Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

โภควิภาค หลักการบริหารทรัพย์ตามหลักพุทธศาสนา

[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] สิงคาลกสูตร ที.ปา.๑๑/๑๗๒/๑๓๘


[๑๙๗] บัณฑิตรูแ
้ จ้งมิตร ๔ จำพวกเหล่ำนี้ คือ มิตรมีอุปกำระ ๑ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๑
มิตรแนะประโยชน์ ๑ มิตรมีควำมรักใคร่ ๑ ว่ำเป็ นมิตรแท้ ฉะนี้แล้ว พึงเข้ำไป คบหำโดยเคำรพ
เหมือนมำรดำกับบุตรฉะนัน ้ .
บัณฑิตผูส ้ มบูรณ์ ดว้ ยศีล ย่อมรุง่ เรืองส่องสว่ำงเพียงดังไฟ เมือ่ บุคคลสะสมโภค
สมบัตอ ิ ยูเ่ หมือนแมลงผึง้ สร้ำงรัง โภคสมบัตยิ อ ่ มถึงควำมเพิม
่ พูนดุจจอมปลวกอันตัว
ปลวกก่อขึน ้ ฉะนัน้
คฤหัสถ์ในตระกูลผูส ้ ำมำรถ ครัน ้ สะสมโภคสมบัตไิ ด้อย่ำงนี้ พึงแบ่งโภคสมบัติ
ออกเป็ น ๔ ส่ ว น เขำย่ อ มผู ก มิ ต รไว้ ไ ด้ พึ ง ใช้ ส อยโภคทรัพ ย์ ด้ ว ยส่ ว นหนึ่ ง พึ ง
ประกอบกำรงำนด้วยสองส่วน พึงเก็บส่วนทีส ่ ี่ไว้ด้วยหมำยจักมีไว้ในยำมมีอน
ั ตรำย
ดังนี้.
…………………………………………………………………….
อรรถกถาสิงคาลกสูตร เล่ม ๑๖ หน้า ๙๔ มมร.
... บทว่า พึงบริโภคโภคะโดยส่วนเดียว ความว่า พึงบริโภคโภคะด้วยหนึ่งส่วน.
บทว่า พึงประกอบการงานด้วยสองส่วน ความว่า พึงประกอบการงานมีกิจกรรมและ
พาณิชยกรรมเป็นต้น ด้วยสองส่วน.
บทว่า พึงเก็บ คือ พึงเก็บส่วนที่สี่เอาไว้. บทว่า จักมีในยามอันตราย ความว่า เพราะ
การงานนั้ น ย่ อ มไม่ เ ป็ น ไปเช่ น กั บ วั น หนึ่ ง ตลอดกาลของตระกู ล ทั้ ง หลาย. บางครั้ ง แม้
อั น ตรายก็ ย่ อ มเกิ ด ขึ้ น ได้ ด้ ว ยอ านาจราชภั ย เป็ น ต้ น . เพราะฉะนั้ น โภคะจั ก มี ใ นยาม
อันตรายทั้งหลายเกิดขึ้นอย่างนี้ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ผู้ครองเรือน
พึงเก็บส่วนหนึ่งไว้ดังนี้.
ก็ในส่วนทั้งหลาย ๔ เหล่านี้ พึงเก็บส่วนไหน ๆ ไว้บาเพ็ญกุศล. ถือเอาส่วนที่ท่าน
กล่าวในบทว่า โภเค ภุญฺเชยฺย . ควรถือเอาจากส่วน (บริโภคโภคะโดยส่วนเดียว) นั้น บริจาค
ทานแก่ภิกษุทั้งหลายบ้าง แก่คนกาพร้าและคนเดินทางเป็นต้นบ้าง ควรให้รางวัลแก่ช่าง
หูกและกัลบกเป็นต้นบ้าง.
…………………………………………………………………….
