โดย รัตนอุบาสก - การให้ทาน ที่คุณอาจไม่รู้ ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก 621024

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 57

การให้ทาน ที่คุณอาจไม่รู้

ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก

เรียบเรียงโดย
ปิยะลักษณ์ ถิรสุนทรากุล

 อานิสงส์ของทาน
 องค์ประกอบ ๓ ประการ เป็นเหตุได้บุญมาก
 ควรให้ทานมาก-น้อยเท่าไร
 ควรให้ทานแก่ใคร
 การให้ทานทีพ่ อดี ไม่ทาตนให้ลาบาก จึงเป็นบุญ
 การอุทศิ ส่วนบุญ
 อานิสงส์แห่งการบูชาพระเจดีย์

~1~
~2~
สารบัญ ๑
อานิสงส์ของทาน 5
 ผลของการให้ทาน (อาทิตตสูตร)
 ถ้าสัตว์รผู ้ ลแห่งการให้ทาน เมื่อยังไม่ให้จะไม่บริโภคเลย (ทานสูตร)
 สัตบุรุษย่อมให้ทาน เกิดมาเพื่อเป็ นประโยชน์แก่มหาชน (ทุติยสัปปุริสสูตร)
 ผลแห่งทานที่เห็นได้ในปั จจุบนั ๕ ประการ (สีหสูตร) 6
องค์ประกอบในการให้ทาน ๓ ประการ เป็ นเหตุให้ได้บุญมาก(สัมมุขีสูตร) 7
 ทานให้ผลในปั จจุบน
ั เมื่อครบองค์ประกอบ ๔ ประการ (ทักขิณาวิภงั คสูตร)
ศรัทธา (ฝ่ ายทายก ผูใ้ ห้) 8
 เจตนา ๔ กาล
 การให้ทาน ๘ ประการ เพื่อความต้องการเกิดใหม่ที่ต่างกัน (ทานู ปัตติสูตร)
 เหตุผลในการให้ทาน ๗ ประเภท (ทานสูตร) 9
 เหตุแห่งการให้ทาน ๘ ประการ (ทานวัตถุสูตร ปฐมทานสูตร) 11
 ลักษณะการให้ของคนดีและไม่ดี (อสัปปุริสทานสูตร) 12
ไทยธรรม (สิ่งของทีใ่ ห้ทาน) 13
 ธรรมทานกับอภัยทาน อย่างไหนมีอานิ สงส์สูงกว่ากัน
 คฤหัสถ์อนุ เคราะห์ดว้ ยอามิสทาน สมณะอนุ เคราะห์ดว้ ยธรรมทาน (สิงคาลกสูตร) 14
 ความแตกต่างของวัตถุทาน ๓ ระดับ (เสรีสูตร) 15
 ลักษณะสิ่งของที่ให้ทานของสัตบุรุษ ๘ ประการ (ปฐมสัปปุริสสูตร)
 การให้สิ่งที่มีค่า เพื่อการสร้างบารมี ใน ๓ ระดับ (จริยาปิ ฎก)
 มหาบริจาค การสละอย่างใหญ่ของพระโพธิสตั ว์ ๕ อย่าง 16
 ทานที่ได้มาโดยไม่บริสุทธิ์มีผลน้อย (มัจฉริสูตร) 17
 ทานที่ให้แล้ว มิใช่ทาน คือ ไม่ได้บุญ ๔ ประเภท (เวลามสูตร) 18
 ทานที่ให้จนล้น ให้เกินไปไม่เป็ นบุญ
ทักษิณา (ฝ่ ายปฏิคาหก ผูร้ บั ) 19
 ทาน ๒ อย่าง จาแนกโดยผูร้ บั ให้แก่ส่วนรวม / ให้แก่ส่วนตัว (ทักขิณาวิภงั คสูตร)
 ผูร้ บั ทานซึ่งสามารถทาให้ทกั ษิ ณามีผลมาก (เวลามสูตร) 24
 พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญสังฆทาน (ทารุกมั มิกสูตร) 28
 คุณธรรมของผูใ้ ห้และผูร้ บั เป็ นเหตุให้ได้บุญมาก ๖ ประการ (ทานสูตร) 29

~3~
สารบัญ ๒
ควรให้ทานมาก-น้อยเท่าไร 30
 หลักการแบ่งโภคทรัพย์ออกเป็ น ๔ ส่วน (โภควิภาค ๔ ใน สิงคาลกสูตร)
ควรให้ทานแก่ผใู ้ ดบ้าง 32
 หลักการใช้โภคทรัพย์ให้เป็ นประโยชน์ ๕ อย่าง (อาทิยสูตร)
ผูห้ า้ มคนอื่นให้ทานย่อมเป็ นบาป (ชัปปสูตร) 33
การให้ทานที่พอดี ไม่ทาตนให้ลาบาก จึงเป็ นบุญ และไม่ถกู ติเตียน 34
 ผูท้ าตนหรือผูอ้ ื่นให้เดือดร้อน ๔ จาพวก (อัตตันตปสูตร)
 ผูท้ าตนให้เดือดร้อน แต่ไม่อาจบรรลุธรรม ๓ จาพวก (ราสิยสูตร) 36
เหตุไม่ต้งั อยูใ่ นธรรม (ทาน-ศีล-ภาวนา) อ้างมารดาบิดา ฯ ไม่ได้ (ธนัญชานิ สูตร) 38
การอุทิศส่วนบุญ 40
 การอุทิศทานให้แก่ผูล้ ่วงลับไปแล้ว (ชาณุ สโสณีสตู ร)
 ผูไ้ ด้รบั ส่วนบุญและไม่ได้รบั ส่วนบุญ ตามนัยแห่งคัมภีร์ “มิลินทปั ญหา” 42
 ตัวอย่างการอุทิศส่วนบุญแก่เปรต (ติโรกุฑฑสูตร)
 เปรต รับได้แต่ส่วนบุญ แต่รบั สิ่งของโดยตรงไม่ได้ (ขัลลาติยเปติวตั ถุ) 45
 ผูร้ บั ทานไม่มีศีล อุทิศส่วนบุญไม่ได้ (จูฬเสฏฐีเปตวัตถุ) 48
 เทวดารับส่วนบุญเป็ นบุญ ด้วยการอนุ โมทนา (มัจฉทานชาดก) 49
 ปี ศาจรับอาหารโดยตรง จากที่เขาให้ หรือทิ้ งไว้ เช่น ซากศพ อุจจาระ เศษอาหาร
(จูฬสกุลุทายิสูตร) 50
อานิสงส์แห่งการให้ทานและบูชาพระเจดีย ์ 52
 สังเวชนี ยสถาน ๔ ตาบล (มหาปรินิพพานสูตร)
 ผูค้ วรนาอัฐิธาตุบรรจุสถูปไว้บูชา ๔ จาพวก 53
 เจดีย ์ ๔ ประเภท (กาลิงคชาดก) 54
 จงมีตนเป็ นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็ นที่พึ่ง (จุนทสูตร) 55
 ยอดแห่งการบูชาพระตถาคต คือการประพฤติธรรม (มหาปรินิพพานสูตร) 56

……………………………………………………

~4~
การให้ทาน ทีค่ ณ
ุ อาจไม่รู้ ปรากฏอยูใ่ นพระไตรปิฎก
อานิสงส์ของทาน
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อาทิตตสูตร ส.ส.๑๕/๑๓๕/๓๕
ผลของการให้ทาน
[๑๓๕] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้:-
สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี ครัง้ นัน ้
แล เมือ ่ ปฐมยามล่วงไปแล้ว เทวดาองค์หนึ่ง ซึง่ มีวรรณะงาม ยังพระวิหารเชตวันทัง้ สิน ้ ให้สว่างเข้าไปเฝ้ าพระผูม้ ีพระภาค
เจ้า ครัน ้ แล้วจึงอภิวาทพระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้า แล้วยืนอยู่ ณ ทีค่ วรส่วนข้างหนึ่ง.
[๑๓๖] เทวดานัน ้ ยืนอยู่ ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ในสานักพระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าว่า
เมือ
่ เรือนลูกไฟไหม้แล้ว เจ้าของเรือนขนเอาภาชนะใดออกไปได้ ภาชนะนัน ้ ย่อมเป็ นประโยชน์ แก่เขา ส่วนสิง่ ของที่
มิได้ขนออกไป ย่อมไหม้ในไฟนัน ้ ฉันใด.
โลก (คือหมูส ่ ตั ว์) อันชราและมรณะเผาแล้ว ก็ฉน ้ ควรนาออก (ซึง่ โภคสมบัต)ิ ด้วยการให้ทาน เพราะทานวัตถุที่
ั นัน
บุคคลให้แล้ว ได้ชือ ่ ว่านาออกดีแล้ว. ทานวัตถุทีบ ่ ุคคลให้แล้วนัน้ ย่อมมีสุขเป็ นผล ทีย่ งั มิได้ให้ย่อมไม่เป็ นเหมือนเช่นนั้น
โจรยังปล้นได้ พระราชายังริบได้ เพลิงยังไหม้ได้ หรือสูญหายไปได้.
อนึ่ง บุคคลจาต้องละร่างกายพร้อมด้วยสิง่ เครือ ่ งอาศัยด้วยตายจากไป ผูม ้ ป
ี ญ
ั ญารูช้ ดั ดั่งนี้แล้ว ควรใช้สอยและให้ทาน.
เมือ่ ได้ให้ทานและใช้สอยตามควรแล้ว จะไม่ถูกติฉิน เข้าถึงสถานทีอ ่ น
ั เป็ นสวรรค์.
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทานสูตร ขุ.อิติ.๒๕/๒๐๔/๑๗๕
ถ้าสัตว์รูผ้ ลแห่งการให้ทาน เมื่อยังไม่ให้จะไม่บริโภคเลย
[๒๐๔] .. ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย ถ้าว่าสัตว์ทง้ ั หลายพึงรูผ ้ ลแห่งการจาแนกทาน (แบ่งทรัพย์แก่ผอ ู้ น
ื่ ) เหมือนอย่างเรารูไ้ ซร้
สัตว์ทง้ ั หลายยังไม่ให้แล้ว ก็จะไม่พงึ บริโภค อนึ่ง ความตระหนี่อน ั เป็ นมลทิน จะไม่พงึ ครอบงาจิตของสัตว์เหล่านัน ้ , สัตว์
เหล่านั้น ไม่พึง แบ่งค าข้า วค าหลัง จากคาข้าวนั้นแล้ว (เมื่อยังไม่แ บ่ง คาข้า ว) ก็ จะไม่พึงบริโ ภค ถ้าปฏิคาหกของสัต ว์
เหล่านัน ้ พึงมี
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย แต่เพราะสัตว์ทง้ ั หลายไม่รูผ ้ ลแห่งการจาแนกทาน (ให้ทาน) เหมือนอย่างเรารู้ ฉะนั้น สัตว์
ทัง้ หลายไม่ให้แล้วจึงบริโภค อนึ่ง ความตระหนี่อน ั เป็ นมลทินจึงยังครอบงาจิตของสัตว์เหล่านัน ้ .
พระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าได้ตรัสเนื้อความนี้แล้ว ในพระสูตรนัน ้ พระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าตรัสคาถาประพันธ์ดงั นี้วา่
ถ้าว่าสัตว์ทง้ ั หลาย พึงรูผ้ ลแห่งการจาแนกทาน (ให้ทาน) เหมือนอย่างทีพ ่ ระผูม
้ ีพระภาคเจ้าผูแ ้ สวงหาคุณอันใหญ่ตรัส
แล้ว โดยวิธีทผ ี่ ลนัน
้ เป็ นผลใหญ่ไซร้ สัตว์ทง้ ั หลายพึงกาจัดความตระหนี่ อันเป็ นมลทินเสียแล้ว มีใจผ่องไส พึงให้ทานทีให้
แล้วมีผลมาก ในพระอริยบุคคลทัง้ หลายตามกาลอันควร อนึ่ง ทายกเป็ นอันมาก ครัน ้ ให้ทกั ษิ ณาทาน คือ ข้าวในพระทักษิ
ไณยบุคคลทัง้ หลายแล้ว จุตจิ ากความเป็ นมนุษย์นี้แล้ว ย่อมไปสู่สวรรค์ และทายกเหล่านั้น ผู้ใคร่กาม ไม่มีความตระหนี่
ไปสูส ่ วรรค์ แล้วบันเทิงอยูใ่ นสวรรค์นน ้ ั เสวยอยูซ ่ งึ่ ผลแห่งการจาแนกทาน (ให้ทาน).
……………………………………………………
สัตบุรษุ ย่อมให้ทาน เกิดมาเพือ่ เป็นประโยชน์แก่มหาชน
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทุติยสัปปุริสสูตร องฺ .อฏฺฐ.๒๓/๑๒๘/๑๙๐
ผูร้ บั ทานของสัตบุรุษ ๘ ประการ (ที่ ๒)
[๑๒๘] ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย สัปบุรุษเมือ ่ เกิดในตระกูล ย่อมเกิดเพือ่ ประโยชน์ เพือ
่ เกื้อกูล เพือ
่ ความสุข แก่ชนเป็ นอันมาก
คือ ย่อมเกิดเพือ
่ ประโยชน์ เพือ ่ เกื้อกูล เพือ ่ ความสุขแก่มารดาบิดา ๑ แก่บุตรภรรยา ๑ แก่หมูค ่ นผูเ้ ป็ นทาสกรรมกร ๑ แก่
มิตรอามาตย์ ๑ แก่ญาติทลี่ ว่ งลับไปแล้ว ๑ แก่พระราชา ๑ แก่เทวดาทัง้ หลาย ๑ แก่สมณพราหมณ์ ๑
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย มหาเมฆเมือ ่ ตกให้ขา้ วกล้าเจริญงอกงาม ย่อมตกเพือ ่ ประโยชน์ เพือ ่ เกื้อกูล เพือ
่ ความสุขแก่

~5~
ชนเป็ นอันมาก ฉันใด สัปบุรุษก็ฉน ั นั้นเหมือนกัน เมือ ่ เกิดในตระกูล ย่อมเกิดเพือ
่ ประโยชน์ เพือ่ เกื้อกูล เพือ่ ความสุข แก่
ชนเป็ นอันมาก คือ ย่อมเกิดเพือ ่ ประโยชน์ เพือ ่ เกื้อกูล เพือ
่ ความสุข แก่มารดาบิดา... แก่สมณพราหมณ์ .
สัปบุรุษผูม
้ ีปญ
ั ญาอยู่ครองเรือน เป็ นผูไ้ ม่เกียจคร้านทัง้ กลางคืนกลางวัน บาเพ็ ญตนเพือ ่ ประโยชน์ แก่ชนเป็ นอัน
มาก ในชัน ้ ต้นระลึกถึงอุปการะทีท ่ ่านทาไว้ก่อน ย่อมบูชามารดาบิดาโดยชอบธรรม สัปบุรุษผูม ้ ศ
ี รัทธาตัง้ มั่นแล้ว มีศลี เป็ น
ที่ร กั ทราบธรรมเล้ว ย่อ มบูช าบรรพชิต ผู้ไ ม่ค รองเรื อ น ไม่มีบ าปประพฤติพ รหมจรรย์ สัป บุรุ ษ นั้น เป็ นผู้เ กื้ อ กู ล ต่อ
พระราชา ต่อเทวดา ต่อญาติและสหายทัง้ หลาย ตัง้ มั่นแล้วในสัทธรรม เป็ นผูเ้ กื้อกูลแก่คนทัง้ ปวง สัปบุรุษนัน ้ กาจัดมลทิน
คือความตระหนี่ได้แล้ว ย่อมประสบโลกอันเกษม.
อรรถกถาสัปปุรสิ ทานสูตร (ที่ ๒) เล่ม ๓๗ หน้า ๔๙๑ มมร.
บทว่า อตฺถาย ได้แก่ เพื่อต้องการประโยชน์. บทว่า หิตา สุขาย ได้แก่ เพื่อต้องการเกื้อกูล เพื่อต้องการสุข. บทว่า
ปุพฺพ เปตาน ได้แก่ พวกญาติผู้ไปสู่ปรโลก. ในพระสูตรนี้ เมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่อุบัติ ย่อมได้แก่พระเจ้าจักรพรรดิ์ พระ
โพธิสัตว์ พระปัจเจกพุทธเจ้า ในครั้งพุทธกาล ย่อมได้แก่พระพุทธเจ้า และสาวกของพระพุทธเ จ้า. ก็ท่านเหล่านั้น ย่อม
เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อเกื้อกูล เพื่อสุขแก่ญาติเหล่านั้นตามที่กล่าวแล้ว. บทว่า พหนุน วต อตฺถ าย สปฺป ฺ ฆรมาวส
ได้แก่ บุคคลผู้มีปัญญา เมื่ออยู่ครองเรือน ย่อมอยู่เพื่อประโยชน์แก่ชนหมู่มากเท่านั้น. ..
……………………………………………………
ผลแห่งทานทีเ่ ห็นได้ในปัจจุบนั ๕ ประการ
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] สีหสูตร องฺ .ปญฺ จก.๒๒/๓๔/๓๖
[๓๔] สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ทีก ่ ูฏาคารศาลาป่ ามหาวัน. ใกล้เมืองเวสาลี ครัง้ นัน ้ แล สีหเสนาบดี
เข้าไปเฝ้ าพระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าถึงทีป่ ระทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง ครัน ้ แล้วได้ทูลถามว่า
ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าทรงสามารถบัญญัตผ ิ ลแห่งทานทีจ่ ะพึงเห็นได้ในปัจจุบน ั หรือหนอ พระ
ผูม
้ พ
ี ระภาคตรัสว่า สามารถ ท่านสีหเสนาบดี แล้วจึงตรัสต่อไปว่า
ดูก่อนท่านสีหเสนาบดี ทายกผูเ้ ป็ นทานบดี ย่อมเป็ นทีร่ กั ทีช ่ อบใจของชนเป็ นอันมาก แม้ขอ ้ นี้เป็ นผลแห่งทานทีจ่ ะ
พึงเห็นเอง.
อีกประการหนึ่ง สัตบุรุษผูส ้ งบย่อมคบหาทายกผูเ้ ป็ นทานบดี แม้ขอ ้ นี้ก็เป็ นผลแห่งทานทีจ่ ะพึงเห็นเอง.
อีกประการหนึ่ง กิตติศพ ั ท์อน ั งามของทายกผูเ้ ป็ นทานบดียอ ่ มขจร แม้ขอ ้ นี้ก็เป็ นผลแห่งทานทีจ่ ะพึงเห็นเอง.
อีกประการหนึ่ง ทายกผูเ้ ป็ นทานบดี จะเข้าไปอยู่ทีป ่ ระชุมใด ๆ คือ ทีป ่ ระชุมกษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดี สมณะ ก็
ย่อมเป็ นผูอ ้ งอาจไม่เก้อเขินเข้าไป แม้ขอ ้ นี้ก็เป็ นผลแห่งทานทีจ่ ะพึงเห็นเอง.
อีกประการหนึ่ง ทายกผูเ้ ป็ นทานบดี เมือ ่ ตายไปแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ แม้ขอ ้ นี้ก็เป็ นผลแห่งทานที่จะพึง
ได้ในสัมปรายภพ.
เมือ่ พระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าตรัสดังนี้แล้ว สีหเสนาบดีจงึ ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ผลแห่งทานทีจ่ ะพึงเห็นเอง ๔ ข้อ
เหล่านี้ พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าได้ตรัสบอกแล้ว ข้าพระองค์ย่อมเชือ ่ ต่อผูม้ ีพระภาคเจ้าในผลแห่งทาน ๔ ข้อนี้ ก็หามิได้ แม้ขา้
พระองค์เองก็ทราบดี คือ ข้าพระองค์เป็ นทายก เป็ นทานบดี ย่อมเป็ นทีร่ กั เป็ นทีช ่ อบใจของชนเป็ นอันมาก สัตบุรุษผู้สงบ
ย่อมคบหาข้าพระองค์ ผูเ้ ป็ นทายกเป็ นทานบดี กิตติศพ ั ท์อนั งามของข้าพระองค์ผเู้ ป็ นทายก เป็ นทานบดี ย่อมขจรทั่วไปว่า
สีหเสนาบดีเป็ นทายก เป็ นทานบดี เป็ นผูบ ้ ารุงพระสงฆ์ ข้าพระองค์ผเู้ ป็ นทายก เป็ นทานบดี จะเข้าไปสูท ่ ีป
่ ระชุมใด ๆ คือที่
ประชุมกษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดี สมณะ ก็ยอ ่ มเป็ นผูแ ้ กล้วกล้าไม่เก้อเขินเข้าไป
ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ผลแห่งทานทีจ่ ะพึงเห็นเอง ๔ ข้อนี้ พระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าตรัสบอกแล้ว ข้าพระองค์ยอ ่ มเชือ
่ ต่อ
พระผูม ้ พี ระภาคเจ้าในผลแห่งทาน ๔ ข้อนี้ ก็หามิได้ แม้ขา้ พระองค์เองก็ยอ ่ มทราบดี ส่วนผลแห่งทานทีจ่ ะพึงเห็นเอง (ข้อที่
๕) ทีพ่ ระผูม ้ พี ระภาคเจ้าตรัสบอกข้าพระองค์ว่า ทายกผูเ้ ป็ นทานบดีเมือ่ ตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ข้าพระองค์
ย่อมไม่ทราบ ก็แต่ว่าข้าพระองค์ย่อมเชือ ่ ต่อพระผูม ้ ีพระภาคเจ้าในข้อนี้ . พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าตรัสย้าว่า อย่างนัน ้ ท่านสีหะ
อย่างนัน ้ ท่านสีหะทายกผูเ้ ป็ นทานบดี เมือ่ ตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์.
……………………………………………………

~6~
องค์ประกอบในการให้ทาน ๓ ประการ เป็นเหตุให้ได้บญ
ุ มาก
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] สัมมุขีสูตร องฺ .ติก.๒๐/๔๘๐/๑๔๒
[๔๘๐] ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย เพราะความพร้อมหน้าแห่งวัตถุ ๓ กุลบุตรผูม
้ ีศรัทธาย่อมได้บุญมาก วัตถุ ๓ คืออะไร
คือ ศรัทธา ไทยธรรม และทักษิไณย เพราะความพร้อมหน้าแห่งวัตถุ ๓ นี้แล กุลบุตรผูม ้ ศ
ี รัทธาย่อมได้บญ
ุ มาก.
อรรถกถาสัมมุขีสูตร เล่ม ๓๔ หน้า ๑๙๑ มมร.
บทว่า สมฺมุขภี าวา ความว่า เพราะความพร้อมหน้า อธิบายว่าเพราะความมีอยู่. บทว่า ปสวติ แปลว่า ย่อมกลับได้.
บทว่า สทฺธ าย สมฺมุขีภ าโว ความว่า เพราะถ้าไม่มีศรัทธา ไม่มีไทยธรรม (และ) ไม่มีบุคคลผู้เป็นปฏิคาหก กล่าวคือพระ
ทักขิไณยบุคคลแล้วไซร้ จะพึงกระทาบุญกรรมได้อย่างไร ? แต่เพราะปัจจัย ๓ อย่างนั้นมีพร้อมหน้ากัน จึงสามารถกระทา
บุญกรรมได้ ... และใน ๓ อย่างนี้ ธรรม ๒ อย่าง คือ ไทยธรรม ๑ ทักขิไณยบุคคล ๑ หาได้ง่าย แต่ศรัทธาหาได้ยาก. เพราะ
ปุถุชนมีศรัทธาไม่มั่นคง แตกต่างกันไปตามบทตามบาท. ด้วยเหตุนั้นแล แม้พระอัครสาวกเช่นกับ พระมหาโมคคัลลานะ ไม่
อาจรับรองศรัทธานั้นได้ จึงกล่าวว่า ดูก่อนอาวุโส เรารับรองธรรมของท่านได้ ๒ อย่าง คือ โภคะ ๑ ชีวิต ๑ แต่ตัวท่านเอง
ต้องรับรองศรัทธา ดังนี้.
……………………………………………………
ทานให้ผลในปัจจุบนั เมือ่ ครบองค์ประกอบ ๔ ประการ
๑) ปั จจยสัมปทา สิ่งของที่ได้มาบริสุทธิ์ และเป็ นประโยชน์
๒) เจตนาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยเจตนา ๔ กาล แม้ชีวิตก็สละให้ได้
๓) วัตถุสมั ปทา ผูร้ บั เป็ นพระอรหันต์
๔) คุณาติเรกสัมปทา การออกจากนิ โรธสมาบัติ
อรรถกถาทักขิณาวิภงั คสูตร เล่ม ๒๓ หน้า ๓๙๘ มมร.
จริงอย่างนั้น ทานย่อมให้ผลแก่ผู้อาจเพื่อทาด้วยสัมปทา ๔ ในอัตภาพนั้นแล.(ทานย่อมส่งผลแก่ผู้ให้ในชาตินี้อย่าง
แน่นอน เมื่อถึงพร้อมด้วยเหตุ ๔ อย่าง) สัมปทาในสูตรนี้มีดังนี้ คือ
(๑ ปัจจยสัมปทา) ความที่ไทยธรรมไม่เบียดเบียนผู้อื่น เกิดขึ้นโดยธรรม โดยชอบ, [ได้ของมาโดยสุจริต]
(๒ เจตนาสัมปทา) ความที่เจตนาด้วยอานาจแห่งบุพเจตนาเป็นต้น เป็นธรรมใหญ่ , [มีความตั้งใจอย่างแรงกล้าทั้ง
ก่อนให้ ระหว่างให้ และภายหลังให้ มีจิตยินดี แช่มชื่น ไม่เสียดาย]
(๓ วัตถุสัมปทา) ความเป็นผู้มีคุณอันเลิศยิ่ง โดยความเป็นพระขีณาสพ. [ผู้รับเป็นพระอรหันต์]
(๔ คุณาติเรกสัมปทา) ความถึงพร้อมด้วยวัตถุ โดยความเป็นผู้ออกแล้วจากนิโรธในวันนั้น ดังนี้ . [ผู้รับเพิ่งออกจาก
นิโรธสมาบัติ]
……………………………………………………

~7~
ศรัทธา ( ฝ่ายทายก ผูใ้ ห้ )
เจตนา ๔ กาล
๑) ก่อนให้มีการพิจารณา มีจิตตั้งมัน่ แน่ วแน่ แม้ชีวิตก็สละได้ (อสังขาริกจิต) มีความเชื่อความเลื่อมใสใน
อานิ สงส์แห่งทาน เป็ นสัมมาทิฏฐิ
๒) ระหว่างให้ มีสมาธิ มีจิตผ่องใส เกิดโสมนัส-กอปรด้วยปั ญญารูเ้ ข้าใจ-ให้โดยเคารพ-ให้ดว้ ยมือตน
๓) หลังจากให้แล้ว ไม่เสียดาย ระลึกถึงด้วยจิตที่ผ่องใส เห็นประโยชน์ที่เกิดขึ้ น
๔) แม้ภายหลังระลึกถึงเมื่อไร ก็ยงั จิตให้ผ่องใส มีความเบิกบานเสมอ
เจตนา ๓ กาล - สังคหะ(๑) - หน้าที่ ๘๗
(ก) เจตนาแตกต่างกัน เจตนาในการทากุศลกรรมนัน ้ มี ๓ อย่าง คือ
๑ ปุพพเจตนา ตัง้ ใจก่อนทา
๒ มุญจนเจตนา ตัง้ ใจในขณะทา
๓ อปราปรเจตนา ตัง้ ใจภายหลังทาเสร็จแล้ว
ถ้าเจตนาดีครบทัง้ ๓ กุศลกรรมก็เป็ นชนิดดีเยีย่ ม หรือชนิดอุกฤษฎ์ (ชัน ้ สูงสุด) ถ้าเจตนานัน้ หย่อนไป คือดีบา้ ง
ไม่ดบ ี า้ ง ก็เป็ นชนิดดีธรรมดา คือ ชนิดโอมกะ (ชัน ้ ต่า)
เจตนา ๔ กาล - สังคหะ(๓) - หน้าที่ ๓๔
(๓) มหากุศลกรรม ๘ นี้ แม้ในมหากุศลกรรมอย่างเดีย วกันก็ อ าจให้ผลต่า งกันได้ ถ้าหากว่าเจตนาในการ
กระทานัน ้ ยิง่ หรือหย่อนกว่ากัน กล่าวคือ
๑ บุพพเจตนา ความตัง้ ใจก่อนกระทา
๒ มุญจนเจตนา ความตัง้ ใจสละในขณะกระทา
๓ อปรเจตนา ความตัง้ ใจในเมือ่ ได้กระทาเสร็จแล้วใหม่ ๆ และ
๔ อปราปรเจตนา ความตัง้ ใจในเมือ่ กระทาเสร็จแล้วไปนาน ๆ นัน ้
เป็ นเจตนาทีด ่ อ
ี ยูท
่ ุกระยะ ก็นบ
ั ว่าเป็ น อุกกัฏฐะ คือ เป็ นอย่าง อุกฤษฎ์เป็ นอย่างยิง่ ถ้าเจตนานัน
้ หย่อนไปบ้าง ก็
เป็ น โอมกะ ดังจะกล่าวต่อไป
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทานูปปั ตติสูตร องฺ .อฏฺฐก.๒๓/๑๒๕/๑๘๖
การให้ทาน ๘ ประการ เพื่อความต้องการเกิดใหม่ทตี่ า่ งกัน
[๑๒๕] ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย เหตุเกิดขึน ้ แห่งทาน ๘ ประการนี้ ๘ ประการเป็ นไฉน
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ให้ทาน คือ ข้าว น้า ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครือ ่ งลูบไล้ ทีน
่ อน ที่
พัก และเครื่องประทีปแก่สมณะหรือพราหมณ์ เขาให้สงิ่ ใด ย่อมหวั่งสิง่ นั้น เขาเห็ นกษัตริย์มหาศาล พราหมณ์ มหาศาล
หรือคฤหบดีมหาศาล ผูเ้ อิบอิม ่ พรั่งพร้อมบาเรออยู่ดว้ ยกามคุณ ๕ เขามีความปรารถนาอย่างนี้ ว่า โอหนอ เมือ ่ ตายไป ขอ
เราพึงเข้าถึงความเป็ นสหายของกษัตริย์มหาศาล พราหมณ์ มหาศาล หรือคฤหบดีมหาศาล เขาตัง้ จิตอธิษฐาน นึกภาวนาอยู่
จิต ของเขานึ ก น้ อมไปในทางเลว (กามคุณ ๕) ไม่เ จริญ ยิ่ง ขึ้น เมื่อ ตายไป เข้า ย่อ มเข้า ถึง ความเป็ นสหายของกษัตริย์
มหาศาล พราหมณ์ มหาศาล หรือคฤหบดีมหาศาล แต่ขอ ้ นัน
้ เรากล่าวว่าเป็ นของผูม ้ ศ
ี ลี ไม่ใช่ของผูท
้ ุศลี ดูกอ
่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย
ความปรารถนาแห่งใจของบุคคลผูม ้ ศ
ี ีล ย่อมสาเร็จได้เพราะจิตบริสท ุ ธิ ์
ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมให้ทาน คือ ข้าว น้า... เครือ ่ งประทีป แก่สมณะหรือพราหมณ์
เขาให้ส่งใด ย่อมหวังสิง่ นั้น เขาได้สดับมาว่า เทวดาชัน ้ จาตุมมหาราชมีอายุยืน มีผวิ พรรณงาม มีความสุขมาก เขาจึงมี
ความปรารถนาอย่างนี้ ว่า โอหนอ เมื่อตายไป ขอเราพึงเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งเทวดาชัน ้ จาตุมมหาราช เขาตัง้ จิต
อธิษฐาน นึกภาวนาอยู่ จิตของเขานึกน้อมไปในทางทีเ่ ลว ไม่เจริญยิง่ ขึน ้ เมือ
่ ตายไป เขาเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งเทวดา
ชัน
้ จาตุมมหาราช แต่ข้อนั้นเรากล่าวว่าเป็ นของผู้มีศีล ไม่ใช่ของทุศีล ดูก่อนภิก ษุ ท ง้ ั หลาย ความปรารถนาแห่งใจของ
บุคคลผูม
้ ศี ลี ย่อมสาเร็จได้เพราะจิตบริสท ุ ธิ.์
ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมให้ทาน คือ ข้าว น้า... เครือ ่ งประทีป แก่สมณะหรือพราหมณ์

~8~
เขาให้สงิ่ ใด ย่อมหวังสิง่ นัน ้ เขาได้สดับมาว่า เทวดาชัน ้ ดาวดึงส์... ชัน
้ ยามา...ชัน
้ ดุสต ิ ... ชัน
้ นิมนานรดี... ชัน้ ปรนิมมิตว
วัตตี มีอายุยืน มีผวิ พรรณงาม มีความสุขมาก เขาจึงมีความปรารถนาอย่างนี้ว่า โอหนอ เมือ ่ ตายไป ขอเราพึงเข้าถึงความ
เป็ นสหายแห่งเทวดาชัน ้ ปรนิมมิตวสวัตตี เขาตัง้ จิตอธิษฐาน นึกภาวนาอยู่ จิตของเขานึกน้อมไปในทางเลว ไม่เจริญยิง่ ขึน ้
เมือ่ ตายไป เขาเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งเทวดาชัน ้ ปรนิมมิตวสวัตตี แต่ขอ ้ นัน
้ เรากล่าวว่าเป็ นของผูม ้ ีศีล ไม่ใช่ของผูท
้ ุศลี
ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ความปรารถนาแห่งใจของคนผูม ้ ศ
ี ลี ย่อมสาเร็จได้เพราะจิตบริสท ุ ธิ.์
ดูกอ
่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ให้ทาน คือ ข้าว น้า... เครือ ่ งประทีป แก่สมณะหรือพราหมณ์ เขา
ให้สงิ่ ใด ย่อมหวังสิง่ นัน ้ เขาได้สดับมาว่า เทวดาชัน ้ พรหม มีอายุยืน มีผวิ พรรณงาม มีสข ุ มาก เขาจึงมีความปรารถนาอย่าง
นี้วา่ โอหนอ เมือ่ ตายไป ขอเราพึงเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งพรหม เขาตัง้ จิตอธิษฐาน นึกภาวนาอยู่ จิตของเขานึกน้อมไป
ในทางที่เลว ไม่เจริญยิ่งขึน ้ เมือ
่ ตายไป เขาเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งพรหม แต่ข้อนั้น เรากล่าวว่า เป็ นของผู้มีศีล มิใช่
ของผูท ้ ุศีล ของผูป ้ ราศจากราคะ ไม่ใช่ของผูม ้ ีราคะ ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย ความปรารถนาแห่งใจของบุคคลผูศ ้ ีล ย่อมสาเร็จ
ได้เพราะจิตปราศจากราคะ ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย เหตุเกิดขึน ้ แห่งทาน ๘ ประการนี้แล.
อรรถกถาทานูปปั ตติสูตร เล่ม ๓๗ หน้า ๔๘๓ มมร.
.. จริ ง อยู่ เพี ย งทานเท่ า นั้ น ไม่ ส ามารถจะบั ง เกิ ด ในพรหมโลกได้ แต่ ท านย่ อ มเป็ น เครื่ อ งประดั บ แวดล้ อ มของจิ ต
ประกอบด้วยสมาธิและวิปัสสนา แต่นั้นบุคคลผู้มีจิตอ่อนด้วยการให้ทาน เจริญพรหมวิหารบังเกิดในพรหมโลก ...
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทานสูตร องฺ .สตฺ ต.๒๓/๔๙/๕๔
เหตุผลในการให้ทาน ๗ ประเภท
[๔๙] สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภาคประทับอยู่ทฝ ี่ ่ งั สระโบกขรณี ชือ ่ คัคคราใกล้จมั ปานคร ครัง้ นัน ้ แล ... ถึงวันอุโบสถ
อุบาสกชาวเมืองจัมปาพากันเข้าไปหาพระสารีบต ุ รถึงทีอ ่ ยู่ อภิวาทแล้วยืนอยู่ ณ ทีค ่ วรข้างหนึ่ง ลาดับนัน ้ ท่านพระสารีบต ุ ร
พร้อมด้วยอุบาสกชาวเมืองจัมปา เข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ทีค ่ วรข้างหนึ่ง ครัน ้
แล้วได้ทูลถามพระผูม ้ ีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ทานเช่นนัน ้ นั่นแลทีบ ่ ุคคลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก ไม่มี
อานิสงส์มาก พึงมีหรือหนอแล และทานเช่นนัน ้ แล ทีบ ่ ุคคลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มากพึงมีหรือพระ
เจ้าข้า
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรสารีบุตร ทานเช่นนั้นนั่นแลที่บุคคลบางคนในโลกนี้ ให้แล้ว มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์
มาก พึงมี และทานเช่นนัน ้ นั่นแล ทีบ ่ ค
ุ คลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก พึงมี ฯ
สา. ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ อะไรหนอเป็ นเหตุเป็ นปัจจัย เครือ ่ งให้ทานเช่นนัน ้ แล ทีบ ่ ุคคลบางคนในโลกนี้ ให้ แล้ว
มีผลมาก ไม่มอ ี านิสงส์มาก อะไรหนอเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยเครือ ่ งให้ทานเช่นนัน ้ นั่นแล ทีบ ่ คุ คลบางคนในโลกนี้ ให้แล้ว มีผล
มาก มีอานิสงส์มาก ฯ
พ. ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ยังมีความหวังให้ทาน (มีตณ ั หาความอยาก) มีจต ิ ผูกพันในผลให้ทาน มุง่ การ
สั่งสมให้ทาน ให้ทานด้วยคิดว่า เราตายไปจักได้เสวยผลทานนี้ เขาให้ทาน คือ ข้าว น้า ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครือ ่ ง
ลูบไล้ ที่นอน ที่พกั ประทีปและเครื่องอุปกรณ์ แก่สมณะหรือพราหมณ์ ดูกรสารีบุตร เธอจะสาคัญความข้อนั้นเป็ นไฉน
บุคคลบางคนในโลกนี้ พึงให้ทานเห็นปานนี้หรือ ฯ
สา. อย่างนัน ้ พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรสารีบต ุ ร ในการให้ทานนัน ้ บุคคลมีความหวังให้ทาน มีจต ิ ผูกพันในผลให้ทาน มุง่ การสั่งสมให้ทาน ให้ทานด้วยคิด
ว่าตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้ (เพื่อตนเอง) เขาผูน ้ น ้ ั ให้ทานนัน ้ แล้ว เมือ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งเทวดา
ชัน
้ จาตุมมหาราช (เทวโลกชัน ้ ที่ ๑) สิน
้ กรรม สิน ้ ฤทธิ สิน ์ ้ ยศ หมดความเป็ นใหญ่แล้ว ยังเป็ นผูก ้ ลับมา คือ มาสูค ่ วามเป็ น

อย่างนี้
ดูกรสารีบต ุ ร ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ... ไม่มค ี วามหวังให้ทาน ไม่มจี ต ิ ผูกพันในผลให้ทาน ไม่มงุ่ การสั่งสมให้
ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า ตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้ แต่ให้ทานด้วยคิดว่า ทานเป็ นการดี ๒ (ทาตามเขาไป) เขาผูน ้ น ้ั
ให้ทานนัน ้ แล้ว เมือ ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายแห่ง เทวดาชัน ้ ดาวดึงส์ (เทวโลกชัน ้ ที่ ๒) เขาสิน ้ กรรม สิน ์
้ ฤทธิ สิน
้ ยศ
หมดความเป็ นใหญ่แล้ว ยังเป็ นผูก ้ ลับมา คือ มาสูค ่ วามเป็ นอย่างนี้ ฯ
ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่าทานเป็ นการดี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า บิดามารดา
ปู่ ย่าตายายเคยให้เคยทามา เราก็ไม่ควรทาให้เสียประเพณี ๓ (เห็นแก่ส่วนรวม) เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็ น
สหายแห่งเทวดาชัน ้ ยามา (เทวโลกชั้นที่ ๓) เขาสิน ้ กรรม สิน ้ ฤทธิ ์ สิน
้ ยศ หมดความเป็ นใหญ่แล้วยังเป็ นผู้กลับมา คือ มาสู่

~9~
ความเป็ นอย่างนี้ ฯ
ดูกรสารีบต ุ ร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยายเคยให้เคยทามา เราก็
ไม่ควรทาให้เสียประเพณี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากิน สมณะและพราหมณ์ เหล่านี้ ไม่หุงหากิน เราหุงหากินได้จะ
ไม่ให้ทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ ผู้ไม่หุงหาไม่สมควร ๔ (พิจารณาแล้วให้) เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็ น
สหายแห่งเทวดาชัน ้ ดุสติ (เทวโลกชัน้ ที่ ๔) เขาสิน ้ ฤทธิ ์ สิน
้ กรรม สิน ้ ยศหมดความเป็ นใหญ่ แล้วยังเป็ นผูก ้ ลับมา คือ มาสูค ่ วาม
เป็ นอย่างนี้ ฯ
ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่าเราหุงหากินได้ สมณะและพราหมณ์ เหล่านี้ หุง
หากินไม่ได้ เราหุงหากินได้ จะไม่ให้ทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ ผห ู้ ุงหากินไม่ได้ ไม่สมควร แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เราจัก

เป็ นผู้จาแนกแจกทาน เหมื อนฤาษี แต่ครัง้ ก่อน (มี จิตศรัทธา) คือ อัฏฐกฤาษี วามกฤาษี วามเทวฤาษี เวสสามิตรฤาษี
ยมทัคคิฤาษี อังคีรสฤาษี ภารทวาชฤาษี วาเสฏฐฤาษี กัสสปฤาษี และภคุฤาษี บูชามหายัญ ฉะนัน ้ เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ
ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งเทวดาชัน ้ นิมมานรดี (เทวโลกชัน ้ ที่ ๕) เขาสิน ้ กรรม สิน ้ ฤทธิ ์ สิน
้ ยศ หมดความเป็ นใหญ่แล้ว
ยังเป็ นผูก้ ลับมา คือ มาสูค ่ วามเป็ นอย่างนี้ ฯ
ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า เราจักเป็ นผูจ้ าแนกแจกทาน เหมือนอย่างฤาษี
แต่ครัง้ ก่อน คือ อัฏฐกฤาษี ฯลฯและภคุฤาษี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เมือ ่ เราให้ทานอย่างนี้ จิตจะเลื่อมใส เกิดความปลื้มใจ

และโสมนัส (ให้แล้วเบิกบานใจ) เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายแห่งเทวดาชัน ้ ปรนิมมิตวสวัสดี (เทวโลก
้ ที่ ๖) เขาสิน
ชัน ้ กรรม สิน ้ ฤทธิ ์ สิน
้ ยศ หมดความเป็ นใหญ่แล้ว ยังเป็ นผูก ้ ลับมา คือ มาสูค ่ วามเป็ นอย่างนี้ ฯ
ดูกรสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า เมือ ่ เราให้ทานอย่างนี้ จิตจะเลือ ่ มใส เกิดความ

ปลื้มใจและโสมนัส .. แต่ให้ทานเป็ นเครือ ่ งปรุงแต่งจิต (เพื่อคลายโลภะ คลายความกาหนัด เพื่อความบริสุทธิ์แห่งจิต) เขาให้ทาน
เช่นนัน ้ แล้ว เมือ ่ ตายไปย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายแห่ง เทวดาชัน ้ พรหม (เทวโลกชัน ้ ที่ ๗) เขาสิน้ กรรม สิน้ ฤทธิ ์ สิน
้ ยศ หมด

ความเป็ นใหญ่แล้ว เป็ นผูไ้ ม่ตอ ้ งกลับมา คือ ไม่มาสูค ่ วามเป็ นอย่างนี้
ดูกรสารีบุตร นี้แลเหตุปจั จัยเป็ นเครือ ่ งให้ทานเช่นนัน ้ ทีบ ่ ุคคลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มาก
และเป็ นเครือ ่ งให้ทานเช่นนัน ้ ทีบ่ ค
ุ คลบางคนในโลกนี้ให้แล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ
……………………………………………………
อรรถกถาทานสูตร เล่ม ๓๗ หน้า ๑๔๔ มมร.

ทานที่ ๑ ชื่อว่า ตณฺหุตต ฺ ริยทาน การให้อันยิ่งด้วยความอยาก. บทว่า อาคนฺตุ อิตฺถตฺต ความว่า ยังกลับมาเป็นอย่างนี้ คือ
กลั บ มาสู่ ขั น ธปัญจกนี้ (ขั น ธ์ ๕) อี ก . อธิ บ ายว่ า เขาจะไม่ ผุ ด เกิ ด ในภพนั้น อี ก จะไม่ ผุ ด เกิ ด ขึ้ นในภพสูงขึ้น ไป แต่ จะ
กลับมาภพเบื้องต่าเท่านั้น.

ทานที่ ๒ ชื่อว่า วิตฺตีการทาน ให้ด้วยความยาเกรง บทว่า สาหุ ทาน ชื่อว่า ทานนี้ยังประโยชน์ให้สาเร็จดีงาม.

ทานที่ ๓ ชื่อว่า หิโรตฺตปฺปทาน ให้ด้วยละอายและเกรงกลัว

ทานที่ ๔ ชื่อว่า นิรวเสสทาน ให้ด้วยไม่ให้เหลือเศษ

ทานที่ ๕ ชื่อว่า ทกฺขิเณยฺยทาน ให้แก่พระทักขิเณยยบุคคล

ทานที่ ๖ ชื่อว่า โสมนสฺสูปวิจารทาน ให้ด้วยอิงอาศัยโสมนัส

ทานที่ ๗ ชื่อว่า อลงฺการปริวารทาน ให้เป็นเครื่องประดับและเป็นบริวาร (แห่งจิต)
บทว่า จิตฺตาลงฺการ จิตฺตปริกฺขาร ความว่า เป็นเครื่องประดับและเป็นเครื่องแวดล้อมจิต อันสัมปยุตด้วยสมถะและ
วิปัสสนา. บทว่า พฺรหฺมกายิกาน เทวาน สหพฺยต ความว่า เขาไม่อาจเกิดขึ้นในภูมินั้นได้ด้วยทาน ก็เพราะเหตุที่ทานนั้น
เป็นเครื่องประดับจิตอันประกอบด้วยสมถะและวิปัสสนา ฉะนั้น เขาจึงทาฌานและอริยมรรคให้บังเกิด ด้วยจิตอันประดับ
ด้วยทานนั้นแล้ว ย่อมเกิดขึ้นในภูมินั้นด้วยฌาน.

