ
ภิกษุเหล่านั้นว่า ดูกรภิกษุท้งั หลาย พวกเธอมีเสียงสูง มีเสียงดังราวกะชาวประมงแย่งปลากัน เพราะเหตุอะไรหนอ?
พวกภิกษุเหล่านั้นทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ภิกษุประมาณห้ าร้ อยนั้น มีพระสารีบุตรและโมคคัลลานะเป็ นหัวหน้ า มาถึงจาตุมคาม
เพื่อเฝ้ าพระผู้มพี ระภาค ภิกษุผ้ อู าคันตุกะเหล่านี้น้นั ปราศรัยกับภิกษุเจ้ าถิ่น จัดเสนาสนะ เก็บบาตรและจีวรอยู่ จึงมีเสียงสูง เสียงดัง พระเจ้ าข้ า.
ดูกรภิกษุท้ งั หลาย พวกเธอจงพากันไป เราประณามพวกเธอ พวกเธอไม่ควรอยู่ในสานักเรา. ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระ
ภาคแล้ ว ลุกจากอาสนะถวายบังคมพระผู้มพี ระภาค ทาประทักษิณแล้ ว เก็บอาสนะ ถือบาตรและจี วรหลีกไปแล้ ว.
[๑๘๗] ก็สมัยนั้น พวกเจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมาประชุมกันอยู่ท่เี รือนรับแขก ด้ วยกรณียะบางอย่าง. ได้ เห็นภิกษุเหล่านั้นมาแต่ไกล
ครั้นแล้ ว จึงเข้ าไปหาภิกษุเหล่านั้นจนถึงที่ใกล้ ได้ กล่าวกะภิกษุเหล่านั้นว่า ดูเถิดท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจะพากันไปไหนเล่า?
ภ. ดูกรผู้มอี ายุท้งั หลาย ภิกษุสงฆ์ถูกพระผู้มพี ระภาคทรงประณามแล้ ว.
ส. ข้ าแต่ท่านผู้มีอายุท้งั หลาย ถ้ าเช่ นนั้น ขอท่านทั้งหลายจงนั่งอยู่ครู่หนึ่ง แม้ ไฉนข้ าพเจ้ าทั้งหลายพึงอาจให้ พระผู้มีพระภาคทรง
เลื่อมใสได้ . ภิกษุเหล่ านั้นรับคาพวกเจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมาแล้ ว. ลาดับนั้น พวกศากยะชาวเมืองจาตุมาเข้ าเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่
ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง. แล้ วกราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาคจงชื่นชมกะ
ภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มีพระภาคจงรับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในบัดนี้ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุ เคราะห์ภิกษุสงฆ์
เหมือนที่พระผู้มพี ระภาคทรงอนุเคราะห์ในกาลก่อนเถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่นี้ ภิกษุท้ งั หลายที่ยงั เป็ นผูใ้ หม่ บวชไม่นาน
เพิ่งมาสู่พระธรรมวินยั นี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้เฝ้ าพระผูม้ ีพระภาคจะพึงมีความน้อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ ู
เจริญ เปรี ยบเหมือนเมื่อพืชที่ ยงั อ่ อนไม่ได้น้ า จะพึ งเป็ นอย่ างอื่น จะพึงแปรไป ฉันใด ข้ าแต่ พระองค์ผ้ ูเจริญ ในภิกษุ สงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุ

ทั้งหลายที่ยังเป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มีพระภาคก็ฉันนั้น จะพึงมีความน้ อยใจ
มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เปรียบเหมือนเมือ่ ลูกโคอ่อนไม่เห็นแม่ จะพึงเป็ นอย่างอื่น จะพึงแปรไปฉันใด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ู
เจริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายที่ยังเป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้มีอยู่ ภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มีพระภาคก็ฉัน
นั้น จะพึงมีความน้ อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ขอพระผู้มพี ระภาคจงทรงชื่นชมกะภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มพี ระภาคจง
รับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในบัดนี้ ขอพระผู้มีพระภาคทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์เหมือนที่พระผู้มีพระภาคทรงอนุเคราะห์
ภิกษุสงฆ์ในกาลก่อนเถิด.
พรหมอาราธนาพระพุทธเจ้า
[๑๘๘] ครั้งนั้นแล ท้ าวสหัมบดีพรหมทราบพระพุทธดาริแห่งพระทัยของพระผู้มพี ระภาคด้ วยใจของตนแล้ ว หายไปในพรหมโลก มา
ปรากฏตรงพระพักตร์พระผู้มพี ระภาค เหมือนบุรษุ มีกาลัง เหยียดแขนที่ค้ ูออก หรือคู้แขนที่เหยียดเข้ า ฉะนั้น. ครั้นแล้ ว ทาผ้ าห่ มเฉวียงบ่า
ข้ างหนึ่ง ประณมอัญชลีไปทางที่พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ แล้ วได้ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาค จงทรงชื่นชมกะ
ภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มีพระภาค จงรับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในบัดนี้ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุเคราะห์ภิกษุสง ฆ์
เหมือนที่พระผู้มพี ระภาคทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์ในกาลก่อนเถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายยังเป็ นผู้ใหม่ บวช
ไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มพี ระภาค จะพึงมีความน้ อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พ ระองค์ผ้ ู
เจริญ เปรียบเหมือนพืชที่ยังอ่อนไม่ได้ นา้ จะพึงเป็ นอย่างอื่น จะพึงแปรไป ฉันใด ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายที่ยัง
เป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่ านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มีพระภาค ก็ฉันนั้น จะพึงมีความน้ อยใจ มีความ
แปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ เปรียบเหมือนเมื่อลูกโคอ่อนไม่เห็นแม่ จะพึงเป็ นอย่างอื่น จะพึงแปรไป ฉันใด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ
ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายที่ยังเป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มพี ระภาคก็ฉันนั้น
จะพึงมีความน้ อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงชื่นชมกะภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มีพระภาคจง
รับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ บัดนี้ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์ เหมือนที่พระผู้มีพระภาคทรงอนุเคราะห์
ภิกษุสงฆ์ในกาลก่อนเถิด. เจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมา และท้ าวสหัมบดีพรหม ได้ สามารถทูลให้ พระผู้มีพระภาคทรงเลื่อมใส ด้ วยคาวิงวอน
เปรียบด้ วยข้ าวกล้ าอ่อน และด้ วยคาวิงวอนเปรียบด้ วยลูกโคอ่อน ฉะนี้แล.
พระอาคันตุกะเข้าเฝ้ า
[๑๘๙] ครั้งนั้นแล ท่านพระมหาโมคคัลลานะ จึงเรียกภิกษุท้งั หลายมาว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ท้งั หลาย ท่านทั้งหลายจงลุกขึ้นเถิด จง
ถือเอาบาตรและจีวรเถิด พระผู้มพี ระภาคอันเจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมา และท้ าวสหัมบดีพรหมทรงให้ เลื่อมใสแล้ ว ด้ วยคาวิงวอนเปรียบด้ วย
ข้ าวกล้ าอ่อน และด้ วยคาวิงวอนเปรียบด้ วยลูกโคอ่อน. ภิกษุเหล่านั้นรับคาท่านพระมหาโมคคัลลานะแล้ ว จึงลุกจากอาสนะ ถือบาตรและจีวร
เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มพี ระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มพี ระภาค แล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง. พระผู้มพี ระภาคได้ รับสั่งกับท่านพระสารี
บุตรผู้น่งั ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่งว่า ดูกรสารีบุตร เมือ่ เราประณามภิกษุสงฆ์แล้วจิ ตของเธอได้มีอย่างไร?
ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เมื่อพระผู้มพี ระภาคทรงประณาม
ภิกษุสงฆ์แล้ ว จิ ตของข้าพระองค์ได้มีอย่างนี้ ว่า บัดนี้ พระผูม้ ีพระภาคจักทรงมีความขวนขวายน้อย ประกอบตามธรรมเป็ น
เครื่องอยู่เป็ นสุขในทิฏฐธรรมอยู่ แม้เราทั้งหลายก็จกั มีความขวนขวายน้อย ประกอบตามธรรมเป็ นเครื่องอยู่เป็ นสุขในทิฏฐธรรมอยู่ใน
บัดนี้ .
ดูกรสารีบุตร เธอจงรอก่อน ดูกรสารีบุตร เธอจงรอก่อน ดูกรสารีบุตร เธออย่าพึงให้ จิตเห็นปานนี้เกิดขึ้นอีกเลย.
ลาดับนั้น พระผู้มพี ระภาคตรัสเรียกท่านพระมหาโมคคัลลานะมาว่า ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อเราประณามภิกษุสงฆ์แล้ ว จิตของเธอได้
มีอย่างไร?
ท่านพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เมื่อพระผู้มพี ระภาคทรงประณามภิกษุสงฆ์แล้ ว จิ ตของข้าพระองค์ได้
มีอย่างนี้ ว่า บัดนี้ พระผูม้ ีพระภาคจักทรงมีความขวนขวายน้อย ประกอบตามธรรมเป็ นเครื่องอยู่เป็ นสุขในทิฏฐธรรมอยู่ เราและท่าน
พระสารีบุตรจักช่วยกันปกครองภิกษุสงฆ์ในบัดนี้ .
ดีละ โมคคัลลานะ ความจริงเรา หรือสารีบุตรและโมคคัลลานะเท่านั้น พึงปกครองภิกษุสงฆ์.
ภัย ๔ อย่าง
[๑๙๐] ลาดับนั้น พระผู้มพี ระภาคตรัสเรียกภิกษุท้งั หลายมาว่า ดูกรภิกษุท้ งั หลาย ภัย ๔ อย่างนี้ เมื่อบุคคลกาลังลงน้ า พึงหวังได้
ภัย ๔ อย่างเป็ นไฉน คือภัยเพราะคลื่น ภัยเพราะจระเข้ ภัยเพราะน้ าวน ภัยเพราะปลาร้าย ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภัย ๔ อย่ างนี้แล เมื่อ
บุคคลกาลังลงนา้ พึงหวังได้ ฉันใด ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภัย ๔ อย่างนี้กฉ็ ันนั้น เมื่อบุคคลบางคนในโลกนี้ ออกบวชเป็ นบรรพชิตในธรรมวินัยนี้
พึงหวังได้ ภัย ๔ อย่างเป็ นไฉน คือ ภัยเพราะคลื่น ภัยเพราะจระเข้ ภัยเพราะนา้ วน ภัยเพราะปลาร้ าย.


[๑๙๑] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะคลืน่ เป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต ด้ วย
คิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ท่วมทับแล้ ว
ทาไฉน การทาที่สดุ แห่งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้ จะพึงปรากฏได้ เพื่อนพรหมจรรย์ท้งั หลายย่อมตักเตือนสั่งสอนกุลบุตรนั้น ผู้บวชแล้ วอย่างนั้นว่า
ท่านพึงก้าวไปอย่างนี้ ท่านพึงถอยกลับอย่างนี้ ท่านพึงแลอย่างนี้ ท่านพึงเหลียวอย่างนี้ ท่านพึงคูเ้ ข้าอย่างนี้ ท่านพึงเหยียดออกอย่างนี้
ท่านพึงทรงสังฆาฏิ บาตรและจี วรอย่างนี้ กุลบุตรนั้นย่อมมีความดาริอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นคฤหัสถ์ ย่อมตักเตือนบ้ าง สั่งสอนบ้ าง ซึ่ง
คนอื่น ก็ภิกษุเหล่านี้ เพียงคราวบุตรคราวหลานของเรา ยังมาสาคัญการที่จะพึงตักเตือนพร่ าสอนเรา เขาจึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย กุลบุตรผู้น้ เี รากล่าวว่า กลัวแต่ภัยเพราะคลื่น แล้ วบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย คาว่า ภัยเพราะคลื่นนี้ เป็ นชื่อของความ
คับใจด้วยสามารถความโกรธ.
[๑๙๒] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะจระเข้เป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต
ด้ วยคิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ท่วมทับ
แล้ ว ทาไฉน การทาที่สดุ แห่งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้จะพึงปรากฏได้ เพื่อนพรหมจรรย์ท้งั หลายย่อมตักเตือนสั่งสอนกุลบุตรผู้บวชแล้ วอย่างนั้นว่า
สิ่งนี้ ท่านควรเคี้ ยวกิน สิ่งนี้ ท่านไม่ควรเคี้ ยวกิน สิ่งนี้ ท่านควรฉัน สิ่งนี้ ท่านไม่ควรฉัน สิ่งนี้ท่านควรลิ้ม สิ่งนี้ท่านไม่ควรลิ้ม สิ่งนี้ท่านควร
ดื่ม สิ่งนี้ท่านไม่ควรดื่ม สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่านควรเคี้ยวกิน สิ่งเป็ นอกัปปิ ยะท่านไม่ควรเคี้ยวกิน สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่านควรฉัน สิ่ง เป็ นอกัปปิ ยะท่าน
ไม่ควรฉัน สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่านควรลิ้ม สิ่งเป็ นอกัปปิ ยะท่านไม่ควรลิ้ม สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่านควรดื่ม สิ่งเป็ นอกัปปิ ยะท่านไม่ควรดื่ม ท่านควร
เคี้ยวกินในกาล ท่านไม่ควรเคี้ยวกินในวิกาล ท่านควรฉันในกาล ท่านไม่ควรฉันในวิกาล ท่านควรลิ้มในกาล ท่านไม่ควรลิ้มในวิกาล ท่านควร
ดื่มในกาล ท่านไม่ควรดื่มในวิกาล ดังนี้
กุลบุตรนั้นย่อมมีความดาริอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นคฤหัสถ์ ปรารถนาจะเคี้ยวกินสิ่งใด เคี้ยวกินสิ่งนั้นได้ ไม่ปรารถนาจะเคี้ยวกิน
สิ่งใด ก็ไม่เคี้ยวกินสิ่งนั้นได้ ปรารถนาจะบริโภคสิ่งใด ก็บริโภคสิ่งนั้นได้ ไม่ปรารถนาจะบริโภคสิ่งใด ก็ไม่บริโภคสิ่งนั้นได้ ปรารถนาจะลิ้มสิ่ง
ใดก็ล้ ิมสิ่งนั้นได้ ไม่ปรารภจะลิ้มสิ่งใด ก็ไม่ล้ ิมสิ่งนั้นได้ ปรารถนาจะดื่มสิ่งใด ก็ด่ มื สิ่งนั้นได้ ไม่ปรารถนาจะดื่มสิ่งใด ก็ไม่ด่ มื สิ่งนั้นได้ จะ
เคี้ยวกินสิ่งเป็ นกัปปิ ยะก็ได้ จะเคี้ยวกินสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะบริโภคสิ่งเป็ นกัปปิ ยะก็ได้ จะบริโภคสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะลิ้มสิ่งเป็ นกัปปิ ยะ
ก็ได้ จะลิ้มสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะดื่มสิ่งเป็ นกัปปิ ยะก็ได้ จะดื่มสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะเคี้ยวกินในกาลก็ได้ จะเคี้ยวกินในวิกาลก็ได้ จะ
บริโภคในกาลก็ได้ จะบริโภคในวิกาลก็ได้ จะลิ้มในกาลก็ได้ จะลิ้มในวิกาลก็ได้ จะดื่มในกาลก็ได้ จะดื่มในวิกาลก็ได้ ก็คฤหบดีท้งั หลายผู้มี
ศรัทธา ย่อมให้ ของควรเคี้ยว ของควรบริโภคอันประณีตในวิกาลเวลากลางวัน อันใด แก่เราทั้งหลาย ชรอยภิกษุเหล่านั้นจะทาการห้ ามปาก
ในสิ่งนั้นเสีย ดังนี้ เขาจึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรผู้น้ เี รากล่าวว่า กลัวแต่ภัยเพราะจระเข้ บอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย คาว่าภัยเพราะจระเข้นี้ เป็ นชื่อของความเป็ นผูเ้ ห็นแก่ทอ้ ง.
[๑๙๓] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะน้ าวนเป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต
ด้ วยคิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ท่วมทับ
แล้ ว ทาไฉน การทาที่สดุ แห่งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้จะพึงปรากฏได้ เขาบวชแล้ วอย่างนี้ เวลาเช้านุ่งสบงแล้ว ถือบาตรและจี ว รเข้าไปบิณฑบาต
ยังบ้านหรือนิคม ไม่รกั ษากาย ไม่รกั ษาวาจา ไม่ดารงสติ ไม่สารวมอินทรียเ์ ลย เขาเห็ นคฤหบดีหรือบุตรคฤหบดี ผูเ้ อิบอิ่มพร้อมพรัง่
บาเรออยู่ดว้ ยกามคุณห้า ในบ้านหรือนิคมนั้น เขามีความคิดอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นคฤหัสถ์ เป็ นผู้เอิบอิ่มพร้ อมพรั่งบาเรออยู่ด้วยกาม
คุณห้ า สมบัตกิ ม็ อี ยู่ในสกุล เราสามารถจะบริโภคสมบัตแิ ละทาบุญได้ ดังนี้ เขาจึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรผู้น้ ีเ รากล่าว
ว่า ผู้กลัวต่อภัยเพราะนา้ วน บอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย คาว่าภัยเพราะน้ าวนนี้ เป็ นชื่อแห่งกามคุณห้า.
[๑๙๔] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะปลาร้ายเป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต
ด้ วยคิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ท่วมทับ
แล้ ว ทาไฉน การทาที่สดุ แห่งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้ จะพึงปรากฏได้ เขาบวชแล้ วอย่างนี้ เวลาเช้านุ่งสบงแล้วถือบาตรและจี วร เข้าไปบิณฑบาต
ยังบ้านหรือนิคม ไม่รกั ษากาย ไม่รกั ษาวาจา ไม่ดารงสติ ไม่สารวมอินทรียเ์ ลย เขาย่อมเห็ นมาตุคามผูน้ ุ่งผ้าไม่ดี หรือห่ มผ้าไม่ดีใน
บ้านหรือนิคมนั้น เพราะเหตุมาตุคามผู้นุ่งผ้ าไม่ดี หรือห่ มผ้ าไม่ดี ความกาหนัดย่อมตามกาจัดจิตของกุลบุตรนั้น เขามีจิตอันความกาหนัด
ตามกาจัดแล้ ว จึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้ั งหลาย กุลบุตรผู้น้ ีเรากล่ าวว่ า กลัวแต่ภัยเพราะปลาร้ ายบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย คาว่าภัยเพราะปลาร้ายนี้ เป็ นชื่อแห่ งมาตุคาม ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภัย ๔ อย่ างนี้แล เมื่อบุคคลบางคนในโลกนี้ ออกบวชเป็ น
บรรพชิตในธรรมวินัยนี้ พึงหวังได้ .
พระผู้มพี ระภาคได้ ตรัสพระพุทธพจน์น้ แี ล้ ว. ภิกษุเหล่านั้นชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มพี ระภาคแล้ วแล.
.................................................