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อาทิยสูตร องฺ .ปญฺ จก.๒๒/๔๑/๔๐
หลักการใช้โภคทรัพย์ให้เป็ นประโยชน์ ๕ อย่าง
[๔๑] ครัง้ นัน
้ ท่ำนอนำถบิณฑิกคฤหบดี เข้ำไปเฝ้ ำพระผูม ้ ีพระภำคเจ้ำถึงทีป
่ ระทับ ถวำย
บังคมแล้วนั่ง ณ ทีค่ วรส่วนข้ำงหนึ่ ง ครัน
้ แล้วพระผูม
้ ีพระภำคเจ้ำได้ตรัสกับท่ำนอนำถบิณฑิก
คฤหบดีวำ่
1

ดูกอ่ นคฤหบดี ประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอำแต่โภคทรัพย์ ๕ ประกำรนี้ ๕ ประกำรเป็ นไฉน คือ


Page
อริยสำวกในธรรมวินยั นี้ ย่อมใช้จ่ำยโภคทรัพย์ที่ต นหำมำได้ด้วยควำมหมั่นควำมขยัน
สะสมขึน ้ ด้วยกำลังแขน อำบเหงือ ่ ต่ำงน้ำ ชอบธรรม ได้มำโดยธรรม เลี้ยงตนให้เป็ นสุข ให้อม ิ่
หนำ บริหำรตนให้เป็ นสุขสำรำญ เลี้ยงมำรดำบิดำให้เป็ นสุข ให้อม ิ่ หนำ บริหำรให้เป็ นสุขสำรำญ
เลี้ ย งบุ ต รภรรยำ ทำสกรรมกร คนใช้ ให้เ ป็ นสุ ข ให้อิ่ม หนำ บริห ำรให้เป็ นสุ ข สำรำญ นี้ เป็ น
ประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอำแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๑.(จัดเข้ำในส่วนที่ ๑)
อีกประกำรหนึ่ง อริยสำวกย่อมใช้จำ่ ยโภคทรัพย์ทีต ่ นหำมำได้ดว้ ยควำมหมั่น ควำมขยัน
สะสมขึน ้ ด้วยกำลังแขน อำบเหงือ ่ ต่ำงน้ำ ชอบธรรม ได้มำโดยธรรม เลี้ยงมิตรสหำยให้เป็ นสุข
ให้อม ิ่ หนำ บริหำรให้เป็ นสุขสำรำญ นี้เป็ นประโยชน์ทีจ่ ะพึงถือเอำแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๒. (จัดเข้ำ
ใน ๒ ส่วนที่ ๒)
อีกประกำรหนึ่ง อริยสำวกย่อมใช้จำ่ ยโภคทรัพย์ทีต ่ นหำมำได้ดว้ ยควำมหมั่น ควำมขยัน
สะสมขึน ้ ด้วยกำลังแขน อำบเหงือ ่ ต่ำงน้ำ ชอบธรรม ได้มำโดยธรรม ป้ องกันอันตรำยทีเ่ กิดแต่
ไฟ น้ำ พระรำชำ โจร หรือทำยำทผูไ้ ม่เป็ นทีร่ กั ทำตนให้สวัสดี นี้เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอำแต่
โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๓. (จัดเข้ำในส่วนสุดท้ำย ที่ ๓)
อีกประกำรหนึ่ง อริยสำวกย่อมใช้จำ่ ยโภคทรัพย์ทีต ่ นหำมำได้ดว้ ยควำมหมั่น ควำมขยัน
สะสมขึน ้ ด้วยกำลังแขน อำบเหงือ ่ ต่ำงน้ำ ชอบธรรม ได้มำโดยธรรม ทำพลี ๕ อย่ำง ๑ คือ (จัด
เข้ำในส่วนที่ ๑)
๑. ญำติพลี [บำรุงญำติ]
๒. อติถพ ิ ลี [ต้อนรับแขก]
๓. ปุพพเปตพลี [ทำบุญอุทศ ิ กุศลให้ผต ู้ ำย]
๔. รำชพลี [บริจำคทรัพย์ชว่ ยชำติ] (จัดเข้ำใน ๒ ส่วนที่ ๒)
๕. เทวตำพลี [ทำบุญอุทศ ิ ให้เทวดำ]
นี้เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอำแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๔.
