Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 354

kalyanamitra.

org
คมภรสรางวด
จากพระโอษฐ์

รวบรวมโดย
พระภาวนาวิร ิย คุณ (หลวงพ่อ หัต ตชีโว)

kalyanamitra.org
ดัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์
พระภาวนาวิร ิย คุณ (หลวงพ่อ หัต ตชีโว)

เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ 9 7 8 -9 7 4 -0 6 -0 5 4 6 - า
พิมพ์คร้ังที่ ๑ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๑ จำนวน ๖0 , 0 0 ๐ เล่ม
จัดพิมพ์เพื่อน้อมถวายแด่พระราชาคณะ พระดังฆาธิการ ๒ 0 , 0 0 0
กว่า วัด และพระผู้ต ิดตาม ผู้ร ับ อาราธนาเป็น เนื้อ นาบุญ ในพิธ ี
ถวายมหาสัง ฆทาน ในวันคุ้มครองโลก อังคารท่ี ๒๒ เมษายน
พุท ธศัก ราช๒๕๕๑ ณวัดพระธรรมกาย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

ลิขสิท ธ มูลนิธิธรรมกาย
คณะผู้จัดทำ กองวิชาการ อาศรมบัณฑิต .
ภาพประกอบ กองพุทธศิลป๋
ออกแบบปกและสิลปกรรม ธาดา วงศ์คุณ านนท์ และ บริษัท ครีเอท โซน จำกัด
จัด ทำรูป เลํม ดันหัด ดักด๋ีลาคร

พิมพ์ที่ บริษัท รุ่งคิลป๋การพิม พ์ (๑๙๗๗) จำกัด


๔๙ ซอยวชิรธรรมสาธิต ๓๗ ถนนสุขุมวิท ๑0 ๑/๑
แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ ๑0 ๒๖ 0
โทร. 0 - ๒๗ ๔๓ -๙ 0 0 0 โทรสาร 0 - ๒๗๔๖-๓๓๘๗

จัดพิมพ์โดย กองวิชาการ อาศรมบัณฑิต


๔ 0 หมู่ ๘ ต.คลองสอง อ.คลองหลวง จ.ปทุม ธานี ๑๒๑๒0
โทร. 0 ๒-๘๓๑-๑๒๕ 0 - ๒ โทรสาร 0 ๒-๘๓๑-๑๒๕๙
และ ชมรมนักคิดนักเขียนเพื่อสันติภาพโลก
©-๓ฌ่เ: พกํ1606306@1ไ01๓ฆ่1.00๓

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ
พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัดตซีโว)
คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์.— ปทุมธานี: กองวิชาการ อาศรมบัณฑิต, 2551.
376 หน้า
1. พุทธโอวาท. 2. พุท ธศาสนา.— การศึกษาและการสอน. I. ชื่อเรื่อง.
294.307
เ8 ธผ 9 7 8 -9 7 4 -0 6 -0 5 4 6 -1

kalyanamitra.org
ค ำ น ำ

นับ จากวัน แรกท่ีพ ระเดชพระคุณ พระภาวนาวิร ิย คุณ


(หลวงพ่อทัดตชีโว)ติดตามพระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธี้
(หลวงพ่อธัมมชโย) และคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์
ขนนกยูง ร่วมกับหมู่คณะรุ่นแรกเพียงไม่กี่สิบคน มาร่วมกัน
บุกเบิกแผ่นดินผืนนาฟ้าโล่ง ให้กลายเป็นวัดพระธรรมกายที่มี
เน้ือที่ ๑๙๖ ไร่ขึ้นมาได้สำเร็จ จากนั้นก็พ ัฒ นางานด้านอื่น ๆ
ของวัดให้กัาวหนัาเรื่อยมาตามลำดับ ๆ จวบจนกระทั่งกลายมา
เป็น วัด พระธรรมกายที่ม ีเนื้อ ที่โ ดยรวม ๒,๐๐๐ พันกว่าไร่
สามารถรองรับพุทธบุตร และผู้มีบุญจากทั่วโลก ไดไม่ตากว่า ๑
ด้านคน

(๕) คำคำ

kalyanamitra.org
ส่ิงหนึ่งท่ีพระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านปฎิบํติให้ทุกคน
ได้เห็นเป็นภาพเจนตา ตั้งแต่ขุดดินก้อนแรกสร้างวัดจนกระทั่ง
ถึงทุกวันน้ีก็คือ“การด้น คว้าพระไตรปิฎ กเพื่อทำงานสร้างวัด”
หรืออาจกล่าวได้อีกสำนวนหน่ึงว่า “หลัง อิงต้น โพธ” ช่ืงหมายถึง
การทำงานทุก อย่างโดยอิงหลัก การของพระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า
ท่ังน้ีเป็นเพราะหลวงพ่อท่านตระหนักดีว่า “ ธรรมะแม้เพียงคำ
เดีย ว ก็ม ีผ ลทำให้ผ ู้ฟ ังไปพระนิพ พานได้” จึงต้องศึกษาให้ท่ัว
ว่า พระส้มมาส้มพุทธเจ้าตรัสสอนอะไรไว้บ้าง เพ่ือจะได้นำมา
'ฝึกฝนอบรมตนเองให้เข้าถึงธรรม และทำหน้าที่เป็นกัลยาณมิตร
ให้แก่ชาวโลกได้อย่างสมบูรณ์
อุปสรรคอย่างหน่ึงในการทำงานสร้างวัดพระธรรมกายก็คือ
ความชาดแคลนข้อมูลการสร้างวัดในสมัยพุทธกาล เพราะหมู่
คณะมีมโนปณิธานว่า “ สร้า งวัด ให้เป็น วัด สร้า งพระให้เป็น
พระ สร้า งคนให้เป็น คนดี” และทุกคนก็ตั้งใจว่า วัด ที่ส ร้า งนี้จ ะ
ต้อ งสร้า งใหัด ีท ่ีส ุด และต้อ งสร้า งให้เ หมาะแก่ก ารบรรลุ
ธรรมด้ว ยดังน้ันจึงย่ิงต้องรู้ว่าวัดในสมัยพุทธกาลมีหลักการสร้าง
วัด อย่างไร จึง จะสามารถสร้างวัด พระธรรมกายให้เป็น วัด ที่
เอ้ือเพื่อต่อการเข้าถึงธรรมได้จริง

แต่เพราะข้อมูลด้านนี้กระจัดกระจายอยู่ในพระไตรปิฎก
และมีผู้รวบรวมข้อมูลมาทำตำรับตำราน้อยเกินไป หลวงพ่อ
ท่านจึงมีดำริอยู่ในใจว่า ดักวันหนึ่งจะรวบรวมหลักธรรมเกี่ยว-
กับการสร้างวัดจากพระไตรปิฎกแจกจ่ายออกไปให้ทั่วแผ่นดิน
เพื่อให้พุทธบุตรและชาวพุทธ ผู้มีจิตศรัทธาสร้างวัด จะได้รับ

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ (๖) คำนำ

kalyanamitra.org
ความสะดวกในการสร้างวัดให้เหมาะแก่การบรรลุธรรม และ
เหมาะแก่การฟิกอบรมพุทธบุตรรุ่นใหม่ให้เป็นอายุพ ระพุทธ-
ศาสนา โดยทั้งหมดนี้ยังคงเป็นการยืนหยัดอยู่บนหลักการของ
พระพุทธองค์โดยตรง
นับแต่น้ันมา หลวงพ่อท่านก็เอาหลังอิงต้นโพธ ทำงาน
สรางวัดพระธรรมกายไปด้วย ศึกษาพระไตรปิฎกไปด้วย แก้
ปัญ หาต่างๆ ในลังคมไปด้วย กลายเป็นการส่ังสมความรู้ท่ีใชั
เจาะลึกพระไตรปิฎกในภาคปฏิบัติโดยตรง จากน้ันจึงตกผลึก
ออกมาเป็นนโยบาย ข้อคิดมุมมอง และคำเทศน์สอนต่างๆ ใน
การสร้างวัด การพัฒนาวัด การรักษาวัด และการฟิกอบรมคน
ให้ช่วยก้นทำงานพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองย่ิงๆข้ึนไป

ในการจัดทำหนังสือ “คัม ภีร์ส ร้างวัดจากพระโอษฐ์” เล่ม


น้ีพระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้แบ่งงานเป็น๓ขั้นตอนกล่าวคือ
ข้ัน ตอนแรก คือ การอ่านพระไตรปิฎกเพื่อด้นหาพระสูตร
แม่บทในการทำงานด้านต่าง ๆ ให้เจอ
ข้ัน ตอนท่ีสอง คือ การอ่านพระไตรปิฎก เพื่อรวบรวมพระ
สูต รที่ม ีค ำขยายความพร ะสูต รแม่บ ทมาให้ค รบกวน จะได้รู้
ภาพรวมว่าพระดัมมาดัมพุทธเจัาตรัสอธิบายเรื่องราวทั้งหมด
ไวัอย่างไร โดยต้อ งทำการสรุป แนวคิด ออกมาให้ใต้ว ่า พระ
สูตรท่ีอ่านอยู่นั้น กำลังอธิบายความหมาย (พเาลโ) หรือกำลัง
ให้หลักการและเหตุผล (พเาV) หรือกำลังบอกวิธีปฏิบติ (แอพ 10)
หรือกำลังยกใจในอานิสงส์ผลบุญ (คอรบII)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ (๗ ) คำนำ

kalyanamitra.org
ขั้น ตอน ที่ส าม คือ หลัง จากสรุป ภาพรวมคำอธ ิบ าย
พระสูตรแม่บ ทท่ีม าจากพระโอษ ฐ์โคยตรงแดัว ก็ต้องนำไป
เทียบเคียงกับพุทธกิจ ๔๕ พรรษาด้วย หลังจากน้ัน ก็จะเดิน
ทางไปปรึกษาผู้รูในด้านต่าง ๆ ท่ีมืประสบการณ์ทำงานในด้าน
นั้นๆมาก่อนเพื่อจะได้นำความรู้และประสบการณ์มาเทียบเคียงกัน
ก่อ นจะสรุป เป็น หลัก การ ข้อคิดมุมมอง ข้อควรระวัง แลัว
ลงมือทำงานด้วยความรอบคอบระมัดระวัง เพราะทุกย่างกัาวนั้น
ลัวนเดิมพ้นด้วยอายุพระพุทธศาสนา
สาเหตุท่ีด้องวางเป็น ๓ ขั้นตอนอย่างนี้ก็เพราะว่า

๑) ล้าภาพการวางตัวของพระพุทธองค์กับบุคคลต่างวัย
ต่างวรรณะ ต่างฐานะ ต่างความเช่ือถือ ยังไม่ชัดเจน
ย่อมวางตัวไม่ถูกอาจก่อการกระทบกระทั่งขั้นมาได้

๒) ล้าภาพอุปสรรคและวิธีการแล้ปัญหาประเภทต่างๆ
ไม่ชัดเจนถึงคราวทำงานก็จะแล้ปัญหาไม่เป็น

๓) ล้าภาพการวางแผนงานของตนเองไม่ชัดเจน ถึง
คราวทำงานก็จะลำดับข้ันตอนไม่ถูก

๔) ล้าภาพการชัด ทีม งานไม่ช ัด เจน ถึงคราวฟิกคน


ปกครองคน บริหารคน ก็จะทำไม่ถูก ก่อให้เกิด
ความปันป้วนรุ่นวายในหมู่คณะตามมาไม่จบไม่ส้ิน

จากเหตุผลและหลักการดังกล่าว จึงทำให้กว่าจะปะติด
ปะต่อข้อมูลได้ครบล้วน ก็หมดเวลาไปกว่าหลายสิบปี จึงได้ข้อ
สรุปว่า

ดัม ภ๊ร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ (๘ ) ดำนำ

kalyanamitra.org
ผู้ท ่ีจะบรรลุธรรมนั้น ต้อ งประกอบด้วยคุณ สมบัติ๕ ประการ

คอ

๑. ศรัทธา

๒. มีอาพาธน้อย

๓. ไม่โอ้อวด-ไม่ม ีม ารยา

๔. ปรารภความเพีย ร

๕. ปัญ ญา
เพราะฉะน้ัน ไม่ว ่า อย่า งไรก็ต าม การฟิก คนของพระ
สัม มาสมพ ุท ธเจาทรงด้อ งเคี่ย วเข็ญ ใหํท ุก คนมีค ุณ สมบัต ิ ๕
ประการนี้ใ ห่ไ ด้ โดยพระองค์ท รงใช้ส ิ่ง แวดอ้อ มเป็น เครื่อ งมือ
ในการช่ว ยฟิก คน ด้ว ยการกำหนดคุณ สมบัต ิข องสิ่ง แวดอ้อ มที่
เหมาะแก่การเช้าถึงธรรม ๕ ประการ คือ
๑. อาวาสเป็น ท่ีส บาย

๒. ปัจ จัย สี่เป็น ที่ส บาย

๓. พระเถระเป็นที่พึ่งแห่งการบรรลุธรรม

๔. พระภิกษุรักการฟิกตน
๕. การฟิกุอบรมเป็นที่สบาย

ซ ่ึง ก็ค ือ ท่ีม าของคุณ สมบัต ิข องจัด ที่เ หมาะแก่ก ารบรรลุ


ธรรมนั้นเอง

คม/ไร้ส ร้า งวัด จากพระโอษธ (๙) คำนำ

kalyanamitra.org
ด้ว ยเหตุน ี้จ ึง กลายเป็น ที่ม าของหนัง สือ “ ค ัม ภ ีร ์ส ร ้า งว ัด
จ า ก พ ร ะ โ อ ษ ฐ ์” ซึ่งเป็น การยึดเอาพระสูต รแม่บ ทในการสร้างวัด
เพ่ือการบรรลุธรรมช่ือว่า “ เส น า ส น ส ูต ร ” เป็นตัวต้ัง แลวรวบรวม
พระสูตรอ่ืนๆ มาอธิบ ายขยายความอีก ทอดหน่ึง จึง กลายเป็น ว่า
หนังสือ เล่มนีเ้ ป ็น ก า ร ร ว บ ร ว ม ค ำ อ ธ ิบ า ย ก า ร ส ร ้า ง ว ัด ท ี่ม า จ า ก
พ ร ะโอ ษ ฐ ์โ ด ย ต ร ง ในระหว่างรวบรวมนี้อ าจมีการตั้งขอสังเกตใน
บางพระสูต รบ้า ง ท้ัง น้ีก ็เพ่ือ ต้อ งการจับ จุด เด่น ของพระสูต รนั้น
ออกมาให้ชัดเจนเพ่ือจะได้สะดวกในการนำไปศึกษาคันควัาให้ย่ิงๆ
ชื่นไป

คณ ะผู้จ ัด ทำต้อ งขอกราบขอบพระคุณ ในความเมตตา


ของพระเดชพระคุณ พระภาวนาวิร ิย คุณ (หลวงพ่อ ท่ต ตชีโ ว)
ท่ีเ ปิด โอกาสใหัศ ิษ ยานุศ ิษ ย์ท ุก รูป ทุก คน และทุก ฝ่า ยได้ม ี
ส่ว นร่ว มในการจัด ทำหนัง สือ เล่ม นี้ข ้ึน มา และหวัง ว่า หนัง สือ ท่ี
รวบรวมมาด้ว ยความเหน่ือ ยยากเล่ม น้ี จะเป็น บัน ไดก้า วแรกท่ี
สร้า งแรงจูง ใจให้เกิด คัม ภีร ์ส ร้า งวัด ในแง่ม ุม อื่น ๆ จากพระไตร
ปิฎ กขึ้น อย่า งมากมายในบรรณ พ ิภ พ จะได้ช ่ว ยก้น บรรเทา
ความขาดแคลนซัอ มูล ในการสร้า งจัด ให้เ หมาะแก่ก ารบรรลุ
ธรรมอย่างรวดเร็ว และน้ัน ย่อ มเป็น ประโยชน์ต ่อ การทำนุบ ำรุง
พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสถาพรสืบไป

ขอกราบอนุโมทนาบุญ ทุก ท่าน มา ณ โอกาสนี้

กองวิช าการ อาศรมบัณ ฑิต

คัม ภีร์ส ร้างวัด จากพระโอษฐ (๑ ๐ ) คำนำ

kalyanamitra.org
สารบญ

คำนำ (๕)
บทท่ี ๑ วัดดี พระดี สังคมดี

เป้าหมายการบวชในพระพุทธศาสนา ๑
หน้าที่พระภิกษุต่อสังคม ๓
ปัญหาศีลธรรมแก้ท่ีไหนก่อน ๕

แนวทางแก่ไขปัญหาศีลธรรม ๕
คุณสมบติของบุคคลที่เหมาะแก่การบวช ๖
คุณสมบติของวัดที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม ๘

บทท่ี ไอ ศร้ทธา

ความหมายของศรัทธาในเสนาสนสูตร ๑๑
ศรัทธา คือ อะไร ๑๒
วิธีสังเกตผู้มีศรัทธาต่อพุทธบุตร ๒๒
วิธีปลูกฝังศรัทธา ๒๓
สรุป ๒๕

บทท่ี ๓ มีอาพาธน้อย

ความหมายของผู้มีอาพาธน้อยในเสนาสนสูตร ๒๙
ลักษณะผู้มีอาพาธน้อยเป็นอย่างไร ๓๐

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ (๑๑) สารบัฌ

kalyanamitra.org
ดูแลตนเองได้ เพราะตังเกตตนเองเป็น ๓๑
มีอาพาธนอยเพราะรู้จักประมาณในการบริโภค ๓๕
มีอาพาธน้อยเพราะไม่มีวิบากกรรมเก่า ๔๒
ทำไมต้องดูแลรักษาสุขภาพให้ดี ๔๕
การปลูกฝังนิดัยดูแลสุขภาพเป็น ๔๘
สรุปเหตุท่ีมีอาพาธน้อย ๔๘
บทท่ี ๔ ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

ความหมายของผู้ใม่โอ้อวด-ไม่มีมารยาในเสนาสูตร ๕๑
ผู้ใม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา บรรลุใน ๗ วัน ๕๒
ลักษณะผู้ใม่โอ้อวด ๕๓
คนโอ้อวดไม่ใช่คนดี ๕๕
ลักษณะคนมีมารยาเป็นอย่างไร ๖๓
ผู้มีมารยาย่อมเจัาเล่ห์หลอกลวง ๖๘
‘ ลักษณะของผู้ว่ายาก ๗0
ความโอ้อวดก่อให้เกิดความแตกแยก ๗๖
แนวทางแก้นิสัยโอ้อวดมีมารยา ๗๘
บทท่ี ๕ ปรารถนาความเพียร

ลักษณะบุคคลผู้มีความเพียร ๘๒
ประเภทของความเพียร ๘๒
การปรารภความเพียรเพื่อบรรลุธรรม ๘๒
ระดับของความเพียรที่ทำให้บรรลุธรรม ๘๔
คุณสมบ้ตผู้บำเพ็ญเพียร ๘๖
เวลาท่ีบุคคลควรทำความเพียร ๘๙

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ (๑๒) สารบัญ

kalyanamitra.org
เร่ืองราวท่ีเป็นเหตุให้ทำความเพียร ๙๐
บุคคลผูไม่ละความเพียร ๙๓
ความเพียรกับการบรรลุธรรม ๑๐๐

บทที่ ๖ ปัญ ญา

ความหมายของปัญญาในเสนาสนสูตร ๑๐๗
ประเภทของแหล่งปัญญา ๑๐๘
ปัญญาเกิดข้ึนได้จากการฟัง(ครู) ๑๐๘
ปัญญาท่ีเกิดจากการคิดและประสบการณ์ ๑๐๙
ปัญญาท่ีเกิดจากการทำสมาธิภาวนา ๑๑๔
เหตุท่ีทำให้'คนได้ปัญญามาก ๑๑๗
ท่ีมาของปัญญาในพระพุทธศาสนา ๑๒๑
ลักษณะของผู้มีปัญญาดับทุกข์ ๑๒๓
การได้ปัญญาดับทุกข์ในพระพุทธศาสนา ๑๒๔

บทท่ี ๗ สถานท่ีเหมาะแก่ก ารบรรลุธ รรม


สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม ๑๔๕
การเลือกทำเลสร้างวัดในสมัยพุทธกาล ๑๕๓
สถานท่ีไม่เหมาะแก่การปรารภความเพียร ๑๕๙
ความสงัดเป็นอย่างไร ๑๖๔
ลักษณะของสภาพแวดลัอมท่ีดีเป็นอย่างไร ๑๗๐
ลักษณะภูมิอากาศที่ดีเป็นอย่างไร ๑๗๕
ทำอย่างไรให้วัดเป็นสถานที่เหมาะแก่การประพฤติธรรม ๑๘๐
สรุปสาระสำดัญ ๑๘๕

ดัมภึร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ (๑๓) สารบัญ

kalyanamitra.org
บทท่ี ๘ ปัจ ชัย ๔ เป็น ท่ีส บาย
ความหมายของปัจจัย ๔ เป็นท่ีสบายในเสนาสนสูตร ๑๘๙
ประเภทการบริโภคปัจจัย ๔ ๑๙๓
พระมหาเถระกับการบริโภคใซัสอยปัจจัย ๔ ๑๙๔
อาหารเป็นที่สบาย ๑๙๖
ท่ีมาของการอนุญาตให้พระภิกษุใชัเสนาสนะ ๑๙๘
ทรงอนุญาตเสนาสนะ ๕ ชนิด ๒0 ๐
คาถาอนุโมทนาการถวายวิหาร ๒๐๑
การจัดที่พักสงฆ์ตามคุณสมป้ติ ๒๐๒
หลักในการพิจารณาเสนาสนะที่เหมาะสม ๒๐๖
เหตุผลการอยู่ป่า ๒๐๘
เหตุผลการอยู่อาศัยบาน ๒๐๙
คิลานปัจจัยเภสัช ท่ีจำเป็น ๒๑๒
พระภิกษุไม่อาจตั้งอยู่ในธรรม ๒๑๖
พระพุทธศาสนาตั้งอยู่ไม่นาน
เพราะพุทธบุตรขาดการฟิกนิสดัย ๔ ๒๒๑
บทที่ ๙ พระเถระเป็น ที่พ ึ่ง แห่ง การบรรลุธ รรม

ความหมายของพระเถระในเสนาสนสูตร ๒๓๙
คัมภีวิในพระพุทธศาสนาหมายถึงอะไร ๒๔๑
ลักษณะบุคคลท่ีเป็น “พหูสูต,, ๒๔๒
ลักษณะผู้ทรงธรรมและไม่ทรงธรรม ๒๔๔
อานิสงส์ผู้ทรงพระวินัย ๒๔๕
ความแตกต่างระหว่างผู้ทรงจำกับผู้ทรงธรรม ๒๔๗

คัมภีร์สรางวัดขิากพระโอษฐ์ (๑๔) สารบัญ

kalyanamitra.org
คุณสมบติของภิกษุผู้สามารถเท่ียวไปในทิศท้ังสี่ ๒๕๒
คุณสมบดของภิกษุผู้อยู่ในเสนาสนะอันสงัด ๒๕๔

บทที่ ๑๐ พระลูก คิษ ย์เป็น ผู้ร กการ้ฟ ิก ตน

ความหมายของพระภิกษุผู้รกการฟิกตนในเสนาสนสูตร ๒๕๗
เหตุและปัจจัยในการศึกษาธรรมได้ดี ๒๕๙
เหตุและปัจจัยท่ีทำให้แจ่มแจังในธรรมของพระตถาคต ๒๖๘
เน้ือความแห่งพุทธพจน์ประกอบไปด้วยอะไรบาง ๒๗๐
ต้องได้ครูดี จึงจะเอาดีได้ ๒๗๒
มิได้เป็นพระอรหันต์แต่เห็นพระนิพพาน ๒๘๐

บทที่ ๑๑ การอบรมบ่ม นิส ัย เพื่อ การบรรลุธ รรม

ความหมายของการอบรมธรรมะในเสนาสนสูตร ๒๘๓
พระเถระด้นแบบ ผรจริง ทำได้จริง สอนได้จริง ๒๘๔
พระลูกศิษย์ผู้มีความพร้อมในการฟิกตน ๒๘๗
ปัญญาเกิดขึ้นได้ด้วยเคารพเป็นอย่างไร ๒๘๘
ศีลเกิดขึ้นได้ด้วยวินัยเป็นอย่างไร ๒๙๓
สมาธิเกิดข้ึนได้ด้วยอดทนเป็นอย่างไร ๓๐๐
หอักสูตรการฟิกอบรม ๓๐๔
การฟิกอบรมบ่มนิสัย ๓๒๒
ความเส่ือมและความดำรงมั่นของพระพุทธศาสนา ๓๒๘

บรรณานุก รม ๓๓๔

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๕) สารบัญ

kalyanamitra.org
*------- เ^-

ข้าแต่พ ระอุป ัช ฌาย์ผ ู้เจริญ ขอท่า น


จงรับ เอาผ้า กาสาวะ แล้ว บวชให้
ข้า พเจ้า ด้ว ยเถิด เพื่อ ข้า พเจ้า จะได้
ประพฤติป ฏิบ ัต ิ กำจัด ทุก ข์ท ั้ง ปวง
ใหํส๋ินไปและกระทำพระนิพพานให้แจ้ง

kalyanamitra.org
บทท

*-------------------------- *

วัดดี พระดี สังคมดี

เป้า หมายการบวชในพระพุท ธศาสนา


คำปฏิญ าณในวัน บวชท่ีเรากล่า วต่อ หน้า พระประธาน
ในโบสถ์ พระอุป ัช ฌาย์ และคณะสงฆ์ว่า
สัพพะทุกขะ นิสสะระณะ
นิพพานะ สัจฉิกะระณ์ตถายะ
อิมัง กาสาวัง คะเหตวา
ปัพพาเชถะ มัง กันเต
อะนุกัมปัง อุปาทายะ.

kalyanamitra.org
แ ป ลว่า ข้าแต่พระอุปัชฌาย์ผู้เจริญ ขอท่านจงรับเอาผ้า
กาสาวะ แล้ว บวชให้ข ้า พเจ้า ด้ว ยเถิด เพื่อ ข้า พเจ้า จะได้
ประพฤติป ฏิบ ้ต ิ กำจัด ทุก ข์ท ั้งปวงให้ส ้ิน ไป และกระทำพระ
นิพพานให้แจ้ง

จากคำปฏิญ าณนี้ท ำให้พ ระภิก ษุต ้อ งมีห น้าที่ ๒ อย่าง

คอ

๑. คัน ถะธุร ะ คือ การศึก ษาเล่า เรีย นในพระพุท ธ


ศาสนา
๖. วิป ัส สนาธุร ะ คือ การปฏิบ้ติเพ่ือให้หลุดพันจาก
ความทุกข์[ศก

น่ีคือคำปฏิญาณเมื่อทุกคนเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา
ไม่ว ่า จะบวชสั้น แค่ ๑ พรรษา หรือ บวชยาวไปตลอดชีว ิต
เขามีหน้าท่ีจะต้องทำตามคำปฏิญาณนั้นให้ไดเ้ ป้า หมายที่แ ท้
จริง คือ การกำจัด ทุก ข์ไม่ใช่บวชเพื่อเล่น์[มใช่บวชเพื่อเอาสนุก
หรือบวชตามประเพณีแต่บวชแล้วต้องเอาจริงเอาจังมุ่งไปพระ
น ิพ พ าน ด้ว ยการฟิก ฝนอบรมตนเอง ตามธรรมวิน ัย อย่า ง
เคร่งครัด
แต่ก ารจะไปให้ถ ึงเป้าหมายพระนิพ พานนั้น ไม่ใช่ไป
กัน ได้ง ่า ยๆ และไม่ใ ช่จ ะไปกัน ไดในชาติเดีย ว จำเป็น จะ
ต้อ งสั้ง สมบุญ บารมี กัน อย่า งย่ิง ยวด จำเป็น จะต้อ งศึก ษา
และปฏิป ้ต ิจากผูร ู โดยมีส ภาพ แวดล้อ มที่เ หมาะสมแก่การ

คัมภิร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒ วัดด พระดึ สังคมด

kalyanamitra.org
ประพฤติป ฏิบ ัต ิธ รรมคอยเอ้ือ อำนวย ซึ่ง ในที่น ้ีเราจึง ควร
ศึกษากันว่า วัด เพ่ือ การบรรลุธ รรม ควรมีลักษณะอย่างไร?
โดยมีพระสูตรกล่าวไวัเ.น เสนาสนสูต ร

ห น ้า ท ี่พ ร ะภ ิก ษ ุต ่อ ส ัง ค ม

แต่ก ่อ นท่ีจ ะไปศึก ษาเสนาสนสูต รในรายละเอีย ดน้ัน


ขอย้อนถามก่อนว่า พระมีห น้า ที่อ ะไรในสัง คม ?
เราทราบกันดีว่าพระต้องมีหน้าท่ีศึกษาธรรม และปฏิบัติ
ธรรม ให้ห ลุด พ้น ให้ม ีก ิเลสน้อ ยเบาบาง อัน นี้เป็น กิจ หลัก
ที่พ ระจะต้องทำเพื่อดัวท่านเอง
เพราะว่าเมื่อ ท่านได้ฝ ็ก ฝนอบรมตัว ท่านดีแ ล้ว ก็จะ
เป็น ต้น แบบที่ด ีแ ละทำหน้าที่เป็นครูส ีล ธรรมให้ก ับ ชาวโลก
เป็น ที่ป รึก ษาคอยแนะนำให้ก ำลัง ใจให้ก ับ ญาติโ ยม ให้ก ับ
ครูและนักเรียนให้กับสังคมรอบข้างท่ีท่านอยู่อาศัย
ทุก วัน นี้ช าวโลกกำลัง รอคอย ผู้ช ้ีแ นวทางสว่า ง ใน
การดำเนิน ชีว ิต ขาดผ้ท ่ีม ีค วามเข้า ใจความเป็น จริง ของชีว ิต
หรึอ ที่เราเรีย เกว่า สมมาทํฎ ่ฐ ทาให้ผูคน๒ สงคมไม่เชื่อเอื้อง

บุญ บาป ไม่เชื่อเอื้องนรก สวรรค์ ไม่เชื่อ เอ้ือ งโลกน้ีโลกหน้า


ไม่เ ช่ือ ว่า มีช ีว ิต หลัง ความตาย เป็น เหตุใ ห้ท ุก คน มุ่งแต่จ ะ
แสวงหาทรัพ ย์ แสวงหาความสะดวกสบาย แสวงหาผล
ประโยชน์ เอารัด เอาเปรีย บกัน โดยไม่ค ำนึง ถึง เอื้อ งศีล
ธรรมและรุนแรงถึงขั้นสามารถกระทำผิดศีลได้ทุกข้อ

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษธ ๓ วัดดี พระดี สังคมดี

kalyanamitra.org
ยกตัวอย่างเช่น
เพราะไม่เชื่อว่าบุญบาปมีจริง เมื่อ เกิด โลภะโทสะโมหะ
คือ เกิด ความคิด ร้า ย ก็ค ิด ทำลาย คิด เบีย ดเบีย น ถึง ขั้น
ประทุษ ร้ายกัน ฆ่ากัน โดยไม่เกรงกลัวบาป เมื่อ มีท ำร้ายกัน
ฆ่ากัน ก็มีการฆ่ากันตอบ เมื่อ เกิด การทำปาณาติบ าตมากขึ้น
จึง กลายเป็น ปัญ หาอาชญากรรมในสัง คม
เพราะไม่เช่ือว่าบุญ บาปมีจริงเมื่อเกิด โลภะโทสะโมหะ
ความคิดแสวงหาทร้พ ย็ในทางมิชอบการลักทร้พ ย์จึงได้เกิดขึ้น
จึงกลายเป็น ปัญ หา ขบวนการโจรกรรม หรือกลุ่ม มิจ ฉาชีพ
เพราะไม่เช่ือ เร่ือ งบุญ บาปมีจ ริง จึง มีจ ิต คิด ประพฤติ
ผิด ทางเพศเกิด ขึ้น เมื่อ ทำเป็น ขบวนการใหญ่ จึง กลายเป็น
ปัญหาธุรกิจขายบริการหรือปัญหาขบวนการด้ามนุษย์ข้ามชาติ
เพราะไม่เช่ือว่าบุญ บาปมีจริง เมื่อ มีค วามอยากได้ มี
ความโลภเกิด ขึ้น หรือ ต้อ งการปกปิด ความผิด ก็โ กหกเอา
ตัวรอด ใส่ค วาม พูด ไม่จริงก่อ ให้เกิด ความหวาดระแวง จึง
กลายเป็นปัญหากระบวนการยุติธรรมขึ้น
เพราะไม่เชื่อเรื่องบุญบาป จึงมีการผลิตสุรา สิ่งเสพติด
มอมเมาเยาวชนกันท่ัวไป โดยไม่สนใจต่อผลกระทบที่ตามมา
ไม่ส นใจผลกระทบต่อสังคม ทำให้เกิด ปัญ หาแหล่ง อบายบุข
ข้ึน มากมายและปัญ หาขบวนการค้ายาเสพติด ข้ามชาติ
ส่ิง เหล่า น้ีเ กิด ขึ้น เป็น ปัญ หาสัง คม เป็น เร่ือ งของ
คนในสังคมขาดศีล ธรรมประจำใจ หรือ อาจกล่า วได้ว ่า เป็น

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ วัดดี พระดี สังคมดี

kalyanamitra.org
ปัญ หาเส่ือ มสีล ธรรมแล้วถามว่าใครจะเป็นผู้รบผิดชอบปัญหา
เส่ือมศีลธรรมในบ้านเมือง ใครควรจะเป็น ผู้ร ับ ผิด ชอบ?

ป ัญ ห าศ ึล ธ ร ร ม แ ก ้ท ี่ไ ห น ก ่อ น

ถ้า มีค นตอบว่า ปัญ หาน้ีแ ก้ย าก แต่ถ ้า จะแกใขต้อ ง


เร่ิม จากครอบครัวซ่ึงเป็นหน่วยท่ีเล็กท่ีสุดก่อน ซ่ึงมีพ่อ แม่ ลูก
เป็นส่วนประกอบหลัก
แต่เม่ือ ถามต่อ ไปว่าพ่อ แม่ ที่ม ีห น้า ที่ร ับ ผิด ชอบ สั่ง
สอนอบรมลูก จะไปเอาความรู้ท างด้า นศีล ธรรมมาจากไหน?
ก็ต ้อ งตอบว่า เอาความรู้ม าจาก พ่อ แม่ของตัวเอง หรือ จาก
ครูข องตัวเอง แล้ว ถ้า ถามย้อ นไปว่าแล้ว ครูไ ปเอาความรู้ม า
จากไหน? ก็ค งต้อ งตอบว่า เอาความรู้ม าจากพระ แล้วก็คง
ต้องถามต่อไปอีกว่า
แล้วพระจะเอาความรู้มาจากไหน? ก็ต ้อ งตอบว่า มา
จากอุป ัช ฌาย์อ าจารย์
แล้ว พระอุป ัช ฌาย์ท ่า นได้ค วามรู้ม าจากไหน? ท้า ย
ที่สุดก็ต้องได้มาจากความรู้ธรรมของพระสัมมาล้มพุทธเจ้า

แนว ท าง แกไข ป ัญ ห า ส ืล ธรรม

การแก้ไ ขปัญ หาศีล ธรรมนี้ ถ้า เราได้ส ่ง เสริม


บุค ลากรในด้านศีล ธรรม หรือ พระภิก ษุใ ห้ม ีค วามพร้อ มต่อ
การเป็น ครูส อนศีล ธรรม สร้า งวัด ที่ม ีค วามเหมาะสมในการ

ดัม ภีร ัส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๕ วัดดี พระดี สังคมดี

kalyanamitra.org
ผลิต พระต้น แบบที่ด ี สร้า งวัด ท่ีม ีบ รรยากาที่ด ี เอ้ือ ต่อ การ
ประพฤติปฏิป้ติธรรมเสมือนเป็นห้องฟิกอบรมจิตใจท่ีเหมาะสม
ก็จ ะเป็น ทางแก้ก ารขาดครูด ้น แบบ ศีล ธรรมที่ง ่า ยและ
ประหยัด ที่ส ุด โดยศึก ษาจากแม่บ ทที่พ ระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า
ให้ใวัแล้ว น่ันดือเสนาสนสูตร

คุณ สมบัต ิข องบุค คลที่เหมาะแก่ก ารบวช

จากการศึก ษาหลัก การคัด คนเข้า มาบวชในพระพุท ธ


ศาสนาใน เสนาสนสูตรปรากฏข้อ ความสำคัญ ดังน้ี

เสนาสนสูตร๑

ว่าด้วยองค์ประกอบของเสนาสนะ

พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ภิก ษุท ั้ง หลาย ภิกษุผู้ป ระกอบ


ด้ว ยองค์ ๔ อาศัย ใช้ส อยเสนาสนะอัน ประกอบด้ว ยองค์ ๕
ไม่น านนัก ก็จ ะทำให้แ จ้ง เจโตวิมุตติ ปัญ ญาวิม ุต ติอ ัน ไม่ม ี
อาสวะ เพราะอาสวะส้ิน ฺไ ป ด้ว ยปัญ ญาอัน ย่ิง เองเข้า ถึง อยู่
ในปัจจุบัน
ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เป็นอย่างไร
ดือภิกษุในธรรมวินัยน้ี

’ อง. ทสก. มจ. ๒๔/ ๑๗, มก. ๓๘/ ๒๓

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖ วัดตี พระตี สังดมดี

kalyanamitra.org
๑. เป็น ผู้ม ีศ รัท ธา เช่ือพระปัญญาตรัสรู้ของพระ
ตถาคตว่า “ แม้เพราะเหตุน้ี พระผู้มีพระภาค
พระองค์น ั้น เป็น พระอรหัน ต์ ตรัส รู้ด ้ว ย
พระองค์เองโดยชอบ เพีย บพร้อ มด้ว ยวิช ชา
และจรณะ เสด็จไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถ,ี ฟิกผู้
ที่ควร'ฟิกได้อย่างยอดเยี่ยม เป็น ศาสดาของ
เทวดาและมนุษ ย์ท ้ังหลาย เป็น พระพุท ธเจ้า
เป็นพระผู้มีพระภาค”
๖. เป็น ผู้ม ีอาพาธน้อย มีโรคเบาบาง ประกอบด้วย
ไฟธาตุสำหรับย่อยอาหารสม่าเสมอ ไม่เย็นจัด
ไม่ร้อนจัด เป็นปานกลาง ควรแก่การบำเพ็ญเพียร
๓. เป็นผู้!ม่โอ้อวดไม่มีมารยาทำตนให้เปิดเผยตาม
ความเป็นจริงในศาสดาหรือในเพื่อนพรหมจารี
ผร้ท้ังหลาย
ขขิ
๔. เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อ
ใหักุศลธรรมเกิด มีความเข้มแข็ง มีความบาก
บ่ันมั่นคงไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่
๕. เป็นผู้มีปัญญา คือประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่อง
พิจารณาเห็นทั้งความเกิดและความดับเป็นอริยะ
ชำแรก กิเลศใหัถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ภิกษุ
ผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เป็นอย่างนี้แล

คมภร์ส รางวัด จากพระโอษฐ ๗ วัดดี พระดี สังคมดี

kalyanamitra.org
ค ุณ ส ม บ ัต ิข อ งว ัด ท ี่เ ห ม าะ แ ก ่ก าร บ ร ร ล ุธ ร ร ม

เม่ือ เราคัด บุค คลท่ีค วรบวชได้แ ล้ว ส่ิง ท่ีพ ระล้ม มา­
สมพุท ธเจ้า ให้ค วามสำคัญ ไม่แ พ้ก ัน ก็ค ือ วัด น้ัน ต้อ งมี
คุณ สมบัต ิข องสิ่ง แวดล้อ มที่เหมาะสมต่อ การบรรลุธ รรม ๕
ประการ โดยพระองค์ท รงกำหนดรายละเอีย ดไว่ในเสนาสน
สูตรว่า
เสนาสนะประกอบด้ว ยองค์ ๕ เป็น อย่า งไร
คือ เสนาสนะในธรรมวินัยนี้
๑. อยู่ไ ม่ไ กลนัก ไม ่ใ กล้น ัก มีท างไปมาสะดวก
กลางวัน ไม่พ ลุก พล่าน กลางคืน มีเสีย งน้อ ย ไม่
อึก ทึก มีเหลือ บ ยุง ลม แดด และสัต ว์เล้ือ ย

คลานกระทบน้อย
๖. เมื่อ ภิก ษุอ ยู่ใ นเสนาสนะนั้น มีจีวร บิณ ฑบาด
เสนาสนะ และติล านปัจ จัย เภสัช ชบริข ารท่ีเกิด
ข้ึนโดยไมฟิดเคืองเลย
๓. ภิก ษุผ ู้เ ถระท้ัง หลาย เป็น พหูส ูต เรียนจบคัม ภีร์
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกาอยู่ในเสนาสนะนั้น
๔. ภิก ษุน ั้น เข้า ไปหาภิก ษุผ ู้เถระเหล่า นั้น ในเวลาที่
สมควรแล้ว จึงสอบถามไต่ถ ามว่า “ พุท ธพจน์น ี้
เป็นอย่างไร เนี้อความแห่งพุทธพจน์นี้เป็นอย่างไร”

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๘ วัดตี พระตี สังคมดี

kalyanamitra.org
๕. ภิกษุผู้เถระเหล่าน้ัน ย่อมเปิดเผยข้อท่ียังไม่
เปิดเผย ทำข้อ ท่ีเข้า ใจยากให้เข้า ใจง่า ย และ
บ รรเท าความ สงสัย ใน ธรรม ท ี่น ่า สงสัย ห ลาย
อย่างแก่ภิกษุน้ัน

จากการศึก ษาคำตรัส ของพระองค์ท ั้ง สองส่ว น จะ


เห็น ได้ว่า พระสูต รนี้ก ล่า วถึง ปัจ จัย ภายใน ดือ คุณ สมบ้ต ิ

ประจำตัว ๕ ประการ ของภิก ษุผ ู้เหมาะแก่ก ารบรรลุธ รรม


และปัจจัย ภายนอก ดือคุณ สมบติของส่ิงแวดล้อมอีก ๕ ประการ
หากในที่ใ ดมีอ งค์ป ระกอบครบทั้ง ๒ ส่ว นนี้ และเมื่อ พระ
ภิก ษุไ ด้อ ยู่ใ นสถานท่ีน ้ี ก็จ ะส่ง ผลให้บ รรลุธ รรมไดในเวลา
ไม่นานนัก

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๙ วัดดี พระดี สังคมดี

kalyanamitra.org
* ตค *

ผู้มีศรัทธา คือ เชื่อ พระปัญ ญาตรัส รู้


ของพระตถาคตว่า แม้เ พราะเหตุน ี้
พระผู้มีพ ระภาคนั้น เป็น พระอรหัน ต์
ตรัส รู้ไ ด้ด ้ว ยพ ระองค์เ องโดยชอบ
เพีย บพร้อ มด้ว ย วิช ชาและจรณะ
เสด็จไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฟิกคน
ที่ค วรฟิก ได้อ ย่า งยอดเยี่ย ม เป็น
ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย

kalyanamitra.org
/

ศรัทธา

ความหมายของศรัท ธาในเสนาสนสูต ร
พระสัมมาดัมพุทธเจ้าตรัสถึงคุณสมบดขอที่๑ของผู้ควร
แก่การสัคเขามาบวชว่า
ผู้ม ีศรัทธาดือเชื่อพระปัญ ญาตรัสรู้ข องพระตถาคต
ว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคนั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้
ได้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพียบพรัอมด้วย วิชชาและจรณะ
เสด็จ ไปดี รู้แ จ้ง โลก เป็น สารถีฟ ิก คนที่ค วรฟิก ได้อ ย่า ง
ยอดเยี่ยม เป็น คาสคาของเทวดาและมนุษ ย์ทั้งหลาย

kalyanamitra.org
ศ ร ัท ธ า ค ือ อะไร?

ในพระไตรปิฎ กมีก ารแสดงความหมายของศรัท ธา


ไว้ห ลายท่ีพ อยกมาเป็น ตัว อย่างโดยสังเขปดัง น้ี
ศรัทธา แปลว่า ความเช่ือ หมายถึง เฉพาะ ศรัท ธาท่ี
เช่ือ ด้ว ยปัญ ญา เช่ือในสิ่งท่ีควรเช่ือ เช่ือ ด้ว ยเหตุผ ล ถ้าเช่ือ
โดยปราศจากปัญ ญา เรียกว่า อธิโมกข์(ความน้อมใจเช่ือ หรือ
เช่ือตามเขา)

ประเภทของศรัทธามี ๔ ประการ คือ


๑. กัมมส้ทธา เชื่อกรรม
๒. วิป ากสัท ธา เช่ือผลของกรรม
๓. กัมมัสสกตาส้ทธา เชื่อ ความที่ส ัต ว์โ ลกมีก รรม
เป็นของๆ ตน
๔. ตถาคตโพธิสัทธา เช่ือการตรัลรู่ของพระพุทธเจ้า

ศรัท ธา ในที่น ี้เราหมายถึง ต ถ าค ต โพ ธิส ัท ธา คือ


ความเชื่อ การตรัส รู้ข องพ ระพ ุท ธเจ้า เช่ือ ว่า พระพุท ธเจ้า
ตรัส รู่ไ ด้จ ริง เช่ือ ว่า ธรรมที่พ ระองค์ต รัส รู้ม ีจ ริง ดีจ ริง
สามารถนำผู้ป ฏิบ ัต ิต ามให้พ ้น จากทุก ข์ ให ้เ ข ้า ถ ึง ส ุข -
ธรรมดาในโลกจนถึงสุขอันยอดเยี่ยม กล่า วคือ เป็น หนทางให้
บรรลุม รรคผลนิพ พานไต้จ ริง

ต้มภึร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒ ศรัทธา

kalyanamitra.org
มีข้อความกล่าวไวํใน กีฎาคีรีสูตร เกี่ย วกับ ความหมาย
ของศรีทธาดังน้ี

กีฎ าคีร ีส ูต ร ๖

“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลา^สภาพน้ีย่อมมีแก่สาวก ผู้ม ศ
ี รีท ีธ า
ผู้หยั่งลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ ด้วยตั้งใจว่า
พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า เป็น พระศาสดา เราเป็น สาวก พระผู้มี
พระภาคเจ้า ย่อ มทรงรู้ เราไม่รู้ คำสอนของพระศาสดา ย่อม
งอกงามมีโ อชาแก่ส าวกผู้ม ีศ รัท ธา ผู้ห ยั่ง ลงในคำสอนของ
พระศาสดาแล้วประพฤติ สภาพนี้ ย่อ มมีแ ก่ส าวกผู้มศ
ี รัท ธาผู้
หย่ัง ลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติด้วยตั้งใจว่า
เน้ือและเลือดในสรีระของเราจงเหือดแห้งไปจะเหลืออยู่แต่หน้ง์
และเอ็นและกระดูกก็ตามที เม่ือเรายังไม่บรรลุถึงอิฐผลที่จะพึง
บรรลุด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ ด้ว ยความเพียรของบุรุษ ด้วย
ความบากย่ัน ของบุรุษแล้ว จักคลายความเพียรนั้น เสีย จักไม่มี

เลย.
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ผลสองอย่า งคือ อ รห ัต ผ ลใน
ปัจ จุบ ัน หรือเมื่อข้นธบุญ จกที่กรรมกิเลสเข้าไปยึดถึอเป็นส่วน
เหลือ ยัง มีอ ยู่ ความเป็นพ ระอนาคามีอ ย่างใดอย่างหนึ่ง อัน
ส าว ก ผ ู้ม ีศ ร ัท ธ า ผู้ห ยั่ง ลงในคำสอนของพระศาสดาแล้ว
ประพฤติพ ึง หวัง ได้”
๒ ม.ม. มก. ๒ 0 / ๔๓ 0, มจ ๑๓/๒๑๓

คมภิร้สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓ ศร้ทธา

kalyanamitra.org
พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้าได้ต รัส พระพุทธพจน์นแล้ว ภิก ษุ
เหล่า นั้น ยิน ดี ช่ืน ชมพระภาษิต ของพระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า
ดังนี้แล”

ต ถ าค ต โพ ธ ิส ัท ธ า เป็น เหตุใ ห้เ กิด ความม่ัน ใจใน


พระพุท ธเจ้า ม่ัน ใจในธรรมที่พ ระองค์ส อนและปฏิบ ้ต ตาม
ด้วยความมั่นใจ ปราศจากความลัง เลสงสัย
ทำให้ใต้รับผลจริงมีความเชื่อม่ันเพราะปราศจากสงสัย
ในการตรัส รู้ข องพระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า ที่เราสวดสรรเสริญ
พระพุท ธคุณ อิติปิใส ภควา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ฯ .......