บทว่า อนาคามิ โหติ ความว่า เป็นพระอนาคามี ผู้ไม่กลับมาเพราะฌาน. บทว่า อนาคนฺตา อิตฺถตฺต ความว่า ไม่กลับมาสู่
ภาวะความเป็นอย่างนี้อีก ไม่ผุดเกิดในภพสูง ๆ หรือไม่ผุดเกิดในภพนั้นอีก ย่อมปรินิพพานในภพนั้นเอง.
……………………………………………………

~ 10 ~
พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทานวัตถุสูตร องฺ .อฏฺฐก.๒๓/๑๒๓/๑๘๓
เหตุแห่งการให้ทาน ๘ ประการ
[๑๒๓] ดูกอ
่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ทานวัตถุ ๘ ประการนี้ ๘ ประการเป็ นไฉน คือ
บางคนให้ทานเพราะชอบพอกัน ๑ (ฉันทาคติ)
บางคนให้ทานเพราะโกรธ ๑ (โทสาคติ ตัดราคาญ)
บางคนให้ทานเพราะหลง ๑ (โมหาคติ งมงาย ไม่เข้าใจ)
บางคนให้ทานเพราะกลัว ๑ (ภยาคติ กลัวคานินทา กลัวอบายภูม)ิ
บางคนให้ทานเพราะนึกว่าบิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้มา เคยทามา เราไม่ควรให้เสียวงค์ตระกูลดัง้ เดิม ๑ (เห็น
แก่ตระกูล รักษาชือ
่ เสียง)
บางคนให้ทานเพราะนึกว่า เราให้ทานแล้ว เมือ่ ตายไปจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ๑
บางคนให้ทานเพราะนึกว่า เมือ่ เราให้ทานนี้ จิตใจย่อมเลือ
่ มใส ความเบิกบานใจ ความดีใจ ย่อมเกิดตามลาดับ ๑
บางคนให้ทานเพือ ่ ประดับปรุงแต่งจิต ๑
ดูกอ
่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ทานวัตถุ ๘ ประการนี้แล.
อรรถกถาทานวัตถุสูตร เล่ม ๓๗ หน้า ๔๗๕ มมร.
บทว่า ทานวตฺถน ู ิ ได้แก่ เหตุแห่งการให้ทาน. บทว่า ฉนฺทา ทาน เทติ ความว่า บุคคลไห้ทานเพราะความรัก. บทว่า โท
สา ความว่า เป็นผู้โกรธแล้ว สิ่งใดมีอยู่รีบหยิบเอาสิ่งนั้นให้ไปเพราะโทสะ. บทว่า โมเหน ความว่า เป็นผู้หลงให้ไปเพราะ
โมหะ. บทว่า ภยา ความว่า เพราะกลัวครหา หรือเพราะกลัวอบายภูมิ ก็หรือว่าเพราะกลัวครหาและอบายภูมินั้นนั่นแหละจึง
ให้ไป. บทว่า กุลวส แก่เป็นประเพณีของตระกูล.
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ปฐมทานสูตร องฺ .อฏฺฐก.๒๓/๑๒๑/๑๘๓
เหตุผลในการให้ทาน ๘ ประการ
[๑๒๑] ดูกอ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ทาน ๘ ประการนี้ ๘ ประการเป็ นไฉน คือ
บางคนหวังได้จงึ ให้ทาน ๑ (ให้ทานเพราะบังเอิญได้พบ)
บางคนให้ทานเพราะกลัว ๑ (กลัวคาติฉินนินทา)
บางคนให้ทานเพราะนึกว่า เขาให้แก่เราแล้ว ๑ (ตอบแทนบุญคุณ)
บางคนให้ทานเพราะนึกว่า เขาจักให้ตอบแทน ๑ (หวังผลในอนาคต)
บางคนให้ทานเพราะนึกว่า ทานเป็ นการดี ๑ (คิดว่าดี)
บางคนให้ทานเพราะนึกว่า เราหุงหากิน ชนเหล่านี้หุงหากินไม่ได้ เราหุงหากินได้ จะไม่ให้ทานแก่ชนเหล่านี้ ผูไ้ ม่หุงหา
กินไม่สมควร ๑
บางคนให้ทานเพราะนึกว่า เมือ่ เราให้ทาน กิตติศพ ั ท์อน
ั งามย่อมฟุ้ งไป ๑
บางคนให้ทานเพือ ่ ประดับปรุงแต่งจิต ๑
ดูกอ
่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ทาน ๘ ประการนี้แล.
อรรถกถาปฐมทานสูตร เล่ม ๓๗ หน้า ๔๗๒ มมร.
... บทว่า จิตฺตาลงฺการจิตต
ฺ ปริกข
ฺ ารตฺถ ทาน เทต ความว่า ให้เพื่อประดับและตกแต่งจิตในสมถะและวิปัสสนา. เพราะว่า
ทานย่อมทาจิตให้อ่อนโยน บุคคลผู้ได้รับทาน ย่อมมีจิตอ่อนโยนดีว่าเราได้แล้ว แม้บุคคลให้ทานนั้น ก็ย่อมมีจิตอ่อนโยนว่า
เราให้ทานแล้ว. เพราะฉะนั้น ทานนั้นชื่อว่า ย่อมทาจิตของบุคคลทั้ง ๒ ฝ่ายให้อ่อนโยน เพราะเหตุนั้นนั่นแล. ท่านจึงตรัส
ว่า อทนฺตทมน การฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก ดังพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า.
อทนฺตทมน ทาน อทาน ทนฺตทูสก อเนน ปิยวาเจน โอณมนฺติ มนมฺติ จ.
การให้ทานเป็นเครื่องฝึกจิตที่ยงั ไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทานเป็นเครือ
่ งประทุษร้ายจิตทีฝ
่ ึกแล้ว ชนทั้งหลายมีจิตโอน
อ่อน และน้อมลงด้วยปิยวาจานี้.
ก็บรรดาการให้ทาน ๘ ประการนี้ การให้เพื่อประดับจิตเท่านั้น เป็นสูงสุดแล.
……………………………………………………

~ 11 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อสัปปุริสทานสูตร องฺ .ปญฺ จก.๒๒/๑๔๗/๑๕๕
ลักษณะการให้ทานของอสัตบุรุษและของสัตบุรุษ
[๑๔๗] ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย อสัปปุรส ิ ทาน ๕ ประการนี้ ๕ ประการ เป็ นไฉน คือ อสัตบุรุษย่อมให้โดยไม่เคารพ
(ผูร้ บั ) ๑ ให้โดยไม่ออ ่ นน้อม ๑ ไม่ให้ดว้ ยมือตนเอง ๑ ให้ของทีเ่ ป็ นเดน ๑ ไม่เห็นผลทีจ่ ะพึงมาถึงให้ (ไม่เชือ
่ ผลกรรม) ๑
ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย อสัปปุรส ิ ทาน ๕ ประการนี้แล.
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย สัปปุรส
ิ ทาน ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็ นไฉน คือ สัตบุรุษย่อมให้โดยเคารพ ๑ ให้โดยอ่อน
น้อม ๑ ให้ดว้ ยมือตนเอง ๑ ให้ของไม่เป็ นเดน ๑ เห็นผลทีจ่ ะมาถึงให้ ๑ ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย สัปปุรส
ิ ทาน ๕ ประการนี้แล.
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] สัปปุริสทานสูตร องฺ .ปญฺ จก.๒๒/๑๔๘/๑๕๕
ผลของการให้ทานของสัตบุรุษ ๕ ประการ
[๑๔๘] ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย สัปปุรส ิ ทาน ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็ นไฉน คือ สัตบุรุษย่อมให้ทานด้วยศรัทธา ๑ ย่อม
ให้ทานโดยเคารพ ๑ ย่อมให้ทานโดยกาลอันควร ๑ เป็ นผูม ้ จี ต
ิ อนุเคราะห์ให้ทาน ๑ ย่อมให้ทานไม่กระทบตนและผูอ ้ น
ื่ ๑
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย สัตบุรุษครัน ้ ให้ทานด้วยศรัทธาแล้ว (เชือ ่ ทานและผลแห่งทาน) ย่อมเป็ นผูม ้ ่งั คั่ง มีทรัพย์มาก
มีโภคะมาก และเป็ นผูม ้ รี ูปสวยงามน่ าดู น่ าเลือ ่ มใส ประกอบด้วยผิวพรรณงามยิง่ นัก ในทีท ่ ที่ านนัน้ เผล็ดผล (บังเกิดขึน ้ )
ครัน
้ ให้ทานโดยเคารพแล้ว ย่อมเป็ นผูม ้ ่งั คั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และเป็ นผูม ้ บ
ี ตุ ร ภรรยา ทาส คนใช้หรือคนงาน
เป็ นผูเ้ ชือ
่ ฟัง เงีย่ โสตลงสดับคาสั่ง ตัง้ ใจใคร่รู้ ในทีท ่ ท ี่ านนัน ้ เผล็ดผล
ครัน้ ให้ทานโดยกาลอันควรแล้ว ย่อมเป็ นผูม ้ ่งั คั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และย่อมเป็ นผูม ้ ีความต้องการทีเ่ กิดขึน ้
ตามกาลบริบรู ณ์ ในทีท ่ ท ี่ านนัน้ เผล็ดผล
ครัน ้ เป็ นผูม ้ ีจติ อนุเคราะห์ให้ทานแล้ว (มีจต ิ ไม่เสียดาย คือ สละขาดไปเลย) ย่อมเป็ นผูม ้ ่งั คั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะ
มาก และเป็ นผูม ้ จี ต
ิ น้อมไปเพือ ่ บริโภคกามคุณ ๕ สูงยิง่ ขึน ้ ในทีท ่ ท
ี่ านนัน้ เผล็ดผล
ครัน ้ ให้ทานไม่กระทบคนและผูอ ้ น
ื่ แล้ว (ไม่ลบหลู่เขา) ย่อมเป็ นผูม ้ ่งั คั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และย่อมเป็ นผูม ้ ี
โภคทรัพย์ไม่มภ ี ยันตรายมาแต่ทีไ่ หน ๆ คือ จากไฟ จากน้า จากพระราชา จากโจร จากคนไม่เป็ นทีร่ กั หรือจากทายาท ใน
ทีท
่ ที่ านนัน ้ เผล็ดผล , ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย สัปปุรส ิ ทาน ๕ ประการนี้แล.
……………………………………………………

~ 12 ~
ไทยธรรม ( สิง่ ของทีใ่ ห้ทาน )
วิเคราะห์ ๑. ธรรมทานกับอภัยทาน อย่างไหนมีอานิสงส์สูงกว่ากัน
๒. ธรรมทานและอภัยทาน อย่างไหนเป็นทานทีม่ อี านิสงส์สงู สุด
(ขอตอบก่อนเลยว่า อภัยทานอานิ สงส์สูงกว่าธรรมทาน แต่ ธรรมทาน เป็ นทานที่มีอานิ สงส์สูงสุด ครับ)
ในพระไตรปิ ฎก พระพุทธเจ้าตรัสทานว่ามี ๒ ประเภท คือ
ทานมี ๒ ประเภท (จาแนกโดยสิง่ ที่ให้) องฺ .ทุก.๒๐/๓๘๖/๘๕
[๓๘๖] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ทาน ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็ นไฉน คือ อามิสทาน ๑ ธรรมทาน ๑ ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ทาน ๒
อย่างนี้แล ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย บรรดาทาน ๒ อย่างนี้ ธรรมทานเป็ นเลิศ ฯ
(เช่นเดียวกันใน) ทานสูตร ขุ.อิติ.๒๕/๒๗๘/๒๓๘
[๒๗๘] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ทาน ๒ อย่างนี้ คือ อามิสทาน ๑ ธรรมทาน ๑ ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย บรรดาทาน ๒ อย่างนี้
ธรรมทานเป็ นเลิศ
ตัวอย่าง การใช้สานวนพูดในคาว่า อภัยทาน ในพระไตรปิ ฎก
อนุมานสูตร ม.มู.๑๒/๒๒๑/๑๓๐
[๒๒๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง ท่านพระมหาโมคคัลลานะพานักอยู่ ณ เภสกฬาวัน อันเป็ นสถานทีใ่ ห้
อภัยแก่เนื้อ ตาบลสุงสุมารคิระ ภัคคชนบท
สมุททกสูตร ส.ส.๑๕/๙๐๐/๒๗๓
[๙๐๐] … ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ครัง้ นัน
้ แล พวกฤาษี ผม
ู้ ศ
ี ลี มีกลั ยาณธรรมเหล่านัน
้ พากันคิดเห็นว่า พวกเทวดาตัง้ อยู่
ในธรรม พวกอสูรไม่ตง้ ั อยูใ่ นธรรม ภัยนัน้ พึงเกิดแก่พวกเราเพราะอสูรโดยแท้ อย่ากระนัน ้ เลย พวกเราควรเข้าไปหาท้าว
สมพรจอมอสูรแล้วขออภัยทานเถิด ฯ

ธรรมทานและอภัยทาน อย่างไหนเป็นทานสูงสุด
ในพระไตรปิ ฎก (คาตรัสของพระพุทธองค์) ไม่มีอภัยทาน, พระพุทธองค์ตรัสว่า ทานมี ๒ อย่างคือ
๑.อามิสทาน การให้วตั ถุสิ่งของ และ ๒.ธรรมทาน การให้ธรรมหรือการให้ความรู ้ และตรัสในตอนท้าย ใน
บรรดาทาน ๒ อย่างนี้ ธรรมทานเป็ นเลิศ คือ ประเสริฐที่สุด
สาหรับคาว่า อภัยทาน นั้น เป็ นคาของพระอรรถกถาจารย์ (อาจารย์รุ่นหลังประพันธ์ขึ้น) กล่าวโดย
สานวนพูด ว่า "ให้อภัย" เสริมขึ้ นมาต่างหาก ซึ่งเมื่อจัดโดยประเภทใน บุญกริยาวัตถุ ๓ คือ ทาน ศีล และ
ภาวนา แล้ว อภัยทาน การละความอาฆาตปองร้ายที่มีในใจ จัดเป็ นหมวดจิตตภาวนา คือ การอบรมฝึ กฝน
จิตใจ และหากนามาสู่การแสดงออกด้วยการละการเบียดเบียน ก็จดั อยูใ่ นหมวดศีล นัน่ เอง
ตัวอย่าง ที่มาของอภัยทาน ในอรรถกถา
ในทานบารมีนั้นมีทาน ๓ อย่าง โดยเป็นวัตถุที่ควรให้ คือ อามิสทาน ๑ อภัยทาน ๑ ธรรมทาน ๑. (ขุ.จริยา.อ.
เล่ม ๗๔ หน้า ๖๑๘ มมร.)
ส่วนอภัยทาน พึงทราบโดยความป้องกันจากภัย ที่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย จากพระราชา โจร ไฟ น้า ศัตรู
สัตว์ร้ายมีราชสีห์ เสือโคร่ง เป็นต้น.
ส่วนธรรมทาน ได้แก่การแสดงธรรมไม่วิปริต แก่ผู้มีจิตไม่เศร้าหมอง. การชี้แจงประโยชน์อันสมควร นาผู้ยัง
ไม่เข้าถึงศาสนาให้เข้าถึง ผู้เข้าถึงแล้วให้เจริญงอกงาม ด้วยทิฏฐธรรมิกประโยชน์ สัมปรายิกและปรมัตถประโยชน์
(ขุ.จริยา.อ.เล่ม ๗๔ หน้า ๖๒๑ มมร.)

~ 13 ~
มหาบุรุษนี้เป็นอย่างนี้. มหาบุรุษย่อมให้อภัยทานแก่สรรพสัตว์ด้วยไม่ประพฤติเบียดเบียน. ยังเมตตาภาวนา
ให้สมบูรณ์โดยไม่ยาก. ย่อมบรรลุอานิสงส์เมตตา ๑๑ ประการ. (ขุ.จริยา.อ.เล่ม ๗๔ หน้า ๖๒๙ มมร.)
ชื่ อ ว่ า ศี ล เพราะตนให้อ ภั ย ทานแล้ ว แก่สั ต ว์ ทั้งปวง ท่ า นอธิ บ ายว่ า มี ผ ลมากกว่ า สรณคมน์ นั้ น . (อรรถกถา
เวลามสูตร เล่ม ๓๗ หน้า ๗๘๗ มมร.)

ฉะนั้น ไม่อาจนามาเปรียบกันได้ เพราะเป็ นคนละประเภทแห่งบุญ ทานก็ส่วนทาน การให้ ศีลก็ส่วน


ศี ล การสารวมระวังกายวาจา ภาวนาก็ ส่วนภาวนา การฝึ กอบรมจิตใจและปั ญญา ฉะนั้ น เมื่ อกล่าวให้
ถูกต้อง ต้องกล่าวว่า ธรรมทานเป็ นยอดแห่งทาน ตามที่พระพุทธองค์ตรัส ไม่เป็ นสอง (ไม่อาจเปลี่ยนแปลง
ไปจากนี้ )
ตอนนี้ ขอวิเคราะห์เพิ่ มเติมสักนิ ด เพื่อให้แนวพิจารณาคือ ถ้าถื อเอาแนวอรรถกถา แล้วทาให้พุทธ
พจน์ ตอ้ งเป็ นสองไป เมื่อมีอภัยทาน (การให้อภัย) ได้ ก็ตอ้ งมี เปมทาน (การให้ความรัก) ได้ มีสติทาน
(การให้สติ) เขมทาน (การให้ความปลอดภัย) ปั ญญาทาน (การให้ปัญญา) เมตตาทาน (การให้ความ
เมตตา) สัทธาทาน (ให้ความศรัทธา) ปั สสัทธิทาน (ให้ความสงบ) จิตตลหุทาน (ให้ความเบาใจ) อย่างนี้
ก็ยุง่ กันใหญ่ คือ เติมคาว่า ทาน เข้าไปได้มากมายไม่จบสิ้ น ยุง่ ตายเลย .. ลองพิจารณาเถิด
……………………………………………………
คฤหัสถ์อนุเคราะห์ดว้ ยอามิสทาน สมณะอนุเคราะห์ดว้ ยธรรมทาน
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] สิงคาลกสูตร ที.ปา.๑๑/๑๗๒/๑๓๘
[๒๐๔] ดูกอ ่ นคฤหบดีบุตร สมณพราหมณ์ ผเู้ ป็ นทิศเบือ ้ งบน อันกุลบุตรพึงบารุงด้วยสถาน ๕ คือ
ด้วยกายกรรมประกอบด้วยเมตตา ๑ ด้วยวจีกรรมประกอบด้วยเมตตา ๑ ด้วยมโนกรรมประกอบด้วยเมตตา ๑
ด้วยความเป็ นผูไ้ ม่ปิดประตู ๑ ด้วยให้อามิสทานเนือง ๆ ๑.
ดูกอ่ นคฤหบดีบต ุ ร สมณพราหมณ์ ผเู้ ป็ นทิศเบือ้ งบน อันกุลบุตรบารุงด้วยสถาน ๕ เหล่านี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์
กุลบุตรด้วยสถาน ๖ เหล่านี้ คือ
ห้ามจากความชั่ว ๑ ให้ตง้ ั อยูใ่ นความดี ๑ อนุเคราะห์ดว้ ยใจงาม ๑ ให้ได้ฟงั สิง่ ทีย่ งั ไม่เคยฟัง ๑ ทาสิง่ ทีเ่ คยฟัง
แล้วให้แจ่มแจ้ง ๑ บอกทางสวรรค์ให้ ๑.
พหุการสูตร ขุ.อิติ.๒๕/๒๘๗/๒๔๗
หน้าที่ของภิกษุ การให้ธรรมทาน
(ดังคติทเี่ ป็ นแนวปฏิบตั ิ แห่งความสัมพันธ์แบบอาศัยกัน โดยอามิสทานกับธรรมทาน และเน้นการทาตัวให้เขาเลี้ยงง่าย)
[๒๘๗] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย พราหมณ์ และคฤหบดีท ้งั หลายเป็ นผูม ้ ีอุปการะมากแก่เธอทัง้ หลาย บารุงเธอทัง้ หลายด้วย
จีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร แม้เธอทัง้ หลายก็จงเป็ นผู้มีอุปการะมากแก่พราหมณ์ และคฤหบดี
ทัง้ หลาย จงแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในทีส ่ ุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทัง้ อรรถ พร้อมทัง้
พยัญชนะ บริสท ุ ธิบ ์ ริบรู ณ์ สนิ้ เชิงแก่พราหมณ์ และคฤหบดีเหล่านัน ้ เถิด
ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย คฤหัสถ์และบรรพชิตทัง้ หลาย ต่างอาศัยซึ่งกันและกันด้วยอานาจอามิสทานและธรรมทาน อยู่
ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพือ ่ ต้องการสลัดโอฆะ เพือ ่ จะทาซึง่ ทีส
่ ด
ุ แห่งทุกข์โดยชอบด้วยประการอย่างนี้ ฯ
คฤหัสถ์และบรรพชิตทัง้ หลาย ต่างอาศัยกันและกันทัง้ ๒ ฝ่ าย
ย่อมยังสัทธรรมอันเกษมจากโยคะอย่างยอดเยีย่ มให้สาเร็จ
บรรพชิตทัง้ หลายย่อมปรารถนาเฉพาะจีวร บิณฑบาต ทีน ่ อน ทีน
่ ่งั และคิลานปัจจัย
อันเป็ นเครือ่ งบรรเทาเสียซึง่ อันตรายจากคฤหัสถ์ทง้ ั หลาย
ส่วนคฤหัสถ์ทง้ ั หลายผูอ ้ ยูค
่ รองเรือน อาศัยพระอริยบุคคลผูป ้ ฏิบตั ชิ อบแล้ว
เชือ่ ถือซึง่ ถ้อยคาของพระอรหันต์ทง้ ั หลาย มีปรกติเพ่งพินิจด้วยปัญญาอันบริสท ์ ี
ุ ธิด
ประพฤติธรรมอันเป็ นทางไปสูส ่ ค
ุ ติในศาสนานี้ มีปรกติเพลิดเพลิน เป็ นผูใ้ คร่กามบันเทิงอยูใ่ นเทวโลก ฯ
……………………………………………………
~ 14 ~
ความแตกต่างของวัตถุทาน ๓ ระดับ
ทานบดี “เจ้าแห่งทาน”, ผูเ้ ป็ นใหญ่ในทาน, พึงทราบคาอธิบาย ๒ แง่ คือ ในแง่ที่ ๑ ความแตกต่างระหว่าง ทายก
กับ ทานบดี, “ทายก” คือผูใ้ ห้ เป็ นคากลางๆ แม้จะให้ของของผูอ ้ น
ื่ ตามคาสั่งของเขา โดยไม่มีอานาจหรือมีความเป็ นใหญ่
ในของนัน ้ ก็เป็ นทายก (จึงไม่แน่ ว่าจะปราศจากความหวงแหนหรือมีใจสละจริงแท้หรือไม่) ส่วน “ทานบดี” คือผูใ้ ห้ทีเ่ ป็ น
เจ้าของหรือมีอานาจในของทีจ่ ะให้ จึงเป็ นใหญ่ในทานนัน ้ (ตามปกติตอ ้ งไม่หวงหรือมีใจสละจริง จึงให้ได้)
ในแง่ที่ ๑ นี้ จึงพูดจาแนกว่า บางคนเป็ นทัง้ ทายกและเป็ นทานบดี บางคนเป็ นทายกแต่ไม่เป็ นทานบดี;
ในแง่ที่ ๒ ความแตกต่างระหว่าง ทานทาส ทานสหาย และทานบดี,
 บุคคลใด ตนเองบริโภคของดีๆ แต่แก่ผอ ู้ นื่ ให้ของไม่ดี ทาตัวเป็ นทาสของสิง่ ของ บุคคลนัน ้ เรียกว่า ทานทาส,
 บุคคลใด ตนเองบริโภคของอย่างใด ก็ให้แก่ผอ ู้ น
ื่ อย่างนัน
้ บุคคลนัน ้ เรียกว่า ทานสหาย,
 บุคคลใด ตนเองบริโภคหรือใช้ของตามทีพ ่ อมีพอเป็ นไป แต่แก่ผอ ู้ นื่ จัดให้ของทีด
่ ๆ
ี ไม่ตกอยูใ่ ต้อานาจสิง่ ของ แต่
เป็ นนายเป็ นใหญ่ทาให้สงิ่ ของอยูใ่ ต้อานาจของตน บุคคลนัน ้ เรียกว่า ทานบดี
(จาก พจน์ ศัพท์ รายละเอียด พึงดู ที.อ.๑/ ๒๖๗; สุตต ฺ .อ.๒/๒๓๗; ส.ฏี.๑/๑๖๖; องฺ.ฏี.๓/๒๐)
อรรถกถาเสรีสูตร เล่ม ๒๔ หน้า ๓๗๒ มมร.
บทว่า ทายโก แปลว่า ผู้ให้ทานเป็นปกติ. บทว่า ทานปติ ได้แก่ เป็นเจ้าแห่งทานที่ให้แล้วให้ ไม่ใช่เป็นทาส ไม่ใช่
เป็นสหาย.
จริงอยู่ ผู้ใดบริโภคของอร่อยด้วยตนเอง และให้ของไม่อร่อยแก่ คนอื่น ผู้นั้น ชื่อว่า เป็นทาสแห่งไทยธรรม กล่าวคือ
ทาน ให้ทาน [ทาสทาน].
ก็ผู้ใดบริโภคของใดด้วยตนเองให้ของนั้นนั่นแหละ ผู้นั้นชื่อว่าเป็นสหายให้ทาน [สหายทาน].
ส่วนผู้ใดดารงชีวิตด้วยของนั้นใดด้วยตนเอง และให้ของอร่อยแก่ผู้อื่น ผู้นั้น ชื่อว่าเป็นเจ้า เป็นใหญ่ เป็นนายให้ทาน
[ทานบดี].
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ปฐมสัปปุริสสูตร องฺ .อฏฺฐ.๒๓/๑๒๗/๑๘๙
ลักษณะสิ่งของที่ให้ทานของสัตบุรุษ ๘ ประการ (ที่ ๑)
[๑๒๗] ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย สัปปุรส
ิ ทาน ๘ ประการนี้ ๘ ประการเป็ นไฉน คือ
ให้ของสะอาด ๑ ให้ของประณี ต (สมบูรณ์) ๑ ให้ตามกาล ๑ ให้ของสมควร ๑ เลือกให้ (เลือกสิง่ ของและผูร้ บั ) ๑ ให้เนืองนิตย์ ๑
เมือ่ ให้จต
ิ ผ่องใส ๑ ให้แล้วดีใจ ๑ ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย สัปปุรส
ิ ทาน ๘ ประการนี้แล.
สัปบุรุษย่อมให้ทาน คือ ข้าวและน้าทีส ่ ะอาด ประณี ต ตามกาล สมควร เนืองนิตย์ ในผูป ้ ระพฤติพรหมจรรย์ ผูเ้ ป็ น
เขตดี บริจาคของมากแล้วก็ ไม่รู้สึก เสียดาย ทานผู้มีปญ ั ญาเห็ นแจ้ง ย่อมสรรเสริญทานที่สป ั บุรุษให้แล้วอย่างนี้ เมธาวี
บัณฑิตผูม ้ ศ
ี รัทธา มีใจอันสละแล้ว บริจาคทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มค ี วาม เบียดเบียนเป็ นสุข.
............................................
การให้สงิ่ ทีม่ คี า่ เพือ่ การสร้างบารมี ใน ๓ ระดับ
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] แก้อรรถ ขุ.พุทธ.อ.๗๓ หน้า ๑๕๓ มมร.
บรรดาบารมีเหล่านั้น จะกล่าวทานบารมีก่อน การบริจาคสิ่งของภายนอก ชื่อว่า บารมี.
การบริจาคอวัยวะ ชื่อว่า อุปบารมี.
การบริจาคชีวิต ชื่อว่า ปรมัตถบารมี.
แม้ในบารมีที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน. บารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ รวมเป็นบารมี ๓๐ ทัศ ด้วยประการฉะนี้.
ในบารมี ๓๐ ทัศนั้น อัตภาพของพระโพธิสัตว์ที่ทรงบาเพ็ญทานบารมีก็นับไม่ถ้วน ในสสบัณฑิตชาดก ทานบารมีของ
พระโพธิสัตว์นั้น ผู้ทาการเสียสละชีวิตเป็นปรหิตประโยชน์อย่างนี้ว่า
ภิกข
ฺ าย อุปคต ทิสวฺ า สกตฺตาน ปริจจ ฺ ชึ ทาเนน เม สโม นตฺถิ เอสา เม ทานปารมี.
เราเห็นภิกษุเข้าไปหาอาหาร ก็เสียสละตัวเอง ผูเ้ สมอเราด้วยทานไม่มี
นีเ่ ป็น ทานปรมัตถบารมี ของเรา.
……………………………………………………
~ 15 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] สโมธานกถา จริยาปิ ฎก ขุ.จริยา.๓๓/๓๖/๔๐๖
สรุปการบาเพ็ญบารมี มี ๓ ระดับ
[๓๖] การบาเพ็ญบารมีอน ั เป็ นเครือ
่ งบ่มพระโพธิญาณเหล่านี้ จัดเป็ นบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ คือ
การบาเพ็ญทานในภพทีต ่ ถาคตเป็ นพระเจ้าสิวริ าชผูป
้ ระเสริฐ เป็ นทานบารมี
ในภพทีเ่ ราเป็ นเวสสันดรและเป็ นเวลามพราหมณ์ เป็ นทานอุปบารมี ในภพทีเ่ ราเป็ นอกิตด ิ าบสอดอาหารนัน
้ เป็ น
ทานอุปบารมี
ในภพทีเ่ ราเป็ นพระยาไก่ป่า สีลวนาค (พญาช้าง) และพระยากระต่าย เป็ นทานปรมัตถบารมี
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทูเรนิทาน ตอนท้าย ขุ.ชา.อ.๕๕ หน้า ๗๖ มมร.
พระชาติที่บาเพ็ญทานบารมี และปรมัตถบารมี
เมื่อพระมหาสัตว์ทรงบาเพ็ญบารมีอยู่นั่นแหละ อัตภาพที่ บาเพ็ญทานบารมี คือในกาลเป็นพราหมณ์ชื่ออกิตติ ใน
กาลเป็นพราหมณ์ชื่อสังขะ ในกาลเป็นพระราชาทรงพระนามว่าธนัญชยะ ในกาลเป็นพระเจ้ามหาสุทส ั สนะ ในกาลเป็นมหา
โควินทะ ในกาลเป็นนิมิมหาราช ในกาลเป็นจันทกุมาร ในกาลเป็นวิสัยหเศรษฐี ในกาลเป็นพระเจ้าสิวิราช ในกาลเป็นพระ
เวสสันดรก็เหลือที่จะนับได้
แต่ทานบารมีของพระโพธิสัตว์ผู้กระทาการบริจาคตน ใน สสบัสณฑิตชาดก อย่างนี้ว่า
เราเห็นเขาเข้ามาเพื่อขอ จึงได้บริจาคตัวของตน สิ่งที่เสมอด้วยทานของเราไม่มี นี้เป็นทานบารมีของเรา ดังนี้.
จัดเป็น ปรมัตถบารมีแน่นอน.
(สีลวนาคชาดก ขุ.ชา.๒๗/๗๒/๒๕ อรรถกถาสีลวนาคชาดก เล่ม ๕๖ หน้า ๑๘๒ มมร.)
(สสปัณฑิตจริยา ขุ.จริยา.๓๓/๑๐/๓๘๑ อรรถกถาสสปัณฑิตจริยา เล่ม ๗๔ หน้า ๒๑๙ มมร.)
ความสังเขปในที่นี้มีเพียงเท่านี้. ส่วนโดยพิศดารพึงถือใจความนั้นจากจริยาปิฎก. พระโพธิสัตว์บาเพ็ญบารมีอย่าง
นี้แล้ว ดารงอยู่ในอัตภาพเป็นพระเวสสันดร กระทาบุญใหญ่ อันเป็นเหตุให้แผ่นดินใหญ่ไหวอย่างนี้ว่า
แผ่นดินนี้ไม่มีจิตใจ ไม่รับรู้สุขทุกข์ แม้แผ่นดินนั้นก็ได้ไหวแล้วถึง ๗ ครั้ง เพราะอานาจแห่งทานของเรา ดังนี้
ในเวลาสิ้นสุดแห่งอายุ จุติจากนั้นได้ไปเกิดในดุสิตพิภพ. จาเดิมแต่บาทมูลของพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่าทีปัง
กร จนถึงพระโพธิสัตว์นี้เกิดในดุสิตบุรี ข้อนั้นพึงทราบว่า ชื่อทูเรนิทาน.
……………………………………………………
มหาบริจาค การสละอย่างใหญ่ของพระโพธิสตั ว์ตามทีอ่ รรถกถาแสดงไว้มี ๕ อย่างคือ
๑. ธนบริจาค สละทรัพย์สมบัตเิ ป็ นทาน (พจน์ ศัพท์)
๒. อังคบริจาค สละอวัยวะเป็ นทาน
๓. ชีวต
ิ บริจาค สละชีวต
ิ เป็ นทาน
๔. บุตรบริจาค สละลูกเป็ นทาน
๕. ทารบริจาค สละเมียเป็ นทาน
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อรรถกถาพรหมชาลสูตร ที.สี.อ.เล่ม ๑๑ หน้า ๑๗๒ มมร.
พระผู้มีพระภาคพระวิปัสสี ฯลฯ พระผู้มีพระภาคพระกัสสปะ ทรงบาเพ็ญทานบารมี ทรงบาเพ็ญศีลบารมี เนกขัมม
บารมี ปัญญาบารมี วิริยบารมี ขันติบารมี สัจจบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี และอุเบกขาบารมี ทรงบาเพ็ญบารมี ๓๐
ทัศเหล่านี้ คือ บารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ ทรงบริจาคมหาบริจาค ๕ ประการ คือ บริจาคอวัยวะ บริจาคทรัพย์
บริจาคลูก บริจาคเมีย บริจาคชีวิต ทรงบาเพ็ญบุพประโยค บุพจริยา การแสดงธรรม และญาตัตถจริยา เป็นต้น ทรงถึงที่สุด
แห่งพุทธจริยา เสด็จมาแล้วอย่างใด พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้ของเราทั้งหลาย ก็เสด็จมาเหมือนอย่างนั้น.

[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อรรถกถามูลปริยายสูตร ม.มู.อ.เล่ม ๑๗ หน้า ๑๐๖ มมร.


พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า วิปัสสี ฯลฯ ปรมัตถบารมี ๑๐ ทั้งได้ทรงบาเพ็ญมหาบริจาค ๕ อย่างเหล่านี้ คือ
ทรงบริจาคอวัยวะ ดวงพระเนตร พระราชทรัพย์ ราชสมบัติ โอรสและมเหสี ฯลฯ
……………………………………………………
~ 16 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] มัจฉริสูตร ส.ส.๑๕/๘๖/๒๑
ทานที่ได้มาโดยไม่บริสุทธิ์มีผลน้อย
[๘๖] สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าประทับ อยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี ครัง้
นัน ้ แล เมือ่ ปฐมยามล่วงไปแล้ว พวกเทวดาสตุลลปกายิกามากด้วยกัน มีวรรณะงาม ยังพระวิหารเชตวันทัง้ สิน ้ ไปสว่าง เข้า
ไปเฝ้ าพระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้า ครัน ้ แล้วจึงถวายอภิวาทพระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้า แล้วยืนอยู่ ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง.
[๘๗] เทวดาองค์หนึ่ง ครัน ้ ยืนอยู่ ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสานักพระผูม ้ พ ี ระภาคว่า
เพราะความตระหนี่ และความประมาทอย่างนี้ บุคคลจึงให้ทานไม่ได้ บุคคลผูห ้ วังบุญ รูแ ้ จ้งอยู่ พึงให้ทานได้.
[๘๘] ในลาดับนัน ้ แล เทวดาอืน ่ อีก ได้กล่าวคาถาทัง้ หลายนี้ในสานักพระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้าว่า
คนตระหนี่กลัวภัยใดย่อมให้ทานไม่ได้ ภัยนัน ้ นั่นแลย่อมมีแก่คนตระหนี่ผไู้ ม่ ให้ทาน คนตระหนี่ย่อมกลัวความ
หิวและความกระหายใด ความหิวและความกระหายนัน ้ ย่อมถูกต้องคนตระหนี่นน ้ ั นั่นแลผูเ้ ป็ นพาลทัง้ ในโลกนี้และในโลก
หน้า ฉะนัน ้ บุคคลควรกาจัดความตระหนี่อน ั เป็ นสนิมในใจ ให้ทานเถิด เพราะบุญทัง้ หลายย่อมเป็ นทีพ ่ งึ่ ของสัตว์ทง้ ั หลาย
ในโลกหน้า.
[๘๙] ในลาดับนัน ้ แล เทวดาอืน ่ อีก ได้กล่าวคาถาทัง้ หลายนี้ในสานักพระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้าว่า
ชนทัง้ หลายเหล่าใด เมือ ่ ของมีน้อย ก็แบ่งให้ เหมือนพวกเดินทางไกลก็แบ่งของให้แก่พวกทีเ่ ดินทางร่วมกัน, ชน
ทัง้ หลายเหล่านัน ้ เมือ่ บุคคลทัง้ หลายเหล่าอืน ่ ตายแล้ว ก็ชอ ื่ ว่าย่อมไม่ตาย ธรรมนี้เป็ นของบัณฑิตแต่ปางก่อน ชนพวกหนึ่ง
เมือ ่ ของมีน้อยก็แบ่งให้ ชนพวกหนึ่งมีของมาก ก็ไม่ให้ ทักษิณาทีใ่ ห้แต่ของน้อย นับเสมอด้วยพัน.
[๙๐] ในลาดับนัน ้ แล เทวดาอืน ่ อีก ได้กล่าวคาถาทัง้ หลายนี้ในสานักพระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้าว่า
ทาน พวกพาลชนเมือ ่ ให้ ให้ได้ยาก, กุศลธรรม พวกพาลชนเมือ ่ ทา ทาได้ยากพวกอสัตบุรุษย่อมไม่ทาตามธรรม
ของสัตบุรุษ อันพวกอสัตบุรุ ษดาเนิ นตามได้แ สนยาก เพราะฉะนั้น การไปจากโลกนี้ ของพวกสัตบุรุ ษและของพวกอ
สัตบุรุษจึงต่างกัน พวกอสัตบุรุษย่อมไปสูน ่ รก พวกสัตบุรุษย่อมเป็ นผูด ้ าเนินไปสูส ่ วรรค์.
ในลาดับนัน ้ แล เทวดาอืน ่ อีก ได้กราบทูลคานี้กะพระผูม ้ พี ระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระผูม ้ พี ระภาคเจ้า คาของใครหนอ
แลเป็ นสุภาษิต.
[๙๑] พระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้าตรัสว่า คาของพวกท่านทัง้ หมดเป็ นสุภาษิตโดยปริยาย ก็แต่พวกท่านจงพึงคาของเราบ้าง
บุคคลแม้ใด พึงประพฤติธรรม ประพฤติสะอาด เป็ นผูเ้ ลี้ยงภริยา และเมือ่ ของมีน้อยก็ไห้ได้ เมือ่ บุรุษ (ผูไ้ ม่ประพฤติ
ธรรม) แสนหนึ่งบูชาภิก ษุ พน ั หนึ่ ง หรือบริจาคทรัพย์ พน ั กหาปณะ การบูชาของบุคคลเหล่านั้น ย่อมไม่ถึงส่วนร้อย ของ
บุคคลอย่างนัน ้ . (ผูป้ ระพฤติธรรม)
[๙๒] ในลาดับนัน ้ แล เทวดาอืน ่ อีก (เกิดความสงสัย)ได้กล่าวกะพระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าด้วยคาถาว่า
การบูชาอันไพบูลย์ใหญ่โตนี้ ย่อมไม่เท่าถึงส่วนแห่งทานทีบ ่ ุคคลให้ดว้ ยความประพฤติธรรม เพราะเหตุอะไร?
เมือ่ บุรุษ (ผูไ้ ม่ประพฤติธรรม) แสนหนึ่งบูชาภิกษุ พน ั หนึ่ง หรือบริจาคทรัพย์พน ั กหาปณะ การบูชาของบุรุษเหล่านัน ้ ย่อมไม่ถงึ
ส่วนร้อยของบุคคลอย่างนัน ้ .(ผูป้ ระพฤติธรรม)
[๙๓] ในลาดับนัน ้ แล พระผูม ้ พี ระภาคเจ้าไค้ตรัสกะเทวดานัน ้ ด้วยพระคาถาว่า
บุคคลเหล่าหนึ่ง ตัง้ อยู่ในกรรม ปราศจากความสงบ (ปราศจากธรรม) โบยเขา ฆ่าเขา ทาให้เขาเศร้าโศกแล้วให้
ทาน ทานนัน ้ จัดว่าทานมีหน้านองด้วยน้าตา จัดว่าทานเป็ นไปกับด้วยอาชญา จึงย่อมไม่ เท่าถึงส่วนแห่งทานทีใ่ ห้ดว้ ยความ
สงบ (ประพฤติธ รรม) เมื่อบุรุษ (ผู้ประมาท) แสนหนึ่ งบูชาภิก ษุ พน ั หนึ่ ง หรื อบริจาคทรัพย์ พน ั กหาปณะ การบูชาของบุรุ ษ
เหล่านัน ้ ย่อมไม่ถงึ ส่วนร้อยของบุคคลอย่างนัน ้ (ผูป้ ระพฤติธรรม) โดยนัยอย่างนี้.
อรรถกถามัจฉริสูตร เล่ม ๒๔ หน้า ๑๖๔ มมร.
บทว่า สตสหสฺสาน แปลว่า เมื่อบุรุษแสนหนึ่ง.. บทว่า สหสฺสยาคิน แปลว่า บูชาภิกษุพันหนึ่ง .. หรือว่าการบูชาอันเกิด
แต่การบริจาคทรัพย์พันกหาปณะ.. ย่อมเป็นอันแสดงถึง บิณฑบาตสิบโกฏิ* หรือว่าสิบโกฏิแห่งกหาปณะ ๑. คาว่า สิบโกฏินี้
หมายเอาส่วนที่ให้ผลเป็นพันส่วน แล้วคูณด้วยบุรุษแสนหนึ่ง.
ตรัสว่า บุคคลเหล่าใด ย่อมให้ของมีประมาณเท่านี้ บุคคลเหล่านั้นย่อมไม่ถึงค่าแม้ส่วนร้อย ของบุคคลอย่างนั้น. บุคคล
นี้ใดเมื่อประพฤติธรรม ย่อมประพฤติสะอาด เลี้ยงดูภรรยา แม้ของมีน้อยก็ยังให้ได้ การบูชาภิกษุพันหนึ่งนั้น ย่อมไม่ถึงค่า
แม้ส่วนร้อยของบุคคลผู้ประพฤติธรรมนั้น.
อีกอย่างหนึ่ง ทานอันใด สักว่าของผู้คุ้นเคยกันเพียงคนหนึ่งก็ดี (ปาฏิปุคลิกทาน) สักว่าเป็นสลากภัตก็ดี อันบุคคลผู้
ยากจนให้แล้ว ทานทั้งหลายของบุคคลเหล่านั้นแม้ทั้งหมด* ย่อมไม่ถึงค่าส่วนร้อยของทานอันผู้ยากจนให้แล้ว.
๑. ทานทั้งหมดนี้ หมายเอาทานที่บุรุษแสนหนึ่ง บูชาภิกษุพันหนึ่งด้วย.

~ 17 ~
ชื่อว่า กล แปลว่า ส่วนหนึ่งนั้น แบ่งออกเป็น ๑๖ ส่วนบ้าง เป็น ๑๐๐ ส่วนบ้างเป็น ๑,๐๐๐ ส่วนบ้าง ในที่นี้พระผู้มีพระ
ภาคเจ้าทรงถือเอาส่วนแห่งร้อย ตรัสว่า ทานอันใด อันผู้ยากจนนั้นให้แล้ว ในเพราะทานนั้น ท่านจาแนกแล้วร้อยส่วน การ
ให้บิณฑบาตโดยรวมตั้งสิบโกฏิของบุคคลนี้ ก็ไม่ถึงค่าแม้ส่วนหนึ่งแห่งทาน อันผู้ยากจนนั้นให้แล้ว.
เมื่อพระตถาคต ทรงทาอยู่ซึ่งทานอันหาค่ามิได้อย่างนี้แล้ว เทวดาผู้ยืนอยู่ ณ ที่ใกล้ จึงคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ยัง
มหาทานอย่างนี้ให้เป็นไปด้วยคาถาบาทหนึ่ง ดุจเอาวัตถุอันประกอบไปด้วยรัตนะตัง้ ร้อยใส่เข้าไปในนรก ซัดไปซึ่งทานอัน
มากอย่างนี้ว่า มีประมาณนิดหน่อยอย่างนี้ ดุจประหารอยู่ซึ่งมณฑลแห่งพระจันทร์ จึงกล่าวคาถาว่า
การบูชาอันไพบูลย์นี้ อันใหญ่โตนี้ ย่อมไม่เท่าถึงส่วนแห่งทานที่บุคคลให้ด้ว ยความประพฤติธรรม เพราะเหตุไร เมื่อ
บุรุษแสนหนึ่งบูชาภิกษุพันหนึ่ง หรือบริจาคทรัพย์พันกหาปณะ การบูชาของบุรุษเหล่านั้น ย่อมไม่ถึงส่วนร้อยของบุคคล
อย่างนั้น. ... ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงจาแนกทานแสดงแก่เทวดานั้น จึงตรัสว่า
ททนฺติ เหเก วิสเม นิวิฏฺ า ฆตฺวา วธิตว
ฺ า อถ โสจยิตว
ฺ า
สา ทกฺขณิ า อสฺสุมข
ุ า สทณฺฑา สเมน ทินฺนสฺส น อคฺฆเม.
บุคคลเหล่าหนึ่ง ตั้งอยู่ในกรรมปราศจากความสงบ โบยเขา ฆ่าเขา ทาให้เขาเศร้าโศกแล้วให้ทาน ทานนั้นจัดว่าทาน
มีหน้าอันนองด้วยน้าตา จัดว่าทานเป็นไปกับด้วยอาชญา จึงไม่เท่าถึงส่วนแห่งทานที่ให้ด้วยความสงบ.
.. ก็แต่มหาทานนี้ ชื่อว่ามีผลน้อยอย่างนี้ เพราะความไม่บริสุทธิ์เกิดขึ้นแก่ตน ทานน้อยนี้ ชื่อว่ามีผลมากอย่างนี้ เพราะ
ความบริสุทธิ์เกิดขึ้นแก่ตน ดังนี้ ...
……………………………………………………
อรรถกถาเวลามสูตร เล่ม ๓๗ หน้า ๗๗๙ มมร.
ส่วนทานเหล่าใด ที่เห็นแล้วว่า มิใช่ทานคือ
(๑) อิตถีทาน (การให้สตรีเป็นทาน)
(๒) อุสภทาน (การให้โคอุสภะเป็นทาน)
(๓) มัชชทาน (การให้น้าเมาเป็นทาน)
(๔) สมัชชทาน (การให้การเล่นมหรสพเป็นทาน)
เวลามะนี้ได้ให้ทานแม้เหล่านั้น เพื่อเป็นบริวารเพื่อตัดคาพูดว่า ชื่อว่าสิ่งนี้ ให้เหตุแห่งทานของเวลามะย่อมไม่มี.
……………………………………………………
ทานทีใ่ ห้จนล้น ให้เกินไปไม่เป็นบุญ
วรรคที่ ๓ (มิจฉาทิฏฐิก)บุคคลคนเดียวที่เกิดขึ้ นแล้วยังความพินาศแก่โลก องฺ .เอก.๒๐/๑๙๑/๓๕
(เล่ม ๓๓ หน้า ๑๙๔ มมร. อรรถกถาสูตรที่ ๕)
บทว่า ทายเกน มตฺตา ชานิตพฺพา ความว่า บุคคลผู้ให้พึงรู้ประมาณคือพึงให้พอประมาณ ให้จนเต็ม ไม่ควรให้จน
ล้น แต่ไม่กล่าวว่าไม่พึงให้ ดังนี้ กล่าวว่าพึงให้หน่อยหนึ่ง ๆ พอประมาณ. ถามว่า เพราะเหตุไร. ตอบว่า เพราะเมื่อเต็มแล้ว
แม้จะให้เกินไป มนุษยสมบัติ ทิพยสมบัติ หรือนิพพานสมบัติที่เกินไปย่อมไม่มี.
บทว่ า โน ปฏิ คฺค าหเกน ความว่ า ก็ ส าหรั บ ปฏิ ค าหก ชื่ อ ว่ า กิ จ ในการรู้ จั กประมาณแล้ วรั บ เอาย่ อมไม่ มี . ถามว่า
เพราะเหตุไร. ตอบว่า เพราะขึ้นชื่อว่าปฏิปทาในความเป็นผู้มักน้อย ซึ่งมีมูลมาแต่การรู้ประมาณ เต็มแล้วรับพอประมาณ
ย่อมไม่มีแก่ปฏิคาหกนั้น. แต่ว่าได้เท่าใด ควรรับเอาเท่านั้น. เพราะเค้ามูลในการรับอย่างเหลือล้น สาหรับปฏิคาหกนั้น จัก
เป็นการรับเพื่อเลี้ยงบุตรและภรรยาไป.
บทว่า ปฏิคฺคาหเกน มตฺตา ชานิตพฺพา ความว่า บุคคลผู้เป็นปฏิคาหก พึงรู้ประมาณ. พึงรู้อย่างไร. คือเมื่อจะรับ
ต้องรู้อานาจของผู้ให้ ต้องรู้อานาจ (ความมากน้อย) ของไทยธรรม ต้องรูก ้ าลังของตน.
(๑) ก็ ถ้ า ไทยธรรมมี มาก ผู้ ให้ต้ อ งการให้น้ อ ยไซร้ ควรรั บ เอาแต่น้ อ ยตามอ านาจของผู้ ให้ . (๒) ไทยธรรมมี น้ อ ย ผู้ ให้
ต้องการให้มาก ควรรับเอาแต่น้อยตามอานาจของไทยธรรม.
(๓) แม้ไทยธรรมก็มาก แม้ผู้ให้ก็ต้องการจะให้มาก ปฏิคาหกควรรู้กาลังของตนแล้วรับเอาพอประมาณ ก็เมื่อรู้ประมาณ
อย่างนี้แล้วรับเอา ย่อมทาปฏิปทาคือความมักน้อยให้เต็มบริบูรณ์. ลาภย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ไม่เคยมีลาภเกิดขึ้นแล้ว ลาภ
ที่เกิดขึ้นแล้วย่อมอยู่มั่นคง. บุคคลผู้ที่ยังไม่เลื่อมใสก็เลื่อมใส บุคคลผู้ที่เลื่อมใสแล้วก็เลื่อมใสยิ่งขึ้น เป็นประหนึ่งบุคคลผู้
เป็นที่สนใจของมหาชน กระทาพระศาสนาให้ดารงอยู่ตลอดกาลนาน
……………………………………………………
~ 18 ~
ทักษิณา ( ฝ่ายปฏิคาหก ผูร้ บั ทาน )
[พจน์ ธรรม] ทาน ๒ อย่าง (จาแนกโดยผูร้ บั ทาน) ม.อุ.๑๔/๗๑๐-๓
๑. ปาฏิบุคลิกทาน (การให้จาเพาะบุคคล, ทานที่ให้เจาะจงตัวบุคคลหรือให้เฉพาะแก่บุคคลผูใ้ ดผูห้ นึ่ ง)
๒. สังฆทาน (การให้แก่สงฆ์, ทานที่ถวายแก่สงฆ์เป็ นส่วนรวม หรือให้แก่บุคคล เช่นพระภิกษุ หรือภิกษุ ณีอย่างเป็ น
กลางๆ ในฐานะเป็ นตัวแทนของสงฆ์ โดยอุทิศต่อสงฆ์ ไม่เจาะจงรูปใดรูปหนึ่ ง)
ในบาลีเดิมเรียกปาฏิบุคลิกทานว่า ปาฏิปุคฺคลิกา ทกฺ ขณ
ิ า (ของถวายหรือของให้ที่จาเพาะบุคคล) และเรียก
สังฆทาน ว่า สงฺ ฆคตา ทกฺ ขณ
ิ า (ของถวายหรือของให้ที่ถึงในสงฆ์)
ในทาน ๒ อย่างนี้ พระพุทธเจ้าตรัสสรรเสริญสังฆทานว่าเป็ นเลิศ มีผลมากที่สุด ดังพุทธพจน์วา่ "เราไม่กล่าวว่า
ปาฏิบุคลิกทานมีผลมากกว่าของที่ให้แก่สงฆ์ ไม่วา่ โดยปริยายใดๆ" และได้ตรัสชักชวนให้ให้สงั ฆทาน
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทักขิณาวิภงั คสูตร ม.อุ.๑๔/๗๐๖/๓๔๒
การจาแนกปาฏิปุคคลิกทาน และสังฆทาน
[๗๐๖] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภาคประทับอยู่ทีพ ่ ระวิหารนิโครธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ ในสักกชนบท สมัยนัน ้ แล พระ
นางมหาปชาบดีโ คตมี ท รงถื อ ผ้า ห่ ม คู่ห นึ่ ง เข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ แล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค
ประทับนั่ง ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง พอประทับนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้กราบทูลพระผูม ้ ีพระภาคดังนี้ ว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ
ผ้าใหม่คน ู่ ี้หม่อมฉันกรอด้าย ทอเอง ตัง้ ใจอุทศ ิ (ให้) พระผูม ้ พี ระภาค ขอพระผูม้ พี ระภาคทรงอาศัยความอนุเคราะห์ โปรด
รับผ้าใหม่ทง้ ั คูข ่ องหม่อมฉันเถิด ฯ
[๗๐๗] เมือ ่ พระนางกราบทูลแล้วอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสดังนี้ ว่า ดูกรโคตมีพระนางจงถวายสงฆ์เถิด เมือ ่
ถวายสงฆ์แล้ว จักเป็ นอันพระนางได้บช ู าทัง้ อาตมภาพและสงฆ์
พระนางมหาปชาบดีโคตมี ได้กราบทูลพระผูม ้ ีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ผ้าใหม่คน ู่ ี้หม่อมฉันกรอด้าย
ทอเอง ตัง้ ใจอุทศ ิ พระผูม ้ ีพระภาค ขอพระผูม ้ พี ระภาคทรงอาศัยความอนุเคราะห์โปรดรับผ้าใหม่ทง้ ั คูน ่ ี้ของหม่อมฉันเถิด
แม้ในครัง้ ที่ ๒ แม้ในครัง้ ที่ ๓ แล
พระผูม ้ ีพระภาคก็ตรัสกะพระนาง แม้ในครัง้ ที่ ๒ แม้ในครัง้ ที่ ๓ ดังนี้ว่า ดูกรโคตมีพระนางถวายสงฆ์เถิด เมือ ่ ถวาย
สงฆ์แล้ว จักเป็ นอันพระนางได้บช ู าทัง้ อาตมภาพและสงฆ์ ฯ
[๗๐๘] เมือ ่ พระผูม ้ ีพระภาคตรัสอย่างนี้ ท่านพระอานนท์ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ขอพระผู้มีพระภาค โปรดรับผ้าใหม่ทง้ ั คู่ของพระนางมหาปชาบดีโคตมีเถิด พระนางมหาปชาบดีโคตมี มีอุปการะมาก
เป็ นพระมาตุจฉา(พระน้านาง) ผูท ้ รงบารุงเลี้ยง ประทานพระขีรรส(น้านม) แด่พระผูม ้ พี ระภาคเมือ่ พระชนนีสวรรคตแล้ว ได้
โปรดให้พระผูม ้ พ ี ระภาคทรงดืม ่ เต้าพระถัน
แม้พระผูม ้ ีพระภาคก็ทรงมีอุปการะมากแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมี พระนางทรงอาศัยพระผูม ้ ีพระภาค จึงทรงถึง
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็ นสรณะได้ทรงอาศัยพระผู้มีพระภาค จึงทรงงดเว้นจากปาณาติบาต จากอทินนาทาน
จากกาเมสุมจิ ฉาจาร จากมุสาวาท จากฐานะเป็ นที่ตง้ ั แห่ งความประมาทเพราะดืม ่ น้าเมาคือสุราและเมรัยได้ ทรงอาศัย
พระผูม ้ ีพระภาค จึงทรงประกอบด้วยความเลื่อมใสอย่างไม่หวั่นไหวในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ทรงประกอบด้วย
ศีลทีพ ่ ระอริยะมุ่งหมายได้ ทรงอาศัยพระผู้มีพระภาค จึงเป็ นผูห ้ มดความสงสัย ในทุกข์ ในทุกขสมุทยั ในทุกขนิโรธ ใน
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาได้ ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ แม้พระผูม ้ พี ระภาคก็ทรงมีพระอุปการะมากแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมี ฯ
[๗๐๙] พ. ถูกแล้วๆ อานนท์ จริงอยู่บุคคลอาศัยบุคคลใดแล้ว เป็ นผู้ถึงพระพุทธพระธรรม พระสงฆ์ เป็ นสรณะได้
เราไม่กล่าวการที่บุคคลนี้ ตอบแทนต่อบุคคลนี้ ด้ วยดี เพียงกราบไหว้ ลุกรับ ทาอัญชลี ทาสามีจิกรรม ๑ ด้วยเพิ่มให้จีวร
บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชบริขาร (ยาสาหรับคนป่ วย)
บุคคลใดอาศัยบุคคลใดแล้ว งดเว้นจากปาณาติบาต จากอทินนาทาน จากกาเมสุมจิ ฉาจาร จากมุสาวาท จากฐานะ
เป็ นที่ตง้ ั แห่งความประมาทเพราะดืม ่ น้าเมาคือสุรา และเมรัยได้ .. บุคคลอาศัยบุคคลใดแล้ว เป็ นผู้ประกอบด้วยความ
เลือ่ มใส อย่างไม่หวั่นไหวในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ประกอบด้วยศีลทีพ ่ ระอริยะมุง่ หมายได้ .. บุคคลอาศัยบุคคล
ใดแล้ว เป็ นผูห ้ มดความสงสัยในทุกข์ ในทุกขสมุทยั ในทุกขนิโรธ ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาได้ เราไม่กล่าวการที่บุคคล
นี้ ตอบแทนบุคคลนี้ ด้วยดี เพียงกราบไหว้ ลุกรับ ทาอัญชลี ทาสามีจิกรรม ด้วยเพิ่มให้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิ
ลานปัจจยเภสัชบริขาร ฯ