ปธาน 4 (ความเพียร —: effort; exertion)
1.สังวรปธาน (เพียรระวังหรือเพียรปิ ดกั้น คือ เพียรระวังยับยัง้ บาปอกุศลธรรมที่ยงั ไม่เกิด มิให้เกิดขึ้ น)
2.ปหานปธาน (เพียรละหรือเพียรกาจัด คือ เพียรละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้ นแล้ว)
3.ภาวนาปธาน (เพียรเจริญ หรือเพียรก่อให้เกิด คือ เพียรทากุศลธรรมที่ยงั ไม่เกิด ให้เกิดมีขึ้น)
4.อนุรกั ขนาปธาน (เพียรรักษา คือ เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้ นแล้วให้ต้งั มัน่ และให้เจริญยิ่งขึ้ นไปจน
ไพบูลย์)
ปธาน 4 นี้ เรียกอีกอย่างว่า สัมมัปปธาน 4 (ความเพียรชอบ, ความเพียรใหญ่)
A.II.74,16,15. องฺ.จตุกฺก.21/69/96; 14/20; 13/19.

อธิ ษฐาน ๔ หรือ อธิ ษฐานธรรม 4 (ธรรมเป็ นที่มนั ่ , ธรรมอันเป็ นฐานที่มนั ่ คงของบุคคล, ธรรมที่ควรใช้เป็ นที่
ประดิษฐานตน เพื่อให้สามารถยึดเอาผลสาเร็จสูงสุดอันเป็ นที่หมายได้ โดยไม่เกิดความสาคัญตนผิด และไม่
เกิดสิ่งมัวหมองหมักหมมทับถมตน, บางทีแปลว่า "ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ")
1. ปัญญา (ความรูช้ ดั คือ หยัง่ รูใ้ นเหตุผล พิจารณาให้เข้าใจในสภาวะของสิ่งทั้งหลายจนเข้าถึงความจริง)
2. สัจจะ (ความจริง คือ ดารงมัน่ ในความจริงที่รชู ้ ดั ด้วยปั ญญา เริ่มแต่จริงวาจาจนถึง ปรมัตถสัจจะ)
3. จาคะ (ความสละ คือ สละสิ่งอันเคยชิน ข้อที่เคยยึดถือไว้ และสิ่งทั้งหลายอันผิดพลาดจากความจริงเสียได้
เริ่มแต่สละอามิสจนถึงสละกิเลส)
4. อุปสมะ (ความสงบ คือ ระงับโทษข้อขัดข้องมัวหมองวุน่ วายอันเกิดจากกิเลสทั้งหลายแล้ว ทาจิตใจให้สงบ
ได้)
ทั้ง 4 ข้อนี้ พึงปฏิบตั ิตามกระทูด้ งั นี้
1. ปญฺญํ นปฺปมชฺเชยฺย (ไม่พึงประมาทปั ญญา คือ ไม่ละเลยการใช้ปัญญา)
2. สจฺจํ อนุรกฺเขยฺย (พึงอนุ รกั ษ์สจั จะ)
3. จาคํ อนุพฺรูเหยฺย (พึงเพิ่มพูนจาคะ)
4. สนฺตึ สิกฺเขยฺย (พึงศึกษาสันติ)
D.III.229; M.III.243. ที.ปา.11/254/241; ม.อุ.14/682/437.

อิ ทธิ บาท 4 (คุณเครื่องให้ถึงความสาเร็จ, คุณธรรมที่นาไปสู่ความสาเร็จแห่งผลที่มุง่ หมาย)


1. ฉันทะ (ความพอใจ คือ ความต้องการที่จะทา ใฝ่ ใจรักจะทาสิ่งนั้ นอยูเ่ สมอ และปรารถนาจะทาให้ได้ผลดียิ่งๆ
ขึ้ นไป)
2. วิ ริยะ (ความเพียร คือ ขยันหมัน่ ประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธุระ ไม่ทอ้ ถอย)
3. จิ ตตะ (ความคิดมุ่งไป คือ ตั้งจิตรับรูใ้ นสิ่งที่ทาและทาสิ่ งนั้ นด้วยความคิด เอาจิตฝั กใฝ่ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่าน
เลื่อนลอยไป อุทิศตัวอุทิศใจให้แก่สิ่งที่ทา)
4. วิ มงั สา (ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง คือ หมัน่ ใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญตรวจตราหาเหตุผลและตรวจสอบ
ข้อยิง่ หย่อนในสิ่งที่ทานั้น มีการวางแผน วัดผล คิดค้นวิธีแก้ไขปรับปรุง เป็ นต้น)
D.III.221; Vbh.216. ที.ปา.11/231/233; อภิ.วิ.35/505/292.


ควรทาความไม่ประมาทในที่ ๔ สถาน
๑. ในการละกายทุจริ ต ประพฤติ กายสุจริ ต.
๒. ในการละวจีทุจริ ต ประพฤติ วจีสจุ ริ ต.
๓. ในการละมโนทุจริ ต ประพฤติ มโนสุจริ ต.
๔. ในการละความเห็นผิด ทาความเห็นให้ถกู
อีกอย่างหนึ่ ง
๑. ระวังใจไม่ให้กาหนัดในอารมณ์ เป็ นที่ตงั ้ แห่งความกาหนัด.
๒. ระวังใจไม่ให้ขดั เคืองในอารมณ์ เป็ นที่ตงั ้ แห่งความขัดเคือง.
๓. ระวังใจไม่ให้หลงในอารมณ์ เป็ นที่ตงั ้ แห่งความหลง.
๔. ระวังใจไม่ให้มวั เมาในอารมณ์ เป็ นที่ตงั ้ แห่งความมัวเมา.
องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๑๖๑.

ปาริ สทุ ธิ ศีล ๔ (ศีลคือความบริสุทธิ์, ศีลเครื่องให้บริสุทธิ์, ความประพฤติบริสุทธิ์ที่จดั เป็ นศีล)


1. ปาฏิ โมกขสังวรศีล (ศีลคือความสารวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจากข้อห้าม ทาตามข้ออนุ ญาต ประพฤติ
เคร่งครัดในสิกขาบททั้งหลาย)
2. อิ นทรียสังวรศีล (ศีลคือความสารวมอินทรีย์ ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมครอบงาเมื่อรับรูอ้ ารมณ์ดว้ ย
อินทรียท์ ้งั 6)
3. อาชีวปาริ สทุ ธิ ศีล (ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ ยงชีวติ โดยทางที่ชอบ ไม่ประกอบอเนสนา มี
หลอกลวงเขาเลี้ ยงชีพเป็ นต้น)
4. ปัจจัยสันนิ สิตศีล (ศีลที่เกี่ยวกับปั จจัย 4 ได้แก่ปัจจัยปั จจเวกขณ์ คือพิจารณาใช้สอยปั จจัยสี่ ให้เป็ นไปตาม
ความหมายและประโยชน์ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วยตัณหา)
Vism.16; Comp.212. วิสุทฺธิ.1/19; สงฺคห.55.

อารักขกัมมัฏฐาน ๔
๑. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้าที่มีในพระองค์และทรงเกื้อกูลแก่ผอ้ ู ื่น.
๒. เมตตา แผ่ไม่ตรีจิตคิ ดจะให้สตั ว์ทงั ้ ปวงเป็ นสุขทัวหน้
่ า.
๓. อสุภะ พิ จารณาร่างกายตนและผูอ้ ื่นให้เห็นเป็ นไม่งาม.
๔. มรณัสสติ นึ กถึงความตายอันจะมีแก่ตน.
กัมมัฏฐาน ๔ อย่างนี้ ควรเจริญเป็ นนิ ตย์.
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ.

พรหมวิ หาร 4 (ธรรมเครื่องอยูอ่ ย่างประเสริฐ , ธรรมประจาใจอันประเสริฐ, หลักความประพฤติที่ประเสริฐ


บริสุทธิ์, ธรรมที่ตอ้ งมีไว้เป็ นหลักใจและกากับความประพฤติ จึงจะชื่อว่าดาเนิ นชีวิตหมดจด และปฏิบตั ิตนต่อ
มนุ ษย์สตั ว์ท้งั หลายโดยชอบ)
1. เมตตา (ความรัก ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทาประโยชน์ แก่มนุ ษย์สตั ว์ทวั ่
หน้า)
2. กรุณา (ความสงสาร คิดช่วยให้พน้ ทุกข์ ใฝ่ ใจในอันจะปลดเปลื้ องบาบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของปวงสัตว์)

๑๐
3. มุทิตา (ความยินดี ในเมื่อผูอ้ ื่นอยูด่ ีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง กอปรด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยูเ่ สมอ ต่อสัตว์
ทั้งหลายผูด้ ารงในปกติสุข พลอยยินดีดว้ ยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิง่ ขึ้ นไป)
4. อุเบกขา (ความวางใจเป็ นกลาง อันจะให้ดารงอยูใ่ นธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปั ญญา คือมีจิตเรียบตรง
เที่ยงธรรมดุจตราชัง่ ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สตั ว์ท้งั หลายกระทาแล้ว อันควรได้รบั ผลดี
หรือชัว่ สมควรแก่เหตุอนั ตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบตั ิไปตามธรรม รวมทั้งรูจ้ กั วางเฉยสงบใจมองดู
ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทา เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รบั ผลอันสม
กับความรับผิดชอบของตน)
ผูด้ ารงในพรหมวิหาร ย่อมช่วยเหลือมนุ ษย์สตั ว์ท้งั หลายด้วยเมตตากรุณา และย่อมรักษาธรรมไว้ได้ดว้ ย
อุเบกขา ดังนั้น แม้จะมีกรุณาที่จะช่วยเหลือปวงสัตว์แต่ก็ตอ้ งมีอุเบกขาด้วยที่จะมิให้เสียธรรม
พรหมวิหารนี้ บางทีแปลว่า ธรรมเครื่องอยูข่ องพรหม, ธรรมเครื่องอยูอ่ ย่างพรหม, ธรรมประจาใจที่ทาให้
เป็ นพรหมหรือให้เสมอด้วยพรหม, หรือธรรมเครื่องอยูข่ องท่านผูม้ ีคุณยิง่ ใหญ่
พรหมวิหาร 4 เรียกอีกอย่างว่า อัปปมัญญา 4 เพราะแผ่สมา่ เสมอโดยทัว่ ไปในมนุ ษย์สตั ว์ท้งั หลาย ไม่มี
ประมาณ ไม่จากัดขอบเขต
พรหมวิหารมีในผูใ้ ด ย่อมทาให้ผนู้ ้ันประพฤติปฏิบตั ิเกื้ อกูลแก่ผอู้ ื่น ด้วยสังคหวัตถุเป็ นต้น.
อนึ่ ง ในการที่จะเข้าใจและปฏิบตั ิพรหมวิหาร 4 ให้ถกู ต้อง พึงทราบรายละเอียดบางอย่าง โดยเฉพาะสมบัติ
และวิบตั ิ ของธรรม 4 ประการนั้น ดังนี้
ก. ความหมายโดยวิ เคราะห์ศพั ท์
1. เมตตา = (มีน้ ำใจ)เยือ่ ใยใฝ่ ประโยชน์สุขแก่คนสัตว์ท้ งั หลำย หรื อน้ ำใจปรำรถนำประโยชน์สุขที่เป็ นไปต่อมิตร
2. กรุณา = ทำควำมสะเทือนใจแก่สำธุชน เมื่อคนอื่นประสบทุกข์ หรื อถ่ำยถอนทำทุกข์ของผูอ้ ื่นให้หมดไป หรื อแผ่
ใจไปรับรู้ต่อคนสัตว์ท้ งั หลำยที่ประสบทุกข์
3. มุทติ า = โมทนำยินดีต่อผูป้ ระกอบด้วยสมบัติหรื อผลดีน้ นั ๆ
4. อุเบกขา = คอยมองดูอยู่ โดยละควำมขวนขวำยว่ำสัตว์ท้ งั หลำยจงอย่ำผูกเวรกัน เป็ นต้น และโดยเข้ำถึงควำมเป็ น
กลำง
ข. ลักษณะ หน้ าทีห่ รือกิ จ (รส) ผลปรากฏ (ปัจจุปัฏฐาน) และปทัสถาน (เหตุใกล้)
1. เมตตา = (ในสถำนกำรณ์ที่คนอื่นอยูเ่ ป็ นปกติ)
ลักษณะ = เป็ นไปโดยอำกำรเกื้อกูลแก่คนสัตว์ท้ งั หลำย
หน้ าที่ = น้อมนำประโยชน์เข้ำไปให้แก่เขำ
ผลปรากฏ = กำจัดควำมอำฆำตแค้นเคืองให้ปรำศไป
ปทัสถาน = เห็นภำวะที่น่ำเจริ ญใจของคนสัตว์ท้ งั หลำย
2. กรุณา = (ในสถำนกำรณ์ที่คนอื่นตกทุกข์เดือดร้อน)
ลักษณะ = เป็ นไปโดยอำกำรปลดเปลื้องทุกข์แก่คนสัตว์ท้ งั หลำย
หน้ าที่ = ไม่นิ่งดูดำย/ทนนิ่งอยูไ่ ม่ได้ต่อทุกข์ของคนสัตว์ท้ งั หลำย
ผลปรากฏ = ไม่เบียดเบียน/อวิหิงสำ
ปทัสถาน = เห็นภำวะไร้ที่พ่ งึ /สภำพน่ำอนำถของคนสัตว์ท้ งั หลำยที่ถกู ทุกข์ครอบงำ
3. มุทติ า = (ในสถำนกำรณ์ที่คนอื่นมีสุขสำเร็ จหรื อทำอะไรก้ำวไปด้วยดี)

๑๑
ลักษณะ = พลอยยินดี/ยินดีดว้ ย
หน้ าที่ = ไม่ริษยำ/เป็ นปฏิปักษ์ต่อควำมริ ษยำ
ผลปรากฏ = ขจัดควำมริ ษยำ ควำมไม่ยนิ ดีหรื อควำมทนไม่ได้ต่อควำมสุขสำเร็ จของผูอ้ ื่น
ปทัสถาน = เห็นสมบัติ/ควำมสำเร็ จของคนสัตว์ท้ งั หลำย
4. อุเบกขา = (ในสถำนกำรณ์รักษำธรรมตำมควำมรับผิดชอบต่อกรรมที่เขำทำ)
ลักษณะ = เป็ นไปโดยอำกำรเป็ นกลำงต่อคนสัตว์ท้ งั หลำย
หน้ าที่ = มองเห็นควำมเสมอภำคกันในสัตว์ท้ งั หลำย
ผลปรากฏ = ระงับควำมขัดเคืองเสี ยใจและควำมคล้อยตำมดีใจ
ปทัสถาน = มองเห็นภำวะที่ทุกคนเป็ นเจ้ำของกรรมของตน ว่ำสัตว์ท้ งั หลำยจักได้สุข พ้นทุกข์ ไม่เสื่ อมจำกสมบัติที่
ได้ที่ถึง ตำมใจชอบได้อย่ำงไร
ค. สมบัติ (ความสมบูรณ์หรือความสัมฤทธิ ผ์ ล) และวิ บตั ิ (ความล้มเหลว หรือการปฏิ บตั ิ ผิดพลาด ไม่สาเร็จผล)
1. เมตตา: สมบัติ = สงบหำยไร้ควำมแค้นเคืองไม่พอใจ วิบัติ = เกิดเสน่หำ
2. กรุณา: สมบัติ = สงบหำยไร้วิหิงสำ วิบัติ = เกิดควำมโศกเศร้ำ
3. มุทติ า: สมบัติ = สงบหำยไร้ควำมริ ษยำ วิบัติ = เกิดควำมสนุกสนำน
4. อุเบกขา: สมบัติ = สงบหำยไม่มีควำมยินดียนิ ร้ำย วิบัติ = เกิดควำมเฉยด้วยไม่รู้ (เฉยโง่ เฉยเมย เฉยเมิน)
ง. ข้าศึก คือ อกุศลซึง่ เป็ นศัตรูค่ปู รับทีจ่ ะทาลายหรือทาธรรมนัน้ ๆ ให้เสียไป
1. เมตตา: ข้ าศึกใกล้ = รำคะ ข้ าศึกไกล = พยำบำท คือควำมขัดเคืองไม่พอใจ
2. กรุณา: ข้ าศึกใกล้ = โทมนัส คือควำมโศกเศร้ำเสี ยใจ ข้ าศึกไกล = วิหิงสำ
3. มุทติ า: ข้ าศึกใกล้ = โสมนัส (เช่นดีใจว่ำตนจะพลอยได้รับผลประโยชน์)
ข้ าศึกไกล = อรติ คือควำมไม่ยนิ ดี ไม่ใยดี ริ ษยำ
4. อุเบกขา: ข้ าศึกใกล้ = อัญญำณุเบกขำ (เฉยไม่รู้เรื่ อง เฉยโง่ เฉยเมย)
ข้ าศึกไกล = รำคะ (ควำมใคร่ ) และปฏิฆะ (ควำมเคือง) หรื อชอบใจและขัดใจ
พึงทรำบด้วยว่ำ ฉันทะ คือ กัตตุกัมยตาฉั นทะ (ควำมอยำกจะทำให้ดี หรื อควำมต้องกำรที่จะทำให้คนสัตว์
ทั้งหลำยดีงำมสมบูรณ์ปรำศจำกโทษข้อบกพร่ อง เช่น อยำกให้เขำประสบประโยชน์สุข พ้นจำกทุกข์เป็ นต้น) เป็ นจุด
ตั้งต้น (อำทิ) ของพรหมวิหำรทั้ง 4 นี้ กำรข่มระงับกิเลส (เช่นนิวรณ์) ได้ เป็ นท่ำมกลำง สมำธิถึงขั้นอัปปนำ (คือ
ภำวะจิตที่มนั่ คงเรี ยบรื่ นสงบสนิทดีที่สุด) เป็ นที่จบ ของพรหมวิหำรทั้ง 4 นั้น
AIII.226; Dhs.262; Vism.320. องฺ.ปญฺจก 22/192/252; อภิ.สํ.34/190/75; วิสุทฺธิ.2/124.