จากพระสูตรดังกล่าวจะเห็นได้ว่านัยสำด้ปี)ของ ตถาคต
โพธิส ัท ธา คือ ความศรัท ธาท่ีส ิ้น สงสัย ในการตรัส รู้ข องพระ-
สัม มาส้ม พุท ธเจ้า เพราะในเบื้องด้นได้เข้าไปศึกษาด้นคว้าและ
พิส ูจ น์ด ้ว ยการปฏิบ ัต ิจ ริง แล้ว จนกระทั่ง เกิด ความเชื่อ มั่น
ในคำสอนของพระองค์ จึง ทุ่ม ชีว ิต เป็น เดิม พัน ทำภาวนา
เพ่ือการสิ้นอาสวะกิเลสตุจเดียวกับพระองค์
น้ันหมายความว่าการเกิดขึ้นของตถาคตโพธิศรัทธานั้น
มี ๒ ระดับ คือ ศรัท ธาที่เกิด ขึ้น หลัง จากการฟัง ธรรม กับ
ศรทธาที่เกิดขึ้นหลังจากบรรลุธรรม

ศรัท ธาที่ไ ม่ห วั่น ไหว


มีเร่ืองราวตอนหน่ึงที่กล่าวถงตถาคตโพธิส์ทธาท่ีเกิดข้ึน
ภายหลังจากบรรลุธรรมเป็น พระโสดาบัน แล้วในขุททกนิกาย

ดัมภีร์สรัางวํเดจากพระโอษฐ์ ๑๔ ศรัทธา

kalyanamitra.org
วิม านวัตถุ เร่ือง สิริมาวิมาน ดัง น้ี

สิร ิม าวิม าน'"

เทพธิดาสิริมา กล่าว

“ ดิฉ ัน เป็น ปริจ าริก านางบำเรอของพระเจ้า พิม พิส าร


ผู้ท รงคุณ อัน ประเสริฐ ทรงมีสิริ ในมหานคร ซ่ึง สถาปนาไว้
ในระหว่า งภูผ า ดิฉ ัน มีค วามชำนาญด้ว ยศิล ปะการฟ้อ นรำ
ขับ ร้อ งอย่า งเยี่ย ม คนทั้ง หลายในกรุง ราชคฤห์ เขารู้จ ัก
ดิฉันในนามว่า “ สิริมา” เจ้าข้า
พระพุท ธเจ้า ทรงเป็น นิส ภะยอดผู้อ งอาจในจำพวกฤษี
ผู้แสวงหาคุณอันประเสํริฐผู้แนะนำสัตว็โลกพิเศษได้ทรงแสดง
ทุก ขสัจ สมุท ัย สัจ ทุก ขนิโ รธสัจ ความดับ ทุก ข์ อันไม่มีปัจจัย
ปรุงแต่ง และ มรรคสัจ ท่ีไม่คดทางตรง เป็นทางเกษมแก่ดิฉัน
ดิฉัน คร้ันฟังอมตบททางไม่ตาย ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง ซ่ึง
เป็นคำสอนของพระตถาคตผู้ป ระเสริฐ แล้ว จึงเป็นผู้สำรวม
อย่า งเคร่ง ครัด ใน ส ึล ทั้ง ห ลาย ดำรงมั่น อยู่ใ นธ รรม ที่
พระพุท ธเจ้าผู้เลิศ กว่า นรชนทรงแสดงไว้แ ล้ว ครั้นดิฉันรู้จัก
บทอัน ปราศจากกิเ ลสดุจ ธุล ี ซ่ึง ปัจ จัย ปรุง แต่ง มิไ ด้ ที่พ ระ
ตถาคตผู้ประเส่ริฐทรงแสดงไว้น้ัน

๓ ชุ.วิ. มก.๔๘/๑๒๕

คมภึร้สร้างวัดจากพระโอษฐ ๑๕ ศรัทธา

kalyanamitra.org
ดิฉ ัน จึงไ ด ้ส ัม ผ ัส ส ม าธ ิอ ัน เก ิด จ าก ค ว าม ส งบ ใน
อัต ภาพนั้น เอง อัน นั้น เป็น ความแน่น อนในมรรคผลอัน
เย่ีย มสำหรับ ดิฉ ัน ครั้นได้อมตธรรมอันประเสริฐ อัน ทำให้
แยกจากปุถุชนแล้ว จึง เช่ือ ม่ัน โดยส่ว นเดีย วในพระรัต นตรัย
บรรลุค ุณ พ ิเ ศษ เพราะตรัส รู้ ห มดความ สงสัย จึงเป็น ผู้ท ่ี
ชนเป็นอันมากบูชาแดัวืจึงเสวยความยินดีระเริงเล่นไม่น้อยเลย
โดยประการดัง กล่า วมาน้ี ดิฉ ัน จึงเป็น เทพธิด าผู้เห็น นิพ พาน
เป็น สาวิก าของพระตถาคตผู้ป ระเสริฐ เป็น ผู้ไ ด้เ ห็น ธรรม
ตามความเป็น จริง เป็นผู้ต้ังอยู่ในผลข้ันแรกคือเป็นโสดาบัน
ทุคติเป็นอันไม่มีอีกละ”

ดังความตอนหน่ึงในกีฎาสิริสูตรดังน้ี

กีฎ าคิร ิส ูต ร ๙

“ ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย เราย่อ มกล่า วการต้ัง อยู่ใ น


อรหัต ผล ด้ว ยการไปคร้ัง แรกเท่า น้ัน หามิไ ด้ แต่ก ารตั้ง อยู่
ในอรหัต ผลน้ัน ย่อ มมีไ ด้ด ้ว ยการศึก ษาโดยลำดับ ด้ว ยการ
ทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบติโดยลำดับ
ดูก่อน ภิก ษุท ั้ง หลาย ก็การตั้งอยู่ในอรหัตผลย่อมมีได้
ด้ว ยการศึก ษาโดยลำดับ ด้ว ยการทำโดยลำดับ ด้ว ยความ
ปฏิบ้ติโดยลำดับอย่างไร

๙ ม. ม. มจ, ๑๓/ ๒๑๒, มก. ๒๐/ ๔๒๘

ดัมภึรัสรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๖ ศรัทธา

kalyanamitra.org
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้งหลาย กุลบุตรในธรรมวินัยนี้ เกิด ศรัท ธา
แล้ว ย่อ มเข้า ไปใกล้ เม่ือเข้า ไปใกล้ย ่อ มน่ัง ใกล้ เม่ือน ั่ง ใก ล ้
ย่อมเงี่ยโสตลง เม่ือเงี่ย โสตลงแล้วย่อมฟังธรรม ครั้นฟัง ธรรม
่ รง
ย่อม ทรงธรรมไว้ ย่อมพิจ ารณ าเน้ือ ความแห่ง ธรรมทีท
ไว้แล้ว เมื่อพิจารณา เนื้อความอยู่ ธรรมทั้ง หลายย่อ มทน)ใต้
ซ่ีง ดวามพิน ิจ เม่ือธรรมทนความพินิจได้อยู่ ฉัน ทะย่อ มเกิด
เม่ือ เกิด ฉัน ทะแล้ว ย ่อ ม อ ุต ส าห ะ คร้ัน อุต สาหะแล้ว ย่อ ม
ไตร่ต รอง คร้ันไตร่ตรองแล้วย่อมต้ัง ดวามเพีย ร เม่ือมีตนส่ง
ไป ย่อ มทำให้แ จ้ง ชัด ซ ึ่ง บรมสัจ จะด้ว ยกาย และย่อ มแทง
ตลอดเห็น แจ้ง บรมสัจ จะน้ัน ด้ว ยปัญ ญา
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ศรัท ธาก็ด ี การเข้า ไปใกล้ก ็ด ี
การน่ังใกล้ก ็ด ี การเงี่ย โสตลงก็ด ี การฟังธรรมก็ด ี การทรง
จำธรรมก็ดี การพิจ ารณาเนื้อ ความก็ด ี ธรรมอันได้ซ ึ่งความ
พิน ิจ ก็ด ี ฉัน ทะก็ด ี อุต สาหะก็ด ี การไตร่ต รองก็ด ี การตั้ง
ความเพียรก็ดี นั้นๆ (ถ้า)ไม่ได้มีแล้ว เธอทั้ง หลายย่อ มเป็น ผู้
ปฏิบ ัต ิพ ลาด ย่อ มเป็น ผู้ป ฏิบ ัต ิผ ิด ดูก ่อ นภิก ษ ุท ั้ง หลาย
โมฆบุรุษเหล่าน้ีได้หลีกไปจากธรรมวินัยนี้ไกลเพียงไร.”
ความ ศ รัท ธา คือ เชื่อ มั่น ว่า พ ระสัม ม าสัม พ ุท ธเจ้า
ตรัส รู้จ ริง เราเช่ือว่า คำสอนท่ีท่านสอนเป็นระบบ มีเหตุมีผล
เป็น ขั้น ตอน ถ้า ไม่ใ ช่ผ ู้ท ี่ต รัส รู้จ ริง ท่า นจะมาวางระบบ
ระเบีย บคำสอนอย่า งน้ืใ ม่ไ ด้ เมื่อ เราได้ศ ึก ษาธรรมทั้งปริย ้ต ิ
และปฏิบ ัต ิม ากขึ้น จะพบว่า มีห ลัก ธรรมที่แ สดงอย่า งเป็น

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๗ ศรัทธา

kalyanamitra.org
ขั้น เป็น ตอน ลุ่ม ลึก ไปตามลำดับ ไม่มีการกระโดดข้ามไปมา
จากข้อ ปฏิบ ัต ิท ี่ง่ายไปหายาก หรือจาก ข้อ ปฏิบ ัต ิเบ้ือ งด้น ไปสู่
ข้อ ปฏิบ ัต ิเ บื้อ งปลายอย่า งเป็น ระเบีย บแบบแผน ก็ท ำให้
เช่ือม่ันเพราะหมดสงสัย

มีพระสูตรกล่าวไว้อีกแห่งในนคโรปมสูตรดังน้ี

นคโรปมสูตร"’"’

“ อริยสาวกเป็นผู้มศ
ี รัทธา ดือ เช่ือปัญญาเคร่ืองตรัสรู้
ของตถาคตว่า
‘แม้เพราะเหตุน้ีพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯลฯ เป็น
พระพุท ธเจ้า เป็น พระผู้ม ีพ ระภาค’ เปรีย บเหมือ นปัจ จัน ตน
ครของพระราชา มีเสาระเนีย ดขุด หลุม ฝัง ลึก ไว้อ ย่า งดี ไม่
หว่ันไหว ไม่ค ลอนแคลน เพ่ือ คุ้ม กัน ภัย ภายในและป้อ งกัน
อันตรายภายนอก
ภิก ษุท ้ัง หลาย อริยสาวกเป็น ผู้มีศ รัท ธาเหมือ นเสา
ระเนีย ด ย่อ มละอกุศ ล เจริญ กุศล ละธรรมที่ม ีโ ทษ
เจริญ ธรรมที่ไม่มีโทษบริหารตนใหับริสุทธ”

๕ องฺ. สต.ตก. มจ.๒๓ / ๑๓๙, มก. ๓๗/ ๒๒๕

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ ๑๗ ศรัทธา

kalyanamitra.org
ลัก ษณ ะภิก ษุผ ู้ม ีศ รัท ธา

มีพระสูตรกล่าวไวในสุภูติสูตรดังน้ี

สุภ ูต ิส ูต ร ๖

พระสูต รน้ีเป็น ธรรมเทศนาแก่ พระสุภ ูด ิก ับ ภิก ษุผ ู้ม ี


ศรัท ธา ท่ีไ ปเข้า เฝืา พ ระผู้ม ีพ ระภาคถึง ที่ป ระทับ แล้ว
พระองคใด้ถามช่ือของภิกษุรปน้ัน
ท่า นพระสุภ ูด ิไ ด้ก ราบทูล ว่า “ ภิก ษุน ี้ม ีศ รัท ธา เป็น
บุต รของอุบ าสกผู้ม ีศ รัท ธา ออกจากเรือ นบวชเป็น บรรพชิต
ด้วยศรัทธา พระพุท ธเจ้าข้า” แล้วได้ถามต่อไปว่า
ภิก ษุน ี้ มีล ัก ษณะของผู้ม ีศ รัท ธาหรือ ไม่ พระองค็ได้
ตรัสลักษณะภิกษุผู้มีศร้ทธาไว้ว่า
๑. ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็น ผู้ม ีส ืล สำรวมด้ว ยการ
สังวรในพระปาติโมกข์ เพีย บพร้อ มด้ว ยอาจาระ
และโคจร มีป กติเ ห็น ภัย ในโทษแม้เ พ ีย งเล็ก
น้อ ยสมาทานศึก ษาอยู่ใ นสิก ขาบททั้ง หลาย แม้
การที่ ภิก ษุเป็น ผู้ม ีศ ีล ฯลฯ สมาทานศึก ษาอยู่
ใน ส ิก ข าบ ท ท ั้ง ห ล าย น ี้ ก ็เ ป ็น ลัก ษ ณ ะแห ่ง
ศรัทธาของผู้มีศร้ทธา

๖ อง. เอกาทสก. มจ. ๒๔/ ๔๒๐-๔๒๔, มก. ๓๘/ ๕๔๔

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๙ ศรัทธา

kalyanamitra.org
๒. ภิก ษุ เป็น พหูส ูต ทรงสุตะ ส่ังสมสุตะ เป็นผู้ฟังมาก
ซ่ึง ธรรมท้ัง หลายท่ีม ีค วามงามในเบ้ือ งต้น มี
ค วาม งาม ท ่า ม ก ลาง ม ีค วาม งาม ใน ท ี่ส ุด
ประกาศพรหมจรรย์พร้อมท้ังอรรถ และพยัญชนะ
บริส ุท ธ้ีบ ริบ ูร ณ์ค รบถ้ว น ทรงจำไร้ใ ต้ คล่อ ง
ปากขึ้นใจ แทงตลอดดีด ้ว ยหิฎ ฐิ แม้ก ารท่ีภ ิก ษุ
เป็น พหูส ูต ฯลฯ แทงตลอดด้ว ยดีแ ล้ว ด้ว ยทิฏ ฐิน ้ี

ก็เป็นลักษณะแห่งศร้ท่ธาของผู้มืศร้ทธา
๓. ภิก ษุเป็น ผู้ม ีม ิต รดี มีสหายดี มีเพ่ือนดี แม้การท่ี
ภิก ษุเป็น ผู้ม ีม ิต รดี มีส หายดี มีเพ่ือ นดีน ้ีก ็เป็น
ลักษณะแห่งศร้ท่ธาของผู้มีศร้ทธา
๔. ภิก ษุเป็น ผ้วู ่า ง่า ย ประกอบด้วยธรรมเป็นเคร่ือง
ทำให้เป็น ผู้ว ่า ง่า ยอดทน รับ ฟัง คำพรื่า สอนโดย
เคารพ...
๕. ภิกษุเป็น ผูข
้ ยัน ไม่เกียจคร้านในการงานที่จะต้อง
ช ่ว ย ก ัน ท ำ ท ั้ง ง า น ส ูง แ ล ะ ง า น ต า ข อ ง เพ ื่อ น
พรหมจารีท ั้ง หลาย ประกอบด้ว ยปัญ ญ าเป็น
เครื่อ งพ ิจ ารณ าอัน เป็น อุบ ายในงานที่จ ะต้อ ง
ช่วยกัน ทำนั้น สามารถทำได้ สามารถจัดได้.....

๖. ภิก ษุเป็น ผูใ้ คร่ธ รรม เป็นผู้ฟังและผู้แสดงธรรม


อัน เป็น ที่พ อใจ ม ีป ราโม ท ย ์( ค วาม บ ัน เท ิง
ใจ)อย่างย่ิงในอภิธรรมในอภิวิน ัย...

คัมภีร์สร้างวัดจากพร!โอษฐ์ ๒0 ศรัทธา

kalyanamitra.org
๗. ้ รารภความเพีย รเพื่อละอกุศลธรรม
ภิก ษุเป็น ผูป
เพ่ือ ให้ก ุศ ลธรรมเกิด มีค วามเข้ม แข็ง มีค วาม
บากบั่นมั่นคงไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย...
๘. ภิกษุเป็นผูไ ด้ฌ าน๔อันมีในจิตย่ิงซ่ึงเป็นเคร่ืองอยู่
เป็น สุข ในปัจ จุบ ัน ตามความปรารภ นา ไดโดย
ไม่ยาก ไดโดยไม่ลำบาก...
๙. ภิก ษุร ะลึก ชาติก ่อ นได้ห ลายชาติ ๑ ชาติบ ้าง ๒
ชาติบ ้าง ๓ ชาติบ้าง ๔ ชาติบ ้าง ๕ ชาติบ ้าง ๑๐
ชาติบ ้าง ๒๐ ชาติบ้าง ๓๐ ชาติบ ้าง ๔๐ ชาติบ ้าง
๕๐ ชาติบ ้า ง ๑๐๐ ชาติบ ้า ง ๑,๐๐๐ ชาติบ ้า ง
๑๐๐,๐๐๐ ชาติบ ้า ง ตลอดลัง วัฎ ฏิก ัป เป็น อัน
มากบ้า ง ตลอดวิว ัฏ ฎกัป เป็น อัน มากบ้า ง... ว่า
ในภพโน้น เรามืช ื่ออย่างนั้น มีตระกูล มีวรรณะ
มีอาหาร เสวยสุข ทุก ข์ และมีอ ายุอ ย่างน้ัน ๆ จุติ
จากภพนั้นก็ไปเกิดในภพโน้น...
๑๐. ภิก ษุเ ห็น หมู่ส ัต ว์ก ำลัง จุต (ิ เคลื่อ น) กำลัง เกิด ทั้ง
ช้ัน ตาและชั้น สูง งามและไม่งาม เกิด ดีแ ละเกิด
ไม่ต ็ด ้ว ยตาทิพ ย์อ ัน บริส ุท ธึ้เหนือ มนุษ ย์ ร้ชัดถึง
ห มู่ส ัต ว์ผ ู้เ ป ็น ไป ตาม กรรม ว่า ’ หม,ู่ ,สัต ว์ท ่ี

ประกอบกายทุจ ริต วจีท ุจ ริต และ มโนทุจ ริต


กล่า วร้า ยพระอริย ะ มีค วามเห็น ผิด และชัก ชวน
ผู้อ ื่น ให้ท ำตามความเห็น ผิด พวกเขาหลัง จาก

คัมภีรสร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑ ศร้ทธา

kalyanamitra.org
ตายแล้ว จะไปเกิด ในอบาย ทุคติ วิน ิบ าต นรก
แต่ห มู่ส ัต ว์ท ่ีป ระกอบกายสุจ ริต วจีส ุจ ริต และ
มโนสุจริต ไม่กล่าวร้ายพระอริยะ มีความเห็นชอบ
และชัก ชวนผู้อ ื่น ให้ท ำตามความเห็น ชอบ พวก
เขาหลังจากตายแล้วจะไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์.....
๑๑. ภิกษุทำให้แ จ้ง เจโตวิม ุต ติป ัญ ญาวิม ุต ติ อันไม่มี
อาสวะ เพราะอาสวะส้ิน ไป ด้ว ยปัญ ญาอัน ย่ิง
เองเข้า ถึง อยู่ใ นปัจ จุบ ัน แม้ก ารท่ีภ ิก ษุท ำให้
แจ้ง เจโตวิม ุต ติ ปัญ ญาวิม ุต ติอ ัน ไม่ม ีอ าสวะ
เพราะอาสวะสิ้นไป ฯลฯ เข้า ถึง อยู่ใ นปัจ จุบ ัน น้ี
ก็เป็น ลักษณะ แห่งศรัทธาของผู้'มีศรัทธา

ว ิธ ีส ัง เก ต ผ ู้ม ีศ ร ัท ธ าต ่อ พ ุท ธ บ ุต ร

ลองศึกษาเร่ืองราวในดิฐานสูตรดังน้ี

ติฐ านสูต ร ๗

“ ภิก ษุท ั้ง หลาย บุคคลผู้'มีศรัทธาเลื่อมใสพึงทราบได้

โดยฐานะ ๓ ประการ อะไรบัาง คือ


๑. เป็นผู้'ปรารถนาที่จะเห็นท่านผู้'มีศีล
๒. เป็นผู้'ปรารถนาที่จะฟังล้ทธรรม


องฺ. ดโ!, มจ. ๒๐/๒๐๔, มก. ๓๔/๑๙๒

คัมภีร์สร้างวิดจากพระะโอษฐ์ ๒๒ ศรัทธา

kalyanamitra.org
๓. เป็น ผู้ม ีใ จปราศจากความตร ะหนี่อ ัน เป็น
มลทิน มีจ าคะอัน สละแล้ว มีฝ ่า มือ ชุ่ม
ยิน ดีใ นการสละ ควรแก่ก ารขอ ยิน ดีใ น
การแจกทาน อยู่ครองเรือน

ภิก ษุท ้ัง หลาย บุค คลผู้ม ีศ รัท ธาเล่ือ มใสพึง ทราบ ได้
โดยฐานะ ๓ ประการนี้แล”

วิธ ีป ลูก ฝัง ศรัท ธา


ศรัทธาเป็นสิ่งที่คู่มากับพระพุทธศาสนามาช้านานเนื่อง
เพราะเม่ือ คนเรามีศ รัท ธาจึง อยากเช้า ไปหาพระ เมื่อ พบ
พระแล้ว ก็อ ยากฟัง ธรรม เม่ือได้ฟังธรรมแล้ว จิต ก็เป็น กุศ ล
ปราศจากความตระห น่ี เกิด ความอยากส่ัง สมบุญ กุศ ล ด้ว ย
การถวายทาน รัก ษาศีล เจริญ ภาวนา และมีก ำลังใจในการ
สร้างความดีให้ยิ่งๆขึ้น ไปด้วย แต่ส่ิงเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้
เลยถ้าขาดด้นแบบท่ีดีอันเป็นท่ีต้ังแห่งศรัทธาเลื่อมใส

วิธีป ลูกฝังศรัทธาในเบื้องด้น มีอย่างน้อย ๕ ประการ


๑. พระสงฆ์ทำหน้าที่เป็นด้นแบบที่ดีดำรงตนให้
น่าไหว้ด้วยการเคี่ยวเข็ญฟิกฝนอบรมตนเองตาม
พระธรรมวิน ัย อย่า งเคร่ง ครัด เพ่ือ มุ่ง ทำพระ
นิพพานให้แจ้ง

ดัมภึร์สว้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๓ ศรัทธา

kalyanamitra.org
๖. พระสงฆ์ท ำหน้า ท่ีด ูแ ลวัด ให้เป็น บุญ สถานท่ี
เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติธรรม คือ มีความ
สะอาด ความสว่าง ความสงบ ความสันโดษ
และความสง่างาม
๓. พระสงฆ์ท ำหน้า ท่ีอ บรมคนในวัด ให้เป็น ดัน
แบบชาวพุทธ คือเป็นผู้มีศีล ๕ มีกิริยามารยาท
เรียบร้อย พูดจาไพเราะ วางตัวได้เหมาะสม
กาลเทศะ สมควรแก่การที่เป็นลูกศิษย์ก้นกุฏิ
ของพระอาจารย็ในวัดน้ัน
๔. พ ระสงฆ ์ท ำห น ้า ท ่ีเ ป ็น กัล ยาณ ม ิต รให ้แ ก่
ญาติโยม ด้ว ยการปิด นรก เปิด สวรรค์ เปิด
ทางพระนิพพาน เพราะเมื่อญาติโยมได้ฟังธรรม
แล้ว ก็ต้องเป็นผู้นำในการปฏิบัติด้วย เช่นทำทาน
รักษาศีล เจริญภาวนา เป็นต้น
๕. พระสงฆ์ทำหน้าท่ีสกวัฒนธรรมชาวพุทธให้แก่
ญาติโยม เพื่อปลูกฝ็งความเป็นเจ้าของวัด เจ้าของ
พระพุท ธศาสนา สร้า งความสามัค คีใ นการ
ทำความดี และเป็น ต้น บุญ ด้น แบบให้แ ก่ลูก
หลานในการปลูกฝังความรักพระพุท ธศาสนา
จะได ้ช ่ว ยก้น เป ็น กำดัง สืบ ท อดรัก ษ าอายุ
พระพุทธศาสนาให้ยีนยาวตราบนานเท่านาน

คมภึร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๔ ศรัทธา

kalyanamitra.org
ยกตัว อย่า งเช่น หลัง จากฟัง เทศน์แ ล้ว ต้อ งมี
ประเพณีช่วยการจัดเก็บเช็ดถูเสื่อ ล้างห้องนํ้า ปลูกต้นไม้
กวาดวัด ทาสีรั้ววัด หรือกิจกรรมอ่ืนๆ ในการพัฒนาวัด แต่
ต้อ งพยายามควบคุม เวลาอย่า ให้น านเกิน ไป อาจมีก าร
สร้างบรรยากาศด้วยการเล่าอานิสงส์การทำความดีไปด้วย
เพื่อให้ญาติโยมปลาบปลื้มปีติในบุญ เมื่อเขาเหล่านั้นร่วม
ทำกิจกรรมที่วัดจัดขึ้นปอยจนคุ้น มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ
วัด ก็จะมีน ิสัยดีๆ มีนิสัยรับผิดชอบต่อส่วนรวม ไม่ปล่อย
ปละละเลยช่วยกันเป็นหูเป็นตาช่วยดูแลรักษาวัดได้เป็นอย่างดี
โดยทั้งหมดนี้มีวัตถุประสงค์คือต้องการปลูกฝังความรักวัด
และความเคารพในธรรม
จากแนวทางวิธีปลูกฝังศรัทธาในเบ้ืองต้น ๕ ประการน้ี
จะเห็น ได้ว ่า หากวัด ขาดพระภิก ษุต ้น แบบศีล ธรรมที่เป็น
แกนนำในการทำความดีของสังคมเสียแล้ว ศรัทธาของชาว
พุทธจึงยากจะเกิดข้ึนจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนรุ่นต่อไป จึง
เป็นเหจุให้พระศาสนาถดถอยลงไป

สรุป
เพราะเหตุนี้ พระสัมมาลัมพุทธเจ้าจึงทรงกำหนดให้
ตัดเลือกบุคคลที่มีศรัทธาเข้ามาบวชเป็นคุณ สมบัติข้อแรก
เพราะการท่ีพระภิกษุนั้นจะเป็นที่ตั้งแห่งศร้ทธาของญาติโยมได้

คัมภีร์สร้างวัดจากพระ:โอษฐ์ ๒๔? ศรัทธา

kalyanamitra.org
ก็ต ้อ งมีศ รัท ธาในพระสัม มาสัม พุท ธเจ้า มาก่อ น เมื่อ บวช
แล้วจึงจะมีความรักในการฟิกตนในเบื้องต้นนี้

๑. ผู้อ อกบวชต้อ งเห็น ภาพการสร้า งบารมีข องพระ


สัมมาลัมพุทธเจ้าและการเผยแผ่พ ระพุทธศาสนา
ต้ัง แ ต่เ ร่ิม ต้น จน กระท ั่ง เข้า สู่พ ระน ิพ พ าน ได้
อย่า งชัด เจน เพ ื่อ ให้เ ป๋า หมายการบวชของ
ตนเองเกิด ความชัด เจนดุจ เดีย วพระพุท ธองค์
ในวันออกบวช
๒. ผู้อ อกบวชต้อ งรัก การฟิก ฝนอบรมตนเอง เพ่ือ
ให้เป็น พระแท้ท ่ีบ รรลุธ รรม และพระแห้ท ่ีเป็น
นัก เผยแผ่ จึง จะเป็น ท่ีพ ่ึง ในการขจัด ทุก ข์ให้แ ก่
ตนเองและลังคมได้
๓) ผู้ออกบวชต้องหมั่นเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์อาจารย์
เพ่ือ ขอโอวาทในการฟิก ฝนอบรมตนเอง และ
เพ ่ือ ใ ห ้ท ่า น เด ือ น ส ด ีห ร ือ ใ ห ้ข ้อ ค ิด ท ่ีเ ป ็น
ประโยชน์ต ่อ การประพฤติพ รหมจรรย์ใ ห้ต ลอด
รอดฝัง
๔) ผู้ออกบวชต้องตระหนักว่า พระสัมมาดัมพุทธเจ้า
ทรงเข้ย มไปด้ว ยพระกรุณ าธิค ุณ ดือ คิด จะรื้อ
สัต ว์ขนสัต ว์ใปพระนิพ พานให้ห มด พระองค์จึง
ทรงทำงานเป็น ทีม การที่จะเข้าใจพระพุทธคุณ ได้

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๖ ศรัทธา

kalyanamitra.org
ก็ต ้อ งฟิก รับ ผิด ชอบหมู่ค ณ ะและพระพุท ธ
ศาสนาด้วยการทำงานเป็นทีม

เมื่อใดก็ตามที่วัดสามารถฟิกอบรมผู้ออกบวชและผู้
เตรีย มตัว ออกบวชให้ม ีค วามเข้าใจในการออกบวชเช่น นี้
ศรัทธาย่อมเกิดข้ึนในบุคคลนั้น การทุ่มชีวิตทำภาวนาเพื่อ
การกำจัดอาสวะกิเลสให้สิ้นไปจึงจะเกิดข้ึนตามมา วัดแห่ง
นั้นจึงจะได้พระภิกษุผู้เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาของญาติโยมได้จริง
เป็นอายุพระพุทธศาสนาได้จริง เป็นที่พึ่งแห่งการขจัดทุกข์
และผู้น ำการสร้า งความดีใ หัแ ก่ส ัง คมได้จ ริง เพราะผู้
ออกบวชท่านนั้น เป็นผู้มืตถาคตโพธิศรัทธาในพระสัมมา
ลัมพุทธเจ้าอย่างม่ันคงดีแล้ว จึงยืนหยัดทำพระนิพพานให้
แจ้งท่ามกลางกระแสกิเลสของโลกโดยไม่หว่ันไหว อีกท้ัง
ยังนำพาหมู่ช นทวนกระแสกิเลสมู่งพระนิพ พานตามรอย
บาทของพระสัมมาส้มพุทธเจ้าไปพร้อมกับท่านได้อีกด้วย

ดัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๗ ศรัทธา

kalyanamitra.org
ผู้ม ีอ าพาธน้อ ย คือ ผู้ม ีโ รคเบาบาง
ประกอบด้ว ย ไฟธาตุส ำหรับ ย่อ ย
อาหารสมาเสมอ ไม่เย็นจัด ไม่ร้อนจัด
เป็นปานกลาง ควรแก่การบำเพ็ญเพียร

kalyanamitra.org
บทท

*------^ ๙ ------*

มีอาพาธน้อย

ค ว าม ห ม า ย ข อ ง ผ ู้ม ีอ า พ า ธ น ้อ ย ใ น เส น า ส น ส ูต ร

พระสัมมาส้มพุทธเจ้า ได้ตรัสถึงคุณ สมปติข้อที่ ๒ ของ


พระภิกษุผู้เหมาะแก่การบรรลุธรรมไร้ในเสนาสนสูตรว่า

ผ ู้ม ีอ าพ าธ น ้อ ย คือ ผู้'มีโรคเบาบาง ประกอบด้ว ย


ไฟธาตุส ำหรับ ย่อ ยอาหารสมาเสมอ ไม่เย็น จัด ไม่ร ้อ นจัด
เป็น ปานกลาง ควรแก่การ บำเพ็ญ เพีย ร

kalyanamitra.org
ลักษณะผู้มีอาพาธน้อยเป็นอย่างไร
คนท่ีม ีอ าพาธน้อ ย หมายถึง คนที่ม ีส ุข ภาพแข็งแรง
ไม ่เ จ็บ ป ่ว ยบ ่อ ย มีร ะบบย่อ ยอาหารดี ระบบ ขับ ถ่า ยดี
เป็น คนมีส ุข ภาพดี สามารถน่ังปฏิบ ัติธรรมได้สะดวก ได้ต่อ
เน่ืองเป็นระยะเวลานานทำใพ้มีโอกาสต่อการบรรลุธรรมได้ง่าย
สามารถสรุปได้ ๓ ประการ ดังนี้ดือ
ต. คนท่ีม ีอ าพาธน้อ ย เพราะมีค วามรู้ เป็น คน
ช่า งสัง เกตรู้จ ัก ดูแ ลรัก ษาตัว เองเป็น เพราะได้
รับ การศึก ษารับ ทราบข้อ มูล การดูแ ลสุข ภาพ
เป็น อย่า งดี หรือ ได้ร ับ การปลูก ฝัง อย่า งดีม า
จากครอบครัว
๖. มีอ าพาธน้อ ย เพราะรู้จ ัก ประมาณในกา ร
บริโภค สาเหตุของโรคสิ่วนใหญ่มาจากอาหารที่
เราบริโภคเข้าไป หรือที่เราเคยได้ยินคำว่า “ '/ 0 บ

ลโ6 พเา31 ^ 0 บ 031.” (ส่ิง ท่ีค ุณ เป็น เกิด จากส่ิง


ท่ีคุณกิน)
๓. มีอ าพ าธน ้อ ย เพราะไม่ม ีว ิบ ากกรรมเก่า
เน่ืองจากคนเรายังอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรม ตราบ
ใดที่ย ัง ไม่ห มดกิเลส สิ่งที่ต ้องระวังดือต้องไม่ไป
ประกอบกรรมให ม่ซ ่ึง จะส่ง ผลเป็น วิบ ากในภาย
ภาคหน้า

คัม ภร์ส ร้างวัด จากพระโอษฐ ๓๐ มีอ าพาธนอย

kalyanamitra.org
ดูแลตนเองได้เพราะสังเกตตนเองเป็น

พระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ทรงสอนให้ร ู้จ ัก การสัง เกต


สุขภาพของตนเองไว!,นหลายพระสูตรดังน้ี

๑. พระองค์ท รงสอนให้ร ู้จ ัก สมุฏ ฐานของโรค

คิร ิม านัน ทสูต ร ๙

“ คือ ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีไ ปสู่ป ่า ก็ด ี ไปสู่โคนไม้ก ็ด ี


ไปสู่เรือนว่างก็ดี พิจารณาเห็นว่า ‘กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก
เพราะฉะนั้น อาพาธต่า ง ๆจึง เกิด ขึ้น ในกายนี้ค ือ โรคตาโรค
หูโรคจมูกโรคลิ้นโรคกายโรคศีรษะโรคที่ใบหูโรคปากโรคฟัน
โรคไอ โรคหืด โรคไข้หวัด โรคไข้พิษ โรคไข้เชื่อมชึม โรคท้อง
โรคลมสลบ โรคลงแดงโรคจุก เสียดโรคลงรากโรคเรื้อนโรคฟิ
โรคกลาก โรคมองคล่อ โรคลมบ้าหมู โรคหืดเปือย โรคหืดด้าน
โรคคุดทะราด โรคหูด โรคละอองบวม โรคอาเจียนเป็น เลือ ด
โรคดีโรคเบาหวานโรคเริม โรคพุพองโรคริดสีดวง อาพาธมีดี
เป็น สมุฏ ฐาน อาพาธมีเสลดเป็น สมุฏ ฐาน อาพาธมีล มเป็น
สมุฏฐาน อาพาธมีใข้สันนิบาตเป็นสมุฏฐาน อาพาธท่เี กิดแต่
ฤดูแปรปรวนอาพาธที่เกิดแต่การบริหารท่ีไม่สม้ัาเสมอ อาพาธ
ท่ีเ กิด แต่ค วามเพีย รเกิน กำลัง อาพาธที่เกิด แต่ว ิบ ากกรรม

๘ องฺ. ทสก. มจ. ๒ ๔ / ๑๒๙, มก. ๓๘/ ๑๙๒

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษร์ ๓๑ มอาพาธนอย

kalyanamitra.org
ความหนาว ความร้อ น ความหิว ความกระหาย ปวด
อุจ จาระปวดปัส สาวะ’ เป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษ
ในกายนี้อยู่ อย่า งนี้

นี้เรียกว่า อาทีนวสัญญา”

สัง เกตได้ว ่า พระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า สอนให้ภ ิก ษุ หมั่น


พิจ ารณ าสัง เกตร่า งกายตัว เองว่า มีท ุก ข์ม าก มีโ ทษมาก
เม่ือจะไปหาท่ีปฏิบัติธรรมในป่า ตามที่ต ่า งๆ ต้องระมัดระวัง
ดูแ ลสุข ภาพตัว เองใหัด ี เพราะการเจ็บ ป่วยนั้น เกิด โรคต่าง ๆ
ได้มากมาย และมีสาเหตุเบ๋ีองด้น(สมุฏฐาน)ของโรคต่าง ๆ กัน
รวมทั้ง ทุกข์ประจำวัน คือ ความหนาว ความร้อน ความหิว
ความกระหาย การขับถ่ายหนัก, เบา

๖. พ ระองค์ท รงอนุญ าดการเดิน จงกรมและ


เรือนไฟ

มีเหตุก ารณ์ต อนหน่ึง กล่า วถึง หมอชีว กโกมารภัจ ผู้มี


ความรู้ท างการแพ ทย์ส มัย พ ุท ธกาล ได้ส ัง เกตว่า ภิก ษุม ี
ร่า งกายอ้ว น มีอ าพาธมากเพราะได้ร ับ อาหารที่ป ระณ ีต
และขาดการออกกำดังกายจึงได้ห าวิธีบ ำบัดแกิไขดังความใน
ขุท ทกวัต ถุ ดัง นี้

ขุททกวัตถุ๙

๙ ว. จู. มจ. ๗ / ๓๓, มก. ๙/ ๒๙

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๒ มีอาพา&น้อย

kalyanamitra.org
สมัย นั้น ทายกทายิก าในกรุง เวสาลีจ ัด ตั้ง ภัต ตาหาร
อย่า งประณีต ไว้ต ามลำดับ ภิก ษุฉ ัน ภัต ตาหารประณีต จน
ร่างกายอ้วนจึงมีอาพาธมาก
คร้ังนั้น หมอซีว กโกมารภัจ มีธุระต้องเดิน ทางไปกรุง
เวสาลี เห็น ภิก ษุท ้ัง หลายมีร ่า งกายอ้ว น ม ีอ าพ าธม าก จึง
เข้าไปเฝืาพระผู้มีพระภาค ณท่ีป ระทับ
ครั้น ถึงแล้วได้ก วายอภิวาทพระผู้ม ีพ ระภาคแล้วนั้ง ณ
ท ่ีส มควร ได ้ก ราบ ท ูล พ ระผ ู้ม ีพ ระภ าค เจ้า ดัง น้ีว ่า
“ พระพุท ธเจ้า ข้า เวลาน้ีภ ิก ษุม ีร ่า งกายอ้ว น มีอ าพาธมาก
ขอประทานพระวโรกาส พระองค็โปรดอนุญาต ที่จงกรม และ
เรือนไฟ ด้ว ยวิธ ีก ารอย่า งนี้ภ ิก ษุท ั้ง หลายจะได้ม ีอ าพาธน้อ ย”
ลำดับ นั้น พระผู้ม ีพ ระภาคทรงแสดงธรรมมีก ถาเพราะเรื่อ ง
น้ีเป็น ต้น เหตุร้บ ส่ังกับ ภิก ษุท ้ังหลายว่า
“ ภิก ษุท ้ัง หลาย เราอนุญาตท่ีจงกรมและเรือนไฟ”

การท่ีมีพระบรมพุทธานุญาตใหัสร้างที่จงกรมและเรือน
ไฟน้ัน ทำให้พ ระมีท ่ีเ ดิน ออกกำลัง กายมากขึ้น ได้เ ปลี่ย น
อิร ิย าบถหลัง จากที่ภ ิก ษุท ั้ง หลายได้บ ำเพ็ญ เพีย ร นอกจาก
น้ีการเดินยังช่วยให้ระบบย่อยอาหารดีข้ึน
การที่ส ร้า งเรือ นไฟก็ช ่ว ยในเรื่อ งของระบบขับ ถ่า ย
เหง่ือ ของเสีย ใน ร่า งกาย ระบบการไหลเวีย นของโลหิต และ
ระบบทางเดินหายใจดีข้ึน

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๓ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
๓. พระองค์ท รงแสดงอานิส งฆ์แ ห่ง การเดิน จง
กลม
จังกมสูตร®0

“ ภิก ษุท ้ังหลาย อานิสงส์แห่งการเดินจงกรม ๕ประการน้ี


ดือ
๑. เป็นผู้มีดวามอดทนต่อการเดินทางไกล
๒. เป็นผู้มีความอดทนต่อการบำเพ็ญเพียร
๓. เป็นผู้มีอาพาธน้อย
๔. อาหารท่ีกิน ดื่ม เคี้ยว ลิ้ม แล้วย่อยได้ง่าย
๕. สมาธิท่ีได้เพราะการเดินจงกรมต้ังอยู่ได้นาน

ภิก ษุท ้ัง หลาย อานิสงส์แห่งการเดินจงกรม ๔ ประการ


น้ีแล”
ในปัจจุบันข้อมูลข่าวสารในเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพ
มีอ ยู่ม ากมายหลายรูป แบบ เข่น หนังสือ วารสารสุข ภาพ
รายการโทรทัศ น์เผยแพร่ข ้อ มูลต่างๆ หรือข้อมูลใน พ6เวธ116
ทั้งที่เป็น ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ดังน้ันเราจึงควรคอยสังเกตตัวเองใส่ใจดูแลสุขภาพให้
ดีอ ยู่เสมอ เข่น เรื่อ งการดูแ ลสุข ภาพในข่อ งปาก ดือ เรื่อง
เกี่ยวกับปากและฟัเฒึ่งเป็นอวัยวะสำคัญในการขบเคี้ยวอาหาร
ได้แ ก่ศ ึก ษาวิธ ีแ ปรงฟัน ที่ถ ูก ต้อ ง การใชไหมขัด ฟัน ดูแล
•0 อง.. ปัญ จก. มจ. ๒ ๒ / ๔๑, มก. ๓๖/ ๕๔

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๔ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
รักษาฟันให้ดีโดยขอความรู้จากแพทย์ทเี่ รารักษาหรือสึกษา
จากแหล่งข้อมูลท่ัวไป เช่นห้องสมุดโรงพยาบาล ฯลฯ เพราะ
ผู้ท่ีมีสุขภาพดี คอยดูแลรักษาตนให้ดีเพ่ือประโยชน!นการ
ประพฤติปฏิป้ติธรรมให้ย่ิงข้ึนไป

มีอาพาธน้อยเพราะรู้จักประมาณในการบริโภค

พระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า ตรัส แสดงการมีส ุข ภาพดี


เพราะรู้จักประมาณในการบริโภคไว้หลายพระสูตรดังนี้

๑. ทานอาหารเหมือนทานยา

รโถปมสูตร๑๑

ภิก ษุช ่ือว่ารู้ประมาณในการบริโภคอาหารเป็น


อย่างไร
คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว
ฉันอาหารไม่ใช่เพื่อเล่น ไม่ใช่เพื่อมัวเมา ไม่ใช่เพ่ือประดับ
ไม่ใช่เพ่ือตกแต่ง แต่เพียงเพื่อความดำรงอยู่ได้แห่งกายนี้
เพ่ือให้กายน้ีเป็นไปได้ เพื่อ กำจัด ความเบีย ดเบีย น เพื่อ
อนุเคราะห์พรหมจรรย์ ด้วยคิดเห็นว่า ‘เราจักกำจัดเวทนาเก่า
และจักไม่ให้เวทนาใหม่เกิดข้ึน ความดำเนิน ไปแห่งกาย

๑’ สํ. สฬา. มจ. ๑๘/ ๒๔๐, มก. ๒๘/ ๓๙๔

ค้มภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๔ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
ความไม่มีโทษและความอยู่ผาสุกจักมีแก่เรา’ บุร ุษ พึง ทาแผล
ก็เ พ ีย งเพ ่ือ ต้อ งการให ้ห าย หรือ บุร ุษ พึงห ย อ ด เพ ล าร ถ ก ็
เพีย งเพื่อ ต้อ งการขนสิ่ง ของไปได้ แม้ฉันใด ภิก ษุก ็ฉ ัน น้ัน
เหมือ นกัน พิจารณาโดยแยบคายแล้วฉัน อาหารไม่ใช่เพื่อ เล่น
ไม่ใ ช่เพื่อ มัว เมา ไม่ใ ช่เพื่อ ประดับ ไม่ใช่เพื่ อตกแต่ง แต่
เพีย งเพื่อ ความดำรงอยู่ไ ด้แ ห่ง กายนี้เพื่อ ให้ก ายนี้เป็น ไปได้
เพ ื่อ กำจัด ความเบีย ดเบีย น เพื่อ อนุเ คราะห์พ รหมจรรย์
ด้ว ยคิด เห็น ว่า ‘ เราจัก กำจัด เวทนาเก่า และจักไม่ให้เวทนา
ใหม่เกิด ข้ึน ความดำเนิน ไปแห่ง กาย ความไม่ม ืโ ทษ และ

ความอยู่ผาสุกจักมีอยู่แก่เรา’
ภิกษุชื่อว่ารู้ประมาณในการบริโภคอาหารเป็นอย่างน้ีแล

๒. เหลือ อีก ๔-๕ คำจะอ่ิม ให้ห ยุด บริโ ภค

สารีป ุต ตเถรคาถา ๑๒

ว่า ด้ว ยสัม มาปฏิบ ํต ิข องภิก ษุ พระสารีบ ุต รได้ก ล่า ว


ไว้ว่า
“ ผูใดสมบูรณ์ด้วยศีล สงบระงับ มีสติ มีความดำริชอบ
ไม่ประมาทยินดีแต่เฉพาะกรรมฐานภาวนาอันเป็นธรรมภายใน
มีใ จมนคงอย่า งยิ่ง อยู่ผ ู้เดีย ว ยิน ดีด ้ว ยปัจ จัย ตามมีต ามได้
นักปราชญ์ท้ังหลายเรียกผู้น้ันว่าภิกษุ

0๒ ชุ. เถร. มก. ๕๓/๒๒๙, มจ. ๒๖/๔0 ๐

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๖ มีอาพาธห้อย

kalyanamitra.org
ภิกษุเมื่อบริโภคอาหารจะเป็นของสดหรือของแห้งก็ตาม
ไม่ควรติดใจจนเกินไป ควรเป็น ผู้ม ีท ้อ งพร่อ งมีอ าหารพอ
ประมาณ มีส ติอ ยู่ การบริโภคอาหารยังอีก ๔-๕ คำจะอ่ิม
ควรงดเสีย แล้วดื่มนํ้าเป็นการสมควร เพื่อ อยู่ส บายของภิก ษุ
ผู้มีใจเด็ดเด่ียว...

๓. ไม่ควรมัวเมาในการบริโภค

ปุต ตมัง สสูต ร๑๓

ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย ก็ก วพีก าราหารจะพึง เห็น ได้
อย่างไร
ภิก ษ ุท ้ัง หลาย เหมือ นอย่า งว่า ภรรยาสามีส องคน
ถือ เอาเสบีย งเดิน ทางเล็ก น้อ ย แล้ว ออกเดิน ไปสู่ท างกัน ดาร
เขาท้ัง สองมีบ ุต รน้อ ยๆ น่ารัก น่าพอใจอยู่คนหนึ่ง เมื่อขณะ
ที่ค นทั้ง สองกำลัง เดิน ไปในทางกัน ดาร เสบีย งเดิน ทางที่ม ี
อยู่เพียงเล็กน้อยน้ันได้หมดส้ินไปแต่ทางกันดารน้ันยังเหลืออยู่
เขาท้ัง สองยัง ข้ามพ้น ไปไม่ไ ด้ ครั้งนั้น เขาทั้ง สองคนคิด ตก
ลงกัน อย่า งน้ีว ่า เสบีย งเดิน ทางของเราทั้ง สองอัน ใดแล มี
อยู่เ ล็ก น้อ ยเสบีย งเดิน ทางอัน นั้น ก็ไ ด้ห มดสิ้น ไปแล้ว แต่
ทางกัน ดารนี้ก ็เหลือ อยู่ เรายังข้ามพันไปไม่ได้อย่ากระนั้นเลย
เราสองคนมาช่ว ยกัน ฆ่า บุต รน้อ ยๆ คนเดีย ว ผู้น ่ารัก น่า
พ อใจคนน้ีเ ลีย ทำให ้เ ป ็น เน ื้อ เค็ม และเน ี้อ ย่า ง เมื่อ ได้

ด้มภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๗ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
บริโภคเน้ือบุตร จะได้พ ากันเดิน ข้ามพ้นทางกันดารที่ยัง
เหลืออยู่น้ัน ถ้าไม่เช่นน้ันเราท้ังสามคนต้องพากันพินาศ
หมดแน่
คร้ังนั้น ภรรยาสามีท้ังสองคนนั้น ก็ฆ ่าบุตรน้อยๆ
คนเดียา ผู้น่ารัก น่าพอใจน้ันเสีย ทำให้เป็นเน้ือเค็มและเน้ือย่าง
เม่ือบริโภคเนื้อบุตรเสร็จ ก็พากันเดินข้ามทางกันดารที่ยัง
เหลืออยู่นั้น เขาทั้งสองคนรับประทานเนื้อบุตร พลางค่อน
อกพลางรำพันว่า
ลูกชายน้อย ๆ คนเดียวของฉันไปไหนเลีย ลูกชายน้อย ๆ
คนเดียวของฉันไปไหนเสีย ดังน้ี เธอท้ัง หลายจะเข้า ใจ
ความข้อน้ันเป็นอย่างไร
คือว่าเขาได้บริโภคเนื้อบุตรที่เป็นอาหารเพื่อ ความ
คะนองหรือเพื่อ ความมัว เมา หรือเพื่อ ความตบแต่ง หรือ
เพ่ือ ความประดับ ประดาร่า งกายใช่ไหม ภิก ษุเหล่านั้น
กราบทูลว่า หามิได้พระเจ้าข้า จึงตรัสต่อไปว่า
ถ้าเช่นน้ัน เขาพากันรับประทานเนื้อบุตรเป็นอาหาร
เพีย งเพ่ือ ข้า มพัน ทางกัน ดารใช่ไ หม ใช่ พระเจ้า ข้า
พระองค์จึงตรัสว่า
“ข้อนื้ฉัน่ใด เรากล่าวว่า บุคคลควรเห็น กวฬีการาหาร
ว่า [เปรียบด้วยเนื้อบุตร] ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่ออริย
สาวกกำหนดรู้กวหีก าราหารได้แ ล้ว ก็เป็น อัน กำหนดรู้
ความยินดีซึ่งเกิดแต่เบญจกามคุณ เมื่ออริยสาวก กำหนดรู้

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๘ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
ความยิน ดีซ ่ึง เกิด แต่เบญจกามคุณ ได้แ ล้ว สัง โยชน์อ ัน เป็น
เคร่ืองชักนำอริยสาวกให้มาสู่โลกน้ีอีก ก็ไม่มี.”

๔. โทษการไม่ร ู้จ กประมาณ

สุก ชาดก ๑๔

พระศาสดาเมื่อ ประทับ อย่ ณ พระวิหารเชตะวัน ทรง


ป รารภ ภ ิก ษ ุร ูป ห น ่ึง ผู้ม รณ ภ าพ เพราะฉัน มากเกิน ไปจน
อาหารไม่ย่อยจึงตรัสเรื่องน้ีมีคำเร่ิมด้นว่า ยาวโสมตุต มฌฺญ าสิ
ดังน้ี.
ได้ยินว่า เม่ือภิกษุน้ันมรณภาพไปอย่างน้ีแล้ว ภิก ษุท ้ัง
หลายนั้ง สนทนากัน ดึง โทษมิใ ช่ค ุณ ของภิก ษุร ปน้ัน ในโรง
จ่ จ‘ข
ธรรมสภาว่า ผู้ม ีอ ายุท ้ัง หลาย ภิก ษุโ น้น ไม่ร ู้ป ระมาณท้อ ง
ของตน บริโภคมากเกิน ไป ไม่ส ามารถทำอาหาร ให้ย ่อ ยจึง
มรณภาพ.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า
ภิก ษุท ้ัง หลาย บัด น้ี พวกเธอนั้ง ประชุม สนทนากัน
ด้วยเร่ืองอะไร ?
เมื่อภิกษุเหล่านั้น กราบทูลให้ทรงทราบแล้วจึงตรัสว่า
ภิก ษุท ั้ง หลาย มิใช่ใ นบัด นี้เท่า นั้น แม่ใ นกาลก่อ น
ภิก ษุน ี้ก ็ต ายเพราะบริโ ภคมากเป็น ปัจ จัย ดัง นี้แ ล้ว จึง ทรง
นำเอาเรื่องในอดีตมาสาธกดังต่อไปนี้
0๔ ชุ. ชา. มก ๕ ๘ /๔ 0

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๙ มิอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
ในอดีต กาล เมื่อ พระเจ้าพรหมทัต ครองราชสมบิต ใน
พระนครพาราณสี พระโพธิสัต ว์บ ังเกิด ในกำเนิด นกแขกเต้า
ในประเทศหิม พานต์ไ ด้เป็น พระยาของนกแขกเต้า หลายพัน
อยู่ในหิมวันตประเทศอันเลียบไปตามมหาสมุทร.
พระโพธิสัตว์นั้นมีลูกอยู่ตัวหน่ึง เม่ือลูกนกน้ันเจริญ วัย
พระโพธิส ัต ว์ก ็ม ืจ ัก ษุท ุร พล. ได้ยิน ว่า นกแขกเต้า ทั้ง หลาย
มีกำลังบินเร็วด้วยเหตุน้ันในเวลานกแขกเด้าเหล่านั้นแก่ตัวลง
จัก ษุน ั้น แลจึง ทุร พลไปก่อ น ลูก นกแขกเด้า ตัว น้ัน ให้บ ิด า
มารดาอยู่เฉพาะในรัง แล้ว นำอาหารมาเลี้ย งดู. วัน หนึ่ง
ลูก นกแขกเต้า นั้น ไปยัง ท่ีห ากิน แล้ว จับ อยู่บ นยอดเขา มอง
ลูส มุท วิเห็น เกาะๆ หนึ่ง. ก็ที่เกาะนั้น มีป่ามะม่วง มีผลหวาน
มีส ึเหมือ นทอง. วันรุ่งข้ึน ได้เวลาหากิน ลูก นกแขกเด้านั้น
บิน ไปลงที่ป ้า มะม่ว งนั้น ดื่ม รสมะม่ว งแล้ว ได้ค าบเอาผล
มะม่ว งสุก มาให้บ ิด ามารดา พระโพธิส ัต ว์ก ิน ผลมะม่ว งนั้น
แล้ว จำรสได้จ ึง กล่า วว่า ลูก เอย นี้ผ ลมะม่ว งสุก ในเกาะโน้น
มิใช่หรือ เมื่อลูกนกแขกเด้ารบว่าใช่จ้ะพ่อ จึง กล่าวว่า
ลูกเอัย พวกนกแขกเต้าที่ไปยังเกาะนั้น ชื่อว่าจะรักษา
อายุใ ห้ย ืน ยาวไต้โ ม่ม ีเลย เจ้า อย่า ได้โ ปยัง เกาะนั้น อีก เลย.
ลูก นกแขกเต้า นั้น ไม่เช่ือ คำของพระโพธิส ัต ว์น ั้น คงไปอยู่
อย่างนั้น . ครั้นวันหนึ่ง ลูก นกแขกเต้า ดื่ม รสมะม่ว งเป็น อัน
มากแล้ว คาบเอามะม่ว งสุก มาเพื่อ บิด ามารดา เมื่อ บิน มาถึง
กลางมหาสมุท ร เพราะบินเร็วเกินไป ร่า งกายก็เหน็ด เหนื่อ ย

คมภิร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๔๐ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
ถูก ความง่ว งครอบงำ ท้ัง ท่ีห ลับ อยู่ก ็ย ัง บิน มาอยู่น ั่น แหละ.
ส่ว นมะม่ว งสุก ท่ีค าบมาด้ว ยจงอยปากก็ห ลุด ล่ว งไป. ลูก นก
แขกเด้า น้ัน ได้ล ะทางท่ีเคยมาเสีย โดยลำดับ จึง ตกลงในน้ํา
เขาลอยมาตามพ้ึน น้ํา จึง จมลงในน้ํา . ทีน ้ัน ปลาตัว หน่ึง คาบ
ลูก นกแขกเต้า นั้น กิน เสีย . เมื่อ ลูก นกแขกเต้า นั้น ไม่ม าตาม
เวลาท่ีเ คยมา พระโพธิส ัต ว์ ก็รู้ได้ว่า เห็น จะตกมหาสมุท ร
ตายเสีย แล้ว . คร้ังนั้น เม่ือ บิด ามารดาของเขาไม่ไ ด้อ าหาร
จึงซูบผอมตายไป.
พระศาสดาครั้น ทรงนำเร่ือ งในอดีต มาสาธกแล้ว ทรง
เป็นผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว จึง ได้ต รัส พระคาถาเหล่า นี้ว ่า : -
ลูกนกแขกเต้าตัวน้ันรูประมาณในการบริโภคอยู่เพียงใด
ก็ได้สีบอายุ และได้เล้ียงดูบิดามารดาอยู่เพียงนั้น. อนึ่ง ในกาล
ใด ลูก นกแขกเต้าน้ัน กลืน กิน โภชนะมากเกิน ไป ในกาลน้ัน
ก็ไดช่ือว่าไม่ร ู้จ ัก ประมาณในการบริโ ภคจึงจมลงในมหาสมุทร
นั้นเอง.