~ 19 ~
[๗๑๐] ดูกรอานนท์ ก็ทกั ษิณาเป็ นปาฏิปค ุ คลิก ๒ มี ๑๔ อย่าง คือ
ให้ทานในตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธ นี้เป็ นทักษิ ณาปาฏิปค ุ คลิกประการที่ ๑
ให้ทานในพระปัจเจกสัมพุทธ นี้เป็ นทักษิณาปาฏิปค ุ คลิกประการที่ ๒
ให้ทานในสาวกของตถาคตผูเ้ ป็ นพระอรหันต์ นี้ .. ประการที่ ๓
ให้ทานในท่านผูป ้ ฏิบตั เิ พือ ่ ทาอรหัตผลให้แจ้ง นี้ .. ประการที่ ๔
ให้ทานแก่พระอนาคามี นี้.. ประการที่ ๕
ให้ทานในท่านผูป ้ ฏิบตั เิ พือ ่ ทาอนาคามิผลให้แจ้ง นี้ .. ประการที่ ๖
ให้ทาน แก่พระสกทาคามี นี้.. ประการที่ ๗
ให้ทานในท่านผูป ้ ฏิบตั เิ พือ ่ ทาสกทาคามิผลให้แจ้ง นี้นี้.. ประการที่ ๘
ให้ทานในพระโสดาบัน นี้.. ประการที่ ๙
ให้ทานในท่านผูป ้ ฏิบตั เิ พือ ่ ทาโสดาปัตติผลให้แจ้ง นี้ .. ประการที่ ๑๐
ให้ทาน ในบุคคลภายนอกผูป ้ ราศจากความกาหนัดในกาม นี้ .. ประการที่ ๑๑
ให้ทานในบุคคลผูม ้ ศ ี ลี นี้.. ประการที่ ๑๒
ให้ทานในปุถุชนผูท ้ ุศลี นี้ .. ประการที่ ๑๓
ให้ทานในสัตว์เดียรัจฉาน นี้.. ประการที่ ๑๔ ฯ
[๗๑๑] ดูกรอานนท์ ใน ๑๔ ประการนัน ้
บุคคลให้ทานในสัตว์เดียรัจฉาน พึงหวังผลทักษิณาได้รอ้ ยเท่า
ให้ทานในปุถุชนผูท ้ ุศลี พึงหวังผลทักษิณาได้พน ั เท่า
ให้ทานในปุถุชนผูม ้ ศี ลี พึงหวังผลทักษิณาได้แสนเท่า
ให้ทานในบุคคลภายนอกผูป ้ ราศจากความกาหนัดในกาม พึงหวังผลทักษิณาได้แสนโกฏิเท่า (ล้านๆ เท่า)
ให้ทานในท่านผูป ้ ฏิบตั เิ พือ ่ ทาโสดาปัตติผลให้แจ้ง พึงหวังผลทักษิณาจนนับไม่ได้จนประมาณไม่ได้ จะป่ วยกล่าวไป
ไยในพระโสดาบัน, ในท่านผูป ้ ฏิบตั เิ พือ ่ ทาสกทาคามิผลให้แจ้ง , ในพระสกทาคามี, ในท่านผูป ้ ฏิบตั เิ พือ
่ ทาอนาคามิผลให้
แจ้ง, ในพระอนาคามี, ในท่านผู้ปฏิบตั เิ พื่อทาอรหัตผลให้แจ้ง , ในสาวกของตถาคตผู้เป็ นพระอรหันต์ , ในพระปัจเจก
สัมพุทธ และในตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธ ฯ
[๗๑๒] ดูกรอานนท์ ก็ทกั ษิณาทีถ ่ งึ แล้วในสงฆ์ ๓ มี ๗ อย่าง คือ
ให้ทานในสงฆ์ ๒ ฝ่ าย มีพระพุทธเจ้าเป็ นประมุข นี้เป็ นทักษิณาทีถ ่ งึ แล้วในสงฆ์ประการที่ ๑
ให้ทานในสงฆ์ ๒ ฝ่ าย ในเมือ่ ตถาคตปรินิพพานแล้ว นี้เป็ นทักษิณาแล้วในสงฆ์ประการที่ ๒
ให้ทานในภิกษุ สงฆ์ นี้.. ประการที่ ๓
ให้ทานในภิกษุ ณีสงฆ์ นี้.. ประการที่ ๔
เผดียงสงฆ์วา่ ๔ ขอได้โปรดจัดภิกษุ และภิกษุ ณีจานวนเท่านี้ ขึน ้ เป็ นสงฆ์แก่ขา้ พเจ้า แล้วให้ทาน นี้.. ประการที่ ๕
เผดียงสงฆ์วา่ ขอได้โปรดจัดภิกษุ จานวนเท่านี้ขน ึ้ เป็ นสงฆ์แก่ขา้ พเจ้า แล้วให้ทาน นี้.. ประการที่ ๖
เผดียงสงฆ์วา่ ขอได้โปรดจัดภิกษุ ณีจานวนเท่านี้ขน ึ้ เป็ นสงฆ์แก่ขา้ พเจ้า แล้วให้ทาน นี้.. ประการที่ ๗ ฯ
[๗๑๓] ดูกรอานนท์ ก็ในอนาคตกาล จักมีแต่เหล่าภิกษุ โคตรภู ๕ มีผ้ากาสาวะพันคอเป็ นคนทุศีล มีธรรมลามก คน
ทัง้ หลายจักถวายทานเฉพาะสงฆ์ได้ในเหล่าภิกษุ ทุศลี นัน ้ ดูกรอานนท์ ทักษิณาทีถ ่ งึ แล้วในสงฆ์แม้ในเวลานัน ้ เราก็กล่าวว่า
มีผลนับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ แต่วา่ เราไม่กล่าวปาฏิปค ุ คลิกทานว่ามีผลมากกว่าทักษิณาทีถ ่ งึ แล้วในสงฆ์ (ในสมัยนัน้ ๆ) โดย
ปริยายไรๆ เลย ฯ
[๗๑๔] ดูกรอานนท์ ก็ความบริสท ุ ธิแ ์ ห่งทักษิณานี้มี ๔ อย่าง ๔ อย่าง เป็ นไฉน
ดูกรอานนท์ ทักษิณาบางอย่างบริสท ์ ่ ายทายก ไม่บริสท
ุ ธิฝ ์ ่ ายปฏิคาหก
ุ ธิฝ
บางอย่างบริสท ุ ธิฝ ์ ่ ายปฏิคาหก ไม่บริสท ุ ธิฝ์ ่ ายทายก
บางอย่างฝ่ ายทายกก็ไม่บริสท ์ ่ ายปฏิคาหกก็ไม่บริสท
ุ ธิฝ ุ ธิ ์
บางอย่างบริสท ุ ธิท ์ ง้ ั ฝ่ ายทายกและฝ่ ายปฏิคาหก ฯ
[๗๑๕] ดูกรอานนท์ ก็ทกั ษิ ณาชือ ่ ว่าบริสุทธิฝ ์ ่ ายทายก (ผู้ให้) ไม่บริสุทธิฝ ์ ่ ายปฏิคาหก (ผู้รบั ) อย่างไร ดูกรอานนท์ ใน
ข้อนี้ ทายกมีศีล มีธรรมงาม ปฏิคาหกเป็ นผูท ้ ุศีล มีธรรมลามก อย่างนี้ แลทักษิ ณาชือ ่ ว่าบริสุทธิฝ ์ ่ ายทายก ไม่บริสุทธิฝ ์ ่ าย
ปฏิคาหก ฯ
[๗๑๖] ดูกรอานนท์ ก็ ทกั ษิ ณาชื่อว่าบริสุทธิฝ ์ ่ ายปฏิคาหก ไม่บริสุทธิฝ ์ ่ ายทายกอย่างไร ดูกรอานนท์ ในข้อนี้ ทายก
เป็ นผู้ทุศีล มีธรรมลามก ปฏิคาหกเป็ นผู้มีศีล มีธรรมงาม อย่างนี้ แล ทักษิ ณาชื่อว่าบริสุทธิฝ ์ ่ ายปฏิคาหก ไม่บริสุทธิฝ ์ ่ าย
ทายก ฯ

~ 20 ~
[๗๑๗] ดูกรอานนท์ ก็ ทกั ษิ ณาชื่อว่าฝ่ ายทายกก็ ไม่บริสุทธิ ์ ฝ่ ายปฏิคาหกก็ ไม่บริสุทธิอ์ ย่างไร ดูกรอานนท์ ในข้อนี้
ทายกก็เป็ นผูท ้ ุศีล มีธรรมลามก ปฏิคาหกก็เป็ นผูท ้ ุศีล มีธรรมลามก อย่างนี้ แล ทักษิ ณาชือ ่ ว่าฝ่ ายทายกก็ไม่บริสุทธิ ์ ฝ่ าย
ปฏิคาหกก็ไม่บริสท ุ ธิ ์ ฯ
[๗๑๘] ดูกรอานนท์ ก็ทกั ษิณาชือ ่ ว่าบริสท ์ ง้ ั ฝ่ ายทายก และฝ่ ายปฏิคาหกอย่างไรดูกรอานนท์ ในข้อนี้ ทายกก็เป็ นผู้
ุ ธิท
มีศลี มีธรรมงาม ปฏิคาหกก็เป็ นผูม ้ ศ
ี ลี มีธรรมงาม อย่างนี้แล ทักษิณาชือ ่ ว่าบริสท ์ ง้ ั ฝ่ ายทายกและฝ่ ายปฏิคาหก ฯ
ุ ธิท
ดูกรอานนท์ นี้แล ความบริสท ุ ธิแ์ ห่งทักษิณา ๔ อย่าง ฯ
[๗๑๙] พระผูม ้ พ ี ระภาคฯ ได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้แล้ว ได้ตรัสคาถาประพันธ์ดงั นี้ตอ ่ ไปอีกว่า
(๑) ผูใ้ ดมีศลี ได้ของมาโดยธรรม มีจต ิ เลือ
่ มใสดี เชือ ่ กรรมและผลแห่งกรรมอย่างยิง่ ให้ทานในคนทุศลี ทักษิณาของ
ผูน
้ น้ ั ชือ่ ว่าบริสท ุ ธิฝ ์ ่ ายทายก ฯ
(๒) ผูใ้ ดทุศีล ได้ของมาโดยไม่เป็ นธรรม มีจต ิ ไม่เลือ่ มใส ไม่เชือ่ กรรมและผลของกรรมอย่างยิง่ ให้ทานในคนมีศีล
ทักษิณาของผูน ้ น้ ั ชือ่ ว่า บริสท ์ ่ ายปฏิคาหก ฯ
ุ ธิฝ
(๓) ผูใ้ ดทุศีล ได้ของมาโดยไม่เป็ นธรรม มีจต ิ ไม่เลือ่ มใส ไม่เชือ่ กรรมและผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนทุศีล
เราไม่กล่าวทานของผูน ้ น
้ ั ว่า มีผลไพบูลย์ ฯ
(๔) ผู้ใดมีศีล ได้ของมาโดยธรรม มีจิตเลื่อมใสดี เชื่อกรรม และผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนมีศีล เรากล่าว
ทานของผูน ้ น
้ ั แลว่า มีผลไพบูลย์ ฯ
(๕) ผู้ใดปราศจากราคะแล้ว ได้ของมาโดยธรรม มีจิตเลื่อมใสดี เชื่อกรรมและผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในผู้
ปราศจากราคะ ทานของผูน ้ น
้ ั นั่นแล เลิศกว่าอามิสทานทัง้ หลาย ฯ
อรรถกถาทักขิณาวิภงั คสูตร เล่ม ๒๓ หน้า ๓๙๘ มมร.
... ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงให้ถวายผ้าใหม่คู่ที่พระนางจะถวายแด่พระองค์ แก่พระภิกษุสงฆ์
เล่า. ตอบว่า เพราะเพื่อทรงอนุเคราะห์พระมารดา. ก็ได้ยินว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงมีพระดาริว่า เจตนา ๓
อย่ า งคื อ บุ พ เจตนา มุ ญจนเจตนา อปราปรเจตนาของพระนางมหาปชาบดีนี้ เกิ ด ขึ้ นปรารภเราแล้ ว จงเกิ ด ขึ้นปรารภ
พระภิกษุสงฆ์บ้าง เมื่อเป็นเช่นนี้ เจตนาทั้ง ๖ อย่างก็จะรวมเป็นอันเดียวกัน จักเป็นไปเพื่ อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข
ตลอดกาลนานแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมีนั้น ดังนี้. …
จริงอยู่ ทักขิไณยบุคคลที่ยอดเยี่ยมกว่าพระศาสดาไม่มี ตามพระบาลีว่า .. ทักขิไณยบุคคลที่ถึงความเป็นผู้เลิศแห่ง
อาหุไนยบุคคลทั้งหลาย ผู้ต้องการบุญ แสวงผลไพบูลย์ที่ประเสริฐที่สุด เช่น กับพระพุทธเจ้าไม่มีในโลกนี้ หรือในโลกอื่น.
พระเจตนา ๖ ประการของพระนางมหาปชาบดีโคตมี นั้นรวมเข้ากันแล้ว จักมีเพื่อประโยชน์เกื้อกุล เพื่อความสุขตลอดกาล
นานอย่างนี้.
ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามถึง ๓ ครั้งแล้ว ทรงให้ถวายแก่สงฆ์ ทรงมุ่งหมายอะไร. ตรัสอย่างนั้น เพื่อชนรุ่นหลัง
และเพื่อทรงให้เกิดความยาเกรงในสงฆ์ด้วย. นัยว่าพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระดาริอย่างนี้ว่า เราไม่ดารงอยู่นาน แต่
ศาสนาของเราจักตั้งอยู่ในพระภิกษุสงฆ์ ชนรุ่นหลังจงยังความยาเกรงในสงฆ์ให้เกิดขึ้น ดังนี้ จึงทรงห้ามถึง ๓ ครั้งแล้ว
ทรงให้ถวายสงฆ์ ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น พระศาสดาจึงทรงให้ถวายผ้าใหม่คู่หนึ่งแม้ที่พระนางจะถวายแด่พระองค์ ให้แก่สงฆ์
ทักขิไณยบุคคลชื่อว่า สงฆ์ เพราะฉะนั้น ชนรุ่นหลังยังความยาเกรงให้เกิดขึ้นในสงฆ์ จักสาคัญปัจจัยสี่เป็นสิ่งพึง
ถวายสงฆ์ เมื่อไม่ลาบากด้วยปัจจัยสี่ จักเรียนพระพุทธวจนะทาสมณธรรม เมื่อเป็นอย่างนั้น ศาสนาของเราจักตั้งอยู่ถึง
๕,๐๐๐ ปี ดังนี้.
.. เพราะเหตุ ไร พระผู้ มีพ ระภาคเจ้า จึงทรงปรารภว่า ก็ ทั ก ขิ ณ า ๑๔ นี้ แ ล. สู ต รนี้ เ กิ ด ขึ้ น ปรารภทั กขิ ณาเป็ นปาฏิ
บุคคลิก. ฝ่ายพระอานนทเถระถือทักขิณาเป็นปาฏิบุคคลิกอย่างเดียวว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า
โปรดรับ ดังนี้. แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปรารภเหตุนี้เพื่อทรงแสดงว่า ทานที่บุคคลให้แล้ว ในฐานะสิบสี่ชื่อว่า เป็นปาฏิ
บุคคลิก.
บทว่ า อย ป มา ความว่ า ทั ก ขิ ณ านี้ ป ระการที่ ๑ ด้ ว ยอ านาจคุ ณ บ้ า ง ด้ ว ยอ านาจเป็ น ทั ก ขิ ณ าเจริ ญ ที่ สุ ด บ้ า ง ..
ทักขิณาทั้งหลายที่เหลือ ย่อมไม่ถึงความเป็นทักขิณาอย่างยิ่งได้.
บทว่า พาหิรเก กาเมสุ วีตราเค ได้แก่ ผู้กัมมวาที ผู้กิริยวาที ผู้มีอภิญญา ๕ อันเป็นโลกิยะ. บทว่า ปุถุชช ฺ นสีลวา ความ
ว่า ปุถุชนผู้มีศีล โดยชื่อเป็นผู้มีศีลเป็นพื้น ไม่โอ้อวด ไม่มีมายา ไม่เบียดเบียนคนอื่น สาเร็จชีวิตด้วยกสิกรรมหรือพาณิช
กรรมโดยธรรม โดยชอบ. บทว่า ปุถุชฺชนทุสส ฺ เี ล ความว่าบุคคลทั้งหลายมีนายเกวัฏฏะ และผู้จับปลาเป็นต้นชื่อว่า ปุถุชนผู้
ทุศีล. เลี้ยงชีวิต ด้วยการเบียดเบียนสัตว์อื่น.
บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงกาหนดวิบากของทักขิณา เป็นปาฏิบุคคลิก จึงตรัส บทว่า ติรจฺฉานคเต ความว่า
ทานใดที่บุคคลให้แล้ว เพื่อเลี้ยงด้วยอานาจแห่งคุณ ด้วยอานาจแห่งอุปการะ ทานนี้ไม่ถือเอา. ทานแม้ใดสักว่าข้าวคา

~ 21 ~
หนึ่งหรือครึ่งคาอันบุคคลให้แล้ว ทานแม้นั้น ไม่ถือเอาแล้ว. ส่วนทานใดอันบุคคลหวังผลแล้วให้ ตามความต้องการแก่สต ั ว์
ทั้งหลายมีสุนัข สุกร ไก่ และกาเป็นนี้ตัวใดตัวหนึ่งที่มาถึง ทรงหมายถึงทานนี้ จึงตรัสว่า ให้ทานในสัตว์ดิรัจฉาน ดังนี้.
บทว่ า สตคุณา ได้ แ ก่ มีอ านิส งส์ร้ อ ยเท่า. บทว่ า ปาฏิก งฺขิตพฺพา คื อ พึ งปรารถนา. มี อ ธิ บ ายว่ า ทั ก ขิ ณ านี้ ย่อ มให้
อานิสงส์ห้าร้อยเท่า คือ อายุร้อยเท่า วรรณะร้อยเท่า สุขร้อยเท่า พละร้อยเท่า ปฏิภาณร้อยเท่า.
ทักขิณาให้อายุในร้อยอัตภาพ(ชาติ) ชื่อว่า อายุร้อยเท่า ให้วรรณะในร้อยอัตภาพชื่อว่า วรรณะร้อยเท่า ให้สุขใน
ร้อยอัตภาพ ชื่อว่า สุขร้อยเท่า ให้พละในร้อยอัตภาพ ชื่อว่า พละร้อยเท่า ให้ปฏิภาณ ทาความไม่สะดุ้งในร้อยอัตภาพ ชื่อ
ว่า ปฏิภาณร้อยเท่า. แม้ในภพร้อยเท่าที่กล่าวแล้ว ก็มีเนื้อความอย่างนี้แล.
ในบทนี้ว่า ผู้ปฏิบัติเพื่อทาให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล แม้อุบาสกผู้ถึงไตรสรณะโดยที่สุดเบื้องต่า ชื่อว่าปฏิบัติเพื่อทาให้
แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. แม้ทานที่ให้ในอุบาสกผู้ปฏิบัติเพื่อทาให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผลนั้น นับไม่ได้ ประมาณไม่ได้. ส่วนทาน
ที่ให้แก่บุคคลผู้ตั้งอยู่ในศีลห้า มีผลมากกว่านั้น ทานที่ให้แก่บุคคลผู้ตั้งอยู่ในศี ลสิบ มีผลมากกว่านั้นอีก. ทานที่ถวายแก่
สามเณรที่บวชในวันนั้น มีผลมากกว่านั้น ทานที่ถวายแก่ภิกษุผู้อุปสมบท มีผลมากกว่านั้น ทานที่ถวายแก่ภิกษุผู้อุปสมบท
นั้นแล ผู้ถึงพร้อมด้วยวัตร มีผลมากกว่านั้น ทานให้แก่ผู้ปรารภวิปัสสนา มีผลมากกว่านั้น.
ก็สาหรับผู้มรรคสมังคีโดยที่สุดชั้นสูง ผู้ปฏิบัติเพื่อทาให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล ชื่อว่า ปฏิบัติแล้ว. ทานที่ให้แก่บุคคลนัน ้
มีผลมากกว่านั้นอีก ถามว่า ก็อาจเพื่อให้ทานแก่ภิกษุผู้มรรคสมังคี หรือ (ผู้กาลังบรรลุธรรม). ตอบว่า เออ อาจเพื่อให้. ก็
ภิกษุผู้ปรารภวิปัสสนา ถือบาตรและจีวร เข้าบ้านเพื่อบิณฑบาต เมื่อภิกษุผู้มรรคสมังคีนั้น ยืนที่ประตูบ้าน ชนทั้งหลายรับ
บาตรจากมือก็ใส่ขาทนียะและโภชนียะ. การออกจากมรรคของภิกษุย่อมมีในขณะนั้น (บรรลุธรรมในขณะรอรับบาตร
นั้น). ทานนี้ชื่อว่า เป็นอันให้แล้วแก่ภิกษุผู้มรรคสมังคี. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุนั้นนั่ง ณ โรงฉัน. มนุษย์ทั้งหลายไปแล้ว
วางขาทนียะโภชนียะในบาตร. การออกจากมรรคของภิกษุนั้น ย่อมมีในขณะนั้น. ทานแม้นี้ ชื่อว่าให้แล้วแก่ภิกษุผู้มรรค
สมังคี. อีกอย่างหนึ่ง เมื่อภิกษุนั้นนั่ง ณ วิหาร หรือโรงฉัน อุบาสกทั้งหลายถือบาตรไปสู่เรือนของตนแล้ว ใส่ขาทนียะและ
โภชนียะ. การออกจากมรรคของภิกษุนั้น ย่อมมีในขณะนั้น . ทานแม้นี้ ชื่อว่าให้แล้วแก่ภิกษุผู้มรรคสมังคี.
พึงทราบความที่ทานอันบุคคลให้แล้วแก่ผู้ปฏิบัติเพื่อทาให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผลนั้น เหมือนน้าในลารางไม่อาจนับได้
ฉะนั้น. พึงทราบความที่ทานอันบุคคลให้แล้วในบุคคลทั้งหลาย มีพระโสดาบันเป็นต้น ดุจน้าในมหาสมุทรแล ในบรรดา
มหานทีนั้น ๆ เป็นอันนับไม่ได้. …
เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงปรารภว่า ก็ทักขิณา ๗ อย่างนี้. ทรงปรารภเทศนานี้ที่ตรัสว่า ดูก่อนโคตมี
พระนางจงถวายสงฆ์เถิด เมื่อถวายสงฆ์แล้ว จักเป็นอันพระนางได้บูชาทั้งอาตมาภาพและสงฆ์ เพื่อทรงแสดงว่า ทานที่ให้
ในฐานะ ๗ นั้น เป็นอันชื่อว่าถวายสงฆ์แล้ว.
บทว่า พุทฺธปฺปมุเข อุภโตสงฺเฆ ความว่า สงฆ์นี้คือ ภิกษุสงฆ์ฝ่ายหนึ่ง ภิกษุณีสงฆ์ฝ่ายหนึ่ง พระศาสดาประทับนั่ง ณ
ท่ามกลาง ชื่อว่าสงฆ์ ๒ ฝ่าย มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข. บทว่า อย ป มา ความว่า ชื่อว่าทักขิณา มีประมาณเสมอด้วย
ทักขิณานี้ไม่มี. ก็ทักขิณาทั้งหลายมีทักขิณาที่สองเป็นต้น ย่อมไม่ถึงทักขิณาแม้นั้น.
ถามว่า ก็เมือพระตถาคตปรินิพพานแล้วอาจเพื่อถวายทานแด่พระสงฆ์ ๒ ฝ่ายมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขหรือ. ตอบว่า
อาจ. อย่ า งไร. ก็ พึ งตั้ งพระพุ ท ธรู ปที่ มีพ ระธาตุ ในฐานะประมุ ข ของสงฆ์ ๒ ฝ่ า ยในอาสนะ วางตั้ ง ถวายวั ต ถุ ทั้ งหมดมี
ทักขิโณทก(น้ากรวด) เป็นต้นแด่พระศาสดาก่อน แล้วถวายแด่พระสงฆ์ ๒ ฝ่าย. ทานเป็นอันชื่อว่าถวายสงฆ์ ๒ ฝ่าย มี
พระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยประการฉะนี้.
ถามว่า ในพระสงฆ์ ๒ ฝ่ายนั้น ทานใดถวายพระศาสดา ทานนั้นพึงทาอย่างไร. ตอบว่า พึงถวายภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วย
วัตร ผู้ปฏิบัติพระศาสดา ด้วยว่า ทรัพย์อันเป็นของบิดาย่อมถึงแก่บุตร แม้การถวายทานแก่ภิกษุสงฆ์ ก็ควร..
บทว่า โคตฺรภุโน ได้แก่ เสวยสักว่า โคตรเท่านั้น อธิบายว่า เป็นสมณะแต่ชื่อ. บทว่า กาสาวกณฺ า คือผู้มีชื่อว่ามีผ้า
กาสาวะพันคอ. ได้ยินว่า ภิกษุเหล่านั้นพันผ้ากาสาวะผืนหนึ่งที่มือ หรือที่คอเที่ยวไป. ก็ประตูบ้าน แม้กรรมมีบุตรภริยา กสิ
กรรม และวณิชกรรม เป็นต้นทั้งหลาย ของภิกษุผู้ทุศีลเหล่านั้น ก็จักเป็นปกติเทียว.
ไม่ได้ตรัสว่า สงฆ์ทุศีล ในบทนี้ว่า คนทั้งหลายจักถวายทานเฉพาะสงฆ์ได้ในเหล่าภิกษุทุศีลนั้น จริงอยู่ สงฆ์ชื่อว่า
ทุศีลไม่มี แต่อุบาสกทั้งหลายชื่อว่าทุศีล จักถวายทานด้วยคิดว่า เราจักถวายเฉพาะสงฆ์ในเหล่าภิกษุทุศีลนั้น แม้ทักขิณาที่
ถวายสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มีผลนับไม่ได้ ด้วยการนับคุณ ด้วยประการฉะนี้. แม้
ทักขิณาที่ให้ในสงฆ์ซึ่งมีภิกษุมีผ้ากาสาวะพันคอ ตรัสว่ามีผลนับไม่ได้ ด้วยการนับคุณเหมือนกัน. ก็ทักขิณาที่ถึงสงฆ์ย่อม
มีแก่บุคคลผู้อาจเพื่อทาความยาเกรงในสงฆ์ แต่ความยาเกรงในสงฆ์ ทาได้ยาก.
ก็บุคคลได้เตรียมไทยธรรมด้วยคิดว่าเราจักให้ทักขิณาถึงสงฆ์ ไปวิหารแล้วเรียนว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงให้
พระเถระรูปหนึ่งเจาะจงสงฆ์เถิด. ลาดับนั้น ได้สามเณรจากสงฆ์ย่อมถึงความเป็นประการอื่นว่า เราได้สามเณรแล้ว ดังนี้.
ทักขิณาของบุคคลนั้นย่อมไม่ถึงสงฆ์. เมื่อได้พระมหาเถระแม้เกิดความโสมนัสว่า เราได้มหาเถระแล้ว ดังนี้ ทักขิณาก็ไม่
ถึงสงฆ์เหมือนกัน.

~ 22 ~
ส่วนบุคคลใดได้สามเณร ผู้อุปสมบทแล้ว ภิกษุหนุ่ม หรือเถระ ผู้พาลหรือบัณฑิต รูปใดรูปหนึ่งจากสงฆ์แล้ว ไม่สงสัย
ย่อมอาจเพื่อทาความยาเกรงในสงฆ์ว่า เราจะถวายสงฆ์. ทักขิณาของบุคคลนั้นเป็นอัน ชื่อว่าถึงสงฆ์แล้ว.
ได้ยินว่า พวกอุบาสกชาวสมุทรฝังโน้น กระทาอย่างนี้. ก็ในอุบาสกเหล่านั้น คนหนึ่งเป็นเจ้าของวัดเป็นกุฏุมพี เจาะจง
จากสงฆ์ว่า เราจักถวายทักขิณาที่ถึงสงฆ์ จึงเรียนว่า ขอท่านจงให้ภิกษุรูปหนึ่ง. อุบาสกนั้น ได้ภิกษุทุศีลรูปหนึ่ง พาไปสู่
สถานที่นั่ง ปูอาสนะผูกเพดานเบื้องบน บูชาด้วยของหอม ธูป และดอกไม้ ล้างเท้า ทาด้วยน้ามัน ได้ถวายไทยธรรมด้วย
ความยาเกรงในสงฆ์ ดุจทาความนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า.
ภิกษุรูปนั้น มาสู่ประตูเรือน ว่าท่านจงให้จอบเพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติวัดในภายหลังภัต. อุบาสกนั่งเขี่ยจอบด้วย
เท้าแล้วให้ว่า จงรับไป. มนุษย์ทั้งหลายได้กล่าวกะเขานั้นว่า ท่านได้ทาสักการะแก่ภิกษุนี้แต่เช้าตรู่เทียว ไม่อาจเพื่อจะ
กล่าว (ปฏิบัติต่อท่านด้วยดีจนยากจะเอ่ย) บัดนี้ แม้สักว่า อุปจาระ (มรรยาท) ก็ไม่มี นี้ชื่อว่าอะไร (เพราะอะไร) ดังนี้.
อุบาสก กล่าวว่า แน่ะนาย ความยาเกรงนั้นมีต่อสงฆ์ ไม่มีแก่ภิกษุนั้น. ถามว่า ก็ใครย่อมยังทักขิณาที่ถวายสงฆ์ ซึ่งมี
ภิกษุมีผ้ากาสาวะพันคอให้หมดจด. ตอบว่า พระมหาเถระ ๘๐ รูปมีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็นต้น ย่อมให้หมด
จดได้. อนึ่ง พระเถระทั้งหลายปรินิพพานนานแล้ว พระขีณาสพทั้งหลายที่ยังมีชีวิตอยู่ตั้งแต่พระเถระเป็นต้น จนถึงทุก
วันนี้ ย่อมให้หมดจดเหมือนกัน.
ในบทนี้ว่า ดูก่อนอานนท์ แต่วา่ เราไม่กล่าวปาฏิบค ุ คลิกทานว่ามีผลมากกว่าทักขิณาทีถ ่ งึ แล้วในสงฆ์โดยปริยายไร ๆ
เลย สงฆ์มีพ ระพุ ท ธเจ้าเป็ นประมุ ขมี อ ยู่ สงฆ์ปั จจุบั น นี้ มีอ ยู่ สงฆ์ ซึ่ งมี ภิ ก ษุ มีผ้ า กาสาวะพัน คอในอนาคตก็ มีอ ยู่ สงฆ์ที่ มี
พระพุ ท ธเจ้า เป็ น ประมุ ข ไม่ พึ งน าเข้า ไปกั บ สงฆ์ในปั จ จุ บั น นี้ สงฆ์ ในปั จ จุ บั น นี้ ก็ ไม่ พึ งน าเข้ า ไปกั บ สงฆ์ ซึ่ งมี ภิ ก ษุ มีผ้า
กาสาวะพันคอในอนาคต พึงกล่าวตามสมัยนั้นเท่านั้น.
ก็สมณปุถุชนซึ่งนาไปเฉพาะจากสงฆ์ (เทียบกับ) เป็นปาฏิบุคคลิกโสดาบัน เมื่อบุคคลอาจเพื่อทาความยาเกรงในสงฆ์
ทานที่ให้ในสมณะผู้ปุถุชน มีผลมากกว่า. ในคาแม้มีอาทิว่า โสดาบัน อันทายกถือเอาเจาะจง เป็นปาฏิบุคคลิกสกทาคามี ก็
มีนัยนี้เหมือนกัน. จริงอยู่ เมื่อบุคคลอาจเพือ ่ ทาความยาเกรงในสงฆ์ ให้ทานแม้ในภิกษุทศ ุ ีลซึง่ เจาะจงถือเอา มีผลมากกว่า
ทานที่บุคคลถวายในพระขีณาสพนั้นแล.
ก็คาใดที่กล่าวว่า ดูก่อนมหาบพิตร ทานที่ให้แก่ผู้มีศีลแล มี ผลมาก ทานที่ให้ในผู้ทุศีลหามีผลมากอย่างนั้นไม่ คานั้น
พึงละนัยนี้แล้ว พึงเห็นในจตุกะนี้ว่า ดูก่อนอานนท์ ก็ความบริสุทธิ์แห่งทักขิณานี้มี ๔ อย่าง.
บทว่า ทายกโต วิสุชฺฌติ .. ก็พึงแสดงพระเวสสันดรมหาราชในบทนี้ว่า ทักขิณาบางอย่างบริสุทธิ์ฝ่ายทายก. ก็พระ
เวสสันดรมหาราชนั้น ทรงให้พระโอรสพระธิดาแก่พราหมณ์ชูชกแล้ว ยังแผ่นดินให้หวั่นไหว, พึงแสดงนายเกวัฏฏะ ผู้
อาศัยอยู่ที่ประตูปากน้ากัลยาณนที ในคานี้ว่า ทักขิณาบางอย่างบริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก. ได้ยินว่า เกวัฏฏะนั้น ได้ถวาย
บิณฑบาตแก่พระทีฆโสมเถระถึง ๓ ครั้ง นอนบนเตียงเป็นที่ตายได้กล่าวว่า บิณฑบาตที่ถวายแก่พระผู้เป็นเจ้าทีฆโสมเถระ
ย่อมยกข้าพเจ้าขึ้น. พึงแสดงถึงพรานผู้อยู่ในวัฑฒมานะในบทว่า เนว ทายกโต นี้. ได้ยินว่า นายพรานนั้นเมื่อให้ทักขิณา
อุทิศถึงผู้ตาย ได้ให้แก่ภิกษุผู้ทุศีลรูปหนึ่งนั้นแลถึง ๓ ครั้ง. ในครั้งที่ ๓ อมนุษย์ร้องขึ้นว่า ผู้ทุศีลปล้นฉัน ดังนี้. ในเวลาที่
พรานนั้นถวายแก่ภิกษุผู้มีศีลรูปหนึ่งมาถึง ผลของทักขิณาก็ถึงแก่เขา...
ในค าว่ า ทั ก ขิ ณานั้ นบริสุ ทธิ์ฝ่ ายทายกนี้ พึ งทราบความบริสุท ธิ์แห่ งทานในบททั้งปวง โดยท านองนี้ว่า ชาวนาผู้
ฉลาดได้นาแม้ไม่ดี ไถในสมัย กาจัดฝุ่น ปลูกพืชที่มีสาระ ดูแลตลอดคืนวัน เมื่อไม่ถึงความประมาท ย่อมได้ข้าวดีกว่านาที่
ไม่ดูแลของคนอื่น ฉันใด ผู้มีศีลแม้ให้ทานแก่ผู้ทุศีลย่อมได้ผลมากฉันนั้น.
ในบทว่า วีต ราโค วีตราเคสุ พระอนาคามี ชื่อว่า ปราศจากราคะ ส่วนพระอรหันที่เป็นผู้ปราศจากราคะโดยสิ้นเชิง
ทีเดียว เพราะฉะนั้นทานที่พระอรหันต์ให้แก่พระอรหันต์นั่นแหละ เป็นทานอันเลิศ... ถามว่า ก็ทานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทรงให้แก่พระสารีบุตรเถระมีผลมาก หรือว่าทานที่พระสารีบุตรเถระถวายแด่พระสัมมมาสัมพุทธเจ้ามีผลมาก. ตอบว่า
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่าทานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงให้แก่ พระสารีบุตรมีผลมาก. เพราะเหตุไร. เพราะบุคคลอื่นเว้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชื่อว่าสามารถให้ผลทานให้เกิดขึ้นไม่มี. (คุณธรรมของผู้ให้สาคัญกว่าคุณธรรมของผู้รับ)
จริงอย่างนั้น ทานย่อมให้ผลแก่ผู้อาจเพื่อทาด้วยสัมปทา ๔ ในอัตภาพนั้นแล.(ทานย่อมส่งผลแก่ผู้ให้ในชาตินี้ อย่าง
แน่นอน เมื่อถึงพร้อมด้วยเหตุ ๔ อย่าง) สัมปทาในสูตรนี้มีดังนี้ คือ
(๑ ปัจจยสัมปทา) ความที่ไทยธรรมไม่เบียดเบียนผู้อื่น เกิดขึ้นโดยธรรม โดยชอบ, [ได้ของมาโดยสุจริต]
(๒ เจตนาสัมปทา) ความที่เจตนาด้วยอานาจแห่งบุพเจตนาเป็นต้น เป็นธรรมใหญ่ , [มีความตั้งใจอย่างแรงกล้าทั้ง
ก่อนให้ ระหว่างให้ และภายหลังให้ มีจิตยินดี แช่มชื่น ไม่เสียดาย]
(๓ วัตถุสัมปทา) ความเป็นผู้มีคุณอันเลิศยิ่ง โดยความเป็นพระขีณาสพ. [ผู้รับเป็นพระอรหันต์]
(๔ คุณาติเรกสัมปทา) ความถึงพร้อมด้วยวัตถุ โดยความเป็นผู้ออกแล้วจากนิโรธในวันนั้น ดังนี้. [ผู้รับเพิ่งออกจาก
นิโรธสมาบัติ]
……………………………………………………
~ 23 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] เวลามสูตร องฺ .สตฺ ต.๒๓/๒๒๔/๓๑๕
ผูร้ บั ทานซึ่งสามารถทาให้ทกั ษิณามีผลมาก
[๒๒๔] สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเครษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี
ครัง้ นัน
้ แล ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีเข้าไปเฝ้ าพระผูม ้ ีพระภาคเจ้าถึงทีป ่ ระทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง
พระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้าได้ตรัสถามท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีวา่ ดูกอ ่ นคฤหบดีในตระกูลของท่าน ยังให้ทานอยูบ ่ า้ งหรือหนอ.
ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ในตระกูลของข้าพระองค์ยงั ให้ทานอยู่ แต่ทานนัน ้ เป็ นของ
เศร้าหมอง เป็ นปลายข้าว มีน้าผักดองเป็ นทีส ่ อง.
พ. ดูกอ ่ นคฤหบดี บุคคลให้ทานอันเศร้าหมองหรือประณี ตก็ตาม แต่ให้ทานนัน ้ โดยไม่เคารพ ไม่ทาความนอบน้อมให้
ไม่ให้ดว้ ยมือตนเอง ให้ของทีเ่ หลือ ไม่เชือ ่ กรรมและผลของกรรมให้ทาน ทานนัน ้ ๆ ย่อมบังเกิดผลในตระกูลใดๆ ในตระกูลนั้นๆ
จิตของผูใ้ ห้ทานย่อมไม่น้อมไปเพือ ่ บริโภคอาหารอย่างดี ย่อมไม่น้อมไปเพือ ่ บริโภคผ้าอย่างดี ย่อมไม่น้อมไปเพือ ่ บริโภค
ยานอย่างดี ย่อมไม่น้อมไปเพื่อบริโภคกามคุณ ๕ อย่างดี แม้บริวารชนของผู้ใ ห้ท านนั้น คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้
คนทางาน ก็ไม่เชือ ่ ฟัง ไม่เงีย่ หูฟงั ส่งจิตไปทีอ
่ นื่ เสีย ข้อนัน้ เพราะเหตุไร ทัง้ นี้เป็ นเพราะผลแห่งกรรมทีต ่ นกระทาโดยไม่เคารพ.
ดูกอ ่ นคฤหบดี บุคคลให้ทานอันเศร้าหมองหรือประณี ตก็ตาม แต่ให้ทานนัน ้ โดยเคารพ ทาความนอบน้อมให้ ให้ดว้ ยมือ
ตนเอง ให้ของทีไ่ ม่เหลือ เชือ ่ กรรมและผลของกรรมให้ทาน ทานนัน ้ ๆ บังเกิดผลในตระกูลใดๆ ในตระกูลนัน ้ ๆ จิตของผูใ้ ห้
ทานย่อมน้อมไปเพือ ่ บริโภคอาหารอย่างดี .. ผ้าอย่างดี .. ยานอย่างดี .. กามคุณ ๕ อย่างดี แม้บริวารชนของผูใ้ ห้ทานนัน ้
คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ คนทางาน ก็เชื่อฟังดี เงีย่ หูฟงั ไม่ส่งจิตไปที่อืน ่ ข้อนั้นเพราะเหตุไร ทัง้ นี้ เป็ นเพราะผลของ
กรรมทีต ่ นกระทาโดยเคารพ.
ดูกอ ่ นคฤหบดี เรือ ่ งเคยมีมาแล้ว มีพราหมณ์ ชอ ื่ เวลามะ พราหมณ์ ผน ู้ น้ ั ได้ให้ทานเป็ นมหาทานอย่างนี้ คือ ได้ให้ถาดทอง
เต็มด้วยรูปิยะ ๘๔,๐๐๐ ถาด ถาดรูปิยะเต็มด้วยทอง ๘๔,๐๐๐ ถาด ถาดสาริดเต็มด้วยเงิน ๘๔,๐๐๐ ถาด ให้ช้าง ๘๔,๐๐๐ เชือก มี
เครื่องประดับล้วนเป็ นทอง มีธงทอง คลุ มด้วยข่ายทอง ให้รถ ๘๔,๐๐๐ คัน หุ้มด้วยหนังราชสีห์ หนังเสือโคร่ง หนังเสือเหลื อง ผ้า
กัมพลเหลือง มีเครือ่ งประดับล้วนเป็ นทอง มีธงทอง คุมด้วยข่ายทอง ให้แม่โคนม ๘๔,๐๐๐ ตัว มีน้านมไหลสะดวก ใช้ภาชนะเงินรอง
น้านม ให้หญิงสาว ๘๔,๐๐๐ คน ประดับด้วยแก้วมณี และแก้วกุณฑล ให้บลั ลังก์ ๘๔,๐๐๐ ที่ ลาดด้วยผ้าโกเชาว์ ลาดด้วยขนแกะสีขาว
เครื่องลาดมีสณ ั ฐานเป็ นช่อดอกไม้ มีเครือ ่ งลาดอย่างดีทาด้วยหนังชมด มีเครื่องลาดเพดาน มีห มอนข้างแดงทัง้ สอง ให้ผา้ ๘๔,๐๐๐
โกฏิ เป็ นผ้าเปลือกไม้ ผ้าแพร ผ้าฝ้ าย เนื้ อละเอียด จะป่ วยกล่าวไปไยถึงข้าว น้า ของเคีย
้ ว ของบริโภค เครือ
่ งลูบไล้ ทีน ่ อน ไหล
ไปเหมือนแม่น้า
ดูก่อนคฤหบดี ก็ ท่านพึงมีความคิดอย่างนี้ ว่า สมัยนั้น ผู้อื่นไม่ใช่เ วลามพราหมณ์ ที่ให้ท านเ ป็ นมหาทานนั้น ดูก่อน
คฤหบดี แต่ท่านไม่ควรเห็นอย่างดี สมัยนัน ้ เราเป็ นเวลามพราหมณ์ เราไปให้ทานนัน ้ เป็ นมหาทาน ก็ในทานนัน ้ ไม่มีใคร

เป็ นพระทักขิเณยยบุคคล ใครๆ ไม่ชาระทักขิณานัน ้ ให้หมดจด
 ก่อนคฤหบดี ทานทีบ ่ ุคคลเชื้อเชิญท่านผูถ ้ งึ พร้อมด้วยทิฏฐิ ๒ (พระโสดาบัน) ผูเ้ ดียวบริโภค มีผลมากกว่าทานที่เวลาม
พราหมณ์ ให้แล้ว (แก่โลกียมหาชนสิ้ น ๗ ปี ๗ เดือน)
 ทานที่บุคคลเชื้อเชิญให้ทา่ นผูถ้ งึ พร้อมด้วยทิฏฐิรอ้ ยท่านบริโภค มีผลมากกว่าทานที่บุคคลเชื้อเชิญให้ทา่ นผูถ้ ึงพร้อมด้วยทิฏฐิผู้
เดียวบริโภค
 ทานที่บุคคลเชื้อเชิญให้พระสกทาคามี ๓ ผู้เดียวบริโภค มีผลมากกว่าทานที่บุคคลเชื้อเชิญให้ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ
ร้อยท่านบริโภค
 ทานทีบ
่ ุคคลเชื้อเชิญให้พระสกทาคามีรอ้ ยท่านบริโภค มีผลมากกว่าทานทีบ ่ ุคคลเชื้อเชิญให้พระสกทาคามีผเู้ ดียวบริโภค

 ทานที่บุคคลเชื้อเชิญให้พระอนาคามี ผู้เ ดียวบริโภค มีผลมากกว่าทานที่บุคคลเชื้อเชิญให้พระสกทาคามีร้อยท่าน
บริโภค
 ทานทีบ่ ุคคลเชื้อเชิญพระอนาคามีรอ้ ยท่านบริโภค มีผลมากกว่าทานทีบ ่ ุคคลเชื้อเชิญพระอนาคามีผเู้ ดียวบริโภค

 ทานทีบ ่ ค ุ คลถวายให้พระอรหันต์ ผูเ้ ดียวบริโภค มีผลมากกว่าทานทีบ ่ ค
ุ คลเชื้อเชิญให้พระอนาคามีรอ้ ยท่านบริโภค
 ทานทีบ ่ ุคคลถวายให้พระอรหันต์รอ้ ยท่านบริโภค มีผลมากกว่าทานทีบ ่ ุคคลถวายให้พระอรหันต์ผเู้ ดียวบริโภค

 ทานทีบ ่ ค ุ คลถวายให้พระปัจเจกพุทธเจ้า รูปเดียวบริโภค มีผลมากกว่าทานทีบ ่ ค
ุ คลถวายให้พระอรหันต์รอ้ ยรูปบริโภค
 ทานทีบ ่ ุคคลถวายให้พระปัจเจกพุทธเจ้าร้อยรูปบริโภค มีผลมากกว่าทานทีบ ่ ุคคลถวายให้พระปัจเจกพุทธเจ้ารูปเดียวบริโภค

 ทานทีบ ่ ุคคลถวายให้พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บริโภค มีผลมากกว่าทานทีบ ่ ุคคลถวายให้พระปัจเจกพุทธเจ้าร้อย
รูปบริโภค
 ทานที่บุค คลถวายให้ภิก ษุ ส งฆ์ มีพ ระพุ ท ธเจ้า เป็ นประมุข บริโ ภค ๘ มีผ ลมากกว่า ทานที่ บุค คลถวายให้พ ระอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้าบริโภค (สังหาริมทาน วัตถุทาน)