อีกประกำรหนึ่ง อริยสำวกย่อมใช้จำ่ ยโภคทรัพย์ทีต ่ นหำมำได้ดว้ ยควำมหมั่น ควำมขยัน
สะสมขึน ้ ด้วยกำลังแขน อำบเหงือ่ ต่ำงน้ำ ชอบธรรม ได้มำโดยธรรม บำเพ็ญทักษิ ณำ มีผลสูงเลิศ
เกื้ อ กู ล แก่ส วรรค์ มี วิบ ำกเป็ นสุ ข ยังอำรมณ์ เลิศ ให้เป็ นไปด้วยดีในสมณพรำหมณ์ ผู้เว้นจำก
ควำมมัวเมำประมำท ตัง้ อยูใ่ นขันติและโสรัจจะ ผูม ้ ่น ั คง ฝึ กฝนตนให้สงบระงับ ดับกิเลสโดยส่วน
เดียว นี้เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพึงถือเอำแต่โภคทรัพย์ขอ ้ ที่ ๕. (จัดเข้ำในส่วนที่ ๑)
ดูกรคฤหบดี ประโยชน์ ทีจ่ ะพึงถือเอำแต่โภคทรัพย์ ๕ ประกำรนี้ แล ถ้ำเมือ ่ อริยสำวกนั้น
ถือเอำประโยชน์ แต่โภคทรัพย์ ๕ ประกำรนี้ โภคทรัพย์หมดสิน ้ ไป อริยสำวกนัน้ ย่อมมีควำมคิด
อย่ำงนี้ ว่ำ เรำได้ถือเอำประโยชน์ แต่โภคทรัพย์น้น ั แล้วและโภคทรัพย์ของเรำก็หมดสิน ้ ไป ด้วย
เหตุนี้ อริยสำวกนัน ้ ย่อมไม่มีควำมเดือดร้อน
ถ้ำเมือ ่ อริยสำวกนั้นถื อเอำประโยชน์ แต่โภคทรัพย์ ๕ ประกำรนี้ โภคทรัพย์เจริญขึน ้ อริย
สำวกนั้นย่อมมีควำมคิดอย่ำงนี้ ว่ำ เรำถือเอำประโยชน์ แต่โภคทรัพย์นี้แล้ว และโภคทรัพย์ของ
เรำก็เจริญขึน ้ อริยสำวกนัน ้ ย่อมไม่มีควำมเดือดร้อน ด้วยเหตุทง้ ั ๒ ประกำรฉะนี้แล ฯ
2
Page
นรชนเมือ ่ คำนึงถึงเหตุนี้วำ่ เรำได้ใช้จำ่ ยโภคทรัพย์เลี้ยงตนแล้ว ได้ใช้จำ่ ยโภคทรัพย์เลี้ยง
คนที่ค วรเลี้ย งแล้ว ได้ผ่ำ นพ้นภัย ที่เ กิด ขึ้นแล้ว ได้ให้ท กั ษิ ณำอันมี ผ ลสู งเลิศ แล้ว ได้ท ำพลี ๕
ประกำรแล้ว และได้บำรุงท่ำนผูม ้ ีศลี สำรวมอินทรีย์ประพฤติพรหมจรรย์แล้ว
บัณฑิตผูอ ้ ยู่ครองเรือน พึงปรำรถนำโภคทรัพย์ เพือ ่ ประโยชน์ ใด ประโยชน์ น้น ั เรำก็ได้
บรรลุแล้ว เรำได้ทำสิ่งที่ไม่ต้องเดือดร้อนแล้ว ดังนี้ ชื่อว่ำเป็ นผู้ดำรงอยู่ในธรรมของพระอริยะ
บัณฑิตทัง้ หลำยย่อมสรรเสริญเขำในโลกนี้ เมือ ่ เขำละจำกโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงใจในสวรรค์ ฯ
…………………………………………………………………….

พจนานุ กรม พุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระพฺรหฺมคุณาภรณ์
พลี = ทางพราหมณ์ คือ บวงสรวง, ทางพุทธ คือ สละเพื่อช่วยหรือบูชา หมายถึงการจัดสรรสละรายได้
หรื อ ทรัพ ย์บ างส่ ว นเป็ นค่ าใช้จ่ายประจ าสาหรับ การท าหน้า ที่ เ กื้ อกู ล ต่ อผู ้อื่ นและการสงเคราะห์
ช่วยเหลือกันในด้านต่างๆ, การทาหน้าที่เกื้ อกูลต่อผูอ้ ื่นและการสงเคราะห์ช่วยเหลือกัน ที่พึงปฏิบตั ิ
ยามปกติเป็ นประจาโดยใช้รายได้หรือทรัพย์ที่จดั สรรสละเตรียมไว้สาหรับด้านนั้นๆ
…………………………………………………………………….