เพราะฉะน้ัน ความเป็น ผ้ร ัป ระมาณ ความไม่ห ลง


'ขํขํ
ติด ในโภชนะเป็น ความดี. ด้ว ยว่า บุค คลผูใ ม่ร ู้จ ัก ประมาณ
ย่อ มจมลงใน อบายท้ัง ๔ บุค คลผู้ร ู้จ ัก ประมาณ เท่า น้ัน
ย่อมไม่จมลงในอบาย ๔.

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๔๑ มีอาพาธนอย

kalyanamitra.org
ม ีอ าพ าธ ห ้อ ย เพ ร าะไ ม ่ม ีว ิบ าก ก ร ร ม เก ่า

พระสัมมาดัมพุทธเจ้าตรัสแสดงความเป็นผูชิอาพาธน้อย
เพราะไม่มีวิบากกรรมเก่าไว้หลายแห่ง ดัง น้ี

ลัก ขณ สูต ร'’๕

“ ดูก่อนภิกษุท้ังหลายตถาคตเคยเป็นมนุษย์ในชาติก่อน
ในภพก่อ นในกำเนิด ก่อ นเป็น ผูไ ม่เ บีย ดเบีย นสัต ว์ท ั้ง หลาย

ด้ว ยฝ่า ม ือ ด้ว ยก้อ น ห ิน ด้ว ยท่อ น ไม ้ห รือ ด้ว ยศัส ตรา.
ตถาคตย่อ มเข้า ถึง สุค ติโ ลกสวรรค์ ฟ้อ งหน้า แต่ต ายเพราะ
กายแตก เพราะกรรมนั้นอันตนทำ สั่งสม พอกพูน ไพบูล ย์ฯ ลฯ
คร้ัน จุต ิจ ากสวรรค์น ้ัน แล้ว มาสู่ค วามเป็น อย่า งน้ี ย่อมได้ซ ่ึง
มหาปุริสลักษณะน้ี.

คือ ม เี ส้น ประสาทสำหรับ นำรสอาหารอัน เลิศ กล่าว


คือ พระมหาบุร ุษ น้ัน มีเส้น ประสาทมีป ลายข้า งบนประชุม
อยู่ท ี่พ ระศอ สำหรับ นำรสอาหารแผ่ซ ่า นไปสมาเสมอทั้ว
พระวรกาย. พระองค์ส มบูร ณ์ด ้ว ยพระลัก ษณะนั้น ถ้า อยู่
ครองเรือ นจะได้เป็น พระเจ้า จัก รพรรดิ ฯลฯ เม่ือ เป็น พระ
ราชาจะได้อ ะไร เมื่อ เป็น พระราชาจะได้ร ับ ผลซัอ นี้ค ือ
มีพ ระโรคาพาธห้อ ย มีค วามลำบากน้อ ย สมบูรณ์ด้วยพระ
เตโชธาตุ อันทำอาหารให้ย่อยดีไม่เย็นนักไม่ร้อนนัก

๑๕ ที. ปา. มก. ๑๖/ ๒๘, มก. ๑๖/ ๒๙

คมภีว ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
ถ้าออกทรงผนวชจะได้เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
มีห ลัง คาดือ กิเลสอัน เปิด แล้ว ในโลก เมื่อ เป็น พระพุท ธเจ้า
จะได้อะไร เม่ือ เป็น พระพุท ธเจ้า จะได้ร ับ ผลข้อ นี้ด ือ มีพระ
โรคาพาธน้อย มีความลำบากน้อ ย สมบูรณ์ด้วยพระเตโชธาตุ
อัน ทำอาหารให้ย่อยดี ไม่เย็นนัก ไม่ร้อนนัก อันควรแก่ปธานะ
เป็น ปานกลาง.พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้าตรัส เนื้อความนี้ใวั

จูฬ ถ้ม มวิก ัง คสูต ร ๑๖

คร้ัง น้ัน สุภ มาณ พโตเทยยบุต ร เข้า ไปเฝืา พระผู้ม ี

พระภาคเจ้า
ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณ ฑิก เศรษฐี เขต
กรุงสาวัตถีได้กราบทูลพระผู้ม ีพระภาคเจ้าว่า “ ท่านพระโคดม
อะไรหนอ เป็น เหตุเ ป็น ปัจ จัย ให ้ส ัต ว์ท ี่เ กิด เป ็น ม น ุษ ย์
ปรากฎเป็น คนเลวและคนดี ดือ มนุษ ย์ท ้ัง หลายย่อ มปรากฏ
ว่า มีอ ายุส ั้น มีอ ายุย ืน มีโ รคมาก มีโ รคน้อ ย มีผิวพรรณทราม
มีผ ิว พรรณดี มีอ ำนาจน้อ ย มีอ ำนาจมาก มีโ ภคะน้อ ย มี
โภคะมาก เกิดในตระกูลตา เกิดในตระกูลสูง มีป ัญ ญาน้อ ย
มีปัญญามาก...”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า

"๖ ม. อุ มจ. ๑๔/ ๓๔๙, มก. ๒๓/ ๒๕๑

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๔๓ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
“ มาณพ บุค คลบางคนในโลกน เป็น สตรีก ็ต าม เป็น
บุร ุษ ก็ต าม เป็น ผู้เ บีย ดเบีย นสัต ว์ท ั้ง หลาย ด้ว ยฝ่า มือ บ้า ง
ด้ว ยก้อ นดิน บ้า ง ด้ว ยท่อ นไม้บ ้า ง ด้ว ยศัส ตราบ้า ง เพราะ
กรรมน้ัน ท่ีเขาให้บริบูรณ์ ยึดม่ันไว้อย่างน้ัน หลังจากตายแล้ว
เขาจึงไปเกิดในอบาย ทุคติ วิน ิบ าต นรก หลัง จากตายแล้ว
ถ้า ไม่ไ ปเกิด ในอบาย ทุค ติ วิน ิบ าต นรก กลับ มาเกิด เป็น
มนุษย์ในที่ใดๆ เขาก็จ ะเป็น ผู้ม ีโ รคมาก มาณพ การที่บุคคล
เป็น ผู้เบีย ดเบีย นสัต ว์ท ้ังหลายด้วยฝ่ามือ บ้างด้ว ยก้อ นดิน บ้าง
ด้วนท่อนไม้บ้าง ด้วยศัสตราบ้าง น้ีเป็น ปฏิปทา ท่ีเป็นไปเพ่ือ
ความมีโ รคมาก ...ผู้เ ม่เ บีย ดเบีย นสัต ว์ท ้ัง หลาย ด้วยฝ่ามือ
บ้า ง ด้ว ยก้อ นดิน บ้า ง ด้ว ยท่อ นไม้บ ้า ง ด้ว ยศัส ตราบ้า ง
เพราะกรรมน้ัน ท่ีเขาให้บ ริบ ูร ณ์ ยึด ม่ัน ไว้อ ย่า งนั้น หลัง
จากตายแล้วเขาจึงไปเกิดในสุค ติโลกสวรรค์ห ลังจากตายแล้ว
ถ้าไม่ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์กลับมาเกิดเป็นมนุษย์ในที่ใดๆ
เขาก็จ ะเป็น ผู้ม ีโ รคน้อ ย..........
สัต ว์ท ้ัง หลาย มีกรรมเป็นของตน มีก รรมเป็น ทายาท
มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
กรรมย่อ มจำแนกสัต ว์ท ั้ง หลาย ให้เ ลวและดีต ่า งก้น ด้ว ย
ประการฉะนี้”

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๔๔ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
ทำไมต้องดูแลรักษาสุขภาพให้ดี

๑. เพราะร่างกายคนเราเป็นอุป กรณ์ส ำคัญ ในการ


สร้างคุณความดี แต่มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา หากเราไม่
ดูแลทะนุถนอม ไม่บริหารดูแลให้ดี ก็จะใช้นำไปสร้างคุณ
ความดีไดีไม่นาน

คิริม านัน ทสูตร๑๗

“ ดือ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี


ไปสู่เรือนว่างก็ดี
พิจารณาว่า ‘รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เท่ียง สัญญาไม่เท่ียง
สังขารไม่เท่ียง วิญ ญาณไม่เท่ียง เป็นผู้พิจารณาเห็นโดย
ความเป็นของไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์๕นี้อยู่อย่างนี้นี้เรียกว่า
อนิจจสัญญา”

ดังน้ันเราต้องรัจักบริหารร่างกายให้ดี มีการพักผ่อน
ออกกำลงกาโที่เ โมาะสม การไม่ระวง ทำให้ร ะบบการ

ทำงานส่ว นต่า งๆ ได้รับ ผลกระทบและอาจเป็น สาเหตุให้


เกิดโรคต่างๆ มากมาย เช่น การรับประทานอาหารไม่เป็น
เวลา ก่อให้เกิด โรคลม จุกเสียดท้องโรคกระเพาะได้ เป็น
อุปสรรคในการประพฤติธรรม

"๗ อง.. ทสก. มจ. ๒ ๔ / ๑๒๘, มก. ๓๘/๑๙ 0

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๔๔ มีอาพาธห้อย

kalyanamitra.org
เปรีย บร่า งกายเราเหมือ นรถยนต์ ช่ีง มีช ิ้น ส่ว นต่า ง ๆ
ประกอบเข้าด้วยกันต้ังแต่โครงรถ ตัวถัง เคร่ืองยนต์ระบบเบรก
ระบบไฟฯลฯซ่ึงเม่ือใช้งานไปย่อมมีการสึกหรอไปเป็นธรรมดา
เราจึง ต้อ งหมั่น บำรุง ดูแ ล ตรวจสอบเช็ค แบตเตอร่ี เติม
น้ํามันเคร่ือง เปล่ียนตัวกรองน้ํามัน เดิมลมให้พ อเหมาะพอดี
ดังนั้นเราควรศึกษาหาความรูในการดูแลสุขภาพให้ดี

๒. ร่า งกายของเรา เต ็ม ไป ด ้ว ยข อ งท ี่ไ ม ่ส ะอ าด


เปรีย บเป็น รัง ของโรค

คิร ิม าด้น ทสูต ร

คือ “ ภิกษุในธรรมวินัยน้ีพ ิจารณาเห็น กายนี้เท่านั้น ตั้ง


แต่พ้ืนเท้าช้ินไป
ต้ัง แต่ป ลายผมลงมา มีห นัง หุ้ม อยู่โ ดยรอบ เต็ม ไป
ด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ว่า ‘ในกายนี้มีผม ขน เล็บ
ฟัน หนัง เน้ือ เอ็น กระลูก เยื่อในกระลูก ไต หัวใจ ดับ พังผืด
ม้าม ปอด ไส้เหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง
เลือด เหงื่อ มันข้น นั้าตา เปลวมัน นั้า ลาย นั้ามูก ไขข้อ มูตร’
เป็น ผู้พ ิจ ารณ าเห็น โดยความเป้น ของไม่ง ามในกายนี้อ ยู่
อย่างน้ีน ้ีเรีย กว่า อสุภ สัญ ญา.”

ดังนั้น อาหารที่เราบริโ ภคเข้า ไปจะถูก ดูด ซืม สิ่ง ที่ม ี


ประโยชน์ต่อ ร่างกายเข้าไปใช้งาน ส่ว นของที่เหลือ จะถูก ขับ

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๔๖ มีอาพาธด้อย

kalyanamitra.org
ออกมาเป็นอุจจาระ ปัสสาวะ ตลอดจนของเหลวที่ถ ูก ขับ
ออกมาในรูปของ น้ําตา ข้ีหู น่าลาย ขี้มูก เหง่ือ ไคลต่างๆ
ซึ่งเป็น สิ่งปฏิก ูล น่ารังเกียจ ดังนั้นเราควรตระหนักและ
พิจารณาให้ดีทุกคร้ังก่อนจะบริโภค /เละควรพิจารณาอาหารท่ี
จำเป็นต่อร่างกาย ให้ใต้สัดส่วนที่พอเหมาะ และพยายามหลีก
เล่ียงอาหารท่ีรสจัด อาหารท่ีมีไขมันมากควรด่ืมน่าให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงการด่ืมน่าอัดลม เพราะมีน่าตาลในปริมาณสูง มี
แก๊ส กัด กระเพาะ อย่า ตามใจปาก รับ ประทานอาหาร
ประเภทเน้ือสัตว์ท ่ีม ีไขมัน มากเกิน ไป ควร รับ ประทาน
อาหารที่มีเดันใยสูง เช่น ผัก ผลไม้ ซึ่งจะช่วยให้ ระบบขับ
ส่ายของเราดี สิ่งเล็ก ๆ น้อยๆ เหล่านี้ จะมีผลกระทบต่อ
การปฏิป้ติธรรม
ฟันเป็นอวัยวะสำคัญที่ทำหน้าท่ีบด เค้ียว ย่อยอาหาร
ให้กระเพาะอาหารไต้ด ูด ซึม ส่ิงท่ีม ีป ระโยชน์เข้าสู่ร ่างกาย
หากไม่ดูแลรักษาให้ดีปล่อยให้ฟันผุหรือเป็นโรคเหงือกอักเสบ
ก็จะล่งผลต่อการเคี้ยวบดไต้ใม่ดีถ้าเราเค้ียวอาหารไม่ละเอียด
ก็จะทำให้กระเพาะอาหารทำงานหนัก ซึ่งในระยะยาว ก็จะ
มีผ ลกระทบต่อ กระบวนการย่อ ยอาหารของร่างกาย เกิด
โรคท้องอืด ท้องเฟ้อ ชึ่งมีผลต่อการปฏิปัติธรรม เพราะฉะน้ัน
อย่ามองข้ามความสำคัญของสุขภาพในช่องปาก

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๔๗ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
การปลูกฝังนิสัยดูแลสุขภาพเป็น

๑. รู้จักประมาณในการรับการใช้ปัจจัย ๔
๒. ให้รู้จักประมาณในการริบประทานอาหารแด่พอด็
๓. ให้ความรู้พ ้ืน ฐานในการดูแ ลสุขภาพ เช้น เร่ือง
การดื่ม น้ํา ในปริม าณที่พ อเหมาะ การเคี้ย วให้
ละเอียด การแปรงฟันให้ถูกวิธี การออกกำลัง กาย
ฯลฯ
๔. สอนให้เช้าใจในเร่ือ ง กฎแห่ง กรรม พร้อ มยก
ตัว อย่า งประกอบ เช่น เหตุท ่ีท ำใหัม ีอ ายุส ้ัน
เพราะทำกรรมปาณ าติบ าต เหตุท ี่ท ำให้เ จ็บ
ป่ว ยมีโ รคเรื้อ รัง มีเ ศษเวรติด ตามตัว มา โดย
แนะนำวิธีการแกไข คือให้ห มั่น รักษาศีล ปล่อ ย
สัต ว์ป ล่อ ยปลา และ ปฏิบ้ติธรรมให้!,จผ่องใสอยู่
เสมอ

สรุปเหตุท่ีมีอาพาธน้อย

๑. คนที่มีอาพาธน้อย เพราะมีความรู้ เป็นคน


ช่างสังเกต
รู้จักดูแลรักษาตัวเองเป็น เพราะ ได้ร้บการศึกษา
รับ ทราบซัอ มูล การดูแ ลสุข ภาพ เป็น อย่า งดี
หรือได้ริบการปลูกฝังอย่างดีมาจากครอบครัว

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๔๘ มีอ าพาธน้อ ย

kalyanamitra.org
๖. มีอ าพาธน้อ ย เพราะรู้จ ัก ประมาณในการ
บริโภค
สาเหตุของโรคส่วนใหญ่มาจากอาหารที่เราบริโภค
เข้าไป ต้องรู้จักประมาณในการรับ
๓. มีอาพาธน้อย เพราะไม่มีวิบากกรรมเก่า
เน่ืองจากคนเรายังอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรมตราบใด
ท่ีย ัง ไม่ห มดกิเ ลส ส่ิง ที่ต ้อ งระวัง คือ ต้อ งไม่ไ ป
ป ระก อ บ ก รรม ให ม ่ซ ่ึง จะส ่ง ผ ลเป ็น วิบ าก ใน

ภายหน้า

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๔๙ มีอาพาธน้อย

kalyanamitra.org
/?ะเส^

ผูใ ม่โ อ้อ วด ไม่ม ีม ารยา คือ ทำตน


ให้เปิดเผยตามความเป็นจริงในศาสดา
หรือในเพ่ือนพรหมจารีผรทงหลาย
ฆ่ฆิ

*---- ชฃ/ *

kalyanamitra.org
บทท่ี

ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

ความหมายของผู้ไ ม่โอ้อ วด-ไม่ม ีม ารยาในเสนาสูต ร


พระสัมมาลัมพุทธเจ้าตรัสถึงคุณ สมบ้ติช ัอที่๓ ของภิก ษุ
ผู้เหมาะแก่การบรรลุธรรมไว่ในเสนาสนสูตรว่า

ผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา คือ ทำตนให้เปิดเผยตาม


ความเป็น จริง ในศาสดา หรือ ในเพื่อ นพรหมจารีผ ู้ร ู้
ทั้งหลาย

kalyanamitra.org
ลักษณะคนไม่โอ้อวดไม่มีมารยา เป็นอย่างไร
คนท่ีจะไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยาต้องเป็นคน'ฝืกตัวมาต็พอ
สมควร คนไม่โ อ้อ วด ดือ เป็น คนตรงไปตรงมา ซื่อ ตรง
เป็น คนมีสัจจะ เป็น คนที่ม ีก ฎเกณฑ์ เป็น คนท่ี'ช่วยตัวเองได้
มีล ัน ดานติด ตัว ข้า มชาติม าต็ ได้พ ่อ แม่อ บรมมาดีพ อสมควร
มีค วามรับ ผิด ชอบ หากทำอะไรผิด พลาดก็ย อมรับ เปิด เผย
ไม่ปกปิด พร้อมท่ีจะแก็ไขปรับปรุงตัว
มีพ ุทธพจน์กล่าวในอุทุมพริกสูตรดังน้ี

อุทุมพริกสูตร’ ๘

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
นิโครธ เอาเถิด ความผิด ได้ค รอบงำท่า นผู้โ ง่ เขลา
ไม่ฉ ลาด ซ่ึง ได้ก ล่า วกับ เราอย่า งน้ี แต่เธอเห็น ความผิด ว่า
เป็น ความผิด แล้ว สารภาพ ตามความเป็น จริง ดัง นั้น เรา
ขอรับ ทราบความผิด น้ัน ของท่า น ก็ผ ู้ท ี่เห็น ความผิด ว่า เป็น

ความผิด แล้ว สารภาพออกมาตามความ เป็น จริง รับ ว่า จะ


สำรวมต่อไปวิธีนี้เป็นความเจริญในอริยวินัย
นิโครธก็เรากล่าวอย่างนี้ว่า

บุรุษผใม่โอ้อวด ไม่มีมารยา เป็นคนตรง จงมาเถิด เรา


จะส่ังสอน เราจะแสดงธรรม เขาปฏิบ้ติตามธรรมที่สั่งสอน เพียง

‘'๘ ที. ปา. มก. ๑๔/ ๑๗, มจ. ๑๑/ ๔๔

คมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๔๒ ไม่โอ้อ วด-ไม่ม ีม ารยา

kalyanamitra.org
๗ ปี ก็จ ะทำให้แ จ้ง ประโยชน์ย อดเย่ีย ม อัน เป็น ท่ีส ุด แห่ง
พ รห ม จรรย์ ท ี่เ ห ล ่า ก ุล บ ุต ร ผ ู้อ อ ก จ าก เร ือ น บ ว ช เป ็น
บรรพชิต โดยชอบต้อ งการ ด้ว ยปัญ ญาอัน ย่ิง เอง เข้า ถึง อยู่
ในปัจจุบันอย่างแน่แท้
นิโครธ ๗ ปี จงยกไว้..... เพียง ๖ ปี จงยกไว้.... เพียง ๕
ป ี... เพียง ๔ ป ี..... เพียง ๓ ป ี..... เพียง ๒ ป ี..... เพียง ๑
ป ี... นิโครธ ๗ เดือน จงยกไว้
...เพีย ง ๖ เดือ น.... เพีย ง ๕ เดือ น.... เพีย ง ๔
เดือน..” เพียง ๓ เดือน.... เพียง ๒ เดือน.... เพียง ๑ เดือน
... เพียงคร่ึง เดือนจงยกไว้
บุร ุษ ผู้ไ ม่โ อ้อ วด ไม่ม ีม ารยา เป็น คนตรง จงมาเถิด
เราจะสั่งสอน เราจะแสดงธรรม เขาปฏิปัต ิตามธรรมที่สั่งสอน
เพียง ๗ วัน ก็จ ะทำให้แ จ้ง ประโยชน์ย อดเยี่ย มอัน เป็น ที่ส ุด
แห่ง พรหมจรรย์ ท่ีเ หล่า กุล บุต รผู้อ อกจากเรือ นบวชเป็น
บรรพชิต โดยชอบต้อ งการ ด้ว ยปัญ ญาอัน ย่ิง เอง เข้า ถึง อยู่
ในปัจจุบันอย่างแน่แท้

ล ัก ษ ณ ะผ ู้โ ม ่โ อ ้อ ว ด

มีเร่ืองราวของผู้ไม่โอ้อวดในปุราเภทสุตตนิเทสดังนี้

ปุร าเภทสุต ตนิเ ทส 0๙

*๙ ข. มหา. มจ. ๒๙/๔๖๕, มก. ๖๖/๑๑

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๕๓ ไม่โอ้อวด•ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ว่า ด้ว ยผู้ไ มโอ้อ วด

คำว่า นภิก ษุ, ไ ม่พ ึง เป็น คนมัก อวด อธิบ ายว่า ภิก ษุบ าง
รูป ในธโมวิ ัย น้ี

เป็นผู้อวด เป็นผู้โอ้อวด เธอย่อมอวด โอ้อวดว่า


“ เราเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยสีลบ้าง
สมบูรณ์ด้วยวัตรบ้าง สมบูรณ์ด ้วยดีลพรดบ้าง สมบูรณ์
ด้วยชาติบ้าง สมบูรณ์ด้วยโคตรฟ้าง สมบูรณ์ด้วยความเป็น
บุจต รของผ้
*บิ ม ีต ระกู ล บ้าง สมบุ
01 จ] รณ์ด้วยความเป็นจ](บ
ผ้ริ ปงามบ้าง
สมบูรณ์ด ้วยทร้พ ย์บ ้าง สมบูรณ์ด้วยการดีก ษาบ้าง สมบูร ณ์
ด ้ว ยห น ้า ท ี่ก า ร ง า น บ้า ง สมบูร ณ ์ด ้ว ยห ล ัก แ ห ่ง
สิล ป วิท ยาบ้าง สมบูรณ์ด้วยวิท ยฐานะบ้าง สมบูรณ์ด้วยความ
เป็นผูด ้ งแก่เ รีย นบ้าง สมบูรณ์ด้วยปฏิภ าณบ้าง สมบูรณ์ด้วย
ส่ิงอื่น นอกจากท่ีก ล่าวแล้วบ้างออกบวชจากตระกูลสูงบ้าง

อ อก บ วช จาก ต ระก ูล ม ีท รัพ ย์บ ้า ง ออกบ วช จาก


ตระกูลมีโภคสมบติมากบ้าง
เป็นผู้ทรงจำพระสูตรบ้างเป็นผู้ทรงจำพระวินัยบ้าง
เป็น ธรรมกถึก บ้าง เป็น ผู้อ ยู่ป ่า เป็น วัต รบ้า งเป็น ผู้ไ ด้
เนวสัญ ญานาล้ญ ญายตนสมาป้ต ิบ ้าง”
ภิก ษุน ี้ใม่พ ึงอวดไม่โอ้อ วดอย่างนี้ค ือ พึง ละ บรรเทา
ทำให้ห มดสิน ไป ให้ถึงความไม่มีอีกซึ่งความโอ้อวดได้แก่ เป็น
ผู้งด งดเว้น เว้น ขาด ออก สลัด ออก หลุด พ้น ไม่เก่ียวข้อง

คัมภีร์สร้างวัดจากหระโอษฐ์ ๕๔ ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
แล้ว กับ ความโอ้อ วดมีใจเป็น อิส ระ(จากกิเลส)อยู่ร วมความว่า
ภิกษุไม่พึงเป็นคนมักอวด

คนโอ้อวดไม่ใช่คนดี
มีเร่ือ งท่ีก ล่า วถึง ภิก ษุท ่ีม ีใ จโอ้อ วด พูด จาคล่อ งแคล่ว
ตอนหนึ่งใน

สัมพหุลภิกขุวัตถุ๒'’

พระผู้ม ีพ ระภาคตรัส พระคาถาน้ีแ ก่ภ ิก ษุท ้ัง หลาย ท่ี


พูดจาคล่องแคล่ว ดัง นี้

เพราะเหตุเพียงการพูดจาคล่องแคล่ว
หรือเพราะมีผิวพรรณงดงาม
แต่ยังมีความริษยา ตระหน่ี และโอ้อวด
บุคคลก็หาช่ือว่าคนดีไต่ไม่
ส่วนผู้ดัดความริษยาเป็นด้นน๋ีได้
ถอนขึ้นทำให้รากขาดแล้ว

คายโทษได้แล้ว เป็นผู้มีปัญ ญา
จึงจะช่ือว่า คนดี

เร่ืองราวมุดคลผู้โอ้อวด

๒0 ชุ. ธ. มจ. ๒๕/๑๑๔

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๕๕ ไม่โอ้อวด•ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
มีช าดกตอนหน ึ่ง ที่ก ล่า วถึง เรื่อ งราวของคน ที่โ อ้อ วด
โดยมีท่ีมาจากอรรถกถาเรื่อง ภิมเสนชาดก ดัง นี้

ภีม เสนชาดก ๒๑

พระบรมศาสดาเม่ือประทับ อยู่ณ พระเชตวัน มหาวิห าร


ทรงปรารภภ ิก ษุผ ู้ม ัก โอ้อ วดรูป หนึ่ง ตรัส พระธรรมเท ศนานี้
มีคำเริ่มด้นว่า
ยนฺเต ปวิกตฺถิตํ ปุเร ดังน้ี
ไต่ยินว่า ภิก ษุร ูป หนึ่ง เที่ย วคุยโอ่ เย้ย หยัน หลอกหลวง
ในกลุ่ม ภิก ษุท ้ัง ท่ีเป็น เถระ ทั้งท่ีเป็น นวกะ และที่เป็นมัชฌิมะ
ด้วยอำนาจสมบ ้ดิ มีชาติเป็นด้นว่า
“ ผู้ม ีอ ายุท ั้ง หลาย ว่า ถึง ชาติก ัน ละก็ ไม่ม ีท างท่ีจ ะ

เสมอด้วยชาติของเรา
ว่าถึงโคตรก็ไ ม่ม ีท ่ีจะเสมอด้ว ยโคตรของเรา พวกเรา
เกิดในตระกูลมหากษ้ต่ริย์
ข้ึน ช่ือ เห็น ปานน้ี ผู้ท ่ีจ ะได้ช ่ือ ว่า หัด เทีย มกับ เรา โดย
โคตรหรือ ด้ว ยทรัพ ย์ หรือ ด้ว ยถิ่น ฐานของตระ กูล ไม่ม ีเลย
ทองเงิน เป็นต้น ของพวกเรามีจนหาที่สุดมิได้

เพีย งแต่พ วกทาสกรร มกรของพว กเรา ก็พ ากัน กิน


ข้าวสุกท่ีเป็นเนื้อข้าวสาลี

๒๖ ชุ. เอก. มก. ๕๖/ ๒๖๔

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ไม่โอ้อวด■ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
นุ่ง ผ้า ที่ม าจากแคว้น กาสีเป็น ต้น ผัด เครื่อ งลูบ ไล้ท ี่ม า
แต่แ คว้น กาสึ เพราะเป็น บรรพชิต ดอก เด๋ีย วน้ีพ วกเราถึง
บริโภคโภชนะเศร้าหมอง ครองจีวรเลวๆ อย่า งนี้
คร้ัง น้ัน ภิก ษุร ปหน่ึง สอบสวนถ่ิน ฐานแห่ง ตระกล
จข่ ฬิ ขํ
ของเธอได้แน่นอนก็กล่าวความที่เธอคุยโอ้อวดนั้นแก่พวกภิกษุ
พวกภิก ษุประชุม กัน ในธรรมสภา พากัน พูด ถึง โทษ มิใช่คุณ
ของเธอว่า ผู้ม ีอ ายุท ้ัง หลาย ภิกษุโน้นบวชแล้วในพระศาสนา
อ้นจะนำออกจากทุกข์ใด้เห็นปานฉะนึ่ยงจะเที่ยวคุยโอ่เย้ยหยัน
หลอกลวงอยู่ไ ด้ พระบรมศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า
ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย บัด น้ีพ วกเธอประชุม สนทนา
กัน ด้ว ยเร่ือ งอะไรเล่า ? เมื่อ ภิก ษุท ั้ง หลายกราบทูล ให้ท รง

ทราบแล้ว ตรัสว่า
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย มิใช่แ ต่ในบัด นี้เท่านั้น ที่ภ ิก ษ ุ
น้ัน เที่ย วคุย โอ่ถ ึง ในครั้ง ก่อ น ก็เ คยเที่ย วคุย โอ่ เย้ย หยัน
หลอกลวงมาแล้ว ดัง นี้ แล้ว ทรงนำเอาเรื่อ งในอดีต มาสาธก
ดังต่อไปน้ี
ในอดีต กาล คร้ัง พระเจ้า พรหมทัด เสวยราชสมบัต ิ
อยู่ในกรุงพาราณสี
พระโพธิสัตว์บังเกิดใน สกุล อุท ิจ จพราหมณ์ ในนิคม
คามตำบลหน่ึง เจริญ วัย แล้ว เล่า เรีย นไตรเพท อ้น เป็น ที่ต ั้ง
แห่งวิชชา ๑๘ ประการ ในสำนัก อาจารย์ท ิศ าปาโมกข์ ณ
เมืองดักกสิลา ถึงความสำเร็จศิลปะทุก ประการได้น ามว่า

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๔๗ ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
จูฬ ธน ุค คห บ ัณ ฑ ิต . เขาออกจากตัก กสิล านครเสาะ
แสวงหาศิลปะในลัทธิสมัยทุกอย่าง ลุถึงมหิสกรัฐ ก็ในชาดกน้ี
มีแนวว่าพระโพธิสัตว์มีร่างกายเตี้ยอยู่หน่อยท่าทางเหมือนค่อม
เขาดำริว่าถ้าเราจักเสาพระราชาองค็ใดองค์หน่ึง
ท้า วเธอจัก กล่า วว่า เจ้า มีร ่า งกายเต้ีย อย่า งน้ี จัก ทำ
ราชการได้หรือ อย่ากระนั้นเลย เราหาคนที่สมบูรณ์ด้วยความสูง
ความลี้า ลัน รูป งามลัก คนหนึ่ง ทำเป็น โล่ห ์ แล้ว ก็เลี้ย งชีว ิต
อยู่ห ลัง ฉากของคนผู้น ั้น คิด แล้ว ก็เ ที่ย วเสาะหาชายที่ม ีร ูป
ร่างอย่างน้ัน ไปถึงท่ีท อหูก ของข้างหูก ผู้ห น่ึงช่ือ ว่า ภีม เสน 1
ทำปฏิส ัน ถารกับ เขา พลางถามว่า สหายเธอชื่อ ไร ?
เขาตอบว่า ฉันช่ือ ภีมเสน.
จูฬ . ก็เธอเป็นผู้มีรูปงาม สมประกอบทุก อย่า งอย่างน้ี
จะกระทำงาน เลวๆ ตาๆ น้ีทำไม ?

ภีม เสน. ฉัน ไม่อ าจอยู่เฉยๆได้(โดยไม่ท ำงาน)


จูฬ. สหายเอย อย่าทำงานนี้เลย ในชมพูทวีป ทั้งสิ้น
จะหานายขมังธนูที่พอจะหัดเทียมกับฉันไม่เลย

แต่ถ ้า เราเข้า เสาพระราชาองค็ไ หน ท้า วเธอน่า


จะกริ้วฉันได้ว่า เจ้านี้เตี้ย ๆ อย่างนี้จะทำราชการได้อย่างไรกัน

เธอพึงไปเสา พระราชากราบทูลว่า ข้า พระองค์


เป็น นายขมัง ธนู ดัง นี้ พระราชาจะพระราชทานบำเหน็จ ให้

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๕๘ ไม่โอ'อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
เธอแล้ว พระราชทานเบี้ยเลี้ยงเนืองๆ ฉันจะคอยทำงานท่ี
เกิดขึ้นแก่เธอขออาศัยดำรงชีพอยู่เบ้ืองหลังเงาของเธอ
ด้วยวิธีอย่างน้ีเราทั้งสองคนก็จักเป็นสุข X

ท่านจงทำตามคำของเรา
ภีม เสน ตกลงรับคำ.
จูฬ ธนุด คหบัณ ฑิต จึงพาเขาไปพระนครพาราณสี
กระทำตนเองเป็น ผู้ป รนนิบ ัต ิ ยกเขาข้ึน หน้า หยุด ยืน ท่ี
ประตูพ ระราชฐาน ให้กราบทูลพระราชา ครั้นได้รับพระ
บรมราชานุญาตว่า พากันมาเถิดแล้ว ท้ังสองคนก็เข้าไป
กราบบังคมพระราชาแล้วยืนอยู่ ครั้นมีพระราชดำรัสว่า
เจ้าทั้งสองพากันมาทำไม ภีมเสนจึงกราบทูลว่า ข้า
พระองค์เป็นนายขมังธนู ทั่วพื้นชมพูทวีป จะหานายขมัง
ธนูท่ีหัดเทียมกับข้าพระองค์ใม่มีเลย. รับสงถามว่า ตูก่อน
พนายเจ้าได้อะไรถึงจักบำรุงเรา? กราบทูลว่า เมื่อได้พระ
ราชทรัพย์พันกษาปณ์ ทุกๆ ก่ึงเดือน จึงจะขอเข้ารับราชการ
พระเจ้าข้า. รับสั่งถามว่า ก็บุรุษนี้เล่าเป็นอะไรของเจ้า?
กราบทูลว่า เป็นผู้ปรนนิบัติพระเจ้าข้า. รับสั่งว่า ดีล่ะ จง
บำรุงเราเถิด.
จำเดิมแต่นั้น ภิม เสน ก็เข้ารับราชการ แต่ราชกิจท่ีเกิด
ข้ึนแล้วพระโพธิสัตว์จัดทำแต่ผู้เดียว.

คมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๕๙ ไม่โกัอวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ก็โดยสมัยนั้น ที่แ คว้น กาสี ณ ป่าแห่งหนึ่ง มีเสือร้าย
สะกดทางสัญ จรของพวกมนุษ ย์ จับ เอาพวกมนุษ ย์ไ ปกิน
เสียเป็นอันมาก.ชาวเมืองพากันกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระราชา.
พระราชารับ สั่ง ให้ ภีม เสนเข้า เฝืา ตรัส ถามว่า พ่อ คุณ พ่อ
อาจจักจับเสือตัวน้ีใดไหม ? ก็ม เสนกราบทูล ว่า ขอเดชะข้า
พระองค็ไม่อาจจับเสือได้จะไดชื่อว่า นายขมังธนูได้อย่างไร ?
พระราชาทรงพระราชทานรางวัล แก่เขาแล้ว ทรงส่ง ไป เขา
ไปถึงเรือนบอกแก่พระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ดีแล้ว
เพ่ือ นไปเถิด . ภีม เสนถามว่า ก็ท ่า นเล่า ไม่ไ ปหรือ ? พระ
โพธิส ัต ว์ต อบว่า ฉันไม่ไปดอก แต่จ ัก บอกอุบ ายให้ ภีม เสน
กล่าวว่า จงบอกเถิดเพ่ือน.
พระโพธิส ัต ว์ก ล่าวว่าท่านอย่ารีบ ไปที่อ ยู่ของเสือ เพียง
ลำพัง ผู้เดีย วเป็น อัน ขาด แต่ต ้อ งประชุม ชาวชนบท เกณ ฑ์
ให้ถ ือ ธนูไ ปดัก พัน หรือ สองพัน แล้ว ไปที่เสือ อยู่น ั้น พอรู้วา่
เสือ มัน ลุก ข้ึน ต้อ งรีบ หนีเข้า พุ่ม ไม้พ ุ่ม หนึ่ง นอนหมอบ
ส่ว นพวกชนบทจะพากัน รุม ต็เสือ จนจับ ได้ ครั้น พวกนั้น จับ
เสือได้แ ล้ว ท่า นต้อ งเอาฟัน กัด เถาวัล ย์เ ส้น หนึ่ง จับ ปลาย
เดินไปที่น้ัน ถืง ท่ีใ กล้ๆ เสือ ตายแล้ว พึง กล่า วว่า พ่อ คุณ เอย
ใครทำให้เสือตัวนี้ตายเสียเล่า เราคิดว่า จัก ผูก เสือ ด้ว ยเถาวัล ย์
เหมือ นเขาผูก วัว จูง ไปสู่ร าชสำนัก ให้จ งได้ เข้า ไปสู่พ ุ่ม ไม้
เพ ื่อ หาเถาวัล ย์ เมื่อ เรายัง ไม่ท ัน ได้น ำเถาวัล ย์ม า ใครฆ่า
เสือ ตัว น้ีใ ห้ต ามเสีย เล่า เมื่อ เป็น เช่น นี้ ชาวชนบทเหล่า นั้น

คัมภีรสร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖๐ ไม่โออาต-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ต้องสะดุ้งกลัว กล่าวว่า เจ้านายขอรับ โปรดอย่ากราบทูล
พระราชาเลย จักพากันให้ทรัพย์มาก เสือก็จักเป็นอันแกคน
เดียวจับ ได้ ท้ังยังจักได้ทรัพย์เป็นอันมาก จากสำนักพระ
ราชาอีกด้วย
ภีม เสนรับคำว่า ดีจริงๆ แล้วไปจับเสือ ตามแนวท่ีพระ
โพธิสัตว์แนะให้น่ันแหละ ทำป่าให้ปลอดภัยแล้ว มีมหาชน
ห้อมล้อมมาสู่พระนครพาราณสื เข้าเสาพระราชา กราบทูลว่า
ขอเดชะ ข้าพระองค์จับเสือได้แล้ว ทำป่าให้ป ลอดภัยแล้ว
พระราชาทรงยินดี พระราชทานทรัพย์ใหัมากมาย.
ครั้นต่อมาในวันรุ่งขึ้น พวกชาวเมืองพากันมากราบ
ทูลว่า กระบือดุ สกัดทางแห่งหน่ึง พระราชาก็ส่งภีมเสนไป
โดยทำนองเดีย วกัน เขาก็จับกระบือแม้น้ันมาได้ ด้วยคำ
แนะนำที่พระโพธิสัตว์บอกให้เหมือนกับตอนจับเสือฉะน้ัน
พระราชาก็ได้พระราชทานทรัพย์ให้เป็นอันมากอีก เกิดมี
อิสริยยศใหญ่ย่ิง เขาเร่ิม มัว เมาด้ว ยความมัว เมาในความ
ใหญ่โต กระทำการดูห มิ่น พระโพธิส ัต ว์ มไิ ด้เช่ือถ้อยคำของ
พระโพธิสัตว์ กล่าวคำหยาบคายสามหาวเป็นต้นว่า เราไม่
ได้อาศัยท่านเลี้ยงชีพ ดอก ท่านคนเดียวเท่านั้นหรือที่เป็น
ลูกผู้ชาย
คร้ันอยู่ต่อมาไม่ก่ีวัน พระราชาประเทศใกล้เคีย ง
พระองค์หนึ่ง ยกทัพ มาล้อ มประชิด พระนครพาราณสึไ ว้
พลางสิ่งพระราชสาสน์ถวายพระราชาว่า พระองค์จักยอม

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๖๑ ไม่โอัอวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ถวายราชสมป้ติ แก่หม่อมฉัน หรือว่าจักรบ พระราชาทรงส่ง
ภีม เสนออกไปว่าเจ้าจงออกรบ เขาสอดสวมเครื่องรบครบครัน
ครองเพศเป็นพระราชาน่ังเหนือหลังช้างอันผูกเคร่ืองเรียบร้อย
แม้พ ระโพธิส ัต ว์ก ็ส อดสวมเคร่ือ งรบพร้อ มสรรพน่ัง กำกับ
มาท้า ยท่ีน ่ัง ของภีม เสนนั่น เอง เพราะกลัวเขาจะตาย
พญาช้า งห้อ มล้อ มด้ว ยมหาชน เคล่ือนขบวนออกโดย
ประตูพระนคร ลุถึงสนามรบ ภีม เสนพอได้ฟ ังเสียงกลองรบ
เท่าน้ัน ก็เร่ิมส่ัน สะท้าน พระโพธิส ัต ว์คิดว่า น่ากลัวภีมเสนจัก
ตกหลังช้างตายเสียในบัด ดล จึง เอาเชือ กรัด ภีม เสน เข้า ไว้
แน่น เพื่อ ไม่ใ ห้ต กช้า ง ภีมเสนครั้นเห็นสนามรบแล้วยิ่งกลัว
ดายเป็น กำลัง ถึง กับ อุจ จาระปัส สาวะราดรดหลัง ช้า ง พระ
โพธิส ัต ว์ก ล่า วว่า ภีม เสน เอย การกระทำในตอนห ลัง ช่าง
ไม่ส มกับ คำพูด ครั้ง ก่อ นๆ ของท่า นเสีย เลย ครั้ง ก่อ นตูท ่า น
ใหญ่โต ราวกับ ผู้เจนสงคราม เดี๋ยวน้ีสิ ประทุษ ร้า ยหลัง ช้า ง
เสียแล้ว กล่าวคาถาน้ีใ จความว่า

ภีม เสนเอย ท่ีท ่า นคุย โอ่ไ ว้แ ต่ก ่อ น แล้ว

ภายหลังกลับปล่อยอุจจาระไหลออกมา
คำคุยถึงการรบ กับความกระสับกระส่าย
ของท่า น ดูช ่า งไม่ส มกัน เลย ด ัง น ี้

ดัมภีรสว้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖๒ ไม่โล้อวด•ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
พระโพธิสัตว์ตำหนิเขาอย่างนแล้วปลอบว่า อย่ากลัวเลย
เพื่อ นเอย เมื่อ เรายัง อย่ จะเดือดร้อนไปใย ดังนี้แล้ว
ให้ภ ิม เลโลงเสย จาก ห ล , ๗ าวว่า จ ง ไ ป อ า บ ^

กลับไป ดำริว่า วันน้ีเราควรแสดงตน แล้วไสช้างเข้าสู่สนามรบ


บัน ลือ สีห นาท โจมตีก องพลแตก ให้ล ้อ มจับ พระราชาผู้เป็น
ศัต รูไ ว์ไ ด้ แล้ว ไปเฝืา พระเจ้า พาราณสึ พระราชาทรงยิน ดี
พระราชทานยศใหญ่ แก่พระโพธิสัตว์
จำเดิมแต่นั้น มานามว่า จูฬ ธนุค คหบัณ ฑิต ก็กระฉ่อน
ไปในชมพูท วีป ทั้งส้ิน พระโพธิสัตว์ใดให้บำเหน็จแก่ ภีม เสน
แล้ว กลับ ถ่ิน ฐานเดิม กระทำบุญ มีให้ท านเป็น ต้น แล้วก็ไป

ตามยถากรรม
พระบรมศาสดา จึงตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุท้ังหลายมิใช่ในแต่บัดนี้เท่านั้นที่ ภิก ษุน ี้ค ุย
โอ้อ วต แมีในกาลก่อน ก็ได้คุยโอ้อวดแล้วเหมือนกัน ครั้งทรง
นำพระธรรมเทศนาน้ีม าแล้ว ทรงสืบ อนุส นธิป ระชุม ชาดกว่า
ภีม เสนในคร้ังนั้นได้มาเป็นภิกษุผู้มักโอ้อวด ส่วนจูฬ ธนุค คห
บัณ ฑิต ได้มาเป็นเราตถาคตฉะน้ีแล.