สติ ปัฏฐาน ๔ (ที่ต้งั ของสติ, การตั้งสติกาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รเู ้ ห็นตามความเป็ นจริง คือ ตามที่สิ่งนั้นๆ


มันเป็ นของมัน: foundations of mindfulness)
1. กายานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณากาย ให้รเู ้ ห็นตามเป็ นจริงว่า เป็ นแต่เพียงกาย ไม่ใช่
สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา) ท่านจาแนกวิธีปฏิบตั ิไว้หลายอย่าง คือ อานาปานสติ กาหนดลมหายใจ 1 อิริยาบถ
กาหนดรูท้ นั อิริยาบถ 1 สัมปชัญญะ สร้างสัมปชัญญะในการกระทาความเคลื่อนไหวทุกอย่าง 1 ปฏิกลู
มนสิการ พิจารณาส่วนประกอบอันไม่สะอาดทั้งหลายที่ประชุมเข้าเป็ นร่างกายนี้ 1 ธาตุมนสิการ พิจารณาเห็น
ร่างกายของตนโดยสักว่าเป็ นธาตุแต่ละอย่างๆ 1 นวสีวถิกา พิจารณาซากศพในสภาพต่างๆ อันแปลกกันไปใน
9 ระยะเวลา ให้เห็นคติธรรมดาของร่างกาย ของผูอ้ ื่นเช่นใด ของตนก็จกั เป็ นเช่นนั้น 1
๑๒
2. เวทนานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาเวทนา ให้รเู ้ ห็นตามเป็ นจริงว่า เป็ นแต่เพียงเวทนา
ไม่ใช่สตั ว์บุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยูพ่ ร้อมด้วยความรูช้ ดั เวทนาอันเป็ นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี เฉยๆ ก็ดี ทั้งที่
เป็ นสามิส และเป็ นนิ รามิสตามที่เป็ นไปอยูใ่ นขณะนั้นๆ
3. จิ ตตานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาจิต ให้รเู ้ ห็นตามเป็ นจริงว่า เป็ นแต่เพียงจิต ไม่ใช่
สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยูพ่ ร้อมด้วยความรูช้ ดั จิตของตนที่มีราคะ ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ มี
โมหะ ไม่มีโมหะ เศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว ฟุ้ งซ่านหรือเป็ นสมาธิ ฯลฯ อย่างไรๆ ตามที่เป็ นไปอยูใ่ นขณะนั้นๆ
4. ธัมมานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม ให้รเู ้ ห็นตามเป็ นจริงว่า เป็ นแต่เพียงธรรม
ไม่ใช่สตั ว์บุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยูพ่ ร้อมด้วยความรูช้ ดั ธรรมทั้งหลาย ได้แก่ นิ วรณ์ 5 ขันธ์ 5 อายตนะ
12 โพชฌงค์ 7 อริยสัจจ์ 4 ว่าคืออะไร เป็ นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิดขึ้ น เจริญบริบรู ณ์ และดับไปได้อย่างไร
เป็ นต้น ตามที่เป็ นจริงของมันอย่างนั้นๆ.
D.II.290-315; M.I.55-63. ที.ม.10/273-300/325-351; ม.มู.12/131-152/103-127.

ธาตุกมั มัฏฐาน ๔ (กรรมฐานคือธาตุ, กรรมฐานที่พิจารณาธาตุเป็ นอารมณ์ คือ กาหนดพิจารณากายนี้ แยก


เป็ นส่วนๆ ให้เห็นว่าเป็ นเพียงธาตุสี่แต่ละอย่าง ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ตนของเรา)
1. ปฐวีธาตุ (the earth-element) คือ ธาตุที่มีลกั ษณะแข้นแข็ง ภายในตัวก็มี ภายนอกตัวก็มี กล่าวเฉพาะที่
เป็ นภายใน สาหรับกาหนด พอให้สาเร็จประโยชน์เป็ นอารมณ์ของกรรมฐาน ได้แก่ ผม ขน เล็บ ฟั น หนัง เนื้ อ
เอ็น กระดูก เยือ่ ในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า หรือสิ่งอื่น
ใดก็ตามในตัว ที่มีลกั ษณะแข้นแข็งเป็ นต้น อย่างเดียวกันนี้
2. อาโปธาตุ (the water-element) คือ ธาตุที่มีลกั ษณะเอิบอาบ ภายในตัวก็มี ภายนอกตัวก็มี กล่าวเฉพาะที่
เป็ นภายใน สาหรับกาหนด พอให้สาเร็จประโยชน์เป็ นอารมณ์ของกรรมฐาน ได้แก่ ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ
มันข้น น้ าตา เปลวมัน น้ าลาย น้ ามูก ไขข้อ มูตร หรือสิ่งอื่นใดก็ตามในตัว ที่มีลกั ษณะเอิบอาบเป็ นต้น อย่าง
เดียวกันนี้
3. เตโชธาตุ (the fire-element) คือ ธาตุที่มีลกั ษณะร้อน ภายในตัวก็มี ภายนอกตัวก็มี กล่าวเฉพาะที่เป็ น
ภายใน สาหรับกาหนด พอให้สาเร็จประโยชน์เป็ นอารมณ์ของกรรมฐาน ได้แก่ ไฟที่ยงั กายให้อบอุน่ ไฟที่ยงั
กายให้ทรุดโทรม ไฟที่ยงั กายให้กระวนกระวาย ไฟที่ยงั อาหารให้ยอ่ ย หรือสิ่งอื่นใดก็ตามในตัว ที่มีลกั ษณะ
ร้อนเป็ นต้น อย่างเดียวกันนี้
4. วาโยธาตุ (the air-element) คือ ธาตุที่มีลกั ษณะพัดผันเคร่งตึง ภายในตัวก็มี ภายนอกตัวก็มี กล่าวเฉพาะที่
เป็ นภายใน สาหรับกาหนด พอให้สาเร็จประโยชน์เป็ นอารมณ์ของกรรมฐาน ได้แก่ ลมพัดขึ้ นเบื้ องบน ลมพัด
ลงเบื้ องตา่ ลมในท้อง ลมในไส้ ลมซ่านไปตามตัว ลมหายใจ หรือสิ่งอื่นใดก็ตามในตัว ที่มีลกั ษณะพัดผันไป
เป็ นต้น อย่างเดียวกันนี้
ตัวอย่างธาตุที่แสดงข้างต้นนี้ ในปฐวีธาตุมี 19 อย่าง ในอาโปธาตุมี 12 อย่าง เติมมัตถลุงค์ คือมันสมอง
เข้าเป็ นข้อสุดท้ายในปฐวีธาตุ รวมเป็ น 32 เรียกว่า อาการ 32 หรือ ทวัตติงสาการ (มัตถลุงค์ไม่มีในปฐวีธาตุ
19 อย่าง เพราะรวมเข้าในอัฏฐิมิญชะ คือเยือ่ ในกระดูก)
ธาตุกมั มัฏฐานนี้ เรียกอย่างอื่นว่า ธาตุมนสิการ (การพิจารณาธาตุ) บ้าง จตุธาตุววัฏฐาน (การกาหนด
ธาตุสี่) บ้าง เมื่อพิจารณากาหนดธาตุ 4 ด้วยสติสมั ปชัญญะ มองเห็นความเกิดขึ้ นและความเสื่อมสลายไปใน
กาย ตระหนักว่ากายนี้ ก็สกั ว่ากาย มิใช่สตั ว์ บุคคล ตัวตน เราเขา ดังนี้ จัดเป็ นกายานุ ปัสสนาสติปัฏฐานส่วน

๑๓
หนึ่ ง (หมวดที่ 5 คือ ธาตุมนสิการบรรพ).
D.II.294; M.I.185; M.III.240; Vism.347. ที.ม.10/278/329; ม.มู.12/342/350; ม.อุ.14/684-7/437; วิสุทฺธิ.2/161.

อริ ยสัจ ๔ (ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงของพระอริยะ, ความจริงที่ทาให้ผเู้ ข้าถึงกลายเป็ นอริยะ : The Four


Noble Truths)
1. ทุกข์ (ความทุกข์, สภาพที่ทนได้ยาก, สภาวะที่บีบคั้น ขัดแย้ง บกพร่อง ขาดแก่นสารและความเที่ยงแท้
ไม่ให้ความพึงพอใจแท้จริง, ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ การประจวบกับสิ่งอันไม่เป็ นที่รกั การพลัดพรากจากสิ่งที่
รัก ความปรารถนาไม่สมหวัง โดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 เป็ นทุกข์: suffering; unsatisfactoriness)
2. ทุกขสมุทยั (เหตุเกิดแห่งทุกข์, สาเหตุให้ทุกข์เกิด ได้แก่ ตัณหา 3 คือ กามตัณหา ภวตัณหา และ
วิภวตัณหา : the cause of suffering; origin of suffering)
3. ทุกขนิ โรธ (ความดับทุกข์ ได้แก่ ภาวะที่ตณ ั หาดับสิ้ นไป, ภาวะที่เข้าถึงเมื่อกาจัดอวิชชา สารอกตัณหาสิ้ น
แล้ว ไม่ถกู ย้อม ไม่ติดข้อง หลุดพ้น สงบ ปลอดโปร่ง เป็ นอิสระ คือ นิ พพาน: the cessation of suffering;
extinction of suffering)
4. ทุกขนิ โรธคามิ นีปฏิ ปทา (ปฏิปทาที่นาไปสู่ความดับแห่งทุกข์, ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ อริย
อัฏฐังคิกมรรค หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า "ทางสายกลาง" มรรคมีองค์ 8 นี้ สรุปลงใน
ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปั ญญา: the path leading to the cessation of suffering)
อริยสัจจ์ 4 นี้ เรียกกันสั้นๆ ว่า ทุกข์ สมุทยั นิ โรธ มรรค; การแสดงอริยสัจจ์ 4 นี้ มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า
สามุกกังสิกาธรรมเทศนา (เช่น องฺ.อฏฺ ก.23/102/190) แปลตามอรรถกถาว่า พระธรรมเทศนาที่
พระพุทธเจ้าทรงหยิบยกขึ้ นถือเอาไว้ดว้ ยพระองค์เอง คือ ทรงเห็นด้วยพระสยัมภูญาณ (=ตรัสรูเ้ อง) ไม่
สาธารณะแก่ผอู้ ื่น (แต่ตามที่อธิบายกันมา มักแปลว่า "พระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงยกขึ้ นแสดงเอง
โดยไม่ตอ้ งปรารภคาถามหรือการทูลขอร้องของผูฟ้ ั ง อย่างการแสดงธรรมเรื่องอื่นๆ"; ความจริง จะแปลว่า
"พระธรรมเทศนาขั้นสุดยอด" ก็ได้ ซึ่งสมกับเป็ นเรื่องที่ทรงแสดงท้ายสุดต่อจาก อนุ ปุพพิกถา คาแปลอย่าง
หลังนี้ พึงเทียบ องฺ.ทสก.24/95/208)
ดู [216] ขันธ์ 5; [74] ตัณหา 3; [293] มรรคมีองค์ 8; [124] สิกขา 3.
Vin.I.9; S.V.421; Vbh.99. วินย.4/14/18; สํ.ม.19/1665/528; อภิ.วิ.35/145/127.

อนันตริ ยกรรม ๕ (กรรมหนักที่สุดฝ่ ายบาปอกุศล ซึ่งให้ผลรุนแรงต่อเนื่ องไป โดยไม่มีกรรมอื่นจะมากั้นหรือคัน่


ได้: immediacy-deeds; heinous crimes which bring immediate, uninterrupted and uninterruptible results)
1. มาตุฆาต (ฆ่ามารดา: matricide)
2. ปิ ตุฆาต (ฆ่าบิดา: patricide)
3. อรหันตฆาต (ฆ่าพระอรหันต์: killing an Arahant)
4. โลหิ ตปุ บาท (ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงพระโลหิตห้อขึ้ นไป: causing a Buddha to suffer a contusion or to
bleed)
5. สังฆเภท (ยังสงฆ์ให้แตกกัน, ทาลายสงฆ์: causing schism in the Order)
กรรม 5 นี้ ในพระบาลีเรียกว่า อนันตริกกรรม
A.III.146; Vbh.378. องฺ.ปญฺจก.22/129/165; อภิ.วิ.35/984/510.

๑๔
อภิ ณหปัจจเวกขณ์ ๕ (ข้อที่สตรีก็ตาม บุรุษก็ตาม คฤหัสถ์ก็ตาม บรรพชิตก็ตาม ควรพิจารณาเนื องๆ)
1. ชราธัมมตา (ควรพิจารณาเนื องๆ ว่า เรามีความแก่เป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้)
2. พยาธิ ธมั มตา (ควรพิจารณาเนื องๆ ว่า เรามีความเจ็บป่ วยเป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บป่ วยไปได้)
3. มรณธัมมตา (ควรพิจารณาเนื องๆ ว่า เรามีความตายเป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้)
4. ปิ ยวิ นาภาวตา (ควรพิจารณาเนื องๆ ว่า เราจักต้องมีความพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้ น)
5. กัมมัสสกตา (ควรพิจารณาเนื องๆ ว่า เรามีกรรมเป็ นของตน เราทากรรมใด ดีก็ตาม ชัว่ ก็ตาม จักต้องเป็ น
ทายาท ของกรรมนั้น)
ข้อที่ควรพิจารณาเนื องๆ 5 อย่างนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อละสาเหตุต่างๆ มีความมัวเมา เป็ นต้น ที่ทาให้สตั ว์
ทั้งหลายตกอยูใ่ นความประมาท และประพฤติทุจริตทางไตรทวาร กล่าวคือ
ข้อ 1 เป็ นเหตุละหรือบรรเทาความเมาในความเป็ นหนุ่ มสาวหรือความเยาว์วยั
ข้อ 2 เป็ นเหตุละหรือบรรเทาความเมาในความไม่มีโรค คือ ความแข็งแรงมีสุขภาพดี
ข้อ 3 เป็ นเหตุละหรือบรรเทาความเมาในชีวติ
ข้อ 4 เป็ นเหตุละหรือบรรเทาความยึดติดผูกพันในของรักทั้งหลาย
ข้อ 5 เป็ นเหตุละหรือบรรเทาความทุจริตต่างๆ โดยตรง
เมื่อพิจารณาขยายวงออกไป เห็นว่ามิใช่ตนผูเ้ ดียวที่ตอ้ งเป็ นอย่างนี้ แต่เป็ นคติธรรมดาของสัตว์ท้งั ปวงที่
จะต้องเป็ นไป เมื่อพิจารณาเห็นอย่างนี้ เสมอๆ มรรคก็จะเกิดขึ้ น เมื่อเจริญมรรคนั้นมากเข้า ก็จะละสังโยชน์
ทั้งหลาย สิ้ นอนุ สยั ได้.
A.III.71. องฺ.ปญฺจก.22/57/81.

เวสารัชชกรณธรรม 5 (ธรรมทาความกล้าหาญ, คุณธรรมที่ทาให้เกิดความแกล้วกล้า)


1. ศรัทธา (ความเชื่อที่มีเหตุผล มัน่ ใจในหลักที่ถือและในการดีที่ทา faith; confidence)
2. ศีล (ความประพฤติถกู ต้องดีงาม ไม่ผิดระเบียบวินัย ไม่ผิดศีลธรรม—good conduct; morality)
3. พาหุสจั จะ (ความเป็ นผูไ้ ด้ศึกษาเล่าเรียนมาก: great learning)
4. วิ ริยารัมภะ (ปรารภความเพียร คือ การที่ได้เริ่มลงมือทาความเพียรพยายามในกิจการนั้ นๆ อยูแ่ ล้วอย่าง
มัน่ คงจริงจัง: exertion; energy)
5. ปัญญา (ความรอบรู ้ เข้าใจชัดในเหตุผล ดี ชัว่ ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ เป็ นต้น รูค้ ิด รูว้ ินิจฉัย และรูท้ ี่จะ
จัดการ: wisdom; understanding)
A.III.127. องฺ.ปญฺจก.22/101/144.