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] ทานสูตร ขุ.อิต.ิ ๒๕/๒๐๔/๑๗๕
ถ้าสัตว์รูผ้ ลแห่งการให้ทาน เมื่อยังไม่ให้จะไม่บริโภคเลย
[๒๐๔] จริงอยู่ พระสูตรนี้พระผูม้ ีพระภำคเจ้ำตรัสแล้ว พระสูตรนี้ พระผูม
้ ีพระภำคเจ้ำผูเ้ ป็ นพระ
อรหันต์ตรัสแล้ว เพรำะเหตุนน ้ ั ข้ำพเจ้ำได้สดับมำแล้วว่ำ
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลำย ถ้ำว่ำสัตว์ทง้ ั หลำยพึงรูผ ้ ลแห่งกำรจำแนกทำนเหมือนอย่ำง
เรำรู ้ไ ซร้ สัต ว์ ท ง้ ั หลำยยัง ไม่ใ ห้แ ล้ว ก็ จ ะไม่พึง บริโ ภค อนึ่ ง ควำมตระหนี่ อ น ั เป็ น
มลทิน จะไม่พึงครอบงำจิตของสัตว์เหล่ำนั้น , สัตว์เหล่ำนั้นไม่พึงแบ่งคำข้ำวคำหลัง
จำกคำข้ำวนัน ้ แล้ว ก็จะไม่พงึ บริโภค ถ้ำปฏิคำหกของสัตว์เหล่ำนัน ้ พึงมี
ดูก่อนภิกษุ ทง้ ั หลำย แต่เพรำะสัตว์ทง้ ั หลำยไม่รูผ ้ ลแห่งกำรจำแนกทำนเหมือน
อย่ำงเรำรู ้ ฉะนัน ้ สัตว์ทง้ ั หลำยไม่ให้แล้วจึงบริโภค อนึ่ง ควำมตระหนี่อน ั เป็ นมลทิน
จึงยังครอบงำจิตของสัตว์เหล่ำนัน ้ .
พระผูม ้ ีพระภำคเจ้ำได้ตรัสเนื้อควำมนี้แล้ว ในพระสูตรนัน
้ พระผูม
้ ีพระภำคเจ้ำตรัสคำถำ
ประพันธ์ดงั นี้วำ่
ถ้ำว่ำสัตว์ทง้ ั หลำย พึงรูผ ้ ลแห่งกำรจำแนกทำน เหมือนอย่ำงทีพ ่ ระผูม
้ ีพระภำค
เจ้ำผู้แสวงหำคุณอันใหญ่ตรัสแล้ว โดยวิธีทีผ ่ ลนั้นเป็ นผลใหญ่ไซร้ สัตว์ทง้ ั หลำยพึง
กำจัดควำมตระหนี่ อันเป็ นมลทินเสียแล้ว มีใจผ่องไส พึงให้ทำนทีให้แล้วมีผลมำก ใน
พระอริยบุคคลทัง้ หลำยตำมกำลอันควร อนึ่ง ทำยกเป็ นอันมำก ครัน ้ ให้ทกั ษิ ณำทำน
คือ ข้ำวในพระทักษิ ไณยบุคคลทัง้ หลำยแล้ว จุตจิ ำกควำมเป็ นมนุ ษย์นี้แล้ว ย่อมไปสู่
สวรรค์ และทำยกเหล่ำนัน ้ ผูใ้ คร่กำม ไม่มีควำมตระหนี่ ไปสูส่ วรรค์ แล้วบันเทิงอยูใ่ น
สวรรค์นน ้ ั เสวยอยูซ ่ งึ่ ผลแห่งกำรจำแนกทำน.
3
Page

เนื้อควำมแม้นี้พระผูม
้ ีพระภำคเจ้ำตรัสแล้ว เพรำะเหตุนน
้ ั ข้ำพเจ้ำได้สดับมำแล้ว ฉะนี้แล.
............................................
[พระไตรปิ ฎก ฉบับคัดย่อ] อาทิตตสูตร สํ.ส.๑๕/๑๓๕/๓๕
ผลของการให้ทาน
[๑๓๕] ข้ำพเจ้ำได้สดับมำแล้วอย่ำงนี้:-
สมัยหนึ่ง พระผูม ้ ีพระภำคเจ้ำประทับอยู่ ณ พระวิหำรเชตวัน อำรำมของท่ำนอนำถบิณ
่ ปฐมยำมล่วงไปแล้ว เทวดำองค์หนึ่ง ซึ่งมีวรรณะงำม ยัง
ฑิกเศรษฐี กรุงสำวัตถี ครัง้ นั้นแล เมือ
พระวิหำรเชตวันทัง้ สิ้นให้สว่ำงเข้ำไปเฝ้ ำพระผู้มีพระภำคเจ้ำ ครัน
้ แล้วจึงอภิวำทพระผู้มี พ ระ
่ วรส่วนข้ำงหนึ่ง.