~ 24 ~
 การที่บุคคลสร้างวิห ารถวายสงฆ์ผู้มาจากจาตุรทิศ ๙ มีผลมากกว่าทานที่บุคคลถวายให้ภิก ษุ สงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็ น
ประมุขบริโภค (อสังหาริมทาน วิหารทาน)
 การที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสถึงพระพุท ธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็ นสรณะ ๑๐ มีผลมากกว่าทานที่บุคคลสร้า งวิห าร
ถวายสงฆ์อ ันมาจากจาตุรทิศ (อจลศรัทธา)
 การทีบ ่ ุคคลมีจติ เลือ
่ มใสสมาทานสิกขาบท คือ งดเว้นจากปาณาติบาต ฯลฯ จากการดืม ่ น้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็ น
๑๑
ทีต
่ ง้ ั แห่งความประมาท มีผลมากกว่าการทีบ ่ ค
ุ คลมีจต
ิ เลือ
่ มใสถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็ นสรณะ (ศีล)
 การที่บุคคลเจริญเมตตาจิตโดยที่สุด แม้เพียงเวลาสูดดมของหอม ๑๒ มีผลมากกว่าการที่บุคคลมีจิตเลื่อมใสสมาทาน
สิกขาบท คือ งดเว้นจากปาณาติบาต ฯลฯ (สมถภาวนา)
 ดูกอ่ นคฤหบดี ... และการทีบ ่ ุคคลเจริญอนิจจสัญญาแม้เพียงเวลาลัดนิ้ วมือ ๑๓ มีผลมากกว่าการทีบ ่ ุคคลเจริญเมตตาจิต
โดยทีส ่ ด
ุ แม้เพียงเวลาสูดดมของหอม. (วิปสั สนาภาวนา)
อรรถกถาเวลามสูตร เล่ม ๓๗ หน้า ๗๗๙ มมร.
.. แท้จริง ในเรือนของ (อนาถปิณฑิก) เศรษฐียังให้ทานอันประณีตเป็นประจาแก่ภิกษุสงฆ์ พระศาสดาจะไม่ทรงรู้ถึง
ข้อนั้น ก็หามิได้ ส่วนทานที่ให้แก่โลกิยมหาชน ทานนั้นเศร้าหมอง เศรษฐีไม่เอิบอิ่มใจ จึงตรัสถามทานนั้น.
บทว่า อปจิตฺตึ กตฺวา เทติ ความว่า ให้โดยไม่นับถือ คือโดยไม่เคารพในทักขิไณยบุคคล. บทว่า อสหตฺถา เทติ ความ
ว่า ไม่ให้ด้วยมือของตน ให้ด้วยมือของคนอื่น อธิบายว่า ย่อมกระทาเพียงสั่ งเท่านั้นเอง. บทว่า อปวิฏฺ เทติ ความว่า ย่อม
ไม่ให้ติดต่อกัน คือให้เป็นเหมือนคนใคร่จะทิ้งเสีย เหมือนคนจับเหี้ยใส่ในจอมปลวก เหมือนเครื่องเซ่นของนักเลงเหล้า
ประจาปีฉะนั้น.
ไม่ยน
ิ ดีบริโภคกามคุณ ๕ อันประณี ต
เมื่อเขาน้อมโภชนะแห่งข้าวสาลีหอม ซึ่งมีรสอร่อยต่างๆ เข้าไปแล้ว เขาจะไม่น้อมจิตไป (เพื่อจะบริโภค) ยังกล่าวว่า
ท่านจงนาไปเถิด นั่นโรคกาเริบ ดังนี้ ชอบบริโภคข้าวปนรากับผักดอง เหมือนอมตะ.
เมื่อเขาน้อมผ้าอย่างดี มีผ้ากาสีเป็นต้นเข้าไปแล้ว ก็กล่าวว่า ท่านจงนาไปเถิด ผ้าเหล่านี้ ย่อมไม่สามารถแม้ปิดบังได้
ย่อมไม่ติดอยู่แม้ที่ร่างกายของบุคคลผู้หนึ่งอยู่ดังนี้ ชอบนุ่งผ้าเนื้อหยาบเช่นกับเปลือกของมะพร้าวทาเป็นผ้า ด้วยคิดว่า ผู้
นุ่งผ้าเหล่านี้ ย่อมรู้สึกว่านุ่งห่มแล้ว ผ้าเหล่านั้นย่อมปกปิดแม้สิ่งที่ควรปกปิด ดังนี้
เมื่อเขาน้อมยานช้าง ยานม้า ยานรถหรือวอทองเป็นต้น เข้าไปให้ก็กล่าวว่า ท่านจงนาไปเถิด ยานเหล่านั้น ใครๆ ไม่
อาจเพื่อจะนั่งเป็นสุขในยานนี้ได้ ดังนี้ เมื่อเขาน้อมรถเก่าคร่าคร่าเข้าไปให้ก็กล่าวว่า รถนี้เป็นรถไม่กระเทือน ในรถนี้นั่งได้
เป็นสุข ดังนี้ ย่อมยินดีรถนั้น.
บทว่า น อุฬาเรสุ ปญฺจสุ กามคุเณสุ ความว่า เขาได้เห็นหญิงทั้งหลาย เป็นผู้มีรูปซึ่งประดับตกแต่งแล้วคิดว่า เห็นจะ
เป็นนางยักษิณี นางยักษิณีเหล่านั้น เป็นผู้ใคร่จะกิน ประโยชน์อะไรด้วยหญิงทั้งหลายเหล่านั้น ดังนี้ ย่อมให้เวลาล่วงไป
ตามความผาสุก.
บทว่า โส เอวรูป ทานมทาสิ มหาทาน นี้ มีอนุปุพพิกถาดังต่อไปนี้.
ได้ ยิ น ว่ า ในอดี ต เวลามพราหมณ์ นั้ น ได้ ถื อ ปฏิ ส นธิ แ ล้ ว ในเรื อ นของปุ โ รหิ ต ( พราหมณ์ ที่ ป รึ ก ษาในทาง
ขนบธรรมเนียมประเพณี) กรุงพาราณสี พวกญาติได้ตั้งชื่อให้เขาว่า เวลามกุมาร กรุงพาราณสี ในเวลาอายุ ๑๖ ปี. คนแม้
ทั้งสองนั้น (บิดามารดา) ปรารถนาแล้วซึ่ง (บุตรให้ได้ศึกษา) ศิ ลปะในสานักของอาจารย์ทิสาปาโมกข์. .. พระโพธิสัตว์ ..
เรียนศีลปะ ๓ ปีจบ ซึ่งเขาเรียนกัน ๑๖ ปี. อาจารย์รู้ว่าศิลปะของเวลามกุมารคล่องแคล่วแล้ว จึงกล่าวว่า ดูก่อนลูกทั้งหลาย
เวลามะย่อมรู้ศิลปะทั้งหมดที่เราได้รู้แล้ว พวกเจ้าทุกคนพร้อมใจกันไปเรียนศิลปะในสานักของเวลามะ ดังนี้จึงมอบกุมาร
แปดหมื่ น สี พัน คนให้แก่ พระโพธิสั ตว์. .. ให้ฝึ ก ศิ ลปะของราชกุมารแปดหมื่ นสี่ พันคนช านาญแล้ ว จึ งให้ ร าชกุ มารนั้นๆ
กลับไปอยู่ในเมืองนั้นๆ แล้วก็พาเอาราชกุมารกรุงพาราณสีกลับมายังกรุงพาราณสี. คนทั้งหลายในกรุงพาราณสีนั้น จึงได้
อภิเษกราชกุมารกรุงพาราณสี ผู้เรียนจบศิลปะแล้วไว้ในราชสมบัติ ได้ให้ตาแหน่งปุโรหิตแก่เวลามะ.
ราชกุ มารแปดหมื่ น สี่ พั น แม้ เ หล่ า นั้ น ได้ อ ภิ เ ษกแล้ ว ในราชสมบั ติ ทั้ งหลายของตน ก็ ยั งพากั น มาบ ารุ งพระเจ้า กรุ ง
พาราณสีทุกปี. .. เมื่อราชกุมารเหล่านั้น พาเอาเกวียน รถ แม่โค โคผู้ ไก่ และสุกรเป็นต้น ในเวลาไปและเวลามา ชนบทก็
ถูกเบียดเบียนอย่างหนัก. มหาชนประชุมพร้อมกันแล้ว เรียกร้องอยู่ที่พระลานหลวง. พระราชารับสั่งให้เรียกเวลามะมาแล้ว
ตรัสว่าข้าแต่ท่านอาจารย์ ชนบทถูกเบียดเบียน พระราชาทั้งหลาย ย่อมกระทาการปล้นใหญ่ในเวลาไปและเวลามา คน
ทั้งหลาย ย่อมไม่สามารถเพื่อดารงอยู่สงบได้ ท่านทาอุบายอย่างหนึ่งเพื่อให้ชนบทสงบจากความเบียดเบียนดังนี้. .. เวลามะ
เที่ยวตรวจดูในชนบทของพระราชาแปดหมื่นสี่พันแล้ว จึงให้รวมเข้ามาอยู่ในชนบทของพระราชา เหมือนรวบรวมซี่ล้อไว้
ที่ดุมล้อฉะนั้น. จาเดิมแต่นั้น พระราชาทั้งหลายเหล่านั้น เสด็จมาก็ดี เสด็จไปก็ดี ย่อมท่องเที่ยวไปตามชนบทของพระองค์ๆ
เท่านั้น ไม่ทรงทาการปล้นด้วยทรงดาริว่า ชนบทของเราทั้งหลายดังนี้ ไม่ทรงเบียดเบียนแม้ชนบทของพระราชาด้วยความ

~ 25 ~
เคารพต่อพระราชา. ชนบททั้งหลายก็สงบเงียบไม่มีเสียงขอร้อง. พระราชาทั้งปวงทรงร่าเริงยินดี ทรงปวารณาว่า ข้าแต่
ท่านอาจารย์ ท่านต้องการด้วยสิ่งใด ท่านจงบอกสิ่งนั้นแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายดังนี้. เวลามะสนานศีรษะแล้ว ให้เปิดประตูห้อง
เต็มด้วยรัตนะ ๗ ในนิเวศน์ของตน ตรวจดูทรัพย์ที่เก็บไว้ถึง ๗ ชั่วแห่งตระกูล พิจารณาแล้วซึ่งความเจริญและความเสื่อม
คิดว่าเราควรให้ทานให้กระฉ่อนไปทั่วทั้งชมพูทวีปดังนี้ ..
เมื่ อ บุ ค คลผู้ จั ด การท่ า นบอกว่ า โรงทานส าเร็ จ แล้ ว นุ่ ง ผ้ า ราคาหนึ่ ง พั น ผ้ า เฉวี ย งบ่ า ราคาห้ า ร้ อ ยแต่ ง แล้ ว ด้ ว ย
เครื่องประดับทุกอย่าง ใส่น้าซึ่งมีสีแก้วผลึกให้เต็มสุวรรณภิงคาร (เต้าน้าทอง) แล้ว เพื่อทดลองทาน ทาสัจจกิริยาว่า
ถ้าในโลกนี้ ยังมีทักขิเณยยบุคคลผู้สมควรรับทานนี้ ขอน้านี้ไหลออกแล้ว จงซึมแผ่นดิน ถ้าไม่มี จงตั้งอยู่อย่างนี้ ได้
เอียงปากสุวรรณภิงคารลงแล้ว. น้าได้เป็นแล้วเหมือนกับธมกรก (กรวยกรองน้า) ถูกอุดไว้แล้ว. พระโพธิสัตว์มิได้เดือดร้อน
ว่า โอท่านผู้เจริญ ชมพูทวีปว่างเปล่า ย่อมไม่มีแม้บุคคลคนเดียวที่ควรรับทักษิณาดังนี้
คิดแล้วว่า ถ้าทักขิณาจักบริสุทธิ์ฝ่ายทายก (ผู้ให้) ขอน้าไหลออกแล้ว จึงซึมแผ่นดินไปดังนี้. น้าคล้ายสีแก้วผลึกไหล
ออกแล้ว ซึมแผ่นดินไปแล้ว.
คราวนี้เขาไปแล้วยังโรงทานด้วยคิดว่า จักให้ทาน ตรวจดูทานแล้ว ใช้ให้ คนให้ข้าวต้มในเวลาข้าวต้ม ให้ของเคี้ยว
ในเวลาของเคี้ยว ให้อาหารในเวลาอาหารแล้ว. พระโพธิสัตว์ได้ให้ทานทุกๆ วันโดยทานองนี้นั่นแล. ก็แลในโรงทานนี้ ไม่
มีคาที่จะพึงพูดว่า ชื่อสิ่งนี้มี ชื่อสิ่งนี้ไม่มี. ทานนี้จักไม่จบด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ดังนั้น .. จึงเมื่อให้ทานอยู่นั่นล่วงไปแล้ว ๗ ปี
๗ เดือน. ต่อมาพราหมณ์คิดว่า เราจักแบ่งเงินออกให้ทานดังนี้แล้ว จึงให้จัดทานเตรียมไว้ในโอกาสอันสาคัญ ครั้นเตรียม
เสร็จแล้ว ได้ให้แล้ว.. ด้วยรัตนะ ๗ อย่าง. .. ผ้าใดๆ เป็นผ้ามีเนื้อละเอียด ได้ให้แล้วซึ่งผ้านั้นๆ เท่านั้น. ส่วนทานเหล่าใด ที่
เห็นแล้วว่า มิใช่ทานคืออิตถีทาน (การให้สตรีเป็นทาน) อุสภทาน (การให้โคอุสภะเป็นทาน) มัชชทาน (การให้น้าเมาเป็น
ทาน) สมัชชทาน (การให้การเล่นมหรสพเป็นทาน) เวลามะนี้ได้ให้ทานแม้เหล่านั้น เพื่อเป็นบริวารเพื่อตัดคาพูดว่า ชื่อว่า
สิ่งนี้ ให้เหตุแห่งทานของเวลามะย่อมไม่มี.
พระศาสดาตรัสทานของเวลามะด้วยเหตุประมาณเท่านี้แล้วตรัสว่า ดูก่อนคฤหบดี คนอื่นมิได้ให้แล้วซึ่งมหาทานนั้น
เราได้ให้แล้ว ก็เราแม้เมื่อให้ทานเห็นปานนั้น หาได้บุคคลสมควรเพื่อจะรับไม่ ท่านได้ให้ทานเมื่อพระพุทธเจ้าผู้เช่นเรา
ปรากฏอยู่ในโลก เพราะเหตุไร จึงคิด (น้อยใจ) เล่าดังนี้. ..
……………………………………………………
๑ พระทักขิเณยยบุคคล = พระผู้ควรรับทักษิณา (ทักษิณา = ทานที่ถวายเพื่อผลอันเจริญ, ของทาบุญ)
[อรรถกถา เล่ม ๓๗ หน้า ๗๗๙ มมร.] บทว่า น ต โกจิ ทกฺขิณ โสเธติ ความว่า ไม่มีใครๆ พึงกล่าวว่าใครเป็นสมณะหรื อ
พราหมณ์ เทวดาหรือ มาร ลุ ก ขึ้ น (รั บ)แล้ ว ย่ อ ม (สามารถ) ชาระทักษิ ณาให้ บริ สุท ธิ์. ก็ โ ดยสู งสุ ดพระพุท ธเจ้า พึงชาระ
ทักษิณานั้นให้บริสุทธิ์.
๒ ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ มาจากศัพท์ว่า ทิฏฺฐิสมฺปนฺโน แปลว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยความเห็นชอบ หมายถึง พระอริยบุคคลผู้

ได้ บ รรลุ โ สดาปั ต ติ ผ ล (โสดาปั ต ติ ผ ล แปลว่ า ผลคื อ การถึ ง กระแสที่ จ ะน าไปสู่ พ ระนิ พ พาน, ผลที่ ไ ด้ รั บ จากการละ
สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ด้วยโสดาปัตติมรรค ทาให้ได้เป็นพระโสดาบัน)
พระโสดาบัน มี ๓ ประเภทคือ ๑.เอกพีชี เกิดอีกครั้งเดียว ๒.โกลังโกละ เกิดอีก ๒–๓ ครั้ง ๓.สัตตักขัตตุปรมะ เกิดอีก ๗
ครั้ง เป็นอย่างมาก, นับเป็นสมณะ (พระอริยบุคคลชั้น) ที่ ๑ ในพระพุทธศาสนา
[อรรถกถา] บทว่า ทิฏฺ สมฺปนฺน ได้แก่ ท่านผู้เป็นโสดาบัน ถึงพร้อมทัสสนะ (โสดาปัตติมรรค). บทว่า อิท ตโต มหปุผลตร
ความว่า ทานที่ให้แล้วแก่ท่านผู้เป็นโสดาบันนี้ มีผลมากกว่าทานที่บุคคลบริจาคเงินและทองประมาณเท่านี้ให้แล้วแก่โลกีย
มหาชนสิ้น ๗ ปี ๗ เดือน
๓ พระสกทาคามี หมายถึง พระอริยบุคคลผู้ได้บรรลุสกทาคามิผล (สกทาคามิผล แปลว่า ผลที่ได้รับจากการละสักกายทิฏฐิ

วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กับทา ราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบาง ซึ่งสืบเนื่องมาแต่สกทาคามิมรรค) พระสกิทาคามี เกิดใน
กามภพอีกครั้งเดียวเท่านั้น นับเป็นสมณะ (พระอริยบุคคลชั้น) ที่ ๒ ในพระพุทธศาสนา
๔ พระอนาคามี หมายถึง พระอริยบุคคลผู้ได้บรรลุอนาคามิผล (อนาคามิผล แปลว่า ผลที่ได้รับจากการละสังโยชน์ คือ กาม

ราคะ และปฏิฆะด้วยอนาคามิมรรค อันทาให้ เป็นพระอนาคามี) พระอนาคามี ไม่เกิดในกามภพอีก แต่จักเกิดในพรหม


โลกชั้นสุทธาวาส นับเป็นสมณะ (พระอริยบุคคลชั้น) ที่ ๓ ในพระพุทธศาสนา
๕ พระอรหันต์ หมายถึง พระอริยบุคคลผู้ได้บรรลุอรหัตตผล (อรหัตตผล แปลว่า ผลที่ได้รับจากการละสังโยชน์ คือ รูปราคะ

อรู ป ราคะ มานะ อุ ท ธั จจะ และอวิช ชาด้วยอรหัต ตมรรค อั น ท าให้ เป็ นพระอรหั นต์) พระอรหั นต์ เป็น ผู้สิ้น อาสวะแล้ว
สาเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา ดับขันธปรินิพพานแล้วไม่เกิดอีก นับเป็นสมณะ (พระอริยบุคคลชั้น) ที่ ๔ ใน
พระพุทธศาสนา (ใช้สาหรับพระสาวก) บางครั้งเรียก สาวกพุทธะ หรือจตุสัจจพุทธะ
๖ พระปัจเจกพุทธเจ้า หมายถึง พระพุทธเจ้าประเภทหนึ่ง ซึ่งตรัสรู้เองจาเพาะผู้เดียว มิได้สั่งสอนผู้อื่น

~ 26 ~
๗ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง พระพุทธเจ้า ท่านผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และสอนผู้อื่นให้รู้ตาม (เช่น พระ
สมณศากยบุตร โคตมะพุทธเจ้าของเรา)
๘ [อรรถกถา] ในบทว่า พุทฺธปฺปมุข นี้ สงฆ์ทาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระสังฆเถระนั่งแล้ว พึงทราบว่า สงฆ์มีพระพุทธเจ้า

เป็นประมุข ดังนี้.
๙ อานิสงส์อันยิ่ง ด้วยเหตุว่าอสังหาริมทรัพย์ (ถาวรวัตถุ) เช่น กุฏิ วิหาร ศาลา ย่อมตั้งมั่นคงยืนนาน ส่วนสังหาริมทรัพย์ เช่น

ภัตตาหาร ย่อมดารงอยู่เพียงชั่วคราวเท่านั้น
[อรรถกถา] ในบทนี้ว่า จาตุทฺทิส สงฺฆ อุทฺทิสฺส ความว่า เจดีย์ย่อมประดิษฐานอยู่ การฟังธรรมพวกเขาย่อมกระทา
กันในที่ซึ่งมีวิหารที่บุคคลสร้างถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔ ภิกษุทั้งหลายมาจากทิศทั้ง ๔ และจากทิศน้อยแล้ว ไม่ต้องถูก
ถาม ล้างเท้าแล้วเอากุญแจเปิดประตู ทาความสะอาดเสนาสนะเสร็จอยู่แล้ว ย่อมได้ซึ่งความผาสุก วิหารนั้นโดยที่สุดแม้
เป็นบรรณศาลาที่เกิดแก่ตนอยู่ใน ๔ ทิศ เขาก็เรียกว่า วิหารที่บุคคลสร้างถวายสงฆ์ผู้มาจากทิศทั้ง ๔ เหมือนกัน.
๑๐ ผู้ถึงไตรสรณคมน์เช่นกับอุบาสกรัตนะ ต้องไม่ถือที่พึ่งอื่นนอกหลักคาสอน เช่น ไหว้วอนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขอลาภผลความ

คุ้มครองจาก พระภูมิเจ้าที่ เทวดาอารักษ์ ทรงเจ้าเข้าผี เจ้าป่า เป็นต้น


[อรรถกถา] ในบทนี้ ว่า สรณ คจฺเ ฉยฺย ท่ า นหมายถึง สรณะอั นไม่ หัน กลับ มาแล้วโดยมรรค. ส่ ว นอาจารย์อีกพวกหนึ่ง
กล่าว ชื่อสรณคมน์ เพราะมอบตนให้แล้ว ท่านอธิบายว่ามีผลมากกว่าทานนั้น.
๑๑ ผู้สมาทานสิกขาบท (ศีล) ๕ ประการ เช่นกับอุบาสกรัตนะ แม้ชีวิตก็ยอมสละ แต่จะไม่ล่วงละเมิดสิกขาบท ๕ ประการ และไม่มีจิตคิด
เบียดเบียนเลยในสัตว์ทั้งปวง
[อรรถกถา] บทว่า สิกฺข าปท สมาทิเยยฺย ได้แก่ พึงรับเบญจศีล. แม้ศีล ท่านกล่าวหมายเอาศีลอันไม่หันกลับเท่านั้น ซึ่ง
มาแล้วในมรรค. ส่วนอาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า ชื่อว่าศีล เพราะตนให้อภัยทานแล้วแก่สัตว์ทั้งปวง ท่านอธิบายว่า มีผล
มากกว่าสรณคมน์นั้น.
๑๒ ผู้เจริญเมตตาจิตโดยที่สุด หมายถึง บุคคลต้องบรรลุถึงซึ่งฌานจิต สามารถการาบนิวรณธรรมให้ดับสิ้นไปได้ด้วยวิขัมภนปหาน
[อรรถกถา] บทว่า เมตฺตจิตฺต ได้แก่ จิตที่แผ่ตามไปเกื้อกูลแก่สัตว์ทง
ั้ ปวง. แต่จิตนั้นท่านถือเอาแล้วด้วยอานาจอัปปนาเท่านั้น.
๑๓ ผู้เจริญอนิจจสัญญาแม้เพียงเวลาลัดนิ้วมือ หมายถึง ชั่วเวลาเพียงดีดนิ้วของบุค คลผู้บรรลุซึ่งวิปัสสนาญาณอันควรแก่มรรคญาณ
สามารถเห็นความเกิดดับแห่งนามรูปเฉพาะหน้าได้ ดังพุทธภาษิตว่า
โย จ วสฺสสต ชีเว อปสฺส อุทยพฺพย เอกาห ชีวิต เสยฺโย ปสฺสโต อุทยพฺพย
บุคคลใดถึงจะมีอายุตลอดร้อยปี แต่ไม่เคยมองเห็นการเกิดขึ้นและการเสื่อมไป
ชีวิตของคนที่เป็นอยู่แม้ขณะเดียว แต่มองเห็นการเกิดขึน
้ และดับไปนั้นประเสริฐกว่า
[อรรถกถา] บทว่า อนิจฺจสญฺ ได้แก่ วิปัสสนาที่มีกาลังถึงที่สุดโดยความเป็นอนันตรปัจจัยแก่มรรค.
ส่วนบุญทั้งหลายมีทานเป็นต้นเหล่านี้ พึงทราบโดยอุปมาอย่างนี้.
ก็แม้ถ้าว่า เขาทาชมพูทวีปให้เป็นพื้นเสมอกัน เช่นกับหน้ากลองปูลาดบัลลังก์ตั้งแต่ต้นแล้ว พึงให้พระอริยบุคคลนั่ง ณ
ที่นั้น มีโสดาบันบุคคล ๑๐ แถว, สกทาคามีบุคคล ๕ แถว, อนาคามีบุคคล สองแถวครึ่ง , พระขีณาสพ หนึ่งแถวครึ่ง พระ
ปัจเจกพุทธเจ้า พึงมีหนึ่งแถว, ทานที่บุคคลถวายจาเพาะแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์เดียวเท่านั้น มีผลมากกว่าทานที่
ถวายแล้วแก่ชนประมาณเท่านี้.
(หมายความว่า หากถวายเจาะจงพระอริยบุคคลแม้จานวนมากดังกล่าว หากเว้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสีย, ทานถวายเจาะจงพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เดียวมีอานิสงส์ยิ่งกว่า)
ส่วนทานนอกนี้. คือวิหารทาน บิณฑบาต สิกขา การเจริญเมตตา ย่อมไม่ถงึ เสีย ้ วที่ ๑๖ ของท่านผูพ
้ ิจารณาโดยความ
สิ้นไป. (หมายความว่า ไม่ว่าทาน ศีล หรือสมถภาวนาใด ก็มีอานิสงส์ไม่เสมอด้วยการบรรลุวิปัสสนาญาณ)
ด้วยเหตุนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงได้ตรัสไว้ในสมัยจะปรินิพพานว่า การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ ธรรม (ปฏิบัติบูชา)
เป็นการบูชาสูงสุด.
……………………………………………………

~ 27 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทารุกมั มิกสูตร องฺ .ฉกฺ ก.๒๒/๓๓๐/๓๕๑
พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญสังฆทาน
[๓๓๐] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ที่ปราสาทสร้างด้วยอิฐ ใกล้นาทิกคาม ครัง้ นั้น คฤหบดีชื่อทารุกม ั มิกะ
(พ่อค้าฟื น) เข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครัน ้ แล้วพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าได้ตรัสถามว่า ดูกอ ่ นคฤหบดี ทานในสกุล ท่านยังให้อยูห ่ รือ
คฤหบดีชือ ่ ทารุกม ั มิกะได้กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ข้าพระองค์ยงั ให้อยู่ และทานนัน ้ แล ข้าพระองค์ให้ใน
ภิกษุ ผเู้ ป็ นอรหันต์ หรือผูบ ้ รรลุอรหัตมรรค ผูถ ้ ืออยูป ่ ่ าเป็ นวัตร ผูถ ้ ือเทีย่ วบิณฑบาตเป็ นวัตร ผูถ ้ ือผ้าบังสุกุลเป็ นวัตร.
พ. ดูก่อนคฤหบดี ท่านผู้เป็ นคฤหัสถ์ บริโภคกาม อยู่ครองเรือนนอนเบียดเสียดบุตร บริโภคจันทน์ แคว้นกาสี ทัด
ทรงดอกไม้ ของหอมและเครื่องลูบไล้ ยินดีทองและเงินอยู่ พึงรูข ้ ้อนี้ ได้ยากว่า ภิกษุ เหล่านี้ เป็ นพระอรหันต์ หรือเป็ นผู้
บรรลุอรหัตมรรค
ดูก่อนคฤหบดี ถ้าแม้ภิก ษุ ผู้ถืออยู่ป่าเป็ นวัตร เป็ นผู้ฟุ้งซ่าน ถือตัว เห่อ ปากกล้ า พูดพล่าม มีสติเ ลอะเลือน ไม่มี
สัมปชัญญะ มีใจไม่ตง้ ั มั่น มีจต ิ พุง่ พล่าน ไม่สารวมอินทรีย์ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผถ ู้ ืออยูป ่ ่ าเป็ นวัตรเป็ นผูไ้ ม่ฟุ้งซ่าน ไม่ถือตัว ไม่เห่อ ไม่ปากกล้า ไม่พูดพล่าม มีสติตง้ ั มั่น มีสมั ปชัญญะ มี
ใจตัง้ มั่น มีจต ิ มีอารมณ์ เป็ นหนึ่ง สารวมอินทรีย์ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงได้รบั สรรเสริญ ด้วยเหตุนี้
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผอ ู้ ยูใ่ กล้บา้ นเป็ นผูฟ ้ งซุ่้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงกล่าวติเตียนด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผอ ู้ ยูใ่ กล้บา้ น เป็ นผูไ้ ม่ฟงซ่ ุ้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงได้รบั สรรเสริญด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผถ ู้ ือเทีย่ วบิณฑบาตเป็ นวัตร เป็ นผูฟ ้ งซ่ ุ้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผถ ู้ ือเทีย่ วบิณฑบาตเป็ นวัตร เป็ นผูไ้ ม่ฟงซ่ ุ้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงได้รบั สรรเสริญด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผรู้ บั นิมนต์ เป็ นผูฟ ้ งซ่ ุ้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผรู้ บั นิมนต์ เป็ นผูไ้ ม่ฟงซ่ ุ้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงได้รบั สรรเสริญด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผถ ู้ ือผ้าบังสุกุลเป็ นวัตร เป็ นผูฟ ้ งซ่ ุ้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผถ ู้ ือผ้าบังสุกุลเป็ นวัตร เป็ นผูไ้ ม่ฟงซ่ ุ้ าน ฯลฯ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงได้รบั สรรเสริญด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผท ู้ รงคฤหบดีจีวร เป็ นผูฟ ้ งซ่ ุ้ าน ถือตัว เห่อ ปากกล้า พูดพล่าม มีสติเลอะเลือน ไม่มส ี มั ปชัญญะ มีใจไม่ตง้ ั
มั่น มีจต ิ พลุง่ พล่าน ไม่สารวมอินทรีย์ เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนน ้ั
ถ้าแม้ภก ิ ษุ ผท ู้ รงคฤหบดีจีวร เป็ นผูไ้ ม่ฟงซ่ ุ้ าน ไม่ถือตัว ไม่เห่อ ไม่ปากกล้า ไม่พูดพล่าม มีสติตง้ ั มั่น มีสมั ปชัญญะ มี
ใจตัง้ มั่น มีจต ิ มีอารมณ์ เป็ นหนึ่ง สารวมอินทรีย์เมือ่ เป็ นอย่างนี้ ภิกษุ นน ้ ั พึงได้รบั สรรเสริญด้วยเหตุนน ้ั
ดูกอ ่ นคฤหบดี เชิญท่านให้สงั ฆทานเถิด เมือ่ ท่านให้สงั ฆทานอยู่ จิตจักเลือ ่ มใส ท่านนัน ้ ผูม ้ จี ต
ิ เลือ่ มใส เมือ่ ตายไป จัก
เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ คฤหบดีชอ ื่ ทารุกมั มิกะ. ทูลสนองว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ข้าพระองค์นี้จกั ให้สงั ฆทาน ตัง้ แต่วน ั นี้
เป็ นต้นไป.
อรรถกถาทารุกมั มิกสูตร เล่ม ๓๖ หน้า ๗๔๑ มมร.
บทว่า ทารุกมฺมิโก ได้แก่ อุบาสกคนหนึ่ง มีอาชีพทางขายไม้ .. อุบาสกนั้นครั้นกราบทูลอย่างนั้นแล้ว ก็ถวายบังคม
พระศาสดาแล้วหลีกไป
ครั้นแล้วในเวลาต่อมา ภิกษุผู้เป็นกุลุปกะของเขาจานวน ๕๐๐ รูป ได้ถึงความเป็นคฤหัสถ์ (สึก). ภิกษุผู้เป็นกุลุปกะนัน

เมื่ออุบาสกเรียนว่า ภิกษุเหล่านั้นสึกหมดแล้ว ก็พูดว่า พวกอาตมาในที่นี้สึกหมดหรือ ด้งนี้แล้ว ก็ทาใจให้เป็นกลางไม่ได้.
พระศาสดาทรงหมายเอาเหตุนี้ จึงตรัสว่า เมื่อเธอถวายทานในสงฆ์ จิตจักผ่องใส ดังนี้.
……………………………………………………

~ 28 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทานสูตร องฺ .ฉกฺ ก.๒๒/๓๐๘/๓๐๖
คุณธรรมของทายกและปฏิคาหก เป็ นเหตุให้ได้บุญมาก ๖ ประการ
[๓๐๘] สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสา
วัตถี ก็สมัยนั้นแล อุบาสิก าชื่อนันทมารดา ชาวเมืองเวฬุกณ ั ฑกะ ถวายทักษิ ณาทานอันประกอบด้วยองค์ ๖ ประการ ใน
ภิกษุ สงฆ์มพ ี ระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็ นประมุข พระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าได้ทรงเห็น ... ด้วยทิพยจักษุ อน ั บริสทุ ธิ ์ ล่วง
จักษุ ของมนุษย์ แล้วตรัสกะภิกษุ ทง้ ั หลายว่า
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย อุบาสิกาชื่อนันทมารดา ชาวเมืองเวฬุกณ ั ฑกะนั้นถวายทักษิ ณาทานอันประกอบด้วยองค์ ๖
ประการ ในภิกษุ สงฆ์มีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็ นประมุข ก็ทกั ษิณาทานอันประกอบด้วยองค์ ๖ ประการเป็ น
อย่างไร ?
ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย องค์ ๓ ของทายก องค์ ๓ ของปฏิคาหก
องค์ ๓ ของทายกเป็ นไฉน ? ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย ทายกก่อนให้ทาน เป็ นผู้ดีใจ ๑ ก าลังให้ทานอยู่ย่อมยังจิตให้
เลือ
่ มใส ๑ ครัน ้ ให้ทานแล้วย่อมปลื้มใจ ๑ นี้องค์ ๓ ของทายก
องค์ ๓ ของปฏิคาหกเป็ นไฉน ? ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย ปฏิคาหกในศาสนานี้ เป็ นผู้ปราศจากราคะหรือปฏิบตั เิ พื่อ
กาจัดราคะ ๑ เป็ นผูป ้ ราศจากโทสะ หรือปฏิบตั เิ พือ ่ กาจัดโทสะ ๑ เป็ นผูป้ ราศจากโมหะ หรือปฏิบตั เิ พือ่ กาจัดโมหะ ๑ นี้องค์
๓ ของปฏิคาหก, องค์ ๓ ของทายก องค์ ๓ ของปฏิคาหกย่อมมีประการดังนี้
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลายทักษิณาทานทีป ่ ระกอบด้วยองค์ ๖ ประการ ย่อมมีดว้ ยประการอย่างนี้แล การถือประมาณบุญ
แห่งทักษิณาทานทีป ่ ระกอบด้วยองค์ ๖ ประการอย่างนี้ว่า หวังบุญห้วงกุศลมีประมาณเท่านี้นาสุขมาให้ มีอารมณ์ เลิศ มีสุข
เป็ นผล เป็ นไปเพือ ่ สวรรค์ ย่อมเป็ นไปเพือ ่ สิง่ น่ าปรารถนา น่ าใคร่ น่ าพอใจ เพือ่ ประโยชน์เกื้อกูล เพือ
่ สุข ดังนี้ ไม่ใช่ทาได้
ง่าย โดยทีแ ่ ท้ บุญแห่งทักษิณาทานนัน ้ ย่อมถึงการนับว่า เป็ นห้วงบุญห้วงกุศลทีจ่ ะนับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ เป็ นกองบุญ
ใหญ่ทีเดียว
เปรียบเหมือนการถือเอาประมาณแห่งน้าในมหาสมุทรว่า เท่านี้ อาฬหกะ เท่านี้ รอ ้ ยอาฬหกะ เท่านี้ พน ั อาฬหกะ
หรือเท่านี้ แสนอาฬหกะ ไม่ใช่ทาได้ง่าย โดยที่แท้ น้าในมหาสมุทรย่อมถึงการนับว่า เป็ นห้วงน้าที่จะนับไม่ได้ ประมาณ
ไม่ได้ เป็ นห้วงน้าใหญ่ทีเดียวฉะนัน ้ .
ทายกก่อนแต่จะให้ทาน เป็ นผู้ดีใจ ก าลังให้ทานอยู่ย่อมยังจิตให้เลื่อมใส ครัน ้ ให้ทานแล้วย่อมปลื้มใจ นี้ เป็ นยัญ
สมบัติ ปฏิคาหกผูส ้ ารวมประพฤติพรหมจรรย์ทง้ ั หลาย คือ ท่านผูป ้ ราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ ไม่มีอา
สวะ ย่อมเป็ นเขตถึงพร้อมแห่งยัญ ทายกต้อนรับปฏิคาหกด้วยตนเอง ถวายทานด้วยมือตนเอง ยัญนัน ้ ย่อมมีผลมากเพราะ
ตน (ทายกผู้ให้ทาน) และเพราะผู้อื่น (ปฏิค าหก) ทายกผู้มีปญ ั ญา มีศ รัท ธาเป็ นบัณ ฑิตมีใจพ้ นจากความตระหนี่ ครัน ้
บาเพ็ญทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกทีเ่ ป็ นสุขไม่มีความเบียดเบียน.
อรรถกถาทานสูตร เล่ม ๓๖ หน้า ๖๓๐ มมร.
... บทว่า ปุพฺเพว ทานา สุมโน ความว่า เป็นผู้ถึงความโสมนัสตั้งเดือนหนึ่งว่า เราจักถวายทาน. อธิบายว่า บุรพ
เจตนา ในคาว่า ปุพฺเพว ทานา สฺมโน นี้ ย่อมมีแก่ผู้เริ่มต้นทานาโดยคิดอยู่ว่า เราจักถวายทานด้วยข้าวกล้าที่เกิดจากนานี้
จาเดิมแต่กาลที่เกิดความคิดขึ้นว่า เราจักถวายทาน.
ส่วนมุญจนเจตนา (ความตั้งใจสละ) ที่ตรัสไว้อย่างนี้ว่า เมื่อให้ ย่อมยังจิตให้ผ่องใสดังนี้ ย่อมมีได้ในเวลาให้ทาน
เท่านั้น แต่อปรเจตนานี้ ว่า ครั้นให้แล้ว ก็มีจิตปราบปลื้ม ดังนี้ ย่อมมีแก่ผู้ระลึกถึงในภายหลัง ในกาลต่อ ๆ มา.
บทว่า วีตราคา ได้แก่ พระขีณาสพผู้ปราศจากราคะ. บทว่า ราควินยาย วา ปฏิปนฺนา ความว่า ดาเนินปฏิปทา ที่
เป็ น เหตุ น าราคะออกไป. และเทศนานี้ เป็ น เทศนาอย่ างอุ ก ฤษฏ์ แต่ มิใช่ ส าหรั บ พระขี ณาสพอย่ างเดี ย วเท่า นั้น แม้ พ ระ
อนาคามี พระสกทาคามี พระโสดาบัน โดยที่สุดแม้สามเณรผู้ถือภัณฑะบวชแล้วในวันนั้น ทักษิณาที่ถวายแล้วย่อมชื่อว่า
ประกอบไปด้วยองค์ ๖ ทั้งนั้น. เพราะว่า แม้สามเณรก็บวชเพื่อโสดาปัตติมรรคเหมือนกัน....
……………………………………………………

~ 29 ~
ควรให้ทานมาก-น้อยเท่าไร
ตามหลักโภควิภาค ๔ (หลักการแบ่งโภคทรัพย์ออกเป็น ๔ ส่วน)
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] สิงคาลกสูตร ที.ปา.๑๑/๑๗๒/๑๓๘
[๑๙๗] บัณฑิตรูแ ้ จ้งมิตร ๔ จาพวกเหล่านี้ คือ มิตรมีอุปการะ ๑ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๑ มิตรแนะประโยชน์ ๑
มิตรมีความรักใคร่ ๑ ว่าเป็ นมิตรแท้ ฉะนี้แล้ว พึงเข้าไป คบหาโดยเคารพ เหมือนมารดากับบุตรฉะนัน ้ .
บัณฑิตผูส้ มบูรณ์ ดว้ ยศีล ย่อมรุ่งเรืองส่องสว่างเพียงดังไฟ เมือ
่ บุคคลสะสมโภคสมบัตอ ิ ยู่เหมือนแมลงผึง้ สร้า งรัง
โภคสมบัตยิ อ่ มถึงความเพิม่ พูนดุจจอมปลวกอันตัวปลวกก่อขึน ้ ฉะนัน

คฤหัสถ์ในตระกูลผูส ้ ามารถ ครัน
้ สะสมโภคสมบัตไิ ด้อย่างนี้ พึงแบ่งโภคสมบัตอิ อกเป็ น ๔ ส่วน เขาย่อมผูกมิตรไว้
ได้ พึงใช้สอยโภคทรัพย์ ด้วยส่วนหนึ่ ง พึงประกอบการงานด้วยสองส่วน พึงเก็ บส่วนที่สี่ไว้ด้วยหมายจัก มีไ ว้ใ นยามมี
อันตราย ดังนี้.
……………………………………………………
อรรถกถาสิงคาลกสูตร เล่ม ๑๖ หน้า ๙๔ มมร.
บทว่า บัณฑิตผูส ้ มบูรณ์ ดว้ ยศีลย่อมรุ่งเรืองส่องสว่างเพียงดังไฟ ความว่า ย่อมรุง่ เรืองดุจไฟส่องแสงบนยอดเขาใน
กลางคืน. บทว่า เมือ ่ บุคคลสะสมโภคะอยู่ ความว่า เมือ ่ บุคคลไม่เบียดเบียนตนบ้าง ผูอ ้ น
ื่ บ้าง รวบรวมโภคะโดยธรรม โดย
เสมอ คือทาให้เป็ นกอง. บทว่า เหมือนแมลงผึง้ ทารัง ความว่า กระทาโภคะให้เป็ นกองใหญ่โดยลาดับ เหมือนแมลงผึง้ ไม่
ทาลายสีและกลิน ่ ของดอกไม้ นาเกสรด้วยจะงอยปากบ้าง ด้วยปี กทัง้ สองบ้างแล้วทารวงผึง้ ประมาณเท่าล้อโดยลาดับ.
บทว่า โภคะทัง้ หลายย่อมถึงความเพิม ่ พูน ความว่า โภคะทัง้ หลายของเขาย่อมถึงความเพิม ่ พูน. อย่างไร. เหมือน
จอมปลวกอันตัวปลวกทัง้ หลายก่อขึน ้ โดยลาดับ. ด้วยเหตุนน ้ ั ท่านจึงกล่าวว่า ดุจจอมปลวก อันตัวปลวกก่อขึน ้ . อธิบายว่า
โภคะทัง้ หลายย่อมถึงความเพิม ่ พูนเหมือนจอมปลวกอันตัวปลวกก่อขึน ้ ฉะนัน้ . บทว่า สมาหริตฺวา ความว่า รวบรวมแล้ว.
บทว่า ผูส้ ามารถ ความว่า คฤหัสถ์เป็ นผูม ้ ส
ี ภาพเหมาะสม หรือเป็ นผูส ้ ามารถหรือเป็ นผูใ้ คร่เพือ ่ ดารงการครองเรือน.
บัดนี้พระผูม ้ ีพระภาคเจ้า เมือ ่ จะทรงประทานพระโอวาทโดยประการทีผ ่ ค
ู้ รองเรือนพึงดารงอยู่ จึงตรัสคาเป็ นต้น
ว่า ผูค
้ รองเรือนพึงแบ่งโภคะออกเป็ น ๔ ส่วนดังนี้.
ในบทเหล่านัน ้ บทว่า เขานั่นแหละย่อมผูกมิตรไว้ได้ ความว่า ผูค ้ รองเรือนนัน ้ เมือ
่ แบ่งโภคะอย่างนี้ชื่อว่า ย่อม
ผูกมิตรไว้ได้ คือตัง้ ไว้ซงึ่ ความไม่แตกกัน. ผูท ้ ม
ี่ โี ภคะย่อมสามารถประสานมิตรไว้ได้ คนนอกนัน ้ ไม่สามารถ.
บทว่า พึงบริโภคโภคะโดยส่วนเดียว ความว่า พึงบริโภคโภคะด้วยหนึ่งส่วน. บทว่า พึงประกอบการงานด้วยสอง
ส่วน ความว่า พึงประกอบการงานมีกิจกรรมและพาณิ ชยกรรมเป็ นต้น ด้วยสองส่วน. บทว่า พึงเก็บ คือ พึงเก็บส่วนที่สี่
เอาไว้. บทว่า จักมีในยามอันตราย ความว่า เพราะการงานนัน ้ ย่อมไม่เป็ นไปเช่นกับวันหนึ่งตลอดกาลของตระกูลทัง้ หลาย.
บางครัง้ แม้อน ั ตรายก็ ย่อมเกิดขึน ้ ได้ด้วยอานาจราชภัยเป็ นต้น. เพราะฉะนั้น โภคะจักมีในยามอันตรายทัง้ หลายเกิดขึน ้
อย่างนี้ เพราะฉะนัน ้ พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ผูค ้ รองเรือนพึงเก็บส่วนหนึ่งไว้ดงั นี้ . ก็ในส่วนทัง้ หลาย ๔ เหล่านี้ พึง
เก็บส่วนไหน ๆ ไว้บาเพ็ญกุศล. ถือเอาส่วนที่ท่านกล่าวในบทว่า โภเค ภุญฺเชยฺย. ควรถือเอาจากส่วน (บริโภคโภคะโดย
ส่วนเดียว) นั้น บริจาคทานแก่ภก ิ ษุ ทง้ ั หลายบ้าง แก่คนกาพร้าและคนเดินทางเป็ นต้นบ้าง ควรให้รางวัลแก่ช่างหูก และ
กัลบกเป็ นต้นบ้าง.
……………………………………………………
(คาว่า “โภคะ” แปลว่า สมบัติ ทรัพย์ ใช้สอย กิน บริโภค)
(ผึง้ จัดเป็ นแมลงชนิดหนึ่ง โดยส่วนใหญ่จะออกหาอาหารเป็ นน้าหวานจากเกสรของดอกไม้ ซึง่ เป็ นประโยชน์ ตอ ่
พืชในการผสมพันธุ์ ผึง้ ทางานกันเป็ นระบบ มีผงึ้ นางพญาเป็ นหัวหน้าใหญ่, ผึง้ สร้างรัง (beehive) เพือ ่ ไว้ใช้อยูอ ่ าศัย เก็บ
น้าหวานจากเกสรดอกไม้และฟักตัวอ่อน, เมือ ่ ผึง้ งานรวบรวมน้าหวานจากดอกไม้ได้มากพอ ก็ จะสร้างขึผ ้ งึ้ ทาเป็ นรังผึง้
จากต่อมผลิตไขผึง้ ทีอ ่ ยู่สว่ นท้องของลาตัวโดยใช้สว่ นปากทาไขเป็ นแผ่นบางๆ แล้วก่อตัวเป็ นรวงรูป ๖ เหลีย่ ม รังผึง้ หรือ
รวงผึง้ ถูกสร้างอย่างมีระเบียบแบบแผน และรังผึง้ จะเป็ นรูปหกเหลีย่ มด้านเท่าเสมอ,
อาหารของผึ้ง คือ น้ า หวาน และเกสรดอกไม้ ถ้า มีดอกไม้บานอยู่ที่ใด ผึ้งจะบิน ไปเก็ บน้ าหวานที่ใ จกลางของ
ดอกไม้ ขนกลับรัง เอาไปทาเป็ นน้าผึง้ เก็บไว้ น้าผึง้ เป็ นอาหารทีม ่ ร่างกาย นอกจากน้าผึง้ แล้ว
่ ีรสอร่อย และมีประโยชน์ ตอ
่ งึ้ สร้างขึน
รังทีผ ้ เมือ่ นามาหลอมจะได้ขผ ี้ งึ้ ใช้ทาเทียน

~ 30 ~
ผึง้ ทีด
่ ูดกินน้าหวานในดอกไม้แล้วเก็บเอาไปทาน้าผึง้ เป็ นแมลงทีอ ่ ยู่รวมกันเป็ นสังคมใหญ่ รังผึง้ หรือรวงผึง้ แต่
ละรัง มีประชากรผึง้ อาศัยอยูจ่ านวนนับหมืน ่ ทุกตัวสามัคคีกน ั ช่วยกันทางาน มีการกาหนดแบ่งงานกัน
อาหารของผึง้ ได้แก่ น้ าหวานที่โคนกลีบดอกไม้นานาชนิด ผึง้ มีปากเป็ นหลอดสาหรับจุ่มลงไปดูดน้าหวานทีอ ่ ยู่
ลึกๆ ใจกลางดอกไม้ การออกหาน้าหวานเป็ นหน้าทีข ่ องผึง้ งานเท่านัน ้ นางพญาและผึง้ ตัวผูไ้ ม่ตอ ้ งทาด้วย วิธีหาน้าหวาน
ของผึง้ ไม่ซ้าแบบกับแมลงอย่างอืน ่ มันไม่ได้บน ิ พรูออกจากรัง แล้วแยกย้ายไปหาน้ าหวานอย่างเดาสุ่ม แต่จะส่งผึ้งท า
หน้ าที่ “ ลาดตระเวน ”ออกไปก่อน ถ้าผึ้งลาดตระเวนไปพบดอกไม้ซึ่งพวกตนชอบมากบานอยู่ที่ใด ก็ จะรี บกลับมาให้
สัญญาณบรรดาผึง้ งานทัง้ หลายรู ้
ผึง้ ใช้วิธี “เต้นระบา” เป็ นจังหวะช้าเร็ วไม่เหมือนกัน การเต้นระบาของผึง้ ทาโดยการบินเป็ นวงกลม กระพือปี ก
และทาท่าเคลือ ่ นไหวอย่างอืน ่ ซึง่ เป็ นทีเ่ ข้าใจความหมายกันดีในหมูผ ่ งึ้
ในระหว่ า งที่ผึ้ง ลาดตระเวนเริ่ ม เต้ น ระบ า ผึ้ง งานอื่น ๆ ก็ จ ะเข้ า มารุ ม ล้ อ มเฝ้ าดู เมื่อ ดู จ นเข้ า ใจจัง หวะที่ ผึ้ง
ลาดตระเวนแสดงดีแล้ว ก็จะออกบินไปด้วยกันเป็ นหมูๆ ่ ตรงไปยังทีซ ่ งึ่ มีดอกไม้บานโดยไม่ชกั ช้า แล้วขนน้าหวานกลับมา
รังระเหยน้าออกทาเป็ นน้าผึง้ เก็บไว้ตอ ่ ไป
แหล่งทีม ่ า http://www.thailink.com
ผึง้ กินตะไคร่น้า เศษพืช และสัตว์ทเี่ น่ าเปื่ อย เป็ นอาหาร, อาหารของผึง้ แบ่งได้ ๓ กลุม ่ ดังนี้
๑.ดอกไม้ทใี่ ห้น้าหวานเล็กน้อย เช่น ดอกกระทกรก แพงพวยน้า
๒.ดอกไม้ทเี่ ป็ นพืชหลัก เช่น ดอกลาไย ดอกลิน ้ จี่
๓.ดอกไม้ทใี่ ห้เกสร เช่น ดอกฟักทอง ดอกบัว และพืชบางชนิดให้น้าหวาน หรืเกสรอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่บางชนิดให้ทง้ ั
สองอย่าง
……………………………………………………
พระพุทธเจ้าตรัสว่า โภคสมบัติที่พอกพูนขึ้ นนั้น พึงแบ่งเป็ น ๔ ส่วน
ส่วนแรก ๒๕% พึงใช้สอยรวมถึงทาบุญ (เราควรใช้ในการบริโภคใช้สอยเพื่อให้เกิดสุขหรือทาบุญกุศล)
อีก ๒ ส่วน ๕๐% พึงใช้ประกอบการงาน (เราควรใช้ประกอบธุรกิจเพิ่มเติม คือ เพิ่มต้นทุนในการขาย)
อีก ๑ ส่วน ๒๕% พึงเก็บงาไว้ยามจาเป็ น (เราควรฝั งดินไว้ คือยอดกระปุก ไม่นาการใช้ เผื่ อเวลาเจ็บป่ วย
หรือมีเหตุจาเป็ นต้องใช้)
ด้วยเหตุนี้ ตามหลักพระพุทธศาสนา เราควรแบ่งทรัพย์ทเี่ ก็บงามาได้ จานวน ๑/๔ ส่วน
หรือ ๒๕% สาหรับการทาบุญครับ
……………………………………………………