ล ัก ษ ณ ะ ค น ม ีม า ร ย า เป ็น อ ย ่า ง ไ ร

มารยา ดือ กิร ิย าอาการท่ีเ สแสร้ง ทำขึ้น เพื่อ ลวง เพื่อ


หลอกให้เกิด ความเข้า ใจผิด คนที่ม ีอ าการมารยามัก จะเป็น

ดัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖๓ ไม่โอ้อาต-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
คนที่ชอบอ้างเหตุ อ้างผล เวลาทำงานมัก จะทำไม่ค ่อ ยทัน ผู้อื่น
เป็นคนไม่ซ่ือตรง มักจะมีการกระทำหลอกลวง เสแสร้งต่างๆ
นานา
มีเรื่องความหลอกลวงในปุราเภทสุต ตนิท เทสดังน้ี

ปุร าเภทสุต ตนิท เทส

ว่า ด้ว ยความหลอกลว ง ๓ อย่า ง๒๒

คำว่าไม่หลอกลวง ได้แก่ ความหลอกลวง ๓ อย่าง คือ


๑. ความหลอกลวงเก ่ียวกับการใช้สอยปัจจัย
๒. ความหลอกลวงเก ่ียวกับอิริยาบถ
๓. ความหลอกลวงเก่ียวกับการพูดเลียบเคียง

๑. ความหลอกลวงเกี่ย วกับ การใช้ส อยปัจจัยเป็น


อย่างไร
คือ คหบดีใ นโลกนี้ ย่อ มนิม นต์ภ ิก ษุ ถวายจีว ร
บิณ ฑบาต เสนาสนะ และลิล านปัจ จัย เภสัช บริข าร ภิก ษุน ้ัน

มีความปรารถนาเลวทราม
ถูกความอยากครอบงำ มีความต้องการจีวร บิณ ฑบาต
เสนาสนะ และลิล านปัจ จัย เภสัช บริข าร เพราะต้อ งการได้
ให้มากขึ้น จึงบอกคืนจีวร บิณ ฑบาต

๖๒ ชุ. มหา. มจ. ๒๙/ ๒๖๒, มก.๖๖/ ๒๐

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖๔ ไม่โอ้อวค-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
เสนาสนะ และสิลานปัจจัยเภสัชชบริขาร เธอพูด
อย่างนี้ว่า “ จีวรที่มีค่ามาก จะมีประโยชน์อะไรแก่สมณะ
สมณะควรเท่ียงเลือ กเก็บ ผ้าเก่าจากป่าช้า กองหยากเยื่อ
หรือร้านตลาด เอามาทำสังฆาฏิใช้ จึงจะเป็นการเหมาะสม
บิณฑบาตท่ีมีค่ามากจะมีประโยชน์อะไรแก่สมณะ สมณะ
ควรสำเร็จ ความเป็น อยู่ด ้ว ยก้อ นข้า วที่ไ ด้ม าด้ว ยปลีแ ข้ง
โดยการเท่ียวแสวงหาจึงจะเป็นการเหมาะสม เสนาสนะท่ีมี
ค่ามากจะมีประโยชน์อะไรกับสมณะ สมณะควรอยู่ที่โคนไม้
อยู่ท ี่ป ่า ช้า หรือ อยู่ก ลางแจ้ง จึง จะเป็น การเหมาะสม
ลิลานปัจจัยเภสัชชบริขารที่มีค่ามาก จะมีประโยชน์อะไรแก่
สมณะ สมณะควรทำยาด้วยนํ้ามูตรเน่าหรือชิ้นลูกสมอ จึง
จะเป็นการเหมาะสม
เพราะต้องการได้ให้มากย่ิงข้ึนนั้น เธอจึงครองจีวร
เศร้าหมอง ฉันบิณฑบาตเศร้าหมอง ใช้สอยเสนาสนะซอมซ่อ
ใช้ลิลานปัจจัยเภสัชชบริขารตามมีตามได้ คหบดีท้ังหลาย
รู้จักภิกษุนั้นอย่างน้ีว่า
“ สมณะรูปน้ีมีความปรารถนาน้อย สันโดษ สงบสจัด
ไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ ปรารภความเพียร มีวาทะกำจัด
ชัดเกลา ก็ย่ิงนิมนต์เธอให้รับจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ
ลิลานปัจจัยเภดัชบริขารมากยิ่งขึ้น
เธอจึงพูดอย่างนี้ว่า เพราะพรั่งพร้อมด้วยเหตุ ๓ประการ
กุลบุต รผู้ม ีศรัท ธา ย่อมประสบบุญ มาก ดือ เพราะพรั่ง

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ ๖๕ ไม่โ อ้อ วด-ไม่ม ีม ารยา

kalyanamitra.org
พร้อมด้วยศรัทธา เพราะพร่ังพร้อมด้วยไทยธรรม
เพราะพร่ัง พร้อ มด้ว ยพระหัก ขิไ ณยบุค คล กุล บุต รผู้ม ี
ศรัท ธาย่อ มประสบบุญ มาก ท่า นทั้ง หลายมีศ รัท ธานี้อ ยู่
ไทยธรรมนี้ก็มีอยู่พ ร้อมทั้งอาตมภาพก็เป็น ปฏิคาหก ถ้า
อาตมาภาพไม่ร ับ พวกท่า นก็จ ัก เสื่อ มจากบุญ ไปเสีย
อาตมภาพมิไ ด้ค วามต้อ งการด้ว ยปัจ จัย น้ี แต่จักรับเพ่ือ
อนุเคราะห์พวกท่าน”
เพราะอาศัย เหตุน ั้น เธอจึง รับ จีว รมากมาย รับ
บิณ ฑบาตมากมาย รับเสนาสนะมากมาย รับคิลานปัจจัย
เภสัช ชบริข ารมากมาย การทำหน้านิ่ว การทำคิ้วขมวด
การหลอกลวง กิริยาที่หลอกลวง ภาวะที่หลอกลวง เห็นปานนี้
นชอว่าความ ห ลอกลวงเกยวกับ การเขสอย ปัจจัย
๖. ความหลอกลวงเกี่ย วกับ อิร ิย าบถเป็น อย่า งไร
คือ ภิกษุบางรูปในธรรมวินัยนี้ มีความปรารถนาเลว
ทราม ถูกความอยากครอบงำ ปรารถนาให้เขายกย่อง คิดว่า
“คนจักยกย่องเราด้วยอุบายอย่างน้ี”
จึง สำรวมการเดิน สำรวมการยืน สำรวมการน่ัง
สำรวมการนอน ตั้งสติเดิน ตั้งสติยืน ตั้งสตินิ่ง ตั้งสตินอน
ทำทีเ หมือ นภิก ษุม ีส มาธิเ ดิน เหมือ นภิก ษุม ีส มาธิย ืน
เหมือนภิกษุม ีส มาธิน ั่ง เหมือนภิก ษุม ีส มาธิน อน ’ เป็น
เหมือนภิกษุเจริญฌานอวดต่อหนัา
การตั้ง ท่า การวางท่า การดำรงอิร ิย าบถ การทำหน้า
นิ่ว การทำขมวดคิ้ว การหลอกลวง กิริยาท่ีหลอกลวง ภาวะท่ี

คมภร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖๖ ไม่โอ้อวด•ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
หลอกลวง เห็น ปานน้ีเรีย กว่า ค ว าม ห ล อ ก ล ว ง เก ่ีย ว ก ับ

อิร ิย าบถ
๓. ความหลอกลวงเกี่ย วกับ การพูด เสีย บเคีย งเป็น 1
อย่า งไร
ดือ ภิก ษุบ างรูป ในธรรมวิน ัย น้ี มีค วามปรารถนาเลว
ทราม ถูกความอยากครอบงำ ปรารถนาจะให้เขายกย่อง คิดว่า
“ คนจัก ยกย่อ งเราด้วยอุบ ายอย่างนี้”

จึง กล่าววาจาอิง อริย ธรรม ดือ พูด ว่า “ ภิก ษุผ ู้ท รงจีว ร
มีรูปแบบน้ี เป็นสมณะมีลักด๋ีใหญ่ ผู้!ซับาตร... ใช้ภาชนะโลหะ
...ใช้ธมกรก .....ใช้ผ้ากรองนํ้า...
เป็นสมณะมีคักดี๋ใหญ่... มีอาจารย์ระดับนี้..... มีมิตร....
มีพ วก มีสหายระดับ น้ีเป็น สมณะมีด ัก ดี๋ใหญ่
อีก นัย หน่ึง ภิก ษุเ ป็น ผู้ว างหน้า เฉยเมย ทำหน้า นิ่ว
ค้ิวขมวด โกหกหลอกลวง ปลิ้น ปล้อ น ตลบตะแลง เป็น ผู้ใ ด้
รับ การยกย่อ งด้ว ยการวางหน้า ว่า “ สมณะน้ีไ ดํวิห ารสมาบ้ต ิ
อัน มีอ ยู่เห็น ปานน้ี” ภิก ษุน ้ัน ย่อ มกล่า วคำเช่น นั้น อัน เกี่ยว
เน่ืองด้วยโลกุตรธรรม และสุญ ญตนิพ พาน อันลึกซ้ึง เร้นลับ
ละเอีย ดอ่อ น ปิด บัง การทำหน้า นิ่ว การทำคิ้ว ขมวด การ
หลอกลวง กิร ิย าท่ีห ลอกลวง ภาวะที่ห ลอกลวง เห็น ปานนี้
น้ีเรียกว่า ความหลอกลวงเกี่ย วกับ การพ ูด เสีย บเคีย ง
ความหลอกลวง ๓ อย่าง ผูใดละได้แล้ว ดัดขาดได้แล้ว
ทำให้ส งบได้แ ล้ว ระงับได้แล้ว ทำให้เกิด ซึ้น ไม่ไ ด้อ ีก เผา

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖๗ ไมโออวด-ไม่มึมารยา

kalyanamitra.org
ด้ว ยไฟคือ ญาณแล้ว ผู้นั้นตรัสเรียกว่า ผู้ไ ม่ห ลอกลวง รวม
ความว่า เป็น ผู้ห ลีกเร้น ไม่ห ลอกลวง
ผู้มีมารยาย่อมเจ้าเล่ห์หลอกลวง
มีเรื่องราวนกเจ้าเล่ห์!นพกชาดก ดัง นี้

พกชาดก๒”

นกมีปืกดัวน้ีดีจริง ยืนนิ่งดังดอกโกมุท
หุบ ปีก ทั้ง ๒ ไว้ง ่ว งเหงาซบเซาอยู่
เจ้าทั้งหลายไม่รู้จักกิริยาของมันพวกเจ้า
ไม่รู้จึงพากันสรรเส่ริญนกตัวนี้!ม่ได้คุ้มครอง
รักษาพวกเราดอก เพราะเหตุน้ัน นกตัวน้ีจึงไม่
เคล่ือนไหวเลย

พระศาสดาเมื่อ ประทับ อยู่ ณ พระเชตวัน มหาวิห าร


ทรงปรารภภิกษุโกหกรูปหน่ึง ตรัสธรรมเทศนาน้ี มีคำเร่ิมด้น
ว่า ภทฺท โก วตายํ ปกฺขี ดังน้ี

ความย่อ มีอ ยู่ว ่า พระศาสดาทรงเห็น ภิก ษุโ กหกรูป


หน่ึง ซึ่ง ถกนำตัว มาเฝืา ตรัสว่า ดก่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ภิก ษุ
รูป'น ้ีธ ฬ โ ก ่ห ^ บ ต ่น ี้เ ท ่า น ้ี แมเมอก่อ นสกหก แล้'เทรงนา

เร่ืองอดีตมาตรัสเล่า

๒"’
ชุ. ชา. มก. ๕๗/๔๕๔

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๖๘ ไม่โออวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ในอดีต กาลครั้ง พระเจ้า พรหมหัต เสวยราชสมบัต ิอ ยู่
ในกรุงพาราณสี
พระโพธิส ัต ว์เ ป็น ปลามีบ ริว ารมากอาศัย อยู่ใ นสระ
แห่งหนึ่งในทิมวันตประเทศ
คร้ัง นั้น มีน กยางตัว หน่ึง คิด ว่า จัก กิน ปลา จึง ยืน ก้ม
หัวกางปีก ทำเช่ือ งๆ
มองดูป ลาในท่ีใ กล้ส ระ ค อยดูป ลาเห ล่า น ั้น เผลอ
ขณะน้ัน พระโพธิส ัต ว์แ วดล้อ มด้ว ยฝูง ปลาเท่ีย วหาเหย่ือ กิน
ไปถึง ที่น ั้น ฝูง ปลาเห็น นกยางนั้น จึง กล่า วคาถาแรกว่า

นกมีป ีก ตัว น้ีด ีจ ริง หุบ ปีก ทั้งสองไว้


ง่วงเหงาซบเซาอยู่

ในบทเหล่านั้น บทว่า มนฺทมนุโท ว ฌายติ

ได้แก่น กยางชบเซาอยู่ตัวเดียว เหมือนจะหมดแรง ทำ


เป็นไม่รู้ใม่ชี้อะไรทั้งน้ัน
ลำดับนั้นพระโพธิสัตว์มองดูนกยางน้ัน กล่า วคาถาท่ี ๒

ว่า
เจ้า ทั้ง หลาย ไม่ร ู้จ ัก กิร ิย าของมัน พวกเจ้าไม่รู้จึง
พาก้น สรรเสริญ นกตัวนี๋ไม่ได้คุ้ม ครองรักษาพวกเราดอก
เพราะเหตุนั้นนกตัวนี้ซึงไม่เคลื่อนไหวเลย

คมภร์ส ว้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๖๙ ไม่โ ออวด-ไม่ม ีม ารยา

kalyanamitra.org
เมื่อพระโพธิสัตว์กล่าวอย่างนี้ ฝูงปลาก็พ่นนํ้าให'นก
ยางหนีไป
พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนาน้ีมาแล้ว ทรง
ประชุมชาดก
นกยางในครั้งนั้นได้เป็นภิกษุโกหกในครั้งนี้ ส่วน
พญาปลา คือเราตถาคตนี้แล

ลัก ษณ ะของผู้ว ่า ยาก

อนุมานสูตร๒๔

ว่าด้วยการเปรียบตนกับ ผู้อ ื่น

ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างน้ี
สมัยหนึ่ง ท่านพระมหาโมคคัลลานะ พำนักอยู่ ณ
เภสกหาคัน สถานที่ให้อภัยแก่หมู่เนื้อ เขตกรุงสุงสุมารลิระ
ในแคว้นภัคคะ ณ ที่นั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะ ได้เรียก
ภิก ษุท ั้ง หลายมากล่า วว่า “ ท่า นผู้ม ีอ ายุท ั้ง หลาย” ภิก ษุ
เหล่านั้นรับคำแล้ว ท่านพระมหาโมคดัลลานะ จึงได้กล่าว
เร่ืองน้ีว่า
“ท่านผู้มีอายุท้ังหลาย ถ้าภิกษุปวารณาว่า ‘ขอท่าน
จงว่า กล่า วข้า พเจ้า ข้า พเจ้า เป็นผู้ที่ท ่านควรว่ากล่าวได้’

๒๙ ม. ม. มจ. ๑๒/ ๑๘๖, มก. ๑๘/ ๑๕๒

คัมภีร์ส ร้างวัด จากพระโอษุธฺ ๗๐ ไม่โ อ้อ วด-ไม่ม ีม ารยา

kalyanamitra.org
แต่ภิกษุน้ัน เป็น ผู้ว่ายาก มีธรรมท่ีทำให้เป็นผู้ว่ายาก ไม่อดทน
ไม่ย อมรับ คำพร์า สอนโดยเคารพ เมื่อ เป็น เช่น นั้น เพื่อ น
พรหมจารีทั้งหลายย่อมเข้าใจภิกษุนั้นว่า เป็น ผู้โ ม่ค วรว่า กล่า ว
ไม่ค วรพร้ํา สอนและไม่ค วรไว้ว างใจ

ธรรมที่ท ำให้เ ป็น ผู้ว ่า ยาก เป็นอย่างไร


คือ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี
๑. เป็นผู้มีความปรารถนาท่ีเป็นบาปตกอยู่ในอำนาจ
แห่ง ความปรารถนาท่ีเ ป็น บาป แม้ข ้อ ที่ภ ิก ษุ
เป็น ผู้ม ีค วามปรารถนาที่เ ป็น บาป ตกอยู่ใ น
อำนาจแห่ง ความปรารถนาท่ีเป็น บาปนี้ ก เ็ ป ็น
ธรรมที่ท ำให้เ ป็น ผู้ว ่า ยาก
๒. เป็นผู้ยกตนช่มผูอื่น...
๓. เป็น ผู้ม ้กโกรธถูกความโกรธครอบงำแล้ว...
๔. เป็น ผู้ม ัก โกรธ ผูก โกรธเพราะความโกร ธเป็น
เหตุ...
๕. เป็น ผู้ม ัก โกรธ ระแวงจัด เพราะความโกรธเป็น
เหตุ...
๖. เป็นผู้มักโกรธ เปล่งวาจาใกล้ความโกรธ...
๗. ถูกโจทแล้วกลับโต้เถียงโจทก์.....
๘. ถูกโจทแล้วกลับรุกรานโจทก์.....
๙. ถูกโจทแล้วกลับปรักปรำโจทก์....

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๗๑ ไม่โออวด•ไม่มีมารยๆ

kalyanamitra.org
๑๐. ถูก โจทแล้ว กลับ พ ูด กลบเกลื่อ น พูด นอกเร่ือ ง
แสดงความโกรธ ความประสงค์ร ้า ย และความ
ไม่เชื่อฟังให้ปรากฏ...
๑๑. ถูกโจทแล้วไม่ยอมอธิบายพฤติกรรม(ของตน)...
๑๒. เป็น ผู้ลบหลู่คุณ ท่าน ตีเสมอ...
๑๓. เป็นผูริษยา ตระหน่ี...
๑๔. เป็น ผู้โอ้อวด มีม ารยา...
๑๕. เป็นผู้กระด้างมักดูหมิ่นผู้อื่น...
๑๖. เป็นผู้ถือความเห็นของตนเป็นใหญ่ ถือรั้น สลัดได้

ยาก...

จะเห็นได้ว่าในธรรมหมวดน้ีเน้นยํ้าให้เห็นลักษณะภิกษุ
ที่ว ่ายาก สอนยาก
ช่ึง ผู้ท ่ีม ีค วามโอ้อ วด มีม ารยา ก็จ ัด อยู่ใ นประเภท
ของ ผู้ว ่า ยาก ด้ว ยเช่น กัน .

ล ัก ษ ณ ะ ข อ งผ ู้ว ่า ง่า ย

พระสัมมาดัมพุทธเจ้าตรัสแสดงลักษณะของผู้ว่าง่ายใน
อนุมานสูตรต่อไปอีกว่า
ท่า นผู้ม ีอ ายุท ้ัง หลาย ถ้าภิก ษุไ ม่ป วารณาไว้ว ่า ‘ขอ
ท่า นจงว่า กล่า วข้า พเจ้า ข้า พเจ้า เป็น ผู้ท ี่ว ่า กล่า วได้’ แต่
ภิกษุน ั้น เป็น ผู้ว่าง่าย มีธรรมที่ทำให้เป็นผู้ว่าง่าย เป็นผู้อดทน
ยอมรับ คำพร่ืา สอนโดยเคารพ เมื่อ เป็น เช่น นี้ เพื่อนพรหม
ดัม ภิร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๗๒ ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
จารีท ้ัง หลายย่อ มเข้า ใจภิก ษุน ั้น ว่า เป็น ผู้ค วรว่า กล่า ว ควร
พรีาสอน และควรไว้วางใจ

ธรรมท่ีท ำให้เ ป็น คนว่า ง่า ย เป็นอย่างไร


คือ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี
๑. เป็น ผู้ใม่ม ีความปรารถนาท่ีเป็น บาป ไม่ตกอยู่ใน
อำนาจแห่ง ความปรารถนาที่เป็น บาป แม้ข้อที่
ภิก ษุเ ป็น ผู้ไ ม่ม ีค วามปรารถนาท่ีเ ป็น บาป ไม่
ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาท่ีเป็นบาปน้ีก็
เป็น ธรรมที่ท ำให้เ ป็น ผู้ว ่า ง่า ย
๒. เป็นผู้ไม่ยกตนไม่ข่มผู้อ่ืนแม้ข้อที่ภิกษุ.....

๓. เป็นผู้ไม่มักโกรธไม่ถูกความโกรธครอบงำ แม้ข้อ
ท่ีภ ิก ษุ...

๔. เป็นผู้ไม่มักโกรธไม่ผูกโกรธเพราะความโกรธเป็น
เหตุ แม้ข้อที่ภิกษุ...
๕. เป็นผู้ไม่มักโกรธไม่ระแวงจัดเพราะความโกรธเป็น
เหตุ...
๖. เป็นผู้ไม่มักโกรธ เปล่งวาจาใกล้ความโกรธ...
๗. ถูกโจทแล้วไม่โต้เถียงโจทก์.....
๘. ถูกโจทแล้วไม่รุกรานโจทก์.....
๙. ถูกโจทแล้วไม่ปรักปรำโจทก์.....

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๗๓ ไม่โอ'อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
๑๐. ถูกโจทแล้วไม่พ ูด กลบเกล่ือ นไม่พูดนอกเร่ืองไม่
แสดงความโกรธ ความประสงค์ร ้า ย และความ
ไม่เชื่อฟังให้ปรากฏ...

๑๑. ถูกโจทแล้วยอมอธิบายพฤติกรรม(ของตน)...
๑๒. เป็นผู้ไม่ลบหลู่คุณท่าน ไม่ดีเสมอ...
๑๓. เป็นผู้ไม่ริษยาไม่ตระหนี่...
๑๔. เป็นผ้ไู ม1โอ้อ วดไม ่ม ีม ารยา...
๑๕. เป็นผู้ไม่กระด้าง ไม่ดูหม่ินผู้อ่ืน...
๑๖. เป็น ผู้ไม่ถ ือความเห็นของตนเป็น ใหญ่ ไม่ถือรั้น
สลัด ได้ง ่า ย แม้ข ้อ ที่ภ ิก ษุเป็น ผู้ไ ม่ถ ือ ความเห็น
ของตนเป็น ใหญ่ ไม่ถือร้ัน สลัด ได้ง ่า ยน้ี ก็เป็น
ธรรมท่ีทำให้เป็นผู้วาง่าย
ธรรมเหล่าน้ีเรียกว่า ธรรมท่ีทำให้เป็นคนว่าง่าย

การอนุม านดนเอง

ท่านผู้'มีอายุทั้งหลาย ในธรรม ๑๖ ประการนี้


ภิกษุควรอนุมานตนเองอย่างนี้ว่า
บุค คลผู้ม ีค วามปรารถนาที่เป็น บาป ตกอยู่ในอำนาจ
แห่ง ความปรารถนาบาป ย่อ มไม่เป็น ที่ร ัก ไม่เป็น ที่พ อใจ
ของุเรุาถ้าเราจะพึงมีความปรารถนาที่เป็นบาปตกอยู่ในอำนาจ
แห่งความปรารถนาที่เป็นบาป เราก็คงไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่
พอใจของคนแหล่งอื่น’...

คัมภีร์สร้างวัดขิากพระโอษฐ์ ๗๔ ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ภิก ษุเม่ือ รู้อ ย่า งนี้ค วรคิด ว่า ‘เราจัก ไม่เป็น ผู้ม ีค วาม
ปรารถนาท่ีเป็น บาป ไม่ต กอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนา
ที่เป็น บาป’...
... ภิกษุควรอนุมานตนเองอย่างน้ีว่า
“ บุค คลผู้โ อ้อ วด มีม ารยา ย่อมไม่เป็นท่ีรัก ไม่เป็นท่ี
พอใจของเรา ถ้าเราจะพึงเป็นผู้โอ้อวด มีมารยา เราก็คงไม่เป็น
ท่ีร้ก ไม่เป็นท่ีพอใจของคนเหล่าอ่ืน”
ภิก ษุ เม่ือ รู้อ ย่า งน้ีค วรสิต ว่า ‘ เราจัก เป ็น ผู้ไ ม ่
โอ้อ วด ไม่ม ีม ารยา’...

การพิจ ารณ าตนเอง

ท่า นผู้'มีอ ายุท ้ัง หลาย ในธรรม ๑๖ ประการน้ัน ภิก ษุ


ควรพิจารณาตนเองอย่างนี้ว ่า ‘เราเป็น ผู้ป รารถนาที่เป็น บาป
ตกอยู่ใ นอำนาจแห่ง ความปรารถนาท ่ีเป็น บาปจริง หรือ ’ ถ้า
พิจารณาอย่ร ัอ ย่างน้ีว ่า ‘เราเป็น ผ้ม ีความปรารถนาที่เป็น บาป
‘บจ่] ข่
ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาท่ีเป็นบาปจริง’ ภิก ษุน ั้น
ควรพยายามเพื่อ จะละบาปอกุศ ลนั้น เสีย แต่ถ ้า พิจ ารณาอยู่
รู้อ ย่า งน้ีว ่า ‘ เรามิใ ช่ผ ู้ม ีค วามปรารถนาที่เป็น บาป มิใช่ผู้ตก
อยู่ใ นอำนาจแห่ง ความปรารถนา ที่เ ป็น บาป’ ภิก ษ ุน ั้น ผู้
ศึก ษาอย่างต่อ เนื่อ งในกุศ ลธรรมทั้งหลายทั้งกลางวัน กลางคืน
พึงอยู่ตัวยปีติและปวิาโมทย์โดยแท้.....อีกประการหนึ่ง

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๗๕ ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ภิกษุควรพิจารณาตนเองอย่างนว่า‘เราเป็นผู้โอ้อวด มี
มารยาจริงหรือ, ถ้าพิจารณาอย่ร้อย่างน้ีว่า, เราเป็นผโอ้อวดมี
ฑขิ ข่1
มารยาจริง’ภิกษุน้ันควรพยายามเพ่ือละบาปอกุศลธรรมนั้นเสีย
แต่ถ้าพิจารณาอย่ร้อย่างน้ีว่า‘เราเป็นผูไ
้ ม่โอ้อวดไม่มีมารยา’
1 ข ’
ภิกษุนั้นผู้ศึกษาอย่างต่อเน่ืองในกุศลธรรมทั้งหลายทั้งกลางวัน
และกลางคืน พึงอยู่ด้วยปีติและปราโมทย์โดยแท้.....

การโอ้อวดและมีมารยา จัดอยู่ในอุปกิเลศ ๑๖ ประการ


การมีนิสัยโอ้อวดมีมารยาเป็นนิสัยท่ีไม่ดีควรแกใขปร้บปรุงคน
ที่ชอบโอ้อวด ชอบพูดแสดงให้คนอื่นยอมรับว่า ตัวเอง
มีสิงที่เหนือกว่าบุคคลอื่น ชอบอวดอ้างยกตนข่มท่าน
ส่ว นคนมีม ารยา มัก จะมีข ้อ อ้า งหรือ เหตุต ่า ง ๆ
สารฟัด เพ่ือ ปกป้อ งความผิด พลาดของตัว เอง มักจะ
ไม่ย อมรับ ความผิด พลาดของตัว เอง ไม่ย อมเป็ด เยย
ความเป็นจริงต่อเพื่อนสหธรรมิก การแกไข คือ ตัอง
คบกัลยาณมิตร เช่นครูบาอาจารย์คอยศึกษาจากท่าน อาศัย
ท่า นเป็น ต้น แบบ ให ้ท ่า น ว่า กล่า วด ัก เด ือ น เป็น คนไม่
ว่า ยากสอนยาก แล้ว เราก็จะได้น ิส ัยดีๆ ของท่า นนำมาเป็น
นิสัยของเรา

ความโอ้อ วดก่อ ให้เกิด ความแตกแยก

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ ๗๖ ไม่โอ้อวด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ภิก ษุผ ู้ม ีม ารยาโอ้อ วดน้ัน ยัง เป็น ต้น เหตุแ ห่ง ความ
วิบ ัต ิก ่อ ให้เกิด ความแตกแยกในหมู่ค ณะก่อ ให้เกิด ความไม่
สามัค คีแ ละสามารถเป็น เหตุใ ห้เ กิด การทะเลาะวิว าทกัน ได้
เรามาศึกษาลูว่าคนท่ีมีน ิสัยเช่น ไรเป็น ผลให้เกิดการแตกกัน
มีเ ร่ือ งของผู้ม ีน ิส ัย โอ้อ วดมีม ารยาเป็น มูล เหตุแ ห่ง
การทะเลาะวิวาท ๖ ประการ ปรากฏในสามคามสูตรดังน้ี

สามคามสูตร๒๕

ว่าด้วยเหตุการณ์ในหมู่บ้านสามคาม

พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแก่พ ระอานนท์ถึงมูลเหตุแ ห่ง


วิว าท ๖ ประการ คือ
๑. ภิกษุเป็นผู้มักโกรธผูกโกรธ...
๒. ภิก ษุเป็น ผู้ล บหลู่ เป็นผู้ดีเสมอ...
๓. ภิกษุเป็น ผูริษ ยา มีความตระหนี่...

๔. ภิกษุเป็น ผ้โู อ้อวด มีมารยา...


๕. ภิกษุเป็นผู้มีความปรารถนาช่ัว เป็นมิจฉาทิฎฐ...
๖. ภิก ษุเ ป็น ผู้ย ึด ม่ัน ทิฎ ฐิข องตน มีค วามถือ รั้น
สละสิ่งที่ตนยึดมั่นได้ยาก...

'“๕ ม. อุ. เทวท,หวรรค มจ. ๑๔/๕๐, มก. ๒๒/๗๗

คัมภีร์สร้างวัดจากพระ:โอษฐ์ ๗๗ ไม่โอ้อวด•โม่มีมารยา

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ั้ง หลายเหล่า นี้ ย่อ มไม่ม ีค วามเคารพ ยำเกรง
ในพระพุท ธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์ท ั้ง ไม่เ ป็น ผู้ท ำให้
บริบ ูรณ์[นสิกขาย่อมก่อความวิวาทให้เกิดในสงฆ์

แ น ว ท างแ ก ้น ิส ัย โอ ้อ ว ด ม ีม าร ย า

การแก้นิสัยโอ้อวดมีมารยาต้องแก้ด้วยการปลูกฝังความ
มีล้จจะจริงตรง แก้โดยมีบุคคลด้นแบบที่ดีในที่นี้หมายถึงพระ
เถระท่อ
ี ยู่ในอารามน้ัน ต้องเป็น แบบอย่างท่ืดีท้ังกาย วาจา ใจ
เป็นผูใคร่รู้ใฝ่ศึกษา ตั้ง ใจประพ ฤติป ฏิบ ัต ิธ รรม ประพฤติ
อ่อนน้อ มถ่อ มตน สามารถแสดงธรรมไดไพเราะทั้งเบ้ือ งต้น
ท่ามกลาง เบื้อ งปลาย เป็นท่ีต้ังแห่งศรัทธาเลื่อมใส

วัด ใดมีพ ระเถระเป็น บุค คลด้น แบบแล้ว ลูก วัด ย่อ ม


ได้ต้น แบบในการประพฤติตาม จะมืก ิร ิย ามารยาทเรีย บร้อ ย
สำรวมระวังในข้อ วัต รปฏิบ ัติ และตั้ง ใจประพฤติป ฏิบ ัต ิต าม
ห ากวัด ใดม ีภ ิก ษ ุท ี่ว ่า ยากสอน ยาก มีก ิร ิย ามารยาทไม่
สำรวมระวัง ในพระปาฏิโ มกข์ไ ม่ช ่ว ยเหลือ การงานส่ว นรวม
แถมยัง ชอบวิพ ากษ์ว ิจ ารณ์ก ารบ้า นการเมือ ง ย่อ มก่อ ให้
เกิด ความระสาระสายต่อ กฎระเบีย บภายในวัด พลอยจะทำ
ให้ค นที่ต ั้ง ใจ'ฝึก ตัว 'ฟิก ฝนอบรมตนเองตลอดเวลาเกิด ความ
แหนงหน่า ยหรือ อาจเป็น สาเหตุใ ห้เ ป็น ชนวนให้ห มู่ค ณ ะ
กระทบกระท้ัง เส่ือ มเสีย ช่ือ เสีย งและเสีย หายไต้ใ นภายหลัง

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๗๘ ไม่โอ้อาด-ไม่มีมารยา

kalyanamitra.org
เหมือนด่ังคำที่ว่า “ ปลาเน่าตัวเดียวพลอยทำให้ปลาเน่าไป
ท้ังข้อง”
คนท่ีโอ้อวด มักจะเป็นคนที่เวลาทำงานเป็นกลุ่ม หรือ
กับหมู่คณะพอทำงานสัก อย่างประสบผลดีกว่าคนอ่ืน ก็ม ัก
จะคุยถึงความเก่งของตัวเอง
ส่วนคนท่ีมีมารยา มักจะเป็นคนท่ีทำงานกับกลุ่มเขา
ไม่ค ่อยจะทัน เลยจำเป็น ต้องคิด หาเหตุผ ล คำแก้ตัว ชอบ
อ้างอย่างโน้นอย่างน้ีตลอดเวลา ดังนั้นผู้'ที่เป็นครูอาจารย์
หรือพระเถระที่อยู่ในอาวาสนั้น ต้องพยายามหมั่นดั่งสอน
ดักเดือน ให้บุคคลเหล่าน้ันหรือดัทธิวิหาริก เป็นคนท่ีชอบ
แก่ไขข้อบกพร่องต่างๆมากกว่าแก้ตัว แล้วต้ังใจ?เกสมาธิให้
ใจผ่อ งใสยิ่ง ๆ ขึ้นไป

คมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๗๙ ไม่โ อ้อ วด-ไม่ม ีม าวยา

kalyanamitra.org
ผู้มีความเพียร คือ ผู้ท่ีละอกุศลธรรม
เพ่ือให้กุศลธรรมเกิด มีความเข้มแข็ง
มีความบากบั่น มั่น คง ไม่ทอดธุระใน
กุศลธรรมทั้งหลาย

kalyanamitra.org
บทที่

* ข้^ *

ปรารถนาความเพียร

ค ว าม ห ม าย ข อ งผ ู้ม ีด ว าม เพ ีย ร ใน 1เส น า ส น ส ูต ร

พระสัมมาดัมพุทธเจ้าตรัสถึงคุณ สมบติข้อท่ี๔ ของภิก ษุ


ผู้เหมาะแก่การบรรลุธรรมไว้ในเสนาสนสูตร ว่า
ผู้ม ีค วามเพีย ร คือ ผู้ที่ละอกุศลธรรมเพ่ือให้กุศลธรรม
เกิด มีค วามเข้ม แข็ง มีค วามบากบ่ัน มั่น คง ไม่ท อดธุระใน
กุศลธรรมท้ังหลาย

kalyanamitra.org
ลัก ษณะบุค คลผู้ม ีค วามเพีย ร
คน ท่ีม ีค วาม เพ ีย รจำเป ็น ต้อ งม ีค วาม ทรห ดอดทน
ต้อ งถูก ฟิก วิน ัย มาเป็น อย่า งดี ถ้ารับ ผิด ชอบงานใดมา หาก
ไม่เสร็จ ไม่เรีย บร้อ ยก็ย ัง ไม่ย อมเลิก เป็น คนเอาการเอางาน
รับผิดชอบเต็มท่ี

ประเภทของความเพีย ร
ความเพียรแบ่งออกเป็น ๔ อย่าง คือ
ต. สังวรปธาน เพ ีย รระวัง ไม่ใ ห้บ าปเกิด ขึ้น ไน
สันดาน
๖. ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว
๓. ภาวนาปธานเพียรให้กุศลเกิดข้ึนในดันดาน
๔. อนุรักขนาปธานเพียรรักษากุศลที่เกิดข้ึนแล้วไม่
ให้เส่ือม
ความเพียร ๔ อย่างนี้เป็นความเพียรชอบ ควรประกอบให้
มีในตน

การปรารภความเพียรเพื่อ บรรลุธ รรม

มีข้อความกล่าวใน ทุต ิย ทสพลสูตร ดังน้ี

ทุติยทสพลสูตร๒๖

๒๖ สิ. น. มจ. ๑๖/ ๓๙, มก. ๒๖/ ๑๐๕

ต้ม ภร์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ ๘๒ ปรารถนาความเพีย ร

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ้ัง หลาย ธรรมท่ีเรากล่า วไว้ต ็แ ล้ว เป็น ธรรม
เข้า ใจง่าย เปิด เผย ประกาศไว้แล้ว เป็น ดุจ ผ้า ผืน เก่า ท่ีต ัด
ไว้แ ล้ว อย่า งนี้ กุล บุต รผู้บ วชด้ว ยศรัท ธา สมควรแท้เพ่ือ
ปรารภความเพีย รในธรรมที่เ รากล่า วไวัด ีแ ล้ว เป็น ธรรม
เข้าใจง่าย
เปิด เผย ประกาศไว้แ ล้ว เป็น ดุจ ผืน ผ้า เก่า ท่ีด ัด ไว้
แล้วอย่างน้ีว่า ‘เน้ือ และเลือ ดในร่างกายจงเหือ ดแห้งไป จะ
เหลือ อยู่แ ต่ หนัง เอ็น กระดูก ก็ต ามที ผลใดพึง บรรลุ
ได้ด ้ว ยเร่ีย วแรงของบุร ุษ ด ้ว ยความ เพ ีย รข องบ ุร ุษ
ด้ว ยความบากบั่น ของบุร ุษ (ถ้า )ไม่บ รรลุผ ลน้ัน ก็จ ก
ไม่ห ยุด ความเพียรของบุร ุษ ’
บุค คลผู้เกียจคร้าน เกลื่อนกล่นไปด้วยบาปอกุศลธรรม
ท้ัง หลาย ย่อ มอยู่เ ป็น ทุก ข์แ ละทำประโยชน์ข องตนที่ย ิ่ง
ใหญ่ใ ห้เล่ือ มเลีย ไป ส่ว นบุค คลผู้ป รารภความเพีย ร ผู้สรัด
จากบาปอกุศ ลทั้ง หลายย่อ มอยู่เ ป็น สุข และทำประโยชน์ท ี่
ย่ิงใหญ่ข องตนให้บ ริบ ูร ณใต้ การบรรลุธรรมท่ีเลิศ ด้วยธรรม
อันเลว หามีไม่
แต่ก ารบรรลุธ รรมที่เลิศ ด้ว ยธรรมอัน เลิศ ย่อ มมีไ ด้
พรหมจรรย์นี้ ผ่องใสและน่าดื่ม พระศาสดาก็ยังอยู่เฉพาะหน้า
เพราะเหตุน ้ัน เธอทั้ง หลายจงปรารภความเพีย ร เพื่อถึง
ธรรมทีย่ ังไม่ถึง เพ่ือบรรลุธ รรมท่ยี ังไม่บรรลุ เพื่อ ทำให้แจ้ง
ธรรมทีย่ ังไม่ทำให้แจ้งโดยตั้งใจว่า‘บรรพชาของเราทั้งหลายนี้

คมก็ร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๘๓ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
เป็นของไม่ตาทราม ไม่เป็นหมัน มีผล มีกำไร จักมีแก่เรา
ท้ังหลาย เราท้ังหลายบริโภคจีวร บิณ ฑบาตร เสนาสนะ
และลิลานปัจจัยเภสัชบริขารของชนเหล่าใด ดักการะของ
ชนเหล่าน้ัน จักมีผลมาก มีอานิสงส์มาก เพราะเราท้ังหลาย’
เธอทั้งหลายพึงสำเหนียกดังพรรณนามาฉะนี้แล
ภิกษุท้ังหลาย บุคคลผู้พิจารณาเห็นประโยชน์ของตน
สมควรแท้ เพ่ือท่ีจะทำกิจของตนให้ถึงพร้อมด้วยความไม่
ประมาท หรือว่าบุคคลผู้พิจารณาเห็นประโยชน์ของผู้อื่น
สมควรแท้ เพ่ือจะทำกิจของผู้อ่ืนให้ถึงพร้อมด้วยความไม่
ประมาท หรือ บุคคลผู้พิจารณาเห็นประโยชน์ท้ัง ๒ ฝ่าย
สมควรแท้ท่ีจะทำกิจของท้ัง ๒ ฝ่ายให้ถึงพร้อมด้วยความ
ไม่ประมาท

ระดับของความเพียรท่ีทำให้บรรลุธรรม

มีเรื่องราวปรากฏถึงความเพียรในฆฎสูตรดังน้ี

ฆฏสูตร๒๗

ข้าพเจ้าได้สดับมาดังน้ี
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถึ สมัยนั้น
ท่านพระสารีบุตรและพระมหาโมคัลลานะ อยู่ในวิหารหลัง

๒๗ สง. นิ. มจ. ๑๖/๓๒๗, มก. ๒๖/๗๕๗

ดัมภึร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๘๔ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
เดียวกันในพระเวฬุวัน สถานท่ีให้เหย่ือกระแต เขตกรุงราชคฤห์
คร้ัน ในเวลาเย็น ท่า นพระสารีบ ุต ร ออกจากท่ีห ลีก เร้น
เข้า ไปหาท่า นพ ระมหาโมคคัล ลานะถึง ที่อ ยู่ ได้ส นทนา
ปราศรัย เป็น ที่บ ัน เทิง ใจ พอเป็น ท่ีร ะลึก ถึง กัน กับ ท่า นพระ
มหาโมคคัลลานะแล้ว นั่ง ณ ที่สมควร ได้ก ล่า วกับ ท่า นพระ
มหาโมคคัลลานะดังนี้ว่า
“ ท่า นโมคคัล ลานะ อิน ทรีย ์ข องท่านผ่อ งใสย่ิง นัก ผิว
หน้า ของท่า นบริส ุท ธ์ผ ุด ผ่อ ง ชะรอยวัน นี้ท ่า นจะอยู่ด ้ว ย

วิหารธรรมอันละเอียด”
“ ท่า นผู้ม อายุ วัน นี้ผ มอยู่ด ้ว ยวิห ารธรรมอัน หยาบ
แต่ผมได้มีการสนทนาธรรม”
“ ท่านได้สนทนากับใคร”
“ ผมได้สนทนาธรรมกับพระผู้มีพระภาค”
“ เด๋ีย วนี้ พระผู้ม ีพ ระภาคประทับ อยู่ ณ พระเชตวัน
อารามของอนาถบิณ ฑิก เศรษฐี เขตกรุง สาวัต ถี ไกลนัก
ท่า นไปเฝืา พระผู้ม ีพ ระภาคด้ว ยฤทธ้ิห รือ หรือ ว่า พระองค์
เสด็จมาหาท่านด้วยฤทธ้ิ”
“ ผ ม ไม ่ไ ด ้ไ ป เผ ิา พ ระผ ู้ม ีพ ระภ าค ด ้ว ยฤ ท ธี้ แม้
พระองค์ก ็ไ ม่ไ ด้เสด็จ มาหาผมด้ว ยฤทธิ้ แต่ผ มมีต าทิพ ย์แ ละ
หูท ิพ ย์ อัน หมดจดเท่าพระผู้ม ีพ ระภาค แม้พ ระผู้ม ีพ ระภาค
ก็ทรงมีห ิพพจักขุและทิพ พโสตธาตุอัน หมดจดเท่าผม”

คัม ภีร สร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๘๕ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
“ ท่านได้สนทนาธรรมกับพระผู้มีพระภาคว่าอย่างไร”
“ ผม ได้ท ูล ถาม พ ระผู้ม ีพ ระภ าคดัง น ้ีว ่า ‘ข้า แต่
พระองค์ผู้เจริญ ท่ีพระองค์ตรัสว่า ‘ผูป
้ รารภความเพียร ผู้
ปรารภความเพียร’ ด้วยเหตุเท่าไรหนอ ภิกษุจึงชื่อว่า
เป็นผู้ปรารภความเพียร’ เม่ือ ผมทูล ถามอย่า งนี้ แม้พระผู้มี
พระภาคได้ตรัสกับผมว่า
‘โมคคัล ลานะ ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย ่น ี้ เป็น ผู้ป รารภ
ความเพีย ร อยู่ด ้ว ยตั้ง สัต ยาธิษ ฐานว่า ‘เนื้อ และเลือ ดใน
ร่างกายจงเหือดแห้งไปจะเหลืออยู่แต่หนัง เอ็น กระดูก
ก็ตามพีเถิด ผลอันใดพึงบรรลุได้ด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ
ด้ว ยความเพีย รของบุร ุษ ด้ว ยความบากบั่น ของบุร ุษ
(ถ้า) ไม่บรรลุผลนั้นแล้ว ก็จักไม่หยุดความเพียร ภิกษุ
ช่ือว่าเป็นผู้ปรารภความเพียรเป็นอย่างนื้’ ‘ผมได้สนทนา
ธรรมกับพระผู้มีพระภาคอย่างน้ี’

คุณ สมบัต ิผ ู้บ ำเพ็ญ เพีย ร

โพธิราชกุมารสูตร๒๘

เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว โพธิราชกุมาร
ได้ท ูล ถามพระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ว่า ข้าแต่พ ระองค์ผู้เจริญ เม่ือ
ภิก ษุไ ด้พ ระตถาคตเป็น ผู้แ นะนำโดยกาลนานเพีย งไรหนอ
๖๘ ม. ม. มก. ๒๑/ ๑๒๘, มจ. ๑๗/ ๓๙๒

ดัม ภีร ัส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๘๖ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
จึง ทำให้แ จ้ง ซ่ึง ท่ีส ุด พรหมจรรย์อ ัน ไม่ม ีธ รรมอื่น ยิ่ง ไปกว่า ที่
กุล บุต รท้ัง หลายผู้อ อกจากเรือ นบวชเป็น บรรพชิต โดยชอบ
ต้องการ ด้ว ยปัญ ญาอัน ยิ่งเองในปัจจุบ ัน แล้วเข้าถึงอยู่ได้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนราชกุมาร ถ้ากระน้ัน
ในซัอ นี้ อาตมภาพจัก ย้อ นถามบพิต รก่อ น บพิต รพึง ตอบ
ตามที่พ อพระทัย บพิต รจัก ทรงสำคัญ ความข้อ นั้น เป็น ไฉน
บพิตรเป็นผู้ฉลาดในสิลปศาสตร์คือ การข้ึนข้าง การถือขอหรือ.
โพธิร าชกุม ารทูล ว่า อย่างน้ัน พระเจ้า ข้า หม่อ มฉัน
เป็นผู้ฉลาดในศิลปศาสตร์คือการขึ้นข้าง การถือขอ.
ดูก ่อ นราชกุม าร บพิต รจัก ทรงสำคัญ ความข้อ นั้น
เป็นไฉน
บุร ุษ พึง มาในเมือ งนี้ด ้ว ยคิด ว่า โพธิร าชกุม ารทรงรู้
สิลปศาสตร์ค ือ การขึ้น ช้าง การถือขอ เราจัก ศึก ษาศิล ปศาสตร์
คือ การข้ึนช้าง การถือขอในสำนักโพธิราชกุมารนั้น.
ี รัท ธา จะไม่พ ึง บรรลุผ ลเท่า ที่บ ุค คลผู้ม ี
แต่เขาไม่ม ศ
ศร์ท่ธาพึงบรรลุ ๑
เขามีอ าพ าธ ม าก จะไม่พ ึง บรรลุผ ลเท่า ที่บ ุค คลผู้ม ี
อาพาธน้อยพึงบรรลุ ๑
เขาเป็น คน โอ้อ วด ม ีม ายา จะไม่พ ึง บรรลุผ ลเท่า ที่
บุค คลผู้ไ ม่โ อ้อ วดไม่ม ีม ายาพึงบรรลุ๑
เขาเป็น ผูเ้ กีย จคร้า น จะไม่พ ึง บรรลุผ ลเท่า ที่บ ุค คลผู้
ปรารภความเพียรพึงบรรลุ ๑

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๘๗ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
เขาเป็น ผู้ม ป
ี ัญ ญาทราม จะไม่พึงบรรลุผลที่บุคคลผู้'มี
ปัญ ญาพึงบรรลุ ๑
ดูก ่อ นราชกุม าร บพิต รจะทรงสำคัญ ความข้อ นั้น
เป็นไฉน บุร ุษ น้ัน ควรจะศึก ษาคิล ปศาสตร์ คือ การขึ้น ข้าง
การถือขอ ในสำนักของบพิตรบ้างหรือหนอ.
ข้าแต่พระองค์ผู้'เจริญ บุร ุษ น้ัน แม้จ ะประกอบด้ว ย
องค์เ พีย งองค์ห น่ึง ก็ไ ม่ค วรจะศึก ษาศึล ปศาสตร์คือการขึ้น
ข้าง การถือขอ ในสำนัก ของหม่อ มฉัน จะป่ว ยกล่าวไปไยถึง
ครบองค์ห้าเล่า.
ดูก ่อ นราชกุม าร บพิต รจัก ทรงสำคัญ ความข้อ น้ัน
เป็นไฉน
บุรุษ พึง มาในเมือ งน้ี ด้ว ยคิด ว่า โพธิราชกุม าร ทรงรู้
สิล ปศาสตร์ค ือ การข้ึนข้าง การถือขอ เราจัก ศึกษาศิลปศาสตร์
คือ การข้ึนข้าง การถือขอ ในสำนักโพธิราชกุมารนั้น.
เขาเป ็น ผ ู้ม ีศ ร ัท ธ า จะพึง บรรลุผ ลเท่า ที่บ ุค คลผู้ม ี
ศร้ทธาพึงบรรลุ ๑
เขาเป็น ผู้ม ีอ าพาธน้อ ย จะพึงบรรลุผ ลเท่าท่ีบ ุค คลผู้ม ี
อาพาธน้อยพึงบรรลุ ๑
เขาเป็น ผู้ไ มโม้อ วด ไม่ม ีม ายา จะพึง บรรลุผ ลเท่า ท่ี
บุคคลผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมายาพึงบรรลุ ๑
เขาเป ็น ผ ู้ป รารภ ค ว าม เพ ีย ร จะพึง บรรลุผ ลเท่า ท่ี
บุคคลผู้ปรารภความเพียรพึงบรรลุ ๑

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๘๘ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
เขาเป็น ผู้ม ีป ๋ญ ฌูา จะพึงบรรลุผลเท่าที่บุคคลผู้มีปัญญา
พึงบรรลุ ๑
ดูก ่อ นราชกุม าร บพิต รจะทรงสำคัญ ความข้อ นั้น
เป็นไฉน บุร ุษ น้ัน ควรจะศึก ษาศิล ปศาสตร์ ดือ การข้ึน ข้าง
การถือขอ ในสำนักของบพิตรบ้างหรือหนอ.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุร ุษ น้ัน แม้ป ระกอบด้ว ย อ งค ์
เพีย งองค์ห น่ึง ก็ควรจะศึก ษาศึลปศาสตร์ดือ การขึ้นข้าง การ
ถือ ขอ ในสำนัก ของหม่อ มฉัน ได้จ ะป่ว ยกล่า วไปไยถึง ครบ
องค์ห้าเล่า.

เว ล า ท ี่บ ุค ค ล ค ว ร ท ำ ค ว า ม เพ ีย ร

มีเรื่องราวท่ีน่าสนใจกล่าวไวํในสมยสูตรดังนี้

สมยสูต ร ๒’'

ว่า ด้ว ยสม้ย ที่ค วรบำเพ็ญ เพีย ร

“ ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย สมัยท่ีค วรบำเพ็ญ เพียรมี ๕ สมัย


๕ สมัยดืออะไรบ้าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลายภิกษุในธรรมวินัยนี้ยังหนุ่มแน่นดือ
มีผ มดำสนิท ประกอบด้วยความเป็นหนุ่ม ตั้งอยู่ในปฐมวัย นี้
เป็นสมัยท่ีควรบำเพ็ญเพียรประการที่®... ภิก ษุเป็น ผู้มอี าพาธ
น ้อ ย ดือมีโรคเบาบางประกอบด้วยไฟธาตุท่ีเผาอาหารให้ย่อย

‘ ๗ อง. ปฌจก. มจ. ๒ ๒ / ๙๓, มก. ๓๖/ ๒๙

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๘๙ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
สมาเสมอ ไม่เย็นนัก ไม่ร้อนนัก เป็น ปานกลาง ควรแก่การ
บำเพ็ญ เพีย รนี้เป็น สมัย ท่ีค วรบำเพ็ญ เพีย รประการท่ี๒
สมัยที่ข้าวปลาหาได้ง่าย ข้าวกล้าดี มีบ ิณ ฑบาต หาได้
ง่ายสะดวกท่ีจะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการแสวงหาบิณฑบาต
น้ีเป็น สมัยท่ีค วรบำเพ็ญ เพียรประการท่ี๓
สมัยที่คนท้ังหลายพร้อ มเพรีย งกัน ช่ืนชมกัน ไม่วิวาท
กัน เป็น เหมือ นน้ํา นมกับ น้ํา มองกัน ด้ว ยนัย น์ต าท่ีเ บ่ีเ ยม
ด้วยความรักอยู่ นี้เป็น เป็น สมัยที่ควรบำเพ็ญ ประการที่ ๔
สมัย ที่ส งฆ์พ ร้อ มเพรีย งกัน ช่ืนชมกัน ไม่ว ิว าทกัน มี
อุเทศที่ส วดร่ว มกัน อยู่ผ าสุก เม่ือ สงฆ์พ ร้อ มเพรีย งกัน จึง
ไม่มีการด่ากันบริภาษกันไม่มีการใส่ร้ายกันไม่มีการทอดท้ิงกัน
น้ีเป็น สมัยท่ีค วรบำเพ็ญ เพียรประการที่๕”

เร ่ือ งร าว ท ่ีเ ป ็น เห ต ุใ ห ้ท ำค ว าม เพ ีย ร

มีเร่ืองเหตุปรารภความเพียร ๘ ประการ ปรากฏในถุสี


ตา รัม ภวัต ถุส ูต รดัง น้ี

กุส ีต ารัม ภวัต ถุส ูต ร" 0

เหตุแห่งความเกียจคร้านและเหตุปรารภความเพียร๘ ประการ

0,0
อง. อฏฐก มจ. ๒ ๓/๔๐๐, มก. ๓๗/๖๖๕

คัมภีร์สร้างวัดจากหระโอษฐ์ ๙๐ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ั้ง หลาย อารัมภวัตถุ (เหตุป รารภความเพียร) ๘
ประการน้ี

อารัม ภวัต ถุ ๘ ประการ อะไรบ้า ง คือ


๑. “ ภิกษุในธรรมวินัยนี้มีงานที่จะต้องทำ เธอมีค วามคิด
อย่างนี้ว่า เราจัก ต้อ งทำงาน เม่ือ เราทำงาน การจะ
ใส่ใ จคำส่ัง สอนของพระพุท ธเจ้า มิใ ช่ท ำได้ง ่า ย อย่า
กระน้ัน เลย เรารีบ ปรารภความเพีย ร เพ่ือ ถึง ธรรมท่ี
ยังไม่บรรลุ เพ่ือ บรรลุธ รรมท่ีย ัง ไม่บ รรลุ เพ่ือ ทำให้
แจ้งธรรมที่ยังไม่ท ำให้แ จ้ง เธอจึง ปรารภความเพีย ร
เพ่ือ ถึง ธรรมที่ย ัง ไม่ถ ึง เพ่ือ บรรลุธ รรมที่ย ัง ไม่บ รรลุ
เพ่ือ ทำให้แ จ้ง ธรรมที่ย ัง ไม่ท ำให้แ จ้ง นี้เป็น อารัม ภ
วัตถุประการท่ี ๑
๖. ภิก ษุท ำงานแล้ว เธอมีความคิดอย่างน้ีว่า เราทำงาน
แล้ว เมื่อ ทำงาน ก็ไม่ส ามารถที่จ ะใส่ใ จคำสั่ง สอนของ
พระพุทธเจ้าได้อย่ากระนั้นเลยเรารีบปรารภความเพียร

ฯลฯ...
๓. ภิก ษุต ้อ งเดิน ทาง เธอมีความคิดอย่างนี้ว่า เราจักต้อง
เดิน ทาง การที่เราเดิน ทางอยู่จ ะใส่ใ จคำสั่ง สอนของ
พระพุท ธเจ้า มิใ ช่ท ำได้ง ่า ย อย่า กระนั้น เลย เราจะ

รีบ ปรารภความเพียร ฯลฯ...

คมภิร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๙๑ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
๔. ภิก ษุเ ดิน ทางแล้ว เธอมีความคิดอย่างนว่าเราเดินทาง
แล้ว เมื่อ เดิน ทาง ก็ไม่สามารถซะใส่ใจคำสั่งสอนของ
พระพ ุท ธเจ้า ได้ อย่า กระนั้น เลย เราจะรีบ ปรารภ
ความเพียร ฯลฯ...
๕. ภ ิก ษ ุเ ท ี่ย ว บ ิณ ฑ บ าต ตามหมู่บ ้า นหรือ นิค ม ไม่ไ ด้
โภชนะเศร้า หมองหรือ ประณีต บริบ ูร ณ์เพีย งพอตาม
ต้อ งการ เธอม ีค วาม สิต อย่า งน ี้ว ่า เราเท ่ีย ว
บิณ ฑบาตตามหมู่บ ้านหรือ นิค ม ก็ไ ม่ไ ด้โ ภชนะเศร้า
หมองหรือ ประณีต บริบูรณ์เพียงพอตามต้องการ กาย
ของเราน้ัน เบา ควรแก่ก ารงาน อย่า กระนั้น เลย เรา

จะรีบปรารภความเพียร ฯลฯ...
๖. ภิก ษุเ ที่ย วบิณ ฑบาตตามหมู่บ้านหรือนิคม ไดโภชนะ
เศร้าหมอง หรือ ประณีต บริบ ูรณ์เพียงพอตามต้อ งการ
เธอมีความคิดอย่างนี้ว่าเราเที่ยวบิณฑบาตตามหมู่บ้าน
ได้โ ภชนะเศร้า หมองหรือ ประณ ีต บริบ ูร ณ์เพีย งพอ
ตามต้อ งการแล้ว กายของเราเบา ควรแก่ก ารงาน
อย่ากระน้ันเลย เราจะรีบปรารภความเพียร ฯลฯ...
๗. ภิก ษุเ กิด มีอ าพาธขึ้น เล็ก น้อ ยเธอมีความสิตอย่างนี้ว่า
เราเกิด อาพาธขึ้น เล็ก น้อ ยแล้ว เป็น ไปได้ท ี่อ าพาธ
ของเราจะพึง รุน แรงข้ึน อย่า กระนั้น เลย เราจะรีบ
ปรารภความเพียร ฯลฯ...

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๙๒ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
๘. ภิก ษุห ายอาพาธแล้ว แต่หายอาพาธยังไม่น าน เธอมี
ความ คิด อย่า งน ้ีว ่า เราห ายอาพ าธแล้ว แต่ห าย
อาพาธยัง ไม่น าน เป็น ไปได้ท ่ีอ าพาธของเราจะพึง
กลับ กำเริบ ข้ึน อย่า กระน้ัน เลย เราจะรีบ ปรารภ
ความเพีย ร เพื่อ ถึงธรรมท่ียังไม่ถ ึง เพื่อ บรรลุธ รรมที่
ยังไม่บรรลุ เพ่ือทำให้แ จ้งธรรมท่ียังไม่ทำให้แจ้ง เธอ
จึง ป ร าร ภ ค ว าม เพ ีย ร เพ ื่อ ถ ึง ธ ร ร ม ท ี่ย ัง ไ ม ่ถ ึง เพ ื่อ
บรรลุธ รรมท่ีย ัง ไม่บ รรลุ เพ่ือ ทำให้แ จ้ง ธรรมที่ย ัง ไม่
ทำให้แจ้ง นี้เป็นอารัมภวัตถุประการที่ ๘...