ภำคเจ้ำ แล้วยืนอยู่ ณ ทีค
[๑๓๖] เทวดำนั้นยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้ำงหนึ่ งแล้ว ได้กล่ำวคำถำเหล่ำนี้ ในสำนักพระผู้มีพระ
ภำคเจ้ำว่ำ
เมื่อเรือนลูกไฟไหม้แล้ว เจ้ำของเรือนขนเอำภำชนะใดออกไปได้ ภำชนะนั้น
ย่อมเป็ นประโยชน์แก่เขำ ส่วนสิง่ ของทีม ่ ไิ ด้ขนออกไป ย่อมไหม้ในไฟนัน ้ ฉันใด.
โลก (คือ หมู่ส ต ั ว์ ) อัน ชรำและมรณะเผำแล้ว ก็ ฉ น ั นั้น ควรน ำออก (ซึ่ง โภค
สมบัต)ิ ด้วยกำรให้ทำน เพรำะทำนวัตถุทบ ี่ ุคคลให้แล้ว ได้ชอ ื่ ว่ำนำออกดีแล้ว.
ทำนวัต ถุ ที่บุ ค คลให้แ ล้ว นั้น ย่อ มมี สุ ข เป็ นผล ที่ย งั มิไ ด้ใ ห้ย่อ มไม่เ ป็ นเหมื อ น
เช่นนัน
้ โจรยังปล้นได้ พระรำชำยังริบได้ เพลิงยังไหม้ได้ หรือสูญหำยไปได้.
อนึ่ ง บุ ค คลจ ำต้อ งละร่ ำ งกำยพร้อ มด้ว ยสิ่ง เครื่อ งอำศัย ด้ว ยตำยจำกไป ผู้มี
ปัญญำรูช ้ ดั ดั่งนี้แล้ว ควรใช้สอยและให้ทำน.
เมื่อ ได้ใ ห้ท ำนและใช้ส อยตำมควรแล้ว จะไม่ถู ก ติฉิ น เข้ำ ถึง สถำนที่อ น ั เป็ น
สวรรค์.
............................................
โภควิภาค ๔ (หลักการแบ่งโภคทรัพย์ออกเป็ น ๔ ส่วน)
จาแนกอาชีพออกเป็ น ๒ ส่วน คือ อาชีพค้าขาย และอาชีพรับจ้าง
กรณีสมมติท่ี ๑ (อาชีพค้าขายเล็กๆ น้อยๆ)
ใน ๑ วัน เราขายสินค้า (หมูยา่ ง) ได้ 200 ไม้ๆ ละ 7 บาท ได้เป็ นเงิน 1,400 บาท
เริ่มต้นหลักโภควิภาค ด้วยการหักต้นทุนในการดาเนิ นการออกไปก่อน ได้แก่
ก. เราซื้ อสินค้า (หมูยา่ ง) มา 200 ไม้ๆ ละ 3.50 บาท เป็ นต้นทุนหมูยา่ ง 700 บาท
ข. เราใช้วสั ดุ คือ ไม้เสียบ ถ่าน น้ ามัน และเครื่องปรุง รวม 100 บาท
ค. เราต้องทานอาหาร ๓ มื้ อๆ ละ 50 บาท รวม 150 บาท
ง. เราต้องเสียค่าเช่าบ้านเดือนละ 1500 บาท เฉลี่ยต่อวัน (1500/30) =วันละ 50 บาท
จะเห็นได้วา่ เมื่อรวมค่าใช้จา่ ยข้างต้น 4 รายการ ซึ่งก็รวมค่าใช้จา่ ยผูข้ าย (ตัวเรา) ที่
4

จาเป็ นต่อการดาเนิ นการเข้าไปด้วย เท่ากับ (700+100+150+50) 1,000 บาท เมื่อ


Page
รายรับต่อวัน=1,400 บาท เท่ากับมีกาไร 400 บาท หรือมีกาไร 40% จากยอดขายในแต่
ละวัน ตรงนี้ ล่ะ จะนามาแบ่งตามหลักโภควิภาค ๔
พระพุทธเจ้าตรัสว่า โภคสมบัติที่พอกพูนขึ้ นนั้น พึงแบ่งเป็ น ๔ ส่วน ส่วนแรก 25% พึง
ใช้สอยรวมถึงทาบุญ, อีก ๒ ส่วน 50% พึงใช้ประกอบการงาน, อีก ๑ ส่วน 25% พึงเก็บงา
ไว้ยามจาเป็ น
ส่วนที่ ๑ 25% ของ 400 บาท เท่ากับ 100 บาท เราควรใช้ในการบริโภคใช้สอย
เพื่อให้เกิดสุขหรือทาบุญกุศล เช่น ซื้ อขนม น้ าหวาน หรือทาบุญรวมไม่เกิน 100 บาท/วัน