~ 31 ~
ควรให้ทานแก่ผใู้ ดบ้าง
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อาทิยสูตร องฺ .ปญฺ จก.๒๒/๔๑/๔๐
หลักการใช้โภคทรัพย์ให้เป็ นประโยชน์ ๕ อย่าง
[๔๑] ครัง้ นัน ้ ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดี เข้าไปเฝ้ าพระผูม ้ ีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ ง ณ ทีค ่ วร
ส่วนข้างหนึ่ง ครัน ้ แล้วพระผูม ้ พี ระภาคเจ้าได้ตรัสกับท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีวา่
ดูกอ่ นคฤหบดี ประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็ นไฉน คือ
อริยสาวกในธรรมวินยั นี้ ย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ ที่ตนหามาได้ด้วยความหมั่นความขยัน สะสมขึน ้ ด้วยกาลังแขน
อาบเหงือ่ ต่างน้า ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม เลี้ยงตนให้เป็ นสุข ให้อม ิ่ หนา บริหารตนให้เป็ นสุขสาราญ เลี้ยงมารดาบิดาให้
เป็ นสุข ให้อม ิ่ หนา บริหารให้เป็ นสุขสาราญ เลี้ยงบุตรภรรยา ทาสกรรมกร คนใช้ ให้เป็ นสุข ให้อม ิ่ หนา บริหารให้เป็ นสุข
สาราญ นี้เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๑.(จัดเข้าในส่วนที่ ๑)
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ทต ี่ นหามาได้ดว้ ยความหมั่น ความขยัน สะสมขึน ้ ด้วยกาลังแขน
อาบเหงือ่ ต่างน้า ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม เลี้ยงมิตรสหายให้เป็ นสุข ให้อม ิ่ หนา บริหารให้เป็ นสุขสาราญ นี้เป็ นประโยชน์
ทีจ่ ะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๒. (จัดเข้าใน ๒ ส่วนที่ ๒)
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ทต ี่ นหามาได้ดว้ ยความหมั่น ความขยัน สะสมขึน ้ ด้วยกาลังแขน
อาบเหงือ ่ ต่างน้า ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม ป้ องกันอันตรายทีเ่ กิดแต่ไฟ น้า พระราชา โจร หรือทายาทผูไ้ ม่เป็ นทีร่ กั ทา
ตนให้สวัสดี นี้เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๓. (จัดเข้าในส่วนสุดท้าย ที่ ๓)
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ทต ี่ นหามาได้ดว้ ยความหมั่น ความขยัน สะสมขึน ้ ด้วยกาลังแขน
อาบเหงือ่ ต่างน้า ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม ทาพลี ๕ อย่าง คือ (จัดเข้าในส่วนที่ ๑) ๑

๑. ญาติพลี [บารุงญาติ]
๒. อติถพ ิ ลี [ต้อนรับแขก]
๓. ปุพพเปตพลี [ทาบุญอุทศ ิ กุศลให้ผต ู้ าย]
๔. ราชพลี [บริจาคทรัพย์ชว่ ยชาติ] (จัดเข้าใน ๒ ส่วนที่ ๒)
๕. เทวตาพลี [ทาบุญอุทศ ิ ให้เทวดา]
นี้เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๔.
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกย่อมใช้จ่ายโภคทรัพย์ทต ี่ นหามาได้ดว้ ยความหมั่น ความขยัน สะสมขึน ้ ด้วยกาลังแขน
อาบเหงือ่ ต่างน้า ชอบธรรม ได้มาโดยธรรม บาเพ็ญทักษิณา มีผลสูงเลิศ เกื้อกูลแก่สวรรค์ มีวบ ิ ากเป็ นสุข ยังอารมณ์ เลิศให้
เป็ นไปด้วยดีในสมณพราหมณ์ ผูเ้ ว้นจากความมัวเมาประมาท ตัง้ อยู่ในขันติและโสรัจจะ ผูม ้ ่น
ั คง ฝึ กฝนตนให้สงบระงับ
ดับกิเลสโดยส่วนเดียว นี้เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๕. (จัดเข้าในส่วนที่ ๑)
ดูกรคฤหบดี ประโยชน์ ทีจ่ ะพึงถือเอาแต่โภคทรัพย์ ๕ ประการนี้แล ถ้าเมือ ่ อริยสาวกนัน ้ ถือเอาประโยชน์ แต่โภค
ทรัพย์ ๕ ประการนี้ โภคทรัพย์หมดสิน ้ ไป อริยสาวกนัน ้ ย่อมมีความคิดอย่างนี้ว่า เราได้ถือเอาประโยชน์ แต่โภคทรัพย์นน ้ั
แล้วและโภคทรัพย์ของเราก็หมดสิน ้ ไป ด้วยเหตุนี้ อริยสาวกนัน ้ ย่อมไม่มค ี วามเดือดร้อน
ถ้าเมือ ่ อริยสาวกนัน ้ ถือเอาประโยชน์ แต่โภคทรัพย์ ๕ ประการนี้ โภคทรัพย์เจริญขึน ้ อริยสาวกนัน ้ ย่อมมีความคิด
อย่างนี้วา่ เราถือเอาประโยชน์แต่โภคทรัพย์นี้แล้ว และโภคทรัพย์ของเราก็เจริญขึน ้ อริยสาวกนัน ้ ย่อมไม่มค ี วามเดือดร้อน
ด้วยเหตุทง้ ั ๒ ประการฉะนี้แล ฯ
นรชนเมือ ่ คานึงถึงเหตุนี้ว่า เราได้ใช้จ่ายโภคทรัพย์เลี้ยงตนแล้ว ได้ใช้จ่ายโภคทรัพย์เลี้ยงคนทีค ่ วรเลี้ยงแล้ว ได้
ผ่านพ้นภัยทีเ่ กิดขึน ้ แล้ว ได้ให้ทกั ษิณาอันมีผลสูงเลิศแล้ว ได้ทาพลี ๕ ประการแล้ว และได้บารุงท่านผูม ้ ีศีล สารวมอินทรีย์
ประพฤติพรหมจรรย์แล้ว
บัณฑิตผูอ ้ ยูค
่ รองเรือน พึงปรารถนาโภคทรัพย์ เพือ ่ ประโยชน์ใด ประโยชน์นน ้ ั เราก็ได้บรรลุแล้ว เราได้ทาสิง่ ทีไ่ ม่
ต้องเดือดร้อนแล้ว ดังนี้ชือ ่ ว่าเป็ นผู้ดารงอยู่ในธรรมของพระอริยะ บัณฑิตทัง้ หลายย่อมสรรเสริญเขาในโลกนี้ เมือ ่ เขาละ
จากโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงใจในสวรรค์ ฯ
……………………………………………………
๑ พลี = ทางพราหมณ์ คื อ บวงสรวง, ทางพุ ทธ คื อ สละเพื่อช่วยหรื อบูชา หมายถึง การจัดสรรสละรายได้หรื อทรัพย์บางส่วนเป็ น
ค่าใช้จา่ ยประจาสาหรับการทาหน้าทีเ่ กื้อกูลต่อผูอ้ ืน
่ และการสงเคราะห์ชว่ ยเหลือกันในด้านต่างๆ, การทาหน้าทีเ่ กื้อกูลต่อผูอ
้ ืน
่ และ
การสงเคราะห์ชว่ ยเหลือกัน ทีพ
่ งึ ปฏิบตั ยิ ามปกติเป็ นประจาโดยใช้รายได้หรือทรัพย์ทจี่ ดั สรรสละเตรียมไว้สาหรับด้านนัน ้ ๆ ..
(พจนานุ กรม พุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์)

~ 32 ~
ผู้หา้ มคนอืน่ ให้ทานย่อมเป็นบาป
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ชัปปสูตร องฺ .ติก.๒๐/๔๙๗/๑๕๕
[๔๙๗] ครัง้ นัน ้ ปริพาชกวัจฉโคตร เข้าไปเฝ้ าพระผูม ้ ีพระภาคเจ้า ฯลฯ ปริพาชกวัจฉโคตรนั่ง ณ ทีค ่ วรส่วนหนึ่ง
แล้วกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ ข้าพเจ้าได้ยน ิ เขาว่า พระสมณโคดมตรัสอย่างนี้ ว่า ทานควร
ให้แก่เราเท่านั้น ไม่ควรให้แก่คนอื่นๆ ควรให้แก่สาวกของเราเท่านั้น ไม่ควรให้ แก่สาวกของคนอื่นๆ ทานที่ให้แก่เรา
เท่านัน้ มีผลมาก ให้แก่คนอืน ่ ๆ ไม่มผ ี ลมาก ให้แก่สาวกของเราเท่านัน ้ มีผลมาก ให้แก่สาวกของคนอืน ่ ๆ ไม่มผ ี ลมาก ดังนี้
ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ ชนเหล่าทีก ่ ล่าวว่า พระสมณโคดมตรัสว่า ทานควรให้แก่เราเท่านัน ้ ฯลฯ ให้แก่สาวกของ
คนอืน ่ ๆ ไม่มีผลมาก ดังนี้ ชนเหล่านั้นกล่าวตามคาที่พระโคดมผู้เจริญได้ตรัสไว้จริงละหรือ เขาไม่ใส่ความพระโคดมผู้
เจริญด้วยเรือ ่ งอันไม่จริงละหรือ เขากล่าวแก้ธรรมสมควรแก่ธรรมละหรือ การถือตามถ้อยคาที่ชอบแก่เหตุอย่างใดอย่าง
หนึ่ง จะไม่ตกอยูใ่ นฐานทีน ่ ่ าตาหนิละหรือ ความจริงพวกข้าพระเจ้าไม่ประสงค์จะใส่ความพระโคดมผูเ้ จริญเลย
พระผูม ้ พี ระภาคเจ้าตรัสตอบว่า วัจฉะ ชนเหล่าทีก ่ ล่าวว่า พระสมณโคดมตรัสว่า ทานควรให้แก่เราเท่านัน ้ ฯลฯ ให้แก่
สาวกของคนอืน ่ ๆ ไม่มผ ี ลมาก ดังนี้ ชนเหล่านัน ้ มิได้กล่าวตามคาทีเ่ รากล่าว อนึ่ง ชนเหล่านัน ้ ใส่ความเราด้วยเรือ ่ งอันไม่มี
ไม่เป็ นจริง วัจฉะ ผูใ้ ดห้ามคนอืน ่ ทีใ่ ห้ทาน ผูน ้ น ้ ั ชือ่ ว่าทาอันตรายต่อคน ๓ คน ทาร้ายต่อคน ๓ คน ๓ คนคือใคร คือ
(๑) ทาอันตรายต่อบุญของทายก
(๒) ทาอันตรายต่อลาภของปฏิคาหก
(๓) อนึ่ง ตัวของผูน ้ น้ ั ชือ ่ ว่าถูกก่น (ขุดรากคือความดี) และถูกประหาร (ตายไปจากความดี) เสียก่อนแล้ว
วัจฉะ ผูใ้ ดห้ามคนอืน ่ ทีใ่ ห้ทาน ผูน ้ น ้ ั ชือ ่ ว่าทาอันตรายต่อคน ๓ คน ทาร้ายต่อคน ๓ คนนี้
เราตถาคตกล่าวอย่างนี้ตา่ งหาก วัจฉะ ว่า แม้สตั ว์ทง้ ั หลายทีอ ่ ยู่ในหลุมโสโครกหรือท่อโสโครก ผูใ้ ดเทน้าล้างหม้อ
ก็ดี น้าล้างชามก็ดี ลงไปในหลุมและท่อโสโครกนัน ้ ด้วยเจตนาให้สตั ว์ในนัน ้ ได้เลี้ยงชีพ อย่างนี้เราตถาคต ยังกล่าวการได้
บุญอันมีกริ ยิ าทีท ่ าอย่างนัน ้ เป็ นมูล จะกล่าวอะไร (ถึงการให้ทาน) ในผูท ้ เี่ ป็ นมนุษย์เล่า
แต่นน ั่ แหละ วัจฉะ เราตถาคตกล่าวว่า ทานทีใ่ ห้แก่ผม ู้ ศ
ี ลี มีผลมาก หาได้กล่าวอย่างนัน ้ ในผูท ้ ุศลี ไม่ และผูม ้ ศ
ี ลี นัน

เป็ นผูล้ ะองค์ ๕ ประกอบด้วยองค์ ๕
ละองค์ ๕ คืออะไร คือ ละกามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจก ิ จิ ฉา ผูม ้ ศ
ี ลี นัน
้ เป็ นผูล้ ะองค์ ๕ นี้
ประกอบด้วยองค์ ๕ คืออะไร คือ ประกอบด้วยสีลขันธ์ (กองศีล) สมาธิขน ั ธ์ (กองสมาธิ) ปัญญาขันธ์ (กองปัญญา)
วิมตุ ติข ันธ์ (กองวิมุตติ) วิมต ุ ติญาณทัสสนขันธ์ (กองวิมุตติญาณทัสนะ) อันเป็ นอเสขะ ผูม ้ ศ ี ลี นัน
้ เป็ นผูป ้ ระกอบด้วยองค์
เราตถาคตกล่าวว่า ทานทีใ่ ห้ในผูม ้ ศ ี ลี ทีล่ ะองค์ ๕ ประกอบด้วยองค์ ๕ อย่างนี้ มีผลมาก
ในโคเมียทัง้ หลาย เช่น แม่โคสีดา สีขาว สีแดง สีเขียว สีดา่ ง สีป กติ หรือ สีนกพิราบก็ตาม โคผู้ ซึง่ ฝึ กแล้วเป็ นโค
ทนงาน มีกาลัง ฝี เท้าดี ย่อมเกิดในแม่โค เหล่านัน ้ ได้ทุกเหล่า คนทัง้ หลายใช้มน ั ในการหนักเท่านัน ้ หาได้พถ ิ ีพถ ิ น
ั สีของมัน
ไม่ ฉันเดียวกันนั่นแล ในหมูม ่ นุษย์ ในชนชาติใดชาติหนึ่ง จะเป็ นชาติกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร จัณฑาล หรือปุกกุสะ
บุคคลผูซ ้ งึ่ ฝึ กตนแล้ว มีพรตอันดี ตัง้ อยูใ่ นธรรม ถึงพร้อมด้วยศีลพูดเป็ นสัจ มีใจประกอบด้วยหิริ ละชาติและมรณะแล้ว จบ
พรหมจรรย์แล้ว ปลงของหนักแล้ว ปลอดโปร่งแล้ว เสร็จกิจ ไม่มอ ี าสวะ ถึงฝั่งแห่งธรรมทัง้ ปวง ดับกิเลสได้เพราะไม่ยด ึ ถือ
แล้ว ย่อมเกิดในชาติเหล่านัน ้ ได้ทุกชาติ ทักษิณาทานทีใ่ ห้ในบุคคลนัน ้ อันเป็ นเนื้อนาทีป ่ ราศจากโทษ ย่อมมีผลไพบูลย์ ส่วน
คนเขลาทรามปัญญา มิได้สดับ ไม่รจู้ กั (บุญเขต) ให้ทานไปภายนอก (เขต) ไม่เข้าใกล้สตั บุรุษทัง้ หลายเลย
ฝ่ ายคนเหล่าใดเข้าใกล้สตั บุรุษผู้มีปญ ั ญานับว่าเป็ นปราชญ์ และศรัทธาของเขามีรากฐานมั่นคงในองค์พระสุคต
คนเหล่านัน ้ ย่อมไปเทวโลก มิฉะนัน ้ เกิดในสกุล ณ โลกนี้ ก็จะเป็ นบัณฑิตได้บรรลุพระนิพพานโดยลาดับ.
……………………………………………………

~ 33 ~
การให้ทานทีพ่ อดี ไม่ทาตนให้ลาบาก จึงเป็นบุญ และไม่ถกู ติเตียน
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อัตตันตปสูตร องฺ .จตุก.๒๑/๑๙๘/๑๙๕
บุคคลที่ทาตนหรือผูอ้ ื่นให้เดือดร้อน ๔ จาพวก
[๑๙๘] ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย บุคคล ๔ จาพวกนี้มป ี รากฏอยูใ่ นโลก .. คือ
(๑) บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูท ้ าตนให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาตนให้เดือดร้อน ๑
(๒) บางคนเป็ นผูท ้ าผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาผูอ ้ นื่ ให้เดือดร้อน ๑
(๓) บางคนทาตนให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาตนให้เดือดร้อน และทาผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน ประกอบความ
ขวนขวายในการทาผูอ ้ นื่ ให้เดือดร้อน ๑
(๔) บางคนไม่ทาตนให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวายในการทาคนให้เดื อดร้อน และไม่ทาผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน ไม่
ประกอบความขวนขวายในการทาให้ผอ ู้ น
ื่ เดือดร้อน ผูไ้ ม่ทาตนให้เดือดร้อน และไม่ทาผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน เป็ นผูไ้ ม่หวิ
ดับร้อน เย็นใจ เสวยสุข มีตนอันประเสริฐ อยูใ่ นปัจจุบน ั เทียว ๑.
ดูก่อนภิก ษุ ทง้ ั หลาย ก็ อย่างไร บุคคลชื่อว่าเป็ นผู้ทาตนให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาตนให้
เดือดร้อน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นชีเปลือย ไร้มารยาท เลียมือ เขาเชิญให้มารับภิกษาก็ไม่มา เขาเชิญให้หยุดก็ไม่หยุด ไม่
ยินดีภก ิ ษาทีเ่ ขานามาเฉพาะ ไม่ยน ิ ดีภก
ิ ษาทีเ่ ขาทาเฉพาะ ไม่ยน ิ ดีการเชิญ ไม่รบ ั ภิกษาทีเ่ ขาแบ่ งไว้ก่อน .. จากปากหม้อ
ข้าว .. ทีค ่ นยืนคร่อมธรณี ประตูให้ .. ทีค ่ นยืนคร่อมท่อนไม้ให้ .. ทีค ่ นยืนคร่อมสากให้ .. ของคนสองคนผูก ้ าลังบริโภคอยู่
.. ของหญิงมีครรภ์ .. ของหญิงผูก ้ าลังให้ลูกดูดนม .. ของหญิงผูค ้ ลอเคลียบุรุษ .. ทีน ่ ดั แนะกันไว้ ..ในทีซ ่ งึ่ สุนขั ได้รบ
ั เลี้ยง
ดู .. ในทีม ่ ีแมลงวันไต่ตอมเป็ นกลุ่ม ไม่กน ิ ปลา ไม่กน ิ เนื้อ ไม่ดม ื่ สุรา ไม่ดม ื่ เมรัย ไม่ดม ื่ ยาดอง เขารับภิกษาทีเ่ รือนหลัง
เดียว เยียวยาอัตภาพด้วยข้าวคาเดียวบ้าง รับภิกษาทีเ่ รือนสองหลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าวสองคาบ้าง รับภิกษาทีเ่ รือน ๗
หลัง เยียวยาอัตภาพด้วยข้าว ๗ คาบ้าง เยียวยาอัตภาพด้วยภิกษาในถาดน้อยใบเดียวบ้าง ๒ ใบบ้าง ๗ ใบบ้าง กินอาหารที่
เก็บค้างไว้วน ั หนึ่งบ้าง ๒ วันบ้าง ๗ วันบ้าง เป็ นผูป ้ ระกอบความขวนขวายในการบริโภคภัตทีเ่ วียนมาตัง้ กึง่ เดือนเช่นนี้ บา้ ง
ชีเปลือยนัน ้ เป็ นผูม ้ ีผกั ดองเป็ นภักษาบ้าง มีขา้ วฟ่ าง .. ลูกเดือย .. กากข้าว .. ยาง .. สาหร่าย .. รา .. ข้าวตัง .. กายาน ..
หญ้า .. โคมัย .. เหง้าและผลไม้ในป่ าเป็ นอาหาร บริโภคผลไม้หล่นเยียวยาอัตภาพ ชีเปลือยนัน ้ ทรงผ้าป่ านบ้าง ผ้าแกมกัน
.. ผ้าห่อศพ .. ผ้าบังสุกุล .. ผ้าเปลือกไม้ .. หนังเสือ .. หนังเสือทัง้ เล็ บ .. ผ้าคากรอง .. ผ้าเปลือกปอกรอง .. ผ้าผลไม้กรอง
.. ผ้ากัมพลทาด้วยผมคน .. ผ้ากัมพลทาด้วยขนสัตว์ .. ผ้าทาด้วยขนปี กนกเค้าบ้าง เป็ นผูถ ้ อนผมและหนวด ประกอบด้วย
ความขวนขวนในการถอนผมและหนวดบ้าง เป็ นผูย้ ืน คือ ห้ามอาสนะบ้าง เป็ นผูก ้ ระโหย่ง ประกอบควานขวนขวายในการ
กระโหย่ง บ้า ง เป็ นผู้น อนบนหนาม คือ ส าเร็ จ การนอนบนหนามบ้า ง เป็ นผู้อ าบน้ า วัน ละ ๓ ครั้ง คือ ประกอบความ
ขวนขวายในการลงน้าบ้าง
เขาเป็ นผูป ้ ระกอบความขวนขวายในการทากายให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อนมีอย่างต่างๆ เห็นปานนี้อยู่ ด้วยประการ
ฉะนี้ ดูก่อ นภิก ษุ ท ้งั หลาย อย่า งนี้ แ ล บุ ค คลชื่อ ว่า เป็ นผู้ท าตนให้เ ดือ ดร้อ น ประกอบความขวนขวายในการท าตนให้
เดือดร้อน.
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย ก็อย่างไร บุคคลชือ ่ ว่าเป็ นผูท้ าผูอ
้ น
ื่ ให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาผู้อืน ่ ให้
เดือดร้อน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูฆ ้ า่ แพะ ฆ่าสุกร เป็ นนายพรานนก เป็ นนายพรานเนื้อ เป็ นผูห ้ ยาบช้า เป็ นคนฆ่าปลา
เป็ นโจร เป็ นผูฆ ้ า่ โจร เป็ นนักโทษ หรือเป็ นผูท ้ ากรรมอันหยาบช้าชนิดใดชนิดหนึ่งก็ ตาม ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย อย่างนี้ แล
บุคคลชือ ่ ว่าเป็ นผูท ้ าผูอ ้ นื่ ให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน
ดูก่อนภิก ษุ ท ง้ ั หลาย ก็ อย่างไร บุคคลชื่อว่าเป็ นผู้ท าตนให้เ ดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาตนให้
เดือดร้อน และเป็ นผูท ้ าผูอ ้ นื่ ให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวายในการทาผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นพระราชามหากษัตริย์ได้มูรธาภิเษก หรือว่าเป็ นพราหมณ์ มหาศาล บุคคลนัน ้ ให้ส ร้าง
สัณฐาคารใหม่ทางทิศตะวันออกแห่งพระนคร แล้วปลงผมและหนวด นุ่งหนังสัตว์มีเล็บ ชโลมกายด้วยเนยและน้ามัน เกา
หลังด้วยเขามฤค เข้าไปสูส ่ ณ ั ฐาคารพร้อมด้วยมเหสีและพราหมณ์ ปโุ รหิต
บุคคลนัน ้ สาเร็จการนอนบนพื้น อันปราศจากการปูลาด ไล้ดว้ ยมูลโคสด น้านมใดมีอยู่ในนมเต้าหนึ่งของแม่โคลูก
อ่อนตัวหนึ่ง พระราชาย่อมยังพระชนม์ให้เป็ นไปด้วยน้านมเต้านัน ้ น้านมใดมีอยูใ่ นนมเต้าที่ ๒ พระมเหสียอ ่ มยังพระชนม์
ให้เ ป็ นไปด้วยน้ านมเต้านั้น น้ านมใดมีอยู่ในนมเต้าที่ ๓ พราหมณ์ ปุโรหิตย่อมยังอัตภาพให้เ ป็ นไปด้วยน้ านมเต้า นั้น
น้านมใดมีอยูใ่ นนมเต้าที่ ๔ ย่อมบูชาไฟด้วยน้านมเต้านัน ้ ลูกโคย่อมยังอัตภาพให้เป็ นไปด้วยน้านมทีเ่ หลือ

~ 34 ~
พระราชานัน ้ ตรัสอย่างนี้ว่า ท่านทัง้ หลายจงฆ่าโคเท่านี้เพือ ่ บูชายัญ จงฆ่าลูกโคผูเ้ ท่านี้เพือ ่ บูชายัญ จงฆ่าลูกโคเมีย
เท่านี้ เพื่อบูชายัญ จงฆ่าแพะเท่านี้ เพื่อบูชายัญ จงฆ่าแกะเท่านี้ เพื่ อบูชายัญ จงตัดต้นไม้เท่านี้ เพื่อทาหลัก จงเกี่ยวหญ้าคา
เท่านี้เพือ ่ บังและลาด แม้ชนเหล่าใดทีเ่ ป็ นทาสก็ดี เป็ นคนรับใช้ก็ดี เป็ นคนงานก็ดี ของพระราชานัน ้ แม้ชนเหล่านัน ้ ก็สะดุ้ง
ต่ออาญา สะดุง้ ต่อภัย มีหน้านองด้วยน้าตาร้องไห้ทาการงานอยู่ ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย อย่างนี้ แล บุคคลชือ ่ ว่าเป็ นผูท ้ าตนให้
เดือดร้อน ประกอบด้วยความขวนขวายในการทาตนให้เดือดร้อน และเป็ นผูท ้ าผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน ประกอบความขวนขวาย
ในการทาผูอ ้ นื่ ให้เดือดร้อน.
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย ก็อย่างไร บุคคลชื่อว่าไม่ท าตนให้เ ดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวายในการทาตนให้
เดือดร้อน และไม่ทาผูอ ้ น ื่ ให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวายในการทาผูอ ้ น
ื่ ให้เดือดร้อน บุคคลนัน ้ เป็ นผูไ้ ม่ทาตนให้
เดือดร้อน และไม่ทาผูอ ้ น ื่ ให้เดือดร้อน เป็ นผูไ้ ม่มค ี วามหิว ดับร้อน เย็นใจ เสวยสุข มีตนอืน ่ ประเสริฐอยูใ่ นปัจจุบ ันเทียว ?
ดูกอ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย พระตถาคตเสด็จอุบตั ข ิ น ึ้ ในโลกนี้ เป็ นพระอรหันต์ ตรัสรูเ้ องโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ
จรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรูแ ้ จ้งโลก เป็ นสารถีฝึกบุรุษทีค ่ วรฝึ ก ไม่มีผอ ู้ น ื่ ยิง่ กว่า เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทง้ ั หลาย
เป็ นผูเ้ บิกบานแล้ว เป็ นผูจ้ าแนกธรรม พระตถาคตพระองค์นน ้ ั ทรงทาโลกนี้ พร้อมทัง้ เทวโลก มารโลก พรหมโลก ให้แจ้ง
ชัดด้วยพระปัญญาอันยิง่ ของพระองค์เองแล้ว ทรงสอนหมูส ่ ตั ว์พร้อมทัง้ สมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ให้รต ู้ าม พระองค์
ทรงแสดงธรรมอัน งามในเบื้อ งต้น งานในท่า มกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อ มทั้ง อรรถ พร้อ มทั้ง
พยัญชนะ บริสท ์ ริบรู ณ์ สน
ุ ธิบ ิ้ เชิง
คฤหบดีหรือบุตรแห่งคฤหบดี หรือบุคคลผูเ้ กิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่ง ย่อมฟังธรรมนัน ้ เขาฟังธรรมนัน ้ แล้ว ย่อม
ได้ศรัทธาในพระตถาคต เขาประกอบด้วยการได้ซงึ่ ศรัทธานัน ้ ย่อมเห็นตระหนักชัดดังนี้ ว่า ฆราวาสดับแคบ เป็ นทางมา
แห่งธุลี บรรพชาเป็ นทางปลอดโปร่ง การทีบ ่ ค
ุ คลผูค ้ รองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ ์
โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ขดั ไม่ใช่ทาได้งา่ ย ถ้ากระไร เราพึงปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกบวชเป็ นบรรพชิตเถิด
สมัยต่อมา เขาละกองโภคสมบัตน ิ ้อยใหญ่ ละเครือญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด นุ่ งห่มผ้ากาสายะ ออกบวช
เป็ นบรรพชิต เมือ่ เขาบวชแล้วอย่างนี้ ถึงความเป็ นผูม ้ ส
ี ก
ิ ขาและสาชีพ เสมอด้วยภิกษุ ทง้ ั หลาย
ละปาณาติบาต งดเว้นจากปาณาติบาต วางอาชญา วางศาสตรา มีความละอาย มีความเอ็นดู อนุ เคราะห์เกื้อกูล
สรรพสัตว์อยู่เสมอ ละอทินนาทาน งดเว้นจากอทินนาทาน ถือเอาแต่ของทีเ่ ขาให้ จานงแต่ของทีเ่ ขาให้ มีตนไม่เป็ นขโมย
สะอาดอยู่เสมอ ละกรรมอันเป็ นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล เว้นจากเมถุนอันเป็ นกิจของ
ชาวบ้าน ละมุสาวาท งดเว้น จากมุสาวาท พูดแต่คาจริง ดารงคาสัตย์ พูดเป็ นหลักฐาน ควรเชื่อได้ ไม่ พูดลวงโลก ละคา
ส่อเสียด เว้นขาดจากคาส่อเสียด ฟังจากข้างนี้แล้วไม่ไปบอกข้างโน้น เพือ ่ ให้คนหมูน ่ ี้แตกร้าวกัน หรือฟังจากข้างโน้นแล้ว
ไม่มาบอกข้างนี้ เพือ ่ ให้คนหมูโ่ น้นแตกร้าวกัน สมานคนทีแ ่ ตกร้าวกันแล้วบ้าง ส่งเสริมคนทีพ ่ ร้อมเพรียงกันแล้วบ้าง ชอบ
คนผูพ ้ ร้อมเพรียงกัน ยินดีในคนผูพ ้ ร้อมเพรียงกัน เพลิดเพลินในคนผูพ ้ ร้อมเพรียงกัน กล่าวแต่คาทีท ่ าให้พร้อมเพรียงกัน
ละวาจาหยาบ เว้นขาดจากวาจาหยาบ กล่าวแต่คาทีป ่ ราศจากโทษ เสนาะโสต ชวนให้รกั จับใจ สุภาพ คนส่วนมากรักใคร่
พอใจ ละคาเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากคาเพ้อเจ้อ พูดถูกกาล พูดแต่คาทีเ่ ป็ นจริง พูดอิงอรรถ พูดอิงธรรม พูดอิงวินยั พูดแต่คามี
หลักฐาน มีทอ ี่ า้ ง มีทก ี่ าหนด ประกอบด้วยประโยชน์โดยกาลอันควร
เธอเว้นขาดจากการพรากพืชคามและภูตคาม ฉันหนเดียว เว้นการฉันในราตรี งดจากการฉันในเวลาวิกาล เว้น
ขาดจากการฟ้ อนราขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการเล่นอันเป็ นข้าศึกแก่กุศล เว้นขาดจากการทัดทรง ประดับและตกแต่ง
ร่างกายด้วยดอกไม้ ของหอม และเครือ ่ งประเทืองผิว อันเป็ นฐานะแห่งการแต่งตัว เว้นขาดจากการนั่งนอนบนทีน ่ งั่ ที่นอน
อันสูงใหญ่ เว้นขาดจากการรับทองและเงิน เว้นขาดจากการรับธัญชาติ ดิบ เว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ เว้นขาดจากการรับ
สตรีและกุมารี เว้นขาดจากการรับทาสีและทาส เว้นขาดจากการรับแพะและแกะ เว้นขาดจากการรับไก่และสุกร เว้นขาด
จากการรับช้าง โค ม้าและฬา เว้นขาดจากการรับไร่นาและทีด ่ น ิ เว้นขาดจากการประกอบทูตกรรมและการรับใช้ เว้นขาด
จากการซื้อขาย เว้นขาดจากการฉ้ อโกงด้วยตาชั่ง โกงด้วยของปลอมและโกงด้วยเครือ ่ งตวงวัด เว้นขาดจากการรับสินบน
การล่อลวงและการตลบแตลง เว้นขาดจากการตัด การฆ่า การจองจา การตีชงิ การปล้นและกรรโชก เธอเป็ นผูส ้ ันโดษด้วย
จีวรเป็ นเครือ ่ งบริหารกาย ด้วยบิณฑบาตเป็ นเครือ ่ งบริหารท้อง เธอจะไปทางทิศาภาคใด ๆ ก็ถือไปได้เอง นกมีปีกจะบิน
ไปทางทิศาภาคใด ๆ ก็มแ ี ต่ปีกของตัวเป็ นภาระบินไป ฉันใด ภิกษุ ก็ฉน ั นัน ้ แล เป็ นผูส ้ นั โดษด้วยจีวรเป็ นเครือ ่ งบริหารกาย
ด้วยบิณฑบาตเป็ นเครือ ่ งบริหารท้อง เธอจะไปทางทิศาภาคใด ๆ ก็ถือไปได้เอง
เธอเป็ นผู้ประกอบด้วยศีลขันธ์อน ั เป็ นอริยะเช่นนี้ แล้ว ย่อ มเสวยสุขอันปราศจากโทษในภายใน เธอเห็นรูปด้วย
จักษุ แล้ว ไม่ถือนิมต ิ ไม่ถืออนุพยัญชนะ ย่อมปฏิบตั เิ พือ ่ สารวมจักขุนทรีย์ ทีเ่ มือ ่ ไม่สารวมแล้ว จะเป็ นเหตุให้อกุศลธรรม
อันลามก คือ อภิชฌา และโทมนัสครอบงานัน ้ ชือ่ ว่ารักษาจักขุนทรีย์ ถึงความสารวมในจักขุนทรีย์
ฟังเสียง ด้วยหู...ดมกลิน ่ ด้วยจมูก.. .ลิม้ รสด้วยลิน ้ ...ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย...รูแ ้ จ้งธรรมารมณ์ ดว้ ยใจแล้ว ไม่
ถือนิมต ิ ไม่ถืออนุพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบตั เิ พื่อสารวม มนินทรีย์ ทีเ่ มือ ่ ไม่สารวมแล้ว จะเป็ นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก

~ 35 ~
คือ อภิชฌาและโสมนัสครอบงานั้น ชื่อว่ารักษามนินทรีย์ ถึงความสารวมในมนินทรีย์ เธอประกอบด้วยอินทรียสังวรอัน
เป็ นอริยะ เช่นนี้ ย่อมได้เสวยสุขอันบริสท ุ ธิไ์ ม่ระคนด้วยกิเลสในภายใน
เธอย่อมทาความรูส ้ ก ึ ตัวในการก้าวไป ในการถอยกลับ ย่อมทาความรูส ้ กึ ตัวในการแล ในการเหลียว ย่อมทาความ
รูส
้ ก ึ ตัวในการคูเ้ ข้า ในการเหยี ยดออก ย่อมทาความรูส ้ ก ึ ตัวในการทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร ย่อมทาความรูส ้ กึ ตัวในการ
ฉัน การดืม ่ การเคี้ยวการลิม ้ ย่อมทาความรูส ้ กึ ตัวในการถ่ายอุจจาระปัสสาวะ ย่อมทาความรูส ้ กึ ตัวในการเดิน การยืน การ
นั่ ง การหลับ การตืน ่ ความนิ่ง เธอประกอบด้วยศีลขันธ์ อินทรียสังวร และสติสม ั ปชัญญะ อันเป็ นอริยะเช่นนี้ ย่อมเสพ
เสนาสนะอันสงัด คือ ป่ า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถา้ ป่ าช้า ป่ าชัฏ ทีแ ่ จ้ง ลอมฟาง เธอกลับจากบิณฑบาตภายหลังภัตแล้ว นั่ง
คูบ้ ัลลังก์ ตัง้ กายตรง ดารงสติไว้เฉพาะหน้า
เธอละความโลภในโลก มีใจปราศจากความโลภอยู่ ย่อมชาระจิตให้บริสท ุ ธิจ์ ากความโลภ ละความประทุษร้าย คือ
พยาบาท ไม่คิด พยาบาท มี ค วามกรุ ณ า หวัง ประโยชน์ เ กื้ อ กู ล แก่ ส ต ั ว์ ท ้งั ปวงอยู่ ย่ อ มช าระจิ ต ให้ บ ริ สุ ท ธิ จ์ ากความ
ประทุษร้ายคือ พยาบาท ละถีนมิทธะแล้ว มีความกาหนดหมายอยู่ทีแ ่ สงสว่าง มีสติ มีสมั ปชัญญะ ย่อมชาระจิตให้บริสุทธิ ์
จากถีนมิทธะ ละอุทธัจจกุกกุจจะแล้ว เป็ นผู้ไม่ฟุ้งซ่า น มีจิตสงบภายใน ย่อมชาระจิตให้บริสุท ธิจ์ ากอุทธัจจกุกกุ จจะ ละ
วิจก ิ จิ ฉาแล้ว เป็ นผูข ้ า้ มวิจก ิ จิ ฉา ไม่มีความสงสัยในกุศลธรรมทัง้ หลาย ย่อมชาระจิตให้บริสุทธิจ์ ากวิจก ิ จิ ฉา เธอละนิวรณ์
เหล่านี้อน ั เป็ นอุปกิเลสของใจ เป็ นเครือ ่ งทาปัญญาให้ทุรพลแล้ว สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ภิกษุ นน ้ ั เมือ ่ จิตเป็ น
สมาธิ บริสท ุ ธิ ์ ผ่องแผ้ว ไม่มก ี เิ ลส ปราศจากอุปกิเลส เป็ นจิตอ่อน ควรแก่การงาน ตัง้ มั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้
ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพือ ่ บุพเพนิวาสานุสติญาณ เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็ นอันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง
สองชาติ บ้าง สามชาติบา้ ง สีช ่ าติบา้ ง ห้าชาติบา้ ง สิบชาติบา้ ง ยีส ่ บ
ิ ชาติบา้ ง สามสิบชาติบา้ ง สีส ่ บ
ิ ชาติบา้ ง ห้าสิบชาติบ้าง
ร้อยชาติบา้ ง พันชาติบา้ ง แสนชาติบา้ ง ตลอดสังวัฏกัปเป็ นอันมากบ้าง ตลอดวิวฏ ั กัปเป็ นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏวิวฏ ั กั ป
เป็ นอันมากบ้างว่า ในภพโน้นเรามีชือ ่ ออย่างนัน ้ มีโคตรอย่างนัน ้ มีผวิ พรรณอย่างนัน ้ มีอาหารอย่างนัน ้ เสวยสุขและทุกข์
อย่างนัน ้ ๆ มีกาหนดอายุเพียงเท่านัน ้ ครัน ้ จุตจิ ากภพนัน ้ แล้วได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนัน ้ เราก็ได้มีชือ ่ อย่างนัน ้ มี
โคตรอย่างนัน ้ มีผวิ พรรณอย่า งนัน ้ มีอาหารอย่างนัน ้ เสวยสุขและทุกข์อย่างนัน ้ ๆ มีกาหนดอายุเพียงเท่านัน ้ ครัน ้ จุตจิ าก
ภพนัน ้ แล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึกถึงชาติกอ ่ นได้เป็ นอันมาก พร้อมทัง้ อาการพร้อมทัง้ อุเทศ ด้วยประการฉะนี้
ภิกษุ น้น ั เมือ ่ จิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิผ ์ ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็ นจิตอ่อน ควรแก่การงาน ตัง้ มั่นไม่
หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพือ ่ รูจ้ ุติ และอุปบัตข ิ องสัตว์ทง้ ั หลาย เธอย่อมเห็นหมูส ่ ตั ว์ทีก่ าลังจุติ กาลังอุปบัติ เลว
ประณี ต มีผวิ พรรณดี มีผวิ พรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุ อน ั บริสุทธิ ์ ล่วงจักษุ ของมนุ ษย์ ย่อมรูช ้ ดั ซึ่งหมู่สตั ว์ ผู้
เป็ นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็ นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการ
กระทาด้วยอานาจมิจฉาทิฏฐิ เมือ ่ ตายไป เขาเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วย กายสุจริต ว จี
สุจริต มโนสุจริต ไม่ตเิ ตียนพระอริยเจ้า เป็ นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทาด้วยอานาจสัมมาทิฏฐิ เมือ ่ ตายไป เขาเข้าถึงสุคติ
โลกสวรรค์ เธอย่อมเห็ นหมู่ส ต ั ว์ ก าลังจุ ติ ก าลังอุปบัติ เลว ประณี ต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้ว ย
ทิพยจักษุ อน ั บริสท ุ ธิ ์ ล่วงจักษุ ของมนุษย์ ย่อมรูช ้ ดั ซึง่ หมูส ่ ตั ว์ ผูเ้ ป็ นไปตามกรรมด้วยประการฉะนี้
ภิกษุ นน ้ ั เมือ ่ จิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกเิ ลส ปราศจากอุปกิเลส เป็ นจิตอ่อน ควรแก่การงาน ตัง้ มั่น ไม่
หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพือ ่ อาสวักขยญาณ ย่อมรูช ้ ดั ตามความเป็ นจริงว่า นี้ ทุกข์ นี้ทุกขสมุทยั นี้ทุกขนิโรธ นี้
ทุกขนิโรธคานินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ นี้เหตุให้เกิดอาสวะ นี้ความดับอาสวะ นี้ขอ ้ ปฏิบตั ใิ ห้ถึงความดับอาสวะ เมือ ่ เธอรู้
เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมือ่ จิตหลุดพ้นแล้ว ก็มญ ี าณหยั่งรู้วา่ หลุด
พ้นแล้ว รูช ้ ดั ว่าชาติสน ิ้ แล้ว พรหมจรรย์อยูจ่ บแล้ว กิจทีค ่ วรทา ทาเสร็จแล้ว กิจอืน ่ เพือ ่ ความเป็ นอย่างนี้มไิ ด้ม.ี
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย อย่างนี้แล บุคคลชือ ่ ว่าเป็ นผู้ไม่ทาตนให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวายในการทาตน
ให้เดือดร้อน และไม่ทาผูอ ้ น ื่ ให้เดือดร้อน ไม่ประกอบความขวนขวายในการทาผูอ ้ น ื่ ให้เดือดร้อนและบุคคลนัน ้ เป็ นผูไ้ ม่ทา
ตนให้เดือดร้อน ไม่ทาผูอ ้ นื่ ให้เดือดร้อน เป็ นผูไ้ ม่มค ี วามหิว เป็ นผูด ้ บั เย็นใจ เสวยสุข มีตนอันประเสริฐ อยูใ่ นปัจจุบ ัน.
ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย บุคคล ๔ จาพวกนี้แล มีปรากฏอยูใ่ นโลก.
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ราสิยสูตร ส.สฬ.๑๘/๖๒๙/๓๓๖
ผูบ้ าเพ็ญตบะ ทาตนให้เดือดร้อน แต่ไม่อาจบรรลุธรรม ๓ จาพวก
[๖๔๔] ดูกอ
่ นนายคามณี บุคคลผูม้ ตี บะ ทรงชีพอยูอ
่ ย่างเศร้าหมอง ๓ จาพวกนี้ มีปรากฏอยูใ่ นโลก ๓ จาพวกเป็ นไฉน คือ
บุคคลผู้มีตบะทรงชี พอยู่อย่างเศร้าหมองบางคนในโลกนี้ เป็ นผู้มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิตด้วยคิดว่า ไฉน
หนอ เราพึงบรรลุกุศลธรรม พึงทาให้แจ้งซึ่งอุตตริ มนุ สสธรรมที่เป็ นญาณทัศนะ วิเศษชัน้ เยี่ยม อย่างบริบูรณ์ ดังนี้ เขา

~ 36 ~
ย่อมทาตัวให้รอ ้ นรนกระวนกระวาย แต่ก็ไม่บรรลุกุศลธรรม ทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุ สสธรรมที่เ ป็ นญาณทัศนะวิเ ศษชัน ้
เยีย่ มอย่างบริบรู ณ์ ไม่ได้ ๑
ดูกอ
่ นนายคามณี ก็บค ุ คลผูม ้ ตี บะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมองบางคนในโลกนี้ .. เขาย่อมทาตัวให้รอ้ นรนกระวนกระวาย
บรรลุกุศลธรรมอย่างเดียว แต่กระทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุสสธรรมทีเ่ ป็ นญาณทัศนะวิเศษชัน ้ เยีย่ มอย่างบริบรู ณ์ ไม่ได้ ๑
ดูกอ่ นนายคามณี ก็บค ุ คลผูม ้ ตี บะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมองบางคนในโลกนี้ .. เขาย่อมทาตัวให้รอ้ นรนกระวนกระวาย
ได้บรรลุกุศลธรรม และทาไห้แจ้งซึง่ อุตตริมนุสสธรรมทีเ่ ป็ นญาณทัศนะวิเศษชัน ้ เยีย่ มอย่างบริบรู ณ์ ๑.
[๖๔๕] ดูก่อนนายคามณี ในบรรดาบุคคลผู้มีตบะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมอง ๓ จาพวกนั้น ผู้มีตบะทรงชีพอยู่อย่างเศร้า
หมอง ทีท ่ าตัวให้รอ ้ นรนกระวนกระวาย ไม่ได้บรรลุกุศลธรรม ทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุ สสธรรมทีเ่ ป็ นญาณทัศนะวิเศษชัน ้
เยีย่ มอย่างบริบรู ณ์ ไม่ได้นี้ พึงถูกติเตียนโดย ๓ สถาน พึงถูกติเตียนโดย ๓ สถานเป็ นไฉน คือ
สถานที่ ๑ พึงถูกติเตียนดังนี้วา่ ทาตัวให้รอ้ นรนกระวนกระวาย
สถานที่ ๒ พึงถูกติเตียนดังนี้วา่ ไม่ได้บรรลุกุศลธรรม
สถานที่ ๓ พึงถูกติเตียนดังนี้วา่ ทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุสสธรรม ทีเ่ ป็ นญาณทัศนะวิเศษชัน ้ เยีย่ มอย่างบริบรู ณ์ ไม่ได้
ดูกอ่ นนายคามณี บค ุ คลผูม ้ ต ี บะทรงชีพอย่างเศร้าหมองนี้ พึงถูกติเตียนโดย ๓ สถานเหล่านี้.
[๖๔๖] ดูกอ ่ นนายคามณี ในบรรดาบุคคลผูม ้ ต ี บะทรงชีพอยูอ ่ ย่างเศร้าหมอง ๓ จาพวกนัน ้ ผูม ้ ตี บะทรงชีพอยู่อย่าง
เศร้าหมอง ทีท ่ าตัวให้รอ ้ นรนกระวนกระวาย ได้บรรลุกุศลธรรมเหล่านัน ้ แต่ทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุสสธรรมชัน ้ เยีย่ มอย่าง
บริบูรณ์ ไม่ได้นี้ พึงถูกติเตียนโดย ๒ สถาน ควรสรรเสริญโดยสถานเดียว พึงถูกติเตียนโดย ๒ สถานเป็ นไฉน คือ สถานที่
๑ พึงถูกติเตียนดังนี้ ว่า ทาตัวให้รอ ้ นรนกระวนกระวาย สถานที่ ๒ พึงถูกติเตียนดังนี้ ว่า ทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุ สสธรรมที่
เป็ นญาณทัศนะวิเศษชัน ้ เยีย่ มอย่างบริบูรณ์ ไม่ได้ ควรสรรเสริญโดยสถานเดียวเป็ นไฉน คือ ควรสรรเสริญโดยสถานเดียว
ดังนี้ ว่า ได้บรรลุกุศลธรรม ดูก่อนนายคามณี บุคคลผู้มีตบะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมองเช่นนี้ พึงถูกติเตียนโดย ๒ สถาน
ควรสรรเสริญโดยสถานเดียวนี้.
[๖๔๗] ดูกอ ่ นนายคามณี ในบรรดาบุคคลผูม ้ ต ี บะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมอง ๓ จาพวกนัน ้ ผูม ้ ตี บะทรงชีพอยู่อย่าง
เศร้าหมอง ทีท ่ าตัวให้รอ้ นรนกระวนกระวาย ได้บรรลุกุศลธรรม และทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุ สสธรรมทีเ่ ป็ นญาณทัศนะวิเศษ
ชัน ้ เยีย่ มอย่างบริบรู ณ์ นี้ พึงถูกติเตียนโดยสถานเดียว ควรสรรเสริญโดย ๒ สถาน พึงถูกติเตียนโดยสถานเดียวเป็ นไฉน คือ
พึงถูกติเตียนโดยสถานเดียวดังนี้ ว่า ทาตัวให้รอ ้ นรนกระวนกระวาย ควรสรรเสริญโดย ๒ สถานเป็ นไฉน คือ สถานที่ ๑
ควรสรรเสริญดังนี้ว่า ได้บรรลุกุศลธรรม สถานที่ ๒ ควรสรรเสริญดังนี้ วา่ ทาให้แจ้งซึง่ อุตตริมนุ สสธรรมทีเ่ ป็ นญาณทัศนะ
วิเศษชัน ้ เยี่ยมอย่างบริบูรณ์ ได้ ดูก่อนนายคามณี บุคคลผู้มีตบะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมองเช่นนี้ พึงถูกติเตียนโดยสถาน
เดียว ควรสรรเสริญโดย ๒ สถานเหล่านัน ้ .
ว่าด้วยธรรม ๓ อย่างอันบุคคลพึงเห็นเอง
[๖๔๘] ดูก่อนนายคามณี ธรรม ๓ อย่างนี้ เป็ นของอันบุคคลพึงเห็นเอง หาความทรุดโทรมมิได้ ไม่ประกอบด้วย
กาล ควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเข้ามาในตน อันวิญญูชนจะพึงรูเ้ ฉพาะตน ธรรม ๓ อย่างเป็ นไฉน คือ
การทีบ ่ ุคคลเป็ นผูก ้ าหนัด ตัง้ ใจทีจ่ ะเบียดเบียนตนเองบ้าง ตัง้ ใจทีจ่ ะเบียดเบียนผูอ ้ น ื่ บ้าง ตัง้ ใจทีจ่ ะเบียดเบียนทัง้
ตนเองทัง้ ผู้อื่นบ้างเพราะราคะเป็ นเหตุ เมื่อละราคะได้แล้ว ย่อมไม่ตง้ ั ใจที่จะเบีย ดเบีย นตนเองบ้า ง ย่อมไม่ตง้ ั ใจที่จ ะ
เบียดเบียนผูอ ้ นื่ บ้าง ย่อมไม่ตง้ ั ใจทีจ่ ะเบียดเบียนทัง้ ตนเองทัง้ ผูอ ้ น
ื่ บ้าง นี้เป็ นธรรมอันบุคคลพึงเห็นเอง หาความทรุดโทรม
มิได้ ไม่ประกอบด้วยกาล ควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเข้ามาในตน อันวิญญูชนจะพึงรูเ้ ฉพาะตน ๑
การที่บุคคลผู้ถูกโทสะประทุษร้ายแล้ว ตัง้ ใจที่จะเบียดเบียนตนเองบ้าง ตัง้ ใจที่จะเบียดเบียนผู้อืน ่ บ้าง ตัง้ ใจที่จะ
เบียดเบียนทัง้ ตนเองทัง้ ผูอ ้ น
ื่ บ้าง เพราะโทสะเป็ นเหตุ เมือ ่ ละโทสะได้แล้ว ย่อมไม่ตง้ ั ใจทีจ่ ะเบียดเบียนตนเองบ้าง ย่อมไม่
ตัง้ ใจทีจ่ ะเบียดเบียนผูอ ้ นื่ บ้าง ย่อมไม่ตง้ ั ใจทีจ่ ะเบียดเบียนทัง้ ตนเองทัง้ ผูอ ้ น
ื่ บ้าง ..
การทีบ ่ ุคคลผูห ้ ลงแล้ว ตัง้ ใจจะเบียดเบียนตนเองบ้าง ตัง้ ใจจะเบียดเบียนผูอ ้ น
ื่ บ้าง ตัง้ ใจจะเบียดเบียนทัง้ ตนเองทัง้
ผู้อืน ่ บ้าง เพราะโมหะเป็ นเหตุ เมือ ่ ละโมหะได้แล้ว ย่อมไม่ตง้ ั ใจที่จะเบียดเบียนตนเองบ้าง ย่อมไม่ตง้ ั ใจที่จะเบียดเบียน
ผูอ้ นื่ บ้าง ย่อมไม่ตง้ ั ใจทีจ่ ะเบียดเบียนทัง้ ตนเองทัง้ ผูอ ้ น ื่ บ้าง ..
ดูก่อนนายคามณี ธรรม ๓ อย่างนี้ แล เป็ นของอันบุคคลพึงเห็นเองหาความทรุดโทรมมิได้ ไม่ประกอบด้วยกาล
ควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเข้ามาในตน อันวิญญูชนจะพึงรูเ้ ฉพาะตน.
……………………………………………………