องค์แห่งภิ กษุใหม่ ๕ (นวกภิกขุธรรม คือ ธรรมที่ควรฝึ กสอนภิกษุ บวชใหม่ให้ประพฤติปฏิบตั ิอย่างมัน่ คง , องค์


แห่งภิกษุ ใหม่)
๑) ปาติ โมกขสังวร สารวมในพระปาติโมกข์ รักษาศีลเคร่งครัด ทั้งในส่วนเว้นข้อห้าม และทาตามข้ออนุ ญาต
๒) อิ นทรียสังวร สารวมอินทรีย์ มีสติระวังรักษาใจ มิให้กิเลสคือความยินดียินร้ายเข้าครอบงา ในเมื่อรับรู ้
อารมณ์ดว้ ยอินทรียท์ ้งั ๖ มีเห็นรูปด้วยตา เป็ นต้น
๓) ภัสสปริ ยนั ตะ พูดคุยมีขอบเขต คือ จากัดการพูดคุยให้น้อย รูข้ อบเขต ไม่เอิกเกริกเฮฮา
๔) กายวูปกาสะ ปลีกกายอยูส่ งบ คือ เข้าอยูใ่ นเสนาสนะอันสงัด
๕) สัมมาทัสสนะ ปลูกฝังความเห็นชอบ คือ สร้างเสริมสัมมาทิฏฐิ
๑๕
อันธกวินทสูตร องฺ.ปญฺจ.๒๒/๑๑๔/๑๕๖ อันธกวินทสูตร
ธรรมของภิกษุใหม่ ๕ ประการ
[๑๑๔ ] สมัยหนึ่ง พระผู้มพี ระภาคเจ้ าประทับอยู่ท่อี นั ธกวินทวิหาร ในแคว้ นมคธ ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาค
เจ้ าถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้ ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ วพระผู้มีพระภาคเจ้ าได้ ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า ดู ก่อนอานนท์ พวก
ภิกษุใหม่ บวชไม่นาน มาสู่ธรรมวินยั นี้ ใหม่ ๆ เธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในธรรม ๕ ประการ ธรรม ๕
ประการเป็ นไฉน คือ
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในปาติโมกขสังวร ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลายจงมา
จงเป็ นผู้มศี ีล จงเป็ นผู้สารวมในปาติโมกขสังวร จงเป็ นผู้ถงึ พร้ อมด้ วยอาจาระและโคจร มีปกติเห็นภัยในโทษมีประมาณน้ อย สมาทานศึกษา
อยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ๑.
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในอินทรียสังวร ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลายจงมา จง
เป็ นผู้ค้ มุ ครองทวารในอินทรีย์ท้งั หลาย จงเป็ นผู้มสี ติเครื่องรักษาทวาร รักษาตน มีใจที่รักษาดีแล้ ว ประกอบด้ วยจิตมีสติเป็ นเครื่องรักษา ๑.
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในการทาที่สุดแห่งคาพูด ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลาย
จงมา จงเป็ นผู้มคี าพูดน้ อย จงเป็ นผู้ทาที่สดุ แห่งคาพูด [อย่าพูดมาก] ๑.
ภิกษุใหม่เหล่ านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในการทาความสงบแห่ งกาย ดังนี้ว่า อาวุโส ท่าน
ทั้งหลายจงมา จงเป็ นผู้ถอื การอยู่ป่าเป็ นวัตร จงเสพอาศัยเสนาสนะอันสงัด คือ ป่ าและป่ าเปลี่ยว ๑.
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มน ให้ประดิษฐานอยู่ในความเห็นชอบ ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลายจงมา จง
เป็ นผู้มสี มั มาทิฏฐิ ประกอบด้ วยสัมมาทัสสนะ ๑.
ดูก่อนอานนท์ พวกภิกษุใหม่ บวชไม่นาน มาสู่ธรรมวินัยนี้ใหม่ ๆ เธอทั้งหลายพึงให้ สมาทาน ให้ ต้งั มั่น ให้ ประดิษฐานอยู่ในธรรม ๕
ประการแล.
อรรถกถาอันธกวินทสูตร อังคุตรนิกาย ปัญจกนิบาต เล่ม ๓ – เล่ม ๓๖ หน้า ๒๕๓

บทว่า สีลวา โหถ ความว่า จงเป็ นผู้มศี ีล.


บทว่า อารกฺขสติโน ความว่า เป็ นผู้ประกอบด้ วยสติเป็ นเครื่องรักษา.
บทว่ า นิปกสติโน ความว่ า มีสติประกอบด้ วยญาณเป็ นเครื่องรักษานั่นแหละ. บทว่ า สตารกฺเขน เจตสา สมนฺนาคตา ความว่ า
ประกอบด้ วยจิตที่มเี ครื่องรักษาคือสติ.
บทว่า อปฺปภสฺสา แปลว่า พูดแต่น้อย.
บทว่า สมฺมาทิฏฺฐิกา ความว่า ประกอบด้ วยสัมมาทิฏฐิ ๕ อย่าง คือ กัมมัสสกตา ๑ ฌาน ๑ วิปัสสนา ๑ มรรค ๑ ผล ๑. อีกอย่างหนึ่ง
แม้ ปัจจเวกขณญาณ ก็พึงทราบว่า เป็ นสัมมาทิฏฐิเหมือนกัน.
..................................................
องค์แห่งพระธรรมกถึก ๕ (ธรรมของนักเทศก์, ธรรมที่ผแู้ สดงธรรมหรือสัง่ สอนคนอื่นควรตั้งไว้ในใจ)
๑. อนุปพุ พฺ ิ กถ กล่าวความไปตามลาดับ คือ แสดงหลักธรรมหรือเนื้ อหาวิชาตามลาดับความง่ายยากลุ่มลึก มี
เหตุผลสัมพันธ์ต่อเนื่ องกันไปโดยลาดับ
๒. ปริ ยายทสฺสาวี ชี้ แจงยกเหตุผลมาแสดงให้เข้าใจ คือ ชี้ แจงให้เข้าใจชัดในแต่ละแง่แต่ละประเด็น โดยอธิบาย
ขยายความ ยักเยื้ องไปต่างๆ ตามแนวเหตุผล
๓. อนุทยต ปฏิ จจฺ แสดงธรรมด้วยอาศัยเมตตา คือ สอนเขาด้วยจิตเมตตา มุง่ จะให้ประโยชน์แก่เขา
๔. น อามิ สนฺ ตโร ไม่แสดงธรรมด้วยเห็นแก่อามิส คือ สอนเขามิใช่เพราะมุง่ ที่ตนจะได้ลาภ หรือผลประโยชน์ตอบ
แทน
๕. อตฺตานญฺจ ปรญฺจ อนุปหจฺจ แสดงธรรมไม่กระทบตนและผูอ้ ื่น คือ สอนตามหลักตามเนื้ อหา มุง่ แสดงอรรถ
แสดงธรรม ไม่ยกตน ไม่เสียดสีข่มขี่ผอู้ ื่น

๑๖
อุทายิสูตร องฺ.ปญฺจก.๒๒/๑๕๙/๑๖๖

[๑๕๙] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม ใกล้ เมืองโกสัมพี สมัยนั้น ท่านพระอุทายีผ้ ูอนั คฤหัสถ์บริษัทหมู่ใหญ่
แวดล้ อมแล้ ว นั่งแสดงธรรมอยู่ ท่านพระอานนท์ได้ เห็นท่านพระอุทายี ผู้อนั คฤหัสถ์บริษัทหมู่ใหญ่แวดล้ อมแล้ ว นั่งแสดงธรรมอยู่ จึงได้ เข้ า
ไปเฝ้ าพระผู้มพี ระภาคถึงที่ประทับถวายบังคมแล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ วได้ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ท่านพระอุทายี ผู้
อันคฤหัสถ์บริษัทหมู่ใหญ่แวดล้ อมแล้ ว นั่งแสดงธรรมอยู่
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดู กรอานนท์ การแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่นไม่ใช่ทาได้ง่าย ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่น พึงตั้งธรรม ๕
ประการไว้ภายใน แล้วจึ งแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่น ๕ ประการเป็ นไฉน คือ ภิกษุพึงตั้งใจว่า เราจักแสดงธรรมไปโดยลาดับ ๑ เราจักแสดง
อ้างเหตุผล ๑ เราจักแสดงธรรมอาศัยความเอ็นดู ๑ เราจักเป็ นผูไ้ ม่เพ่งอามิสแสดงธรรม ๑ เราจักไม่แสดงให้กระทบตนและผูอ้ ื่น ๑
แล้วจึ งแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่น ดูกรอานนท์ การแสดงธรรมแก่ผ้ อู ่นื ไม่ใช่ทาได้ ง่าย ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผ้ อู ่นื พึงตั้งธรรม ๕ ประการนี้ไว้ ใน
ภายใน แล้ วจึงแสดงธรรมแก่ผ้ อู ่นื ฯ
อรรถกถาอุทายิสูตร องฺ.ปญฺจก. เล่ม ๓๖ หน้าที่ ๓๓๔ มมร.
บทว่า อนุปุพฺพิกถํ กเถสฺสามิ ความว่ า ยกลาดับแห่ งเทศนาอย่างนี้ว่า ศีลในลาดับทาน สวรรค์ในลาดับศีล หรือบทพระสูตร หรือบท
คาถาใดๆ หรือพึงตั้งจิตว่า เราจักกล่าวกถาสมควรแก่บทนั้นๆ แล้ วแสดงธรรมแก่ผ้ อู ่นื .
บทว่า ปริยายทสฺสาวี ได้ แก่ แสดงถึงเหตุน้นั ๆ แห่งเนื้อความนั้นๆ. จริงอยู่ในสูตรนี้ท่านกล่าวเหตุว่าปริยาย.
บทว่า อนุทฺทยตํ ปฏิจฺจ ได้ แก่ อาศัยความเอ็นดูว่า เราจักเปลื้องสัตว์ท้งั หลายผู้ถงึ ความยากลาบากมาก จากความยากลาบาก.
บทว่า น อามิสนฺตโร ได้ แก่ ไม่เห็นแก่อามิส อธิบายว่า ไม่หวังลาภคือปัจจัย ๔ เพื่อตน.
บทว่า อตฺตานญฺจ ปรญฺจ อนุปหจฺจ ได้ แก่ ไม่กระทบตนและผู้อ่นื ด้ วยการกระทบคุณโดยยกตนข่มผู้อ่นื .
..................................................
ธรรมสวนานิ สงส์ ๕ (อานิ สงส์ในการฟั งธรรม: benefits of listening to the Dhamma)
1. อสฺสตุ สุณาติ (ย่อมได้ฟังสิ่งที่ยงั ไม่เคยฟั ง, ได้เรียนรูส้ ิ่งที่ยงั ไม่เคยเรียนรู ้ - He hears things not heard.)
2. สุต ปริ โยทเปติ (สิ่งที่เคยได้ฟัง ก็ทาให้แจ่มแจ้ง เข้าใจชัดเจนยิง่ ขึ้ น - He clears things heard.)
3. กงฺข วิ หนติ (แก้ขอ้ สงสัยได้, บรรเทาความสงสัยเสียได้ - He dispels his doubts.)
4. ทิ ฏฺ ึึ อุชุ ึ กโรติ (ทาความเห็นให้ถกู ต้องได้ - He makes straight his views.)
5. จิ ตฺตมสฺส ปสีทติ (จิตของเขาย่อมผ่องใส - His heart becomes calm and happy.)
A.III.248. องฺ.ปญฺจก.22/202/276.

พละ 5 (ธรรมอันเป็ นกาลัง: power)


1. สัทธา (ความเชื่อ: confidence)
2. วิ ริยะ (ความเพียร: energy; effort)
3. สติ (ความระลึกได้: mindfulness)
4. สมาธิ (ความตั้งจิตมัน่ : concentration)
5. ปัญญา (ความรูท้ วั ่ ชัด: wisdom; understanding)
พละหมวดนี้ เป็ นหลักปฏิบตั ิทางจิตใจ ให้ถึงความหลุดพ้นโดยตรง
ที่เรียกว่า พละ เพราะความหมายว่า เป็ นพลัง ทาให้เกิดความมัน่ คง ซึ่งความไร้ศรัทธาเป็ นต้น แต่ละอย่างจะ
เข้าครอบงาไม่ได้ ส่วนที่เรียกว่า อินทรีย์ เพราะความหมายว่า เป็ นใหญ่ในการกระทาหน้าที่แต่ละอย่างๆ ของตน
คือเป็ นเจ้าการ ในการครอบงาเสียซึ่งความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้ งซ่าน และความ
หลงตามลาดับ
D.III.239; A.III.10; Vbh.342. ที.ปา.11/300/252; องฺ.ปญฺจก.22/13/11; อภิ.วิ.35/844/462.

๑๗
นิ วรณ์ 5 (สิ่งที่ก้นั จิตไม่ให้กา้ วหน้าในคุณธรรม, ธรรมที่ก้นั จิตไม่ให้บรรลุคุณความดี , อกุศลธรรมที่ทาจิตให้
เศร้าหมองและทาปั ญญาให้อ่อนกาลัง)
1.กามฉันทะ (ความพอใจในกาม, ความต้องการกามคุณ—sensual desire)
2.พยาบาท (ความคิดร้าย, ความขัดเคืองแค้นใจ —illwill)
3.ถีนมิ ทธะ (ความหดหูแ่ ละเซื่องซึม —sloth and torpor)
4.อุทธัจจกุกกุจจะ (ความฟุ้ งซ่านและร้อนใจ, ความกระวนกระวายกลุม้ กังวล —distraction and remorse; flurry
and worry; restlessness and anxiety)
5. วิ จิกิจฉา (ความลังเลสงสัย —doubt; uncertainty)
A.III.62; Vbh.378. องฺ.ปญฺจก.22/51/72; อภิ.วิ.35/983/510.

ขันธ์ ๕ หรือ เบญจขันธ์ (กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมห้าหมวดที่ประชุมกันเข้าเป็ นหน่ วยรวม ซึ่งบัญญัติ


เรียกว่า สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา-เขา เป็ นต้น, ส่วนประกอบห้าอย่างที่รวมเข้าเป็ นชีวติ : the Five Groups of
Existence; Five Aggregates)
1. รูปขันธ์ (กองรูป, ส่วนที่เป็ นรูป, ร่างกาย พฤติกรรม และคุณสมบัติต่างๆ ของส่วนที่เป็ นร่างกาย,
ส่วนประกอบฝ่ ายรูปธรรมทั้งหมด, สิ่งที่เป็ นร่างพร้อมทั้งคุณและอาการ: corporeality)
2. เวทนาขันธ์ (กองเวทนา, ส่วนที่เป็ นการเสวยรสอารมณ์, ความรูส้ ึก สุข ทุกข์ หรือเฉยๆ: feeling; sensation)
3. สัญญาขันธ์ (กองสัญญา, ส่วนที่เป็ นความกาหนดหมายให้จาอารมณ์น้ันๆ ได้, ความกาหนดได้หมายรูใ้ น
อารมณ์ 6 เช่นว่า ขาว เขียว ดา แดง เป็ นต้น: perception)
4. สังขารขันธ์ (กองสังขาร, ส่วนที่เป็ นความปรุงแต่ง, สภาพที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชัว่ หรือเป็ นกลางๆ,
คุณสมบัติต่างๆ ของจิต มีเจตนาเป็ นตัวนา ที่ปรุงแต่งคุณภาพของจิต ให้เป็ นกุศล อกุศล อัพยากฤต: mental
formations; volitional activities)
5. วิ ญญาณขันธ์ (กองวิญญาณ, ส่วนที่เป็ นความรูแ้ จ้งอารมณ์, ความรูอ้ ารมณ์ทางอายตนะทั้ง 6 มีการเห็น
การได้ยนิ เป็ นต้น ได้แก่ วิญญาณ 6 -: consciousness)
ขันธ์ 5 นี้ ย่อลงมาเป็ น 2 คือ นาม และ รูป; รูปขันธ์จดั เป็ นรูป, 4 ขันธ์นอกนั้นเป็ นนาม. อีกอย่างหนึ่ ง จัด
เข้าในปรมัตถธรรม 4: วิญญาณขันธ์เป็ น จิต, เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์ เป็ น เจตสิก, รูปขันธ์
เป็ น รูป, ส่วน นิ พพาน เป็ นขันธวินิมุต คือ พ้นจากขันธ์ 5
เรื่องขันธ์ 5 พึงดูประกอบในหมวดธรรมอื่นๆ เช่น
1. รูปขันธ์ ดู [38] รูป 21, 28; [39] มหาภูต 4; [40] อุปาทายรูป 24.
2. เวทนาขันธ์ ดู [110] เวทนา 2; [111] เวทนา 3; [112] เวทนา 5; [113] เวทนา 6.
3. สัญญาขันธ์ ดู [271] สัญญา 6.
4. สังขารขันธ์ ดู [119] สังขาร 3 1; [120] สังขาร 3 2; [129] อภิสงั ขาร 3; [263] เจตนา 6.
5. วิญญาณขันธ์ ดู [268] วิญญาณ 6.
นอกนี้ ดู [356] จิต 89; [355] เจตสิก 52
S.III.47; Vbh.1. สํ.ข.17/95/58; อภิ.วิ.35/1/1.

๑๘
คารวะ หรือ คารวตา 6 (ความเคารพ, การถือเป็ นสิ่งสาคัญที่จะพึงใส่ใจและปฏิบตั ิดว้ ยความเอื้ อเฟื้ อ หรือโดย
ความหนั กแน่ นจริงจัง, การมองเห็นคุณค่าและความสาคัญแล้วปฏิบตั ิต่อบุคคลหรือสิ่งนั้ นโดยถูกต้อง ด้วย
ความจริงใจ)
1. สัตถุคารวตา (ความเคารพในพระศาสดา ) ข้อนี้ บางแห่งเขียนเป็ น พุทธคารวตา (ความเคารพใน
พระพุทธเจ้า)
2. ธัมมคารวตา (ความเคารพในธรรม —reverence for the Dhamma)
3. สังฆคารวตา (ความเคารพในสงฆ์ —reverence for the Order)
4. สิ กขาคารวตา (ความเคารพในการศึกษา —reverence for the Training)
5. อัปปมาทคารวตา (ความเคารพในความไม่ประมาท)
6. ปฏิ สนั ถารคารวตา (ความเคารพในปฏิสนั ถาร)
ธรรม 6 อย่างนี้ ย่อมเป็ นไปเพื่อความไม่เสื่อมแห่งภิกษุ .
A.III.330. องฺ.ฉกฺก.22/303/368.