บ ุค ค ล ผ ู้ไ ม ่ล ะ ค ว า ม เพ ีย ร

มีการกล่าวถึงความเพียรในวัณ ณุปถชาดกดังน้ี

วัณ ณุป ถชาดก"*

ว่าด้วยผู้ไม่เกียจคร้าน

ชนทั้งหลายผู้ไ ม่เกีย จคร้านขุด ภาคพื้น ที่ท างทราย


ได้พบน้ัาในทางทรายน้ัน ณ ท่ีล านกลางแจ้ง ฉันใด

มุนีผู้'ประกอบด้วยความเพีย รและกำลัง เป็นผู้'


ไม่เกียจคร้าน พึงได้ความสงบใจ ฉันนั้น.

ข. ชา. มก. ๕๔/๑๗0

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๙๓ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อประทับอยู่ในพระนครสาวัตถี
ตรัส
พระธรรมเทศนานี้มีคำเริ่มต้นว่า อกิลาสุโน ดังนี้. ถาม
ว่า ทรงปรารภใคร ?
ตอบว่าทรงปรารภภิกษุผู้สละความเพียรรูปหนึ่ง.
ดังได้สดับมา เม่ือพระตถาคตประทับอยู่ในนครสาวัตถี
มีก ุล บุต รชาวเมือ งสาวัต ถีค นหน่ึง ไปพระเชตวัน วิห าร สดับ
พระธรรมเทศน า ในสำนัก ของพระศาสดา มีจ ิต เลื่อ มใส
เห็น โทษในกามแล ะอานิส งส์ใ นการออกจากก าม จึง บวช
อุป สมบทได้ ๕ พรรษา เรียนได้มาติกา ๒ บท ศึก ษาการ
ประพฤติว ิป ัส สนา รับ พระกรรมฐานท ี่จ ิต ของตนชอบ ใน
สำนัก ของพระศาสดา เข้า ไป ยัง ป ๋า แห่ง หนึ่ง จำพ รรษ า
พยายามอยู่ต ลอดไตรมาสไม ่อ าจทำสัก ว่า โอภาสหรือ นิม ิต
ให้เกิดข้ึน.
ลำดับ นั้น ภิก ษุน ั้น ได้ม ีค วามคิด ดัง นี้ว ่า พระศาสดา
ตรัส บุค คล ๔ จำพวก ในบุคคล ๔ จำพวกนั้น เราคงจะ
เป็น ปทปรมะ เราเห็น จะไม่ม ีม รรคหรือ ผลในอัต ภาพนี้
เราจัก กระทำอะไรตัว ยการอยู่ป ่า เราจัก ไปยัง สำนัก ของ
พระศาสดา แลดูพ ระรูป ของพระพุท ธเจ้า อัน ถึง ความงาม
แห่งพระรูป อย่างยิ่ง ฟังพระธรรมเทศนาอัน ไพเราะอยู่ (จะ
ดีก ว่า) คร้ันคิดแล้วก็กลับมายัง พระเชตวันวิหารนั้นแลอีก.

คมภ๊ร์สร้างวัด จากพระโอษุธฺ ๙๔ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
ลำดับ นั้น ภิก ษุท ั้ง หลายผู้เ ป็น เพื่อ นเห็น และคบกัน
กล่าวกะภิกษุน้ันว่า

ดูก ่อ นอาวุโ ส ท่า นเรีย นกรรมฐานในสำนัก ของพระ


ศาสดาแล้ว ไปด้ว ยหวัง ใจว่า จัก กระทำสมณธรรม แต่บ ัด นี้
มาเที่ยวรื่นรมย์ด้วยการคลุก คลีอยู่ กิจแห่งบรรพชิตของท่าน
ถึงท่ีสุดแล้วหรือหนอท่านจะเป็นผู้ไม่มีปฏิสนธิแลหรือ.
ภิก ษุน ้ัน กล่า วว่า ดูก ่อ นอาวุโ สทั้ง หลาย เราไม่ไ ด้
มรรคหรือผล จึงคิด ว่าเราน่า จะเป็น อภัพ พบุค คล จึงได้สละ
ความเพียรแล้วมาเสีย. ภิกษุเหล่านั้น กล่าวว่า ดูก่อนอาวุโส
ท่านบวชในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้มีความเพียรมั่นแล้ว
ละความเพีย รเสีย กระทำส่ิง อัน มิใ ช่เหตุแ ล้ว มาเถิด ท่า น
พวกเราจักแสดงท่านแด่พระตถาคต.
คร้ัน กล่าวแล้ว ภิก ษุเหล่า นั้น จึง ได้พ าภิก ษุน ้ัน ไปยัง

สำนักของพระศาสดา.
พระศาสดาพอทรงเห็นภิกษุน ้ัน จึงตรัสอย่างนี้ว่า
ดูก ่อ น ภิก ษ ุท ้ัง ห ลาย พ วกเธอเป็น ผู้พ าภิก ษุผ ู้ไ ม่
ปรารถนารูปน้ีมาแล้ว
ภิก ษุน ี้ท ำอะไร. ภ ิก ษ ุท ั้ง หลายกราบ ทูล ว่า ข้า แต่
พระองค์ผ ู้เจริญ กิภ ิก ษุน ี้บ วชในพระศาสนาอัน เป็น เครื่อง
นำออกจากทุก ข์เ ห็น ปานนี้ ไม่อ าจกระทำสมณธรรม ละ
ความเพียรเลียมาแล้ว.ลำดับน้ัน พระศาสดาตรัสกะภิกษุนั้น ว่า

ดูก่อนภิกษุได้ยินว่าเธอละความเพียรจริงหรือ.

คมภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๙๕ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
ภิกษุน้ัน กราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า.

พระศาสดาตรัสว่า
ดูก ่อ นภิก ษุ เธอบวชในศาสนาอันเป็นเคร่ืองนำ ออก
จากทุก ข์เ ห็น ปานน้ี ทำไมจึง ไม่ใ ห้เขารู้จ ัก ตนอย่า งน้ีว ่า
เป็น ผู้ม ัก น้อ ยหรือ ว่า เป็น ผู้ส ัน โดษหรือ ว่าเป็น ผู้ส งัด หรือ
ว่าเป็นผู่ไม่เกี่ยวข้องหรือว่าเป็นผู้ปรารภความเพียรให้เขารู้จักว่า
เป็นภิกษุผู้ละความเพียร
เม่ือ ครั้งก่อ น เธอได้เป็น ผู้ม ีความเพียรมิใช่ห รือ เมื่อ
เกวีย น ๕ 0 ๐ เล่ม ไปในทางกัน ดาร เพราะทราย พวก
มนุษ ย์แ ละโคทั้ง หลายได้น ้ัา ด่ืม มีค วามสุข เพราะอาศัย
ความเพียรซ่ึงเธอผู้เดียวกระทำแล้ว
เพราะเหตุไรบัด น้ีเธอจึงละความเพียรเสีย.ภิกษุน ั้น ได้
กำลังใจด้วยเหตุมีป ระมาณเท่านี้.
ฝ่ายภิกษุท้ังหลายได้ฟังพระดำรัสนั้นจึงอ้อนวอนพระผู้
มีพระภาคเจ้าว่า
ข้า แต่พ ระองค์ผ ู้เจริญ ความที่ค วามเพีย รอัน ภิก ษุน ี้
สละแล้ว ปรากฏแก่ข ้า พระองค์ท ั้ง หลายในบัด นี้แ ล้ว ก็ใน
กาลก่อ น ความที่โ คและมนุษ ย์ท ั้งหลาย ได้น ํ้าดื่ม มีค วามสุข
ในทางกันดารเพราะทรายเหตุอาศัยความเพียรที่ภิกษุนี้กระทำ
ยัง ล้ีล ับ สำหรับ ข้า พ ระองค์ท ั้ง หลาย ปรากฎแก่พ ระองค์
ผู้ท รงบรรลุพ ระสัพ พี'ญฌุต ญาณเท่านั้น ขอพระองค์จ งตรัส
เหตุน้ีแมัแก่ข้าพระองค์ท้ังหลายเถิด.

ดัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๙๖ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ทรงยัง การเกิด สติใ ห้เ กิด แก่
ภิกษุท้ังหลายเหล่าน้ันด้วยพระดำรัสว่า
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ถ้า อย่า งนั้น เธอทั้ง หลายจงฟัง
แล้ว ได้ท รงกระทำเหตุก ารณ์อ ัน ระหว่า งแห่ง ภพปกปิด ไว์ใ ห้
ปรากฎ.
ในอดีตกาลเม่ือพระเจ้าพรหมหัตครองราชย์สมป้ติอยู่ใน
พระนครพาราณสี พระโพธิส ัต ว์ถ ือ ปฏิส นธิในตระกูล พ่อ ค้า
เกวียน.
พระโพธิส ัต ว์น ้ัน เจริญ วัย แล้ว เท่ีย วกระทำการค้า
ด้ว ยเกวีย น ๕๐๐ เล่ม.
พระโพธิส ัต ว์น ้ัน เดิน ทางกัน ดารเพราะทรายแห่งหน่ึง
มีระยะประมาณ ๖๐ โยชน์. ก็ในทางกันดารน้ัน ทรายละเอีย ด
กำมือ ไว้ย ัง ติด อยู่ใ นมือ ตั้ง แต่พ ระอาทิต ย์ข ้ึน มีค วามร้อ น
เหมือ นกองถ่า นเพลิง ไม่อ าจข้า มไปได้ เพราะฉะนั้น พระ
โพธิสัตว์น้ันเมื่อดำเนินทางกันดารน้ันจึงเอาเกวียนบรรทุกฟืน
น้ัา นํ้ามัน และข้าวสารเป็นด้น ไปเฉพาะกลางคืน ในเวลา
อรุณ ขึ้น กระทำเกวีย นให้เป็น วงแล้ว ให้ท ำปะรำไว้เบื้อ งบน
ทำกิจในเร่ืองอาหารให้เสร็จแด่เช้าตรู่แล้วน่ึง์ในร่มเงาจนหมดวัน
เมื่อ พระอาทิต ย์อ ัส ดงแล้ว บริโ ภคอาหารเย็น เมื่อ พื้น ดิน
เกิด ความเย็น จึง เทีย มเกวีย นเดิน ทางไป การไปเหมือ นกับ
การไปในทะเลนั้นแหละย่อมจะมีในทางกันดารนั้น.

คัม ภีร สร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๙๗ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
ธรรมดาฝักำหนดบท๓๒ ควรจะมีเพราะเหตุนั้น พระโพธิ
สัตว์นั้น จึงให้ก ระทำการประกอบการไปของหมู่เกวีย นตาม

สัญญาของดวงดาว
ในกาลนั้นพ่อค้าเกวียนแม้นั้นเม่ือจะไปยังทางกันดารน้ัน
ตามทำนองน้ีน ั้น แล จึงไปได้ ๕๙ โยชน์ คิด ว่า บัด นี้ โดย
ราตรีเ ดีย วเท่า น้ัน จัก ออกจากทางกัน ดารเพราะ ทรายจึง
บริโ ภคอาหารเย็น ใข้ฟ ืน และนั้า ท้ัง ปวงให้ห มดส้ิน แล้ว จึง
เทีย มเกวีย นไป คนนำทางให้ล าดอาสนะในเกวียนเล่ม แรก
นอนดดาวในท้องฟ้าบอกว่า จงขับไปข้างน้ี จงขับไปข้างโน้น

คนนาทางนนเหนดเหนี่อยแพ่ราะไม่ไ ล บ เ ป ็น ร ะ ย ™X
จึง หลับ ไป เมื่อ โคหวนกลับ เข้า เส้น ทางที่ม าเดิม ก็ไม่รู้สึกโค
ทั้ง หลายได้เดิน ทางไปตลอดคืน ยัง รุ่ง . คนนำทางตื่น ขึ้น ใน
เวลาอรุณ ข้ึน มองดูด าวนัก ษัต รแล้ว กล่า วว่า จงกลับ เกวีย น
จงกลับ เกวีย น และเมื่อ คนทั้ง หลายพากัน กลับ เกวีย นทำไว้
ตามลำดับ ๆ น้ันแล อรุณข้ึนไปแล้ว.
มนุษ ย์ท ้ัง หลายพากัน กล่า วว่า นี่เป็น ที่ต ั้ง ค่า ยที่พ วก
เราอยู่เมื่อ วานนี้ แม่ฟ ืนและนํ้าของพวกเราก็ห มดแล้ว บัด นี้
พวกเราฉิบ หายแล้ว จึง ปลดเกวีย นพัก ไว์โ ดยเป็น วงกลม
แล้ว ทำปะรำไว้เบ้ือ งบน นอนเศร้า โศกอยู่ภ ายใต้เ กวีย น

ของตนๆ

0,๖ คนนำทาง, ด้นหน

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๙๘ ปรารถนาความเพึยร

kalyanamitra.org
พระโพธิสัตว์คิดว่า เม่ือ เราละความเพีย รเสีย คน
ท้ังหมดน้ัน จักพากัน ฉิบ หาย พอเวลาเชัา จึงเที่ยวไปใน
เวลาที่ย ัง มีค วามเย็น เห็นกอหญ้าแพรกกอหน่ึงจึงคิดว่า
หญ้าเหล่าน้ีจักเกิดขึ้น เพราะความเย็นของนั้าข้างล่าง. จึง
ให้คนถือจอบมา ให้ขุดลงยังที่นั้น คนเหล่านั้นขุดที่ (ลึกลงไป)
ได้ ๖0 ศอก เมื่อ คนทั้งหลายขุด ไปถึงท่ีม ีป ระมาณเท่าน้ี
จอบได้กระทบหินข้างล่าง. พอจอบกระทบหินคนท้ังปวงก็
พากันละความเพียรเลีย
ฝ่ายพระโพธิสัตว์คิดว่า ภายใต้หินนี้จะพึงมีนั้า จึง
ลงไปยืนที่พ้ืนหิน ก้มลงเงี่ยหูฟังเสียง ไดยินเสียงน้ําเบื้องล่าง
จึงข้ึนมาบอกกะ คนร้บใชัว่าดูก่อนพ่อ เม่ือ เธอละความเพีย ร
เสีย พวกเราจัก ฉิบ หายเธออย่าละความเพีย รจงถือเอาค้อน
เหล็กนี้ลงไปยังหลุม ทุบที่หินนี้ คนรับใช้นั้นรับคำของพระ
โพธิสัตว์นั้นแล้ว ไม่ล ะความเพียร
ในเม่ือคนทั้งปวงละความเพียรยืนอยู่จึงลงไปทุบหิน.
หินแตก ๒ ซีก ตกลงไปข้างล่างได้ต้ังขวางกระแสน้ําอยู่.
เกลียวนั้าประมาณเท่าลำตาลพุ่งข้ึน. คนทั้งปวงพากันดื่มกิน
แล้วอาบ ผ่าเพลาและแอกเป็น ต้น ที่เหลือเพื่อหุงข้าวยาคู
และภัตบริโภคและให็โคกิน และเมื่อพระอาทิตย์อัสดง จึง
ผูกธงใกล้บ่อนั้า แล้วได้พากันไปยัง ที่ท ี่ป รารถนาแล้ว ๆ
คนเหล่านั้นขายสินค้าในที่นั้นแล้วได้ลาภ ๒ เท่า ๓ เท่า จึง
ได้พากันไปเฉพาะที่อยู่ของตนๆ คนเหล่านั้นดำรงอยู่ใน

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๙๘ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
อัต ภาพน้ัน จนช่ัว อายุแ ล้ว ไปตามยถากรรม ฝ่า ยพระโพธิ
สัตว์กระทำบุญ มีทานเป็นต้นไล้ไปตามยถากรรมเหมือนกัน.
พระสัม มาดัม พุท ธเจ้า ครั้น ตรัส พระธรรมเทศนาแล้ว
ทรงเป็นผู้ตรัสรู้ยิ่งเองเทียวจึงตรัสพระคาถาน้ีว่า
ชนท้ังหลายผู้ไม่เกียจคร้านขุดภาคพ้ืน ท่ีทางทราย
ได้พบน้ําในทางทรายน้ัน ณ ที่ลานกลางแจ้ง ฉันใด

ม ุน ีผ ู้ป ระก อ บ ด ้ว ยค วาม เพ ีย รแ ละก ำลัง เป ็น ผ ู้ไ ม ่


เกียจคร้าน
พึงได้ความสงบใจ ฉันน้ัน.

พระศาสดาคร๋ํนทรงแสดงพระธรรมเทศนาน้ีอย่างนี้แล้ว
จึง ทรงประกาศสัจ จะ ๔. ในเวลาจบสัจ จะ ภิก ษุผ ู้ล ะความ
เพีย รดำรงอยู่ใ นพระอรหัต อัน เป็น ผลอัน เลิศ . แม้พ ระ
ศาสดาก็ตรัสเรื่อง ๒ เรื่องสืบต่อกัน ทรงประชุมชาดกแสดงว่า
คนร้บใซัผู้ไม่ละความเพียรต่อยหินให้นํ้าแก่มหาชนในสมัยนั้น
ได้เป็นภิกษุผู้ละความเพียรฟูนื่ไนบัดหี๋บริษัทที่เหลือในสมัยนั้น
เป็นพุทธบริษัทในบัดนี้ส่วนหัวหน้าพ่อค้าเกวียนได้เป็นเราดังนี้
ไล้ให้พระธรรมเทศนาน้ีจบลงแล้ว.

ความเพียรกับการบรรลุธรรม
เน่ือ งเพราะจิต ของเรายัง ตกอยู่ใ นอำนาจบัง คับ ของ
กิเ ลสอยู่ย ัง ปราบกิเ ลสยัง ไม่ห มดและกิเ ลสยัง คงทำหน้า ที่

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๐๐ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
อยู่ตลอดเวลา เปรียบเสมือนใจของคนเรามีสนิมเหล็กเกาะ
อยู่หลายชั้น คอยกัดกินเนื้อเหล็กอยู่ตลอดเวลา หากเราไม่
คอยขัด เอาสนิม เหล็ก ออก ในไม่ช ้าตัวสนิม เหล็ก เองน่ัน
แหละจะเป็น ตัวกัดเหล็ก ท่ีแข็งจนขาดได้ ใจของคนเราก็
เหมือนกัน ยังโดนกิเลสต่างคอยห่อหุ้มใจอยู่จนมืดมิดไม่มี
ความสว่า งหลุด ลอดออกมาได้เลยจนทำให่ใ จของคนเรา
นึกคิดแด่ส่ิงท่ีไม่ดี เวลาจะคิด พูด หรือกระทำใดๆ ก็ตาม
มักจะคิดในทางที่ไม่ดี พูดไม่ดี กระทำไม่ดี ดังน้ัน การหมน
ฟิกสมาธิโดยสมาเสมอเป็นส่ิงท่ีจำเป็นต้องทำ

ภาวนาสูตร๓"

ว่าด้วยภาวนา

ภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุไม่หมั่นประกอบภาวนาอยู่ แม้


จะเกิดความปรารถนาอย่างน้ืว่า “ ทำอย่างไรหนอ จิตของ
เราจึงจะหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ลือม่ัน” ก็จริง
แด่จ ิต ของภิก ษุน ั้น ก็ย ัง ไม่ห ลุด พัน จากอาสวะทั้ง หลาย
เพราะไม่ลือมั่นได้เลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร ควรกล่าวว่า
เพราะไม่ได้เจริญ เพราะไม่ได้เจริญอะไร เพราะไม่ได้เจริญ
สติปัฏฐาน ๔ ส้มมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕
โพชฌงฅ์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘

๓” อง.. สตดก. มก. ๓๗/๒๕๒, มจ. ๒๓/๑๕๖

ดัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๐๑ ปรารถนาตวามเพียร

kalyanamitra.org
เปรียบเหมือนไข่ ๘ ฟอง ๑0 ฟอง หรือ ๑๖ฟอง ท่ี
แม่ไก่กกไม่ดี ให้ค วามอบอุ่น ไม่ด ี ฟักไม่ดี แม้แม่ไก่น้ันจะ
เกิด ความปรารถนาอย่า งน้ีว ่า “ ทำอย่า งไรหนอ ลูก ของเรา
จะไข้ป ลายเล็บ เท้า หรือ จะงอยปากทำลายกระเปาะไข่อ อก
มาไดีโดยสวัส ดี ข้อน้ันเพราะเหตุไร เพราะไข่เหล่านั้น แม่
ไก่กกไม่ดี ให้ความอบอุ่นไม่ต็ ฟักไม่ต็ แม้ฉันใด
ภิก ษุท ั้ง หลาย เมื่อ ภิก ษุไ ม่ห มั่น ประกอบภาวนาอยู่
ก็ฉันนั้น เหมือนกัน แม้จะเกิด ความปรารถนาอย่างนี้ว ่า “ ทำ
อย่างไรหนอ จิต ของเราจึง จะหลุด พ้น จากอาสวะทั้ง หลาย
เพราะไม่ถ ือมั่น ” ก็จริง แต่จิต ของภิก ษุน ั้น ก็ไ ม่ห ลุด พัน จาก
อาสวะทั้ง หลาย เพราะไม่ถือมั่นได้เลย ข้อ นั้น เพราะเหตุไร

ควรกล่าวว่า
เพราะไม่ได้เจริญเพราะไม่ได้เจริญอะไร เพราะไม่ได้
เจริญสติปัฎฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕
พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘
ภิก ษุท ั้ง หลาย เมื่อ ภิก ษุห มั่น ประกอบภาวนาอยู่ แม้
จะไม่เกิด ความปรารถนาอย่า งนี้ว ่า “ ทำอย่า งไรหนอ จิต
ของเราพึงหลุด พัน จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือม่ัน” ก็จริง
แต่จ ิต ของภิก ษุน ั้น ก็ห ลุด พัน จากอาสวะท้ัง หลาย เพราะไม่
ถือ ม่ัน ได้ ข้อน้ัน เพราะเหตุไร ควรกล่าวว่า เพราะได้เจริญ
เพ ราะได้เ จริญ อะไร เพราะได้เ จริญ สติป ัฏ ฐาน ๔
สัมม้ปปธาน ๔ อิท ธิบ าท ๔ อิน ทรีย ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗

คัมภืร์สรีำงวัดจากหระโอษฐ์ ๑๐๒ ปรารถนาความเพึยร

kalyanamitra.org
อริยมรรคมีองค์ ๘ เปรียบเหมือนไข่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒
ฟอง ท่ีแ ม่ไ ก่ก กดีแ ล้ว ให้ค วามอบอุ่น ดีแ ล้ว ฟัก ดีแ ล้ว แม้
แม่ไก่น้ันจะไม่เกิดความปรารถนาอย่างน้ีว่า “ ทำอย่างไรหนอ
ลูก ของเราจะใช้ป ลายเล็บ เท้า หรือ จะงอยปากทำลายกร ะ
เปาะไข่อ อกมาได้โ ดยสวัส ดี” ก็จริง แต่ล ูก ไก่เ หล่า นั้น ก็
สามารถใช้ป ลายเล็บ เท้า หรือ จะงอยปากทำลายกร ะเปาะ
ไข่ออกมาได้โดยสวัสดี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะไข่เหล่านั้น
แม่ไก่กกดี แล้ว ให้ความอบอุ่นดีแล้ว ฟักดีแล้ว แม้ฉันใด
ภิก ษุท ้ัง หลาย เมื่อ ภิก ษุห ม่ัน ประกอบภาวนาอยู่ ก็
ฉัน น้ัน เหมือ นกัน แม้จ ะไม่เกิด ความปรารถนาอย่า งน้ีว ่า
“ ทำอย่า งไรหนอ จิต ของเราพึง หลุด พ้น จากอาสวะท้ัง หลาย
เพราะไม่ถ ือ ม่ัน ” ก็จริง แต่จ ิต ของภิก ษุน ้ัน ก็ห ลุด พัน จากอา
สวะทั้งหลายเพราะไม่ถือมั่นได้ข้อนั้นเพราะเหตุไรควรกล่าวว่า
เพราะได้เจริญ เพราะได้เจริญอะไร เพราะได้เจริญสติปัฏฐาน ๔
ฯลฯ อริยมรรคมีองค์ ๘
ภิก ษุท ั้ง หลาย เปรีย บเหมือ นรอยนิ้วมือ หรือ รอยนิ้ว
หัว แม่ม ือ ท่ีด ้า มมีด ปรากฏแก่ช ่า งไม้ หรือ ลูก มือ ช่า งไม้ แต่
เขาไม่รู้อ ย่างนี้ว่า “ วัน น้ี ด้า มมีด ของเรากร่อ นไปเท่า นี้ เมื่อ
วานนี้เท่า นี้ เมื่อวานซืน เท่านี้” ก็จริง แต่เมื่อด้ามมีดกร่อนไป
เขาก็รู้ว่า กร่อนไปแล้วน้ันเอง แม้ฉันใด

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๐๓ ปรารถนาความเพียร

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ั้ง หลาย เมื่อ ภิก ษุห มื่น ประกอบภาวนา อยู่ก ็ฉ ัน
น้ันเหมือนกัน แม้จ ะไม่รู้อ ย่างน้ีว ่า “ วัน น้ี อาสวะของเราส ้ิน
ไปแล้ว เท่า น้ี เมื่อ วานน้ีเท่า น้ี เม่ือ วานซืน เท่า น้ี” ก็จริง แต่
เมื่ออาสวะสิ้นไปแล้ว เธอก็รู้ว่า “ สิ้นไปแล้ว” นั้นเอง
ภิก ษุท ้ัง หลาย เปรีย บเหมือ นเรือ เดิน สมุท รท่ีเขาผูก
ด้ว ยหวาย และขัน ชะเนาะแล้วแล่น ไปในนั้าตลอด ๖ เดือน
พอถึงฤดูหนาวก็ถูกเข็นข้ึนบก เคร่ืองผูกเรือตากลมและแดดไว้
เครื่องผูกเหล่านั้นถูกฝนตกชะย่อมชำรุดเสียหายไปโดยไม่ยาก
ฉันได
ภิก ษุท ้ัง หลาย เมื่อ ภิก ษุห ม่ืน ประกอบภาวนา อย่ ก็
ฉัน น้ัน เหมือ นกน สงโ"เณ ์ท งหลายย่อ มระงบ ดับ ไปโดย

ไม่ยาก

คัม ภิร สว้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๐๔ ปรารถนาความเหึยร

kalyanamitra.org
ผู้ม ีป ัญ ญา (คือ ) ประกอบด้ว ย
ปัญ ญาเป็น เคร่ือ งพิจ ารณ าเห็น ท้ัง
ความเกิด และความดับอันเป็นอริยะ
ชำแรกกิเลสให็ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ

kalyanamitra.org
บทท

------ / --------------*

ย้ญญา

ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ป ัญ ญ า ใ น เส น า ส น ส ูต ร

พระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า ตรัส ถึง คุณ สมบ้ต ิช ัอ ที่ ๕ ของ
พระภิกษุ ผู้เหมาะแก่การบรรลุธรรมไวํในเสนาสนสูตร ดัง นี้
ผ ู้ม ีป ัญ ญ า (คือ ) ประกอบด้ว ยปัญ ญาเป็น เครื่อ ง
พ ิจ ารณ าเห ็น ท ้ัง ความ เกิด แ ล ะ ค ว าม ด ับ อ ัน เป ็น อ ร ิย ะ
ชำแรกกิเ ลสให้ถ ึง ความสิน ทุก ข์โ ดยชอบ

kalyanamitra.org
ป ร ะ เภ ท ข อ งแ ห ล ่ง ป ัญ ญ า
ท่ีม าของปัญ ญามี ๓ แหล่งดังน้ี
๑. สุต มยปัญ ญ า ปัญ ญาท่ีเกิด จากการฟัง
๒. ช ิน ต ม ย ป ัญ ญ า ปัญ ญาท่ีเ กิด จากการคิด และ
ประสบการณ์
๓. ภาวนามยปัญ ญา ปัญ ญาท่ีเกิด จากการทำสมาธิ

คนท่ีม ีป ัญ ญาดีแ สดงว่าได้ร ับ การอบรมมาดี มีพ่อแม่


สอนมาดี หรือ มีค รูบ าอาจารย์ใ ห้ค ำแนะนำมาดี จนกระทั่ง
ได้แนวคิดท่ีถูกต้อง ปฏิป้ตได้ถูกต้อง เห็นความดับทุกข์เป็นอริยะ

ป ัญ ญ าเก ิด ข ้ึน ไ ด ้จ าก ก ารฟ ัง (ค รู)

มีเรื่องราวท่ีน่าสนใจในมหาจุนทเถระคาถาดังน้ี

มหาจุน ทเถรคาถา"''

พ ระจุน ทะ หลัง จากบรรลุอ รหัต ผลแล้ว ประสงค์จ ะ


ประกาศว่า การที่ท่านบรรลุอรหัตผลได้นั้น เพราะ อาศัย ครู
และ การอยู่ใ นเสนาสนะอน สงัด จึงกล่าวว่า
เพราะตั้งใจฟังครู"''สอน จึงได้ความรู้
ความรู้ทำให็ได้ปัญญา
เพราะปัญญาจึงทำใหัรู้ประโยชน์
ประโยชน์ท่ีรู้แล้วย่อมนำลุขมาให้
๓๙ ชุ.เถร.มก. ๕๑/ ๔๙, มจ. ๒๖/ ๓๕๒,
๓๕ อสีติมหาสาวก: บรรณจบ บรรณรุจิ, หน้า ๙๖

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๐๘ ปัญญา

kalyanamitra.org
ภิก ษุค วรเสพเสนาสนะอัน สงัด
ควรประพฤติธ รรมอันเป็นเหตุใหํจิตหลุดพ้นจาก
กิเลสเคร่ืองร้อยรัด
ถ้าในเสนาสนะและธรรมน้ัน ยังยินดีเต็มท่ีไม่ได้
เมื่อ อยู่ก ับ คณะ ก็ควรมีส ติร ัก ษาตน

จากพระสูตรน้ีไดีให้ข้อคิดสำคัญ ว่า ก้าวแรกของความ


สำเร็จในชีวิตคนก้าวแรกของการหลุดพันจากทุกข็ในวัฏสงสาร
คือ ต้อ งได้ค รูด ีเ ท่า นั้น ถึง จะได้ป ัญ ญ าดับ ทุก ข์

ปัญญาท่ีเกิดจากการคิดและประสบการณ์
พระสัมมาส้มพุทธเจ้าตรัสเรียก“ ปัญ ญ าที่เ กิด จากการ
คิด ” ว่า “โยนิโ สมนสิก าร” โดยพระองค็ใหัความสำคัญ ของ
โยนิโสมนสิก ารว่า เป็น เบ้ือ งด้น ของการศึก ษามรรคมีอ งค์ ๘
และการไม่เ สื่อ มหายของพุท ธพจน์ ดัง ปรากฏใน โยนิโ ส
มนสิการสัม ปทาสูตร ดัง นี้

โยนิโ สมนสิก ารสัม ปทาสูต ร" ๖

ว่าด้ว ย โยนิโสมนสิการสัมปทา

“ ภิก ษุท ้ัง หลาย เมื่อ ดวงอาทิต ย์ก ำลัง จะอุท ัย ย่อ มมี
แสงอรุณข้ึนมาก่อนเป็นบุพนิมิตฉันใดโยนิโสมนสิการสัมปทา

๓๖ สํ. มหา. มจ. ๑๙/ ๔๔, มก. ๓0 / ๘๑

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๐๙ ปัญญา

kalyanamitra.org
(ความถึง พร้อ มด้ว ยการมนสิก ารโดยแยบคาย) ก็เป็นตัวนำ
เป็นบุพนิมิตเพ่ือความเกิดข้ึนแห่งอริยมรรคมีองค์๘ ฉันน้ัน
ภิก ษุผ ู้ถ ึงพร้อ มด้ว ยโยนิโสมนสิก ารพึงหวังข้อ น้ีไ ด้ว่า
‘จัก เจริญ อริยมรรคมีอ งค์๘ ทำอริย มรรคมีอ งค์๘ ให้ม าก’
ภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยโยนิโสมนสิการเจริญอริยมรรคมีองค์
๘ ทำอริยมรรคมีอ งค์ ๘ ให้มาก อย่างไร
คือ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี

๑. เจริญ สัม มาทิฎ ฐิอ ัน อาศัย วิเ วก อาศัย วิร าคะ


อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสลัดคะ
๒. เจริญ สัม มาดัง กัป ปะอัน อาศัย วิเวก อาศัยวิร าคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ
๓. เจริญ สัม มาวาจาอัน อาศัย วิเ วก อาศัย วิร าคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ
๔. เจริญ สัม มากัมมัน ตะอัน อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ
๕. เจริญ สัม มาอาชีว ะอัน อาศัย วิเวก อาศัย วิร าคะ
อาศัยนิโรธน้อมไปในโวสสัคคะ
๖. เจริญ สัม มาวายามะอัน อาศัย วิเวก อาศัย วิร าคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ
๗. เจริญ สัม ม าสติอ ัน อาศัย วิเ วก อาศัย วิร าคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ

ลัมภึร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๑๐ ปัญญา

kalyanamitra.org
๘. เจริญ สัม มาสมาธิอ ัน อาศัย วิเ วก อาศัย วิร าคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ
ภิก ษ ุท ้ัง หลาย ภิก ษุผ ู้ถ ึง พร้อ มด้ว ยโยนิโ สมนสิก าร
เจริญอริยมรรคมีองค์๘ ทำอริยมรรคมีองค์๘ ให้ม ากอย่างนี้แ ล”

จากพระสูต รน้ี ช้ีใ ห้เห็น ว่า การไตร่ต รองด้ว ยเหตุ


ด้ว ยผลน้ัน เป็น ส่ิง สำคัญ ในการทำให้เ กิด ความชัด เจนใน
การนำไปปฏิบ ัต ิม รรคมีอ งค์ ๘ เพราะหากเพีย งแต่ท ่อ งจำ
ให็ช้ีนใจ แต่ไม่เกิดความเข้าใจในการปฏิป้ต ิ ย่อมไม่อาจนำ
มาแก้ไ ขปรับ ปรุงตนเองให้พ ้น ทุก ข์ได้ ดังนั้น ตอนท้า ยของ
พระสูตรน้ีพ ระองค์จึงกำชับว่า เม่ือไตร่ตรองอริยมรรคมีองค์๘
ในภาคทฤษฏีใ ห้เ ข้า ใจแตกฉานแล้ว ก็ต ้อ งลงมือ ปฏิบ ัต ิ
มรรคมีองค์ ๘ ให้มาก และการที่มรรคมีองค์ ๘ จะครบถ้วนได้
ก็ต ้อ งลงมือ ทำภาวนาจนกระทั้ง เข้า ถึง ธรรม จึง จะเป็น ผู้อ ยู่
ในธรรม
พระสัม มาลัม พุท ธเจ้า ได้ต รัส ถึง การเป็น อยู่ใ นธรรม
อย่างแห้จริงไวํในปฐมธัมมวิหาริสูตรดังนี้

ปฐม ธัม มริห ารีสูต ร๓๗

ว่าด้วยบุคคลผู้อยู่ด้วยธรรม

“ ๗ มจ. ๒ ๒ / ๑๒๓, มก. ๓๖/ ๑๖๘

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ (ฐ)6)6) ปัญญา

kalyanamitra.org
คร้ังนั้น ภิกษุรูป หนึ่ง เข้า ไปเสาพระผู้ม ีพ ระภาคถึง ท่ี
ประทับ ถวายอภิว าทแล้ว นั้ง ณ ที่ส มควร ได้ท ูล ถามพระผู้
มีพระภาคดังน้ีว่า

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ตรัสว่า ‘ผู้อยู่ด้วยธรรม


ผู้อยู่ด้วยธรรม’ภิกษุช่ือว่าเป็นผู้อยู่ด้วยธรรมด้วยเหตุเท่าไรหนอ

พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
๑. ภิกษุในธรรมวินัยน้ีเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ

เวยยากรณะ คาถา อุท าน อิต ิว ุต ตกะ ชาตกะ


อัพ ภูต ธรรม และเวหัล ละ เธอปล่อ ยให้ว ัน คืน
ล่ว งเลยไป ละการหลีก เร้น อยู่ ไม่ป ระกอบ
ความสงบใจภายใน เพราะการเรีย นธรรมน้ัน
ภิกษุน้ีเราเรียกว่าเป็นผ้ม
ู ากด้ว ยการเรีย นธรรม
ไม่เรียกว่าเป็นผู้อยู่ด้วยธรรม
๒. ภิกษุในธรรมวินัยน้ีแสดงธรรมตามท่ีตนได้สดับมา
ตามที่ต นได้เ รีย นมาแก่ผ ้อ ่ืน โดยพิส ดาร เธอ

X
ปล่โ ย่ใ ห้ว ั ล่ว งเลยไป ละการหลีก เร้น อยู่
ไม ่ป ระกอบ ความ สงบ ใจภ ายใน เพ ราะการ
แสดงธรรมนั้น ภิก ษุน ี้เราเรียกว่าเป็น ผูม
้ ากด้ว ย
การแสดงธรรมไม่เรียกว่าเป็นผู้อยู่ด้วยธรรม
๓. ภิกษุในธรรมวินัยนี้สาธยายธรรมตามที่ตนได้สดับ
มา ตามที่ต นได้เรีย นมา แก่ผ ู้อ ื่น โดยพิส ดาร

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ซี)ซี)1ธ ปัญญา

kalyanamitra.org
เธอปล่อยให้วัน คืน ล่วงเลยไป ละการหลีก เร้น อยู่
ไม ่ป ระกอบ ความ สงบ ใจภ ายใน เพ ราะการ
้ ากด้ว ย
สาธยายธรรมนั้นภิกษุนี้เราเรียกว่าเป็นผูม
การสาธยายธรรมไม่เรียกว่าเป็นผู้อยู่ด้วยธรรม
๔. ภิกษุในธรรมวินัยน้ีตรึกตาม ตรองตาม เพ่งตาม
ด้ว ยใจซ่ึง ธรรมตามท่ีต นได้ส ดับ มา ตามท่ีต น
ได้เรีย นมา เธอปล่อ ยให้ว ัน คืน ล่ว งเลยไป ละ
การหลีก เร้น อยู่ ไม่ป ระกอบความสงบใจภาย ใน
เพราะการตรึกตามธรรมน้ันภิกษุนี้เราเรียกว่าเป็น
ผู้ม ากด้ว ยการตรึก ธรรม ไม่เรีย กว่า เป็น ผู้อ ยู่
ด้วยธรรม
๕. ภิกษุในธรรมวินัยนี้เรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ

เวยยากรณะ คาถา อุท าน อิต ิว ุต ตกะ ชาตกะ


อัพภตธรรม และเวทัลละ เธอไม่ป ล่อ ยให้วัน คืน
ล่ว งเลยไปไมละกา™หลีก เร้น อยู่ ตามประกอบ

ความสงบใจภายใน เพราะการเรีย นธรรมนั้น


ู ยู่ด ้ว ยธรรมอย่างนี้แล
ภิกษุช่ือว่าเป็น ผ้อ

เราแสดงภิก ษุผ ู้ม ากด้ว ยการเรีย นธรรม ผู้ม ากด้ว ย


การแสดงธรรม ผู้ม ากด้ว ย การสาธยายธรรม ผู้ม ากด้ว ย
การตรึกธรรม ผู้อยู่ด้วยธรรม ด้วยประการฉะนี้แล ภิก ษุก ิจ
ใดที่ศาสดาผู้ห วังประโยชน์เก้ือกูลอนุเคราะห์อาลัยความเอ็นดู

ดัมภืร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๑๓ ปัญญา

kalyanamitra.org
พึง ทำแก่ส าวกทั้ง หลาย กิจน้ัน เราได้ท ำแล้ว แก่เธอทั้งหลาย
ภิกษุนั้น โคนไม้น้ัน เรือนว่าง"๘ เธอจงเพ่ง"’' อย่าประมาท อย่า
เป็น ผู้ม ีว ิป ปฏิส าร(ความร้อ นใจ)ในภายหล ัง เลย นี้เป็น
อนุสาสนีของเราเพื่อเธอทั้งหลาย
จากพระสูตรนี้ มีข้อสังเกตว่า การศึก ษาในพระพุท ธ-
ศาสนานั้น อาศัย ภาคปริย ้ต ิเป็น ข้อ มูล สำคัญ ในการฟิก ฝน
อบรมตนเองให ้ครบล้วน ใชโยนิโสมนสิการเพื่อไตร่ตรองให้
ชัด เจน ใช้ก ารปฏิบ ติม รรคมีอ งค์ ๘ ด้ว ยการทำภาวนา เป็น
หลักในการขจัดทุกข์ให้หมดไปตามลำดับๆจนกว่าจะบรรลุธรรม

ปัญญาที่เกิดจากการทำสมาธิภาวนา
พระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า ตรัส ถึง ปัญ ญาที่เกิด จากการทำ
ภาวนาไวํในสมาธิสูตรดังนี้

สมาธิสูตร๔0

ว่าด้วยสมาธิเป็นเหตุเกิดปัญญา

๓๘คำว่า นั่นโคนไม้ น่ันเรือนว่าง น ้ี พระผู้มีพระภาคตรัสมอบมรดก คือเสนาสนะ หรือ


สถานที่ท ี่ส งด ปราศจากคน เหมาะแก่ก ารบำเพ็ญ ความเพียรแก่ภ ิกษุ (อง.. ปฌฺจก. อ.
๓/ ๗๓/ ๓๖)
เพ่ง ในที่นี้หมายถึงเจริญสมถกัมมัฏฐานโดยเพ่งอารมณ์กัมมัฏฐาน ๓๘ ประการ และ
เจริญ วิปัสสนากัมมัฏฐาน โดยเพ่งขัน ธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ เป็นต้น ว่าเป็น สภาวะไม่เที่ยง
เป็นต้น (อง.. ปฌ.จก. อ. ๓/ ๗๓/ ๓๖)
๔0 สํ. ขนุ มก. ๒ ๗ / ๓๗, มจ. ๑๗/ ๑๗

ค้มภีร้สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๑๘ ปัญญา

kalyanamitra.org
สมัย หนึ่ง พ ระผ ู้ม ีพ ระภ าค เจ้า ป ระห ับ อยู่ ณ
พระวิหารเชตวัน อาราม ของอนาถบิณ ฑิก เศรษฐี กรุงสาวัตดี
ณ ที่น ั้นแล พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ตรัส เรีย กภิก ษุท ั้ง หลายว่า
“ ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย”
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ตรัสว่า

“ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เธอท้ังหลายจงเจริญ สมาธิ


ภิกษุมีจิตตั้งมั่นแล้วย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง

ก็ภิกษุย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงอย่างไร
ย่อ มรู้ช ัด ซึ่ง ความเกิด และความดับ แห่ง รูป ความเกิด
และความดับ แห่งเวทนา ความเกิด และความดับ แห่งสัญญา
ความเกิดและความดับ แห่งสังขารความเกิดแลฺะความดับ แห่ง
วิญญาณ
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ก็อ ะไรเป็น ความเกิด แห่ง รูป
อะไรเป็นความเกิดแห่งเวทนา อะไรเป็นความเกิดแห่งสัญญา
อะไรเป็นความเกิดแห่งสังขารอะไรเป็นความเกิดแห่งวิญญาณ
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลายบุค คลในโลกน้ย
ี ่อมเพลิดเพลิน
ย่อมพรํ่าถึง ย่อมด่ืมดื่าอยู่
ก็บ ุค คลย่อ มเพลิด เพลิน ย่อมพรั้าถึง ย่อ มดื่ม ดาอยู่ซ ึ่ง
อะไร

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๑ ปัญญา

kalyanamitra.org
ย่อ มเพลิด เพลิน ย่อ มพร้ัา ถึง ย่อ มด่ืม ดาอยู่ซ ึ่ง รูป
เม่ือ เพลิด เพลิน พราถึง ด่ืม ด้ัาอยู่ซ ่ึงรูป ความยิน ดีก ็เกิด ข้ึน
ความยินดีในรูป นั่นเป็นอุปาทาน
เพราะอุป าทานของบุค คลนั้น เป็น ปัจ จัย จึง มีภ พ
เพราะภพเป็น ปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็น ปัจจัย จึงมีชรา
มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุก ข์ โทมนัส และอุป ายาส ความเกิด
ข้ึน แห่งกองทุก ข์ท้ังมวลนั้นย่อมมีด้วยประการอย่างน้ี
บุค คลย่อมเพลิดเพลิน ซ่ึงเวทนา ฯลฯ
ย่อมเพลิดเพลิน ซ่ึงสัญ ญา ฯลฯ
ย่อมเพลิดเพลินซ่ึงสังขาร ฯลฯ
ย่อ มเพลิด เพลิน ย่อมพราถึง ย่อ มดื่ม ดื่า อยู่ซ ึ่ง วิญ ญาณ
เม่ือ เพลิด เพลิน พราถึง ด่ืม ดื่า อยู่ซ ่ึง วิญ ญาณ ความยิน ดี
ย่อ มเกิดข้ึน ความยิน ดีในวิญ ญาณ นั่น เป็น อุป าทาน เพราะ
อุปาทานของบุคคลน้ันเป็นปัจจัยจึงมีภพ เพราะภพเป็น ปัจจัย
จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ
ทุก ข์โ ทมนัส และอุป ายาส ความเกิดขึ้น แห่งกองทุก ข์ทั้งมวลนี้
ย่อมมีด้วยประการอย่างน้ี
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย นี่เป็น ความเกิด แห่ง รูป นี่เป็น
ความเกิด แห่ง เวทนา นี่เ ป้น ความเกิด แห่ง สัญ ญา นี่เป็น
ความเกิดแห่งสังขารนฺเป็นความเกิดแห่งวิญ ญาณ.”

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษชิ ซิซี)๖ ปัญญา

kalyanamitra.org
เหตุท ี่ท ำให้ค นได้ป ัญ ญามาก
พ ร ะ ส ัม ม าส ้ม พ ุท ธ เจ ้า ไ ด ้ต ร ัส ห ล ัก ป ฏ ิบ ัต ิเ พ ื่อ ไ ด ้
ปัญ ญามากไว่ในปัญ ญามหาปัญ ญาสูต ร ดัง นี้

มหาปัญญาสูตร๔®

ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อความมีปัญญามาก

พระผู้มีพระภาคตรัสว่า“ภิกษุท้ังหลายธรรม ๔ ประการนี้
ท่ีบุคคลเจริญทำให้มากแล้วย่อมเป็นไปเพื่อความมีปัญญามาก
ธรรม ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. ดัปปุริสลังเสวะ (การคบหาสัต บุรุษ )
๒. ล้ทธัมมัสสวนะ (การฟังพระล้ทธรรม)
๓. โยนิโสมนสิการ (การมนสิก ารโดยแยบคาย)
๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ (การปฏิปัติธรรมสมควรแก่
ธรรม)
ภิก ษุท ั้ง หลาย ธรรม ๔ ประการน้ี ที่บ ุค คลเจริญ ทำให้
มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความมีปัญญามาก”

สิ. มหา. มจ. ๑๙/ง่*๗๙, มก. ๓๑/๓๘๘

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๑๗ ปัญญา

kalyanamitra.org
จากการค้น คว้า พบว่า พระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ได้ข ยาย
ความวิธ ีป ฏิบ ้ต ิข องมหาปัญ ญาสูต รอย่า งละเอีย ดลออไว่ใ น
ปัญ ญาสูตรดังน้ี

ปัญ ญาสูต ร๙๒

ภิก ษุท ั้ง หลาย เหตุปัจจัย ๘ ประการน้ี ย่อมเป็นไปเพ่ือ


ได้ป ัญ ญา อัน เป็น เบ้ือ งต้น แห่ง พรหมจรรย ์ท ่ีย ัง ไม่ไ ด้ เพ่ือ
ภิญ โญภาพไพบ ูล ย์เจริญ เต็ม ท่ีแ ห่งปัญ ญาที่ไ ด้แ ล้ว
๑. อาศัยพระศาสดาหรือเพ่ือนพรหมจารีรูปใดรูป
หน่ึง ผู้ต้ังอยู่ในฐานะครู เป็นที่เข้าไปตั้งหิริ โอ
ตดปปะ ความรัก และความเคารพอย่างแรง
กล้านีเ้ ป็นเหตุปัจจัยท่ี๑ที่เป็นไปเพื่อไต้ปัญญาอัน
เป็น เบื้อ งต้น แห่ง พรหมจรรย ์ท ี่ย ัง ไม่ไ ด้ เพื่อ
ภิญ โญภาพ ไพบูล ย์ เจริญ เต็ม ที่แ ห่ง ปัญ ญาที่
ไต้แล้ว
๒. อาศัยพระศาสดาหรือเพื่อนพรหมจารีรูปใดรูปหนึ่ง
ผู้ต้ังอยู่ในฐานะครู เป็น ที่เข้าไปตั้งหิริโอตตัป ปะ

ความรักและเคารพอย่างแรงกล้า เธอเข้าไปหา
แล้ว สอบสวน ไต่ถ ามท่า นเหล่า น ั้น ตาม
เวลาอัน สมควรว่า ‘ท่า นผู้เ จริญ พระพุท ธ
พจน์น ี้เป็น อย่า งไร’ ท่า นเหล่านั้น ย่อ มเปิด เผย
๙๒ อง. อฎซีก. มจ. ๒๓ /๑๙๖ -๒ 0 0 , มก. ๓๗/ ๒๙๘

ดัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๑๘ ปัญญา

kalyanamitra.org
ธรรมที่ย ังไม่ได้เปิด เผย ทำให้ง ่า ยชึ่ง ธรรมที่ย ัง
ไม่ไ ด้ท ำให้ง ่า ยและบรรเทาความสงลัย ในธรรม
ท่ีน ่า สงลัย หลายอย่า ง น้ีเป็น เหตุป ัจ จัยท่ี ๒ ...
๓. ได้ฟ ัง ธรรมน้ัน แล้ว ย่อมทำความสงบ ๒ อย่าง คือ
ความสงบกายและความสงบ ใจให้ถ ึง พร้อ ม น ี้
เป็น ปัจจัยที่ ๓...
๔. เป็น ผู้ม ีส ีล สำรวมด้ว ยการสัง วรในปาติโ มกข์
เพีย บพร้อ มด้ว ยอาจาระและโคจร มีป กติเ ห็น
ภัย ในโทษแม้เ ล็ก น้อ ย สมาทานศึก ษ าอยู่ใ น
สิก ขาบททั้ง หลาย นี้เป็น ปัจจัยที่ ๔...
๕. เป็น พหูส ูต ทรงสุต ะ ส่ัง สมสุต ะ เป็นผู้ได้ฟังมาก
ซ่ึง ธรรมท้ัง หลาย ท่ีม ีค วามงามในเบื้อ งต้น มี
ความงามในท่า มกลางและมีค วามงามในที่ส ุด
ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถและพยัญ ชนะ
บริสุทธ้ึบริบูรณ์ครบถ้วน ทรงจำไวใต้ คล่อ งปาก
ข้ึนใจ แทงตลอดดีด้วยทิฎฐิ น้ีเป็น ปัจ จัย ท่ี ๕...
๖. เป ็น ผ ู้ป รารภ ค ว าม เพ ีย ร เพ ื่อ ละอ ก ุศ ล ธ ร รม
เพื่อ ให้ก ุศ ลธรรมเกิด มีค วามเข้ม แข็ง มีความ
บากบั่นมั่นคงไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่
นี้เป็น เหตุป ัจจัยที่ ๖...