~ 37 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ธนัญชานิสูตร
ม.ม.๑๓/๖๗๒/๔๖๘
เหตุไม่ต้งั อยูใ่ นธรรม (ทาน-ศีล-ภาวนา) อ้างมารดาบิดา ฯ ไม่ได้
[๖๗๒] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผูม ้ พี ระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวน ั กลันทกนิวาปสถาน เขตพระนครราชคฤห์. สมัยนัน ้ แล ท่าน
พระสารีบุตรเทีย่ วจาริกไปในทักขิณาคีรีชนบท พร้อมด้วยภิกษุ หมูใ่ หญ่. ครัง้ นัน ้ ภิกษุ รูปหนึ่งจาพรรษาอยู่ในพระนครรา
ชคฤห์ ได้เข้าไปหาท่านพระสารีบต ุ ร.. ครัน ้ ผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว นั่ ง ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง.
[๖๗๓] ท่านพระสารีบุตรได้ถามภิกษุ น้น ั ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ พระผู้มีพระภาคไม่ทรงพระประชวร และยังทรงพระ
กาลังอยูห ่ รือ?
ภิกษุ นน ้ ั กราบเรียนว่า พระผูม ้ พี ระภาคไม่ทรงพระประชวร และยังทรงพระกาลังอยู่ ท่านผูม ้ อ
ี ายุ.
สา. ท่านผูม ้ อี ายุ ก็ภก ิ ษุ สงฆ์ไม่ป่วยไข้ และยังมีกาลังอยูห ่ รือ?
ภิ. แม้ภก ิ ษุ สงฆ์ก็ไม่ป่วยไข้ และยังมีกาลังอยู่ ท่านผูม ้ อ
ี ายุ.
สา. ดูกรท่านผูม ้ ีอายุ ธนัญชานิพราหมณ์ อยู่ทีใ่ กล้ประตูตณ ั ฑุลปาละ ในพระนครราชคฤห์นน ้ ั เขาไม่ป่วยไข้และยังมี
กาลังอยูห ่ รือ?
ภิ. แม้ธนัญชานิพราหมณ์ ก็ไม่ป่วยไข้ และยังมีกาลังอยู่ ท่านผูม ้ อ
ี ายุ.
สา. ดูกรท่านผูม ้ อ ี ายุ ธนัญชานิพราหมณ์ ยงั เป็ นผูไ้ ม่ประมาทหรือ?
ภิ. ทีไ่ หนได้ท่านผูม ้ ีอายุ ธนัญชานิพราหมณ์ ของเราจะไม่ประมาท เขาอาศัยพระราชา เทีย่ วปล้นพวกพราหมณ์ และ
คฤหบดี อาศัยพวกพราหมณ์ และคฤหบดีปล้นพระราชา ภรรยาของเขาผูม ้ ศี รัทธา ซึง่ นามาจากสกุลทีม ่ ศี รัทธาทากาละ(ตาย)
เสียแล้ว เขาได้หญิงอืน ่ มาเป็ นภรรยา หาศรัทธามิได้ เขานามาจากสกุลทีไ่ ม่มศ ี รัทธา ...
[๖๗๔] ได้ยน ิ ว่า สมัยนัน ้ ... ท่านพระสารีบต ุ ร.. ภายหลังภัต กลับจากบิณฑบาตแล้ว เข้าไปหาธนัญชานิพราหมณ์ ถงึ ที่
อยู่. ธนัญชานิพราหมณ์ ได้เห็นท่านพระสารีบุตรกาลังมาแต่ไกล จึงเข้าไปหาท่านพระสารีบุตร แล้วได้กล่าวว่า นิมนต์ดม ื่
น้านมสดทางนี้เถิด ท่านสารีบต ุ ร ท่านยังมีเวลาฉันอาหาร.
สา. อย่าเลยพราหมณ์ วันนี้ฉน ั ทาภัตตกิจเสร็จแล้ว ฉันจักพักกลางวันทีโ่ คนต้นไม้โน้น ท่านพึงมาในทีน ่ น
้ ั ธนัญชานิ
พราหมณ์ รบั คาท่านพระสารีบต ุ รแล้ว
ครัง้ นัน ้ ธนัญชานิพราหมณ์ บริโภคอาหารเวลาเช้าเสร็จแล้ว ได้เข้าไปหาท่านพระสารีบุตร.. ครัน ้ ผ่านการปราศรัยพอ
ให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ทีค ่ วรข้างหนึ่ง.
การประพฤติไม่ชอบธรรม
[๖๗๕] ท่านพระสารีบต ุ รได้ถามว่า ดูกรธนัญชานิ ท่านเป็ นผูไ้ ม่ประมาทหรือ?
ธนัญชานิพราหมณ์ ได้ตอบว่า ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร ทีไ่ หนข้าพเจ้าจะไม่ประมาท เพราะข้าพเจ้าต้องเลี้ยงมารดา
บิดา ต้องเลี้ยงบุตรและภรรยา ต้องเลี้ยงพวกทาส กรรมกร และคนรับใช้ ต้องทากิจสาหรับมิตรและอามาตย์ แก่มต ิ รและ
อามาตย์ ต้องทากิจสาหรับญาติสาโลหิต แก่ญาติสาโลหิต ต้องทากิจสาหรับแขกแก่แขก ต้องทาบุญทีค ่ วรทาแก่ปุพเปตชน
ส่งไปให้ปพ ุ เปตชน (ผูท ้ ลี่ ว่ งลับไปแล้ว) ต้องทาการบวงสรวงแก่พวกเทวดา ต้องทาราชการให้แก่หลวง แม้กายนี้ก็ตอ ้ งให้อม ิ่
หนาต้องให้เจริญ.
[๖๗๖] สา. ดูก รธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็ นไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้ เ ป็ นผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม
ประพฤติผด ิ ธรรม เพราะเหตุแห่งบิดามารดา .. เพราะเหตุแห่งบุตรและภรรยา .. เพราะเหตุแห่งทาสกรรมกรและคนรับใช้
.. เพราะเหตุแห่งมิตรและอามาตย์ .. เพราะเหตุแห่งญาติสาโลหิต .. เพราะเหตุแห่งแขก .. เพราะเหตุแห่งปุพเปตชน ..
เพราะเหตุแห่งการเลี้ยงกาย เพราะเหตุทานุ บารุงกาย นายนิริยบาลจะพึงฉุ ดคร่าเขาผู้น้น ั ไปยังนรก เพราะเหตุแห่งการ
ประพฤติไม่ชอบธรรมและประพฤติผด ิ ธรรม
เขาจะพึงได้ตามความปรารถนาหรือหนอว่า เราประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผด ิ ธรรม เพราะเหตุแห่งบิดามารดา
.. บุตรและภรรยา .. ทาสกรรมกรและคนรับใช้ .. มิตรและอามาตย์ .. ญาติสาโลหิต .. แขก .. ปุพเปตชน .. เพราะเหตุการ
เลี้ยงกาย เพราะเหตุการทานุ บารุงกาย ขอนายนิรยิ บาลอย่าพึงฉุ ดคร่าเราไปนรกเลย หรือว่าชนเหล่าอืน ่ ของเขาจะพึงได้
ตามความปรารถนาว่า ผู้นี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผด ิ ธรรม เพราะเหตุการเลี้ยงกาย เพราะเหตุทานุบารุงกาย ขอ
นายนิรยิ บาล อย่าพึงฉุ ดคร่าเขาไปนรกเลย?
ธ. ไม่ใช่เช่นนัน ้ ท่านพระสารีบต ุ ร ทีแ ่ ท้ ถึงผูน
้ น
้ ั จะคร่าครวญมากมาย นายนิรยิ บาล
ก็พงึ โยนเขาลงในนรกจนได้.
[๖๘๖] สา. ดูก รธนัญชานิ ท่า นจะเข้าใจความข้อนั้นเป็ นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม
เพราะเหตุแห่งมารดาบิดา กับบุคคลผูป ้ ระพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุแห่งมารดาบิดา ไหนจะประเสริฐ

~ 38 ~
กว่ากัน?
ธ. ข้าแต่ทา่ นพระสารีบตุ ร ผูท้ ป
ี่ ระพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผด ิ ธรรม เพราะเหตุ แห่งมารดาบิดา ไม่ประเสริฐ ส่วน
ผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุแห่ง มารดาบิดา ประเสริฐ ด้วยว่าการประพฤติชอบธรรมและการ
ประพฤติถูกธรรม ประเสริฐกว่าการประพฤติไม่ชอบธรรมและการประพฤติผด ิ ธรรม.
สา. ดูกรธนัญชานิ การงานอย่างอืน ่ ทีม่ เี หตุ ประกอบด้วยธรรม เป็ นเครือ
่ งให้บค ุ คล อาจเลี้ยงมารดาบิดาได้ ไม่ตอ
้ งทา
กรรมอันลามก และให้ปฏิบตั ป ิ ฏิปทาอันเป็ นบุญได้ มีอยู.่
[๖๘๗] ดูกรธนัญชานิ ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็ นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผด ิ ธรรม เพราะ
เหตุแห่งบุตรและภรรยา .. พวกทาส กรรมกร และคนรับใช้ .. มิตรและอามาตย์ .. ญาติสาโลหิต .. แขก .. ปุพเปตชน ..
เทวดา .. พระราชา .. เพราะเหตุการเลี้ยงกาย เพราะเหตุทานุบารุงกาย กับบุคคลผูป ้ ระพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม
เพราะเหตุแห่งบุตรและภรรยา .. พวกทาส กรรมกร และคนรับใช้ .. มิตรและอามาตย์ .. ญาติสาโลหิต .. แขก .. ปุพเปต
ชน .. เทวดา .. พระราชา .. เพราะเหตุการเลี้ยงกาย เพราะเหตุการทานุบารุงกาย ไหนจะประเสริฐกว่ากัน ?
ธ. ข้าแต่ทา่ นพระสารีบต ุ ร บุคคลผูป ้ ระพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผด ิ ธรรม เพราะ เหตุการเลี้ยงกาย เพราะเหตุทานุ
บารุงกาย ไม่ประเสริฐ ส่วนบุคคลผูป ้ ระพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุการเลี้ยงกาย เพราะเหตุทานุบารุงกาย
ประเสริฐ ด้วยว่า การประพฤติชอบธรรมและการประพฤติถูกธรรม ประเสริฐกว่า การประพฤติไม่ชอบธรรมและการ
ประพฤติผด ิ ธรรม.
สา. ดูกรธนัญชานิ การงานอย่างอืน ่ ที่มีเหตุ ประกอบด้วยธรรม เป็ นเครือ ่ งให้บุคคล อาจเลี้ยงกาย ทานุบารุงกายได้
ไม่ตอ้ งทากรรมอันลามก และให้ปฏิบตั ป ิ ฏิปทาอันเป็ นบุญได้ มีอยู.่
ครัง้ นัน
้ แล ธนัญชานิพราหมณ์ ชน ื่ ชมอนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบต ุ ร ลุกจากอาสนะหลีกไปแล้ว ...
……………………………………………………

~ 39 ~
การอุทศิ ส่วนบุญ
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ชาณุสโสณีสูตร องฺ .ทสก.๒๔/๑๖๖/๒๔๓
การอุทิศทานให้แก่ผลู ้ ่วงลับไปแล้ว
[๑๖๖] ครัน ้ นัน
้ แล ชาณุ สโสณี พราหมณ์ เข้าไปเฝ้ าพระผูม ้ ีพระภาคเจ้าถึงทีป ่ ระทับ ได้ปราศรัยกับพระผูม ้ ีพระภาคเจ้า
ครัน้ ผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง ครัน ้ แล้วได้ทูลถามพระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าว่า
ท่านโคดมผู้เ จริญ พวกข้าพเจ้าได้นามว่าเป็ นพราหมณ์ ย่อมให้ท าน ย่อมท าความเชื่อว่า ทานนี้ ต้องสาเร็ จแก่ญาติ
สาโลหิตผู้ล่วงลับไปแล้ว ขอญาติสาโลหิตผู้ล่วงลับไปแล้วจงบริโภคทานนี้ ท่านโคดมผู้เจริญ ทานนั้นย่อมสาเร็จแก่ญาติ
สาโลหิตผูล้ ว่ งลับไปแล้ว หรือญาติสาโลหิตผูล้ ว่ งลับไปแล้วเหล่านัน ้ ย่อมได้บริโภคทานนัน ้ หรือ
พระผูม ้ พ ี ระภาคเจ้าตรัสว่า ดูกอ ่ นพราหมณ์ ทานนัน ้ ย่อมสาเร็จในฐานะแล ย่อมไม่สาเร็จในอฐานะ.
ชา. ท่านโคดมผูเ้ จริญ ฐานะเป็ นไฉน อฐานะเป็ นไฉน.
พ. ดูกอ ่ นพราหมณ์ บค ุ คลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูฆ ้ า่ สัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผด ิ ในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคาหยาบ
พูดเพ้อเจ้อ มีความอยากได้ของผู้อื่น มีจิตปองร้าย มีความเห็ นผิด บุคคลนั้นเมื่อตายไปย่อมเข้าถึงนรก เขาย่อมเลี้ยง
อัตภาพอยู่ในนรกนัน ้ ด้วยอาหารของสัตว์นรก ดูก่อนพราหมณ์ ฐานะอันเป็ นทีไ่ ม่เข้าไปสาเร็จแห่งทานแก่สตั ว์ผต ู้ ง้ ั อยู่ นี้
แล เป็ นอฐานะ.
ดูก่อนพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูฆ ้ า่ สัตว์ ฯลฯ มีความเห็นผิด บุคคลนัน ้ เมือ
่ ตายไป ย่อมเข้าถึงกาเนิดสัตว์
ดิรจั ฉานนัน ้ ย่อมตัง้ อยู่ในกาเนิดสัตว์ดริ จั ฉานนั้น ด้วยอาหารของสัตว์ผเู้ กิดในกาเนิดสัตว์ดริ จั ฉาน ดูก่อนพราหมณ์ แม้
ฐานะอันเป็ นทีไ่ ม่เข้าไปสาเร็จแห่งทานแก่สตั ว์ผต ู้ ง้ ั อยู่ นี้แล ก็เป็ นอฐานะ.
ดูก่อนพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูเ้ ว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ จากการลักทรัพย์ จากการประพฤติผด ิ ในกาม
จากการพูดเท็จ จากการพูดส่อเสียด จากการพูดคาหยาบ จากการพูดเพ้อเจ้อ ไม่มีความอยากได้ของผูอ ้ น
ื่ มีจต ิ ไม่ปองร้าย
มีความเห็นชอบ บุคคลนั้นเมือ ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายของพวกมนุ ษย์ เขาย่อมเลี้ยงอัตภาพในมนุ ษยโลกนั้น
ย่อมตัง้ อยูใ่ นมนุษย์นน ้ ั ด้วยอาหารของมนุษย์ ดูกอ ่ นพราหมณ์ แม้ฐานะอันเป็ นทีไ่ ม่เข้าไปสาเร็จแห่งทานแก่สตั ว์ผต ู้ ง้ ั อยู่ นี้
แล ก็เป็ น อฐานะ.
ดูกอ ่ นพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูเ้ ว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ มีความเห็นชอบ บุคคลนัน ้ เมือ
่ ตายไป ย่อม
เข้าถึงความเป็ นสหายของเทวดา เขาย่อมเลี้ยงอัตภาพอยู่ในเทวโลกนั้น ย่อมตัง้ อยู่ในเทวโลกนั้นด้วยอาหารของเทวดา
ดูกอ ่ นพราหมณ์ แม้ฐานะเป็ นทีไ่ ม่เข้าไปสาเร็จแห่งทานแก่สตั ว์ผต ู้ ง้ ั อยู่ นี้แล ก็เป็ นอฐานะ.
ดูก่อนพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูฆ ้ า่ สัตว์ ฯลฯ มีความเห็นผิด บุคคลนัน ้ เมือ
่ ตายไป ย่อมเข้าถึงเปรตวิสยั
เขาย่อมเลี้ยงอัตภาพอยูใ่ นเปรตวิสยั ด้วยอาหารของสัตว์ผเู้ กิดในเปรตวิสยั หรือว่ามิตร อามาตย์ หรือญาติสาโลหิตของเขา
ย่อมเพิม ่ ให้ซงึ่ ปัตติทานมัยจากมนุษยโลกนี้ เขาเลี้ยงอัตภาพอยูใ่ นเปรตวิสยั นัน ้ ย่อมตัง้ อยูใ่ นเปรตวิสยั นัน ้ ด้วยปัตติทานมัย
นัน
้ ดูกอ ่ นพราหมณ์ ฐานะอันเป็ นทีเ่ ข้าไปสาเร็จแห่งทานแก่สตั ว์ผต ู้ ง้ ั อยู่ นี้แล เป็ นฐานะ.
ชา. ท่านโคดมผูเ้ จริญ ก็ถา้ ญาติสาโลหิตผูล้ ว่ งลับไปแล้วนัน ้ ไม่เข้าถึงฐานะนัน ้ ใครเล่าจะบริโภคทานนัน ้ .
พ. ดูกอ ่ นพราหมณ์ ญาติสาโลหิตผูล้ ว่ งลับไปแล้วแม้เหล่าอืน ่ ของทายกนัน ้ ทีเ่ ข้าถึงฐานะนัน ้ มีอยู่ ญาติสาโลหิตเหล่านัน ้
ย่อมบริโภคทานนัน ้ .
ชา. ท่านโคดมผู้เจริญ ก็ถ้าญาติสาโลหิตผู้ล่วงลับไปแล้วนั้น ไม่เข้าถึงฐานะนัน ้ และญาติสาโลหิตผู้ล่วงลับไปแล้วแม้
เหล่าอืน ่ ของทายกนัน ้ ก็ไม่เข้าถึงฐานะนัน้ ใครเล่าจะบริโภคทานนัน ้ .
พ. ดูกอ ่ นพราหมณ์ ฐานะทีจ่ ะพึงว่างจากญาติสาโลหิตผูล้ ว่ งลับไปแล้วโดยกาลช้านานเช่นนี้ มิใช่ฐานะมิใช่โอกาสทีจ่ ะมี
ได้ อีกประการหนึ่ง แม้ทายกก็เป็ นผูไ้ ม่ไร้ผล.
ชา. ท่านโคดมผูเ้ จริญ ย่อมตรัสกาหนดแม้ในอฐานะหรือ. (หมายความว่า พระพุทธองค์จะทรงพยากรณ์ ว่า แม้ในทายก(ผู้ให้) ผู้
เกิดในภพทีไ่ ม่อาจรับส่วนบุญได้ (อฐานะ) ก็ยงั จักได้เสวยผลแห่งทานด้วย เช่นนัน
้ หรือ)
พ. ดูกอ
่ นพราหมณ์ เรากล่าวกาหนดแม้ในอฐานะ ดูกอ ่ นพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูฆ ้ า่ สัตว์... มีความเห็น
ผิด บุคคลนัน ้ ย่อมให้ขา้ ว น้า ผ้า ยาน มาลา ของหอม เครือ ่ งลูบไล้ ทีน ่ อน ทีพ่ กั และเครือ ่ งประทีปแก่สมณพราหมณ์ บุคคล
นั้นเมือ ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายของช้าง เขาย่อมได้ข้าว น้า มาลา สละเครื่องอลังการต่างๆ ในกาเนิด ช้างนั้น
ดูก่อนพราหมณ์ ข้อที่บุคคลเป็ นผูฆ ้ า่ สัตว์... มีความเห็นผิด ผูน ้ น
้ ั เมือ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายของช้างด้วยกรรม
นัน้ และข้อทีผ ่ น
ู้ น
้ ั เป็ นผูใ้ ห้ขา้ ว น้า ผ้า ยาน มาลา ของหอม เครือ ่ งลูบไล้ ทีน
่ อน ทีพ ่ กั และเครือ
่ งประทีปแก่สมณพราหมณ์
ผูน
้ น้ ั ย่อมได้ขา้ ว น้า มาลา และเครือ ่ งอลังการต่างๆ ในกาเนิดช้างนัน ้ ด้วยกรรมนัน ้ .
ดูก่อนพราหมณ์ อนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูฆ ้ า่ สัตว์...มีความเห็นผิด บุคคลย่อมได้ขา้ ว น้า ผ้า ยาน มาลา ของ

~ 40 ~
หอม เครือ ่ งลูบไล้ ทีน
่ อน ทีพ่ กั และเครือ ่ งประทีปแก่สมณพราหมณ์ ผูน ้ น
้ ั เมือ ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายของม้า . .
. ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายของโค... ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายของสุนข ั เขาย่อมได้ข้าว น้า มาลา และเครื่องอลังการ
ต่างๆ ในกาเนิดสุนขั นัน ้ ดูกอ ่ นพราหมณ์ ข้อทีบ ่ ค ุ คลเป็ นผูฆ ้ า่ สัตว์ ... มีความเห็นผิด บุคคลนัน ้ เมือ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความ
เป็ นสหายของสุนข ั ด้วยกรรมนั้น และข้อที่ผู้น้น ั เป็ นผู้ให้ข้าว น้า ผ้า ยาน มาลา ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พกั และ
เครือ่ งประทีปแก่สมณพราหมณ์ ผูน ้ น้ ั ย่อมได้ขา้ ว น้า มาลาและเครือ ่ งอลังการต่างๆ ในกาเนิดสุนขั นัน ้ ด้วยกรรมนัน ้ .
ดูก่อนพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผู้เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ จากการลักทรัพย์ จากการประพฤติผด ิ ในกาม
จากการพูดเท็จ จากการพูดส่อเสียด จากการพูดคาหยาบ จากการพูดเพ้อเจ้อ ไม่มีความอยากได้ของผูอ ้ นื่ มีจต ิ ไม่ปองร้าย
มีความเห็นชอบ ให้ขา้ ว น้า ผ้า ยาน มาลาของหอม เครือ ่ งลูบไล้ ทีน ่ อน ทีพ ่ กั และเครือ ่ งประทีปแก่สมณพราหมณ์ บุคคล
นัน
้ เมือ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ นสหายของพวกมนุษย์ เขาย่อมได้เบญจกามคุณ อันเป็ นของมนุษย์ในมนุษยโลกนัน ้
ดูก่อนพราหมณ์ ข้อที่บุคคลเป็ นผู้เ ว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผด ิ ในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคา
หยาบ พูดเพ้อเจ้อ ไม่มีความอยากได้ของผู้อืน ่ มีจิตไม่ปองร้าย มีความเห็นชอบ ผู้น้น ั เมือ ่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ น
สหายของมนุ ษย์ ด้วยกรรมนั้น และข้อที่ผู้น้น ั เป็ นผู้ให้ข้าว น้ า ผ้า ยาน มาลา ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พกั และ
เครือ ่ งประทีป แก่สมณพราหมณ์ บุคคลนัน ้ ย่อมได้เบญจกามคุณอันเป็ นของมนุษย์ในมนุษยโลกนัน ้ ด้วยกรรมนัน ้ .
ดูกอ่ นพราหมณ์ อนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็ นผูเ้ ว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ มีความเห็นชอบ บุคคลนัน ้ ย่อมให้ขา้ ว
น้า ยาน มาลา ของหอม เครือ ่ งลูบไล้ ทีน ่ อน ทีพ ่ กั และเครือ ่ งประทีปแก่สมณพราหมณ์ บุคคลนัน ้ เมือ
่ ตายไป ย่อมเข้าถึง
ความเป็ นสหายของเทวดา เขาย่อมได้เบญจกามคุณ อันเป็ นทีใ่ นเทวโลกนัน ้
ดูก่อนพราหมณ์ ข้อทีบ ่ ุคคลเป็ นผูเ้ ว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ มีความเห็นชอบ ผูน ้ น ้ ั เมือ
่ ตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็ น
สหายของพวกเทวดาด้วยกรรมนัน ้ และข้อทีผ ่ น ู้ น ้ ั เป็ นผูใ้ ห้ขา้ ว น้า ผ้า ยาน มาลา ของหอม เครือ ่ งลูบไล้ ทีน ่ อน พีพ ่ กั และ
เครือ ่ งประทีปแก่สมณพราหมณ์ บุคคลนัน ้ ย่อมได้เบญจกามคุณ อันเป็ นทิพย์ในเทวโลกนัน ้ ด้วยกรรมนัน ้ ดูกอ ่ นพราหมณ์
แม้ทายกก็เป็ นผูไ้ ม่ไร้ผล.
ชา. ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ น่ าอัศจรรย์ ไม่เคยมีแล้ว ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ ข้อทีแ ่ ม้ทายกก็เป็ นผูไ้ ม่ไร้ผลนี้ เป็ นของ
ควรเพือ ่ ให้ทานโดยแท้ เป็ นของควรเพือ ่ กระทาศรัทธาโดยแท้.
พ. ดูกอ ่ นพราหมณ์ ข้อนี้เป็ นอย่างนี้ ๆ ดูกอ ่ นพราหมณ์ แม้ทายกก็เป็ นผูไ้ ม่ไร้ผล.
ชา. ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ฯลฯ ขอพระโคดมผูเ้ จริญโปรดทรงจาข้าพระองค์ว่า เป็ น
อุบาสกผูถ ้ งึ สรณะตลอดชีวต ิ ตัง้ แต่วน ั นี้เป็ นต้นไป.
อรรถกถาชาณุสโสณีสูตร เล่ม ๓๘ หน้า ๔๔๐ มมร.
บทว่า อุปกปฺปตุ แปลว่า บรรลุ. บทว่า าเน ได้แก่ ในโอกาส. บทว่า โน อฏฺ าเน ได้แก่ มิใช่ฐานะหามิได้. กรรมที่ให้
บังเกิดในนรกนั่นแล ชื่อว่าอาหารของเหล่าสัตว์นรก ด้วยว่าเหล่าสัตว์นรกนั้น ดาเนินไปได้ในนรกนั้น ก็ด้วยกรรมนั้นนั่น
แล. ส่วนอาหารของเหล่าสัตว์เดียรัจฉาน ก็พึงทราบ คือใบหญ้าเป็นต้น. ของเหล่ามนุษย์ ก็คือข้าวสุกขนมสดเป็นต้น ของ
ทวยเทพ ก็คือสุทธาโภชน์อาหารทิพย์เป็นต้น ของเหล่าสัตว์ที่เกิดในปิตติวิสัยแดนเปรต ก็คือน้าลาย น้า มูกเป็นต้น.
บทว่า ย วา ปนสฺส อิโต อนุปฺปเวจฺฉนฺติ ความว่า เหล่ามิตรเป็นต้น ให้ทานส่งอุทิศผลบุญอันใดไปจากโลกนี้. เหล่าสัตว์
ที่เกิดในปิตติวิสัยแดนเปรตเท่านั้น ย่อมเป็นอยู่ได้ด้วยผลบุญอันนั้น ที่บุคคลอื่นอุทิศไปให้. ผลบุญที่คนเหล่านั้นอุทิศให้ ไม่
สาเร็จแก่สัตว์เหล่าอื่น.
บทว่า ทายโกปิ อนิปฺผโล ความว่า ทานที่ถวายนั้น มุ่งหมายสัตว์ใด จะสาเร็จหรือไม่ก็ตามที ส่วนทายกก็ไม่อาจจะไร้
ผล ทายกย่อมได้ผลแห่งทานนั้นโดยแท้. ...
……………………………………………………

~ 41 ~
ผูไ้ ด้รบั ส่วนบุญและไม่ได้รบั ส่วนบุญ ตามนัยแห่งคัมภีร์ “มิลนิ ทปัญหา”
เปตานัง อุททิสสผลปั ญหา ที่ ๘ (มิลินทปั ญหา - หน้าที่ ๔๒๖)
พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่พระนาคเสนผู้ปรีชา อิเม ทายกา อันว่าทายกทั้งหลายนี้ ย่อมให้ทานแล้วอธิษฐาน
จิตอุทิศส่วนกุศลว่า ด้วยเดชะที่ข้าพเจ้ากระทาการกุศลครั้งนี้ อิม เตส ปาปุณาตุ อันว่าผลกุศลนี้ จงได้แก่บิดามารดาญาติกา
มิตรสหายบุตรภรรยาสามีของข้าพเจ้า ที่ตายไปสู่ปรโลกนั้นเถิด นี่แหละพระผู้เป็นเจ้า ชนทั้งหลายที่ตายไปสู่ปรโลกนั้น จะ
ได้ผลกุศลที่ทายกอุทิศให้หรือประการใด
พระนาคเสน. ขอถวายพระพรบพิตรพระราชสมภาร บางจาพวกก็ได้ บางจาพวกก็ไม่ได้
พระเจ้ามิลินท์. เป็นเหตุอะไรอย่างนั้น พระผู้เป็นเจ้า
พระนาคเสน. ด้วยคนทั้งหลายที่ตายไปสู่ปรโลกนั้น บางจาพวกไปเกิดในนรก บางจาพวกไปเกิดในสวรรค์เสวย
รมย์ชมสมบัติทิพย์ ติรจฺฉานโยนิคตา บางจาพวกไปเกิดในติรัจฉานกาเนิด เกิดเป็นสัตว์เดียรัจฉาน สัตว์ ๓ จาพวกนี้ ถึง
ทายกจะแผ่ส่วนบุญกุศลให้ก็ไม่ได้เลย
ประการหนึ่ง เป็นอสุรกายก็ดี เป็นขุปปิปาสิกาเปรต อดข้างอดน้าก็ดี เป็นนิชฌามตัณหิกเปรต เพลิงไหม้อยู่เป็น
นิตย์ก็ดี ๓ จาพวกนี้ ถึงญาติจะแผ่ส่วนบุญให้ก็ไม่ได้ จะได้อยู่แต่ปรทัตตูปชีวเปรตนั้นจาพวกเดียว ด้วยปรทัตตูปชีวีเปรต
นั้น มีชีวิตอยู่ด้วยทายกอุทิศส่วนกุศลให้ ถ้าว่าบิดามารดาคณาญาติมิตรบุตรธิดาสามีตายไปสู่ปรโลกนั้น ตายไปเป็นปรทัต
ตูปชีวีเปรต แม้ทายกอุทิศส่วนบุญให้ก็ได้รับ ถ้า ไม่ได้เกิดเป็นปรทัตตูปชีวีตเปรตแล้ว ถึงทายกแผ่ส่วนบุญให้ก็ไม่ได้ ขอถวาย
พระพร
พระเจ้ามิลินท์. ทานที่ทายกถวายแล้วอุทิศส่ วนกุศลให้แก่บิดามารดาเป็นต้นที่ตายไปสู่ปรโลก ถ้าบิดามารดาเป็น
ต้นนั้น มิได้เกิดเป็นปรทัตตูปชีวิเปรตก็ไม่ได้แล้ว ผลทานนั้นจะมิสูญเปล่าหรือ ถ้าว่าญาติบิดามารดาเป็นต้นเกิดเป็นอื่น ผล
ทานนั้นก็สูญเปล่า ไม่เป็นประโยชน์นะซิ พระผู้เป็นเจ้า.
พระนาคเสน . ผลทานนั้นจะสูญเปล่าหามิได้ ทายกผู้ให้ทานนั้นก็ได้ผลทานนั้น
……………………………………………………
ตัวอย่างการอุทศิ ส่วนบุญแก่เปรต
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ติโรกุฑฑสูตร ขุ.ขุ.๒๕/๘/๖
การให้ส่วนบุญแก่ผูท้ ลี่ ่วงลับไปแล้ว
พระผูม
้ พ
ี ระภาคเจ้าตรัสแก่พระเจ้าพิมพิสาร เป็ นคาถาว่า
[๘] ฝูงเปรตพากันมายังเรือนของตน ยืนอยูท ่ น ี่ อกฝาเรือนบ้าง ยืนอยูท่ ท
ี่ าง ๔ แพร่ง ๓ แพร่งบ้าง ยืนอยูใ่ กล้บานประตูบา้ ง.
เมือ่ ข้าวน้า ของเคี้ยว ของกิน เขาวางไว้เป็ นอันมาก ญาติไรๆ ของเปรตเหล่านัน ้ ก็ระลึกไม่ได้ เพราะกรรมของ
สัตว์ทง้ ั หลายเป็ นปัจจัย.
ชนเหล่าใดเป็ นผูเ้ อ็นดู ชนเหล่านัน้ ย่อมให้น้า ข้าว อันสะอาด ประณี ต อันสมควรตามกาล อุทศ ิ เพือ
่ ญาติทง้ ั หลาย
อย่างนี้วา่ ขอทานนี้แล จงมีแก่ญาติทง้ ั หลาย ขอญาติทง้ ั หลาย จงมีสข ุ เถิด.
ส่วนฝูงเปรตทีเ่ ป็ นญาติเหล่านัน
้ มาแล้ว พร้อมแล้ว ก็ชุมนุมกันในทีใ่ ห้ทานนัน ้ ย่อมอนุโมทนาโดยเคารพในข้าว
น้าเป็ นอันมากว่า เราได้สมบัตเิ พราะเหตุแห่งญาติเหล่าใด ขอญาติเหล่านัน ้ ของเราจงมีชีวิตยั่งยืน ทัง้ การบูชา ญาติผเู้ ป็ น
ทายกก็ได้กระทาแก่พวกเราแล้ว อนึ่ง ทายกทัง้ หลายย่อมไม่ไร้ผล.
ในปิ ตติวิสยั นั้น ไม่มีกสิกรรมการทาไร่การทานา ไม่มีโครักขกรรมการเลี้ยงโค ในปิ ตติวิ สยั นั้น การค้าเช่นนัน ้
การซื้อขายด้วยเงินก็ไม่ม.ี
ผูท
้ ากาลกิรยิ าละไปแล้ว ย่อมยังอัตภาพให้เป็ นไปในปิ ตติวส ิ ยั นัน้ ด้วยทานทีญ่ าติให้แล้วจากมนุษย์โลกนี้.
น้าตกลงบนทีด ่ อน ย่อมไหลไปสูท ่ ีล่ ุ่ม ฉันใด ทานทีท่ ายกให้ไปจากมนุษยโลกนี้ ย่อมสาเร็จผลแก่ฝูงเปรตฉันนั้น
เหมือนกัน.
ห้วงน้าเต็มแล้ว ย่อมยังสาครให้เต็มฉันใด ทานที่ทายกให้ไปจากมนุ ษยโลกนี้ ย่อมสาเร็จผลแก่ฝูงเปรตฉันนั้น
เหมือนกัน.
(ยถา วาริวหา ปูรา ปริปูเรนฺติ สาคร เอวเมว อิโต ทินฺน เปตาน อุปกปฺปติ ฯ)
บุคคลเมือ
่ ระลึกถึงกิจทีท
่ ่านทามาแต่ก่อนว่า ท่านได้ทากิจแก่ เรา ได้ให้แก่เรา ได้เป็ นญาติมต
ิ รเป็ นเพือ
่ นของเรา

~ 42 ~
ดังนี้ จึงควรให้ทกั ษิณาแก่ฝงู เปรต.
(อทาสิ เม อกาสิ เม ญาติมิตฺตา สขา จ เม เปตาน ทกฺขิณ ทชฺชา ปุพฺเพ กตมนุสฺสร ฯ)
การร้อ งไห้ การเศร้า โศก หรื อ การพิไ รร าพัน อย่ า งอื่น ๆ ก็ ไ ม่ค วรท า เพราะการร้อ งไห้เ ป็ นต้น นั้น ไม่ เป็ น
ประโยชน์แก่ผลู้ ว่ งลับไปแล้ว ญาติทง้ ั หลายก็คงอยูอ
่ ย่างนัน
้ .
(น หิ รุณฺณ วา โสโก วา ยาวญฺญา ปริเทวนา น ต เปตานมตฺถาย เอว ติฏฺ€นฺติ ญาตโย ฯ)
ทักษิณานี้แล อันทายกให้แล้ว ตัง้ ไว้ดแ
ี ล้วในพระสงฆ์ ย่อมสาเร็จประโยชน์แก่ทายกนัน
้ โดยฐานะตลอดกาลนาน.
(อยญฺจ โข ทกฺขิณา ทินฺนา สงฺฆมฺหิ สุปติฏฺ€ิตา ทีฆรตฺต หิตายสฺส €านโส อุปกปฺปติ ฯ)
ญาติธรรมนี้ น้น
ั ก็ทรงแสดงแล้ว การบูชาผู้ล่วงลับไปแล้ว ก็ทรงทาโอฬารแล้ว ทัง้ กาลังของภิกษุ ทง้ ั หลาย ก็ทรง
เพิม
่ ให้แล้ว บุญพระองค์ก็ทรงขวนขวายไว้มใิ ช่น้อย.
(โส ญาติธมฺโม จ อย นิทสฺสโิ ต เปตานปูชา จ กตา อุฬารา พลญฺจ ภิกฺขน
ู มนุปฺปทินฺน ตุมฺเหหิ ปุญฺญ ปสุต อนปฺปกนฺติ ฯ)

อรรถกถาติโรกุฑฑสูตร เล่ม ๓๙ หน้า ๒๗๘ มมร.


กถาอนุโมทนา
ติโรกุฑฑสูตร พ.ทรงประกาศเพื่อทรงอนุโมทนา แก่พระเจ้าพิมพิสาร มคธรัฐ ดังนี้.
ในกัปที่ ๙๒ นับแต่กัปนี้ มีนครชื่อกาสี ในนครนั้น มีพระราชาพระนามว่า ชัยเสน พระเทวีของพระราชานั้น พระ
นามว่า สิริมา. พระโพธิสัตว์ พระนามว่า ปุสสะ เกิดในครรภ์ของพระนาง ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณตามลาดับ พระราชาชัย
เสนทรงเกิดความรู้สึกถึงความเป็นของพระองค์ว่า โอรสของเราออกทรงผนวชเกิดเป็นพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็เป็นของ
เรา พระธรรมก็ของเรา พระสงฆ์ก็ของเรา ทรงอุปัฏฐากด้วยพระองค์เองตลอดทุกเวลา ไม่ยอมประทานโอกาสแก่คนอื่น ๆ.
เจ้าพี่เจ้าน้องของพระผู้มีพระภาคเจ้า ต่างพระมารดา ๓ พระองค์ พากันดาริว่า ธรรมดาพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อม
เสด็จ อุบั ติ เพื่อ ประโยชน์เ กื้ อกูลแก่โ ลกทั้ งปวง มิใช่ เพื่ อประโยชน์แ ก่บุคคลคนเดียวเท่ านั้น แต่พ ระบิ ดาของเรา ไม่ท รง
ประทานโอกาสแก่เราและคนอื่น ๆ เลย เราจะได้การอุปัฏฐากอย่างไรหนอ พระราชโอรสเหล่านั้น จึงตกลงพระหฤทัยว่า จา
เราจะต้องทาอุบายบางอย่าง ทั้ง ๓ พระองค์จึงให้หัวเมืองชายแดนทาประหนึ่งแข็งเมือง ต่อนั้นพระราชาทรงทราบข่าวว่า
หัวเมืองชายแดนกบฏ จึงทรงส่งพระราชโอรสทั้ง ๓ พระองค์ออกไปปราบกบฏ. พระราชโอรสเหล่านั้น ปราบกบฏเสร็จแล้ว
ก็เสด็จกลับมา พระราชาทรงดีพระราชหฤทัย พระราชทานพรว่า เจ้าปรารถนาสิ่งใด ก็จงรับสิ่งนั้น. พระราชโอรถทั้ง ๓
พระองค์กราบทูลว่า ข้าพระบาทปรารถนาจะอุปั ฏฐากพระผู้มีพระภาคเจ้า พระเจ้าข้า . พระราชาตรัสว่า เว้นพรข้อนั้นเสีย
รับพรอย่างอื่นไปเถิด. พระราชโอรสกราบทูลว่า พวกข้าพระบาทไม่ปรารถนาพรอย่างอื่นดอก พระเจ้าข้า. พระราชาตรัส
ว่า ถ้าอย่างนั้น เจ้าจงกาหนดเวลามาแล้วรับไป. พระราชโอรสทู ลขอ ๗ ปี. พระราชาไม่พระราชทาน พระราชโอรสจึงทูล
ขอลดลงอย่างนี้ คือ ๖ ปี ๕ ปี ๔ ปี ๓ ปี ๒ ปี ๑ ปี ๗ เดือน ๖ เดือน ๕ เดือน ๔ เดือน จนถึงไตรมาส พระราชาจึงพระราชทาน
ว่า รับได้. พระราชโอรสเหล่านั้น ได้รับพระราชทานพรแล้วก็ทรงยินดีอย่างยิ่ง เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคมแล้ว
กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกข้าพระองค์ประสงค์จะอุปัฏฐากพระผู้มีพระภาคเจ้าตลอดไตรมาส ขอพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าโปรดทรงรับจาพรรษาตลอดไตรมาสนี้ สาหรับข้าพระองค์ด้วยเถิด พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงรับโดย
อาการดุษณีภาพ คือนิ่ง ต่อนั้น พระราชโอรสทั้ง ๓ พระองค์ ก็ส่งหัตถเลขา ลายพระหัตถ์ไปแจ้งแก่พนักงานเก็บส่วย [ผู้จัด
ผลประโยชน์] ในชนบทของพระองค์ว่า เราจะอุปัฏฐากพระผู้มีพระภาคเจ้าตลอดไตรมาสนี้ เจ้าจงจัดเครื่องประกอบการ
อุปัฏฐากพระผู้มีพระภาคเจ้าไว้ให้พร้อมทุกประการ ตั้งแต่สร้างพระวิหารเป็นต้ นไป เจ้าพนักงานเก็บส่วยนั้น จัดการพร้อม
ทุกอย่างแล้ว ก็ส่งหนังสือรายงานให้ทรงทราบ. พระราชโอรสเหล่านั้น ก็ทรงนุ่งห่มผ้ากาสายะ ทรงอุปัฏฐากพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าโดยเคารพ ด้วยบุรุษไวยาจักร ๒,๕๐๐ คน นาเสด็จสู่ชนบทมอบถวายพระวิหาร ให้ทรงอยู่จาพรรษา.
บุตรคฤหบดีผู้หนึ่ง เป็นพนักงานที่รักษาเรือนคลังของพระราชโอรสเหล่านั้น พร้อมทั้งภรรยา เป็นคนมีศรัทธาปสา
ทะเขาได้ปฏิบัติการถวายทานแก่พระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขโดยเคารพ. เจ้าพนักงานเก็บส่วยในชนบท พาบุตร
คฤหบดีนั้น ให้ดาเนินการถวายทานโดยเคารพ พร้อมด้วยบุรุษชาวชนบทประมาณ ๑๑,๐๐๐ คน. บรรดาคนเหล่านั้น ชน
บางพวก มีจิตถูกอิสสามัจฉริยะครอบงา พวกเขา ก็พากันทาอันตรายแก่ทาน กินไทยธรรมด้วยตนเองบ้าง ให้แก่พวกลูก ๆ
เสียบ้าง และเอาไฟเผาโรงอาหาร. ครั้น ปวารณาออกพรรษา พระราชโอรสทั้งหลาย ก็ทรงทาสักการะยิ่งใหญ่แด่พระผู้มี
พระภาคเจ้า ตามเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเข้าไปเฝ้าพระราชบิดา. พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จไปในที่นั้นแล้ว ก็ปรินิพพาน.
พระราชา พระราชโอรส เจ้าพนักงานเก็บส่วยในชนบทและเจ้าพนักงานรักษาเรือนคลัง ทากาละไปตามลาดับก็เกิดใน
สวรรค์พร้อมด้วยบริษัทบริวาร. เหล่าชนที่มีจิตถูกอิสสามัจฉริยะครอบงา ก็พากันไปเกิดในนรกทั้งหลาย เมื่อคน ๒ คณะนั้น
จากสวรรค์เข้าถึงสวรรค์ จากนรกเข้าถึงนรกด้วยอาการอย่างนี้ กัปก็ล่วงไป ๙๒ กัป.
ต่อมา ในภัทรกัปนี้ ครั้งพระพุทธเจ้าพระนามว่า กัส สป ชนที่มีจิตถูกอิสสามัจฉริยะครอบงาเหล่านั้น ก็เกิดเป็น
เปรต. ครั้งนั้น มนุษย์ทั้งหลายถวายทาน อุทิศเพื่อประโยชน์แก่พวกเปรตที่เป็นญาติของตนว่า ขอทานนี้จงมีแก่พวกญาติ