สารณี ยธรรม 6 (ธรรมเป็ นที่ต้งั แห่งความให้ระลึกถึง, ธรรมเป็ นเหตุให้ระลึกถึงกัน, ธรรมที่ทาให้เกิดความ


สามัคคี, หลักการอยูร่ ว่ มกัน) สาราณียธรรม ก็ใช้
1. เมตตากายกรรม (ตั้งเมตตากายกรรมในเพื่อนพรหมจรรย์ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ ช่วยเหลือกิจธุระของผู้
ร่วมหมูค่ ณะด้วยความเต็มใจ แสดงกิริยาอาการสุภาพ เคารพนับถือกัน ทั้งต่อหน้าและลับหลัง)
2. เมตตาวจีกรรม (ตั้งเมตตาวจีกรรมในเพื่อนพรหมจรรย์ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ ช่วยบอกแจ้งสิ่งที่เป็ น
ประโยชน์ สัง่ สอน แนะนาตักเตือนด้วยความหวังดี กล่าววาจาสุภาพ แสดงความเคารพนั บถือกัน ทั้งต่อหน้าและ
ลับหลัง)
3. เมตตามโนกรรม (ตั้งเมตตามโนกรรมในเพื่อนพรหมจรรย์ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ ตั้งจิตปรารถนาดี คิด
ทาสิ่งที่เป็ นประโยชน์แก่กนั มองกันในแง่ดี มีหน้าตายิ้ มแย้มแจ่มใสต่อกัน)
4. สาธารณโภคิ ตา (ได้ของสิ่งใดมาก็แบ่งปั นกัน คือ เมื่อได้สิ่งใดมาโดยชอบธรรม แม้เป็ นของเล็กน้อย ก็ไม่หวง
ไว้ผเู้ ดียว นามาแบ่งปั นเฉลี่ยเจือจาน ให้ได้มีส่วนร่วมใช้สอยบริโภคทัว่ กัน) ข้อนี้ ใช้ อัปปฏิ วิภตั ตโภคี ก็ได้
5. สีลสามัญญตา (มีศีลบริสุทธิ์ เสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ท้ังหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ มีความ
ประพฤติสุจริตดีงาม ถูกต้องตามระเบียบวินัย ไม่ทาตนให้เป็ นที่น่ารังเกียจของหมูค่ ณะ)
6. ทิ ฏฐิ สามัญญตา (มีทิฏฐิดีงามเสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ท้งั หลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ มีความ
เห็นชอบร่วมกัน ในข้อที่เป็ นหลักการสาคัญอันจะนาไปสู่ความหลุดพ้น สิ้ นทุกข์ หรือขจัดปั ญหา)
ธรรม 6 ประการนี้ มีคุณคือ เป็ น สารณียะ (ทาให้เป็ นที่ระลึกถึง) เป็ น ปิ ยกรณ์ (ทาให้เป็ นที่รกั ) เป็ น ครุกรณ์
(ทาให้เป็ นที่เคารพ) เป็ นไปเพื่อ ความสงเคราะห์ (ความประสานกลมกลืน) เพื่อ ความไม่วิวาท เพื่อ ความ
สามัคคี และเพื่อ เอกีภาพ
D.III.245; A.III.288–9. ที.ปา.11/317/257; องฺ.ฉกฺก.22/282–3/321–3.

๑๙
อายตนะ ๑๒ (สิ่งที่เชื่อมต่อกันให้เกิดความรู,้ แดนต่อหรือแดนเกิดแห่งความรู:้ sense-fields; sense-spheres)
1. อายตนะภายใน 6 ดู [276] อายตนะภายใน 6.
2. อายตนะภายนอก 6 ดู [277] อายตนะภายนอก 6.
Vbh.70. อภิ.วิ.35/99/85.

อายตนะภายใน ๖ (ที่เชื่อมต่อให้เกิดควำมรู้, แดนต่อควำมรู้ฝ่ำยภำยใน: internal sense-fields) บำลีเรี ยก อัชฌัตติ


กำยตนะ
1. จักขุ (จักษุ , ตา - Cakkhu: the eye)
2. โสตะ (หู - Sota: the ear)
3. ฆานะ (จมูก - Ghà na: the nose)
4. ชิ วหา (ลิ้ น - Jivhà : the tongue)
5. กาย (กาย - Kà ya: the body)
6. มโน (ใจ - Mana: the mind)
ทั้ง 6 นี้ เรียกอีกอย่างว่า อินทรีย์ 6 เพราะเป็ นใหญ่ในหน้าที่ของตนแต่ละอย่าง เช่น จักษุ เป็ นเจ้าการใน
การเห็น เป็ นต้น
D.III.243; M.III.216; Vbh.70. ที.ปา.11/304/255; ม.อุ.14/619/400; อภิ.วิ.35/99/85.

อายตนะภายนอก ๖ (ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู,้ แดนต่อความรูฝ้ ่ ายภายนอก: external sense-fields) บาลีเรียก


พาหิรายตนะ
1. รูปะ (รูป, สิ่งที่เห็น หรือ วัณณะ คือสี: form; visible objects)
2. สัททะ (เสียง -: sound)
3. คันธะ (กลิ่น -: smell; odour)
4. รสะ (รส -: taste)
5. โผฏฐัพพะ (สัมผัสทางกาย, สิ่งที่ถกู ต้องกาย -: touch; tangible objects)
6. ธรรม หรือ ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจ, สิ่งที่ใจนึ กคิด: mind-objects)
ทั้ง 6 นี้ เรียกทัว่ ไปว่า อารมณ์ 6 คือ เป็ นสิ่งสาหรับให้จิตยึดหน่ วง
D.III.243; M.III.216; Vbh.70. ที.ปา.11/305/255; ม.อุ.14/620/400; อภิ.วิ.35/99/85.

วิ ญญาณ ๖ (ความรูแ้ จ้งอารมณ์ -: consciousness; sense-awareness)


1. จักขุวิญญาณ (ความรูอ้ ารมณ์ทางตา คือ รูร้ ปู ด้วยตา, เห็น: eye-consciousness)
2. โสตวิ ญญาณ (ความรูอ้ ารมณ์ทางหู คือ รูเ้ สียงด้วยหู, ได้ยนิ ear-consciousness)
3. ฆานวิ ญญาณ (ความรูอ้ ารมณ์ทางจมูก คือ รูก้ ลิ่นด้วยจมูก, ได้กลิ่น nose-consciousness)
4. ชิ วหาวิ ญญาณ (ความรูอ้ ารมณ์ทางลิ้ น คือ รูร้ สด้วยลิ้ น, รูร้ ส tongue-consciousness)
5. กายวิ ญญาณ (ความรูอ้ ารมณ์ทางกาย คือ รูโ้ ผฏฐัพพะด้วยกาย, รูส้ ึกกายสัมผัส body-consciousness)
6. มโนวิ ญญาณ (ความรูอ้ ารมณ์ทางใจ คือ รูธ้ รรมารมณ์ดว้ ยใจ, รูค้ วามนึ กคิด mind-consciousness)
D.III.243; Vbh.180. ที.ปา.11/306/255; อภิ.วิ.35/120/105.

๒๐
สัมผัส ๖ หรือ ผัสสะ 6 (ความกระทบ, ความประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ)
1. จักขุสมั ผัส (ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป + จักขุวญ ิ ญาณ: eye-contact)
2. โสตสัมผัส (ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง + โสตวิญญาณ: ear-contact)
3. ฆานสัมผัส (ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น + ฆานวิญญาณ: nose-contact)
4. ชิ วหาสัมผัส (ความกระทบทางลิ้ น คือ ลิ้ น + รส + ชิวหาวิญญาณ: tongue-contact)
5. กายสัมผัส (ความกระทบทางกาย คือ กาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ: body-contact)
6. มโนสัมผัส (ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์ + มโนวิญญาณ -: mind-contact)
D.III.243; S.II.3. ที.ปา.11/307/255; สํ.นิ.16/12/4.

เวทนา ๖ (การเสวยอารมณ์: feeling)


1. จักขุสมั ผัสสชาเวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา: feeling arisen from visual contact)
2. โสต~เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู: from auditory contact)
3. ฆาน~เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก: from olfactory contact)
4. ชิ วหา~เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้ น: from gustatory contact)
5. กาย~เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย: from bodily contact)
6. มโน~เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ: from mental contact)
S.IV.232. สํ.สฬ.18/434/287.

ธาตุ ๔ (สิ่งที่ทรงสภาวะของตนอยูเ่ อง คือมีอยูโ่ ดยธรรมดา เป็ นไปตามเหตุปัจจัย ไม่มีผสู้ ร้าง ไม่มีอตั ตา มิใช่สตั ว์
มิใช่ชีวะ: elements) ได้แก่ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ คือ มหาภูต หรือ ภูตรูป 4 นั น่ เอง. ดู
[39] มหาภูต 4 และ [147] ธาตุ-กัมมัฏฐาน 4

ธาตุ ๖ (: the six elements) ได้แก่ธาตุ 4 หรือมหาภูต 4 คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ นั้ น
กับเพิ่มอีก 2 อย่าง คือ
5. อากาสธาตุ (สภาวะที่วา่ ง โปร่งไป เป็ นช่อง the space-element)
6. วิ ญญาณธาตุ (สภาวะที่รแู ้ จ้งอารมณ์ ธาตุรู ้ ได้แก่วญ
ิ ญาณธาตุ 6 คือ จักขุวญ
ิ ญาณธาตุ โสต~ ฆาน~ ชิวหา~
กาย~ มโนวิญญาณธาตุ element of consciousness; consciousness-element)
ดู [39] มหาภูต 4 และ [146] ธาตุ 4.
M.III.31; Vbh.82. ม.อุ.14/169/125; อภิ.วิ.35/114/101.

อปริ หานิ ยธรรม 7 ของภิ กษุ หรือ ภิ กขุอปริ หานิ ยธรรม 7 (ธรรมอันไม่เป็ นที่ต้งั แห่งความเสื่อม เป็ นไป
เพื่อความเจริญฝ่ ายเดียว สาหรับภิกษุ ท้งั หลาย)
1. หมันประชุ
่ มกันเนื องนิ ตย์
2. พร้อมเพรียงกันประชุม พร้อมเพรียงกันเลิ กประชุม พร้อมเพรียงกันทากิ จที่สงฆ์จะต้องทา
ข้อนี้ แปลอีกอย่างว่า: พร้อมเพรียงกันประชุม พร้อมเพรียงกันลุกขึ้นจัดการแก้ไขสิ่ งเสียหาย เหตุไม่งาม
พร้อมเพรียงกันทากิ จที่สงฆ์จะต้องทา
3. ไม่ บ ญั ญัติ สิ่ ง ที่ พ ระพุท ธเจ้ า ไม่ ท รงบัญ ญัติ ไม่ ล้ ม ล้ า งสิ่ ง ที่ พ ระองค์ ท รงบัญ ญัติ ไ ว้ สมาทานศึ ก ษาอยู่ ใ น
๒๑
สิ กขาบททัง้ หลายตามที่พระองค์ทรงบัญญัติไว้
4. ภิ กษุ เหล่าใดเป็ นผู้ใหญ่ เป็ นสังฆบิ ดร เป็ นสังฆปริ ณายก เคารพนับถือภิ กษุ เหล่านัน้ เห็นถ้อยคาของท่ านว่า
เป็ นสิ่ งอันควรรับฟัง
5. ไม่ลอุ านาจตัณหาคือความอยากที่เกิ ดขึ้น
6. ยิ นดีในเสนาสนะป่ า
7. ตัง้ สติ ระลึกไว้ในใจว่า เพื่อนพรหมจารีทงั ้ หลายผูม้ ีศีลงาม ซึ่งยังไม่มา ขอให้มา ที่มาแล้ว ขอให้อยู่ผาสุก
D.II.77; A.IV.20. ที.ม.10/70/90; องฺ.สตฺตก.23/21/21.

อริ ยทรัพย์ 7 (ทรัพย์อนั ประเสริฐ, ทรัพย์คือคุณธรรมประจาใจอย่างประเสริฐ: noble treasures)


1.ศรัทธา (ความเชื่อที่มีเหตุผล มัน่ ใจในหลักที่ถือและในการดีที่ทา)
2.ศีล (การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ประพฤติถกู ต้องดีงาม)
3.หิ ริ (ความละอายใจต่อการทาความชัว่ )
4.โอตตัปปะ (ความเกรงกลัวต่อความชัว่ )
5.พาหุสจั จะ (ความเป็ นผูไ้ ด้ศึกษาเล่าเรียนมาก)
6.จาคะ (ความเสียสละ เอื้ อเฟื้ อเผื่อแผ่)
7.ปัญญา (ความรูค้ วามเข้าใจถ่องแท้ในเหตุผล ดีชวั ่ ถูกผิด คุณโทษ ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ รูค้ ิด รูพ้ ิจารณา
และรูท้ ี่จะจัดทา)
อริยทรัพย์ เป็ นทรัพย์อนั ประเสริฐอยูภ่ ายในจิตใจ ดีกว่าทรัพย์ภายนอก เพราะไม่มีผใู้ ดแย่งชิง ไม่สญ
ู หายไป
ด้วยภัยอันตรายต่างๆ ทาใจให้ไม่อา้ งว้างยากจน และเป็ นทุนสร้างทรัพย์ภายนอกได้ดว้ ย
ธรรม 7 นี้ เรียกอีกอย่างว่า พหุการธรรม หรือ ธรรมมีอุปการะมาก (D.III.282; ที.ปา.11/433/310)
เพราะเป็ นกาลังหนุ นช่วยส่งเสริมในการบาเพ็ญคุณธรรมต่างๆ ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผอู้ ื่นให้สาเร็จได้
อย่างกว้างขวางไพบูลย์ เปรียบเหมือนคนมีทรัพย์มาก ย่อมสามารถใช้จา่ ยทรัพย์เลี้ ยงตนเลี้ ยงผูอ้ ื่นให้มีความสุข
และบาเพ็ญประโยชน์ต่างๆ ได้เป็ นอันมาก.
D.III.163,267; A.IV.5. ที.ปา.11/326/264; องฺ.สตฺตก.23/6/5.

สัปปุริสธรรม 7 (ธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ, คุณสมบัติของคนดี, ธรรมของผูด้ ี: qualities of a


good man; virtues of a gentleman)
1. ธัมมัญญุตา (ความรูจ้ กั ธรรม รูห้ ลัก หรือ รูจ้ กั เหตุ คือ รูห้ ลักความจริง รูห้ ลักการ รูห้ ลักเกณฑ์ รูก้ ฎแห่ง
ธรรมดา รูก้ ฎเกณฑ์แห่งเหตุผล และรูห้ ลักการที่จะทาให้เกิดผล เช่น ภิกษุ รวู ้ า่ หลักธรรมข้อนั้ นๆ คืออะไร มี
อะไรบ้าง พระมหากษัตริยท์ รงทราบว่าหลักการปกครองตามราชประเพณีเป็ นอย่างไร มีอะไรบ้าง รูว้ า่ จะต้อง
กระทาเหตุอนั นี้ ๆ หรือกระทาตามหลักการข้อนี้ ๆ จึงจะให้เกิดผลที่ตอ้ งการหรือบรรลุจุดหมายอันนั้นๆ เป็ นต้น)
2. อัตถัญญุตา (ความรูจ้ กั อรรถ รูค้ วามมุ่งหมาย หรือ รูจ้ กั ผล คือ รูค้ วามหมาย รูค้ วามมุ่งหมาย รูป้ ระโยชน์ ที่
ประสงค์ รูจ้ กั ผลที่จะเกิดขึ้ นสืบเนื่ องจากการกระทา หรือความเป็ นไปตามหลัก เช่น รูว้ า่ หลักธรรมหรือภาษิ ตข้อ
นั้นๆ มีความหมายว่าอย่างไร หลักนั้ นๆ มีความมุ่งหมายอย่างไร กาหนดไว้หรือพึงปฏิบตั ิเพื่อประสงค์ประโยชน์
อะไร การที่ตนกระทาอยูม่ ีความมุง่ หมายอย่างไร เมื่อทาไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้าง ดังนี้ เป็ นต้น)
3. อัตตัญญุตา (ความรูจ้ กั ตน คือ รูว้ า่ เรานั้ น ว่าโดยฐานะ ภาวะ เพศ กาลัง ความรู ้ ความสามารถ ความถนั ด
และคุณธรรม เป็ นต้น บัดนี้ เท่าไร อย่างไร แล้วประพฤติให้เหมาะสม และรูท้ ี่จะแก้ไขปรับปรุงต่อไป)
4. มัตตัญญุตา (ความรูจ้ กั ประมาณ คือ ความพอดี เช่น ภิกษุ รจู ้ กั ประมาณในการรับและบริโภคปั จจัยสี่ คฤหัสถ์
๒๒
รูจ้ กั ประมาณในการใช้จ่ายโภคทรัพย์ พระมหากษัตริยร์ จู ้ กั ประมาณในการลงทัณฑอาชญาและในการเก็บภาษี
เป็ นต้น)
5. กาลัญญุตา (ความรูจ้ กั กาล คือ รูก้ าลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่ควรหรือจะต้องใช้ในการประกอบกิจ
ทาหน้าที่การงาน หรือปฏิบตั ิการต่างๆ เช่น ให้ตรงเวลา ให้เป็ นเวลา ให้ทันเวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา เป็ น
ต้น)
6. ปริ สญ ั ญุตา (ความรูจ้ กั บริษัท คือ รูจ้ กั ชุมชน และรูจ้ กั ที่ประชุม รูก้ ิริยาที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆ ว่า ชุมชนนี้
เมื่อเข้าไปหา จะต้องทากิริยาอย่างนี้ จะต้องพูดอย่างนี้ ชุมชนนี้ ควรสงเคราะห์อย่างนี้ เป็ นต้น)
7. ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา (ความรูจ้ กั บุคคล คือ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่า โดยอัธยาศัย
ความสามารถ และคุณธรรม เป็ นต้น ใครๆ ยิง่ หรือหย่อนอย่างไร และรูท้ ี่จะปฏิบตั ิต่อบุคคลนั้นๆ ด้วยดี ว่าควรจะ
คบหรือไม่ จะใช้ จะตาหนิ ยกย่อง และแนะนาสัง่ สอนอย่างไร เป็ นต้น)
ภิกษุ ผปู้ ระกอบด้วยสัปปุรสิ ธรรม 7 ข้อนี้ ชื่อว่า เป็ นผูป้ ระกอบด้วยสังฆคุณครบ 9 แม้พระอรหันตสัมมาสัม
พุทธเจ้าและพระเจ้าจักรพรรดิ ก็ทรงประกอบด้วยธรรมเหล่านี้ (ท่านแสดงไว้เฉพาะข้อหลัก 5 ข้อ คือ ข้อ 1,
2, 4, 5, 6 องฺ.ปญฺจก.22/131/166; A.III.148) จึงทรงยังธรรมจักรและอาณาจักรให้เป็ นไปด้วยดี.
D.III.252,283; A.IV.113. ที.ปา.11/331/264; 439/312; องฺ.สตฺตก.23/65/114.