อีก ๒ ส่วน 50% ของ 400 บาท เท่ากับ 200 บาท เราควรใช้ประกอบธุรกิจเพิ่มเติม
คือ เพิ่มต้นทุนในการขาย เช่น ซื้ อหมูปิ้งมาขายเพิ่มอีก 40 ไม้ เป็ นต้น
อีก ๑ ส่วนสุดท้าย 25% ของ 400 บาท เท่ากับ 100 บาท เราควรฝั งดินไว้ คือยอด
กระปุก ไม่นาการใช้ เผื่อเวลาเจ็บป่ วย หรือมีเหตุจาเป็ นต้องใช้
หากเราขายของทุกวัน ดังนี้ เราจะมีกาไร (400 บาท*30 วัน) 12,000 บาท/เดือน
เท่ากับ
ส่วนที่ ๑ เราจะมีทรัพย์บริโภคใช้สอยหรือทาบุญเพื่อความสาราญใจ ไม่เกิน (100*30)
3,000 บาท/เดือน
อีก ๒ ส่วน เราจะมีเงินเพิ่มเงินลงทุน (200*30) 6,000 บาท/เดือน
อีก ๑ ส่วน เราจะมีเงินเก็บออม (100*30) 3,000 บาท/เดือน
นี้ เป็ นวิธีการคานวณคร่าวๆ สาหรับอาชีพค้าขายเล็กๆ น้อยๆ
กรณีสมมติที่ ๒ (การค้าขายขนาดเล็ก)
สมมติวา่ เราขายเปิ ดร้านขายเสื้ อผ้า เราขายเสื้ อผ้าได้เฉลี่ยวันละ 50 ตัวๆ ละ 200 บาท
เราจะมีรายได้วนั ละ 10,000 บาท หรือเท่ากับเดือนละ (10,000*30) 300,000 บาท
เริ่มต้นหลักโภควิภาค ด้วยการหักต้นทุนในการดาเนิ นการออกเช่นกัน ได้แก่
ก. เสื้ อผ้า ราคาทุนโดยฉลี่ย ตัวละ 100 บาท ขายได้เดือนละ 1,500 ตัว รวมเป็ นต้นทุนค่า
เสื้ อผ้า 150,000 บาท
ข. ค่าจ้างคนงาน 2 คนๆ ละ 10,000 บาท/เดือน รวม 20,000 บาท
ค. เงินเดือนตัวเราเอง เดือนละ 20,000 บาท ((ค่ากินอยูจ่ าเป็ น เช่น ค่านมลูก ผ้าอ้อม ค่า
เช่าบ้าน เงินเดือนภรรยา (จาเป็ นต้องจ่าย))
ง. ค่าเช่าร้าน เดือนละ 15,000 บาท
จ. ค่าน้ า-ไฟ-โทรศัพท์ เดือนละ 5,000 บาท
5
Page
ฉ. ค่าใช้จา่ ยตกแต่งร้าน ชั้นวางของ วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ 600,000 บาท สัญญาเช่า 5 ปี
เฉลี่ยปี ละ (600,000/5) 120,000 บาท/ปี ตกเดือนละ (120,000/12) 10,000 บาท
เป็ นค่าใช้จ่ายเฉลี่ย/เดือน ในการตกแต่ง
จะเห็นได้วา่ เมื่อรวมค่าใช้จา่ ยข้างต้น 6 รายการ ที่จาเป็ นต้องจ่าย ในการดาเนิ นงาน
เท่ากับ (150,000+20,000+20,000+15,000+5,000+10,000) 220,000 บาท/เดือน
เมื่อรายรับเท่ากับ 300,000 บาท/เดือน เท่ากับมีกาไร 80,000 บาท/เดือน (ตกวันละ
2,666 บาท) หรือมีกาไร 26% จากยอดขาย ตรงนี้ ล่ะ จะนามาแบ่งตามหลักโภควิภาค ๔
ส่วนที่ ๑ 25% ของ 80,000 บาท เท่ากับ 20,000 บาท เราควรบริโภคใช้สอย
เพื่อให้เกิดสุขหรือทาบุญกุศล เช่น พาลูกเมียไปเที่ยว ซื้ อของเล่นให้ลูก ซื้ อของประดับตกแต่ง
บ้าน และทาบุญรวมไม่เกิน 20,000 บาท/เดือนหรือ 666 บาท/วัน