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๑๙ ปัญญา

kalyanamitra.org
๗. อยูในที่ประชุมสงฆไม่พูดเรื่องราวต่าง ๆไม่พูด
ดิร้จฉานกถากล่าวธรรมเองเช้ือเชิญผู้อ่ืนให้กล่าว
และไม่ด ูห มิ่น การน่ิง อย่า งพระอริย ะน้ีเป็น เหตุ
ปัจ จัย ที่ ๗ ...
๘. เป็น ผู้ม ีป กติเห็น ความเกิด ขึ้น และดวามเลื่อ ม
ใสไปในอุป าทานขัน ธ์ ๕ อยู่ว่า ‘รูป เป็น อย่างนี้
ความเกิด ช้ืน แห่ง รูป เป็น อย่า งน้ี ความดับ แห่ง
รูป เป็น อย่า งน้ี เวทนาเป็น อย่า งน้ี.. สัญ ญาเป็น
อย่า งนี้... สัง ขารเป็น อย่า งน้ี... ความเกิด ช้ืน
แ ห ่ง วิญ ญ าณ เป ็น อย่า งน ้ี ความดับ แห่ง
วิญ ญาณเป็น อย่า งน้ี น้ีเป็น ปัจ จัย ท่ี ๘ ท่ีเป็นไป
เพ่ือ ได้ป ัญ ญาอัน เป็น เบื้อ งต้น แห่งพรหมจรรย์ท ี่
ยังไม่ได้ เพื่อ ภิญ โญภาพ ไพ บูล ย์ เจริญ เต็ม ที่
แห่งปัญญาที่ได้แล้วผู้'ที่ได้ประกอบเหตุทั้ง๘อย่าง
ก็จะก่อให้เกิดปัญ ญาอย่างสมบูรณ์

จากสองพระสูตรดังกล่าวดือมหาปัญญาสูตรและปัญญา
สูตร สรุปได้ว่า
๑. การที่เราจะมีน ิส ัย มีป ัญ ญาในเบื้อ งต้น นั้น ต้อง
พยายามแสวงหาบุค คลที่จ ะเป็น ต้น แบบนิส ัย มี
ปัญ ญา เป็นกัลยาณมิตร เป็น อาจารย์

คัมภีร์สร้างวัดขิากพระโอษฐ์ ๑๒๐ ปัญญา

kalyanamitra.org
๒. เข้า ไปไต่ถ ามสอบถาม ศึก ษาด้ว ยความเคารพ
ให้ท ่า นช้ีแ นะ หม่ัน รัก ษาศึล ระมัด ระวัง กาย
ระวังคำพูด ของตนหม่ันฟังธรรมรู้จักเป็นผู้ฟ ังท่ีดี
รู้จักต้ังคำถามและหมั่น สังเกตคุณ ธรรมของท่าน
๓. พ ิจ ารณ าห ัว ข้อ ธรรมะ โดยห ม ่ัน ค้น คว้า
หาความรู้จากพระไตรปิฎ ก และข้อ คิด ต่า งๆ ท่ี
ได้ยินได้ฝังมา
๔. พ ยายาม รัก ษ าใจให ้ผ ่อ งใสต ลอด เวลา โดย
ต้ังใจประพฤติป ฏิบ ัต ิธ รรมโดยไม่ท ้อ ถอย และ
หมั่นจดบันทึกผลการปฏิป้ติธรรม
เม่ือ ไต่ฟ ิก ซํ้า แลัว ช้ํา อีก บ่อ ยๆ ย่อ มได้ร ับ ผลของการ
ปฏีป ้ต ิต ามสมควรแก่ธ รรม ก็จ ะมีค วามรู้ค วามเข้า ใจโลกไป
ตามความเป็น จริง ตามภาวะ ตามภูม ิธ รรมที่เราปฏิบ ้ต ิไ ด้
เราก็จะเป็น ผู้ม ีน ิส ัยมีป ัญ ญามองเห็น ส่ิงต่างๆ เข ้า ใ จ โ ล ก
ไต่โดยตามความเป็นจริงชัดเจนข้ึน

ท่ีมาของปัญญาในพระพุทธศาสนา
ชาวพุท ธ คือ คนท่ีม ีป ัญ ญาเห็น คนทั้ง โลกเป็น ทุก ข์
เป็นของไม่เท่ียง มีความเส่ือมไปเป็นธรรมดา เป็น คนมีปัญ ญา
เข้าใจโลก รู้เท่าหันโลกไปตามความเป็นจริงแล้ว จ ึง แ ส ว งห า
ท า ง พ ้น ท ุก ข ์

คมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ปัญญา

kalyanamitra.org
มีข ้อ ความสำคัญ เรื่อ งที่ม าแห่งปัญ ญาดับ ทุก ข์ใ น
พระพุทธศาสนา ปรากฏในโรหิดัสสสูตรดังนี้

โรหิดัสสสูตร๔”

พระผู้มีพระภาคตรัสว่า

“เทพบุตร เราไม่กล่าวถึงที่สุดแห่งโลก๔๔
ท่ีสัตวไม่เกิดไม่แก,ไม่เจ็บไม่ตายไม่จุติไม่อุบัติ
ว่า ‘พึงรู้พึงเห็นพึงถึงได้'’ ด้วยการไป
เราไม่กล่าวว่าการที่บุคคลยังไม่ถึงท่ีสุดแห่งโลก๔๕
จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้

อน่ึงเราบัญญ้ตโิ ลก๙๖ ความเกิดแห่งโลก๔๗ความ


ดับแห่งโลก๔๘
และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งโลก๙๙
ในร่างกายที่มีประมาณวาหนึ่ง มีสัญญา มีใจนี้
เอง”
๔๓
องฺ จตุกุก มจ. ๒๑/ ๔๕, มก. ๒๔/ ๓๘๑
๔๔
โลก ในท่ีนี้หมายถึงโลกจักรวาล (สิ. สทา. อ. ๓/ ๑๑๖/ ๓๘)
๙๕
โลก ในท่ึนี้หมายถึงสังขารโลก (สิ. สฬา .อ. ๓/ ๑๑๖/ ๓๘)
๔๖
โลก หมายถึงทุกขสัจ (อง.. จตุกก. อ. ๒/ ๔๕/ ๓๔๕)
๙๗
ความเกิดแห่งโลก หมายถึงลมุทัยดัจ (อง.. จตุก.ก. อ. ๒/ ๔๕/ ๓๔๕)
๙๘
ความดับแห่งโลก หมายถึงนิโรธสัจ (อง.. จตุกุก. อ. ๒ / ๔๕/ ๓๔๕)
๔๙
ข้อปฏิบ้ติท่ีให่ถึงความดับแห่งโลก หมายถึง มัคคสัจ (อง..จตุกุก .อ. ๒ / ๔๕/ ๓๔๕)

ดัมภึร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒๒ ปัญญา

kalyanamitra.org
จากพระดำรัส ดังกล่าวนมีข้อ สังเกตว่า
๑. ปัญ ญาท่ีแ ท้จริง ต้อ งเป็น ปัญ ญาท่ีด ับ ทุก ข์ไ ด้แ ละ
มีเฉพาะในพระพุทธศาสนาเท่านั้น
๒. ป ัญ ญ าท ี่ด ับ ท ุก ข ์ไ ด้ เก ิด จาก ก ารท ำภ าวน า
และเป็น ปัญ ญาท่ีอ ยู่ภ ายในตัว มนุษ ย์ ไม่ได้อ ยู่
นอกตัวมนุษ ย์
๓. การเข้า ถึง ปัญ ญ าดับ ทุก ข์ ทุก คนต้อ งบำเพ็ญ
ภาวนาตัวยดัวเองเท่านั้น

ลักษณะของผู้มีปัญญาดับทุกข์
พ ร ะส ัม ม าด ัม พ ุท ธ เจ ้า ย ัง ต ร ัส ถ ึง ล ัก ษ ณ ะข อ งผ ู้ม ี
ปัญญาในโรหิดัสสสูตรอีกว่า
ไม่ว่าในกาลไหนที่สุดแห่งโลกก็ถึงไม่ได้ด้วยการไป
และเมื่อยังไม่ถึงที่สุดแห่งโลก ย ่อ ม ไ ม ่ม ีก าร เป ล ื้อ ง
ตนจากทุก ข์
เพราะเหตุนั้นแล ผู้รู้แจ้งโลก มีปัญญาดี
ถึงที่สุดแห่งโลก อยู่จบพรหมจรรย์
สงบระงับ รู้ท่ีสุดแห่งโลก
ย่อมไม่หวังท้ังโลกน้ีและโลกหน้า

คมภีรสร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒๓ ปัญญา

kalyanamitra.org
จากพระดำรัสข้างต้นมีข้อสังเกตว่า
๑. ผู้ม ีปัญ ญาในพระพุทธศาสนา ดือ ผู้ท ่ีข จัด ความ
ไม่ร ู้ ขจัด ความทุก ข์ และขจัด อาสวะกิเ ลสได้
หมดส้ินแล้ว จึงรู้แจ้งโลก มีป ัญ ญาดี ไปถึงท่ีสุด
แห่งโลกดือพระนิพพานเป็นเหตุให้เป็นผู้สงบระงับ
เพราะไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไปแล้ว
๒. ผู้ใม่ร ู้ ดือ ผู้ท ี่ย ัง ไปไม่ถ ึง ที่ส ุด แห่ง ทุก ข์ ยังต้อง
เวีย นว่า ยตายเกิด ต่อ ไป เพราะยัง ไม่ไ ด้ป ัญ ญา
ดับ ทุก ข์จากการบำเพ็ญ ภาวนา
๓. การดับ ทุก ข์ต ้อ งดับ จากในตัว ไม่ใ ช่ด ับ ภาย
นอกตัว และต้อ งดับ ด้ว ยการบำเพ็ญ ภาวนาจน
กระทั่งบรรลุอริยสัจ ๔ เพราะไม่ว่ายุคไหนสมัยใด
ไม่ม ีผ ู้ใ ดสามารถดับ ทุก ข์ด ้ว ยการเดิน ทางไกล
ไปให้ถ ึง ขอบจัก รวาล เพราะถึง แม้เขาจะมีอ ายุ
ยืน เป็น ล้า นปี แต่เขาจะต้อ งหมดอายุข ัย ก่อ นจะ
ไปถึง อย่า งแน่น อน ทำให้เ ขาต้อ งตกอยู่ภ ายใต้
การเวียนว่ายตายเกิดต่อไป

การได้ปัญญาดับทุกข์ในพระพุทธศาสนา
พระสัม มาดัม พุท ธเจ้า ตรัส ไว้ช ัด เจนว่า การเข้า ถึง
ปัญ ญาดับ ทุก ข็ใ นพระพุท ธศาสนาต้อ งปฏิบ ้ต ิม รรคมีอ งค์ ๘

ดับภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒๔ ปัญญา

kalyanamitra.org
เท่า นั้น เพราะมรรคม ีอ งค์ ๘ คือ หนทางดับ ทุก ข์ท ี่พ ระ
สัม มาสัม พุท ธเจ้า ทุก ๆ พระองค์ป ฏิบ ัต ิส ืบ ต่อ ๆ กัน มาดัง
ปรากฏในนครสูตรดังนี้

นครสูต ร''0

ว่าด้วยนคร

“ ภิก ษุท ้ังหลายก่อ นแต่ต รัสรู้เม่ือ เราเป็น โพธิส ัต ว์ยังไม่


ได้ต รัส รู้ได้ม ีค วามคิด คำนึงอย่างนี้ว่า ‘โลกนี้ดึงความดับ แค้น
จึง เกิด แก่ ตาย จุต ิแ ละอุบ ัต ิ ก็บ ุค คลไม่ร ู้อ ุบ ายสลัด ออก
จากทุก ข์ค ือ ชราและมรณะ น้ี เม่อ ื ไรจึง จะพ้น จากทุก ข์ค ือ
ชราและมรณะนี้โต้’

เราได้พ บทางเก่า ที่พ ระสัม มาลัม พุท ธเจ้า องค์ก ่อ นๆ


เคยเสด็จพระดำเนิน
ท างเก ่า ท ่ีพ ร ะส ัม ม าส ัม พ ุท ธ เจ ้า อ งค ์ก ่อ น ๆ เคย
เสด็จ พระดำเนิน เป็นอย่างไร
คือ อริย มรรคมีอ งค์ ๘ น้ีเท่านั้น ได้แ ก่

๑. สัมมาทิฎฐิ
๒. สัมมาลังกัปปะ
๓. สัมมาวาจา

๔๐ สิ. น. มจ. ๑๖/ ๑๒๖, มก. ๒๖/ ๓๓๒

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒ ๔ ปัญญา

kalyanamitra.org
๔. สัมมากัมมันตะ
๕. สัมมาอาชีวะ
๖. สัมมาวายามะ
๗. สัมมาสติ
๘. สัมมาสมาธิ
น้ีค ือ ทางเก่า ท่ีพ ระสัม มาลัม พุท ธเจ้า องค์ก ่อ นๆ เคย
เสด็จพระดำเนินเราก็ได้ดำเนินตามทางนั้น”

จากพระสูตรน้ีม ีข้อลังเกตว่า

๑. พระสัม มาดัม พุทธเจ้าไม่ได้ม ีเพียงพระองค์เดียว


ก่อนหน้านี้ก็เคยมีมาแล้วหลายพระองค์

๒. พระสัม มาดัม พุท ธเจ้า ทุก ๆ พระองค์ล ้ว นตรัส รู้


ด้วยการปฏิบ้ติมรรคมีองค์ ๘ เหมือนกันหมด

จากข้อลังเกตดังกล่าวเม่ือศึกษาด้นคว้าต่อไปพบว่าพระ
สัม มาลัม พุท ธเจ้า แสดงถึง ความยิ่ง ใหญ่ข องมรรคมีอ งค์ ๘
ต่อพระพุทธศาสนาไวํในปทสูตรดังนี้

ปทสูต ร''๑

ว่าด้วยอุปมาด้วยรอยเท้าสัต ว์


" สํ. มหา. มจ. ๑๙/๗๕, มก. ๓0 / ๑๓๒

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒๖ ปัญญา

kalyanamitra.org
“ ภิก ษุท ้ัง หลาย รอยเท้า ของสัต ว์ท ่ีเ ที่ย วไปบนแผ่น
ดิน ท้ัง หมดรวมลงในรอยเท้า ช้า ง รอยเท้า ช้า งชาวโลกกล่า ว
ว่า เลิศ กว่า รอยเท้า เหล่า นั้น เพราะเป็น รอยใหญ่ แม้ฉันใด
กุศลธรรมท้ังหมดก็ฉันนั้นเหมือนกันมีความไม่ประมาทเป็นมูล
รวมลงในความไม่ป ระมาท ความไม่ป ระมาท บัณ ฑิต กล่า ว
ว่าเลิศกว่ากุศลธรรมเหล่าน้ัน
ภิก ษุผ ู้ใ ม่ป ระมาทพึง หวัง ช้อ นี้ไ ด้ว ่า ‘จัก เจริญ อริย
มรรคมีองค์ ๘ ทำอริยมรรคมีองค์ ๘ ให้มาก’
ภิก ษุผ ู้ไ ม่ป ระมาทเจริญ อริย มรรคมีอ งค์ ๘ ทำอริย
มรรคมีองค์ ๘ ให้มากอย่างไร
คือ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี

๑. เจริญสัมมาทิฎฐิอันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัย


นิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ
ฯลฯ
๒. เจริญ สัม มาสมาธิอ ัน อาศัย วิเ วก อาศัย วิร าคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในโวสสัคคะ
ภิกษุทั้งหลายภิกษุผู้ไม่ประมาทเจริญอริยมรรคมีองค์๘
ทำอริยมรรคมีอ งค์ ๘ ให้มาก อย่างนี้แล”

คมภีรสรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒๗ ปัญญา

kalyanamitra.org
ข้อสังเกต
๑. กุศ ลธรรมทั้ง หลายรวมอยู่ใ นความไม่ป ระมาท
หมายความว่าคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนา
ซึ่ง ล้ว นแต่เป็น ความดีบ ริส ุท ธี้ล ้ว นๆ สรุป อยู่ใน
คำว่า ความไม่ประมาท
๖. ผู้ท ่ีต ้ังอยูในความไม่ป ระมาทคือ ผู้ท ี่ป ฏิบ ัต ิม รรค

ม ีอ งค์๘
หมายความว่าคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนา
ย่อมประชุมรวมอยู่ในมรรคมีองค์๘ เช่นเดียวกัน
๓. การได้ป ัญ ญาดับ ทุก ข์ใ นพระพุท ธศาสนา คือ
ต้อ งปฏ ิบ ัต ิม รรคมีอ งค์ ๘ อัน เป็น รอยทางเก่า
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์เท่าน้ัน

จากการศึก ษาต่อ ไป พบว่า การปฏิบ ัต ิม รรคมีอ งค์ ๘


ให้ครบถ้วน จนกระท้ัง เข้า ถึง ปัญ ญาดับ ทุก ข์อ ัน เป็น โลกุต ร
ธรรมได้น ั้น จะต้อ งปฏิบ ติส ัม มาสมาธิอ ัน เป็น อริย ะดังปรากฏ
ในมหาจัดตารีสกสูตรดังนี้

มหาอัต ตารีส กสูต ร ๕๒

ว่าด้วยธรรมบรรยายชื่อมหาอัตตารีสกะ

ม.ปี. มจ. ๑๔/ ๑๗๔, มก. ๒๒/ ๓๔๑

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒๘ ปัญญา

kalyanamitra.org
สมัยหน่ึง พระผู้ม ีพ ระภาคประหับ อยู่ ณ พระเชตวัน
อารามของอนาถบิณ ฑิก เศรษฐี เขตกรุง สาวัต ลึ ณ ท่ีน ้ันแล
พ ระผ ู้ม ีพ ร ะภ าค ไ ด ้ร ับ ส ่ัง เร ีย ก ภ ิก ษ ุท ้ัง ห ล าย ม าต ร ัส ว ่า
“ ภ ิก ษ ุท ้ัง ห ลาย” ภิก ษุเ หล่า น้ัน ทูล รับ สนองพระดำรัส แล้ว
พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเร่ืองน้ีว่า
“ ภิก ษ ุท ้ัง หลาย เราจัก แสดงสัม มาสมาธิ'*" อัน เป็น
อริย ะ**ท่ีม ีอ ุป นิส ะ*'บ้า ง มีปริขาร๙๖ บ้าง แก่เธอท้ังหลาย เธอ
ท้ัง หลายจงฟัง สัม มาสมาธิอ ัน เป็น อริย ะนั้น จงใส่ใจให้ดี เรา

จัก กล่า ว”
ภิก ษุเหล่า นั้น ทูล รับ สนองพระดำรัส แล้ว พระผู้ม ีพ ระ
ภาคจึงได้ตรัสเร่ืองน้ีว่า
“ สัม มาสมาธิ (ต้ังจิต ม่ัน ชอบ) อันเป็นอริยะ ท่ีม ีอุป นิส ะ
มีปริขาร เป็นอย่างไร
ดือ สัม มาทิฎ ฐี( เห็น ชอบ) สัม มาลัง กัป ปะ(ดำริช อบ)
ส ัม ม าว าจ า(เจร จาช อ บ ) สัม ม ากัม ม ัน ตะ(กระทำชอบ )
สัม มาอาชีว ะ(เลี้ย งชีพ ชอบ) สัม มาวายามะ(พยายามชอบ)
สัม มาสติ(ระลึกชอบ)

*๓ สัม มาสมาธิ ในท่ีน้ีหมายถึงสมาธิในองค์มรรค (ม. อุ .อ. ๓/ ๑๓๖/ ๙๒)


๕๔ สันเป็นอริยะ หมายถึงไม่มีโทษ ได้แก่โลกุตตรธรรม (ม. อุ. อ. ๓/ ๑๓๖/ ๙๒)
" ท่ีม ีอ ุปนิส ะ หมายถึง มีเหตุป ัจ จัย (ม. อุ. อ. ๓/ ๑๓๖/ ๙๒)
๕๖ มีปริขาร หมายถึงมีอ งค์ป ระกอบ (ม. อุ. อ. ๓/ ๑๓๖/ ๙๒)

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๒๙ ปัญญา

kalyanamitra.org
สภาวะท่ีจิตมีอารมณ์เดียว แวดล้อมด้วยองค์ ๗ น ้ี
เราเรียกว่า ‘สัมมาสมาธิอันเป็น.อริยะ ท่ีมีอุปนิสะ’ บ้าง
เรียกว่า ‘สัมมาสมาธิอันเป็นอริยะ มีปริขาร’ บ้าง
บรรดาองค์ ๗ น้ัน สัมมาทิฎฐิเป็นหัวหน้า''"'

สัมมาทิฏฐิเป็นหัวหน้า เป็นอย่างไร
ริ'ชัด๙มิ*ฬจิ ฉาทิภชิ‘' ๘ ว่า ‘เป็น๙มิ*๘3
คือภิกษุ991 จฉาทิ
91
ฏซี’ ร้ชัดสัมมา
ทิฎฐิว่า ‘เป็นสัมมาทิฏฐิ’ ความรู้ของภิกษุน้ันเป็นสัมมาทิฏฐิ

มิจฉาทิฏฐิ เป็นอย่างไร
ดือความเห็นว่า‘ทานท่ีให้แล้วไม่มีผลยัญที่บูชาแล้วไม่มี
ผล การเซ่น สรวงท่ีเช่น สรวงแล้วไม่ม ีผ ล ผลวิบ ากแห่ง
กรรมท่ีทำดีและทำช่ัวไม่มี โลกน้ีไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดา
ไม่มีคุณ บิดาไม่มีดุณ สัตว์ท่ีเป็นโอปปาติกะก็ไม่มี สมณ
พราหมณ์ผ ู้ป ระพฤติป ฏิบ ัต ิช อบทำให้แ จ้ง โลกนี้แ ละโลก
หน้าด้วยปัญญาอันยิ่ง เองแล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้ง ก็ไม่มีในโลก’
๓ น้ีเป็นมิจฉาทิฎฐิ

๕๗ สัมมาทิฎฐิเป็น หัวหน้า ในทน้ีหมายถึงสัม มาทิฏฐิ ๒ ดือ (๑) วิป ัสสนาสัม มาทิฏ ฐ


ท่ีก ำหนดพิจ ารณาสัง ขารท่ีเป็น ไปในไตรภูม ิโ ดยเป็น สิ่ง ไม่เที่ย งเป็น ต้น (๒ ) มัคค
สัม มาทิฏ ฐิ ที่ถอนสังขารขึ้น ด้วยไม่ใหัเป็น ไปอีกเพื่อการกำหนดพิจารณา เพราะเป็น
สิ่งไม่เที่ยงเป็นต้น เกิดขึ้น (ม. อุ. อ. ๓/ ๑๓๖/ ๙๓)
๕๘ รู้ชัดมิจฉาทิฏ ฐิ หมายความว่า รู้ชัดมิจฉาทิฎฐิโดยความเป็นอารมณ์ เพราะแทงดลอด
ลัก ษณะว่า ไม่เที่ย ง เป็น ทุก ข์ เป็นอนัตตา แล้วรู้ชัดสัม มาทิฏฐิ โดยความเป็น หน้า ที่
เพราะไม่หลงงมงาย (ม. อุ. อ. ๓/ ๑๓๖/ ๙๓)

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓0 ปัญญา

kalyanamitra.org
สัมมาทิฏ ฐิ เป็นอย่างไร
ดือ เรากล่าวสัมมาทิฏฐิว่ามี ๒ ได้แก่
๑. สัมมาทิฏ ฐิท่ียังมีอาสวะเป็น ส่วนแห่งบุญ ให้ผลดือ
อุปธิ
๒. สัมมาทิฏฐิอันเป็นอริยะที่ไม่มีอาสวะเป็นโลกุตตระ
เป็นองค์แห่งมรรค

สัม มาทิฎ ฐิท ่ีย ัง มีอ าสวะเป็น ส่ว นแห่ง บุญ ให้ผ ลดือ อุป ธิ
เป็นอย่างไร
ดือ ความเห็นว่า ‘ทานท่ีให้แล้วมีผล ยัญ ที่บ ูช าแล้ว มีผ ล
การเช่น สรวงที่เซ่น สรวงแล้ว มีผ ล ผลวิบ ากแห่ง กรรมที่ท ำดี
และทำชั่ว มี โลกน้ีมี โลกหน้า มีม ารดามีค ุณ บิด ามีด ุณ สัต ว์
ท่ีเ ป็น โอปปาติก ะมี สมณพราหมณ์ผ ู้ป ระพฤติป ฏิบ ัต ิช อบ
ทำให้แ จ้ง โลกนี้แ ละโลกหน้า ด้ว ยปัญ ญาอัน ย่ิง เองแล้ว สอนผู้
อื่น ใหัร ู้แ จ้ง ก็ม ีอ ยู่ใ นโลก’ นี้เ ป็น สัม มาทิฏ ฐิท ี่ย ัง มีอ าสวะ
เป็น ส่วนแห่งบุญ ให้ผลดือ อุป ธิ

สัมมาทิฎฐิอันเป็นอริยะที่ไม่มีอาสวะเป็นโลกุตตระ
เป็นองค์แห่งมรรค เป็นอย่างไร
ดือ ปัญ ญา ปัญ ญิน ทรีย ์ ปัญ ญาพละ ธัม มวิจ ยอัม
โพชฌงค์ สัม มาทิฎ ฐิ องค์แ ห่งมรรคของภิก ษุผ ู้ม ีจ ิต ไกลจาก

คัมภีรสร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓๑ ปัญญา

kalyanamitra.org
ข้า ศึก มีจ ิต หาอาสวะมิไ ด้ เพียบพร้อ มด้วยอริยมรรค เจริญ
อริย มรรคอยู่ นี้เป็น สัม มาทิฎ ฐิอ ัน เป็น อริย ะ ท่ีไ ม่ม ีอ าสวะ
เป็น โลกุต ตระ เป็น องค์แ ห่ง มรรค ภิก ษุน ั้น ย่อ มพยายาม
เพื่อ ละมิจ ฉาทิฎ ฐิ ยังสัม มาทิฎ ฐิให้ถ ึงพร้อ ม ความพยายาม
ของภิก ษุน ้ัน เป็น สัม มาวายามะ ภิกษุนั้น มีสติ ละมิจฉาทิฏ ฐิ
มีส ดิเข้าถึงสัม มาทิฏ ฐิอ ยู่ส ติข องภิก ษุน ้ัน เป็น สัม มาสติธ รรม๓
น ี้ ดือ (๑) สัม มาทิฎ ฐิ (๒) สัม มาวายามะ (๓) สัม มาสติ
ย่อ มห้อ มล้อ มคล้อ ยตามสัม มาทิฏ ฐิข องภิก ษุน ้ัน ไป ด้ว ย
ประการฉะน้ี

ภิก ษุท ั้ง หลาย บรรดาองค์๗ นั้น สัมมาทิฏฐิเป็นหัวหน้า

สัมมาทิฎฐิเป็นหัวหน้า เป็นอย่างไร
ดือ ภิกษุรู้ชัดมิจฉาดังกัปปะว่า ‘เป็น มิจ ฉาสัง กัป ปะ’ รู้
ชัดสัมมาดังกัปปะว่า ‘เป็น สัม มาสัง กัป ปะ’ความรู้ของภิกษุน้ัน

เป็นสัมมาทิฎฐิ

มิจ ฉาสัง กัป ปะ เป็น อย่า งไร


ดือ ความดำริใ นกาม ความดำริใ นความพยาบาท
ความดำริใ นการเบีย ดเบีย นน้เี ป็นมิจฉาดังกัปปะ

สัมมาลังกัป ปะ เป็นอย่างไร
ดือ เรากล่าวสัมมาสังกัปปะว่ามี ๒ ได้แก่

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓๒ ปัญญา

kalyanamitra.org
๑. สัม มาสัง กัป ปะท่ีย ัง มีอ าสวะ เป็น ส่ว นแห่ง บุญ
ให้ผลคืออุปธิ
๒. สัม มาสัง กัป ปะอัน เป็น อริย ะ ที่ไ ม่ม ีอ าสวะ เป็น
โลกุตตระ เป็นองค์แห่งมรรค

สัมมาสังกัปปะท่ียังมีอาสวะเป็นส่วนแห่งบุญให้ผล
ดืออุปธิ เป็นอย่างไร
คือ ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในความ
ไม่พ ยาบาท ความ ดำริใ นการไม่เบีย ดเบีย น น้ีเป็น สัม มา
สังกัป ปะท่ียังมีอาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญ ให้ผ ลคืออุป ธิ

สัมมาสังกัปปะอันเป็นอริยะท่ีไม่ม ีอาสวะเป็นโลกุตดระ
เป็นองค์แห่งมรรค เป็นอย่างไร
คือ ความตรึก ความวิต ก ความดำริ ความแน่ว แน่
ความแนบแน่น ความปักใจ ความปรุงแต่งคำ ของภิก ษุผ ู้ม ี
จิตไกลจากข้าศึกมีจิตหาอาสวะมิได้เพียบพร้อมด้วยอริยมรรค
เจริญ อริย มรรคอยู่ นี้เป็น สัม มาสัง กัป ปะอัน เป็น อริย ะที่ไ ม่ม ี
อาสวะ เป็น โลกุต ดระ เป็น องค์แ ห่ง มรรค ภิก ษุน ้ัน ย่อ ม
พยายามเพ่ือ ละมิจ ฉาสัง กัป ปะ ยังสัม มาสังกัป ปะให้ถ ึงพร้อ ม
ความพยายามของภิก ษุน ั้น เป็น สัม มาวายามะ ภิก ษุน ั้น มีส ติ
ละมิจ ฉาดัง กัป ปะ มีส ดิเ ข้า ถึง สัม มาลัง กัป ปะอยู่ สติข อง
ภิกษุน้ันเป็นส้มมาสติ

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓๓ ปัญญา

kalyanamitra.org
ธรรม ๓ น ี้ คือ (๑) สัม มาทิฎ ฐิ (๖) สัม ม าวายาม ะ

(๓) สัม ม าสติย่อมห้อมล้อมคล้อยตามสัมมาสังกัปปะของภิกษุ


น้ันไปด้วยประการฉะน้ี

ภิก ษุท ั้ง หลายบวรดาองค์๗ นั้น สัม มาทิฏ ฐิเป็น หัวหน้า

สัมมาทิฎฐิเป็นหัวหน้า เป็นอย่างไร
คือภิกษุร้ชัดมิจฉาวาจาว่า ‘เป็น มิจ ฉาวาจา’วิชดสัมมา
วาจาว่า ‘เป็น สัม มาวาจา’ ความรู้ของภิกษุนั้นเป็นสัมมาทิฏฐิ

มิจ ฉาวาจา เป็น อย่า งไร


คือ การพูด เท็จ การพูด ส่อ เสีย ด การพูด คำหยาบ
การพูดเพ้อเจอ นี้เป็นมิจฉาวาจา

สัม มาวาจา เป็น อย่า งไร


คือ เรากล่าวสัมมาวาจาว่ามี ๒ ได้แก่
๑. สัม มาวาจาท่ีย ัง มีอ าสวะ เป็น ส่ว นแห่ง บุญ ให้
ผลคืออุปธิ
๒. สัม มาวาจาอัน เป็น อริย ะ ที่ไ ม่ม ีอ าสวะ เป็น
โลกุตดระ เป็นองค์แห่งมรรค
สัม มาวาจาที่ยังมีอาสวะเป็นส่วนแห่งบุญ ให้ผลคือ อุป ธิ
เป็นอย่างไร

คัมภิร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓๔ ป็ญญา

kalyanamitra.org
คือ เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจากการพูดเท็จ เจตนาเป็น
เหตุงดเว้นจากการพูดส่อเสียด เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจาก
การพูดคำหยาบ เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ
นี้เป็นสัมมาวาจาที่ยังมีอาสวะเป็นส่วนแห่งบุญให้ผลคืออุปธิ
สัมมาวาจาอันเป็นอริยะ ที่ไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตดระ
เป็นองค์แห่งมรรคเป็นอย่างไร
คือ การงด การเว้น การเว้นขาด เจตนาเป็นเหตุงด
เว้นจากวจีทุจริต ๔ ของภิกษุผู้มีจิตไกลจากข้าศึก มีจิตหา
อาสวะมิได้ เพียบพร้อมด้วยอริยมรรค เจริญอริยมรรคอยู่
นี้เป็นสัมมาวาจาอันเป็นอริยะ ที่ไม่มีอาสวะ เป็นโลกุตดระ
เป็นองค์แห่งมรรค ภิกษุย่อมพยายามเพื่อละมิจฉาวาจา ยัง
สัมมาวาจาให้ถึงพร้อมอยู่ ความพยายามของภิกษุนั้นเป็น
สัม มาวายามะ ภิกษุน้ันมีสติ ละมิจฉาวาจา มีส ดิเข้าถึง
สัมมาวาจาอยู่ สติของภิกษุนั้นเป็นสัมมาสติ ธรรม ๓ นี้คือ (๑)
สัม มาท็ฎ ฐิ (๒ ) สัม มาวายามะ (๓) สัม มาสติ ย่อม
ห้อ มล้อ มคล้อ ยตาม สัม มาวาจาของภิก ษุน ั้น ไป ด้ว ย
ประการฉะน้ี

ภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์๗ น้ัน สัมมาทิฏฐิเป็นหัวหน้า


สัมมาท็ฎฐิเป็นหัวหน้า เป็นอย่างไร

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓๕ ปัญญา

kalyanamitra.org
คือ ภิกษุรู้ช ัดมิจฉากัมมัน ตะว่า ‘เป็น มิจฉาก้ม มัน ตะ’
รู้ช ัด สัม มาก้ม มัน ตะว่า ‘ เป็น สัม มาก้ม มัน ตะ’ ความรู้ข อง
ภิกษุนั้นเป็นสัมมาทิฏฐิ

มิจฉาก้มมันตะ เป็นอย่างไร
คือ การฆ่าสัต ว์ การลัก ทรัพ ย์ การประพฤติผิดในกาม
น้ีเป็นมิจฉาก้มมันตะ

สัมมาก้มมันตะ เป็นอย่างไร
คือ เรากล่าวสัมมาก้มมันตะว่ามี ๒ ได้แก่
๑. สัมมาก้มมันตะท่ียังมีอาสวะเป็นส่วนแห่งบุญ
ให้ผลคืออุปธิ
๒. สัม มาก้ม มัน ตะอัน เป็น อริยะ ท่ีไ ม่ม ีอ าสวะ
เป็นโลกุตตระ เป็นองค์แห่งมรรค
สัมมากัมมันตะที่ยังมีอาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญ ให้ผลคือ
อุปธิ เป็นอย่างไร
คือ เจตนาเป็น เหตุง ดเว้น จากการฆ่า สัต ว์ เจตนา
เป็น เหตุง ดเว้น จากการดัก ทรัพ ย์ เจตนาเป็น เหตุง ดเว้น จาก
การประพฤติผ ิด ในกาม นี้เป็น สัม มาก้ม มัน ตะ ที่ย ัง มีอ าสวะ
เป็น ส่วนแห่งบุญ ให้ผลคืออุป ธิ
สัมมากัมมันตะอันเป็นอริยะท่ีไม่มีอาสวะเป็นโลกุตตระ
เป็นองค์แห่งมรรค เป็นอย่างไร

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓๖ ปัญญา

kalyanamitra.org
คือ การงด การเว้น การเว้น ขาด เจตนาเป็น เหตุง ด
เว้น จากกายทุจ ริต ๓ ของภิก ษุผ ู้ม ีจ ิต ไกลจากข้า ศึก มีจิต
หาอาสวะมิไ ด้ เพียบพร้อมด้วยอริยมรรค เจริญอริยมรรคอยู่
น้ีเป็น สัม มากัม มัน ตะอัน เป็น อริย ะ ที่ไ ม่ม ีอ าสวะ เป็น โลกุต
ตระเป็น องค์แ ห่ง มรรค ภิก ษุน ั้น ย่อ มพยายามเพื่อ ละมิจ ฉา
กัมมัน ตะ ยังสัม มากัมมัน ตะให้ถ ึงพร้อ ม ความพยายามของ
เธอน้ัน เป็น สัม มาวายามะ ภิก ษุน ้ัน มีส ติล ะมิจ ฉากัม มัน ตะ มี
สติเข้าถึงสัม มาอัม มัน ตะอยู่สติของเธอน้ันเป็นสัม มาสติ
ธรรม ๓ น้ีค ือ (๑) สัมมาทิฎฐิ (๒) สัม มาวายามะ (๓)

สัม มาสติ ย่อ มห้อ มล้อ มคล้อ ยตามสัม มาอัม มัน ตะของภิก ษุ
น้ันไป ด้วยประการฉะน้ี
ภิก ษุท ั้ง หลาย บรรดาองค์๗ นั้น สัมมาทิฎ ฐิเป็น หัวหน้า

สัมมาทิฎฐิเป็นหัวหน้า เป็นอย่างไร
คือ ภิก ษุร ้ช ัด มิจ ฉาอาชีว ะว่า ‘ เป็น มิจ ฉาอาชีว ะ’ รั
ชัด สัม มาอาชีว ะว่า ‘ เป็น สัม มาอาชีว ะ’ ความรู้ข องภิก ษุน ้ัน

เป็นสัมมาทิฎฐิ

มิจฉาอาชีวะ เป็นอย่างไร
คือ การพูด หลอกลวง การเลีย บเคีย ง การหว่า นล้อ ม
การพูดและเล็ม การใช้ลาภต่อลาภ นี้เป็นมิจฉาอาชีวะ
สัมมาอาชีวะ เป็นอย่างไร

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๓๗ ปัญญา

kalyanamitra.org
คือ เรากล่าวสัมมาอาชีวะว่ามี ๒ ได้แก่
๑. สัมมาอาชีวะท่ียังมีอาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญ ให้ผล
คืออุปธิ
๒. สัม มาอาชีว ะอัน เป็น อริย ะ ที่ไ ม่ม ีอ าสวะ เป็น
โลกุตตระ เป็นองค์แห่งมรรค
สัมมาอาชีวะที่ยังมีอาสวะเป็นส่วนแห่งบุญให้ผลคืออุปธิ
เป็นอย่างไร
คือ อริย สาวกในธรรมวิน ัย น้ี ย่อ มละมิจ ฉาอาชีว ะ
เลี้ย งชีพ ด้ว ยสัม มาอาชีว ะ เป็น สัม มาอาชีว ะ ที่ย ัง มีอ าสวะ
เป็น ส่วนแห่งบุญ ให้ผลคืออุป ธิ
สัมมาอาชีวะอันเป็นอริยะ ท่ีไม่มีอาสวะ เป็นโลกตตระ
เป็นองค์แห่งมรรค เป็นอย่างไร
คือ การงด การเว้น การเว้น ขาด เจตนาเป็น เหตุง ด
เว้น จากมิจ ฉาอาชีว ะของภิก ษุผ ู้ม ีจ ิต ไกลจากข้า ศึก มีจ ิต หา
อาสวะมิไ ด้ เพีย บพร้อ มด้ว ยอริย มรรค เจริญ อริย มรรคอย่
น้ีเป็น!อัมมาอาชีวะอัมแป้นอริยะ ที่ไม่ม ีอ่าสวะ เป็นโลกุตตระ

เป็นองค์แห่งมรรค ภิก ษุน ั้น ย่อ มพยายามเพื่อ ละมิจ ฉาอาชีว ะ


ยังสัม มาอาชีวะให้ถ ึงพร้อ ม ความพยายามของ ภิก ษุน ั้น เป็น
สัม มาวายามะ ภิก ษุน ั้น มีส ติล ะมิจ ฉาอาชีว ะ มีส ดิเข้า ถึง
สัมมาอาชีวะอยู่ สติของภิกษุนั้นเป็นสัมมาสติ ธรรม ๓ น ี้ คือ
(๑) สัม มาทิฏ ฐิ (๒ ) สัม มาวายามะ (๓ ) สัม มาสติ ย่อม

คัมภีร์สร้างวัดขิากพระะโอษฐ์ ๑๓๘ ปัญญา

kalyanamitra.org
หัอ มล้อ มคล้อ ยตามสัม มาอาชีว ะของภิก ษุน ้ัน ไป ด้วย
ประการฉะน้ี
ภิกษุทั้งหลายบรรดาองค์๗ นั้นสัมมาทิฏฐิเป็นหัวหน้า
สัมมาทิฏฐิเป็นหัวหน้า เป็นอย่างไร
ดือ ผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะก็มีพอเหมาะ ผู้มี
สัม มาสังกัป ปะ สัม มาวาจาก็ม ีพ อเหมาะ ผู้ม ีสัม มาวาจา
สัมมากัมมันตะก็มีพอเหมาะผู้มีสัมมากัมมันตะ
สัมมาอาชีวะก็มีพอเหมาะ ผู้มีสัมมาอาชีวะ สัมมา
วายามะก็มีพอเหมาะ ผู้มีสัมมาวายามะ สัมมาสติก็มีพอเหมาะ
ผู้มีสัมมาสติ สัม มาสมาธิก ็ม ีพ อเหมาะ ผู้ม ีส ัม มาสมาธิ
สัมมาญาณะก็มีพอเหมาะ ผู้มีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตดิก็มี
พอเหมาะ
ภิก ษุท ้ัง หลาย พระเสขะผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ จึง
เป็นพระอรหันต์ผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๐ (แมีในบรรดาองค์
เหล่านั้น บาปอกุศลธรรมเป็นอเนกไปปราศแล้ว ย่อมถึง
ความบริบูรณ์ด้วยภาวนาโดยสัมมาญาณะ)ด้วยประการฉะนี้
ภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์๗ นั้น สัมมาทิฏฐิเป็นหัวหน้า
สัมมาทิฏฐิเป็นหัวหน้า เป็นอย่างไร
ดือ สัมมาทิฏฐิ ย่อมทำลายมิจฉาทิฏฐิได้ และบาป
อกุศลธรรมเป็นอเนกกันมีมิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัย ก็เป็นกันถูก
สัมมาทิฎ ฐิน ั้น ทำลายแล้ว กุศลธรรมเป็น อเนกกันมีสัมมา
ทิฎฐิเป็นปัจจัย ย่อมถึงความเจริญเต็มที่

คัม ภีร ์ส ร้างวัด จากพระโอษฐ์ ๑๓๙ ปัญฌา

kalyanamitra.org
สัมมาสังกัปปะ ย่อ มทำลายมิจ ฉาสังกัป ปะได้ ...
สัมมาวาจา ย่อมทำลายมิจ ฉาวาจาได ้ ...
สัมมากัมมันตะ ย่อ มทำลายมิจฉากัมมัน ตะได้ ...
สัมมาอาชีวะ ย่อ มทำลายมิจฉาอาชีวะได้ ...
สัมมาวายามะ ย่อ มทำลายมิจ ฉาวายามะได้ ...
- สัมมาสติ ย่อมทำลายมิจ ฉาสติได้ -..
สัมมาสมาธิ ย่อ มทำลายมิจ ฉาสมาธิไ ด้ ...
สัมมาญาณะ ย่อ มทำลายมิจ ฉาญาณะไ ด้ ...
สัม มาวิม ุต ติ ย่อ มทำลายมิจ ฉาวิม ุต ติไ ด้ และบาป
อกุศ ลธรรมเป็น อเนก อัน มีม ิจ ฉาวิม ุต ติเป็น ปัจ จัย ก็เป็น อัน
ถูก สัม มาวิม ุต ติน ั้น ทำลายแล้ว กุศ ลธรรมเป็น อเนกอัน มี
สัม มาวิมุต ติเป็น ปัจจัยย่อมถึงความเจริญ เต็มท่ี
ภิก ษ ุท ั้ง หลาย เราจึง ประกาศธร รมบรรยาย ชื่อ ว่า
มหาจัตตารีสกะฝ่ายกุศล ๒๐ ประการ ฝ่ายอกุศ ล ๒๐ ประการ
ท่ีส มณพราหม ณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆ ในโลกยัง
ประกาศไม่ไดไว้ด้วยประการฉะน้ี
ภิก ษุท ้ัง หลาย สมณะหรือ พราหมณ์ผ ู้ใ ดผู้ห นึ่ง พึง
เข้าใจธรรมบรรยายช่ือว่าม หาจัต ตารึส กะ ๕’' น ี้ ว่าตนควรติ
เตียน หรือคัดด้าน คำกล่าวเข้นน้ัน และคำท่ีก ล่าวต่อ ๆ กันมา

๕๙ มหาจัดตารีสกะ หมายถึงธรรมบรรยาย ๔๐ ประการ ที่เป็น ฝ่า ยกุศ ลและฝ่า ยอกุศ ล


มีผลมากที่พระผู้มีพ ระภาคทรงประกาศไว้แล้ว (ม. รุ. อ. ๓/ ๑๔๒/ ๙๖)

คัมภีร์สว้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๔๐ ปัญญา

kalyanamitra.org
๑๐ ประการน้ีของสมณะหรือพราหมณ์น ั้น จะเป็น เหตุให้ถ ูก
ตำหนิไต่ในปัจจุบันทีเดียว คือ
๑. ถ้า ท่า นผู้เจริญ ติเตีย นสัม มาทิฎ ฐิ ท่า นผู้เจริญ ก็
ต้องบูชาสรรเส่ริญสมณพราหมณ์ผู้เป็นมิจฉาทิฎฐิ
๒. ถ้า ท่า นผู้เ จริญ ติเ ตีย นสัม มาสัง กัป ปะ ท่า นผู้
เจริญ ก็ต ้อ งบูช าสรรเสริญ สมณพราหมณ์ผ ู้เป็น
มิจฉาดังกัปปะ
๓. ถ้าท่า นผู้เจริญ ติเตีย นสัม มาวาจาฯลฯ
๔. ถ้าท่านผู้เจริญ ติเตียนสัมมากัมมันตะ...
๕. ถ้าท่านผู้เจริญ ติเตียนสัมมาอาชีวะ...
๖. ถ้าท่านผู้เจริญ ติเตียนสัม มาวายามะ...
๗. ถ้าท่านผู้เจริญ ติเตียนสัมมาสติ-..
๘. ถ้าท่านผู้เจริญ ติเตียนสัมมาสมาธิ...
๙. ถ้าท่านผู้เจริญ ติเตียนสัม มาญาณะ...
๑๐. ถ้า ท่า นผู้เจริญ ติเตีย นสัม มาวิม ุต ติ ท่า นผู้เจริญ ก็
ต้องบูชาสรรเส่ริญสมณพราหมณ์ผู้เป็นมิจฉาวิมุตติ
ภิกษุทั้งหลายสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งพึง
เข้า ใจธรรมบรรยายชื่อ ว่า มหาจัต ตารีส กะนี้ ว่า ตนควรตี
เตียนหรือควรคัดต้านคำกล่าวเข้นนั้นและคำที่กล่าวต่อๆกันมา
๑๐ ประการนี้ของสมณะหรือ พราหมณ์น ั้น จะเป็น เหตุให้ถ ูก
ตำหนิไต่ในปัจจุบันทีเดียว

คัมภีร์สร้างวัดจากพระะโอษฐ์ 6)(5^(8!) ปัญฌา

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ้ัง หลาย แม้พ วกวัส สะและพวกกัญ ญะชาวโอ

กกลชนบท ผู้เป็นอเหตุกวาทะ'’0 อกิริยวาทะ',® นัต ถิก วาทะ๖๒


เหล่า นั้น ก็ย ัง เข้า ใจธรรมบรรยายชื่อ ว่า มหาจัต ตารีส กะ ว่า
ไม่ควรติเตียนไม่ควรคัดค้าน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร

เพราะกลัวการนินทา การว่าร้าย และการแข่งดี”


พระผู้ม ีพ ระภาคได้ต รัส ภาษิต น้ีแ ล้ว ภิก ษุเหล่า น้ัน มี
ใจยินดีต่างชื่นชมพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคดังนี้แล
เม่ือ ปฏิป ติส ัม มาสมาธิท ่ีแ วดล้อ มด้ว ยองค์ ๗ แล้ว ก็
เป็นเหตุให้มรรคมีองค์ ๘ เกิดความครบถ้วน
ภิก ษุท ้ัง หลาย พระเสขะผู้ป ระกอบด้ว ยองค์ ๘ จึง
เป็น พระอรหัน ต์ผู้ประกอบด้วยองค์๑0

จากพระสูต รดัง กล่า ว เท่า กับ เป็น การให้ค ำตอบที่


ชัดเจนว่า
๑. มรรคมีอ งค์ ๘ จะครบถ้ว นได้ต ่อ เมื่อ ลงมือ ทำ

สมาธิภาวนา

๖0 อเหดุก วาทะ หมายถึง ผู้ม ีล ัท ธิว่า ไม่มีเหดุ ไม่มีปัจจัย เพื่อ ความหมดจดแห่งสัต ว์


ทั้ง หลาย (ม. อุ. อ. ๓/ ๑๔๓/ ๙๗)
๖" อกิริยวาทะ หมายถึงผู้ม ีล ัท ธิว่า เม่ือทำบาป บาปก็ไม่เป็น อัน ทำ (ม .อ11.อ. ๓/ ๑๔๓/
๙๗)
๖๒
นัดถิก วาทะ หมายถึงผู้ม ีล ัท ธิว่า ทานท่ีให้แล้วย่อมไม่มีผล (ม. อุ. อ. ๓/ ๑๔๓/ ๙๗)

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๔๒ ษิขขา

kalyanamitra.org
๒. ปัญ ญาดับ ทุก ข์ใ นพระพุท ธศาสนา ดือ ปัญ ญา
ท ่ีไ ด ้จ าก ก าร บ ำเพ ็ญ ภ าว น าต าม ห ล ัก ม ร ร ค
มีอ งค์ ๘ ท่ีแ วดล้อ มด้วยองค์ ๗
๓. ป ัญ ญ าดับ ทุก ข์อ ัน เป็น อริย ะมีเ พ ีย งเฉ พ าะใน
พระพุท ธศาสนาเท่า น้ัน ผู้ล งมือ ปฏิบ ัต ิส ัม มา
สมาธิอย่างต่อเน่ืองเป็น นิสัยพึงหวังท่ีสุดแห่งทุก ข์
ดือการบรรลุพระนิพพานได้
๔. จากพุท ธดำรัส ในพระสูต รนี้ว่า “ ภ ิก ษ ุท ั้ง ห ลาย
พ ระเสข ะผ ู้ป ระก อบ ด ้ว ยองค ์ ๘ จึง เป ็น พ ระ
อรหัน ต์ผ ู้ป ระกอบด้ว ยองค์๑ ๐” เท่ากับ เป็น การ
บอกให้ทราบว่า พระพุทธศาสนาจะต้ังอย่ได้น าน
พระ อรห น ค ์จ ะ ไ ! " ม ีว ^ ^

พระภิกษุยังมุ่งขจัดทุกข์ด้วยการปฏิป้ติมรรคมีองค์
๘ อย่างทุ่มชีวิตเป็นเติมพัน

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๔๓ ปัญญา

kalyanamitra.org
“ อยู่ไม่ไกลนัก ไม่ใกล้นัก มีทาง
ไปมาสะดวก
กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืน
มีเสียงน้อยไม่อึกทึก
มีเหลือ บยุง ลม แดด และสัตว์
เล้ือยคลานกระทบน้อย”

*---- ซข^ *

kalyanamitra.org
บทท่ี

*------ซ/-------- *

สถานท่ี
เหมาะแก่การบรรลุธรรม

สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

พระสัมมาดัมพุทธเจ้าตรัสถึงลักษณะของสถานที่ที่เหมาะ

แก่การบรรลุธรรมไว!.นเสนาสนสูตรว่า

“อยู่โม่ไกลนักไม่ใกล้นัก มีทางไปมาสะดวก
กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางดืนมีเสียงน้อย ไม่
อึกทึก

kalyanamitra.org
มีเ หลือ บยุง ลม แดด และสัต ว์เ ลื้อ ยคลาน กระทบ
น ้อ ย ”

จากข้อความข้างต้น น้ีพ อสรุปได้๔ ประเด็น หลัก ดังน้ี


๑. ภูม ิป ระเทศดี ดือทำเลท่ีต้ังของวัด ต้องอยู่ไม่ไกล
ไม่ใกล้ชุมชน มีการเดิน ทางสะดวกทั้งทางในวัด
และทางนอกวัดซ่ึงเป็น ข้อดีในการเดิน บิณ ฑบาต
และการเดินทางในกรณีมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน เช่น
มีผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นต้น
๖. บรรยากาศสงบวิเ วก ดือ กลางวัน ไม่พ ลุก พล่าน
กลางดืนมีเสีย งน้อยไม่อึกทึก มีด วามสงบปลอด
จากเสีย งรบกวน
๓. ส ภ าพ แ วด ล้อ ม ด ี คือ ม ีด ว าม ส ะอ าด เป็น
ระเบีย บ และปลอดภัย จึงจะมีเหลือ บยุงและสัต ว์
เล้ือ ยคลานกระทบน้อ ย โดยจะต้อ งดูแ ลไม่ให้ม ี
มุมดับหรือมุมอับท่ีจะเป็นที่ช่อนของแมลงสัตว์ร้าย
มีก ารจัด ข้า วของในวัด อย่า งเป็น ระเบีย บ มีก าร
ดูแ ลสุข ลัก ษณะด้า นสถานที่แ ละสุข อนามัย ด้า น
ความเป็น อยู่ ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะเช้ือโรค หรือ
เป็นที่เพาะพันตุ)องสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรคเช่นหนู
แมลงวัน เป็นต้น