สัปปุริสธรรม ๘ (ธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ, คุณสมบัติของคนดี: qualities of a good man)


1. สทฺธมฺมสมนฺ นาคโต (ประกอบด้วยสัทธรรม 7 ประการ -: to be endowed with the seven virtues) คือ
ก. มีศรัทธา - to have confidence
ข. มีหิริ - to have moral shame
ค. มีโอตตัปปะ - to have moral fear
ง. เป็ นพหูสตู - to be much learned
จ. มีความเพียรอันปรารภแล้ว - to be of stirred-up energy
ฉ. มีสติมนั ่ คง - to have established mindfulness
ช. มีปัญญา - to have wisdom
2. สปฺปรุ ิ สภตฺตี (ภักดีสตั บุรษ คือ คบหาสมณพราหมณ์ ท่านผูป้ ระกอบด้วยสัทธรรม 7 ประการข้างต้น เป็ น
มิตรสหาย: to consort with good men)
3. สปฺปรุ ิ สจิ นฺตี (คิดอย่างสัตบุรุษ คือ จะคิดสิ่งใด ก็ไม่คิดเพื่อเบียดเบียนตนและผูอ้ ื่น: to think as do good
men)
4. สปฺปรุ ิ สมนฺ ตี (ปรึกษาอย่างสัตบุรุษ คือ จะปรึกษาการใด ก็ไม่ปรึกษาเพื่อเบียดเบียนตนและผูอ้ ื่น: to
consult as do good men)
5. สปฺปรุ ิ สวาโจ (พูดอย่างสัตบุรุษ คือ พูดแต่คาที่ถกู ต้องตามวจีสุจริต 4: to speak as do good men)
6. สปฺปรุ ิ สกมฺมนฺ โต (ทาอย่างสัตบุรุษ คือ ทาการที่ถกู ต้องตามกายสุจริต 3: to act as do good men)
7. สปฺปรุ ิ สทิ ฏฺ ึี(มีความเห็นอย่างสัตบุรุษ คือ มีสมั มาทิฏฐิ เช่นว่า ทาดีได้ดี ทาชัว่ ได้ชวั ่ เป็ นต้น
: to have the views of good men)
8. สปฺปรุ ิ สทาน เทติ (ให้ทานอย่างสัตบุรุษ คือ ให้ตามหลักสัปปุรสิ ทาน เช่นให้โดยเอื้ อเฟื้ อทั้งแก่ของที่ตวั ให้
ทั้งแก่ผรู้ บั ทาน ให้ของบริสุทธิ์ ให้โดยเข้าใจถึงผลที่จะมีตามมา เป็ นต้น: to give a gift as do good men)
๒๓
บางทีเรียกว่า สัปปุริสธรรม 7 เพราะนับเฉพาะสัทธรรม 7 ในข้อ 1
M.III.23. ม.อุ.14/143/112.

โพชฌงค์ ๗ (ธรรมที่เป็ นองค์แห่งการตรัสรู:้ enlightenment factors)


1. สติ (ความระลึกได้ สานึ กพร้อมอยู่ ใจอยูก่ บั กิจ จิตอยูก่ บั เรื่อง -: mindfulness)
2. ธัมมวิ จยะ (ความเฟ้ นธรรม, ความสอดส่องสืบค้นธรรม -: truth investigation)
3. วิ ริยะ (ความเพียร -: effort; energy)
4. ปี ติ (ความอิ่มใจ -: zest; rapture)
5. ปัสสัทธิ (ความผ่อนคลายสงบเย็นกายใจ -: tranquillity; calmness)
6. สมาธิ (ความมีใจตั้งมัน่ จิตแน่ วแน่ ในอารมณ์ -: concentration)
7. อุเบกขา (ความมีใจเป็ นกลางเพราะเห็นตามเป็ นจริง -: equanimity)
แต่ละข้อเรียกเต็ม มี สัมโพชฌงค์ ต่อท้ายเป็ น สติสมั โพชฌงค์ เป็ นต้น.
D.III.251,282; Vbh.277. ที.ปา.11/327/264; 434/310; อภิ.วิ.35/542/306.

โลกธรรม ๘ (ธรรมดาของโลก, เรื่องของโลก, ความเป็ นไปตามคติธรรมดาซึ่งหมุนเวียนมาหาสัตวโลกและสัต


วโลกก็หมุนเวียนตามมันไป: wordly conditions; wordly vicissitudes)
1. ลาภ (ได้ลาภ, มีลาภ - Là bha: gain)
2. อลาภ (เสื่อมลาภ, สูญเสีย - Alà bha: loss)
3. ยส (ได้ยศ, มียศ - Yasa: fame; rank; dignity)
4. อยส (เสื่อมยศ - Ayasa: obscurity)
5. นิ นทา (ติเตียน - Nindà : blame)
6. ปสังสา (สรรเสริญ - Pasa§sà : praise)
7. สุข (ความสุข - Sukha: happiness)
8. ทุกข์ (ความทุกข์ - Dukkha: pain)
โดยสรุปเป็ น 2 คือ ข้อ 1, 3, 6, 7 เป็ น อิฏฐารมณ์ คือ ส่วนที่น่าปรารถนา; ข้อที่เหลือเป็ น อนิ ฏฐารมณ์ คือ
ส่วนที่ไม่น่าปรารถนา
โลกธรรมเหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้ นทั้งแก่ปุถุชนผูม้ ิได้เรียนรู ้ และแก่อริยสาวกผูไ้ ด้เรียนรู ้ ต่างกันแต่วา่ คนพวก
แรกย่อมไม่รเู ้ ห็นเข้าใจตามความเป็ นจริง ลุ่มหลง ยินดียนิ ร้าย ปล่อยให้โลกธรรมเข้าครอบงายา่ ยีจิต ฟูยุบ
เรื่อยไป ไม่พน้ จากทุกข์ มีโสกะปริเทวะ เป็ นต้น ส่วนอริยสาวกผูไ้ ด้เรียนรู ้ พิจารณาเห็นตามเป็ นจริง ว่าสิ่ง
เหล่านี้ อย่างใดก็ตามที่เกิดขึ้ นแก่ตน ล้วนไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็ นธรรมดา ไม่หลงใหลมัวเมา
เคลิ้ มไปตามอิฏฐารมณ์ ไม่ขุ่นมัวหม่นหมองคลุม้ คลัง่ ไปในเพราะอนิ ฏฐารมณ์ มีสติดารงอยู่ เป็ นผูป้ ราศจาก
ทุกข์ มีโสกะปริเทวะ เป็ นต้น
A.IV.157. องฺ.อฏฺ ก.23/96/159.

๒๔
ลักษณะตัดสิ นธรรมวิ นัย ๘ ประการ (ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อ)
๑. วิ ราคะ คือ ความคลายกาหนัด ความไม่ติดพัน
๒. วิ สงั โยค คือ ความหมดเครื่องผูกรัด ความไม่ประกอบทุกข์
๓. อปจยะ คือ ความไม่พอกพูนกิเลส
๔. อัปปิ จฉตา คือ ความอยากอันน้อย ความมักน้อย
๕. สันตุฏฐี คือความสันโดษ
๖. ปวิ เวก คือ ความสงัด
๗. วิ ริยารัมภะ คือ การประกอบความเพียร
๘. สุภรตา คือ ความเลี้ ยงง่าย
ธรรมเหล่านี้ พึงรูว้ า่ เป็ นธรรม เป็ นวินัย เป็ นสัตถุสาสน์ คือ คาสอนของพระศาสดา
วินย.๗/๕๒๓ วินย.๙/๕๒๓ องฺ.อฏฺฐ.๒๓/๑๔๓/๒๕๕ (สังขิตตสูตร)

มรรคมีองค์ ๘ หรือ อัฏฐังคิ กมรรค (เรียกเต็มว่า อริยอัฏฐังคิกมรรค แปลว่า "ทางมีองค์แปดประการ อัน


ประเสริฐ": the Noble Eightfold Path); องค์ 8 ของมรรค (มัคคังคะ - factors or constituents of the Path) มีดงั นี้
1. สัมมาทิ ฏฐิ (เห็นชอบ ได้แก่ ความรูอ้ ริยสัจจ์ 4 หรือ เห็นไตรลักษณ์ หรือ รูอ้ กุศลและอกุศลมูลกับกุศลและ
กุศลมูล หรือเห็นปฏิจจสมุปบาท: Right View; Right Understanding)
2. สัมมาสังกัปปะ (ดาริชอบ ได้แก่ เนกขัมมสังกัปป์ อพยาบาทสังกัปป์ อวิหิงสาสังกัปป์ Right Thought) ดู
[69] กุศลวิตก 3
3. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ ได้แก่ วจีสุจริต 4: Right Speech)
4. สัมมากัมมันตะ (กระทาชอบ ได้แก่ กายสุจริต 3: Right Action)
5. สัมมาอาชีวะ (เลี้ ยงชีพชอบ ได้แก่ เว้นมิจฉาชีพ ประกอบสัมมาชีพ Right Livelihood)
6. สัมมาวายามะ (พยายามชอบ ได้แก่ ปธาน หรือ สัมมัปปธาน 4: Right Effort)
7. สัมมาสติ (ระลึกชอบ ได้แก่ สติปัฏฐาน 4 Right Mindfulness)
8. สัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมัน่ ชอบ ได้แก่ ฌาน 4 Right Concentration)
องค์ 8 ของมรรค จัดเข้าในธรรมขันธ์ 3 ข้อต้น คือ ข้อ 3, 4, 5 เป็ น ศีล ข้อ 6, 7, 8 เป็ น สมาธิ ข้อ 1, 2
เป็ น ปั ญญา ดู [124] สิกขา 3; และหมวดธรรมที่อา้ งถึงทั้งหมด
มรรคมีองค์ 8 นี้ เป็ นอริยสัจจ์ ข้อที่ 4 และได้ชื่อว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า "ทางสายกลาง" เพราะเป็ นข้อ
ปฏิบตั ิอนั พอดีที่จะนาไปสูจ่ ุดหมายแห่งความหลุดพ้นเป็ นอิสระ ดับทุกข์ ปลอดปั ญหา ไม่ติดข้องในที่สุดทั้งสอง
คือ กามสุขลั ลิกานุ โยค และอัตตกิลมถานุ โยค ดู [15] ที่สุด 2; [204] อริยสัจจ์ 4
D.II.312; M.I.61; M.III.251; Vbh.235. ที.ม.10/299/348; ม.มู.12/149/123; ม.อุ.14/704/453; อภิ.วิ.35/569/307.

๒๕
มละ ๙ (มลทิน - Mala: stains)
1. โกธะ (ความโกรธ -: anger)
2. มักขะ (ความลบหลู่คุณท่าน, ความหลู่ความดีผอู้ ื่น: detraction; depre-ciation)
3. อิ สสา (ความริษยา envy; jealousy)
4. มัจฉริ ยะ (ความตระหนี่ : stinginess; meanness)
5. มายา (มารยา - deceit)
6. สาเถยยะ (ความโอ้อวดหลอกเขา, สาไถย: hypocrisy)
7. มุสาวาท (การพูดปด: false speech)
8. ปาปิ จฉา (ความปรารถนาลามก: evil desire)
9. มิ จฉาทิ ฏฐิ (ความเห็นผิด: false view)
Vbh.389. อภิ.วิ.35/1021/526.

อกุศลกรรมบท ๑๐
(โดยละเอียดจาก อรรถกถาสัมมาทิฏฐิสูตร ม.มู.๑๗/๑๑๐/๕๔๑, อภิ.อ.๗๕ หน้า ๒๘๖ มมร.)
ความประพฤติไม่เรียบร้อย/เรียบร้อย (สาเลยยกสูตร) ม.มู.๑๒/๔๘๕/๓๖๗ ความไม่สะอาด/สะอาด (จุนทสูตร) ๒๔/๑๖๔/๒๓๘
อกุศลกรรม/กุศลกรรม ที.ปา.๑๑/๓๕๙/๒๔๕ ธรรม ๑๐ อย่างที่เป็นไปในส่วนข้างเสื่อม/เจริญ ที.ปา.๑๑/๔๗๐/๒๘๕
สัปปุริสธรรม/อสัปปุริสธรรม อริยธรรม/อนิรยธรรม

๑.ปาณาติ บาต คือ การยังสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป


ในบรรดาสัตว์เดรัจฉานที่ไม่มีคุณ ปาณาติบาตนั้นชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะสัตว์เล็ก ชื่อว่ามีโทษมากเพราะร่างกาย
ใหญ่ เพราะมีความพยายามมาก แม้จะมีความพยายามเสมอกันก็มีโทษมากเพราะวัตถุใหญ่
ในบรรดาสัตว์ที่มีคุณมีมนุ ษย์เป็ นต้นชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะสัตว์มีคุณน้อย ชื่อว่ามีโทษมากเพราะมีคุณมาก
เมื่อสัตว์น้ันมีสรีระและคุณเท่ากัน ปาณาติบาตมีโทษน้อยเพราะกิเลสและความพยายามอ่อน มีโทษมากเพราะ
กิเลสและความพยายามกล้า
ปาณาติบาตนั้น มีองค์ ๕ คือ
๑ ปาโณ สัตว์มชี ีวิต
๒ ปาณสญฺญิตา รูว้ า่ สัตว์มีชีวิต
๓ วธกจิตฺต มีจิตคิดฆ่า
๔ อุปกฺ กโม มีความพยายาม
๕ เตน มรณ สัตว์ตายด้วยความพยายามนั้น
๒.อทิ นนาทาน คือ การถือเอาสิ่งของ(ภัณฑะ)ที่เจ้าของไม่ให้ (ข้อสมมติในทางโลกเท่านั้น)
อทินนาทานนั้นชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะวัตถุน้อย ชื่อว่ามีโทษมากเพราะวัตถุประณีต
เมื่อวัตถุเสมอกัน อทินนาทานมีโทษมากเพราะเป็ นวัตถุของบุคคลผูม้ ีคุณอันยิ่ง มีโทษน้อยเพราะวัตถุของบุคคล
ผูม้ ีคุณอันเลว
อทินนาทานนั้น มีองค์ ๕ คือ
๑ ปรปริคฺคหิต สิ่งของที่เขาเก็บรักษาไว้
๒ ปรปริคฺคหิตสญฺญิตา รูว้ า่ สิ่งของที่เขาเก็บรักษาไว้
๓ เถยฺยจิตฺต มีจิตคิดลัก
๔ อุปกฺ กโม มีความพยายาม
๕ เตน หรณ นาสิ่งของนั้นไปด้วยความพยายามนั้น

๒๖
๓.กาเมสุมิจฉาจาร กาเมสุ แปลว่า ของรัก ได้แก่ การเสพเมถุน [กาเมสุ ได้แก่ ในวัตถุกามทั้งหลาย วิ.อ.๗๘/๕๐๕]
มิจฉาจาร คือ การประพฤติลามกอันบัณฑิตติเตียน ว่าโดยลักษณะได้แก่เจตนาเป็ นเหตุกา้ วล่วงฐานะที่ไม่ควร
เกี่ยวข้องที่เป็ นไปทางกายทวารโดยประสงค์ อสัทธรรม
หญิง ๒๐ จาพวก ที่ชื่อว่า อคมนียฐาน (ฐานะที่ไม่ควรเกี่ยวข้อง) คือ
๑ หญิงที่มารดา ๒ บิดา ๓ มารดาบิดา ๔ พี่ชายน้องชาย ๕ พี่สาวน้องสาว ๖ ญาติ ๗ ตระกูล ๘ ธรรม รักษา
๙ หญิงที่รบั หมั้นแล้ว ๑๐ หญิงที่กฏหมายคุม้ ครอง
๑๑ หญิงที่เป็ นภรรยามีการซื้ อมาด้วยทรัพย์ ดังนี้ คือ ภรรยาที่ซอไถ่ ื้ มาด้วยทรัพย์
๑๒ ภรรยาที่อยูด่ ว้ ยความพอใจ ๑๓ อยูด่ ว้ ยโภคะ ๑๔ อยูด่ ว้ ยผ้า ๑๕ ภรรยาที่ทาพิธีรดน้ า ๑๖ ที่ชายปลงเทริดลงจากศีรษะ
๑๗ ที่เป็ นทาสีในบ้าน ๑๘ ที่จา้ งมาทางาน ๑๙ ที่เป็ นเชลย ๒๐ ที่อยูด่ ว้ ยกันครู่หนึ่ ง
มิจฉาจารนั้น ชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะฐานะที่ไม่ควรเกี่ยวข้อง/ล่วงเกินนั้น เว้นจากคุณ(ความดี)มีศีลเป็ นต้น ชื่อว่ามี
โทษมากเพราะฐานะนั้นถึงพร้อมด้วยคุณ(ความดี/สิ่งเกื้ อกูล)
มิจฉาจารนั้น มีองค์ ๔ คือ
๑ อคมนี ยวัตถุ วัตถุที่ไม่ควรเกี่ยวข้อง
๒ ตสมึ เสวนจิตฺต มีจิตคิดเสพในหญิงนั้น
๓ เสวนปฺปโยโค พยายามเสพ
๔ มคฺ เคน มคฺ คปฏิปตฺติอธิวาสน การยังมรรคให้ถึงมรรค