อีก ๒ ส่วน 50% ของ 80,000 บาท เท่ากับ 40,000 บาท เราควรใช้ขยายธุรกิจ
เพิ่มเติม คือ เพิ่มต้นทุนในการค้าขาย เช่น ซื้ อสินค้าเพิ่มหรือเพิ่มชนิ ดของสินค้าอีก 40,000
บาท/เดือน
อีก ๑ ส่วนสุดท้าย 25% ของ 80,000 บาท เท่ากับ 20,000 บาท เราควรฝาก
ธนาคาร ไม่นามาใช้จา่ ย เผื่อเวลาเจ็บป่ วย หรือมีเหตุฉุกเฉิน
หากเราขายของเช่นนี้ ตลอดปี นอกจากทุนในกิจการจะขยายขึ้ น (40,000*12)
480,000 บาทแล้ว เราจะมีเงินเก็บ (20,000 บาท*12) 240,000 บาท/ปี ด้วย
นี้ เป็ นวิธีการคานวณคร่าวๆ สาหรับการค้าขายขนาดเล็ก
กรณีสมมติที่ ๓ (อาชีพรับจ้าง)
สมมติวา่ เรามีอาชีพรับจ้าง ได้ค่าแรงวันที่ 300 บาท
เริ่มต้นหลักโภควิภาค ด้วยการหักค่าใช้จา่ ยประจาที่จาเป็ นในการดารงชีวติ ออกไป
ก่อน ได้แก่
ก. ค่าอาหาร ๓ มื้ อ (50*3) 150 บาท/วัน
ข. ค่ารถเดินทางมาทางาน ด้วยรถเมล์ มอเตอร์ไซด์รบั จ้าง (10+8+8+10) 36 บาท
ค. ค่าเช่าบ้าน เดือนละ 1500 บาท เฉลี่ยวันละ 50 บาท
ง. ค่าเสื้ อผ้าใส่ทางานและดารงชีวติ (ได้แก่ เสื้ อ 4 ตัวๆ ละ 250 บาท=1,000 บาท,
กางเกง 4 ตัวๆ ละ 200 บาท=800 บาท, เข็มขัด 2 เส้นๆ ละ 200 บาท=400 บาท,
รองเท้า 2 คู่ๆ ละ 400 บาท=800 บาท รวม 3,000 บาท ใช้ได้ระยะเวลา ๒ ปี ซึ่งปี
หนึ่ งมีวนั ทางานประมาณ 300 วัน*๒ ปี = 600 วันทางาน/ปี เฉลี่ยค่าเสื้ อผ้าต่อวัน
6
Page
ทางาน วันละ (3,000/600) 5 บาท/วัน
จ. ของใช้เบ็ดเตล็ด ได้แก่ สบู่ 20 บาท/เดือน (160 กรัม) ยาสีฟัน 20 บาท/เดือน (50
กรัม) แชมพู 80 บาท/เดือน (300 มล.) รวม 120 บาท/เดือน ตกวันละ 4 บาท
จะเห็นได้วา่ เมื่อรวมค่าอาหาร เครื่องนุ่ งห่ม ที่อยูอ่ าศัย และการเดินทาง 5 รายการ
ข้างต้น ซึ่งจาเป็ นต่อการดารงชีวติ เท่ากับ (150+36+50+5+4) 245 บาท/วัน เมื่อรายรับ
เท่ากับ 300 บาท/วัน เท่ากับมีเงินเหลือเก็บ 55 บาท/วัน เอาว่าประมาณ 60 บาท/วัน
ตรงนี้ ล่ะ จะนามาแบ่งตามหลักโภควิภาค ๔
ส่วนที่ ๑ 25% ของ 60 บาท เท่ากับ 15 บาท/วัน เป็ นเงินที่เราสามารถใช้ในการ
บริโภคเพื่อให้เกิดสุขหรือทาบุญกุศล หรือเท่ากับ (15*26 วันทางาน) 390 บาท/เดือน
อีก ๒ ส่วน 50% ของ 60 บาท เท่ากับ 30 บาท/วัน เราควรเก็บไว้เพื่อการลงทุนใน
อนาคต เพื่อทาธุรกิจ รวมเดือนละ (30*26) 780 บาท/เดือน
อีก ๑ ส่วนสุดท้าย 25% ของ 60 บาท เท่ากับ 15 บาท/วัน เราควรยอดกระปุกไว้ ไม่
นามาใช้ เผื่อมีเหตุจาเป็ น รวมเดือนละ 390 บาท/เดือน
หากเราทางานทุกวัน จ.-ส. ดังนี้ เราก็จะมีเงินเก็บรวมทั้งสิ้ น ((780+390)*12)