~ 43 ~
ของเรา. เปรตเหล่านั้นก็ได้สมบัติ. ขณะนั้น เปรตแม้พวกนี้เห็นดังนั้น ก็เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสปะ ทูลถามว่า ข้า
แต่พระองค์ผู้เจริญ ทาอย่างไรหนอ พวกข้าพระองค์จึงจะได้สมบัติบ้าง พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า บัดนี้ พวก
ท่านยังไม่ได้ดอก ก็แต่ว่า ในอนาคต จักมีพระพุทธเจ้าพระนามว่าโคดม ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น จักมี
พระราชาพระนามว่าพิมพิสาร ท้าวเธอได้เป็นญาติของพวกท่าน นับแต่นี้ไป ๙๒ กัป ท้าวเธอจักถวายทานแด่พระพุทธเจ้า
อุทิศส่วนกุศลแก่พวกท่าน ครั้งนั้น พวกท่านจึงจักได้. เขาว่า เมื่อมีพุทธดารัสอย่างนี้แล้ว พระพุทธดารัสนั้น ได้ปรากฏแก่
เปรตเหล่านั้น ประหนึ่งตรัสว่า พวกท่านจักได้ในวันพรุ่งนี้.
ต่อมา เมื่อล่วงไปพุทธันดรหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าของพวกเรา ก็เสด็จอุบัติในโลก. พระราชโอรสทั้ง ๓ พระองค์
นั้น ก็จุติจากเทวโลก พร้อมด้วยบุรุษ ๒,๕๐๐ คนเหล่านั้น ไปเกิดในสกุลพราหมณ์ทั้งหลาย ในแคว้นมคธ บวชเป็นฤาษีโดย
ลาดับ ได้เป็น ชฏิล ๓ คน ณ คยาสีสประเทศ, เจ้าพนักงานเก็บส่วยในชนบท ได้เป็น พระเจ้าพิมพิสาร, บุตรคฤหบดี เจ้า
พนักงานรักษาเรือนคลัง ได้เป็นมหาเศรษฐีชื่อวิสาขะ, ภรรยาของเขาได้เป็นธิดาของเศรษฐีชื่อ ธรรมทินนา บริษัทที่เหลือ
เกิดเป็นราชบริพารของพระเจ้าพิมพิสารทั้งหมด.
พระผู้มีพระภาคเจ้าของพวกเราเสด็จอุบัติในโลก ล่วงไป ๗ สัปดาห์ ก็เสด็จมายังกรุงพาราณสี โดยลาดับ ประกาศพระ
ธรรมจักร โปรดพระภิกษุปัญจวัคคียเ์ ป็นต้นไป จนถึงทรงแนะนาชฏิล ๓ ท่าน ซึ่งมีบริวาร ๒,๕๐๐ ๑ จึงเสด็จไปกรุงราชคฤห์
ณ กรุ ง ราชคฤห์ นั้ น โปรดพระเจ้ า พิ ม พิ ส าร ซึ่ ง เสด็ จ เข้ า ไปเฝ้ า ในวั น นั้ น เอง ให้ ด ารงอยู่ ใ นโสดาปั ต ตผล พร้ อ มด้ ว ย
พราหมณ์และคฤหบดีชาวมคธ ๑๑ นหุต.
๑ ในพระวินัยปิฏกมหาวรรค ๔/ข้อ ๓๗ เป็น ๑,๐๐๐
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับนิมนต์พระเจ้าพิมพิสารเพื่อเสวยภัตตาหารในวันพรุ่ง . ครั้นวันรุ่งขึ้น อันท้าว
สักกะจอมทวยเทพนาเสด็จ ทรงชมเชยด้วยคาถาทั้งหลาย เป็นต้น อย่างนี้ว่า
ทนฺโต ทนฺเตหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตเฺ ตหิ สิงคินก
ิ ข ฺ สุวณฺโณ ราชคห ปาวิสิ ภควา.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงฝึกแล้ว กับเหล่าปุราณชฏิล ผู้ฝึกแล้ว พระผู้หลุดพ้นแล้ว กับเหล่าปรุราณชฏิลผู้หลุดพ้น
แล้ว ผู้มีพระฉวีวรรณงามดังแท่งทองสิงคี เสด็จเข้าสู่กรุงราชคฤห์ ดังนี้.
เสด็จเข้าสู่กรุงราชคฤห์ ทรงรับมหาทานในพระราชนิ เวศน์ของพระเจ้าพิมพิสาร เปรตเหล่านั้นยืนห้อมล้อมด้วย
หวังอยู่ว่า บัดนี้ พระราชาจักทรงอุทิศทานแก่พวกเรา บัดนี้ จักทรงอุทิศทานแก่พวกเรา.
ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารถวายทานแล้ว ทรงพระดาริว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจะพึงประทับอยู่ ณ ที่ไหนหนอ ทรงพระ
ดาริถึงแต่เรื่องที่ประทับอยู่ของพระผู้มีพระภาคเจ้าเท่านั้น มิได้ทรงอุทิศทานนั้นแก่ใคร ๆ.
เปรตทั้งหลายสิ้นหวัง ตอนกลางคืน จึงพากันทาเสียงแปลกประหลาดน่าสะพรึงกลัวอย่างเหลือเกินในพระราช
นิเวศน์. พระราชาทรงสลดพระราชหฤทัยหวาดกลัว ต่อรุ่งสว่างกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ข้า
พระองค์ได้ยินเสียงเช่นนี้ เหตุอะไรหนอ จักมีแก่ข้าพระองค์ พระเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ถวายพระพรมหาบพิตร โปรดอย่าทรงกลัวเลย จักไม่มีสิ่งชั่วร้ายอะไร ๆ แก่มหาบพิตร
ดอก ก็แต่ว่า พวกพระญาติเก่า ๆ ของมหาบพิตร เกิดเป็นเปรตมีอยู่ เปรตเหล่านั้ น เที่ยวอยู่สิ้นพุทธันดรหนึ่ง หวังอยู่ต่อ
มหาบพิตรว่า จักทรงถวายทานแด่พระพุทธเจ้า แล้วจักทรงอุทิศส่วนกุศลแก่พวกเรา เมื่อวันวาน มหาบพิตรมิได้ทรงอุทิศ
ส่วนกุศลแก่เปรตพวกนั้น เปรตพวกนั้นสิ้นหวัง จึงพากันทาเสียงแปลกประหลาดเช่นนั้น.
พระเจ้าพิมพิสารกราบทูลว่า พระเจ้าข้า บัดนี้ เมื่อข้าพระองค์ถวายทาน พวกเขาก็ควรได้. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส
ว่า ถวายพระพร มหาบพิตร.
พระเจ้าพิมพิสารกราบทูลว่า พระเจ้าข้า ถ้าเช่นนั้น ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า โปรดทรงรับนิมนต์เสวยภัตตาหารเช้า
พรุ่งนี้ ของข้าพระองค์ด้วยนะ พระเจ้าข้า ข้าพระองค์จักอุทิศทานแก่เปรตพวกนั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับ. พระราชา
เสด็จเข้าพระราชนิเวศน์ จัดแจงมหาทาน แล้วให้กราบทูลเวลาภัตตาหารแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จ
เข้าภายในพระราชนิเวศน์ ประทับนั่งเหนือพุทธอาสน์ที่เขาจัดไว้ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์.
เปรตพวกนั้น พากันไปยืนที่นอกฝาเรือนเป็นต้น ด้วยหวังว่า วันนี้พวกเราคงได้อะไรกันบ้าง. พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ทรงทาโดยอาการที่เปรตพวกนั้น จะปรากฏแก่พระราชาหมดทุกตน.
พระราชาถวายน้าทักษิโณทก ทรงอุทศ ิ ว่า ขอทานนีจ ้ งมีแก่พวกญาติของเรา. ทันใดนัน ้ เอง สระโบกขรณีดารดาษ
ด้วยปทุม ก็บังเกิดแก่เปรตพวกนั้น. เปรตพวกนั้นก็อาบและดืม ่ ในสระโบกขรณีนน ั้ ระงับความกระวนกระวายความลาบาก
และหิวกระหายได้แล้ว มีผิวพรรณดุจทอง.
ลาดับนั้น พระราชาถวายข้าวยาคู ของเคีย ้ ว ของกินเป็นต้น แล้วทรงอุทิศ. ในทันใดนั้นเอง ข้าวยาคูของเคี้ยวและ
ของกินอันเป็นทิพย์ ก็บังเกิดแก่เปรตพวกนั้น. เปรตพวกนั้น ก็พากินบริโภคของทิพย์เหล่านั้น มีอินทรีย์เอิบอิ่ม.
ลาดับนั้น พระราชาถวายผ้าและเสนาสนะเป็นต้น ทรงอุทิศให้เครื่องอลังการต่าง ๆ มีผ้าทิพย์ ยานทิพย์ ปราสาท
ทิพย์ เครื่องปูลาดและที่นอนเป็นต้น ก็บังเกิดแก่เปรตพวกนั้น . สมบัติแม้นั้นของเปรตพวกนั้น ปรากฏทุกอย่างโดยประการ

~ 44 ~
ใด พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ทรงอธิษฐาน (ให้พระราชาทรงเห็น) โดยประการนั้น. พระราชาทรงดีพระทัยยิ่ง. แต่นั้น พระผู้มี
พระภาคเจ้า เสวยเสร็ จแล้ ว ทรงห้า มภั ต ตาหารแล้ ว ได้ ต รั ส พระคาถาเหล่ า นี้ว่ า ติ โ รกุฑฺเฑสุ ติ ฏฺ นฺติ เป็ น ต้ น เพื่ อ ทรง
อนุโมทนาแก่พระเจ้ามคธรัฐ.
……………………………………………………
เปรต รับได้แต่สว่ นบุญ แต่รบั สิง่ ของโดยตรงไม่ได้
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ขัลลาติยเปติวตั ถุ ขุ.เปต.๒๖/๙๕/๑๒๘
พ่อค้าให้ผา้ แก่นางเปรต
หัวหน้าพ่อค้าถามหญิงเปรตตนหนึ่งว่า
[๙๕] ท่านเป็ นใครหนออยู่ภายในวิมานนี้ ไม่ออกจากวิมานเลย ก่อนนางผูเ้ จริญ เชิญท่านออกมาเถิด ข้าพเจ้าจะ
ขอดูทา่ นผูย้ ืนอยูข ่ า้ งนอก.
นางเวมานิกเปรตฟังคาถามดังนี้แล้ว จึงกล่าวว่า
ดิฉน ั เป็ นหญิงเปลือยกาย มีแต่ผมปิ ดบังไว้ กระดากอายทีจ่ ะออกภายนอก ดิฉน ั ได้ทาบุญไว้น้อยนัก.
พ่อค้ากล่าวว่า
ดูกอ่ นนางผูม ้ รี ูปงาม เอาเถอะ ข้าพเจ้าจะให้ผา้ เนื้อดีแก่ทา่ น เชิญท่านนุ่งผ้านี้ แล้วจงออกมาภายนอก เชิญออกมา
ภายนอกวิมานเถิด ข้าพเจ้าจะขอดูทา่ นผูย้ ืนอยูข ่ า้ งนอก.
นางเวมานิกเปรตตอบว่า
ผ้านั้นถึงท่านจะให้ที่มือของดิฉน ั เอง ก็ไม่สาเร็จแก่ดฉ ิ นั ถ้าในหมู่ชนนี้ มีอุบาสกผู้มี ศรัท ธา เป็ นสาวกของพระ
สัมมาสมพุทธเจ้า ขอท่านจงให้อุบาสกนัน ้ นุ่งห่มผ้าทีท ่ ่านจะให้ดฉ ิ น
ั แล้วอุทศ ิ ส่วนกุศลให้ดฉ ิ นั เมือ่ ท่านทาอย่างนัน ้ ดิฉนั
จึงจะได้นุ่งห่มผ้านี้ตามปรารถนา ประสบความสุข
พ่อค้าทัง้ หลายได้ฟงั ดังนี้ แล้ว จึงให้อุบาสกนั้นอาบน้า ลูบไล้แล้วให้นุ่ ง ห่มผ้า แล้วอุทิศส่วนกุศลให้นางเวมานิก
เปรตนัน ้ พระสังคีตก ิ าจารย์เมือ่ จะประกาศเนื้อความนัน ้ ได้กล่าวคาถา ๓ คาถา ความว่า :-
ก็พอ ่ ค้าเหล่านัน ้ ยังอุบาสกนัน ้ ให้อาบน้า ลูบไล้ดว้ ยของหอม แล้วให้นุ่งห่มผ้า แล้วอุทศ ิ ส่วนกุศลไปให้นางเวมานิก
เปรตนัน ้ ในทันตาเห็นนัน ้ เอง วิบากย่อมบังเกิดขึน ้ แก่นางเวมานิกเปรตนัน ้ โภชนะ เครือ ่ งนุ่งห่ม และน้าดืม ่ ย่อมบังเกิดขึน ้

นี้ เป็ นผลแห่งทักษิ ณา ลาดับนั้น นางมีสรีระบริสุทธิ นุ่ งห่มผ้าสะอาด งามดีกว่าผ้าที่ทาจากแคว้นกาสี เดินยิ้มออกมาจาก
วิมาน ประกาศว่า นี้เป็ นผลแห่งทักษิณา.
พ่อค้าเหล่านัน ้ ถามว่า
วิมานของท่านงดงาม มีรูปภาพวิจต ิ รดีสว่างไสว ดูก่อนนางเทพธิดา พวกข้าพเจ้าถามแล้ว ขอท่านจงบอก นี้เป็ น
ผลแห่งกรรมอะไร.
นางเทพธิดาตอบว่า
เมือ
่ ดิฉน ั เป็ นมนุษย์อยู่นน ้ ั มีจต
ิ เลือ่ มใส ได้ถวายแป้ งคั่วอันเจือด้วยน้ามัน แก่ภก ิ ษุ เทีย่ วบิณฑบาต ผูม ้ ีจต
ิ ซื่อตร ง
ดิฉน ั เสวยวิบากแห่งกุศลกรรมนัน ้ ในวิมานนี้ สน ิ้ กาลนาน ก็ผลบุญนัน ้ เดีย๋ วนี้ยงั เหลือนิดหน่ อย พ้น ๔ เดือนไปแล้ว ดิฉน ั
จักจุตจิ ากวิมานนี้ จักไปตกนรกอันเร่าร้อนสาหัส มี ๔ เหลีย่ ม มี ๔ ประตู จาแนกเป็ นห้อง ๆ ล้อมด้วยกาแพงเหล็ก ครอบ
ด้วยแผ่นเหล็ก พื้นนรกนั้นล้วนเป็ นเหล็กแดง ลุกเป็ นเปลวเพลิง ประกอบด้วยความร้อน แผ่ไปตลอดร้อยโยชน์ โดยรอบ
ตั้ง อยู่ ทุ ก เมื่อ ดิฉ ัน จัก ต้ อ งเสวยทุ ก ขเวทนาในนรกนั้น ตลอดกาลนาน ก็ ก ารเสวยทุ ก ข์ เ ช่ น นี้ เ ป็ นผลแห่ ง กรรมชั่ ว
เพราะฉะนัน ้ ดิฉน ั จึงเศร้าโศกทีจ่ ะไปเกิดในนรกนัน ้ .
อรรถกถาขัลลาฏิยะเปติวตั ถุ เล่ม ๔๙ หน้า ๙๔ มมร.
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ในกรุงสาวัตถี ทรงปรารภนางเปรตขัลลาฏิยะตนหนึ่ง จึงตรัสคาเริ่มต้นว่า กา นุ อนฺโต
วิมานสฺมึ ดังนี้.
ได้ยินว่า ในอดีตกาล ในกรุงพาราณสี ยังมีหญิงผู้อาศัยรูปเลี้ยงชีพคนหนึ่ง รูปร่างสวย น่าดู น่าชม ประกอบด้วย
ผิวพรรณอันงดงามยิ่งนัก มีกาแห่งผมน่ารื่นรมย์ใจ. จริงอยู่ ผมของนางดายาว ละเอียด อ่อนนุ่ม สนิท มีปลายตวัดขึ้น เกล้า
เป็นสองแฉกสยาย ห้อยย้อยลงจนถึงสายรัดเอว. คนหนุ่มเห็นความงามแห่งเส้นผมของนางนั้น โดยมากมีจิตปฏิพัทธ์ใน
นาง. ลาดับนั้น หญิง ๒-๓ คน ถูกความริษยาครอบงา ทนต่อความงามของผมนางนั้นไม่ได้ จึงพากันปรึกษา เอาสิ่งของเล็ก
ๆ น้อย ๆ ล่อหญิงคนใช้ของนางนั่นเอง ให้หญิงคนใช้ให้ยาอันเป็นเหตุทาเส้นผมของนางให้หลุดร่วงไป.

~ 45 ~
ได้ยินว่า หญิงคนใช้นั้น ประกอบยานั้นกับผงสาหรับอาบน้า ในเวลานางไปอาบน้าในแม่น้าคงคา ก็ได้ให้แก่นาง.
นางเอาผงนั้นจุ่มที่รากผมแล้วดาลงไปในน้า. พอนางดาน้าเท่านั้น เส้นผมพร้อมทั้งรากผม ได้หลุดร่วงไป. และศีรษะของ
นางได้เป็นเช่นกับกระโหลกน้าเต้าขม. ลาดับนั้น นางหมดเส้นผมโดยประการทั้งปวง เหมือนนกพิราบจกถอนขนหัว ฉะนั้น
น่าเกลียดพิลึก เพราะความละอาย จึงไม่อาจเข้าไปในเมือง เอาผ้าคลุมศีรษะ สาเร็จการอยู่ในที่แห่งหนึ่งนอกเมือง พอ ๒-๓
วันผ่านไป นางหมดความละอาย กลับจากที่นั้นบีบเมล็ดงา กระทาการค้าน้ามัน และทาการค้าสุรา เลี้ยงชีพ . วันหนึ่ง เมื่อคน
๒-๓ คน เมาสุราหลับสนิท นางจึงลักเอาผ้าที่คนเหล่านั้นนุ่งไว้หลวม ๆ. ภายหลังวันหนึ่ง นางเห็นพระขีณาสพเถระรูปหนึ่ง
กาลังเที่ยวบิณฑบาต มีจิตเลื่อมใสจึงนาท่านไปยังเรือนของตน ให้นั่งบนอาสนะที่ตบแต่งไว้ ได้ถวายแป้งที่บีบในรางผสม
กับน้ามันงา. เพื่อจะอนุเคราะห์นาง พระเถระจึงรับประเคนแป้งผสมน้ามันงานั้นฉัน. นางมีจิตเลื่อมใส ได้ยืนกั้นร่ม. และพระ
เถระนั้น เมื่อจะทานางให้มีจิตร่าเริง จึงทาอนุโมทนากถาแล้วหลีกไป. ก็ในเวลาที่อนุโมทนานั่นแหละ หญิงนั้น ได้ตั้งความ
ปรารถนาว่า พระคุณเจ้า ขอให้เส้นผมของดิฉันยาวละเอียด นุ่มสนิท ตวัดปลายเถิด.
กาลต่ อ มา นางถึ งแก่ ก รรม เพราะผลของกรรมที่ ค ละกั น จึ งเกิ ด เป็ น หญิ งอยู่ โ ดดเดี่ ย วในวิ มานทอง ท่ า มกลาง
มหาสมุทร. เส้นผมของนางสาเร็จตามอาการที่เธอปรารถนานั้นแหละ. แต่เพราะนางลักเอาผ้าของพวกมนุษย์ นางจึงได้เป็น
หญิงเปลือย. นางเกิดบ่อย ๆ ในวิมานทองนั้น เป็นหญิงเปลือยอยู่ตลอดพุทธันดรหนึ่ง.
ลาดับนั้น เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าของพวกเรา เสด็จอุบัติในโลก ทรงประกาศพระธรรมจักรอันบวร ประทับอยู่ใน
กรุงสาวัตถีโดยลาดับ พ่อค้าชาวกรุงสาวัตถี ๗๐๐ คน แล่นเรือไปสู่มหาสมุทร มุ่งไปยังสุวรรณภูมิ. นาวาที่พวกพ่อค้านัน ้ ขึน ้
ไป ถูกกาลังลมพัดผันให้ปั่นป่วน จึงหมุนไปข้างโน้นข้างนี้ จนถึงประเทศที่นางเวมานิกเปรตนั้นอยู่ . ลาดับนั้นนางเวมานิก
เปรตนั้น จึงแสดงตนแก่พวกพ่อค้านั้น พร้อมด้วยวิมาน. หัวหน้าพ่อค้าเห็นดังนั้น เมื่อจะถามจึงกล่าวคาถาว่า :-
น้องสาวเป็นใครหนอ อยู่ในวิมานนี้ ไม่ยอมออกจากวิมานเลยนี่ น้องสาว จงออกมาเถิดน้อง พี่อยากจะเห็นน้องข้างนอก.
... ลาดับนั้น นางเวมานิกเปรตนั้น เมื่อจะประกาศตามที่ตนไม่อาจจะออกไปข้างนอกแก่พ่อค้านั้น จึงกล่าวคาถาว่า :-
ดิฉัน เป็นหญิงเปลือยกาย มีแต่ผมปิดบังไว้ อึดอัด ละอาย ที่จะออกไปข้างนอก ดิฉันได้ ทาบุญไว้น้อยนัก.
... บทว่า เกเสหมฺหิ ปฏิจฺฉนฺนา ความว่า ดิฉันมีเส้นผมปิดบังไว้ คือ มีผมคลุมร่างกาย. บทว่า ปุญฺ เม อปฺปก กต
ความว่า ดิฉันทากุศลกรรมไว้น้อย คือ เล็กน้อย อธิบายว่า เพียงถวายแป้งผสมน้ามันเท่านั้น.
ลาดับนั้น พ่อค้า ประสงค์จะให้ผ้าห่มของตนแก่นางเวมานิกเปรตนั้น จึงกล่าวคาถาว่า :-
แน่ ะ น้ อ งสาว คนสวย เอาเถอะ พี่ จ ะให้ผ้า ห่มเนื้อ ดีแ ก่น้อ ง เชิ ญ น้อ งนุ่งผ้า ผืน นี้แล้ว จงออกมาข้างนอก เชิญ
ออกมาข้างนอกวิมานเถิดน้อง พี่จะขอพบน้องข้างนอก.
ก็แล พ่อค้า ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว จึงนาเอาผ้าห่มของตนไปให้แก่นาง. นางเวมานิกเปรต เมื่อจะแสดงความที่พอ ่ ค้า
ผู้มอบผ้าห่มให้อย่างนั้น เป็นการอนุเคราะห์แก่ตน และการที่ พ่อค้าให้ผ้าห่มอย่างนั้น สาเร็จประโยชน์ จึงกล่าว ๒ คาถาว่า
:-
ผ้านั้น ถึงพี่จะให้ทม
ี่ ือของดิฉันเอง ด้วยมือของพี่ ก็ไม่สาเร็จแก่น้องได้ดอก ถ้าในหมู่มนุษย์นี้ มีอุบาสกผู้มีศรัทธา
เป็นพระสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอพี่จงให้แก่อบ ุ าสกนัน ้ นุ่งห่มผ้าทีพ ่ ี่จะให้แก่น้องแล้ว ค่อยอุทิศส่วนกุศลให้นอ ้ ง
เมื่อพี่ทาอย่างนั้น น้องก็จะได้นุ่งห่มผ้านี้ตามปรารถนา ประสพความสุข.
ความว่ า ทานที่ พี่ ให้ในมื อ ของน้ องย่อ มไม่ สาเร็ จ คื อ ย่ อ มไม่ เ ผล็ ด ผล ได้ แ ก่ ไม่ ค วรเป็น เครื่ อ งอุ ปโภคแก่ดิฉัน.
ความว่า ผู้นี้ชื่อว่าอุบาสก เพราะถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ และชื่อว่า ผู้มีศรัทธา เพราะประกอบด้วยความเชื่อกรรมและผล
แห่งกรรม ย่อมอยู่ในที่นี้ คือในหมู่ประชุมชนนี้.
ความว่า หัวหน้าพ่อค้า ให้อุบาสกนั้นนุ่งห่มผ้า ที่จะให้แก่เรา แล้วให้ทักษิณานั้น คือ ปัตติทานมัย อุทิศถึงฉัน. เมื่อ
ท่านทาอย่างนั้น ดิฉันก็จะมีความสุข นุ่งห่มผ้าทิพย์ จักได้รับความสุข.
พวกพ่อค้าได้ฟังดังนั้น จึงให้อุบาสกนั้นอาบลูบไล้แล้ว ให้นุ่งผืนหนึ่งห่มผืนหนึ่ง. พระสังคีติกาจารย์ทั้งหลาย เมื่อ
จะประกาศข้อความนั้น จึงได้กล่าว ๓ คาถาว่า:-
ก็พ่อค้าเหล่านั้น ยังอุบาสกนั้นให้อาบน้า ลูบ ไล้ด้วยของหอม แล้วให้นุ่งห่มผ้า อุทิศส่วนกุศลไปให้นางเวมานิก
เปรตนั้น ในทันตาเห็นนั่นเอง วิบากย่อมเกิดขึน ้ แก่นางเวมานิกเปรตนั้น โภชนะเครื่องนุ่งห่ม และน้าดืม ่ ย่อมเกิดขึน ้ นี้เป็น
ผลแห่งทักษิณา ในลาดับนั้น นางมีร่างกายบริสุทธิ์ นุ่งห่มผ้าอันสะอาด งามกว่าผ้าแคว้นกาสี เดิน ยิ้มออกมาจากวิมาน
ประเทศว่า นี้เป็นผลแห่งทักษิณา.
ความว่า ให้บริโภคโภชนะพร้อมทั้งกับข้าว อันสมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส แล้วให้นุ่งห่มผ้า คือให้นุ่งผืนหนึ่ง ห่ม
ผืนหนึ่ง ได้แก่ ให้ผ้า ๒ ผืน. บทว่า ตสฺสา ทกฺขิณมาทิสุ ได้แก่ อุทิศส่วนบุญแก่นางเวมานิกเปรตนั้น.
... ในทันใดที่ได้เห็นทักษิณานั้นนั่นแล. วิบาก คือผลแห่งทักษิณา ได้เกิดขึ้นแก่นางเวมานิกเปรตนั้น. นางเวมานิก
เปรตจึงกล่ าวว่า โภชนะเครื่ องนุ่ งห่ม และน้ าดื่ ม เกิ ด ขึ้ น แล้ ว. มี ว าจาประกอบความว่า โภชนะอั นเช่น กับ โภชนะทิพย์มี
ประการต่าง ๆ ผ้าอันเช่นกับผ้าทิพย์ ซึ่ งรุ่งโรจน์ด้วยสีหลายหลากและน้าดื่มมีหลายชนิด ผลเช่นนี้ย่อมเกิดเพราะทักษิณา.

~ 46 ~
นางเวมานิกเปรต พลางยิ้มแย้มออกมาจากวิมาน พร้อมการประกาศว่า ดูซิ ท่านทั้งหลาย นี่เป็นผลพิเศษแห่งทักษิณาของ
พวกท่านเป็นอันดับแรก.
ลาดับนั้น พวกพ่อค้านั้น ได้เห็นผลบุญโดยประจักษ์อย่างนี้ จึงเกิดอัศจรรย์จิต อย่างไม่เคยมีมาก่อน เกิดความ
เคารพนับถือมากในอุบาสกนั้น พากันการทาอัญชลีกรรมเข้าไปยังใกล้อุบาสกนั้น. ฝ่ายอุบาสก ให้พ่อค้าเหล่านั้น เลื่อมใส
ในธรรมกถาโดยประมาณยิ่ง และให้ตั้งอยู่ในสรณะและศีล. พวกพ่อค้านั้น จึงถามถึงกรรมที่นางเวมานิกเปรตนั้นกระทาไว้
ด้วยคาถานี้ว่า :-
วิมานของท่านช่างงดงาม มีรูปภาพอันวิจต ิ รด้วยดี สว่างไสว ดูก่อนนางเทพธิดา อันพวกข้าพเจ้าทัง้ หลายถามแล้ว
ขอท่านจงบอก เถิดว่า นี้เป็นผลของกรรมอะไร ?
นางเทพธิดานั้น ถูกพวกพ่อค้านั้นถามอย่างนี้แล้ว เมื่อจะบอกผลกรรมทั้ง ๒ อย่างนั้นว่า นี้เป็นผลของกุศลกรรมนิด
หน่อยที่ดิฉันกระทาไว้เป็นอันดับแรก แต่สาหรับอกุศลกรรม จักเป็นเช่นนี้ในนรกต่อไป ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถาทั้งหลายว่า :-
เมื่อดิฉันเป็นมนุษย์อยู่นั้น มีจิตเลื่อมใส ได้ถวายแป้งคั่วอันเจือด้วยน้ามัน แก่ภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต มีจิตซื่อตร ง
ดิฉันได้เสวยวิบากแห่งกุศลกรรมนั้นในวิมานนี้ สิ้นกาลนาน ก็ผลบุญนั้น เดี๋ยวนี้ ยังเหลืออยู่นิดหน่อย พ้น ๔ เดือนไปแล้ว
ดิฉันจักจุตจ ิ ากวิมานนี้ จักไปตกนรกอันเร่าร้อนแสนสาหัส มี ๔ เหลีย ่ ม ๔ ประตู แบ่งเป็นห้อง ๆ ล้อมด้วยกาแพงเหล็ก ครอบ
ด้วยแผ่นเหล็ก พื้นแห่งนรกนัน ้ ล้วนแล้วด้วยเหล็กแดง ลุกเป็นเปลวเพลิง ประกอบด้วยความร้อน แผ่ไปตลอด ๑๐๐ โยชน์
โดยรอบ ตั้งอยู่ทุกเมื่อ ดิฉันจักต้องเสวยทุกขเวทนาในนรกนั้น ตลอดกาลนาน ก็การเสวยทุกข์เช่นนี้ เป็นผลของกรรมชั่ว
เพราะฉะนั้นดิฉันจึงเศร้าโศกอย่างแรงกล้า ที่จะไปเกิดในนรกนั้น.
บทว่า ภิกฺขุโน จรมานสฺส ได้แก่ แก่ภิกษุผู้ทาลายกิเลสรูปหนึ่งกาลังเที่ยวบิณฑบาต.. บทว่า วิปฺปสนฺเนน เจตสา
ความว่า ผู้มีจิตเลื่อมใสดีด้วยการเชื่อกรรมและผลแห่งกรรม.
... บทว่า ตญฺจ ทานิ ปริตต ฺ ก ความว่า ผลบุญ ๕ อย่าง บัดนี้ มีนิดหน่อย คือเหลืออยู่น้อย เพราะวิบากแห่งกรรมมีผล
สุกงอม ไม่นานนักก็จากที่นี้ไป. ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า พ้น ๔ เดือนไปแล้ว ดิฉันจักจุติจากวิมานนี้ ดังนี้เป็นต้น. นาง
เปรตชี้แจงว่า พ้นจาก ๔ เดือน คือ ในเดือนที่ ๕ ถัดจาก ๔ เดือนไป ดิฉันจักจุติจากวิมานนี้. บทว่า เอกนฺตกุฏก ความว่า จัก
มีทุกข์แสนสาหัส เพราะจะต้องรับผลที่ไม่น่าปรารถนาอย่างแสนสาหัสนั่นแล... บทว่า นิรย ความว่า นรกอันได้นามว่า นิ
รยะ เพราะทาวิเคราะห์ว่า เป็นที่ไม่มีความเจริญคือความสุข..
... เมื่อนางเทพธิดานั้น ประกาศผลแห่งกรรมที่ตนได้ทาไว้ และภัยที่จะตกนรกในอนาคต อย่างนี้แล้ว อุบาสกนั้นมี
ความกรุณาเตือนใจ ให้คิดว่า เอาเถอะเราจักเป็นทีพ ่ ึ่งของนาง แล้วกล่าวว่า ดูก่อนแม่เทพธิดา เธอสาเร็จความปรารถนาทุก
อย่าง กลายเป็นผู้ประกอบด้วยสมบัติอันยิ่ง ด้วยอานาจทานของเราผู้เดียวเท่านั้น แต่บัดนี้ เจ้าให้ทานแก่อุบาสกเหล่านี้แล้ว
หวนระลึกถึงคุณแห่งพระศาสดา จักหลุดพ้นจากความเกิดในนรกได้.
นางเปรตนั้น มีใจร่าเริง ยินดีกล่าวว่า ดีละ แล้วให้อุบาสกเหล่านั้น อิ่มหนาด้วยข้าวและน้าอันเป็นของทิพย์ ได้ให้
ผ้าทิพย์ และแก้วหลากชนิด. นางได้ถวายคู่ผ้าทิพย์ มุ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ในมือของอุบาสกเหล่านั้น แล้วกล่าวว่า ข้าแต่
ท่านเจริญ นางเวมานิกเปรตตนหนึ่ง ขอฝากไหว้ด้วยเศียรเกล้าแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้แล้ว จึงไปกรุงสา
วัตถีแล้วส่งการถวายบังคมไปถึงพระคาสดาว่า ขอท่านทั้งหลายจงถวายบังคมพระศาสดา ตามคาของเราเถิด. และในวัน
นั้นนั่นเอง นางได้นาเอาเรือนั้นไปจอดยังท่าที่อุบาสกเหล่านั้นปรารถนา ด้วยอิทธานุภาพของตน.
ลาดับนั้น พ่อค้าเหล่านั้น ออกจากท่านั้นแล้ว ถึงกรุงสาวัตถีโดยลาดับ เข้าไปยังพระเชตวัน ถวายคู่ผ้านั้นแด่พระ
ศาสดา และได้ให้พระองค์ทรงทราบถึงการฝากไหว้ของนางแล้วกราบทูลเรื่องนั้น ตั้งแต่ต้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า . พระ
ศาสดาทรงกระทาเรื่อ งนั้ นให้เป็ นอั ตถุปั ตติเ หตุ แล้ ว ทรงแสดงธรรมโดยพิส ดารแก่ บริ ษัทผู้ พรั่ งพร้ อ มกันอยู่ . พระธรรม
เทศนานั้ น ได้ มี ป ระโยชน์ แ ก่ ม หาชน. ก็ ใ นวั น ที่ ๒ อุ บ าสกเหล่ า นั้ น ได้ ถ วายมหาทาน แก่ ภิ ก ษุ ส งฆ์ มี พ ระพุ ท ธเจ้า เป็ น
ประธานแล้ว อุทิศส่วนบุญให้แก่นางเปรตนั้ น. และนางได้จุติจากเปตโลกนั้นแล้ว บังเกิดในวิมานทอง ในภพชั้นดาวดึงส์
อันโชติช่วงไปด้วยรัตนะต่าง ๆ มีนางอัปสร ๑๐๐๐ นางเป็นบริวาร.
……………………………………………………

~ 47 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] จูฬเสฏฐีเปตวัตถุ ขุ.เปต.๒๖/๑๐๕/๑๔๘
ผูร้ บั ทานไม่มีศีล อุทิศส่วนบุญไม่ได้
อรรถกถาจูฬเสฏฐิเปตวัตถุ เล่ม ๔๙ หน้า ๒๒๕ มมร.
เมื่อพระศาสดา ประทับอยู่ที่เวฬุวันมหาวิหาร ทรงปรารภจูฬเศษฐีเปรต ตรัสพระคาถานี้ มีคาเริ่มต้นว่า นคฺโค กิโส ปพฺพ
ชิโตสิ ภนฺเต ดังนี้.
ได้ยินว่า ในกรุงพาราณสี มีคฤหบดีผู้หนึ่ง เป็นคนไม่มีศรัทธา ไม่มีความเลื่อมใส เป็ นคนตระหนี่เหนียวแน่น ไม่
เอื้อเฟื้อต่อการบาเพ็ญบุญ ได้นามว่า จูฬเศรษฐี. เขาทากาละแล้ว บังเกิดในหมู่เปรต. ร่างกายของเขาปราศจากเนื้อและ
เลือด มีเพียงกระดูกเส้นเอ็นและหนัง ศีรษะโล้น ปราศจากผ้า. แต่ธิดาของเขา ชื่อว่าอนุลา อยู่ในเรือนของสามี ในอันธกวิน
ทนคร มีความประสงค์จะให้พราหมณ์บริโภคอาหารอุทิศบิดา จึงจัดแจงเครื่องอุปกรณ์ทานมีข้าวสารเป็นต้น. เปรตรู้ดังนั้น
ไปในที่นั้นโดยอากาศ โดยความหวัง ถึงกรุงราชคฤห์. ก็สมัยนั้น พระเจ้าอชาตศัตรู ถูกพระเจ้าเทวทัตต์ส่งไป ให้ปลงพระ
ชนมชีพพระบิดา ไม่เข้าถึงความหลับ เพราะความเดือดร้อน และความฝันร้ายนั้น จึงขึ้นไปบนปราสาท จงกรมอยู่ เห็นเปรต
นั้นเหาะไปอยู่จึงถามด้วยคาถานี้ว่า :-
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ท่านเป็นบรรพชิต เปลือยกาย ซูบผอม เพราะเหตุแห่งกรรมอะไร ท่านจะไปไหนในราตรีเช่นนี้
ขอท่านจงบอกกาลที่ท่านจะไปแก่เราเถิด เราสามารถจะให้ทรัพย์เครื่องปลื้มใจแก่ท่าน ด้วยความอุตสาหะทุกอย่าง
... ได้ยินว่า พระราชากล่าวกะเขาว่า ท่านเป็นบรรพชิตเปลือยกายซูบผอมเป็นต้น ด้วยความสาคัญว่า ผู้นี้เป็นสมณะ
เปลือย เพราะเขาเป็นคนเปลือยกายและเป็นคนศีรษะโล้น ...
เปรตถูกพระราชาถามอย่างนี้แล้ว เมื่อจะบอกประวัติของตน จึงได้กล่าวคาถา ๓ ถาคาว่า :-
เมื่อก่อนกรุงพาราณสี มีกิตติคุณเลื่องลือไปไกล ข้าพระองค์เป็นคฤหบดี ผู้มั่งคั่งอยู่ในกรุงพาราณสีนั้น แต่เป็นคน
ตระหนี่เหนีย วแน่น ไม่ เ คยให้สิ่งของแก่ใคร ๆ มี ใ จข้องอยู่ในอามิส ได้ ถึงวิสัย แห่งพญายม เพราะความเป็นผู้ทุศีล ข้า
พระองค์ลาบากแล้ว เพราะความหิวเสียดแทง เพราะกรรมชั่วเหล่านัน ้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระองค์ปรารถนาอามิส จึงได้มา
หาหมู่ญาติ มนุษย์แม้เหล่าอื่น มีป กติไม่ให้ทานและไม่เชื่อว่า ผลแห่งทานมีอยู่ในโลกหน้า มนุษย์แม้เหล่านั้นจักเกิดเป็น
เปรตเสวยทุกข์ใหญ่ เหมือนข้าพระองค์ ฉะนั้น
ธิดาของข้าพระองค์ บ่นอยู่เนือง ๆ ว่า เราจักให้ทานอุทศ ิ ให้มารดา บิดา ลุง ป้า น้า อา ปู่ ย่า ตา ยาย พวกพราหมณ์
กาลังบริโภคทาน อันธิดาของข้าพระองค์ตบแต่งแล้ว ข้าพระองค์จะไปยังเมือง อันธกวินทนคร เพื่อบริโภคอาหาร.
... บทว่า โส สูจิกาย กิลมิโต ความว่า ข้าพเจ้านั้น ลาบากเพราะความหิว อันได้นามว่า สูจิกา เพราะเป็นเสมือนเข็ม
เพราะอรรถว่า เสียดแทง เสียดแทงอยู่ไม่ขาดระยะ... จริงอยู่ เมื่อเปรตนั้นระลึกถึงกรรมชั่วนั้น โทมนัสอย่างยิ่งเกิดขึ้นแล้ว
เพราะเหตุนั้นเปรตจึงกล่าวอย่างนั้น... เบื้องหน้าแต่นั้น พระสังคีติกาจารย์ได้กล่าวไว้ว่า :-
พระราชาจึงตรัสสั่งเขาว่า ถ้าท่านไปได้เสวยผลทานนั้น พึงรีบกลับมาบอก เหตุที่มีจริงแก่เรา เราฟังคาอันมีเหตุผล
ควรเชื่อถือได้แล้ว จักทาการบูชาบ้าง จูฬเศรษฐีเปรตทูลรับพระดารัสแล้ว ได้ไปยังอันธกวินทนครนั้น แต่ไม่ได้รับผลแห่ง
ทานนั้น เพราะพราหมณ์ทั้งหลายทีบ ่ ริโภคภัตร เป็นผู้ไม่มีศีล ไม่สมควรแก่ทก ั ษิณา ภายหลังจูฬเศรษฐีเปรต กลับมายังกรุง
ราชคฤห์ อี ก ได้ ไ ปแสดงกายให้ ป รากฏ เฉพาะพระพั ก ตร์ ข องพระเจ้ า อชาตศั ต รู ผู้ เ ป็ น ใหญ่ ก ว่ า หมู่ ช น พระราชา
ทอดพระเนตรเห็นเปรตนัน ้ กลับมาอีก จึงตรัสถามว่า เราจะให้ทานอะไร ถ้าเหตุทจ ี่ ะให้ทา่ นอิม ่ หนาตลอดกาลนานมีอยูไ ่ ซร้
ขอท่านจงบอกเหตุนั้นแก่เรา
จูฬเศรษฐีเปรตกราบทูลว่า :-
ข้าแต่พระราชา ขอพระองค์จงทรงอังคาสพระพุทธเจ้า และพระสงฆ์ด้วยข้าวและน้า และจงทรงถวายจีวรแล้ว จง
อุทิศกุศลนั้น เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ข้าพระองค์ ด้วยทรงการบาเพ็ญกิจอย่ างนี้ ข้าพระองค์จะพึงอิ่มหนา ตลอดกาลนาน
ลาดับนั้น พระราชาเสด็จออกจากปราสาททันที ทรงถวายทานอันประณีตยิ่งแก่สงฆ์ ด้วยพระหัตถ์ของพระองค์แล้วทรง
กราบทูลเรือ ่ งราวแด่พระตถาคต ทรงอุทศ ิ ส่วนกุศลให้แก่จฬ ู เศรษฐีเปรต, จูฬเศรษฐีเปรตนัน ้ อันพระราชาทรงบูชาแล้ว เป็น
ผู้งดงามยิง่ นัก ได้มาปรากฏเฉพาะพระพักตร์ของพระราชา ผู้เป็นใหญ่กว่าหมูช ่ น แล้วกราบทูลว่า ข้าพระองค์เป็นเทวดา มี
ฤทธิ์อย่างยอดเยี่ยมแล้ว มนุษย์ทั้งหลายผู้มีฤทธิ์เสมอด้วยข้าพระองค์ไม่มี ขอพระองค์ทรงทอดพระเนตรดูอานุภาพอันหา
ประมาณมิได้ของข้าพระองค์นี้เถิด ซึ่งเกิดจากผลที่พระองค์ทรงถวายทาน อัน จะนับมิได้แก่สงฆ์ อุทิศส่วนพระราชกุศล
ให้แก่ข้าพระองค์ ด้วยทรงอนุเคราะห์ ข้าแต่ พระองค์ผู้เป็นเทพแห่งมนุษย์ ข้าพระองค์เป็นผูอ ้ ันพระองค์ ยังพระอริยสงฆ์ให้อิ่ม
หนา ด้วยไทยธรรมมีขา้ วและน้า และผ้าผ่อนเป็นต้น เป็นอันมาก จึงได้อม ิ่ หนาแล้วเนือง ๆ บัดนี้ ข้าพระองค์มค ี วามสุขแล้ว จึง
ขอทูลลาพระองค์ไป.
... เมื่อเปรตทูลลากลับไปอย่างนี้ พระเจ้าอชาตศัตรูตรัสบอกความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายเข้าไปเฝ้าพระผู้

~ 48 ~
มีพระภาคเจ้าแล้วกราบทูลความนั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทาเรื่องนั้นให้เป็นอัตถุปปัตติเหตุ ทรงแสดงธรรมแก่บริษัท
ผู้ถึงพร้อมแล้ว มหาชนฟังธรรมนั้นแล้ว ละมลทินคือความตระหนี้ ได้เป็นผู้ยินดียิ่งในบุญมีทานเป็นต้นแล.
……………………………………………………
เทวดารับส่วนบุญเป็นบุญ ด้วยการอนุโมทนา
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] มัจฉทานชาดก ขุ.ชา.๒๗/๔๖๓/๑๑๙
บุญที่ให้ทานแก่ปลา อุทิศบุญให้เทวดา
อรรถกถามัจฉทานชาดก เล่ม ๕๘ หน้า ๓๐๔ มมร.
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภพ่อค้าโกงคนหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้มีคาเริ่มต้นว่า อคฺฆนฺติ
มจฺฉา ดังนี้. เรื่องนี้ได้กล่าวไว้แล้วในหนหลังนั้นแล.
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลกฎุมพี พอ
รู้เดียงสาก็รวบรวมทรัพย์สมบัติไว้. และพระโพธิสัตว์นั้นมีน้องชายอยู่คนหนึ่ง. ในกาลต่อมา เมื่อบิดาของคนทั้งสองนั้นทา
กาลกิริยาไปแล้ว วันหนึ่งพี่น้องทั้งสองนั้นคิดกันว่า พวกเราจักชาระสะสางการค้าขายอันเป็นของบิดาให้เรียบร้อยเสียที จึง
ไปยังบ้านหนึ่ง ได้ทรัพย์พันกหาปณะแล้วกลับมา บริโภคอาหารห่อแล้วรอเรืออยู่ที่ท่าแม่น้า.
พระโพธิสัตว์ได้ให้อาหารที่เหลือแก่ปลาทั้งหลายในแม่น้าคงคาแล้วให้ส่วนบุญแก่เทวดาประจาแม่น้า. เทวดาพอ
อนุโมทนาส่วนบุญเท่านั้น ก็เจริญพอกพูนด้วยยศอันเป็นทิพย์ จึงราพึงถึงความเจริญยศของตน ก็ได้รู้ถึงเหตุนั้น. ฝ่ายพระ
โพธิสัตว์ลาดผ้าห่มลงบนทรายนอนหลับไป.
ส่วนน้องชายของพระโพธิสัตว์นั้น มีปกตินิสัยค่อนข้างเป็นโจรอยู่บ้าง เขาจึงทาห่อกรวดเข้าห่อหนึ่งให้เหมือนห่อ
กหาปณะ แล้ววางทั้งสองไว้รวมกัน เพราะประสงค์จะไม่ให้กหาปณะเหล่านั้นแก่พระโพธิสต ั ว์ จะถือเอาเสียเองคนเดียว. เมื่อ
พี่น้องทั้งสองนั้นขึ้นเรือไปถึงกลางแม่น้าคงคา น้องชายทาเรือให้โคลงแล้วคิดว่าเราจะโยนห่อกรวดทิ้งน้า กลับโยนห่อทรัพย์พัน
กหาปณะลงไป เก็บซ่อนห่อกรวดไว้ แล้วกล่าวว่า “คุณพี่ ห่อทรัพย์พันกหาปณะตกน้าไปแล้ว เราจะทาอย่างไรกัน”.
พระโพธิสัตว์กล่าวว่า เมื่อมันตกน้าไปแล้ว พวกเราจักกระทาอย่างไรได้ อย่าคิดมันเลย. เทวดาประจาแม่น้าคิดว่า
เราอนุโมทนาส่วนบุญที่พระโพธิสัตว์นี้ให้ จึงเจริญด้วยยศทิพย์ เราจักรักษาทรัพย์อันเป็นของพระโพธิสัตว์นี้ไ ว้ จึงบันดาล
ให้ปลาปากกว้างตัวหนึ่ง กลืนห่อทรัพย์นั้นไว้ด้วยอานุภาพของตน ตนเองถือการอารักขาอยู่.
ฝ่ายน้องชายผู้เป็นโจรแม้นั้นแล ไปถึงเรือนแล้วคิดว่า เราลวงพี่ชายได้แล้ว จึงแก้ห่อออกเห็นแต่กรวด มีหัวใจ
เหี่ยวแห้ง นอนกอดแม่แคร่เตียงอยู่.
ในกาลนั้ น พวกชาวประมงได้ ท อดแหเพื่ อ จั บ ปลา. ปลาตั ว นั้ น ได้ เ ข้ า ไปติ ด แหด้ ว ยอานุ ภ าพของเทวดา. พวก
ชาวประมงจับปลานั้นได้แล้ว จึงเข้าไปยังพระนครเพื่อจะขายปลา. คนทั้งหลายเห็นปลาใหญ่จึงถามราคา. ชาวประมงกล่าว
ว่า ท่านให้ทรัพย์หนึ่งพันกหาปณะกับเจ็ดมาสก แล้วจงถือเอาปลานั้นไป. พวกประชาชนทาการหัวเราะเยาะว่า แหมปลา
ราคาทั้งพันไม่เคยเห็น. พวกชาวประมงจึงถือเอาปลาไปยังประตูเรือนของพระโพธิสัตว์กล่าวว่า ท่านจงถือเอาปลาตัวนี้.
พระโพธิสัตว์ถามว่า ปลานี้ราคาเท่าไร ? ชาวประมงกล่าวว่า “ท่านให้เจ็ดมาสกแล้วเอาไปเถอะ”. พระโพธิสัตว์ถามว่า พวก
ท่านเมื่อให้แก่คนอื่นให้อย่างไร ? พวกชาวประมงกล่าวว่า “ให้แก่คนอื่น ๑ พันกับ ๗ มาสก แต่ท่านให้ ๗ มาสก แล้วเอา
ไปเถิ ด ”. พระโพธิ สั ต ว์ ใ ห้พ วกชาวประมงไป ๗ มาสก แล้ ว ส่ ง ปลาให้ แ ก่ ภ รรยา. ภรรยาผ่ า ท้ อ งปลาเห็ น ห่ อ ทรั พ ย์ พั น
กหาปณะ จึงมอบแก่ พ ระโพธิ สั ต ว์ . พระโพธิ สั ต ว์ ตรวจดู ห่ อทรั พ ย์ นั้ นเห็ น ตราของตน ก็ รู้ ว่ า เป็ น ของตน จึ งคิ ด ว่ า ‘บั ด นี้
ชาวประมงเหล่านี้เมื่อให้ปลาตัวนี้แก่คนอื่น ก็ให้ถึง ๑ พันกหาปณะกับ ๗ มาสก แต่พอมาถึงเราเข้าไม่พูดถึงพันเลย ได้ให้
เอาเพียง ๗ มาสกเท่านั้น เพราะพันกหาปณะนั้นเป็นของของตน เราไม่อาจให้ใครๆ ผู้ไม่รู้เหตุการณ์นี้เชื่อถือได้’ จึงกล่าวา
ถาที่ ๑ ว่า
ปลาทัง้ หลายมีราคา ๑ พันกหาปณะ กับ ๗ มาสก ย่อมจะไม่มผ ี เู้ ชือ
่ ถือเลย และในทีน่ ี้ เราก็มี ๗ มาสกเท่านัน ้ แต่ก็
ซื้อปลาพวงนั้นได้.
บทว่า อธิก ความว่า ชาวประมงถูกคนอื่นถามย่อมกล่าวว่า ปลาทั้งหลายมีราคา ๑ พันกหาปณะกับอีก ๗ มาสก. บท
ว่า น โส อตฺถิ โย อิม สทฺทเหยฺย ความว่า คนที่ไม่รู้เหตุการณ์นี้โดยประจักษ์ จะเชื่อถือคาของเราย่อมไม่มี หรือว่าคนที่จะ
เชื่อคานี้ที่ว่า ปลาทั้งหลายมีราคาประมาณเท่านี้ ย่อมไม่มี. เพราะเหตุนั้นแหละ คนอื่นๆ จึงไม่ถือเอาปลาเหล่านั้น... ก็แหละ
พระโพธิสัตว์ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว จึงคิดดังนี้ว่า ‘เพราะอาศัยอะไรหนอ เราจึงได้กหาปณะเหล่านี้’. ขณะนั้น เทวดาประจา
แม่น้าแสดงรูปร่างให้ปรากฏ ยืนอยู่ในอากาศกล่าวว่า “เราเป็นเทวดาประจาอยู่ในแม่น้าคงคา ท่านให้อาหารส่วนเกินแก่