๔.มุสาวาท แปลว่า วาทะอันไม่เป็ นจริง คือ ความพยายามทางวาจาหรือทางกายอันทาลายประโยชน์ ของบุคคลผูม้ ุ่ง


กล่าวให้ขดั แย้ง(กับความจริง)คลาดเคลื่อนเป็ นอย่างอื่นต่อบุคคลอื่น ว่าโดยลักษณะได้แก่เจตนาที่ต้งั ขึ้ นด้วยเคลื่อนไหว
อย่างนั้นของบุคคลผูป้ ระสงค์ให้คนอื่นรูถ้ ึงเรื่องไม่จริงแท้ [สจฺจวาจา=คาพูดจริง,คาจริง]
มุสาวาทนั้นชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะประโยชน์ที่ผูพ้ ดู ทาลายนั้นมีนอ้ ย มีโทษมากเพราะทาลายประโยชน์มาก
อีกอย่างหนึ่ ง มุสาวาทของคฤหัสถ์ท้งั หลายที่กล่าวโดยนัยว่าไม่มีเพราะประสงค์จะไม่ให้วตั ถุ ที่ตนมีอยู่ ชื่อว่ามี
โทษน้อย มุสาวาทที่ตนเป็ นพยานกล่าวเพื่อทาลายประโยชน์ ชื่อว่ามีโทษมาก
มุสาวาทของบรรพชิตทั้งหลายที่กล่าวประชดประชันโดยประสงค์จะหัวเราะเล่นชื่อว่ามีโทษน้อย แต่มุสาวาทของ
บรรพชิตผูก้ ล่าวโดยนัยว่าไม่เห็นเลยว่าเห็นดังนี้ ชื่อว่ามีโทษมาก
มุสาวาทนั้น มีองค์ ๔ อย่างคือ
๑ อตถ วตฺถุ เรื่องไม่จริง
๒ วิสวาทนจิตฺต คิดจะกล่าวให้คลาดเคลื่อน
๓ ตชฺ โช วายาโม พยายามเกิดด้วยความคิดนั้น
๔ ปรสฺ ส ตทตฺถวิชานน คนอื่นรูเ้ นื้ อความนั้น

๕.สุราเมรัยฯ สุรา ได้แก่ สุรา ๕ ชนิ ด คือ ๑ สุราทาด้วยแป้ง ๒ สุราทาด้วยขนม ๓ สุราทาด้วยข้าวสุก


๔ สุราที่เอาเชื้ อเหล้า(ส่าเหล้า)ใส่เข้าไป ๕ สุราที่เขาปรุงด้วยเครื่องปรุง,
เมรัย ได้แก่ เครื่องหมักดอง ๕ ชนิ ด คือ ๑ น้ าดองด้วยดอกไม้ ๒ น้ าดองด้วยผลไม้ ๓ น้ าดองด้วยน้ าอ้อยงบ
๔ น้ าดองดอกมะซาง(น้าผึ้ ง) ๕ น้ าดองที่เขาปรุงด้วยเครื่องปรุง
สุราและเมรัยชื่อว่ามัชชะ (น้ าเมา)เพราะเป็ นที่ ต้ังแห่งความมัวเมา ชนทั้งหลายดื่ มสุ ราหรือเมรัยด้วยเจตนาใด
เจตนานั้นชื่อว่าเป็ นที่ต้งั แห่งความประมาทเพราะเป็ นเหตุให้หลงงมงาย อภิ.วิ.อ.๗๕/๕๐๕
การดื่มของเมามีโทษมากน้อยตามอกุศลจิตหรือกิเลสในการที่จะดื่ม
การดื่มน้ าเมาเพียงเล็กน้อยก็มีโทษน้อย การดื่มมากมีโทษมาก(ตามปริมาณที่ดื่ม)
๒๗
เมื่อดื่มแล้วยังกายให้เคลื่อนไหวไปทากรรมมีการปล้นชาวบ้านเป็ นต้นมีโทษมาก(ตามผลที่จะก่อให้เกิดการกระทา
ผิดพลาดชัว่ ร้าย)
สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานนั้น มีองค์ ๔ คือ โทษของสุราเมรัย ที.ปา.๑๑/๑๗๙/๐๔๐
๑ มชฺ ชภาโว ความเป็ นของเมา ๑.ทรัพย์หมดไปอย่างชัดเจน
๒ ปาตุกมฺยตาจิตฺต จิตคิดจะดื่ม ๒.ก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท
๓ ตชฺ โช วายาโม ความพยายามอันเกิดแต่จิตนั้น ๓.เป็ นบ่อเกิดของโรค
๔ อชฺ โฌหรณ กลืนให้ล่วงลงในลาคอ ๔.ทาให้เสียชื่อเสียงเกียรติยศ
ขุ.อิติ.อ.๔๕/๔๕๒ ๕.บัน่ ทอนกาลังปั ญญา

๕.ปิ สุณาวาจา คือ บุคคลกล่าววาจาแก่บุคคลอื่นเพราะหวังประโยชน์คือความรักในตนแล้วกล่าวป้ายร้ายแก่บุคคลอื่น


เพื่อความแตกแยกของชนเหล่าอื่น [อปิ สุณวาจา=คาไม่ส่อเสียด,ไม่พดู ส่อเสียด] ปิ
สุณาวาจานั้นชื่อว่า มีโทษน้อยเพราะเจตนาทาความแตกแยกให้บุคคลผูม้ ีคุณน้อย
มีโทษมากเพราะบุคคลนั้นมีคุณมาก
ปิ สุณาวาจา มีองค์ ๔ คือ
๑ ภินฺทิตพฺโพ ปุโร มีผทู้ ี่ตนจะพึงทาให้แตกกัน (ผูถ้ กู ทาลายเป็ นบุคคลอื่น)
๒ เภทปุเรกฺ ขารตา มีเจตนากล่าวให้แตกกันหรือเพือ่ ต้องการทาตนให้เป็ นที่รกั
๓ ตชฺ โช วายาโม มีความพยายามเกิดขึ้ น
๔ตสฺ ส ตทตฺถวิชานน บุคคลนั้นรูค้ วามหมาย
เมื่อบุคคลอื่นไม่แตกกัน กรรมบทไม่แตก เมื่อบุคคลแตกกันนัน่ แล กรรมบทจึงแตก
๖.ผรุสวาจา คือ กายหรือวาจาอันกระทาความหยาบคายแก่ตนบ้างแก่ผอู้ ื่นบ้าง อีกอย่างหนึ่ งวาจาใดทาความหยาบคาย
เอง ไม่เพราะหูไม่จบั ใจ วาจานี้ ชื่อว่าผรุสวาจา, วจึประโยคไม่เป็ นผรุสวาจา เพราะผูพ้ ดู มีจิตอ่อนโยน แต่เมื่อผูพ้ ดู มีจิต
หยาบคาย แม้คาพูดอ่อนหวานนี้ ก็เป็ นผรุสวาจา [สณฺ หวาจา=พูดสุภาพอ่อนโยน]
ผรุสวาจานั้นชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะความที่บุคคลนั้นมีคุณน้อย มีโทษมากเพราะบุคคลนั้นมีคุณมาก
ผรุสวาจานั้น มีองค์ ๓ คือ
๑ อกฺ โกสิตพฺโพ ปโร มีคนที่ตนจะพึงด่า
๒ กุปิตจิตฺต มีจิตโกรธ
๓ อกฺ โกสนา มีการด่า

๗.สัมผัปปลาปะ คือ บุคคลย่อมพูดเพ้อเจ้อคือไร้ประโยชน์โดยภาวะใดภาวะหนึ่ งโดยอกุศลเจตนาอันจะทาให้บุคคลอื่นรู ้


สิ่งที่ไม่เป็ นประโยชน์ซึ่งกระทาด้วยความพยายามทางกายและวาจา [มนฺ ตาภาสา=พูดด้วยปั ญญา]
สัมผัปปลาปะชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะความที่มีการซ่องเสพน้อย ผูพ้ ดู มีอาเสวนะอ่อน (ความเคยชินน้อย)
ชื่อว่ามีโทษมากเพราะมีการซ่องเสพมาก ผูพ้ ดู มีอาเสวนะมาก(ความเคยชินมาก)
สารธรรม(ธรรมที่เป็ นแก่นสาร)มี ๔ ประการคือ
๑ สีลสารธรรม ธรรมที่เป็ นแก่นสารคือศีล ๔ วิมุตติสารธรรม ธรรมที่เป็ นแก่นสารคือวิมุตติ
๒ สมาธิสารธรรม ธรรมที่เป็ นแก่นสารคือสมาธิ ๕.วิมุตติญาณทัสสนะสารธรรม
๓ ปั ญญาสารธรรม ธรรมที่เป็ นแก่นสารคือปั ญญา องฺ.จตุก.๒๑/๑๕๐

๒๘
กถาวัตถุ ๑๐ (เรื่องที่ควรพูด, เรื่องที่ควรนามาสนทนากันในหมู่ภิกษุ)
๑. อัปปิ จฉกถา เรื่องความมักน้อย,ไม่มกั มากอยากเด่น ๖. สีลกถา เรื่องศีล
๒. สันตุฏฐิกถา เรื่องความสันโดษ,ไม่ฟุ้งเฟ้ อหรือปรนเปรอ ๗. สมาธิกถา เรื่องสมาธิ
๓. ปวิเวกกถา เรื่องความสงัด,ให้มีความสงัดกายใจ ๘. ปั ญญากถา เรื่องปั ญญา
๔. อสังสัคคกถา เรื่องความไม่คลุกคลีดว้ ยหมู่ ๙. วิมุตติกถา เรื่องวิมุตติ
๕. วิริยารัมภกถา เรื่องการปรารภความเพียร,มุ่งมัน่ ทาความเพียร ๑๐.วิมุตติญาณทัสสนกถา เรื่องความรูค้ วามเห็นในวิมุตติ
ม.มู๑๒/๒๙๒ ม.อุ.๑๔/๓๔๘ อง.ทสก.๒๔/๖๙

สัมผัปปลาปะนั้น มีองค์ ๒ คือ


๑ ภารตยุทฺธสีตาหรณาทินิรตฺถกถาปุเรกฺขารตา ความเป็ นผูม้ ีเจตนาจะพูดเรื่องไร้ประโยชน์
มีภารตยุทธ์และการลักพานางสีดาไป (รามเกียรติ์) เป็ นต้น
๒ ตถารูปีกถากถน กล่าววาจาเช่นนั้น
ก็เมื่อบุคคลอื่นไม่ถือเอาถ้อยคานั้น กรรมบทก็ไม่แตก(คือไม่ใส่ใจหรือไม่ปฏิบตั ิตาม) แต่เมื่อมีผูอ้ ื่นถือ สัมผัปปลาปะนั้น
กรรมบทจึงแตก
๘.อภิ ชฌา คือ ธรรมชาติที่เพ่งเล็ง มีความหมายว่า เป็ นผูม้ ุ่งต่อสิ่งของของผูอ้ ื่น มีการเพ่งเล็งภัณฑะของบุคคลอื่นเป็ น
ลักษณะอย่างนี้ ว่าสิ่งนี้ พึงเป็ นของเรา (โดยทางทุจริต)
อภิชฌานั้นมีลกั ษณะเพ่งเล็งภัณฑะของผูอ้ ื่นอย่างนี้ ว่า ไฉนหนอ ของสิ่งนี้ จะพึงเป็ นของเรา
อภิชฌานั้นชื่อว่ามีโทษน้อยและโทษมากเหมือนอทินนาทาน
(คือ โทษน้อยเพราะวัตถุนอ้ ย โทษมากเพราะวัตถุประณีต, โทษมากเพราะเป็ นของผูม้ ีคุณสูง โทษน้อยเพราะเป็ นของผูม้ ีคุณอันตา่ )
อภิชฌานั้น มีองค์ ๒ คือ
๑ ปรภณฺ ฑ เป็ นสิ่งของของบุคคลอื่น
๒ อตฺตโน ปริฌามนญฺจ น้อมมาเพื่อตน
เมื่อความโลภในวัตถุน้ันเกิดขึ้ น กรรมบทยังคงไม่แตก ตราบเมื่อเขาน้อมมาเพื่อตนอย่างนี้ ว่าวัตถุ นี้พึงเป็ นของ
เรา กรรมบทจึงแตก
๙ พยาบาท คือ สภาวธรรมที่ยงั ประโยชน์เกื้ อกูลและความสุขให้พินาศไป มีความมุง่ ร้ายเพื่อให้ผูอ้ ื่นพินาศเป็ นลักษณะ
มีโทษน้อยและมีโทษมากเหมือนผรุสวาจา (คือ โทษน้อยเพราะบุคคลมีคุณน้อย โทษมากเพราะบุคคลมีคุณมาก)
พยาบาทนั้น มีองค์ ๒ คือ
๑ ปรสตฺโต สัตว์อื่น
๒ ตสฺ ส จ วินาสจินฺตา มีความคิดที่ให้สตั ว์น้ันพินาศไป
เมื่อความโกรธเกิดขึ้ น กรรมบทยังไม่แตก ตราบเมื่อคิดยังสัตว์ให้พินาศว่าทาอย่างไรหนอสัตว์นี้พึงขาดสูญหรือ
พินาศไป กรรมบทจึงแตก

๑๐.มิ จฉาทิ ฏฐิ คือ ความเห็นผิดโดยไม่ถือเอาตามความเป็ นจริง มีความเห็นวิปริตเป็ นลักษณะ อาทิ ทานที่บุคคลให้
แล้วไม่มีผล
มิจฉาทิฏฐิชื่อว่ามีโทษน้อยมีโทษมาก เหมือนสัมผัปปลาปะ (คือ โทษน้อยเพราะส้องเสพน้อย โทษมากเพราะส้องเสพมาก)
อนิ ยตมิจฉาทิฏฐิมีโทษน้อย นิ ยตมิจฉาทิฏฐิมีโทษมาก

๒๙
ลัทธิประเภทอกิริยทิฏฐิ
นิยตมิจฉาทิฏฐิ(ทิฏฐิ ๓) ม.ม.๑๓/๑๐๕/๘๑ ๑.ปุพเพกตเหตุวาท(ลัทธิกรรมเก่า)
๑ อกิริยทิฏฐิ ความเห็นว่าการกระทาไม่มีผล เช่น ปุพเพกตเหตุวาท ๒.อิสสรนิ มมานเหตุวาท(ลัทธิพระเป็ นเจ้า)
๒ อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นว่าสิ่งทั้งหลายไม่มีเหตุปัจจัย ๓.อเหตุอปั จจยวาท(ลัทธิเสี่ยงโชค)
๓ นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มี คือไม่มีการกระทาหรือสภาวะที่จะกาหนดเอาเป็ นหลักได้
มิจฉาทิฏฐิน้นั มีองค์ ๒ คือ
๑ วตฺถุโน จ คหิตาการวิปรีตตา การที่เรื่องวิปริต(ผิดไป) จากอาการที่ถือเอา
๒ ยถา จ ต คณฺ หาติ ตถาภาเวน ตสฺ สปู ฏฺฐาน เรื่องนั้นปรากฏโดยความไม่เป็ นจริงตามที่ยดึ ถือ
ในบรรดามิจฉาทิฏฐิท้งั หลายกรรมบทจะแตกเพราะนิ ยตมิจฉาทิฏฐิเท่านั้น กรรมบทย่อมไม่แตกไปเพราะทิฏฐิอื่น
กุ ศลกรรมบถ ๗ ประการแรกเป็ นตัวเจตนากุ ศล แต่ ๓ ประการหลังเป็ นธรรมสัมปยุตด้วยเจตนา (คือมีโสภณเจตสิกประกอบด้วย
เจตนา), กรรมบถ ๗ ประการแรกเป็ นกรรมบถอย่างเดียวไม่เป็ นรากเหง้า(มูล) แต่ธรรม ๓ ประการหลังเป็ นทั้งกรรมบถเป็ นทั้งรากเหง้า (มูล),
เวรมณีจะมีได้ก็โดยได้เผชิญกับวัตถุที่จะต้องก้าวล่วงเท่านั้น อุปมา.กรรมบทต้องมีชีวิตินทรีย์ เป็ นต้นเป็ นอารมณ์ จึงจะละทุศีลมีปาณาติบาต
เป็ นต้นได้
อกุ ศลกรรมบถ๑๐ และกุ ศลกรรมบถ๑๐ เว้นอภิ ชฌา เป็ นทุ กขสัจจ์, อภิชฌาและโลภะที่เป็ นอกุ ศลมูล เป็ นสมุทยสัจ จ์โดยตรง แต่
กรรมบถทั้งหมด เป็ นทุกขสัจจ์โดยอ้อม กุศลมูลและอกุศลมูลทั้งหมดเป็ นสมุทยสัจจ์ ความไม่เป็ นไปแห่งกุศลมูลและอกุศลมูลทั้ง ๒ เป็ นนิ โรธ
สัจจ์ เมื่อกาหนดรูท้ ุกข์ เมื่อละสมุทยั เมื่อรูจ้ กั นิ โรธ อริยมรรคเป็ นมรรคสัจจ์

บุญกิ ริยาวัตถุ ๑๐ (ที่ต้งั แห่งการทาบุญ, ทางทาความดี)


1. ทานมัย (ทาบุญด้วยการให้ปันสิ่งของ)
2. สีลมัย (ทาบุญด้วยการรักษาศีลหรือประพฤติดี)
3. ภาวนามัย (ทาบุญด้วยการเจริญภาวนา คือฝึ กอบรมจิตใจเจริญปั ญญา)
4. อปจายนมัย (ทาบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม)
5. เวยยาวัจจมัย (ทาบุญด้วยการช่วยขวนขวายรับใช้)
6. ปัตติ ทานมัย (ทาบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้แก่ผอู้ ื่น)
7. ปัตตานุโมทนามัย (ทาบุญด้วยการยินดีในความดีของผูอ้ ื่น)
8. ธัมมัสสวนมัย (ทาบุญด้วยการฟั งธรรมศึกษาหาความรู)้
9. ธัมมเทสนามัย (ทาบุญด้วยการสัง่ สอนธรรมให้ความรู)้
10. ทิ ฏฐุชุกมั ม์ (ทาบุญด้วยการทาความเห็นให้ตรง)
ข้อ 4 และข้อ 5 จัดเข้าในสีลมัย; 6 และ 7 ในทานมัย; 8 และ 9 ในภาวนามัย; ข้อ 10 ได้ท้งั ทาน ศีล และ
ภาวนา
D.A.III.999; Comp.146. ที.อ.3/246; สังคหะ 29.