คัม ภีร ์ส รางวัด จากพระโอษฐ์ ๑๔๖ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุสรรม

kalyanamitra.org
๔. ภูม ิอ ากาศดี คือ มี ลม แดด กระทบน้อย อาก าศ
ถ่า ยเทดี อุณ หภมิพอเหมาะพอดีไม่ร้อน ไม่เย็น
เกินไป ร์ม ร้น สบาย มีความ๓ ำงไม่มืดคร้ม เหมาะ

แก่ก ารปฏิบ ัต ิธ รรม

จากข้อ สังเกตทั้ง ๔ ประเด็นนี้ ก็เป็น การยืน ยัน ว่า การ


เลือ กทำเลปฏิบ ัต ิธ รรม หรือ การดูแ ลวัด ให้เ หมาะแก่ก าร
ปฏิบ ัต ิธ รรม คือ ส่ิง ที่ต ้อ งใส่ใ จเป็น อัน ดับ หน่ึง เพราะหาก
ส่ิง แวดล้อ มจากมภายนอก อัน เป็น ปัจ จัย สำคัญ ในการส่ง
เสริม การบรรลุธ รรมไม่ล งตัว ก่อ นแล้ว ความสงบใจภายใน
เป็นสมาธิย่อมเกิดข้ึนไม่ได้เลย
ดัง น้ัน การที่ใ ครจะได้ส ถานท่ีท ี่เหมาะแก่ก ารบรรลุ
ธรรมอย่างนี้ขึ้น มาได้จึงมีอ ยู่ ๒ ทาง
ทางแรก คือ ออกแสวงหาไปตามสถานท่ีต่าง ๆ จนกว่า
จะพ บ ท ำเลท ี่เ ห ม าะสม แล้ว ลงมือ สร้า งวัด หรือ สถาน ท่ี
ปฏิบ้ติธรรมขึ้นมาใหม่
ทางท่ีส อง คือ ดูแ ลวัดท่ีม ีอยู่แล้วให้เป็น สถานที่เหมาะ
แก่การบรรลุธรรมโดยต้อง่เผยแผ่ความรู่ให้คณะสงฆ็ในวัดน้ัน
อีก ท้ังชาวบ้านในชุม ชนน้ัน เกิด ความเข้า ใจเจตนาดั้ง เดิม ใน
การสร้า งวัด ว่า วัด คือ สถานที่เหมาะแก่ก ารบรรลุธ รรม การ
รณรงค์ห ่ืเนฟูว ัด ให้เป็น สถานท่ีเหมาะแก่ก ารบรรลุธ รรมจึง

จะประสบผลสำเร็จ

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๔๗ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
การเลือกสถานท่ีตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ก่อ นที่พ ระสัม มาสัม พุท ธเจ้า จะตรัส รู้น ั้น พระองค์
ทรงให ้ค วาม สำคัญ ของการเลือ กสถานที่ต รัส รู้อ ย่า งม าก
เพราะนั้น คือ สถานท่ีท ่ีจ ะประกาศธงรบกับ อวิช ชาอย่า งทุ่ม
ชีว ิต เป็น เดิม พัน ซ่ึงเป็น การรบกับ หัว หน้ากิเลสในข้ัน แตกหัก
หากชัย ภูม ิไ ม่ด ีจ ริง การรบกับ กิเลสย่อ มเท่า กับ แพ้ต ้ัง แต่ย ัง
ไม่ลนกลองรบ แด่เพราะเมื่อพระองค์ทรงได้พบชัยภูมิท่ีดีจริง
น้ัน คือ ณ โคนไม้ศ รีม หาโพธี้ พระองค์จ ึง ทรงได้ส ถานท่ี
เหมาะแก่ก ารตรัส รู้เป็น พระสัม มาดัม พุท ธเจ้า ดัง ปรากฏใน
ปาสราสิสูตรดังนี้

ปาสราสิสูตร๖"

ภิก ษุท ้ัง หลาย เราน้ันแสวงหาว่าอะไรเป็นกุศล ขณะ


ท่ีแสวงหาทางอันประเส่ริฐ คือ ความสงบซึ่งไม่มีทางอื่นยิ่งกว่า
เม่ือเท่ียวจาริกไปในแคว้น มคธ โดยลำดับ ได้โ ปถึง ตำบลอุร ุ
เวลาเสนานิคม ได้เห็น ภูม ิป ระเทศที่น ่า รื่น รมย์ม ีราวป่า น่า
เพลิดเพลินใจมีแม่นั้าไหลรินไม่ขาดสายมีท'านั้าสะอาดดี
น่ารื่นรมย์มีโคจรคามอยู่โดยรอบ
เราจึงคิด ว่า‘ภูมิประเทศเป็นที่น่ารื่นรมย์มีราวป่าเป็นที่
น่าเพลิดเพลิน ใจ มีแม่นํ้าไหลรินไม่ขาดสาย มีท ่านํ้าสะอาดดี

ม. มู. มจ. ๑๒/ ๓๐๓, มก. ๑๘/ ๔๑๘

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๔๘ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
น่า ร่ืน รมย์ มีโ คจรคามอยู่โ ดยรอบ เหมาะแก่ก ารบำเพ็ญ
เพีย รของกุล บุต รผู้ป รารถนาจะบำเพ็ญ เพีย ร’ เราจึง น่ัง ณ
ท่ีน้ันด้วยคิดว่า ‘ท ่ีน เี่ หมาะแก่ก ารบำเพ็ญ เพีย ร’

เม่ือพระองค์ทรงได้สถานท่ีตรัสรู้แล้ว พระองค์จ ึง ทรง


ทุ่ม ชีว ิต เป็น เดิม พัน บำเพ็ญ ภาวนาตลอดราตรี และได้ตรัสรู้
ธรรมมาตามลำดับ ๆ ดังปรากฏในโพธิราชกุมารสูตรดังนี้

โพธิร าชกุม ารสูต ร ๖๔

ว่าด้วยโพธิราชกุมาร

....“ ราชกุมาร อาตมภาพฉัน อาหารหยาบให้ร่างกายมี


กำลัง ส งัด จ าก ก าม แ ล ะ อ ก ุศ ล ธ ร ร ม ทั้ง หลายแล้ว บรรลุ
ิ ก วิจ ารปีต ิแ ละสุข อัน เกิด จากวิเวกอยู่
ปฐมฌานท่ีม ีว ต
เพราะวิต กวิจ ารสงบระงับไป บรรลุท ุต ิย ฌ าน มีความ
ผ่องใสในภายในมีภาวะท่ีจิตเป็นหน่ึงผุดขึ้นไม่มีวิตกไม่มีวิจาร

มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสม าธิอยู่
เพราะปีติจางคลายไป มีอุเบกขา มีสดิสัม ปชัญ ญะเสวย
่ ระอริยะทั้งหลายสรรเส่ริญ
สุขด้วยนามกาย บรรลุต ติย ฌานทีพ
ว่า ‘มีอุเบกขา มีสดิอยู่เป็น สุข ’

ม.ม. มจ. ๑๓/ ๔๐๔, มก. ๒๑/ ๑๑๗

คมกึร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๔๙ สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เพราะละสุข และทุก ข์ไ ด้ เพราะโสมนัสและโทมนัสดับ
ไปก่อนแล้ว บรรลุจ ตุต ถฌาน ที่(ม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีส ดิบ ริส ุท ธ
เพราะอุเ บกขาอยู่

เม่ือจิต เป็น สมาธิบ ริส ุท ธผุด ผ่อ งไม ่ม ีก ิเ ลสเพ ีย งดัง


เนิน ปราศจากความเศร้า หมอง อ่อ น1เหมาะแก่ก ารใช้ง าน
ต้ัง ม่ัน ไม่ห วั่น ไหวอย่า งน้ี
อาตมภาพน้ันน้อมจิตไปเพื่อปุพ เพนิว าสานุส สติญ าณ
ระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ คือ ๑ ชาติบ้าง ๒ ชาติบ ้าง ฯลฯ
อาตมภ าพ ระลึก ชาติก ่อ นได้ห ลายชาติพ ร้อ ม ท้ัง ลัก ษ ณ ะ
ท้ัวฺไปและชีวประว้ติอย่างน้ี
อาตมภาพได้ บรรลุว ิช ชาท่ี ๑ น ้ี ในปฐมยามแห่ง
ร าต ร ก
ี ำจัดอวิชชาได้แล้ววิชชาก็เกิดขึ้นกำจัดความมืดได้แล้ว
ความสว่างก็เกิด ข้ึน เหมือนบุคคลผู้ไม่ประมาท มีค วามเพียร
อุทิศกายและใจอยู่

เมื่อ จิต เป็น สมาธิบ ริส ุท ธี้ผ ุด ผ่อ งไม่ม ีก ิเลสเพีย งดังเนิน
ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น
ไม่หวั่นไหวอย่างนี้
อาตมภาพนั้น น้อมจิต ไปเพื่อจุต ูป ป าต ญ าณ เห็นหมู่
สัต ว์ผ ู้ก ำลังจุต ิ กำลัง เกิด ทั้งชั้นตาและชั้นสูง งามและไม่งาม
เกิดดีและเกิดไม่ดี ด้ว ยตาทิพ ย์อ ัน บริส ุท ขึ้เหนิอ มนุษ ย์ รัชัด
ถึงหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ฯลฯ

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๕๐ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
อาตมภาพได้บ รรลุว ิช ชาที่ ๖ นี้ใ นมัช ฌ ิม ยามแห่ง
ี ำจัดอวิชชาได้แล้ววิชชาก็เกิดขึ้นกำจัดความมืดได้แล้ว
ร าต ร ก
ความสว่างก็เกิด ข้ึน เหมือนบุคคลผูไม่ประมาท มีค วามเพียร
อุทิศกายและใจอยู่

เม่ือ จิต เป็น สมาธิบ ริส ุท ธ้ึผ ุด ผ่อ งไม่ม ีก ิเลสเพีย งดังเนิน
ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น
ไม่หวั่นไหวอย่างน้ี
ู ัดตาม
อาตมภาพน้ันน้อมจิตไปเพื่ออาสวัก ขยญ าณ ร้ช
ความเป็น จริงว่า ‘น้ีท ุก ข์ น้ีท ุก ขสมุท ัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ท ุก ขนิ
โรธคามิน ิป ฏิป ทา น้ีอ าสวะ น้ีอ าสวสมุท ัย นี้อ าสวนิโ รธ น ี้
อาสวนิโรธคามินิปฏิปทา’
เม ่ือ อาตมภ าพ รู้เ ห ็น อยู่อ ย่า งน ี้ จิต ก็ห ลุด พ ้น จาก
กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เม่ือจิตหลุดพัน แล้วก็รู้ว่า
‘หลุด พัน แล้ว ’ รู้ชัดว่า ‘ชาติส ้ิน แล้ว อยู่จ บพรหมจรรย์แ ล้ว
ทำกิจ ที่ค วรทำเสร็จ แล้ว ไม่ม ีก ิจ อ่ืน เพ่ือ ความเป็น อย่า งน้ี
อีกต่อไป’
ราชกุมาร อาตมภาพบรรลุว ิช ชาท่ี ๓ น้ีใ นปัจ ฉิม ยาม
แห่ง ราตรี กำจัดอวิชชาได้แล้ว วิช ชาก็เกิดขึ้น กำจัด ความมืด
ได้แล้ว ความสว่า งก็เกิด ขึ้น เหมือ นบุค คลผูใ ม่ป ระมาท มี
ความเพียร อุทิศกายและใจอยู่

คัมภีร์สร้างวัดจากพระ:โอษฐ์ ๑๕๑ สคานที่เหมาะแก่การบรรลุ&รรม

kalyanamitra.org
ข้อ สัง เกตจากพระสูตรนก็คือ
๑. พระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญภาวนารวดเดียว
ตั้งแต่หัวคาจนถึงรุ่งสว่างโดยไม่ลุกขึ้นไปที่ใดเลย
เป็นหลักฐานที่ยืนยันว่า สถานท่ีต รัส รู้ธ รรมนั้น มี
ความสำคัญ ไม่ย ่ิง หย่อ นไปกว่า การบรรลุธ รรม
๒. การที่พ ระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า ตรัส ถึง ลัก ษณะของ
สถานที่ท ี่เหมาะแก่ก ารบรรลุธ รรมไว้ในเสนาสน
สูตรนั้น เท่า กับ เป็น การยืน ยัน ว่า บ รรย าก าศ
ของวัด ที่เ ห ม าะแก่ก ารบรรลุธ รรม ต้อ งเป ็น
บรรยากาศเดีย วกับ โดนไม้ศ รีม หาโพ ธใึ นวัน
ตรัสรู้ของพระองค์
๓. บรรยากาศท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรมภายในวัดน้ัน
ต้องเป็นบรรยากาศทีส
่ งัด จากกามและไม่ช ัก ชวน
ให ้เ กิด อกุศ ลธรรมข้ึนในใจ จึง จะเป็น ปัจ จัย ส่ง
เสริม ให้เกิด การเข้า ถึง ธรรมได้โ ดยง่า ย เพราะ
ไม่ม ีส ่ิง ยั่ว เย้า จากภายนอกมากระด ุ้น ข้อ น้ีเอง
จึงเป็น ที่ม าของประเพณ ีก ารแบ่ง เขตหญิง ชาย
และก ารแ ต ่ง ช ุด ข าวม าป ฏ ิบ ัต ิธ รรม ท ี่ว ัด ซ่ึง
หลายๆวัด ไต้ล ีบ ปฏิบ ้ต ิม าตราบเท่า ทุก วัน น้ี

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากหระโอษฐ์ ๑๕๒ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
การเลือ กทำเลสร้า งวัด ในสมัย พุท ธกาล
จากเหตุผ ลดัง กล่า วมาในข้า งต้น ทำให้พ บหลัก ฐาน
ท่ีต รงกัน หลายแห่งในพระไตรปิฎ กว่า เมื่อ ถึง คราวสร้า งวัด
ไม่ว ่า จะเป็น วัด ในแว่น แคว้น ใดก็ต าม จะต้อ งเลือ กทำเลท่ี
เหมาะแก่การปฏิบ้ติธรรมเหมือนกันนั้นคือ

“อยู่ไม่ไกลนักไม่ใกล้นัก มีทางไปมาสะดวก
กลางวัน ไม่พลุกพล่าน กลางคืน มีเสีย งน้อ ย ไม่
อึกทึก
มีเ หลือ บยุง ลม แดด และสัต ว์เ ลื้อ ยคลาน
กระทบน้อย”
ดังปรากฎในเร่ืองราวหลายเหต ุการณ์ในพระไตรปิฎ ก
ดังนี้

๑. พระเจ้าพิมพิสาร ถวายอุทยานเวฬุวันให้เป็น
วัดแรกในพระพุทธศาสนา

พิมพิสารสมาคมกถา๖๕

คร้ัง น้ัน พระผู้ม ีพ ระภาค ได้เ สด็จ ไปยัง พระราช


นิเวศน์ข องพระเจ้า พิม พิส าร จอมทัพ มคธรัฐ ครั้น ถึงแล้ว จึง
ประหับนั่ง์บนอาสนะที่เขาจัดถวายพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ ขณะนั้น

๖๕ วิ. มหา. มจ. ๔/ ๗๑, มก. ๖/ ๑๑๗

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๕๓ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
พระเจ้าพิมพิสารจอมทัพมคธรัฐ ทรงนำของเคึยวของฉัน
อันประณีต ประเคนภิก ษุส งฆ์ม ีพ ระพุท ธเจ้า เป็น ประมุข
ด้วยพระองค์เอง กระท่ังพระผู้ม ีพ ระภาคเสว ยเสร็จ แล้ว
ทรงห้ามภัตตาหารแล้ว ละพระหัตถ์จากบาตรจึงประหับท่ัง ณ
ที่สมควร

ท้าวเธอทรงดำริว่า “พระผ้ม ู ีพ ระภาคคว รประหับ


ท่ีไหนหนอ ท่ีแห่งใดอย่ไ
ู ม่ไกลและไม่ใกล้จากหมู่บ้านนัก
คมนาคม สะดวก ผู้ประสงค์พึงเข้าเสาได้ กลางวันไม่
พลุกพล่าน กลางคืนสงัด เสียงไม่อึกทึก เว้นจากคนสัญจร
ไปมา เป็น ท่ีกระทำกรรมสับของหมู่มนุษ ย์ ควรแก่การ
หลีกเร้น”
จึงมีพระราชดำริว่า “ อุทยานเวฬุวัน ของเรานี้ ไม่
ไกลและไม่ใกล้ จากหมู่บ้านนัก คมนาคมสะดวก ผู้ประสงค์
พึงเข้าเสาได้กลางวันไม่พลุกพล่านกลางคืนสงัดเสียงไม่อึกทึก
เว้นจากคนสัญจรไปมา เป็นที่ กระทำกรรมลับของหมู่มนุษย์
ควรแก่การหลีกเร้น อย่ากระน้ันเลย เราพึงถวายอุทยาน
เวฬุวันแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข”
แล้วทรงจับพระสุวรรณภิงคาร หลั่งน้ํานัอมถวายแด่
พระผู้มีพระภาคด้วยพระราชดำรัสว่า “หม่อมฉันขอถวาย
อุท ยานเวฬุว ัน นั้น แด่ภ ิก ษุส งฆ์ม ีพ ระพุท ธเจ้า เป็น ประมุข
■พระพุทธเจ้าข้า”

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๕๔ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
พระผู้มีพระภาคทรงรับอารามแล้วทรงชีแ จงให้พระเจ้า
พิม พิส ารจอมทัพ มคธรัฐเห็น ชัด ชวน ให ้อ ยากรับ ไปปฏิบ ัติ
เร้า ใจให้อ าจหาญแกล้ว กล้า ปลอบชะโลม ใจให้สดชื่นร่าเริง
ด้วยธรรมีกถา แล้ว เสด็จลุก ข้ึนจากท่ีป ระหับ เสด็จกลับ ต่อมา
พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงธรรมีกถาเพราะเร่ืองนั้นเป็นต้นเหตุ
รับ ส่ัง กับ ภิก ษุท ้ัง หลายว่า “ ภิก ษุท ้ัง หลาย เราอนุญ าตอาราม”

๖. อนาถบิณ ฑิก เศรษฐีส ร้า งวัด พระเชตวัน ถวาย


เป็น วัด แห่ง แรกในแคว้น โกศล

เสนาสนขัน ธกะ ๖๖

สมัยนั้น ท่านอนาถบิณ ฑิก คหบดีเป็น คนมีม ิต รมาก มี


สหายมาก ประชาชนเชื่อ ถือ คำพูด ครั้น ท่า นอนาถบิณ ฑิก
คหบดีท ำธุร ะในกรุง ราชคฤห์เสร็จ แล้ว ก็เดิน ทางกลับ ไปกรุง
สาวัตถี ระหว่างทางก็ได้ชวนคนทั้งหลายว่า ‘ท่า น ทั้ง ห ลายจง
ช ่ว ย ก ัน ส ร ้า ง อ า ร า ม ส ร ้า งว ิห าร เต ร ีย ม ท า น เวลาน ี้
พระพุท ธเจ้า เสด็จ อุบ ัต ิข ึ้น ในโลกแล้ว และข้า พเจ้า ได้ท ูล
นิมนต์พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล้วพระองค์จะเสด็จมาที่นี้’
คร้ัง น้ัน ค น ท ้ัง ห ลายท ี่ท ่า น อ น าถ บ ิณ ฑ ิก ค ห บ ด ี
ชักชวนไว้ได้พากันสร้างอาราม สร้างวิหารเตรียมทาน

ว. จู. มจ. ๗/๑๑๗, มก. ๙/๑๒๙

คัม ภีร์สร้างวัดจากหระโอษฐ์ ๑๕๕ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุ&รรม

kalyanamitra.org
ครั้น ท่า นอนาถบิณ ฑิก คหบดีถ ึง กรุง สาวัต ลี เที่ย ว
ตรวจดูร อบๆ กรุง สาวัต ลีค ิด ว่า ‘พ ระผู้ม ีพ ระภาคควร
ประทับที่ไหนดีซ่ึงไม่ไกลหมู่บ้านเกินไป่ไม่ใกล้หมู่บ้านเกิน
ไป การคมนาคมสะดวกผูอ
้ ยากจะเข้าเสาไปมาได้ง่าย กลาง
วัน คนไม่พ ลุก พล่าน กลางคีน มีเสียงรบกวนน้อ ย ไม่ม ี
เสียงอึกทึก ไร้ผู้คน เป็นสถานท่ีพวกมนุษย์จ ะ ทำ กิจ ทีล
่ ับได้
เป็นสถานที่เหมาะแก่การหลีกเร้น’

ท่านอนาถบิณ ฑิก คหบดี ได้เห็นพระอุทยานพระเจ้าเช


ตราชกุม าร เป็น สถานที่ไ ม่ไ กลจากหมู่บ ้า นเกิน ไป ไม่ใ กล้
หมู่บ ้า นเกิน ไป การคมนาคมส ะดวก ผู้อ ยากจะเข้า เสาไป
มาได้ง่าย กลางวัน ไพลุก พล่า น กลางคืน มีเสีย งรบกวนน้อ ย
ไม่ม ีเสียงอึก ทึก ไร้ผู้คน เป็น สถานที่พ วกมนุษ ย์จ ะทำกิจ ลับ ได้
เป็น สถานท่ีเหมาะแก่ก ารหลีก เร้น ครั้น แล้ว จึง เข้า เสาพระ
เชตราชกุม ารลึง ท่ีป ระทับ ครั้น ถึงแล้ว ได้ก ราบทูลเจ้าเชตรา
ชกุมารดังน้ีว่า

‘ พ ระลูก เจ้า ขอพ ระองค์ท รงโปรดป ระทานพ ระ


อุทยานแก่กระหม่อมเพ่ือจะชัดสร้างพระอารามเถิดพระเจ้าข้า’
เจ้า เชตราชกุม ารรับ สั่งว่า ‘คหบดี ถึง ใช้ก หาปณะมา
เรียงให็ริมจดกันเราก็ให้อุทยานไม่ได้’
ท่า นอนาถบิณ ฑิก คหบดี ทูล ถามว่า ‘พระลูก เจ้า
พระองค์ขายอุทยานแล้วหรือพระเจ้าช้า’

คัม ภีร ์ส รางวัด จากพระโอษฐ์ ๑๕๖ สถานที่เหมาะแก่กาวบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
พระเชตราชกุมารรีบส่ังว่าเรายังไม่ได้ขายอุทยาน

เชตราชกุม าร กับ อนาถบิณ ฑิก คหบดี ถามพวก


มหาอำมาตย์ผ ู้พ ิพ ากษาว่า
“ อุทยานเป็นอันขายแล้วหรือยังไม่ได้ขาย”
พวกมหาอำมาตย์ต อบว่า ‘พระลูกเจ้า เพราะพระองค์
ดีราคาแล้ว อุทยานจึงเป็น อัน ขายแล้ว’
จากนั้น ท่า นอนาถบิณ ฑิก คหบดี ส่ังให้คนงานนำ
เกวีย นบรรทุก เงิน ออกมา เรีย งลาดให้ร ิม จดกัน ในเชตะวัน
เงิน ท่ีข นออกมาคร้ัง เดีย วยัง ไม่เ พีย งพอแก่พ ้ืน ท่ีอ ีก หน่อ ย
หน่ึงใกล้ซุ้มประตูท่านอนาถบิณ ฑิกคหบดีจึงสั่งพวกคนงานว่า
พวกท่านจงไปขนเงินมา เราจะเรียงให้เต็มในที่น้ี
ขณะนั้น พระเชตราชกุม ารได้ท รงมีพ ระดำริด ัง นี้ว ่า
‘การกระทำน้ีไ ม่ใ ช่ข องตาด้อ ย เพราะคหบดีน ี้บ ริจ าคเงิน
มากมายถึง เพีย งนี้’ ลำดับ นั้น เจ้า เชตราชกุม าร รับ สั่ง กับ
ท่า นอนาถบิณ ฑิก คหบดีว ่า “ พอเถอะ ท่า นคหบดี ที่ว ่า ง
ตรงน้ัน ท่า นอย่า ลาดเงิน เลย ให้โ อกาสแก่เ ราบ้า ง ส่ว นนี้

ข้าพเจ้าจะขอร่วมถวายด้วย”
คร้ังนั้น ท่า นอนาถบิณ ฑิก คหบดี ดำริว ่า ‘เจ้า เชตรา
ชกุม ารพระองค์น ้ี ทรงเรือ งพระนาม ประชาชนรู้จ ัก ความ
เลื่อ มใสในพระธรรมวิน ัย นี้ ของผู้ท ี่ป ระชาชนรู้จ ัก เช่น นี้ มี
ประโยชน์มาก’ จึงได้ถวายท่ีว่างน้ันแก่เจ้าเชตราชกุมารลำดับนั้น
เจ้าเชตราชกุมารรับสั่งให้สร้างซุ้ม ประตูที่ต รงนั้น ”

ดัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๕๗ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ต่อ มา ท่า นอนาถบิณ ฑิก คหบดี ได้ส ร้า งวิห ารไว้
หลายหลัง ในเชตวัน สร้างบริ
หอฉนโ(ร้า งโรงไฟ ส ร้า งกเวณ สร้างซุ้มประตู สร้างศาลา
ป ป ิย ก ุฎ ีส ร ้า งว ัจ จ ก ุฎ ี สร้า ง

สถานท่ีจงกรม สร้างศาลาจงกรม ขุด ปอนํ้า สร้างศาลาบ่อ น้ํา


สร้างเรือนไฟสร้างศาลาเรือนไฟขุดสร้างโบกขรณีสร้างมณฑป

๓. หมอชีว กถวายสวนมะ ม่ว งให้'เป็น วัด อัม พวัน

อรรถกถาสามัญ ญ ผลสูต ร ๖๗

หมอชีวกน้ี สมัยหนึ่ง ทำให้พระวรกายของพ ระผู้มีพระ


ภาคเจ้า ซึ่งหมักหมมด้วยโรค ให้ห ายเป็น ปรกติ แล้ว ถวาย
ผ้าคู่หน่ึง ซ่ึงทอจากแคว้นสีพี
พระพุท ธองค์ท รงอนุโ มทนา เวลาอน โุ มทน าการ
ถวายผ้า จบลง หมอซีวกตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล แล้วจึงคิดว่า
เราควรจะไปเสาดูแล พระพุทธเจ้า วันละ ๒ -๓ ครั้ง.
ก็เขาคิชฌกูฏ น ี้ และ พระวิหารเวพุวัน อยู่ไ กลเหลือ เกิน . แด่
สวนอัมพวันของเราใกล้ก ว่า อย่ากระนั้นเลย เราจะสรางวิหาร
ถวายแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าในสวนอัมพวันของเรานี้.
หมอชีวกนั้นจึงสร้างที่อยู่ กลางดืน ท่ีอ ยู่ก ลางวัน ท่ีพ ัก
กุฎี และมณ ฑป เป็นด้น แล้วให้สร้างพระคัน ธกุฎ ีท ส
่ี มควรแด่
พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ใน สวนอัมพวันนั้น ให้ส ร้างกำแพง มี
สีเหมือนผ้าแดง สูง ๑๘ ศอก ล้อมสวนอัมพวัน เล้ีย งดูภ ิก ษุส งฆ์
๖๗
ท. ส. มก.๑๑/๓๓๘

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๕๘ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
มีพ ระพุท ธเจ้า เป็น ประธาน ด้ว ยจีว รและภัต ตาหาร ได้ห ล่ัง
น้ําทัก ษิโณทกมอบถวายสวนอัม พวัน เป็น พระวิห ารแล้ว.

สถานท่ีไม่เหมาะแก่การปรารภความเพียร
นอกจากการศึก ษาเรื่อ งการเลือ กทำเลที่เหมาะแก่ก าร
บรรลุธ รรมแล้ว ก็ค วรศึก ษ าถึง ทำเลที่ไ ม ่เ หมาะแก่ก าร
บำเพ็ญ ภาวนาด้ว ย เพราะประโยชน์ท่ีได้รับ ก็ดือ
ประการแรกเป็นการศึกษาว่าในอดีตที่ผ่านมามีปัญหา
อะไรเกิด ข้ึน บ้า ง จึง เป็น เหตุใ ห้ว ัด แปรสภาพไปสู่ค วามไม่

เหมาะแก่การบรรลุธรรม
ป ระการท่ีส องเป็นการหาแนวทางฟิกฝนอบรมสมาชิก
ของวัดให้ช่วยกันดูแลวัดไม่ให้ตกอยู่ในสภาพดังกล่าว

พระอรรถกถาจารย็ได้กล่าวถึงสถานท่ีไม่เหมาะแก่การ
บ้าเพ็ญ ภาวนาไว้ด ังน้ี

พรรณ นาทวัต ดิง สาการ ๖๙

เสนาสนะที่ไม่ควรอยู่ ๑๘ อย่าง ดือ

๑. อาวาสใหญ่
(ถ้า สงฆ์ท ้ัง ปวงเก่ีย งเล่ีย งกัน มิไ ด้ก ระทำวัต รปฏิบ ้ต
กวาดพ ระเจดีย ์ ตั้ง นํ้า ฉัน นํ้า ใช้ หากทำกว่า จะเสร็จ ก็จ ะ

๖๘ ชุ. ชุ. มก. ๓๙/๕๑

ลัม ภึร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๕๙ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
บิณ ฑบาตไม่ท ัน ลำบากด้ว ย บิณ ฑบาต วิห ารใหญ่ม ัก มี
สงฆ์อยู่มากเสียงมัก อื้ออึง ทำกรรมฐานไม่สบาย จิต พึง ซ่าน)

๖. อาวาสใหม่
(อาวาสใหม่ ถ้าไปอยู่ต้องกระทำการ (ปริบปรุงส่ิงต่าง ๆ
ให้เ ข้า ท่ีเ ข้า ทาง) หากน่ิง เสีย ไม่ก ระทำจะถูก ตำหนิไ ด้ แต่
ว่า ถ้า สงฆ์ใ นท่ีอ าวาสน้ัน ให์โ อกาสว่า ท่า นจงกระทำสมณ

ธรรมตามสบายเถิด ก็พ ึงอยู่)


๓. อาวาสเก่า
(ห้า มมิใ ห้อ ยู่ (เพราะ) เป็น เหตุท ี่จ ะต้อ งกระทำการ
ปฏิส ัง ขรณ์ ซ่อมแปลง กุฏิ วิห าร เสนาสนะ ครั้นกระทำการ
ก็จะเสื่อมเสียจากพระกรรมฐาน)

๔. อาวาสใกล้ทาง
(เพราะมักจะมีพระอาคันตุกะมาถ้ามาในเวลาวิกาลและ
ขัด สนด้า นเสนาสนะ ทำให้ต ้อ งสละเสนาสนะขอ งตนให้
ภิก ษุอ าคัน ตุก ะ แล้วไปอยู่ ใต้ร ่ม ไม่ห รือ หลัง แผ่น ศิล าก็จ ะ
ไม่ส บาย จะเป็น กัง วลด้ว ยอาคัน ตุก ะ จะไม่ม ีเวลาว่า งที่จ ะ
เจริญกรรมฐาน) (จะเป็นกังวลในการต้อนรับแขก)
๕. อาวาสใกล้ตระพัง(สระ)หิน
(ห้ามมิให้อ ยู่น ้ัน เพราะเป็น ที่ป ระชุม แห่งชนทั้งหลาย
อันปรารถนานั้า เสียงคนมาดักนํ้าจักอื้ออึง ถ้ามีภิกษุปรารถนา
จะย้อ มผ้า ก็จ ะหาลีน ้ํา ย้อ ม หายืม ภาชนะย้อ ม ก็จ ะต้อ งคอย
บอกว่าอยู่ที่นั้นที่นิ่ก็จะป่วยการที่จะจำเริญพระกรรมฐาน)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๖๐ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๖. อาวาสมีใบไม้(ผัก)
(ห้า มมิใ ห้อ ยู่น ้ัน อาศัย ว่า สตรีท ่ีเก็บ ผัก น้ัน มาเก็บ ผัก
แ ล้ว จะขับ ร้อ งเล่น เสีย ง จะเย็น เข้า ไป จับ ดวงใจจะเป ็น
อันตรายแก่พระกรรมฐาน)
๗. อาวาสมีดอกไม้
(ห้ามมิให้อ ยู่ เพราะเหตุว่าดอกไม้เป็น ที่ช อบของสตรี
สตรีป รารถนาดอกไม้ มาเก็บ ดอกไม้แ ล้ว จะขับ ร้อ งได้ย ิน
เลีย งก ็จ ะป ระห วัด กำห น ัด ใน เสีย งจะเป ็น อัน ตรายแ ก่
พระกรรมฐาน)
๘. อาวาสมีผลไม้
(ห้ามมิให้อยู่เพราะผลไม้เมื่อออกผล คนทั้งปวงก็จะมา
ขอเม่ือ ไม่ใ ห้ก ็จ ะโกรธ ห้า มเขาเขาก็จ ะด่า ว่า ตามอัธ ยาศัย
กุล บุต รผู้จ ะเจริญ พระกรรมฐาน อย่า พึง อยู่ใ นอาวาสอัน กอบ
ด้วยผลไม้เห็นปานฉะน้ี)
๙. อาวาสที่คนปรารถนา
(ห้ามมิใหัอ ยู่ในวัด ที่ม ีค นมาไหว้ส่ิงศัก ดิสิท ธ้ีเพราะคน
ท้ัง ปวงจะมาสรรเสริญ ว่า เป็น พระอรหัน ต์ เกลื่อ นกล่น กัน
มาไหว้บ ูช า เมื่อ คนมาไหว้บ ูช ามากก็จ ะไม่ส บายในที่เจริญ

พระกรรมฐาน)
๑๐. อาวาสใกล้พระนคร
(ห้า มมิใ หัอ ยู่ท ี่น ั้น เพ ราะมีห ญ ิง ชายวนเวีย นไปมา
เม่ือเห็นรูปสตรีเนือง ๆ ก็จะกระสนปนทุกข์ด้วยกามราคะ)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๖๑ สถานที่เหมาะแก่กาวบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑๑. อาวาสใกล้คนเข้าไปตัดโม้
(ห้ามมิให้อยู่เพราะมีคนต้องการไม้เอาไปปลูกเรือนบ้าง
จะไปดัด ไม้ใ นอาวาส ไม่ใ ห้ก ็จ ะโกรธ ส่ว นคนท่ีป รารถนา
ฟินก็จะไปเก็บฟินคนนั้นคนนี๋ไปๆ มาๆวุ่น วายก็จ ะไม่ส บาย)
๑๖. อาวาสที่ใกล้เร่นา
(ห้า มมิใหัอ ยู่เพราะว่า อาศัย ว่าชาวนาจะเข้ามาทำลาน
นวดข้า วท่า มกลางวิห าร อาวาสจะอื้อ อึง บางทีโ ยมเลี้ย งโค
กระบือ ไว้ ปล่อ ยออกไปกิน ข้า วในท่ีน าชาวบ้า นเขาๆ กับ
โยมจะขัด เคือ งกัน มาด่า ว่า กัน ในวัด คฤหัส ถ์แ ละภิก ษุจ ะไม่
สบาย)
๑๓. อาวาสที่มีอารมณ์เป็นข้าดึก
(ห้า มมิใ ห้ภ ิก ษุใ นอาวาสทุ่ม เถีย งกัน คอยเอาผิด เป็น
ข้า ศึก กัน พลอยจะขุ่น ข้อ งด้ว ยวิว าท)
๑๔. อาวาสใกล้ท่าเรือ
(ห้ามมิใหัอาศัยว่าคนไปด้วยเรือแพมีเสียงอื้ออึง)

๑๕. อาวาสใกล้ชายแดน
(ห้ามมิให้อยู่เพราะอาจมีพระยาข้างโน้นเห็นว่าไปอยู่ข้าง
โน้น ก็ให้ยกทัพ ไปตีห รือฝ่ายโน้น เห็น ว่าอยู่ฝ่ายน้ีก ็ยกทัพ มาตี
ก็จ ะวุ่น วายด้ว ยการทัพ หรือ การศึก หรือ การที่เราข้า มแดน
ไปฝ่ายโน้น เขาคิด ว่าเป็น ไล้ศ ึก จะเบีย ดเบีย นให้ใต้ร ับ ความ
ลำบาก)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๖๒ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑๖. อาวาสมีสีมา
(ห้ามมิใหัอาศัยอยู่ท่ีน้ันเพราะคนในปัจจันตชนบทมิได้
เล่ือ มใสในพระรัต นตรัยจะลำบากด้วยบิณ ฑบาต)

๑๗. อาวาสเป็นอสัปปายะ
๑๘. อาวาสที่ไม่ได้กัลยาณมิตร
(บุค คลได้ช ่ือ ว่า เป็น กัลยาณมิตร คือ บุค คลที่เ ป็น
อาจารย์เ ป็น อุป ัช ฌาย์ บุค คลมีพ รรษาอายุค ุณ วุฒ ิเสมอด้ว ย
อาจารย์แ ละอุป ัช ฌาย์น ั้น ก็ได้ข ึ้น ชื่อ ว่า กัล ยาณมิต ร ถ้า มิไ ด้
มีในวิหารใด เจ้าภิก ษุผู้จะเรียนพระกรรมฐานนั้น อย่า พึง อยู่
ในวิห ารน้ัน เจ้า ภิก ษุผ ู้จ ะเรีย นพระกรรมฐานน้ัน พึง ละเสีย
ซ่ึงวิหารอันมิได้ควร ๑๘ ประการ ดังพรรณนามาฉะนี้)
บัณฑิตรู้จักสถานท่ี ๑๘ ประเภทนี้ดังนี้แล้ว พึงเว้น
เสียให้ห่างไกลเหมือนคนเดินทาง เว้นทางมีภัยเฉพาะ
หน้าฉะนั้น แล้วเข้าไปยังเสนาสนะท่ีป ระกอบด้วยองค์ ๕ ซ่ึง
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้ว่า
ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย เสนาสนะประกอบด้ว ยองค์ ๕
เป็นอย่างไร
ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย เสนาสนะในพระธรรมวิน ัย นี้
เป็นเสนาสนะที่ไม่ไกลนักที่ไม่ใกล้นักพร่ังพร้อมด้วยคมนาคม
กลางวัน ไม่พ ลุก พล่า น กลางคืน เงีย บเสีย ง ไม่อ ึก กะทึก
ไม่มีเหลือบ ยุง ลม แดด รบกวน

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฺฐ์ (5) ๖ สา สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เมื่อภิกษุอยู่ในเสนาสนะนั้น จีวร บิณ ฑบาต เสนาสนะ
ลิล านปัจ จัย เภสัช บริข ารแห่ง ผู้เ จ็บ ไข้ เกิด ข้ึน ไม่ย ากใน
เสนาสนะน้ันแล

มีภิกษุผู้เถระเป็นพหูสูต ผู้จบอาคม ทรงธรรม ทรงวินัย


ทรงมาติกาอยู่
ภิก ษุเข้า ไปหาภิก ษุเถระเหล่า นั้น ตามสมควรแก่ก าล
ไล่เลีย งว่า ท่านขอริบ ซัอนี้เป็นอย่างไร ชัอนี้ความว่าอย่างไร
ท่า นเหล่า น้ัน ย่อ มจะเปิด เผยข้อ นี้ม ีค วามว่า อย่า งไร
ท่า นเหล่า น้ัน ย่อ มจะเปิด เผยชัอ ท่ืย ัง ไม่เปิด เผยแก่ภ ิก ษุน ้ัน
ทำซัอ ที่ย ากให้ง ่า ยเข้า บรรเทาความสงดัย ในธรรมทั้ง หลาย
อัน เป็นที่ต้ังความสงสัยต่าง ๆ เสียได้
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย เสนาสนะประกอบด้ว ยองค์ ๕
อย่างน้ีแล

ความสงัด เป็น อย่า งไร

“สงัด” หมายถึง สงบเงียบ เพราะปราศจากเสียง


รบกวน
“บรรยากาศ” หมายถึง ความรู้ส ีก ที่ม ีต ่อ สิง รอบๆ

ตัว
พระสัม มาดัม พุท ธเจ้าทรงกำหนดบรรยากาศสงัด ของ
สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรมไว้ว่า

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๖ ๔ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุ&รรม

kalyanamitra.org
“กลางวัน ไม่พ ลุกพล่าน กลางคืน มีเลีย งน้อ ยไม่
อึกทึก”
สาเหตุท ่ีก ำหนดเช่น น้ี ก็เพราะการบำเพ็ญ ภาวนาน้ัน
อาศ ัย ความ สงัด ภ ายน อกเป ็น ป ัจ จัย ส่ง เสริม ให ้เ กิด ความ
ความสงบภายใน ถ้า หากมีม ลพิษ ทางเลีย งรบกวนแล้ว โดย
เฉพาะเลีย งท่ีท ำให้เกิด กามวิต กและอกุศ ลวิต กทั้ง หลายแล้ว
ใจย่อมเกิดความสงบระงับเป็นสมาธิได้ยาก
ดังท่ีปรากฎในโพธิราชกุมารสูตรว่า
“จิต ที่ส งัด จากกามและอกุศ ลธรรมทั้ง หลายแล้ว
ย่อมบรรลุปฐมฌาน”อันเป็นหลักฐานยืนยันว่าสภาพแวดล้อม
ภายนอกท่ีเ อ้ือ เฟิอ ต่อ การเข้า ถึง ธรรมนั้น จะต้อ งมีค วาม
สงัด จากกามและปราศจากสิ่ง ที่ก ระตุ้น เย้า ยวนให้เกิด อกุศ ล
ธรรมทั้งหลาย
เพราะฉะน้ัน เม่ือ ศึก ษาเร่ือ งสถานที่เ หมาะแก่ก าร
บรรลุธรรมไปแล้ว ก็ค วรศึก ษาความสำคัญ ของบรรยากาศ
อัน สงบวิเวกต่อ ไปอีก เพื่อ จะได้น ำมาดูแ ลรัก ษาบรรยากาศ
ในวัดให้เหมาะแก่การบรรลุธรรมต่อไป

ในพระไตรปิฎ กมีห ลายพระสูต รที่แ สดงความสำคัญ


ของความสงัดไว้อย่างชัดเจนดังน้ี

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๖๕ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑. ความสงัด ท่ีป รากฏในคณ กโมดดัล ลานสูต ร ๖’'

“ พ ราห ม ณ ์ ใน ก าลใด ภ ิก ษ ุเ ป ็น ผ ู้ป ระก อบ ด ้ว ย


สติสัมปชัญญะในกาลน้ันตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า

‘มาเถิด ภิก ษุ เธอจงพักอยู่ ณ เสนาสนะอัน เงีย บสงัด คือ ป่า


โคนไม้ ภูเขา ชอกเขา ถ้ํา ป่าช้า ป่า ชัฏ ที่แ จ้ง ลอมฟาง
ภิกษุน ั้น พักอยู่ ณ เสนาสนะอันเงียบสงัด คือ ป้า โคนไม้ภ ูเขา
ซอกเขา ถ้ํา ป่าช้า ป่าชัฏ ท่ีแจ้ง ลอมฟาง
ภิก ษุน ้ัน กลับ จากบิณ ฑบาต ภายหลัง ฉัน ภัต ตาหาร
เสร็จแล้ว นั่ง ขัด สมาธิต ั้ง กายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า ภิก ษุ
น้ัน ละอภิช ฌาในโลก มีใ จปราศจากอภิช ฌา(ความเพ่ง เล็ง
อยากได้ส ิ่งของของเขา) ชำระจิต ให้บ ริส ุท ธิ้จ ากอภิช ฌา ละ
ความมุ่งรำยคือพยาบาท มีจิตไม่พยาบาท มุ่งประโยชน์เกื้อถูล
ต่อ สรรพสัต ว์อ ยู่ ชำระจิต ให้บ ริส ุท ธี้จ ากความมุ่ง ร้า ยคือ
พยาบาท ละลึน มิท ธะ (ความหดหู่แ ละเซื่อ งซึม ) ปราศจาก
ถินมิทธะ กำหนดแสงสว่า ง มิสติล้มป่ชัญญะอยู่
ชำระจิต ให้บ ริส ุท ธี้จ ากถีน มิท ธะ ละอุท ธัจ จกุก กุจ จะ
(ความฟังซ่านและรำคาญใจ)เป็นผู้ไม่ฟังซ่านมีจิตสงบภายใน
ชำระจิต ให้บ ริส ุท ธี้จ ากอุท ธัจ จกุก กุจ จะ ละวิจ ิก ิจ ฉา (ความ
ลัง เลสงสัย ) ช้า มพัน วิจ ิก ิจ ฉาได้แ ล้ว ไม่ม ีค วามสงสัย ใน
กุศลธรรมท้ังหลายอยู่จึงชำระจิตให้บริสุทธึ๋จากวิจิกิจฉาได้’

ม. อุ. มจ. ๑๔/ ๘๐, มก. ๒ ๒ / ๑๔๖

ดัมภึรสร้างวัดจากหระ:โอษฐ์ ๑๖๖ สถานที่เหมาะแก่การบรรลธรรม

kalyanamitra.org
ไอ. เสีย งเป็น ปฏิป ัก ษ์ต ่อ การประพฤติธ รรม
มีคำอธิบายเร่ืองน้ี!ว่ในกัณ ฎกสูตรดังน้ี

กัณ ฎกสูต ร"'0

ว่า ด้ว ยธรรมอัน เป็น ปฏิป ัก ษ์๑๐ ประการ

สมัยหนึ่ง พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้าประหับ อยู่ ณ กูฎ าคาวิ


ศาลาป่า มหาวัน ใกล้พ ระนครเวสาลี พร้อ มด้ว ยพระเถระผู้
เป็น สาวกซ่ึง มีช ่ือ เสีย งหลายรูป ดือ ท่า นพระปาละ ท่านพระ
อุป ปาละ ท่า นพระกัก กฏะ ท่านพระกฬิม ภะ ท่านพระนิก ฎะ
ท่า นพระกฏิส สหะ และพร้อ มด้ว ยพระเถระผู้เป็น สาวกซึ่ง
มีช ่ือ เสีย งเหล่า อื่น ก็ส มัย นั้น แล พวกเจ้า สิจ ฉวีม ีช ื่อ เสีย ง
เป็นอันมาก ขึ้น ยานชั้น ดีมเี สีย งอื้อ อึง ต่อ กัน เข้าไปยังป่ามหา
วัน เพื่อเสาพระผู้มีพระภาคเจ้า
คร้ังนั้นแล ท่า นผู้ม ีอ ายุเหล่า น้ัน ได้ม ีค วามปริว ิต กว่า
เจ้าสิจฉวีผ ู้ม ีช ่ือ เลียงเป็น จำนวนมากเหล ่านี้แ ล ขึ้น ยานชั้น ดีม ี
เสีย งอื้อ อึง ต่อกันเข้ามายังป่ามหาวันเพ่ือเสาพระผู้มีพ ระภาค

เจ้า
ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสฌานว่า ม เี สีย งเป็น ปฏิป ัก ษ์
ไฉนหนอ เราท้ังหลายพึงเข้าไปยังโคสิง คสาลทายวัน ณที่น ั้น
เราทั้ง หลายพึง เป็น ผู้ม ีเสีย งน้อ ย ไม่เกลื่อ นกล่น อยู่ให้ผ าสุก

๗๐ องฺ. ทสก. มจ. ๒ ๔ / ๑๕๘, มก. ๓ ๘/๒๓ 0

ดัม ภืร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๖๗ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
คร้ังนั้นแล ท่านผู้ม ีอ ายุเหล่าน้ัน เข้าไปยังโคสิงคสาลทายวัน ณ
ท่ีน ้ัน ท่า นผู้ม ีอ ายุเหล่า น้ัน เป็น ผู้ม เี สีย งน้อ ย ไม่เกลื่อ นกล่น

อยู่เป็นผาสุก
คร้ังนั้นแลพระผู้มืพระภาคเจ้าตรัสถามภิกษุท้ังหลายว่า
ตูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ปาลภิก ษุไ ปไหน อุป ปาลภิก ษุ
กัก กฎภิก ษุ กพิม ภภิก ษุ นิก ฎภิก ษุ กฏิส สหภิก ษุไ ปไหน
พระเถระผู้เป็นสาวกเหล่านั้นไปไหน
ภิก ษุท ั้ง หลายกราบทูล ว่า ข้า แต่พ ระองค์ผ ู้เจริญ ขอ
ประทานพระวโรกาส
ท่า นผู้ม ีอ ายุเหล่า น้ัน คิด ว่า เจ้า ลิจ ฉวีผ ู้ม ีช ่ือ เสีย งเป็น
จำนวนมากเหล่านี้แลข้ึนยานช้ันดีมเี สีย งอื้อ อึง ต่อ กัน เข้ามายัง
ป่า มหาวัน เพื่อ เสา พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ก็พ ระผู้ม ีพ ระภาค
เจ้า ตรัส ฌานว่า มีเสีย งเป็น ฏิป ัก ษ์ ไฉนหนอ เราทั้ง หลาย
พึงเข้าไปยังโคสิง คสาลทายวัน ในที่นั้นพวกเราพึงเป็นผู้มีเสียง
น้อย ไม่เกล่ือ นกล่น อยู่เป็นผาสุก
ข้า แด่พ ระองค์ผ ู้เจริญ ท่า นผู้ม ีอ ายุเ หล่า น้ัน เข้า ไป
ยัง โคสิง คสาลทายวัน ในที่น ้ัน ท่านเหล่านั้น เป็น ผู้ม ีเสียงน้อย
ไม่เกล่ือนกล่น อยู่เป็นผาสุก พระเจ้าข้า

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
ตูก่อนภิกษุทั้งหลายดีละดีละจริงดังท่ีมหาสาวกเหล่าน้ัน
เมื่อพยากรณ์โดยชอบ พึงพยากรณ์ดังนั้น

คัม ภีร์ส ร้างวัด จากพระ;โอษฐ์ ซี))□๘ สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย เรากล่า วฌ า น ว ่า ม ีเ ส ีย ง เป ็น
ปฏิป ัก ษ์

ดก ่อ น ภ ิก ษ ุท ้ัง ห ลาย ป ฏ ิป ัก ษ ์ ๑ 0 ป ร ะก าร น ี้ ๑ 0
ประการเป็น โนน คอ
๑. ความเป็น ผู้ย ิน ดีใ นการคลุก คลีด ้ว ยหมู่ค ณะเป็น
ปฏิปักษ์ตอความเป็นผู้ยินดีในท่ีสงัด

๒. การป ระกอบ สุก น ิม ิต เป ็น ป ฏ ิป ัก ษ ์ต ่อ ผ ู้


ประกอบอสุภนิมิต
๓. การดูม หรสพท่ีเ ป็น ข้า ศึก เป ็น ป ฏ ิป ัก ษ ์ต ่อ ผู้
คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย

๔. การติดต่อกับมาตุคามเป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์
๕. เสียงเป็น ปฏิป ัก ษ์ต ่อ ปฐมฌาน
๖. วิตกวิจารเป็น ปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน
๗. ปีติเป็น ปฏิปัก ษ์ต่อตติยฌาน
๘. ลมอัสสาสปัส สาสะเป็น ปฏิปัก ษ์ต ่อ จตุต ถฌาน
๙. สัญ ญาและเวทนาเป ็น ปฏิป ัก ษ์ต ่อ สัญ ญาเวทยิต นิ
โรธสมาบ้ติ
๑๐. ราคะเป็น ปฏิป ัก ษ์โ ทสะเป็น ปฏิป ัก ษ์

ด ูก ่อ น ภ ิก ษ ุท ั้ง ห ลาย เธอ ท ั้ง ห ลายจงเป ็น ผ ู้ใ ม ่ม ี


ปฏิป ัก ษ์อ ยู่เถิด ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย พระอรหัน ต์ท ั้ง หลาย
เป็น ผู้ไ ม่ม ีป ฏิป ัก ษ์ พระอรหัน ต์ ทั้ง หลายไม่ม ีป ฏิป ัก ษ์ เป็น

คัมภีร์สร้างกัดจากพระโอษฐ์ ๑๖๙ สคานที่เหมาะแก่การบรรลุ&รรม

kalyanamitra.org
ผู้หมดปฏิปักษ์.”
ในสมัย ก่อ นภิก ษุส ามารถเลือ กทำเลปฏิบ ดธรรมตาม
สถานท่ี ท่ีสงบเงียบในป่า หรือสถานท่ีต่างๆ ได้แ ด่ในปัจ จุบ ัน
วัด ต่า งๆ อยู่ใ กล้ ชุม ชน บ้า นเรือ น ดัง น้ัน ควรหาทาง
ป้องกันไม่ให้เกิดเสียงรบกวนตั้งแต่เนิ่นๆ