~ 49 ~
ปลาทั้งหลาย แล้วให้ส่วนบุญแก่เรา ด้วยเหตุนั้น เราจึ งมาอารักขาทรัพย์ของท่านไว้ ” เมื่อจะแสดงความให้แจ่มแจ้ง จึง
กล่าวคาถาว่า :-
ท่า นได้ให้โภชนะแก่ปลาทั้งหลาย แล้วอุทิศส่วนบุญให้แก่เรา เราระลึกถึงส่วนบุญอันนั้น และความนอบน้อมที่
ท่านกระทาแล้ว จึงรักษาทรัพย์ของท่านนี้ไว้.
... ก็ แ หละ เทวดาประจาแม่ น้ านั้ น ครั้ น กล่ า วคาถานี้ แ ล้ ว จึ ง บอกการคดโกงที่ น้ อ งชายกระท าทั้ ง หมดแก่ พ ระ
โพธิ สั ต ว์นั้ น แล้ ว กล่ า วว่ า บั ด นี้ น้ อ งชายของเท่า นั้น มี หัว ใจเหี่ย วแห้ งนอนอยู่ ชื่ อ ว่ า ความเจริ ญย่ อมไม่ เ กิด แก่คนผู้มีจิต
ประทุษร้าย อันเราคิดว่า ทรัพย์อันเป็นของท่านอย่าได้พินาศฉิบหายเสีย จึงได้นาทรัพย์ นั้นมาให้ท่านท่านอย่าให้ทรัพย์นี้
แก่น้องชายโจรของท่าน จงถือเอาผู้เดียวทั้งหมดเถิด แล้วกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-
บุคคลผู้นี้จิตคิดประทุษร้าย ย่อมไม่มีความเจริญเลย ใช่แต่เท่านั้น เทวดาทั้งหลายก็ไม่บูชาผู้นั้น ผู้ใดทากรรมอัน
ชั่วช้า ยักยอกเอาทรัพย์มรดกของบิดา ไม่ ต้องการให้พี่ชาย เทวดาทั้งหลายย่อมไม่บูชาผู้นั้น.
ดังนั้น เทวดาผู้ไม่ประสงค์จะให้กหาปณะแก่โจรผู้ประทุษร้ายมิตร จึงกล่าวอย่างนั้น. ส่วนพระโพธิสัตว์คิดว่า เราไม่
อาจกระทาอย่างนั้น จึงได้ส่งทรัพย์จานวน ๕๐๐ ไปให้แก่น้องชายผู้เป็นโจรแม้นั้น.
พระศาสดาครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศสัจจะทั้งหลายแล้วทรงประชุมชาดก. ในเวลาจบ
สัจจะ พ่อค้าดารงอยู่ในโสดาปัตติผล. น้องชายในครั้งนั้น ได้เป็นพ่อค้าโกงในบัดนี.้ ส่วนพี่ชายในครั้งนั้นได้เป็นเราตถาคต
ฉะนี้แล.
……………………………………………………
ปีศาจรับอาหารโดยตรง จากทีเ่ ขาให้ หรือทิ้งไว้ เช่น ซากศพ อุจจาระ เศษอาหาร
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] จูฬสกุลทุ ายิสูตร ม.ม.๑๓/๓๖๗/๒๗๐
สกุลทุ ายิปริพาชก
[๓๖๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้.
สมัยหนึ่ง พระผูม
้ ีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวน ั กลันทกนิวาปสถาน เขตพระนครราชคฤห์ สมัยนัน ้
สกุลุทายิปริพาชก อยู่ในปริพาชการามเป็ นทีใ่ ห้เหยือ่ แก่นกยูง พร้อมด้วยปริพาชกบริษท ั หมูใ่ หญ่. ครัง้ นัน
้ เวลาเช้าพระผูม้ ี
พระภาคเจ้าทรงนุ่งแล้ว ทรงถือบาตรจีวรเสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงราชคฤห์ ลาดับนัน ้ พระผูม ้ พี ระภาคเจ้าได้ทรงดาริว่า
การเทีย่ วบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์ยงั เช้านัก อย่ากระนัน ้ เลย เราพึงเข้าไปหาสกุลุทายิปริพาชก ยังปริพาชการามอันเป็ นที่
ให้เหยือ่ แก่นกยูงเถิด ลาดับนัน
้ พระผูม
้ พ
ี ระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปยังปริพาชการาม อันเป็ นทีใ่ ห้เหยือ่ แก่นกยูง. …
ว่าด้วยขันธ์สว่ นอดีตและอนาคต
[๓๗๑] ดูก่อนอุทายี ผูใ้ ดพึงระลึกถึงชาติกอ ่ นได้เป็ นอันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบา้ ง ฯลฯ พึงระลึก
ถึงชาติก่อนได้เป็ นอันมากพร้อมทัง้ อาการ พร้อมทัง้ อุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ผูน ้ น ้ ั ควรถามปัญหาปรารภขันธ์สว่ นอดีตกะ
เรา หรือเราควรถามปัญหาปรารภขันธ์ ส่วนอดีตกะผู้น้น ั ผู้น้น ั จะพึงยังจิตของเราให้ยินดีได้ ด้ว ยการพยากรณ์ ป ัญ หา
ปรารภขันธ์สว่ นอดีตหรือเราจะพึงยังจิตของผูน ้ น
้ ั ให้ยน ิ ดีได้ ด้วยการพยากรณ์ ปญ ั หาปรารภขันธ์สว่ นอดีต.
ดูก่อนอุทายี ผูใ้ ดพึงเห็นหมูส ่ ตั ว์ทีก
่ าลังจุติ กาลังอุปบัติ เลว ประณี ต มีผวิ พรรณดี มีผวิ พรรณทราม ได้ดี ตกยาก
ด้วยทิพยจักษุ อน ั บริสุทธิ ์ ล่วงจักษุ ของมนุ ษย์ ฯลฯ พึงรูช ้ ดั ซึง่ หมู่สตั ว์ ผเู้ ป็ นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้ ผูน ้ น
้ ั ควรถาม
ปัญหาปรารภขันธ์สว่ นอนาคตกะเรา หรือเราควรถามปัญหาปรารภขันธ์สว่ นอนาคตกะผูน ้ น้ ั ผูน
้ น
้ ั พึงยังจิตของเราให้ยน ิ ดี
ได้ ด้วยการพยากรณ์ ปญ ั หาปรารภส่วนอนาคต หรือเราพึงยังจิตของผูน ้ น ้ ั ให้ยน
ิ ดีได้ ด้วยการพยากรณ์ ปญ ั หาปรารภขันธ์
ส่วนอนาคต.
ดูกอ
่ น อุทายี แต่จงงดขันธ์สว่ นอนาคตไว้กอ ่ น เราจักแสดงธรรมแก่ทา่ นว่า เมือ่ เหตุนี้มี ผลนี้จงึ มี เพราะเหตุนี้เกิด
ผลนี้จงึ เกิด เมือ่ เหตุนี้ไม่มี ผลนี้จงึ ไม่มี เพราะเหตุนี้ดบั ผลนี้จงดับ.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แม้แต่ด้วยอัตภาพของข้าพระองค์ ที่เป็ นอยู่บดั นี้ ข้าพระองค์ยงั ไม่สามารถจะระลึกถึงได้
พร้อมทัง้ อาการ พร้อมทัง้ อุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ก็ไฉนจะระลึกชาติก่อนได้เป็ นอันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สอง
ชาติบา้ ง สามชาติบา้ ง ฯลฯ จักระลึกถึงชาติก่อนได้เป็ นอันมาก พร้อมทัง้ อาการ พร้อมทัง้ อุเทศ ด้วยประการฉะนี้ เหมือน
พระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าได้เล่า.
ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ในเดีย๋ วนี้ แม้แต่ปงั สุปีศาจ ข้าพระองค์ยงั ไม่เห็นเลย ไฉนจักเห็นหมูส ่ ตั ว์ทีก
่ าลังจุติ กาลัง
อุปบัติ เลว ประณี ต มีผวิ พรรณดี มีผวิ พรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุ อน ั บริสท ุ ธิ ์ ล่วงจักษุ ของมนุษย์ ฯลฯ จักรูช ้ ดั

~ 50 ~
ซึง่ หมูส
่ ัตว์ผเู้ ป็ นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้ เหมือนพระผูม ้ พี ระภาคเจ้าได้เล่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ก็คาทีพ ่ ระผูม
้ พ
ี ระ
ภาคเจ้าตรัสกะข้าพระองค์อย่างนี้ว่า ดูก่อนอุทายี แต่จงงดขันธ์สว่ นอดีตและขันธ์สว่ นอนาคตไว้ก่ อน เราจักแสดงธรรมแก่
ท่านว่า เมือ ่ เหตุนี้มี ผลนี้จงึ มี เพราะเหตุนี้เกิด ผลนี้จงึ เกิด เมือ
่ เหตุนี้ไม่มี ผลนี้จงึ ไม่มี เพราะเหตุนี้ดบั ผลนี้จงึ ดับ ดังนี้น้น

จะได้ปรากฏแก่ขา้ พระองค์โดยยิง่ กว่าประมาณก็หาไม่ ไฉนข้าพระองค์ จะพึงยังจิตของพระผูม ้ ีพระภาคเจ้าให้ยน ิ ดี ด้วย
การพยากรณ์ ปญ ั หา ในลัทธิอาจารย์ของตนได้เล่า.
อรรถกถาจูฬสกุลทุ ายิสูตร เล่ม ๒๐ หน้า ๖๓๖ มมร.
... บทว่ า ปํ สุปีส าจก ปี ศาจฝุ่ น ๑ คื อ ปี ศาจที่ เ กิ ดในที่ไม่ สะอาด. ด้ ว ยว่ า ปีศาจนั้ น ถื อ เอารากไม้ รากหนึ่งแล้ วไม่
ปรากฏกาย. มีเรื่องเล่าว่า ยักษิณีคนหนึ่งให้ทารก ๒ คนนั่งที่ประตูถูปารามแล้วเข้าไปในเมืองเพื่อแสวงหาอาหาร. พวกเด็ก
เห็นพระเถระกาลังออกบิณฑบาตรูปหนึ่ง จึงกล่าวว่า พระคุณเจ้าขอรับ มารดาของพวกเรา เข้าไปภายในพระนคร พระคุณ
เจ้าเห็นช่วยบอกแก่มารดานั้น เจ้าได้สิ่งใดจงถือเอาสิ่งที่ได้แล้วรีบกลับไปเสีย . พวกเด็กเหล่านั้นไม่อาจจะรออยู่ได้ เพราะ
ความหิว.
พระเถระถามว่าเราจะเห็นมารดาของเจ้านั้นได้อย่างไรเล่า. พวกเด็กจึงกล่าวว่า พระคุณเจ้า จงถือเอารากไม้นี้เถิด
แล้วได้ถวายรากไม้ชิ้นหนึ่ง. ยักษ์หลายพันได้ปรากฏแก่พระเถระ พระเถระได้เห็นยักษิณีนั้นด้วยสัญญาณที่พวกเด็กให้ไว้.
พระเถระเห็นยักษิณีมีรูปร่างน่าเกลียด น่ากลัว หวังแต่จะหาของสกปรกที่ถนนกันแต่อย่างเดียว จึงกล่าวความนี้ เมื่อยักษิณี
ถามว่า ท่านเห็นฉันได้อย่างไร พระเถระจึงแสดงชิ้นรากไม้ให้ดู. ยักษิณีคว้ารากไม้ถือเอาไป. ปีศาจฝุ่นทั้งหลาย ถือรากไม้
รากหนึ่งแล้วไม่ปรากฏกายด้วยประการฉะนี้.
ปิสาจ = ตระกูลปิศาจเทวดา, เทวดากินเศษเนื้อ ชื่อว่า ปิสาจะ, เทวดาผู้ติดตามท้าวกุเวร, รวมเอาวิชชาธร ผู้มีมนต์ดา,
อปสรา ผู้หยาบคายหรือนางอัปสร, กินนรผู้เหมือนคน เพราะมีหัวเป็นม้าตัวเป็นคน

๑ ปิสาจ = ตระกูลปิศาจเทวดา , เทวดากินเศษเนื้อ ชื่อว่า ปิสาจะ (ปิสต


ิ แปลว่า เนื้อ) , เป็นเทวดาผู้ติดตามท้าวกุเวร

……………………………………………………

~ 51 ~
อานิสงส์แห่งการให้ทานและบูชาพระเจดีย์
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] มหาปรินิพพานสูตร ที.ม.๑๐/๑๓๑/๑๑๓
[สังเวชนียสถาน ๔ ตาบล]
[๑๓๑] ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ในกาลก่อน พวกภิกษุ อยูจ่ าพรรษาในทิศทัง้ หลาย พากันมาเพือ ่ เห็นพระตถาคต พวก
ข้าพระองค์ ย่อมได้เห็นได้เข้าไปนั่งใกล้ ภิกษุ ผใู้ ห้เจริญใจเหล่านัน ้ พวกข้าพระองค์ โดยล่วงไปแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า
จักไม่ได้เห็น จักไม่ได้เข้าไปนั่งใกล้ภก ิ ษุ ผใู้ ห้เจริญใจ.
ดูกอ่ นอานนท์ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็ นทีค ่ วรเห็นของกุลบุตรผูม
้ ศี รัทธา. สังเวชนียสถาน ๔ เป็ นไฉน.
สังเวชนียสถานเป็ นทีค ่ วรเห็นของกุลบุตรผูม ้ ศ ี รัทธาด้วยระลึกว่า พระตถาคตประสูตใิ นทีน ่ ี่ ๑
สังเวชนียสถานเป็ นทีค ่ วรเห็นของกุลบุตรผูม ้ ศ ี รัทธาด้วยระลึกว่า พระตถาคตตรัสรูอ้ นุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในทีน ่ ี้ ๑
สังเวชนียสถานเป็ นทีค ่ วรเห็นของกุลบุตรผูม ้ ีศรัทธาด้วยระลึกว่า พระตถาคตยังธรรมจักรอันยวดยิง่ ให้เป็ นไปแล้วใน
ทีน
่ ี้ ๑
สังเวชนียสถานเป็ นทีค ่ วรเห็นของกุลบุตรผูม ้ ศ ี รัทธาด้วยระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพาน
ธาตุในทีน ่ ี้ ๑
อานนท์ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านัน ้ แล เป็ นทีค ่ วรเห็นของกุลบุตรผูม ้ ศ
ี รัทธา
ภิกษุ ภิกษุ ณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้มีศรัทธาจักมาด้วยระลึกถึงว่า พระตถาคตประสูตใิ นที่นี้บ้าง พระตถาคตตรัสรูอ ้ นุ ตตร
สัมมาสัมโพธิญาณในทีน ่ ี้บา้ ง พระตถาคตยังธรรมจักรอันยวดยิง่ ให้เป็ นไปในทีน ่ ี้บา้ ง พระตถาคตเสร็ จปรินิพพานแล้วด้วย
อนุ ปาทิเ สสนิ พพานธาตุใ นที่นี้ บ้าง ดูก่อนอานนท์ ชนเหล่าใดเที่ยวจาริก ไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใส จัก กระท ากาละ ชน
เหล่านัน ้ ทัง้ หมดเบือ
้ งหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์.
[วิธีปฏิบตั ใิ นพระพุทธสรีระ]
[๑๓๒] .. [๑๓๓] .. ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ พวกข้าพระองค์จะปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระตถาคตอย่างไร. อานนท์
พวกเธออย่าขวนขวายเพือ ่ บูชาสรีระของพระตถาคตเลย พวกเธอจงสืบต่อในประโยชน์ ตน ประกอบตามในประโยชน์ ตน
ไม่ประมาทในประโยชน์ตน มีตนส่งไปแล้วอยูเ่ ถิด
อานนท์ กษัตริย์ผเู้ ป็ นบัณฑิตบ้าง พราหมณ์ ผเู้ ป็ นบัณฑิตบ้าง คฤหบดีผเู้ ป็ นบัณฑิตบ้าง เลือ
่ มใสในพระตถาคตมีอยู่
เขาเหล่านัน ้ จักกระทาการบูชาสรีระของพระตถาคตเอง.
ก็ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พึงปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระตถาคตอย่างไร. พึงปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระตถาคต
เหมือนทีเ่ ขาปฏิบ ัติในพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิ. เขาปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิเป็ นอย่างไร.
อานนท์ เขาห่อพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิดว้ ยผ้าใหม่ ครัน ้ ห่อแล้วซับด้วย
สาลี ครัน ้ ซับด้วยสาลีแล้ว ห่อด้วยผ้าใหม่ โดยอุบายนี้ ห่อพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิด้วยผ้า ๕๐๐ คู่ เชิญลงในราง
เหล็กอันเต็มด้วยน้ามัน ครอบด้วยรางเหล็กอืน ่ กระทาจิตกาธานด้วยของหอมทุกชนิด ถวายพระเพลิงพระสรีระของพระ
เจ้าจักรพรรดิ สร้างพระสถูปของพระเจ้าจักรพรรดิไว้ในทางใหญ่ ๔ แพร่ง อานนท์ เขาปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระเจ้า
จักรพรรดิอย่างนี้แล้ว พึงปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระตถาคตเหมือนเขาปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิฉะนั้น
พึงสร้างพระสถูปของพระตถาคตไว้ในทางใหญ่ ๔ แพร่ง ชนเหล่าใด จักยกขึน ้ ซึง่ มาลัยของหอมหรือจุณ จักอภิวาท หรือยัง
จิตให้เลือ
่ มใสในพระสถูปนัน ้ ข้อนัน
้ จักเป็ นไปเพือ
่ ประโยชน์ เพือ่ ความสุขแก่ชนเหล่านัน ้ ตลอดกาลนาน.

~ 52 ~
ผูค้ วรนาอัฐธิ าตุบรรจุสถูปไว้บูชา ๔ จาพวก]
[๑๓๔] ดูกรอานนท์ ถูปารหบุคคล ๔ จาพวก ถูปารหบุคคล ๔ จาพวก เป็ นไฉน
คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตถาคโต อรห สมฺมาสมฺพุทฺโธ) ๑ พระปัจเจกสัมพุทธเจ้า (ปจฺเจกพุทฺ
โธ) ๑ สาวกของพระตถาคต (ตถาคตสาวโก) ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ (ราชา จกฺกวตฺต)ี ๑
ดูกรอานนท์ เพราะอาศัยอานาจประโยชน์ อะไร พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงเป็ นถูปารหบุคคล ชนเป็ น
อันมาก ยังจิตให้เลือ
่ มใสว่า นี้เป็ นสถูปของพระผูม
้ พ
ี ระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นน ้ ั พวกเขายังจิตให้ เลือ
่ มใส
ในสถูปนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่ อมเข้าถึงสุคติโลก สวรรค์ เพราะอาศัยอานาจประโยชน์ ข้อนี้ แล พระ
ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงเป็ นถูปารหบุคคล ฯ
ดูก รอานนท์ เพราะอาศัย อ านาจประโยชน์ อ ะไร พระปัจ เจกสัม พุ ท ธเจ้า .. สาวกของพระตถาคต .. พระเจ้า
จักรพรรดิ จึงเป็ นถูปารหบุคคล ชนเป็ นอันมากยังจิตให้เลือ่ มใสว่า นี้เป็ นสถูปของ พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านัน
้ พวกเขายังจิต
ให้เลือ
่ มใสในสถูปนัน ้ แล้ว เบือ
้ งหน้า แต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะอาศัยอานาจประโยชน์ ข้อนี้
แล พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าจึงเป็ นถูปารหบุคคล ฯ
ดูกรอานนท์ ถูปารหบุคคล ๔ จาพวกนี้แล ฯ
……………………………………………………
อรรถกถาถูปารหสูตร เล่ม ๓๕ หน้า ๖๑๒ มมร. , เล่ม ๑๓ หน้า ๔๒๙ มมร.
ในบทว่า ราชา จกฺกวตฺตี นี้ถามว่า เพราะเหตุไร พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าจึงทรงอนุญาตการก่อทาสถูปพระราชาผู้อยู่
กลางเรือน (พระเจ้าจักรพรรดิ) ซึง่ สวรรคตแล้ว ไม่ทรงอนุ ญาตให้ทาแก่ภก ิ ษุ ผเู้ ป็ นปุถุชนผูม
้ ีศีล. ตอบว่า เพราะความเป็ น
อัจฉริยะ. ก็เมือ ่ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอนุญาตสถูปทัง้ หลายแก่ภก ิ ษุ ผู้เป็ นปุถุชน ก็จะไม่พึงมีช่องว่างแก่บ้านและท่าเรือ
ในตัมพปัณณิทวีป (เกาะสีลงั กา) เลย ในฐานะอืน ่ ก็อย่างนัน ้ เพราะฉะนัน ้ จึงไม่ทรงอนุญาตด้วยทรงเห็นว่า ภิกษุ เหล่านัน ้
จัก ไม่เ ป็ นอัจ ฉริย ะ. พระเจ้า จัก รพรรดิท รงอุบ ต ั ิพ ระองค์ เ ดีย วเท่า นั้น ด้ว ยเหตุน้น ั สถู ป ของพระเจ้า จัก รพรรดิจึง เป็ น
อัจฉริยะ. แต่ควรทาสักการะแม้ใหญ่แก่ภก ิ ษุ ปถ
ุ ุชนผูม ้ ศ
ี ลี ดุจภิกษุ ผป
ู้ รินิพพานแล้วฉะนัน ้ โดยแท้.
……………………………………………………
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ถูปารหบุคคล ๒ จาพวก องฺ .ทุก.๒๐/๓๐๐/๗๑
[๓๐๐] ๕๔. ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลาย ถูปารหบุคคล ๒ จาพวกนี้ ๒ จาพวกเป็ นไฉน คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัม
พุทธเจ้า ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ ๑ ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ถูปารหบุคคล ๒ จาพวกนี้แล.
อรรถกถา เล่ม ๓๓ หน้า ๔๒๒ มมร.
บทว่า ถูปารหา แปลว่า ผู้สมควรคือคู่ควรเหมาะสมแก่ สถูป. เพราะผู้ปรนนิบตั พ ิ ระเจดีย์ของพระเจ้าจักรพรรดิ
ย่อมได้สมบัติ ๒ (มนุ ษย์ สมบัติ สวรรค์สมบัติ) ผู้ปรนนิบตั ิพระเจดีย์ของพระพุท ธเจ้าทัง้ หลาย ย่อมได้สมบัติแม้ท ง้ ั ๓.
(มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัต)ิ
……………………………………………………
อรรถกถาพาหิยสูตร เล่ม ๔๔ หน้า ๑๕๖ มมร.
เมือ
่ ทรงแสดงว่า เธอเป็ นผูค ้ วรแก่การบูชาด้วยเหตุเพียงปรินิพพานอย่างเดียวก็หาไม่ โดยทีแ ่ ท้เธอเป็ นผูส
้ มควร
แก่การบูชาแม้ดว้ ยภาวะอันเลิศกว่าภิกษุ สาวกของเราผูเ้ ป็ นขิปปาภิญญา (บรรลุเร็ว) จึงทรงสถาปนาท่านไว้ในเอตทัคคะ
(โดยความเป็ นเลิศ) ว่า ภิกษุ ทง้ ั หลาย บรรดาภิกษุ สาวกผูเ้ ป็ นขิปปาภิญญา ท่านพาหิยทารุจีรยิ ะเป็ นเลิศ
.. บทว่า ถูปญฺจสฺส กโรถ ความว่า .. พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า พวกเธอจงเอาเตียงหามสรีระของท่านไปทา
ฌาปนกิจ และก่อสถูปของท่านไว้ .. บทว่า อภิสมฺปราโย ได้แก่ ท่านละไปแล้วเกิดในภพหรือดับในภพ. ว่าโดยอรรถ เป็ น
อันทรงประกาศว่าท่านปรินิพพานด้วยการตรัสสั่งสร้างสถูปไว้ ๑
……………………………………………………

ผูเ้ รียบเรียง: การนา อรรถกถาพาหิยสูตร มาเทียบเพื่อชี้ ให้เห็นว่า ตามนัยของอรรถกถา คาว่า ตถาคตสาวโก พระ
สาวกของพระตถาคต ซึ่งควรแก่สถูปนั้น หมายถึง พระอรหันต์ เท่านั้น
……………………………………………………

~ 53 ~
เจดีย์ ๔ ประเภท
พรรณนาคาถาที่ ๗ ขุ.ขุ.อ.๓๙ หน้า ๓๑๒ มมร.
บรรดาเจดีย์ทง้ ั ๓ นัน ้ โพธิพฤกษ์ ชือ
่ ว่า บริโภคเจดีย์ พระพุทธปฎิมา ชือ
่ ว่า อุทิสสกเจดีย์ พระสถูปทีม
่ ีห้องบรรจุ
พระธาตุ ชือ
่ ว่า ธาตุกเจดีย์.
……………………………………………………
อรรถกถากาลิงคชาดก* ขุ.ชา.อ.๖๐ หน้า ๒๖๗ มมร.
.. ความพิสดารว่า พระตถาคตเสด็จหลีกจาริกไปตามชนบท เพือ ่ ประโยชน์จะทรงสงเคราะห์เวไนยสัตว์ ชาวกรุงสา
วัตถีต่างถือของหอมและดอกไม้เป็ นต้นไปยังพระเชตวัน ไม่ได้ปูชนี ยสถานอย่างอืน ่ ไปวางไว้ที่ประตู พระคันธกุฎี ด้วย
เหตุนน้ ั เขาก็มค ี วามปราโมทย์กน ั อย่างยิง่ . ท่านอนาถปิ ณฑิกมหาเศรษฐีทราบเหตุนน ้ ั แล้ว จึงไปยังสานักพระอานนท์เถระ
ในเวลาที่พระตถาคตเสด็จมาพระเชตวัน กล่าวว่า ข้าแต่ท่านผูเ้ จริญ เมือ ่ พระตถาคตเสด็จหลีกจาริกไป พระวิหารนี้ ไม่มี
ปัจจัย มนุษย์ทง้ ั หลายไม่มีสถานทีบ ่ ูชาด้วยของหอมและดอกไม้เป็ นต้น ขอโอกาสเถิดท่านเจ้าข้า ขอท่านจงกราบทูลความ
เรื่องนี้ แด่พระตถาคต แล้วจงรู ้ที่ที่ควรบูชาสักแห่งหนึ่ ง. พระอานนทเถระรับว่า ดีละ แล้วทูลถามพระตถาคตว่า ข้าแต่
พระองค์ผเู้ จริญ เจดีย์มีกีอ
่ ย่าง. พระศาสดาตรัสตอบว่า มี ๓ อย่างอานนท์. พระอานนทเถระทูลถามว่า สามอย่างอะไรบ้าง
พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสว่า ธาตุเจดีย์ ๑ ปริโภคเจดีย์ ๑ อุทเทสิกเจดีย์ ๑.
พระอานนทเถระทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ เมือ่ พระองค์เสด็จจาริกไป ข้าพระองค์อาจกระทาเจดีย์ได้หรือ. พระ
ศาสดาตรัสว่า อานนท์ สาหรับธาตุเ จดี ย์ไม่อาจทาได้ เพราะธาตุเจดีย์น้น ั จะมีได้ในกาลที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว
สาหรับอุทเทสิกเจดีย์ ก็ไม่มีวตั ถุปรากฏ เป็ นเพียงเนื่องด้วยตถาคตเท่านัน ้ ต้นมหาโพธิท ์ ีพ
่ ระพุทธเจ้าอาศัยเป็ นทีต่ รัสรู้ ถึง
พระพุทธเจ้าจะยังทรงพระชนม์อยูก ่ ็ตาม ปรินิพพานแล้วก็ตาม เป็ นเจดีย์ได้เหมือนกัน. พระอานนท์ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้
เจริญ เมือ ่ พระองค์เสด็จหลีกไป พระมหาวิหารเชตวันหมดทีพ ่ งึ่ อาศัย มนุ ษย์ทง้ ั หลายไม่ได้สถานทีเ่ ป็ นทีบ่ ูชา ข้าพระองค์
จักนาพืชจากต้นมหาโพธิมาปลูกทีป ่ ระตูพระเชตวัน พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสว่า ดีแล้วอานนท์ เธอจงปลูก เถิด เมือ ่ เป็ น
เช่นนั้น ในพระเชตวันก็จกั เป็ นดังตถาคตอยู่เป็ นนิตย์. พระอานนท์เถระบอกแก่พระเจ้าโกศล อนาถปิ ณฑิกมหาเศรษฐี
และนางวิสาขามหาอุบาสิกาเป็ นต้น ให้ขด ุ หลุม ณ ทีเ่ ป็ นทีป
่ ลูกต้นโพธิทป ี่ ระตูพระเชตวัน แล้วกล่าวกะพระมหาโมคคัลลาน
เถระว่า ท่านขอรับ กระผมจักปลูก ต้นโพธิที่ประตูพระเชตวัน ท่านช่วยนาเอาลูกโพธิสุกจากต้นมหาโพธิให้กระผมทีเถิด.
พระมหาโมคคัลลานเถระรับว่า ดีละ แล้วเหาะไปยังโพธิมณฑลเอาจีวรรับลูกโพธิทีห ่ ล่นจากขัว้ แต่ยงั ไม่ถงึ พื้นดิน ได้แล้ว
นามาถวายพระอานนทเถระ.
……………………………………………………
พระเจดียท์ องของพระกัสสปทสพล [๑๕๖] ขุ.ธ.อ.๔๒ หน้า ๓๕๕ มมร.
"ดูก่อนพราหมณ์ การบูชาซึง่ บุคคลควรบูชาชนิ ดเช่นนี้ ย่อมสมควรกว่าแท้ " ดังนี้ แล้ว จึงทรงประกาศปูชารห
บุคคล ๔ จาพวก มีพระพุทธเจ้าเป็ นต้น โดยนัยดังทีต ่ รัสไว้ในมหาปรินิพพานสูตรนัน ้ เอง แล้วทรงแสดงโดยพิเศษถึงพระ
เจดีย์ ๓ ประเภทคือ สรีรเจดีย์ ๑ อุททิสเจดีย์ ๑ ปริโภคเจดีย์ ๑ (ครัน ้ แล้ว) ได้ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้วา่ .
"ใครๆ ไม่อาจเพือ ่ จะนับบุญของบุคคลผูบ ้ ูชาอยูซ่ งึ่ ท่านผูค
้ วรบูชา คือพระพุทธเจ้า หรือว่าพระสาวกทัง้ หลายด้วย ผู้
ก้าวล่วงปปัญจธรรมเครือ ่ งเนิ่นช้าได้ แล้ว ผูม ้ ีความเศร้าโศก และความคร่าครวญ อันข้ามพ้นแล้ว (หรือว่า) ของบุคคลผู้
บูชาอยู่ ซึ่งท่านผู้ควรบูช าเช่ นนั้น เหล่ า นั้น ผู้นิพพานแล้ว ไม่มีภยั เเต่ที่ไหนๆ ด้วยการนับแม้วิธี ไ รๆ ก็ ตาม ว่าบุญ นี้ มี
ประมาณเท่านี้ " ดังนี้.
"เมือ่ พระสัมพุทธเจ้าเป็ นต้น ยังทรงพระชนม์อยูก ่ ็ดี นิพพานแล้วก็ดี เมือ่ จิตเสมอกัน ผลก็ยอ
่ มเท่ากัน ในเพราะเหตุ
คือความเลือ ่ มใสแห่งใจ สัตว์ทง้ ั หลายย่อมไปสูส ่ ค
ุ ติ" ดังนี้.
……………………………………………………

~ 54 ~
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] จุนทสูตร ส.ม. ๑๙/๗๓๓/๑๗๘
การปรินิพพานของพระสารีบุตร
[๗๓๓] สมัยหนึ่ง พระผูม ้ พ
ี ระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี
ก็ในสมัยนัน ้ ท่านพระสารีบุตร อยู่ ณ บ้านนาฬกคาม ในแคว้นมคธ อาพาธ เป็ นไข้หนัก ได้รบ ั ทุกขเวทนา สามเณรจุนทะ
เป็ นอุปฏ ั ฐากของท่าน ครัง้ นัน ้ ท่านพระสารีบต ุ รปรินิพพานด้วยอาพาธนั่นแหละ.
[๗๓๔] ครัง้ นัน ้ สามเณรจุนทะถือเอาบาตรและจีวรของท่านพระสารีบุตร เข้าไปหา พระอานนท์ยงั พระวิหารเชตวัน .. ได้
กล่าวกะท่านพระอานนท์วา่ ข้าแต่ทา่ นผูเ้ จริญ ท่านพระสารีบต ุ รปรินิพพานแล้ว
[๗๓๕] ครัง้ นั้น ท่านพระอานนท์กบ ั สามเณรจุนทะ เข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มี พระภาค
แล้วนั่ง ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง
ครัน้ แล้ว ท่านพระอานนท์ได้กราบทูลว่า .. ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ กายของข้าพระองค์ประหนึ่งจะงอมงมไป แม้ทศ ิ
ทัง้ หลายก็ไม่ปรากฏแก่ขา้ พระองค์ แม้ธรรมก็ไม่แจ่มแจ้งแก่ขา้ พระองค์ เพราะได้ฟงั ว่า ท่านพระสารีบต ุ รปรินิพพานแล้ว.
[๗๓๖] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรอานนท์ สารีบุตรพาเอาศีลขันธ์ สมาธิขน ั ธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขน
ั ธ์ หรือวิมุตติ
ญาณทัสสนขันธ์ ปรินิพพานไปด้วยหรือ?

ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า หามิได้ พระเจ้าข้า ท่านพระสารีบุตรมิได้พาศีลขันธ์ปรินิพพานไปด้วย ฯลฯ มิได้พา


วิมุตติญาณทัสสนขันธ์ ปรินิพพานไปด้วย ก็แต่ว่าท่านพระสารีบุตรเป็ นผูก ้ ล่าวแสดงให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ
ให้รืน่ เริง ไม่เกียจคร้านในการแสดงธรรม อนุเคราะห์เพือ ่ นพรหมจารีทง้ ั หลาย ข้าพระองค์ทง้ ั หลายมาตามระลึกถึง โอชะ
แห่งธรรมธรรมสมบัติ และการอนุเคราะห์ดว้ ยธรรมนัน ้ ของท่านพระสารีบต ุ ร.
๑ ธรรมขันธ์ หรือสารธรรม (สิง่ ทีเ่ ป็ นแก่นสารของชีวต ิ ) ๕ ประการ
ศีลขันธ์ ธรรมว่าด้วย ความประพฤติดท ี างกายและวาจา
สมาธิข ันธ์ ธรรมว่าด้วย การทาจิตให้ผอ ่ งใส สงบจากกิเลส
ปัญญาขันธ์ ธรรมว่าด้วย ความรูแ ้ จ้งในชีวต ิ
วิมต
ุ ติข ันธ์ ธรรมว่าด้วย การหลุดพ้นแห่งใจ
วิมตุ ติญาณทัสสนขันธ์ ธรรมว่าด้วย ความรูแ ้ จ้งในญาณหยั่งรูว้ า่ หลุดพ้น

[เธอทัง
้ หลายจงมีตนเป็นทีพ่ งึ่ อย่ามีสงิ่ อืน่ เป็นทีพ่ งึ่ ]
[๗๓๗] พ. ดูกรอานนท์ ข้อนัน ้ เราได้บอกเธอทัง้ หลายไว้ก่อนแล้วไม่ใช่หรือว่า จักต้องมีความจาก ความพลัดพราก ความ
เป็ นอย่างอืน ่ จากของรักของชอบใจทัง้ สิน ้ เพราะฉะนัน ้ จะพึงได้ในของรักของชอบใจนี้แต่ทีไ่ หน? สิง่ ใดเกิดแล้ว มีแล้ว
ปัจจัยปรุงแต่งแล้ว มีความทาลายเป็ นธรรมดา การปรารถนาว่า ขอสิง่ นัน ้ อย่าทาลายไปเลย ดังนี้ มิใช่ฐานะทีจ่ ะมีได้
[๗๓๘] ดูกรอานนท์ เปรียบเหมือนเมือ ่ ต้นไม้ใหญ่ มีแก่นตัง้ อยู่ ลาต้นใดซึ่งใหญ่กว่า ลาต้นนั้นพึงทาลายลง ฉันใด เมือ ่
ภิกษุ สงฆ์หมูใ่ หญ่ซงึ่ มีแก่นดารงอยู่ สารีบุตรปรินิพพานแล้ว ฉันนัน ้ เหมือนกัน เพราะฉะนัน ้ จะพึงได้ในข้อนี้ แต่ที่ไหน?
สิง่ ใดเกิดแล้ว มีแล้ว ปัจจัยปรุงแต่งแล้ว มีความทาลายเป็ นธรรมดา การปรารถนาว่า ขอสิง่ นัน ้ อย่าทาลายไปเลย ดังนี้ มิใช่
ฐานะทีจ่ ะมีได้
เพราะฉะนัน ้ แหละ เธอทัง้ หลายจงมีตนเป็ นเกาะ มีตนเป็ นทีพ ่ งึ่ อย่ามีสงิ่ อืน ่ งึ่ คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรม
่ เป็ นทีพ
เป็ นทีพ ่ งึ่ อย่ามีสงิ่ อืน ่ งึ่ อยูเ่ ถิด.
่ เป็ นทีพ
[๗๓๙] ดูกรอานนท์ ภิกษุ มีตนเป็ นเกาะ มีตนเป็ นที่พงึ่ ไม่มีสงิ่ อืน ่ เป็ นทีพ ่ งึ่ คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรมเป็ นทีพ ่ งึ่ ไม่มีสงิ่
อืน ่ เป็ นทีพ ่ งึ่ อยูอ ่ ย่างไร?
ภิกษุ ในธรรมวินยั นี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสมั ปชัญญะ มีสติ กาจัดอภิชญาและโทมนัสใน
โลกเสีย ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ... ย่อมพิ จารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ... ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มี
ความเพียร มีส ัมปชัญญะ มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย
ดูกรอานนท์ ภิกษุ มีตนเป็ นเกาะ มีตนเป็ นทีพ ่ งึ่ ไม่มีสงิ่ อืน
่ เป็ นทีพ ่ งึ่ คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรมเป็ นทีพ ่ งึ่ ไม่มีสงิ่
อืน ่ เป็ นทีพ ่ งึ่ อยูอ ่ ย่างนี้แล.
[๗๔๐] ดูกรอานนท์ ก็ภก ิ ษุ พวกใดพวกหนึ่ง ในบัดนี้ ก็ดี ในกาลทีเ่ ราล่วงไปก็ดี จักเป็ นผูม ้ ีตนเป็ นเกาะ มีตนเป็ นทีพ ่ งึ่ ไม่มี
สิง่ อืน่ เป็ นทีพ ่ งึ่ คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรมเป็ นทีพ ่ งึ่ ไม่มีสงิ่ อืน ่ เป็ นทีพ ่ งึ่ อยู่ พวกภิกษุ เหล่านี้ นน ้ ั ทีเ่ ป็ นผูใ้ คร่ตอ
่ การศึกษา
จักเป็ นผูเ้ ลิศ.
……………………………………………………

~ 55 ~
ยอดแห่งการบูชาพระตถาคต คือการประพฤติธรรม
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] เรือ่ งการบูชาพระตถาคต ที.ม.๑๐/๑๒๙/๑๑๑
[๑๒๙] สมัยนั้น ไม้สาละทัง้ คู่เผล็จดอกสะพรั่งนอกฤดูกาล ดอกไม้เหล่านั้น ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังพระสรีระของพระ
ตถาคตเพือ ่ บูชา แม้ดอกมณฑารพอันเป็ นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ ดอกมณฑารพเหล่านัน ้ ร่วงหล่นโปรยปรายลงยัง
พระสรีระของพระตถาคตเพื่อบูชา แม้จุณแห่งจันทน์ อน ั เป็ นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ จุณแห่งจันทน์ เหล่านัน ้ ร่วง
หล่นโปรยปรายลงยังพระสรีระของพระตถาคตเพือ ่ บูชา ดนตรีอน ั เป็ นทิพย์เล่าก็ประโคมอยู่ในอากาศ เพือ ่ บูชาพระตถาคต
แม้ส ังคีตอันเป็ นทิพย์ก็เป็ นไปในอากาศ เพือ ่ บูชาพระตถาคต ฯ
ครัง้ นัน ้ พระผูม ้ พ
ี ระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า ดูกรอานนท์ ไม้สาละทัง้ คู่ เผล็จดอกบานสพรั่งนอก
ฤดูกาล ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังสรีระของตถาคตเพือ ่ บูชา แม้ดอกมณฑารพอันเป็ นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ ดอก
มณฑารพเหล่านัน ้ ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังสรีระของตถาคตเพื่อบูชา แม้จุณแห่งจันทน์ อน ั เป็ นของทิพย์ ก็ตกลงมาจาก
อากาศ จุณแห่งจันทน์ เหล่านัน ้ ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังสรีระของตถาคตเพื่อบูชา ดนตรีอน ั เป็ นทิพย์เล่าก็ ประโคมอยู่ใน
อากาศ เพือ ่ บูชาตถาคต แม้สงั คีตอันเป็ นทิพย์ก็เป็ นไปในอากาศ เพือ ่ บูชาตถาคต
ดูกรอานนท์ ตถาคตจะชือ ่ ว่าอันบริษทั สักการะ เคารพ นับถือ บูชา นอบน้อม ด้วยเครือ ่ งสักการะประมาณเท่านี้หา
มิได้ ผู้ใดแล จะเป็ นภิกษุ ภิกษุ ณี อุบาสก หรืออุบาสิกาก็ตาม เป็ นผู้ป ฏิบตั ธิ รรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบตั ช ิ อบ ปฏิบตั ต
ิ าม
ธรรมอยู่ ผูน ้ น
้ ั ย่อมชือ
่ ว่าสักการะ เคารพ นับถือ บูชาตถาคตด้วยการบูชาอย่างยอด เพราะเหตุนน ้ ั แหละอานนท์ พวกเธอพึง
สาเหนียกอย่างนี้วา่ เราจักเป็ นผูป ้ ฏิบตั ิ ธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบตั ช ิ อบ ประพฤติตามธรรมอยู่ ดังนี้ ฯ
……………………………………………………
องฺ .ทุก.๑๒/๔๐๑/๘๖
[๔๐๑] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย การบูชา ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็ นไฉน คือ อามิสบูชา ๑ ธรรมบูชา ๑ ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย
การบูชา ๒ อย่างนี้แล
ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย บรรดาการบูชา ๒ อย่างนี้ ธรรมบูชาเป็ นเลิศ ฯ
อรรถกถา เล่ม ๓๓ หน้า ๔๘๘ มมร.
การบูชาอามิส (สิง่ ของ) ชือ
่ ว่า อามิสบูชา การบูชาด้วยธรรม (ปฏิบตั เิ จริญในอริยมรรคมีองค์ ๘) ชือ
่ ว่า ธรรมบูชา.
……………………………………………………
อรรถกถามหาปรินิพพานสูตร ที.ม.อ.เล่ม ๑๔ หน้า ๔๒๐ มมร.
ก็แล พระผู้มีพระภาคเจ้า บรรทมตะแคงข้างขวา ระหว่างต้นสาละคู่ทรงเห็นความอุ ตสาหะอย่างใหญ่ ของบริษท ั ที่
ประชุมกันตัง้ แต่ปฐพีจดขอบปากจักรวาล และตัง้ แต่ขอบปากจักรวาลจดพรหมโลก จึงตรัสบอกท่านพระอานนท์.
.. ครัน ้ ทรงแสดงมหาสักการะอย่างนี้แล้ว เมือ่ จะทรงแสดงความทีพ ่ ระองค์เป็ นผูอ ้ นั บริษท ั ไม่สกั การะด้วยมหาสักการะ
แม้นน้ ั จึงตรัสว่า .. ดูก่อนอานนท์ เราตถาคตหมอบอยู่แทบบาท มูลของพระพุทธเจ้าพระนามว่าทีปงั กร ประชุมธรรม ๘
ประการ เมือ ่ จะกระทาอภินิหาร มิใช่กระทาอภินิหาร เพือ ่ ประโยชน์ แก่พวงมาลัยของหอมและดุรยิ างค์สงั คีต มิใช่บาเพ็ญ
บารมีทง้ ั หลาย เพือ ่ ประโยชน์แก่สงิ่ เหล่านัน
้ เพราะฉะนัน ้ เราตถาคตไม่ชอ ื่ ว่า เขาบูชาแล้วด้วยการบูชาอันนี้เลย.
ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสรรเสริญวิบาก ที่แม้พระพุทธญาณก็กาหนดไม่ได้ของการบูชา ที่
บุคคลถือเพียงดอกฝ้ ายดอกเดียว ระลึกถึงพระพุทธคุณบูชาแล้วไว้ในทีอ ่ น
ื่ ในทีน ่ ี้กลับทรงคัดค้านการบูชาใหญ่อย่างนี้ .
ตอบว่า เพราะเพือ ่ จะทรงอนุเคราะห์บริษท ั อย่างหนึ่ง เพือ
่ ประสงค์จะให้พระศาสนาดารงยั่งยืนอย่างหนึ่ง.
จริงอยู่ พระผูม ้ ีพระภาคเจ้า ไม่พงึ คัดค้านอย่างนัน ้ ไซร้ ต่อไปในอนาคต พุทธบริษท ั ก็ไม่ตอ ้ งบาเพ็ญศีลในฐานะทีศ ่ ีล
มาถึง จักไม่ให้สมาธิบริบูรณ์ ในฐานะทีส ่ มาธิมาถึง ไม่ให้ถือห้องคือวิปสั สนาในฐานะทีว่ ป ิ สั สนามาถึง ชักชวนแล้วชักชวน
อีก ซึง่ อุปฏ
ั ฐากกระทาการบูชาอย่างเดียวอยู.่
จริงอยู่ ชือ ่ ว่าอามิสบูชานัน้ ไม่สามารถจะดารงพระศาสนาแม้ในวันหนึ่งบ้าง แม้ช่วั ดืม ่ ข้าวยาคูครัง้ หนึ่งบ้าง. จริงอยู่
วิหารพันแห่ง เช่นมหาวิหาร เจดีย์พน ั เจดีย์ เช่นมหาเจดีย์ ก็ดารงพระศาสนาไว้ไม่ได้. บุญูผู้ใดทาไว้ ก็เป็ นของผู้น้น ั ผู้
เดียว.
ส่วนสัมมาปฏิบตั ิ ชื่อว่าเป็ นบูชาที่สมควรแก่พระตถาคต. เป็ นความจริง ปฏิบตั บ ิ ูชานั้นชื่อว่าดารงอยู่แล้ว สามารถ
ดารงพระศาสนาไว้ได้ดว้ ย เพราะฉะนัน ้ พระผูม ้ พ
ี ระภาคเจ้าเมือ่ จะทรงแสดงปฏิบตั บ ิ ูชานัน ้ จึงตรัสว่า โย โข อานนฺท เป็ น
ต้น.

~ 56 ~
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ธมฺมานุ ธมฺมปฏิปนฺ โน ได้แก่ ปฏิบตั ป ิ ุพพภาคปฏิปทา (ข้อปฏิบตั เิ บื้องต้นแห่งการบรรลุ
ธรรม) อันเป็ นธรรมสมควร. ก็ปฏิปทานั่นแล ท่านเรียกว่าสามีจช ิ อบยิง่ เพราะเป็ นปฏิปทาอันสมควร. ชือ ่ ว่า สามีจิปฏิปนฺ
โน เพราะปฏิบตั ธิ รรมอันชอบยิง่ . ชือ ่ ว่า อนุ ธมฺมจารี เพราะประพฤติบาเพ็ญธรรมอันสมควร กล่าวคือ บุพพภาคปฏิปทา
นัน ้ นั่นแล.
ก็ศีล อาจารบัญญัติ การสมาทานธุดงค์ สัมมาปทาถึงโคตรภูญาณ พึงทราบว่า ปุพพภาคปฏิปทา. เพราะฉะนัน ้ ภิกษุ
ตัง้ อยู่ในอคารวะ ๖ ละเมิดพระบัญญัติ เลี้ยงชีวิตด้วยอเนสนา (แสวงหาลาภในทางไม่สมควร) ภิกษุ นี้ชื่อว่า ไม่ปฏิบตั ิ

ธรรมสมควรแก่ธรรม
ส่วนภิกษุ ใดไม่ละเมิดสิกขาบททีท ่ รงบัญญัตแ ิ ล้วแก่ตน ทัง้ หมดทีข่ ีดคั่นเขตแดนและเส้นบรรทัดของพระชินเจ้าแม้มี
ประมาณน้อย ภิกษุ นี้ ชือ ่ ว่าปฏิบตั ธิ รรมสมควรแก่ธรรม. แม้ในภิกษุ ณี ก็นยั นี้เหมือนกัน.
ก็อุบาสกใดยึดเวร ๕ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประพฤติไว้แนบแน่ น อุบาสกนี้ชือ ่ ว่า ไม่ปฏิบตั ธิ รรมสมควรแก่ธรรม. ส่วน
อุบาสกปฏิบตั ใิ ห้สมบูรณ์ ในสรณะ ๓ ศีล ๕ ศีล ๑๐ รักษาอุโบสถเดือนละ ๘ ครัง้ ถวายทาน บูชาด้วยของหอม บูชาด้วย
มาลา บารุงมารดาบิดา บารุงสมณพราหมณ์ อุบาสกผู้นี้ ชื่อว่าเป็ นผู้ปฏิบตั ิธรรมสมควรแก่ธรรม แม้ในอุบาสิกา ก็นยั นี้
เหมือนกัน.
บทว่า ปรมาย ปูชาย แปลว่า ด้วยบูชาสูงสุด. พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ว่า แท้จริง ชือ ่ ว่า นิรามิสบูชา (การบูชา
มิใช่ดว้ ยสิง่ ของ) นี้ สามารถดารงพระศาสนาของเราไว้ได้. จริงอยู่ บริษท ั ๔ นี้จกั บูชาเราด้วยการบูชานี้ เพียงใด ศาสนา
ของเราก็จะรุง่ เรืองดุจจันทร์เพ็ญลอยเด่นกลางท้องฟ้ า ฉะนัน ้ .
……………………………………………………

อคารวะ ๖ (ความไม่เคารพในธรรม ๖ ประการ)
คารวตา (สิง่ ทีพ
่ งึ ใส่ใจ ให้ความสาคัญ) ๖ ประการ
๑. สัตถุคารวตา ความเคารพในพระศาสดา
๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในธรรม
๓. สังฆคารวตา ความเคารพในสงฆ์
๔. สิกขาคารวตา ความเคารพในการศึกษา
๕. อัปปมาทคารวตา ความเคารพในความไม่ประมาท
๖. ปฏิสนั ถารคารวตา ความเคารพในปฏิสนั ถาร

……………………………………………………
https://www.facebook.com/p.piyalak
https://www.facebook.com/PiyalakWeblog
ID Line : @rattanagroup
https://๑drv.ms/f/s!AmCQjvV_BTCAz๑Q๐tlF_b๔๓qbMc๑

เรียบเรียงโดย รัตนอุบาสก
๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒

~ 57 ~

You might also like