๓๐
ธรรมที่บรรพชิ ตควรพิ จารณาเนื องๆ ๑๐ อย่าง องฺ.ทสก.๒๔/๔๘/๙๑

๑. บัดนี้ เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว อาการกิ ริยาใดๆ ของสมณะ เราต้องทาอาการกิ ริยานัน้ ๆ


๒. ความเลี้ยงชีวิตของเราเนื่ องด้วยผูอ้ ื่น เราควรทาตัวให้เขาเลี้ยงง่าย
๓. อาการกายวาจาอย่างอื่นที่เราจะต้องทาให้ดีขึ้นไปกว่านี้ ยงั มีอยู่อีก ไม่ใช่แต่เพียงเท่านี้
๔. ตัวของเราเองติ เตียนตัวเราเองโดยศีลได้หรือไม่
๕. ผูร้ ้ใู คร่ครวญแล้วติ เตียนเราโดยศีลได้หรือไม่
๖. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ นัน้
๗. เรามีกรรมเป็ นของของตัว เราทาดีจกั ได้ดี ทาชัวจั่ กได้ชวั ่
๘. วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้ เราทาอะไรอยู่
๙. เรายิ นดีในที่สงัดหรือไม่
๑๐. คุณวิ เศษของเรามีอยู่หรือไม่ ที่จะทาให้เราเป็ นผูไ้ ม่เก้อเขิ น ในเวลาที่เพื่อนพรหมจรรย์มาถามเมื่อภายหลัง
นาถกรณธรรม ๑๐ (ธรรมอันกระทาที่พึ่ง, ธรรมสร้างที่พึ่ง, คุณธรรมที่ทาให้ตนเป็ นที่พึ่งของตนได้: virtues
which make for protection)
1. สีล (ความประพฤติดีงามสุจริต รักษาระเบียบวินัย มีอาชีวะบริสุทธิ์ -: good conduct; keeping moral habits)
2. พาหุสจฺจ (ความเป็ นผูไ้ ด้ศึกษาเล่าเรียนมาก มีความรูค้ วามเข้าใจลึกซึ้ ง: great learning)
3. กลฺยาณมิ ตฺตตา (ความมีกลั ยาณมิตร, การคบคนดี ได้ที่ปรึกษา และผูแ้ นะนาสัง่ สอนที่ดี: good company;
association with good people)
4. โสวจสฺสตา (ความเป็ นผูว้ า่ ง่ายสอนง่าย รับฟั งเหตุผล: amenability to correction; meekness; easy
admonishability)
5. กิ งฺกรณี เยสุ ทกฺขตา (ความเอาใจใส่ชว่ ยขวนขวายในกิจใหญ่น้อยทุกอย่างของเพื่อนร่วมหมูค่ ณะ รูจ้ กั
พิจารณาไตร่ตรอง สามารถจัดทาให้สาเร็จเรียบร้อย -: willingness to give a helping hand; diligence and skill
in managing all affairs of one's fellows in the community)
6. ธมฺมกามตา (ความเป็ นผูใ้ คร่ธรรม คือ รักธรรม ใฝ่ ความรูใ้ ฝ่ ความจริง รูจ้ กั พูดรูจ้ กั รับฟั ง ทาให้เกิดความ
พอใจ น่ าร่วมปรึกษาสนทนา ชอบศึกษา ยินดีปรีดาในหลักธรรมหลักวินัยที่ละเอียดลึกซึ้ งยิง่ ๆ ขึ้ นไป - love of
truth; to love the Dhamma, be pleasant to consult and converse with and rejoice in the advanced teaching of
both the Doctrine and the Discipline)
7. วิ ริยารมฺภ (ความขยันหมัน่ เพียร คือ เพียรละความชัว่ ประกอบความดี มีใจแกล้วกล้า บากบัน่ ก้าวหน้า ไม่
ย่อท้อ ไม่ทอดทิ้ งธุระ: energy; effort; energetic exertion)
8. สนฺ ตฏุ ฺ ึี(ความสันโดษ คือ ยินดี มีความสุขความพอใจด้วยปั จจัยสี่ที่หามาได้ดว้ ยความเพียร
อันชอบธรรมของตน -: contentment)
9. สติ (ความมีสติ รูจ้ กั กาหนดจดจา ระลึกการที่ทาคาที่พดู ไว้ได้ เป็ นอยูอ่ ย่างไม่ประมาท -: mindfulness;
ability to remember what one has done and spoken)
10. ปญฺ า (ความมีปัญญาหยัง่ รูเ้ หตุผล รูจ้ กั คิดพิจารณา เข้าใจภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็ นจริง -
wisdom; insight)
นาถกรณธรรมนี้ ท่านเรียกว่าเป็ น พหุการธรรม หรือ ธรรมมีอุปการะมาก เพราะเป็ นกาลังหนุ นในการ

๓๑
บาเพ็ญคุณความดีท้งั หลาย ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผอู้ ื่นให้สาเร็จได้อย่างกว้างขวางไพบูลย์
D.III.266,290; A.V.23. ที.ปา.11/357/281; 466/334; องฺ.ทสก.24/17/25.

กถาวัตถุ ๑๐ (เรื่องที่ควรพูด, เรื่องที่ควรนามาสนทนากันในหมู่ภิกษุ : subjects for discussion; topics of talk


among the monks)
1. อัปปิ จฉกถา (เรื่องความมักน้อย, ถ้อยคาที่ชกั นาให้มีความปรารถนาน้อย ไม่มกั มากอยากเด่น -: talk
about or favourable to wanting little)
2. สันตุฏฐิ กถา (เรื่องความสันโดษ, ถ้อยคาที่ชกั นาให้มีความสันโดษ ไม่ชอบฟุ้ งเฟ้ อหรือปรนปรือ -: talk
about or favourable to contentment)
3. ปวิ เวกกถา (เรื่องความสงัด, ถ้อยคาที่ชกั นาให้มีความสงัดกายใจ -: talk about or favourable to seclusion)
4. อสังสัคคกถา (เรื่องความไม่คลุกคลี, ถ้อยคาที่ชกั นาให้ไม่คลุกคลีดว้ ยหมู:่ talk about or favourable to not
mingling together)
5. วิ ริยารัมภกถา (เรื่องการปรารภความเพียร, ถ้อยคาทีช่ กั นาให้ม่งุ มันท
่ าความเพียร: talk about or favourable to
strenuousness)
6. สีลกถา (เรื่องศีล, ถ้อยคาที่ชกั นาให้ต้งั อยูใ่ นศีล: talk about or favourable to virtue or good conduct)
7. สมาธิ กถา (เรื่องสมาธิ, ถ้อยคาที่ชกั นาให้ทาจิตมัน่ : talk about or favourable to concentration)
8. ปัญญากถา (เรื่องปั ญญา, ถ้อยคาที่ชกั นาให้เกิดปั ญญา: talk about or favourable to understanding or
insight)
9. วิ มตุ ติ กถา (เรื่องวิมุตติ, ถ้อยคาที่ชกั นาให้ทาใจให้พน้ จากกิเลสและความทุกข์: talk about or favourable to
deliverance)
10. วิ มตุ ติ ญาณทัสสนกถา (เรื่องความรูค้ วามเห็นในวิมุตติ, ถ้อยคาที่ชกั นาให้สนใจและเข้าใจเรื่องความรู ้
ความเห็นในภาวะที่หลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์ talk about or favourable to the knowledge and vision of
deliverance)
M.I.145; III.113; A.V.129. ม.มู.12/292/287; ม.อุ.14/348/239; องฺ.ทสก.24/69/138.

อนุสติ ๑๐ (ความระลึกถึง, อารมณ์อนั ควรระลึกถึงเนื องๆ: recollection; constant mindfulness)


1. พุทธานุสติ (ระลึกถึงพระพุทธเจ้า คือ น้อมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระองค์ recollection of the
Buddha; contemplation on the virtues of the Buddha)
2. ธัมมานุสติ (ระลึกถึงพระธรรม คือ น้อมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระธรรม recollection of the
Dhamma; contemplation on the virtues of the Doctrine)
3. สังฆานุสติ (ระลึกถึงพระสงฆ์ คือ น้อมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระสงฆ์ recollection of the
Sangha; contemplation on the virtues of the Order)
4. สีลานุสติ (ระลึกถึงศีล คือ น้อมจิตราลึกพิจารณาศีลของตนที่ได้ประพฤติปฏิบตั ิ บริสุทธิ์ ไม่ด่างพร้อย -:
recollection of morality; contemplation on one's own morals)
5. จาคานุสติ (ระลึกถึงการบริจาค คือ น้อมจิตระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว และพิจารณาเห็นคุณธรรมคือ
ความเผื่อแผ่เสียสละนี้ ที่มีในตน recollection of liberality; contemplation on one's own liberality)
6. เทวตานุสติ (ระลึกถึงเทวดา คือ น้อมจิตระลึกถึงเทวดาทั้งหลายที่ตนเคยรู ้ และพิจารณาเห็นคุณธรรมอัน
ทาบุคคลให้เป็ นเทวดานั้นๆ ตามที่มีอยูใ่ นตน recollection of deities; contemplation on the virtues which
๓๒
make people become gods as can be found in oneself)
7. มรณสติ (ระลึกถึงความตายอันจะต้องมีมาถึงตนเป็ นธรรมดา พิจารณาที่จะให้เกิดความไม่ประมาท -:
mindfulness of death; contemplation on death)
8. กายคตาสติ (สติอนั ไปในกาย คือ กาหนดพิจารณากายนี้ ให้เห็นว่าประกอบด้วยส่วนต่างๆ อันไม่สะอาด
ไม่งาม น่ ารังเกียจ เป็ นทางรูเ้ ท่าทันสภาวะของกายนี้ มิให้หลงใหลมัวเมา - mindfulness occupied with the
body; contemplation on the 32 impure parts of the body)
9. อานาปานสติ (สติกาหนดลมหายใจเข้าออก mindfulness on breathing)
10. อุปสมานุสติ (ระลึกถึงธรรมเป็ นที่สงบ คือ ระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระนิ พพาน อันเป็ นที่ระงับกิเลส
และความทุกข์: recollection of peace; contemplation on the virtue of Nibbà na)
ดู [354] กรรมฐาน 40.
A.I.30,41; Vism.197. องฺ.เอก.20/179-180/39-40; 224/54; วิสุทฺธิ.1/251.

อุปกิ เลส ๑๖ หรือ จิ ตตอุปกิ เลส 16 (ธรรมเครื่องเศร้าหมอง, สิ่งที่ทาให้จิตขุ่นมัว รับคุณธรรมได้ยาก ดุจผ้า


เปรอะเปื้ อนสกปรก ย้อมไม่ได้ดี: mental defilements)
1. อภิ ชฌาวิ สมโลภะ (คิดเพ่งเล็งอยากได้ โลภไม่สมควร, โลภกล้า จ้องจะเอา ไม่เลือกควรไม่ควร greed and
covetousness; covetousness and unrighteous greed)
2. พยาบาท (คิดร้ายเขา malevolence; illwill)
3. โกธะ (ความโกรธ anger)
4. อุปนาหะ (ความผูกโกรธ: grudge; spite)
5. มักขะ (ความลบหลู่คุณท่าน, ความหลู่ความดีของผูอ้ ื่น, การลบล้างปิ ดซ่อนคุณค่าความดีของผูอ้ ื่น
detraction; depreciation; denigration)
6. ปลาสะ (ความตีเสมอ, ยกตัวเทียมท่าน, เอาตัวขึ้ นตั้งขวางไว้ ไม่ยอมยกให้ใครดีกว่าตน: domineering;
rivalry; envious rivalry)
7. อิ สสา (ความริษยา - envy; jealousy)
8. มัจฉริ ยะ (ความตระหนี่ : stinginess; meanness)
9. มายา (มารยา: deceit)
10. สาเถยยะ (ความโอ้อวดหลอกเขา, หลอกด้วยคาโอ้อวด: hypocrisy)
11. ถัมภะ (ความหัวดื้ อ, กระด้าง: obstinacy; rigidity)
12. สารัมภะ (ความแข่งดี, ไม่ยอมลดละ มุง่ แต่จะเอาชนะกัน: presumption; competing contention;
contentiousness; contentious rivalry; vying; strife)
13. มานะ (ความถือตัว, ทะนงตน: conceit)
14. อติ มานะ (ความถือตัวว่ายิง่ กว่าเขา, ดูหมิ่นเขา: excessive conceit; contempt)
15. มทะ (ความมัวเมา vanity)
16. ปมาทะ (ความประมาท, ละเลย, เลินเล่อ: heedlessness; negligence; indolence)
ข้อ 2 มีต่างออกไป คือ ในธัมมทายาทสูตร เป็ น โทสะ (ความคิดประทุษร้ายเขา - hatred) (ม.มู.12/26/26)
M.I.36. ม.มู.12/93/65.

๓๓
โพธิ ปักขิ ยธรรม ๓๗ (ธรรมอันเป็ นฝั กฝ่ ายแห่งความตรัสรู ้ คือ เกื้ อกูลแก่การตรัสรู,้ ธรรมที่เกื้ อหนุ นแก่
อริยมรรค)
1. สติ ปัฏฐาน 4
2. สัมมัปปธาน 4
3. อิ ทธิ บาท 4
4. อิ นทรีย์ 5
5. พละ 5
6. โพชฌงค์ 7
7. มรรคมีองค์ 8
โพธิปักขิยธรรมนี้ ตามที่ทัว่ ไปในพระไตรปิ ฎก ตรัสไว้เพียงเป็ นคารวมๆ โดยไม่ได้ระบุชื่อองค์ธรรม
นอกจากในสังยุตตนิ ก ายแห่งพระสุ ตตันตปิ ฎก ที่ มีพุทธพจน์ ตรัสระบุ ไว้ว่า ได้แก่ อินทรีย์ 5 (ส .
ม.19/1024/301; 1041-3/305; 1071-1081/313-5) และในคัมภีรว์ ิภงั ค์แห่งพระอภิธรรมปิ ฎก ซึ่งไข
ความว่า โพธิปักขิยธรรม ได้แก่ โพชฌงค์ 7 (อภิ.วิ.35/611/336)
ธรรมชุ ดนี้ เมื่อตรัสระบุ ชื่อทั้งชุ ดในพระสูตร ทรงเรียกว่าเป็ น อภิญญาเทสิตธรรม เช่น ที .
ม.10/107/141; ที.ปา.11/108/140; ม.อุ. 14/54/51) คือเป็ นอภิญญาเทสิตธรรม 37 และในพระ
อภิธรรม ท่านแสดงไว้วา่ ธรรม 37 ประการนี้ เป็ น สัทธรรม
นอกจากนี้ ธรรม 37 ประการชุดนี้ ยังได้ชื่อว่าเป็ น สันติบท คือ ธรรมที่เป็ นไปเพื่อการบรรลุสนั ติ (รวมทั้ง
เป็ น อมตบท และ นิ พพานบท เป็ นต้น-ขุ.ม.29/701/414; ขุ.จู.30/391/188) และเป็ น เสรีธรรม หรือ
ธรรมเสรี (ขุ.จู.30/681/340; 684/342)
ในพระวินัยปิ ฎก ท่านแสดงธรรม 37 ประการนี้ ไว้เป็ นคาจากัดความของคาว่า มรรคภาวนา (ดู
วินย.1/236/175; 2/308/212)
ต่อมา ในคัมภีรช์ ้นั อรรถกถา รวมถึงวิสุทธิมคั ค์ จึงระบุและแจกแจงไว้ชดั เจนว่า โพธิปักขิยธรรม 37
ประการ ได้แก่ธรรมเหล่านี้ (ดู องฺ.อ.1/77; อิติ.อ.287; ปฏิส.อ.2/95, 196, 261; วิสุทฺธิ.3/328)
Vism.681. วิสุทฺธิ.3/328.

..............................................
รวม ครั้งที่ ๑
โดย พระปิ ยะลักษณ์ ปญฺญาวโร
๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๔

๓๔

You might also like