=14,040 บาท/ปี
นี้ เป็ นวิธีการคานวณ สาหรับอาชีพรับจ้างทางาน
กรณีสมมติที่ ๔ (ทํางานประจํา มีเงินเดือน)
สมมติวา่ เราทางานประจา ได้รบั เงินเดือนๆ ละ 20,000 บาท
เริ่มต้นหลักโภควิภาค ด้วยการหักค่าใช้จา่ ยประจาที่จาเป็ นในการดารงชีวติ ออกไป
ก่อนเช่นเดียวกัน ดังนี้ (สมมติในสภาพแวดล้อม ค่าครองชีพสูงกว่า)
ก. ค่าอาหาร ๓ มื้ อ (80*3) 240 บาท/วัน * 30 วัน = 7,200 บาท/เดือน
ข. ค่าน้ ามันขับรถมาทางาน (ไป-กลับ 50 กิโล ใช้น้ ามัน 5 ลิตรๆ ละ 35 บาท) 175
บาท/วัน * 26 วัน=4,550 บาท/เดือน
ค. ค่าเช่าบ้าน เดือนละ 3000 บาท
ง. ค่าเสื้ อผ้าใส่ทางานและดารงชีวติ (ได้แก่ เสื้ อ 4 ตัวๆ ละ 500 บาท=2,000 บาท,
กางเกง 4 ตัวๆ ละ 400 บาท=1600 บาท, เข็มขัด 2 เส้นๆ ละ 300 บาท=600 บาท,
รองเท้า 2 คู่ๆ ละ 800 บาท=1,600 บาท รวม 5,800 บาท ใช้ได้ระยะเวลา ๒ ปี หรือ
๒๔ เดือน เฉลี่ยค่าเสื้ อผ้าต่อเดือน เท่ากับ (5800/24) 242 บาท/เดือน (240 บาท/
7

เดือน) (หรือเฉลี่ยเป็ นวันทางานประมาณ 300 วัน*๒ ปี = 600 วันทางาน/๒ ปี เฉลี่ยค่าเสื้ อผ้า


Page
ต่อวันทางาน เท่ากับ (5,800/600) 9.67 บาท/วัน (10 บาท/วัน)
จ. ของใช้เบ็ดเตล็ด ได้แก่ สบู่ 40 บาท/เดือน (160 กรัม) ยาสีฟัน 40 บาท/เดือน (50
กรัม) แชมพู 160 บาท/เดือน (300 มล.) รวม 240 บาท/เดือน (ตกวันละ 8 บาท)
จะเห็นได้วา่ เมื่อรวมค่าอาหาร เครื่องนุ่ งห่ม ที่อยูอ่ าศัย และการเดินทาง 5 รายการ
ข้างต้น ซึ่งจาเป็ นต่อการดารงชีวติ เท่ากับ (7200+4550+3000+240+240) 15,230
บาท/เดือน เมื่อรายรับเท่ากับ 20,000 บาท/เดือน เท่ากับมีเงินเหลือเก็บ 4,770 บาท/
เดือน เอาว่าประมาณ 4,800 บาท/เดือน ตรงนี้ ล่ะ จะนามาแบ่งตามหลักโภควิภาค ๔
ส่วนที่ ๑ 25% ของ 4,800 บาท เท่ากับ 1,200 บาท/เดือน เป็ นเงินที่เราสามารถใช้
ในการบริโภคเพื่อให้เกิดสุขหรือทาบุญกุศล โดยเฉลี่ย (1200/30 วัน) 40 บาท/วัน
อีก ๒ ส่วน 50% ของ 4,800 บาท เท่ากับ 2,400 บาท/เดือน เราควรเก็บไว้สร้าง
ฐานะและลงทุนในอนาคต
อีก ๑ ส่วนสุดท้าย 25% ของ 4,800 บาท เท่ากับ 1,200 บาท/เดือน เราควรเก็บ
เข้าธนาคาร ไม่นามาใช้ เผื่อมีเหตุจาเป็ น
หากเราทางานครบ ๑ ปี เราก็จะมีเงินเก็บรวมทั้งสิ้ น (2,400+1,200)*12)
=43,200 บาท/ปี , นี้ เป็ นวิธีการคานวณ สาหรับผูท้ างานประจา มีเงินเดือน
.......................................................
รัตนอุบาสก
๒๓ มีนาคม ๒๕๕๗

8
Page

You might also like