ลักษณะของสภาพแวดล้อมท่ีดีเป็นอย่างไร
สภาพ แวดล้อ มท่ีด ี หมายถึง ม ีค วาม สะอาด เป็น
ระเบีย บ และปลอดภัย
พระสัมมาล้มพุทธเจ้าจึงทรงกำหนดลักษณะของสภาพ
แวดล้อมที่ดีไว้ว่า “ ม เี หลือ บ ยุง และสัต ว์เ ลื้อ ยคลานกระทบ
น้อ ย” ซึ่งสัตว์ร้ายเหล่าน้ีนอกจากจะรบกวนให้เกิดความรำคาญ
แล้ว ยัง อาจเป็น อัน ตรายต่อ ชีว ิต รวมทั้ง ยัง เป็น พาหะของ
โรค•ร้ายแรงบางชนิดอีกด้วย
ดัง น้ัน เพ่ือ ให้เห็น ภาพของสภาพแวดล ้อ มที่ด ีอ ย่า ง
ชัด เจน จึง ขอนำภาพ ของสภาพ แวดล้อ มที่ไ ม่ด ีใ นปฐม
อนาคตสูตรมาเทียบเคียงให้เห็นดังนี้

ปฐมอ่น าคตภยสูต ร ๗®

ว่าด้วยภัยในอนาคต ๕ ประการ

๗* องฺ. ปฌ.จก. มจ. ๒ ๒ / ๑๓๘, มก. ๓๖/ ๑๘๗

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๗๐ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ั้ง หลาย ภิก ษุผ ู้อ ยู่ป ่า เมื่อ พิจ ารณาเห็น ภัย ใน
อนาคต ๕ ประการน้ี ไม่ค วรเป็น ผู้ป ระมาท มีค วามเพีย ร
อุท ิศ กายและใจอยู่ เพ่ือถึงธรรมท่ียังไม่ถึง เพื่อบรรลุธรรมท่ี
ยังไม่บรรลุพื่อทำให้แจ้งธรรมที่ยังไม่ได้ทำให้แจ้งภัยในอนาคต
๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีอ ยู่ป ่า พิจ ารณาเห็น ดัง น้ีว ่า
“ บัดนี้เราอยู่ในป่าผู้เดียวงูพ ึงกัดเราก็ได้แ มงป้อ ง
พึงต่อยเราก็ไ ด้ หรือตะขาบพึงกัด เราก็ไ ด้ เพราะ
เหตุนั้น เราพึงตาย เราพึงมีอันตรายนั้น เอาเถอะ
เราจะปรารภความเพีย ร เพื่อ ถึงธรรมที่ย ังไม่ถ ึง
เพื่อ บรรลุธ รรมที่ ยัง ไม่บ รรลุ เพื่อ ทำให้แ จ้ง
ธรรมท่ียังไม่ได้ทำให้แจ้ง”
ภิก ษุผ ู้อ ยู่ป ่า เม่ือ พิจ ารณาเห็น ภัย ในอนาคต
ประการท่ี ๑ น้ีควรเป็นผู้ใม่ประมาท มีความเพียร
อุท ิศ กายและใจอยู่ เพื่อ ถึง ธรรมที่ย ังไม่ถ ึง เพื่อ
บรรลุธ รรมที่ย ัง ไม่บ รรลุ เพื่อ ทำให้แ จ้ง ธรรมที่
ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง
๒. ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย นี้อ ยู่ป ่า พิจ ารณาเห็น ดัง ฺน ้ีว ่า
“ บัด น้ี เราอยู่ในป่าผู้เดียว เราเมื่ออยู่ในป่าผู้เดียว
พึงพลาดหกล้ม ก็ได้ภัตตาหารท่ีเราฉันแล้วไม่พ ึง
ย่อ ยก็ไ ด้ ดีของเราพึงกำเริบก็ได้ เสมหะของเรา
พึง กำเริบ ก็ไ ด้ หรือ ลมมีพ ิษ ดัง ศัส ตราของเรา

คัม ภีร ์ส ร้า งวิด จากพระโอษธ์ ๑๗๑ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
พึงกำเริบ ก็ไ ด้ เพราะเหตุน้ัน เราพึงตาย เราพึง
มีอันตรายนั้น เอาเถอะ เราจะปรารภความเพียร
เพ่ือ ถึง ธรรมท่ีย ัง ไม่ถ ึง เพ่ือ บรรลุธ รรมท่ีย ัง ไม่
บรรลุเพ่ือทำให้แจ้งธรรมท่ียังไม่ได้ทำให้แจ้ง”
ภิก ษุผ ู้อ ยู่ป ่า เม่ือ พิจ ารณาเห็น ภัย ในอนาคต
ประการที่ ๒ นี้ควรเป็นผู่ไม่ประมาท มีความเพียร
อุท ิศ กายและใจอยู่ เพื่อ ถึงธรรมที่ยังไม่ถ ึง เพื่อ
บรรลุธ รรมที่ยังไม่บ รรลุ เพ่ือ ทำให้แ จ้ง ธรรมท่ี
ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง
๓. ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีอ ยู่ป ่า พิจ ารณาเห็น ดัง น้ีว ่า
“ บัด น้ี เราอยู่ในป่าผู้เดียว เมื่อเราอยู่ในป่าผู้เดียว
พึงพบสัต ว์ร ้า ย คือราชสีห์เสีอโคร่ง เสือเหลือง หมี
หรือ เสือ ดาวก็ไ ด้ สัต ว์เหล่า นั้น พึง ทำร้า ยเราถึง
ตายก็ไ ด้ เพราะเหตุน ั้น เราพึง ตาย เราพึง มื
อันตรายนั้น เอาเถอะ เราจะปรารภค วามเพีย ร
เพ่ือถึงธรรมที่ยังไม่ถึงเพื่อบรรลุธรรมที่ยังไม่บรรลุ
เพ่ือทำให้แจ้งธรรมที่ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง”
ภิก ษุผ ู้อ ยู่ป ่า เม่ือ พิจ ารณาเห็น ภัย ในอนาคต
ประการที่ ๓ นี้ควรเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร
อุท ิศ กายและใจอยู่ เพื่อ ถึงธรรมที่ยังไม่ถ ึง เพื่อ
บรรลุธ รรมที่ย ัง ไม่บ รรลุ เพื่อ ทำให้แ จ้ง ธรรมที่
ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๗๒ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๔. ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย นี้อ ยู่ป ่า พิจ ารณาเห็น ดัง นี้ว ่า
“ บัด น้ี เราอยู่ในป่าผู้เดียวเม่ือ เราอยู่ในป่าผู้เดียว
เราพึงพบคนร้า ยผู้ก ่อ คดีแล้วหรือยังใม่ได้ก่อคดี
ก็ไ ด้ พวกคนร้า ยนั้น พึง ปลิด ชีว ิต เราเสีย ก็ไ ด้
เพราะเหตุน ั้น เราพึง ตาย เราพึง มีอ ัน ตรายน้ัน
เอาเถอะ เราจะปรารภความเพีย ร เพื่อถึงธรรม
ที่ย ัง ไม่ถ ึง เพื่อ บรรลุธ รรมที่ย ัง ไม่บ รรลุ เพื่อ
ทำให้แจ้งธรรมท่ียังไม่ได้ทำให้แจ้ง”
ภิก ษุผ ู้อ ยู่ป ่า เมื่อ พิจ ารณาเห็น ภัย ในอนาคต
ประการท่ี ๔ น้ีควรเป็นผูไม่ประมาท มีความเพียร
อุท ิศ กายและใจอยู่ เพื่อ ถึง ธรรมที่ย ังไม่ถ ึง เพื่อ
บรรลุธ รรมที่ย ัง ไม่บ รรลุ เพื่อ ทำให้แ จ้ง ธรรมที่
ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง
๕. ภิกษุในธรรมวินัยน้ีอยู่ป่าพิจารณาเห็นดังน้ีว่า“ บัด น้ี
เราอยู่ในป่าผู้เดียว ก็ในป่ามีพ วกอม น ุษ ย์ด ุร ้า ย
พวกอมนุษย์นั้นพึงปลิดชีวิตเราก็ได้เพราะเหตุน้ัน
เราพึง ตาย เราพึง มีอ ัน ตรายนั้น เอาเถอะ เรา
จะปรารภความเพีย ร เพื่อ ถึง ธรรมที่ย ัง ไม่ถ ึง
เพื่อ บรรลุธ รรมที่ย ัง ไม่บ รรลุ เพื่อ ทำให้แ จ้ง
ธรรมท่ียังไม่ได้ทำให้แจ้ง”

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๗๓ สถานทึ่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษุผ ู้อ ยู่ป ่า เมื่อ พิจ ารณาเห็น ภัย ในอนาคต
ประการที่ ๕ นี้ควรเป็นผู่ไม่ประมาท มีความเพียร
อุท ิศ กายและใจอยู่ เพื่อ ถึงธรรมที่ยังไม่ถ ึง เพื่อ
บรรลุธ รรมที่ยังไม่บ รรลุ เพ่ือ ทำให้แ จ้ง ธรรมท่ี
ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง
ภิกษุทั้งหลายภิกษุผู้อยู่ป ่าเมื่อเห็น ภัยในอนาคต๕
ประการน้ีแล ควรเป็นผู้ใม่ประมาท มีความเพียร
อุท ิศ กายและใจอยู่ เพื่อ ถึงธรรมที่ยังไม่ถ ึง เพื่อ
บรรลุธ รรมที่ยังไม่บ รรลุ เพื่อ ทำให้แ จ้ง ธรรมที่
ยังไม่ได้ทำให้แจ้ง

จากพระสูตรน้ีมีข้อสังเกตว่า
๑. เมื่อรู้ดัวว่'ตนเองตกอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นภัย
อัน ตรายต่อ ชีวิต ยิ่ง ต้อ งทุ่ม ชีว ิต บำเพ็ญ ภาวนา
อย่าได้ตกอยู่ในความประมาท เพราะความตาย
อาจมาถึงตนได้ทุกเวลา
๒. ภ ัย เห ล่า น ้ี เป็น ภัย ท่ีป รากฏชัด เจนในสถานท่ี
อัน ตรายและยัง มองเห็น ได้ แต่ภ ัย ที่ป รากฏไม่
ชัด เจนน้ัน ซ่อ นอยู่ใ นสภาพแวดล้อ มท่ีด ี เซ่น
ความไม่ร ู้ป ระมาณ ความเกยจดราน เป็น ตน
เพราะฉะนั้น เมื่อรู้ดัวว่าได้อยู่ในสภาพแวดล้อม
ที่ด ีแ ล้ว ยิ่ง ต้อ งทุ่ม ชีว ิต ทำภาวนา เพราะว่า มี
ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเอ้ือเห่ืเอต่อการบรรลุธรรมแล้ว

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๗๔ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ลัก ษณะภูม ิอ ากาศที่ด ีเป็น อย่า งไร
ภูมิอากาศ หมายถึง อากาศประจำลิ่น
สภาพภูมิอ ากาศในแต่ละท้อ งล่ิน เช่น เขตร้อน เขตฝน
และเขตหนาว ย่อ มมิค วามแตกต่า งกัน ไป ทำให้ส ถานที่
ปฎิบ ํติธรรมในแต่ละเขต มีวิธ ีบ ริห ารจัด การท่ีต ่างกัน ไป แด่
ไม่ว ่า จะเป็น เขตใด หากบริห ารจัด การได้เ หมาะสมแล้ว
สถานที่น้ันย่อมเหมาะแก่การบรรลุธรรมได้เช่นกัน
พระสัม มาล้ม พุท ธเจ้า กำหนดลัก ษณะภูม ิอ ากาศท่ีด ี
ในบริเวณวัดว่า
“มิลม แดด กระทบน้อย”
จากการศึก ษาพบว่า หมายถึง การบริห ารจัดการ
สภาพภูม ิอ ากาศในท้อ งลิ่น ให้ม ิค วามเหมาะสมและ
เอ้ือเหื่เอต่อการปฏิบัติธรรมภายในวัด ทั้งน้ีเพ่ือให้วัดไม่มี
อากาศร้อ นเกิน ไปในฤดูร ้อ น ไม่ม ีน ั้า ท่ว มในฤดูฝ น ไม่
หนาวเกิน ไปในฤดูห นาว แต่ม ีค วามเหมาะสมแก่ก ารปฏิบ ้ต ิ
ธรรมตลอดทั้งปี

สาเหตุท ่ีต ้อ งทำเช่น น้ี ก็เพราะหากการบริห ารจัด การ


สภาพลมแดดภายในวัด ทำไดไม่ด ีแ ล้ว อุณ หภูม ิ ความชื้น
แสงสว่าง การระบายอากาศ การระบายนั้า และอื่นๆ อีกสารพัด
ย ่อ ม ม ีผ ล ก ร ะท บ ต ่อ ส ุข ภ าพ ก าย แ ล ะส ุข ภ าพ จ ิต ใจ ข อ ง
สมาชิกในวัดโดยตรง

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๗๕ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
นอกจากน ยังอาจทำให้เกิด สภาพรกคร้ึม เป็น มุม ลับ
ม ุม อับ ขึ้น ภ ายใน วัด ได้ ก ลายเป ็น ท ี่ซ ่อ น ข อ งสัต ว์ร ้า ย
คนร่ายท่ีจะเป็นอันตรายแก่สมาชิกในวัดเอง
ดังนั้นการบริหารจัดการสภาพแดดลมในท้องถิ่นให้
ม ีค ว าม เห ม าะส ม แ ล ะ เอ ้ีอ เห ่ืเ อ ต ่อ ก าร ป ฏ ิบ ัต ิธ ร ร ม
ภายในวัด น้ัน จึงหลีกหนีไม่พ้นเร่ืองพ้ีนฐานต่อไปน้ี
๑. การวางผังแบ่งพี้นท่ีใช้งานในวัด
๖. การออกแบบตัว อาคาร
๓. การออกแบบภูม ีส ถาปัต ย์
๔. การดูแลระบบนิเวศน็ใหัสมดุล
เพราะทั้ง ๔ เร่ือ งนี้ล้วนเก่ียวข้อ งกับการบริห ารจัดการ
อุณหภูมิ ความข้ึน ความสว่า งทิศ ทางลมทิศ ทางการระบายน้ํา
การดูแ ลต้น ไม้ การบำบัด น้ีา เสีย และอีก สารพัด ให้ล งตัว
โดยต้อ งคำนึง ดึง ความสะดวก ความปลอดภัย การดูแ ล
รัก ษาง่า ย ความสงบร่ม ร่ืน และความสวยงามเป็น สำคัญ
เพ่ือให้วัดแห่งนั้นเหมาะแก่การปฏิบ่ติธรรมได้ทุกฤดูกาล

ในพระไตรปิฎกมีหลักฐานความพยายามอย่างสุด ซีว ิต
ในการสร้า งวัด ให้เ ป็น สถานที่เ หมาะแก่ก ารบรรลุธ รรมไว้
หลายแห่ง ยกตัว อย่า งเช่น หลัก ฐานในการสร้า งวัด เขตวัน ที่
ปรากฏว่า

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษธ ๑๗๖ สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ท่านอนาถบิณฑิกคหบดีไต้สร้างวิหารไว้หลายหลัง
ใน!,ชดวัน สร้างบริเวณ สร้างซุ้มประตู สร้างศาลาหอฉัน
สร้างโรงไฟ สร้างกัปปิยกุฎี สร้างวัจจกุฎี สร้างสถานท่ี
จงกรม สร้างศาลาจงกรม ขุดบ่อนํ้า สร้างศาลาบ่อ นํ้า
สร้างเรือนไฟ สร้างศาลาเรือ นไฟ ขุด สร้างโบกขรณี
สร้างมณฑป

ท้ัง นี้เป็น เพราะชาวพุท ธในยุค น้ัน ต่า งทราบดีว ่า การ


สร้า งวัด และดูแ ลรัก ษาวัด ให้เหมาะแก่ก ารบรรลุธ รรม ก็คือ
การสร้า งโรงงานผลิต บุญ ให้แ ก่ต นเองตลอดทั้ง วัน และคืน ดัง
ปรากฏในวนโรปสูตรดังน้ี

วนโรปสูตร๗๒

ว่าด้วยการปลูกป่า

เทวดาทูล ถามว่า
บุญ ย่อมเจริญ ทั้งกลางวันและกลางคืน
ตลอดกาลทุก เม่ือ แก่ชนเหล่าไหน

ชนเหล่าไหนดำรงอยู่ในธรรม
สมบูรณ์ด้วยศีลแล้ว ย่อมไปสู่สวรรค์

สํ. ลคา. มจ. ๑๕/ ๖๑, มก. ๒๔/ ๒๔๕

ดัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า
ชนเหล่า ใดปลูก สวนอัน น่า ร่ืน รมย์๗’
ป ลูก ป า สร้า งสะพาน ขุด สระนํ้า บ่อ นา
และให้ท ี่พ ัก อาลัย
บุญย่อมเจริญแก่ชนเหล่านั้น
ท้ังกลางวันและกลางคืน ตลอดกาลทุกเม่ือ
ชนเหล่าน้ันดำรงอยู่ในธรรมสมบูรณ์ด้วยศีลแล้ว

ย่อมไปสู่สวรรค์อย่างแน่นอน

จากพระสูตรน้ีเม่ือศึกษาหาความรูในยุคปัจจุบันก็จะพบ

ว่า
๑. การปลูกต้นไม้โหัร่มรื่นช่วยทำให้บรรยากาศดีเป็น
ธรรมชาติ วัดใดที่ยังขาดความร่มรื่น ต้องเร่งปลูก
ต้นไมให้มากข้ึนแต่ต้องคอยดูแลรักษาบริเวณใต้
ต้นไม้โห้โปร่งเตียนให้ล มไหลเวีย นไต้ส ะดวก มี
ยุงรบกวนน้อย สะอาดตาโดย รูจ กเลือ กพ ัน ธุไ ม ้
ที่เ หมาะสม ปลูกเป็น แถวเป็น แนว โดยในตอน
แรกเลือ กไม้โตเร็ว เพ่ือ ให้ร ่ม เงาก่อ น ส่ว นไม้
ยืน ต ้น ห รือ ไม ้โ ต ช ้า ให ้ท ยอยป ลูก ต าม ค วาม
เหมาะสม การปลูก ไม้ค ลุม ดิน และเลือ กชนิด

๗" สวนอันน่าร่ืนรมย์ หมายถึง สวนไม้ดอกไม้ผลอันน่าร่ืนรมย์ (ส. ส. ก. ๑/ ๔ ๗ / ๘๖)

คมภีว ิส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๑๗๘ สถานที่เหมาะแก่กาวบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ของหญ้าให้ถูกกับบริเวณท่ีโดนแสงมากโดนแดด
รำไรการปร้บ่ป รุงจัดการดูแลสวนมีความสำคัญ
๒. การขุด แต่ง บ่อ หรือ สระนํ้า ขนาดใหญ่ ก็มีสว่ น
ในการลดอุณ หภูมิลงและสร้างบรรยากาศให้ดีข้ึน
การมีส ระนํ้ารอบอาคาร โดยใหัม ีค วามลึก อย่า ง
น้อ ย หน่ึง เมตร ห ้า ส ิบ เซ น ต ์ จะช ่ว ยล ด
อุณ หภูม ิไ ด้ห ลายองศา โดยเฉพาะในทางทิศ
ตะวันตกในช่วงปายท่ีมีอากาศร้อนและแดดจัด

๓. ก าร ป ล ูก ส ร ้า งอ าค าร ต ่า งๆ ต ้อ งเล ือ ก ว าง
ตำแหน่งท่ีต้ังอาคาร ควรสึก ษ าทิศ ทางลม ให ้ด ี
รูป แบบอาคารท่ีเรีย บง่า ย ประหยัด เวลาในการ
ก่อ สร้าง ง่า ยต่อ การบำรุง ดูแ ลซ่อ มแซม เพราะ
มีผ ลกระทบต่อ ความเป็น อยู่ ทำให ้อ ยู่ส บ าย
และประหยัด การใช้พ ลัง งาน ช ่ว ยลด ก ารใช ้
เครื่องปร้บอากาศ
๔. การเลือ กใช้ว ัส ดุท ี่เหมาะสม มีความสำคัญเพราะ
ในปัจ จุบ ัน มีว ัส ดุก ่อ สร้า งผลิต ขึ้น มาตอบสนอง
การใช้งานมากมายควรเลือ กใช้ต ามความจำเป็น
เช่น แผ่น กัน ความร้อ น ฉนวนกัน เสีย ง วัส ดุป ู
พื้น แบบต่า งๆ กระเบื้อ งเซรามิค ส์ สุข ภ ัณ ฑ ์
อุปกรณ็ในห้องนํ้า ฯลฯ

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๗๙ สถานที่เหมาะแก่กาวบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ท ำ อ ย ่า ง ไ ร ใ ห ้ว ัด เ ป ็น ส ถ า น ท ่ีเ ห ม า ะ แ ก ่ก า ร

ป ร ะพ ฤ ต ิธ ร ร ม
๑. ต้อ งทำเขตท่ีด ิน ของวัด ให้ช ัด เจน โดยทำหลัก
เขตให้ดี หรือ อาจทำเป็น ร้ัว ต้น ไม้ ร้ัว ปูน ซีเมนต์ หรือขุดคู
น้ัาเป็นแนวร้ัวอาราม
ในกรณ ีท ่ีว ัด ท ่ีม ีพ ้ืน ท ี่ก ว้า งอาจข ุด ค ูค ลองล้อ ม
บริเวณท่ีพักให้เข้าออกได้ทางเดียวและอาจสร้างศาลารับ แขก
ไว้ด้านหน้าควรมีก ารกั้น รั้ว ป้อ งกัน หรือแบ่ง เขตถนนให้แยก
ออกมาให้ช ัด เจน และมีร ะยะห่า งจากที่พ ัก สงฆ์แ ละอาคาร
ปฏิป้ติธรรม เพ่ือ ป้อ งกัน เสีย งรบกวนไม่ว่าจะเป็นรถยนต์หรือ
มอเตอร์ไ ซด์ข องชาวบ้า นในบริเวณใกล้เคีย ง ซึ่ง มัก จะเห็น
แ ก่ค วาม สะดวก สบ ายใน ก ารลัด เส้น ท างโดยขับ รถ ผ ่า น
บริเวณวัด ทำให้ข าดความสงบสุข เสีย บรรยากาศ ในการ
ประพฤติปฏิบ้ติธรรม
ดังนั้นจึงควรมีก ารวางผัง วางแผนแม่บ ท ภาพรวม
และแผนการในอนาคตเบ๋ืองหน้า ให้เรียบร้อยก่อนลงมือสร้าง
ไม่ใข้ว่าก่อสร้ไงไปแก้ปัญหาไป
๖. จ ัด ก า ร แ บ ่ง เข ต ภายในวัด ให้ส อดคล้อ งกับ
วัต ถุป ระสงค์ข องสถานที่น ั้น ๆ บริเ วณ ให้เ ป็น ดัด ส่ว นมี
ความสำคัญ ไม่ให้เสียงรบกวนกัน

พื้น ที่ภ ายในวัด ควรแบ่ง เขตอะไรบ้า ง

ต้มกีรัสรางวัดจากพระโอษฐ์ ซี)๘ 0 สถานที่เหมาะแก, การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
แบ่ง เขตพุท ธาวาส วัตถุประสงค์เป็นสถานท่ีประกอบ
พิธีกรรมสงฆ์
โบสถ์ ต้องดู สง่า สะอาด สงบ แบ่งให้แยกจากเขตอ่ืน
โดยวางตำแหน่ง ให้เด่น อยู่เป็น แกนกลางของวัด ควรมีก าร
คัดเลือกชนิดของพันธุ๊ใม้ท่ีเหมาะสมกับพื้นที่

โดยอึด หลัก ว่า ให้ร ่ม เงาดี บำรุง ดูแ ลรัก ษาง่า ย บาง
คร้ัง การเทปูน ซีเมนต์ท ั่ว ลานวัด จะทำให้ง ่า ยต่อ การดูแ ลแต่
ผลที่ไ ด้ก ลับ สร้า งความรู้ส ึก ที่แ ห้ง แล้ง และร้อ น ดัง นั้น ควร
แบ่ง เขตให้ช ัด เจนว่า ส่ว นไหนใช้จ อดรถ ส่ว นไหนให้เป็น
แนวเขตพื้น ท่ีส ีเขีย ว ปลูก ต้น ไม้เพ่ิม สร้า งบรรยากาศให้เป็น

ธรรมชาติ
เขตธรรม าวาส ศ าลา ท เ่ี ทศน์ส อนญาติโยมกับ เขต
โรงเรีย นพระปริย ัต ิ ต้องแยกเขตให้ชัดเจนไม่ปนกันเพื่อไม่ให้

เสียงรบกวนกันกระทบกัน
บางวัด อาจมีห ้อ งสมุด ส่ว นกลางไว่ใ ห้ญ าติโ ยมรวม
ท้ัง พ ระเณ รไว้อ ่า นหน ัง สือ คัน คว้า หาความรู้แ ต่ค วรแบ่ง
พ้ืนท่ีน้ังพระกับโยมไม่ให้ปนกันท่ีสำคัญ ก็ดือต้องเตรีย มสร้า ง
ห้อ งนํ้าของญาติโยมให้แ ยกออกจากส่วนของพระเณรไม่ควร
ให้อยู่ใกล้ก ัน มากเกิน ไปเพื่อ ความเรียบร้อ ยลัด มาก็ดือ
เขตสัง ฆาวาส หรือ เขตที่พ ัก สงฆ์ต ้อ งมีก ารเตรียมการ
ก้ันร้ัวใหัดีไม่อนุญาตฆราวาสเข้ามาในเขตนี๋ยกเว้นมีเหตุฉุกเฉิน

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ (5)0)(5) สถานท่ีเหมาะแก, การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เพ่ือ เป็น การป้อ งกัน ข้อ ครหาหรือ ข้อ เส่ือ มเสีย หากมีก าร
จัด การเร่ือ ง'แไม่ช ัด เจนปล่อ ยใหัม ีก ารรับ แขกทั้ง หญิง หรือ
ชายในที่พ ัก สงฆ์ ก็จ ะก่อ ให้เกิด ความไม่ส งบสุข ข้ึน ได้ เขต
ท่ีพ ัก สงฆ์ถ ้า เป็น อาคารท่ีส ร้า งข้ึน มาใหม่ ควรสร้า งห้อ งพัก
สงฆ์เป็นห้องรวมเพื่อจะได้ปลูกฝังเรื่องความสามัคคีในหมู่คณะ
ทำให้ม ีโอกาสหล่อหลอมความคิด เป็นอัน หน่ึงอันเดียวกัน เช่น
อยู่รวมกันเป็นหมู่ ประมาณ หมู่ละ ๕-๑๐ รูปหรือมากกว่านั้น
การจัดหมู่ให้พอดีน้ันแล้วแต่ปริมาณของพระเณรของวัดน้ันๆ
การท่ีพระบวชใหม่แยกอยู่องค์เดียวต้ังแต่แรกมีโอกาส
ปฏิบ ้ต ิผ ิด พลาดได้ง ่า ย ต้อ งมีพ ระพ่ีเล้ีย งคอยดูแ ล การอยู่
รวมกัน เป็น หมู่ท ำให้ต ้อ งรู้จ ัก ปรับ ตัว กับ หมู่ค ณะไม่ล ือ ความ
เห็นตนเองเป็นใหญ่

๓. เขตอื่น ๆ ภายในวัด
๓.๑ บริเวณหอฉันอาจจะอยู่ในส่วนท่ีใกล้กับโรง
ครัว จุดน้ีมีความสำคัญต้องดูแลให็ดี เพราะเป็นจุดท่ีญ าติโยม
ท่ีมีจิตศรัทธานำอาหารหวานคาวมาถวายต้องดอยต้อนรับให้ดี
อย่า ให้เ กิด การกระทบกระทั้ง ระหว่า งโยม รวมทั้ง ความ
สะอาดของห้องน้ัาสำหรับโยมดูแลให้ดี
๓.๒ เตรียมพื้นที่จอดรถให้เพียงพอ
บางครั้งที่วัดจะต้องจัดงานใหญ่ตามเทศกาลต่างๆ
เราต้อ งเตรีย มการพื้น ที่จ อดรถให้ด ี โดยใหัแ ปงเขตจอดรถ

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๘๒ สถานที่เหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ตามประเภทของรถ ยนต์ จะได้ มีร ะเบีย บและไม่เสีย พื้น ท่ี
จอดมาก เราสามารถวางแผนคำนวณ พ้ืนท่ีจอดรถได้ไม่ยาก
เช่น รถยนต์ส ่ว นบุค คล รถกระบะ รถโดยสารขนาดให ญ่
ต้องการพ้ืนที่เท่าไหร่? ในการจอด ในการเล้ียวกลับ

ให้เราลองสำรวจ วัดขนาดความกว้าง ความยาว


ของ รถยนต์ป ระมาณ สอง สาม ประเภท เท่านี้เราก็พอรู้แล้วว่า
รถหนึ่งคันมีค่าเฉล่ียการใช้พ้ืนที่เท่าไหร่
ดังนั้น ถ้า เราสามารถคาดการ ณ์จ ำนวนคนที่จ ะ
มาวัด ได้ อาจเตรีย มการดีเส้น สำหรับ จอดรถไว้ล ่ว งหน้า มี
เจ้าหน้าที่ค อยดูแ ลตอนเช้าพื้น ที่จ อดรถ ทั้งรถส่ว นบุค คลและ
รถโดยสารขนาดใหญ่
๓.๔ ห้อ งสุข า
เม่ือ ทุก คนได้เดิน ทางมาถึง วัด แล้ว อัน ดับ แรกท่ี
นึกถึงคือการเข้าห้องลุขาดังน้ันการเตรียมล้างห้องน้ําใหัสะอาด
มีน้ัาเตรียมพร้อมเป็นสิ่งสำคัญ
ในแต่ล ะสัป ดาห์ถ ้า เรามีค นคอยนับ จำนวนที่ม ี
คนมาวัด ในแต่ล ะเสาร์ อาทิต ย์ จดตัว เลขเป็น สถิต ิไ วัก ็จ ะ
เป็น การดี เราจะได้เตรียมตัวต้อนรับ เตรีย มอาหาร นํ้า กิน
น้ํา ใช้ไ ม่ข าดแคลนเพราะการต ้อ นรับ ปฏิส ัน ถารเป็น สิ่ง ที่จ ะ
สร้างความประทับใจให้กับผู้มาเยือน

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ชิ) อก สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๓.๔ เสีย ง ถือเป็น เรื่องที่สำคัญ เราต้องเอาใจใส่
ระมัดระวังเป็นพิเศษ
หากในวัด เรามีเสีย งรถยนต์ห รือ จัก รยานยนตร์
ผ่า นรบกวนอยู่ต ลอดเวลา ต้อ งมีป ้า ยจำกัด ความเร็ว อาจมี
การปิด ประตูเป็น เวลา หรือ ทำลูก ระนาดบนพื้น ถนน เพราะ
เสียงจะเป็น ตัวทำลายบรรยากาศท่ีสงบของวัด

๓.๕ ป ระตูเ ข้า ออกของวัด ต้อ งม ีก ารควบ คุม


การท่ีว ัด มีป ระตูเ ข้า ออกทางเดีย วเป็น ตัว ช่ว ยควบคุม เสีย ง
เป็นอย่างดี
เราอาจจะทำแนวกำ แพงป้องกัน เสียงขึ้น มารวม
ท๋ํง ปลูก ต้น ไม้เป็นแนวกันเสียงกันฝ่นเช่นปลูกต้นสนซ้อนๆ กัน
หลายแนว ก็พ อช่ว ยลดปริม าณฝ่น และกัน เสีย งได้บ ้า ง แต่ก็
มีซ ัอ เสีย อยู่บ ้า งคือ ใบสนที่ห ล่น มามีส ภาพ เป็น กรดทำให้
ต้นไม้ชนิดอ่ืนไม่สามารถข้ึนได้
ป ัจ จุบ ัน เค ร ่ือ ง ข ย า ย เส ีย ง ม ก
ี ำลัง ล่ง มากและ
ลำโพงคุณภาพเสียงดีทำให้บางคร้ังมีเสียงจากภายนอกเข้ามาร
บกวนบรรยากาศภายในวัด
พระต้องช้ีแจงให้ชาวบ้านรอบข้างให้ความร่วมมือ
พระต้อ งชวนญาติโ ยมที่อ ยู่ใ กลัว ัด ให้ร ัก ปฏิบ ัต ิธ รรม เม่ือ
ญาติโยมใกล้ว ัด มีน ิส ัย รัก การปฏิบ ัต ิธ รรมได้เมื่อ ไหร่ ก็จะมี
นิสัยรักความสงบไม่ชอบเสียงเพลงอึกทึก

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ (5)ด ่๔ สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๓.๖ ก า ร ม ีห อ ว ิท ย ุก ร ะ จ า ย ข ่า ว ของชุม ชนมี
ความสำคัญ และจำเป็น หากพระได้ม ีก ารเปิด เสีย งทำวัต ร
สวดมนต์เ ป็น ประจำเช้า เย็น จะเป็น ส่ิง กระตุ้น ให้ญ าติโ ยม
ลุก ข้ึน มาทำความดี ด้ว ยการสวดมนต์แ ละจะได้เตรีย มใส่
บาตรตั้งแต่เช้าแต่ควรมีเวลาเปิดปิดท่ีเป็นเวลา
การเทศน์ส อนผ่า นหอกระจายข่า วโดยเฉพาะ
ในวัน พระและวัน สำคัญ เป็น กิจ ที่ต ้อ งทำ โดยในปัจ จุบ ัน มีส ื่อ
ธรรมเทศน์ส อนของพระอาจารย์ต ่า ง ๆ หาไดโดยไม่ย ากเรา
อาจสามารถนำมาเปิดให้ญาติโยมได้ฟังธรรม

ส ร ุป ส า ร ะ ส ำ ค ัญ
การดูแ ลวัด ให้เป็น สถานที่เหมาะสมต่อ การประพฤติ
ปฏิบ้ติธรรมน้ัน
๑. สถาน ท ่ีต ้อ งเห ม าะสม สะดวกต่อ การเดิน ทาง
ไกลชุนชน มีปัจจัย ๔ ไม่ฟิดเคือง มีความสะอาด
สงบ ปลอดภัย
๖. หากมีว ัด เดิม ยังมีสภาพแวดล้อมยังไม่เหมาะสม
้ ที่ใ ช้ง าน
พ ยายามปรับปรุงให้ดีขึ้นจัดการปรับพีน
แต่ล ะส่ว นใหัด ีใ ห้ส อดคล้อ งกัน พ ยายาม จัด
พื้น ที่พ ิเศษสำหรับ ปฏิบ ํต ิธ รรมให้ม ีข ึ้น แยกออก
มาชัดเจน เพ่ือป้องกันเสียงรบกวน

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ (5) ๕ สถานที่ เหมาะแก่ การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๓. บำรุง รัก ษาดูแ ลให้ว ัด มีส ภาพที่น ่า เข้าตลอด
เวลา ดูแลความสะอาด ทั้ง อาคาร สถานที่
และบริเวณภายในวัดให้เรียบร้อย เช่น ห้องน้ํา
ถังขยะ สถานที่รับแขก บริเวณหอฉัน ดูแล
สนามหญ้า ตัดแต่งกิ่งไม้ ต้นไม้ ให้สงบ ร่มรื่น
และรักษาระเบียบปฏิบ้ติต่างๆ ใหัดี เช่น ใหัมี
บรรยากาศดี ปลอดภัย

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ซี)ส ิ่๖ สถานท่ีเหมาะแก่การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เม่ือภิกษุอยู่ในเสนาสนะน้ัน มี จีวร
บิณ ฑบาต เสนาสนะ และคิล าน
ปัจจํเยเภสัชชบริขาร ที่เกิด ขึ้น โดย
ไม่?เดเคืองเลย

*---- --------*

kalyanamitra.org
บทท่ี

*----^4X๙------*

ป็จขัย ๔ เป็นท่ีสบาย

ความหมายของปัจจัย ๔ เป็นท่ีสบายในเสนาสนสูตร
พระสัมมาส้ม พุทธเจ้าตรัสถึงคุณ สมบ้ติช ัอที่๒ ของวัด ที่
เหมาะแก่การปฏิป้ติธรรมไว่ในเสนาสนสูตรว่า

“ เม่ือ ภิกษุอ ยู่ในเสนาสนะนั้น มี จีว ร บิณ ฑ บาต เสนา

สนะ
และคิล านปัจ จัย เภสัช ชบริข าร ที่เกิดขึ้น โดยไม้?เด
เคือ งเลย”

kalyanamitra.org
จากพระดำรัส ดัง กล่า วจึง อาจกล่า วโดยย่อ ว่า “ ปัจ จัย ๔
เป็น ที่ส บาย”

ป ัจ จ ัย ๔ ด ือ อ ะไร

ปัจจัย ๔ หมายถึง เครื่อ งดำรงชีว ิต เป็นสิ่งที่จำเป็นขาด


ไม่ได้ขาดแล้วเป็นอันตรายถึงชีวิต
ชีว ิต ของชาวโลกท่ัว ไปน้ัน ถ้าขาดแคลนเครื่อ งนุ่งห่ม
อาหาร ท่ีอ ยู่อ าศัย และยารักษาโรค ความเป็น อยู่ก ็ล ำบาก
แต่ถ ้ามีม ากเกิน ไป แล้วใช้ไม่เป็น ใช้ไม่ระมัดระวัง ไม่รู้จัก
บริหารจัดการให้พอเหมาะพอเก๊อาจเป็นโทษต่อชีวิตได้เช้นกัน
สำหรับ ชีว ิต พระภิก ษุน ้ัน พระสัม มาล้ม พุท ธเจ้า ให้
ฝากเสบีย งเลี้ย งชีว ิต ไวัท ี่ศ รัท ธาของญาติโ ยม เพราะพระ
ภิก ษุเ ป็น ผู้อ อกจากเรือ น มิใ ช้เป็น ผู้ค รองเรือ นจึง มิไ ด้ม ื
อาชีพเล้ียงปากเล้ียงท้องเหมือนกับญาติโยม
ย่ิง กว่า น้ัน พระพุท ธองค์ย ัง ทรงฟิก ให้เป็น ผู้เลี้ย งง่า ย
ต้ัง แต่ว ัน แรกบวชด้ว ยการฟิก นิส ดัย ๔ ทั้ง นี้เ พื่อ ล้ม ทิฎ ฐิ
มานะในการฟ ิก ตนและเพื่อ ฟิก นิส ัย ทุ่ม ชีว ิต เป็น เดิม พัน ใน
การทำความดี ดังปรากฏในล้นตุฏฐิสูตรดังนี้

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๐ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
สัน ตุฎ ฐิส ูต ร ๗๔

ว่าด้วยความส้น โดษด้วยปัจจัย ๔

ภิก ษุท ั้ง หลาย ปัจจัย ๔ อย่างน้ีมีค่าน้อย หาได้ง่าย และ


ไม่มีโทษ

ปัจ จัย ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ


๑. บรรดาจีว ร บัง สุก ุล จีว ร (ผ้าที่ได้มาจากกองฝ่น)
มีค่าน้อย หาได้ง่าย และไม่มีโทษ
๒. บรรดาโภชนะป ีณ ฑ ิย าโลปโภชหะ(โภชนะคือ
คำข้า วท ่ีไ ด้ม าด ้ว ยกำลัง ป ลีแ ข ้ง ) มีค ่า น้อ ย
หาได้ง่าย และไม่มีโทษ
๓. บรรดาเสนาสนะ รุก ขมูล เสนาสนะ (อยู่อ าศัย
โคนไม้) มีค่าน้อยหาได้ง่าย และไม่มีโทษ
๔. บรรดายารัก ษาโรค ปูต ิม ุต ดเภสัช (ยาดองน้ํา
มูตรเน่า) มีค่าน้อยหาได้ง่าย และไม่มีโทษ

ปัจ จัย ๔ อย่างนี้แลมีค่าน้อย หาได้ง่าย และไม่มีโทษ

ภิก ษ ุท ้ัง หลาย เพราะภิก ษุเ ป็น ผู้ล ัน โดษด้ว ยปัจ จัย
ท่ีม ีค่าน้อยและหาได้ง่ายนี้เราจึงกล่าวว่า ‘เป็น องค์ป ระกอบ
แห่ง ความเป็น สมณ ะอย่า งหนึ่ง ’ ของภิก ษุน ้ัน

อง. จตุก ก มจ. ๒๑/ ๔๒

คมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ 6 ) & เ 5) ปัจจัย ๔ เป็นฑึ่สบาย

kalyanamitra.org
จิตของภิกษุผู้ล้นโดษด้วยปัจจัย
ท่ีม ีค่าน้อย หาได้ง่าย และไม่มีโทษ
ย่อมไม่มีความดับแค้นไม่ติดขัดทั่วทิศ

เพราะปรารภจีวร โภชนะ เสนาสนะและยารักษาโรค


และธรรมที่เหมาะแก่ความเป็นสมณะ
ที่ภิกษุนั้นกล่าวไว้แล้ว

เพราะฉะน้ันตามหลักการในพระพุทธศาสนาน้ันปัจจัย
๔ คืออุปกรณ์การฟิกนิสัยดีและชั่วให้เกิดขึ้นในตัวมนุษย์

หากใซัถ ูก วิธ ี ก็ฟ ิก นิส ัย ทำความดีอ ย่า งทุ่ม ชีว ิต เป็น


เดิม พัน หากใช้ผ ิด วิธ ี ก็ฟ ิก นิส ัย ทำความช่ัว อย่า งทุ่ม ชีว ิต
เป็นเดิมพันดังปรากฏใน
หากพระภิก ษุเป็น ที่ต ้ัง แห่ง ศรัท ธาของญาติโ ยม แม้
อยู่ไกลถึงในป้าในเขา ก็ย ัง มีผ ู้ศ รัท ธาติด ตามไปทำบุญ แต่
หากไม่เป็น ท่ีต ้ัง แห่ง ศรัท ธาแล้ว แม้อ ยู่ใ จกลางเมือ งหลวง
ย่านเศรษฐกิจ ก็มีดิทธ้ึอดตายได้เช่นกัน

ลักษณะการบริโภคปัจจัย ๔
ในอรรถกถา พระวินัย ดิงสกกัณ ฑวรรณาโกสิยวรรค๗๕
สิก ขาบทที่ ๘ ได้ก ล่าวถึงลัก ษณะการบริโภคปัจจัย ๔ ไว้ ๔
ประเภทดังน้ี

๗๕ วิ. มหาวิ. มก. ๓/ ๙๕๑

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๒ ปัจจัย ๙ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ป ร ะ เภ ท ก าร บ ร ิโ ภ ค ป ัจ จ ัย ๔

จริงอยู่ การบริโภคมี ๔ อย่าง คือ


๑. ไถยบริโภค (บริโภคอย่างขโมย)
๒. อิณบริโภค (บริโภคอย่างเป็นหนี้)

๓. ทายัชชบริโภค (บริโภคอย่างเป็น ผู้รับ มรดก)


๔. สามีบริโภค (บริโภคอย่างเป็น เจ้าของ)

บรรดาการบริโภค ๔ อย่างน้ัน
การบริโภคของภิกษุผู้ทุศีลซึ่งนั้งอยู่แม่ในท่ามกลางสงฆ์
ชื่อว่า ไถยบริโ ภค
การบริโภคไม่พิจารณาของภิกษุผู้มีศีส่ธ่ือว่า อิณ บริโ ภค
เพราะฉะน้ัน ภิก ษุผ ู้ม ีศ ีล พึง พิจ ารณา จีว ร ทุก ขณะที่บ ริโภค
ใช้สอย บ ิณ ฑ บ าต พึงพิจ ารณาทุก ๆ ค ำก ล ืน เมื่อไม่อาจอย่าง
นั้น พึงพิจารณาในกาลก่อ นฉัน หลังฉัน ยามต้น ยามกลาง
และยามสุด ท้า ย หากเมื่อ เธอไม่ห ัน พิจ ารณาอรุณ ข้ึน ย่อม
ต้ังอยู่ในฐานะบริโภคหนี้ แม้ เสนาสนะ ก็พึงพ ิจ ารณ าทุก ๆ
ขณ ะท่ีใ ช้ส อย
ความมีส ติเป็น ปัจ จัย (๑) ท้ังในขณะรับ (๒ ) ทั้งใน
ขณะบริโ ภคเภสัช ย่อ มควร. แม้เ มื่อ เป็น อย่า งนั้น ก็เ ป็น
อาบิต ิแ ก่ภ ิก ษุผ ู้ท ำสติใ นการรับ ไม่ท ำในการบริโ ภคทีเดีย ว
แต่ไ ม่เป็น อาบิต ิแ ก่ภ ิก ษุผ ู้ใ ม่ท ำสติใ นการรับ ทำแต่ใ นเวลา
บริโภค

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๓ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
พ ร ะ ม ห าเถ ร ะ ก ับ ก าร บ ร ิโ ภ ค ใช ้ส อ ย ป ัจ จ ัย ๔

มีเร่ืองราวการใช้สอยปัจจัย ๔ กล่าวไว!,น ปปัญ จสูท นี


อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณ ณาสก์อ รรถกถาสติป ัฏ ฐานสูต ร
เร่ือง พระมหาเถระ ดังน้ี

พระมหาเถร ะ ๙๖

การใช้ สังฆาฏิ และผ้าจีวร โดยการนุ่ง การห่ม การ


ใช้บ าตร โดยการรัก ษ าเป็น ต้น ชื่อ ว่า ธารณะ ในคำว่า
สง.ฆาฏิปตฺตจีวรธารเณนี้ การได้อ ามิส ของภิก ษุผ ู้น ุ่งและห่ม
แล้ว เที่ย วไปบิณ ฑบาต และประโยชน์มีประการดังที่ พระผู้
มีพระภาคเจ้าตรัสไว้นั้นแหละโดยนัยมีอาทิว่าสีตสฺสปฏิฆาตาย
(เพ่ือ บำบัด ความหนาว ) ช่ือ ว่า ประโยชน์ใ นการครองผ ้า
สังฆาฏิและผ้าจีวรนั้น

ผู้ศ ึก ษาควรเช้า ใจ สาตกสัม ปชัญ ญะ ด้ว ยสามารถ


แห่งประโยชน์น้ันก่อน
ส่ว นจีว รเนื้อ ละเอีย ด เป็น สัป ปายะของผู้ม ีป กติร ้อ น
(ข้ีร้อน) และผู้ม ีก ำลังน้อ ย (แต่) จีว รหยาบหนา เป็น ล้ป ปา
ยะของผู้ม ีป กติห นาวมาก(ขี้ห นาว) ผิด ไปจากนี้ก ็ไม่เป็น ดัป
ปายะ จีว รเก่า ไม่เ ป็น ลัป ปายะของใค รๆ เลย เพราะมัน
ทำความกังวลใจให้ท่านโดยให้ความช้องใจเป็นต้น”

๗๖
ม. มู. มก. ๑๗/๗๐๙

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๔ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
แล้วผ้าจีวรผืนใดที่เกิดขึ้น(ได้มา)ด้วยอำนาจมิจฉาชีพ
มีการทำนิมิตเป็นด้น และ จีวรใดเม่ือท่านใช้อยู่ อกุศลธรรม
เจริญขึ้น กุศลธรรมเสื่อมลงจีวรนั้นเป็น อสัปปายะ แต่จีวร
ที่ผิดแผกไปจากนี้เป็น ลัปปายะ...
ส่วนบาตรหนัก ไม่เป็น สัป ปายะ สำหรับ ภิก ษุผ ู้ม ี
ร่างกายผอมและแรงน้อย และบาตรที่เชื่อม(เหล็ก)เช้ากัน
๔ -๕ แผ่น ตะไบไม่เรียบร้อย ไม่เป็นสัปปายะแก่คนใดคน
หน่ึงเลย เพราะว่า บาตรท่ีล ้า งยาก ไม่เหมาะ ก็เมื่อ ล้า ง
บาตรนั้นแหละ
เธอจะมีความกังวล. ส่วนบาตรท่ีมีสีเหมือนแก้วมณี
เป็นท่ีตั้งแห่งความโลภไม่เป็นลัปปาย่ะ
อีกอย่างหนึ่งภิกษุใดพิจารณาเห็นจีวรเหมือนผ้าพันแผล
บาตรเหมือนกระเบ้ืองใส่ยา และ ภิก ษาท่ีได้ม าในบาตร
เหมือนยาในกระเบื้อง ภิกษุนี้พึงทราบเถิดว่า เป็นผู้มีปกติ
ทำความรู้ตัวสูงสุดเป็นปกติด้วยอดัมโมหสัมปชัญญะ
ในการพาดสังฆาฏิ อุ้มบาตรและห่มจีวร่ เหมือนกับ
ชายท่ีมีความเอ็นดู เห็นคนอนาถานอนอยู่ที่ศาลา สำหรับ
คนอนาถามีมือเท้าด้วน มีน้ําเหลืองและเลือดท้ังหมู่หนอน
ไหลออกจากปากแผล มีแมลงวันหัวเขียวตอมหึ่ง จึงได้หา
ผ้าพันแผลพร้อมท้ังกระเบ้ืองใส่ยาไปมอบให้เขาเหล่านั้น

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๕ ปัจจัย ๙ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ในจำนวนส่ิงของเหล่าน้ัน แม้ผ้าที่เน้ือละเอียดตกแก่
ลางพวก ท่ีเนื้อ หยาบก็ต กแก่ล างพวก ถึง กะลาใส่ย าท่ี
ทรวดทรงงามก็ตกแก่ลางพวก ท่ีทรวดทรงไม่งามก็ตกแก่
ลางพวก พวกเขาจะไม่ดีใจหรือเสียใจ ในสิ่งของเหล่านั้น
เพราะเขามีค วามต้อ งการ ผ้าเพีย งแต่ใช้ป ิด แผลเท่าน้ัน
และกะลาเพียงแต่ใช้รบยาเท่านั้น”

อาหารเป็นที่สบาย

มีเร่ือ งอาหารท่ีเป็น ลัป ปายะเอึ้อ ต่อ การบรรลุธ รรม


กล่าวใน
อรรถกถาขฺททกนิกาย คาถาธรรมบทเรื่อง ภิกษุรปใด
จ จ’ช
รูปหนึ่ง สรุปความโดยย่อว่า

เร่ืองภิกษุรูปใดรูปหน่ึง๗๗

กล่าวคือ คร้ังหน่ึงได้มีภิกษุ ๖๐ รูป ได้เดินทางมาถึง


ม้านตำบลหน่ึง ช่ือ ดิกคาม ใกล้เชิงเขาในแคว้น โกศล
ลำดับนั้นเจ้าของม้านชื่อ มาติกะใด มารดาเจ้าของม้าน ได้
นิมนต์พระท่านรับภัตตาหารที่ม้าน หลังจากสอบถามแล้ว
ทราบความว่า ภิก ษุเหล่า น้ัน ต้อ งการหาสถานท ี่บ ำเพ็ญ
สมณะธรรม จึงได้อาราธนาอยู่ตลอดพรรษา ต่อมานางได้

๗๗ ชุ. ธ. มก. ๔๐/ ๓๙๔

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๖ ปัจจ้ย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
เจริญสมณะธรรมตามที่ภิกษุบอกได้บรรลุมรรคผลก่อนภิกษุนั้น
เม่ือ นางได้อ อกจากสุข และมรรคผลแล้ว จึง ได้ต รวจดูท ิพ ย
จักษุใคร่ครวญอยู่ว่า
“ เม่ือไรหนอแล พระผู้เป็น เจ้า ผู้เป็น บุต รของเราจึง
จัก บรรลุธ รรมนี้” แล้ว รำพึง (ต่อ ไป) ว่า ‘พระผู้เ ป็น เจ้า
เหล่า นี้ท ้ัง หมด ยัง ราคะ ยัง มีโ ทสะ ยังมีโมหะ, พระผู้เป็น
เจ้าเหล่าน้ันมิได้มีคุณ ธรรมแม้สักว่าฌานแลวิปัสสนาเลย

อุป นิส ัย ทางพระอรหัตของพระผู้เป็นเจ้าผู้เป็นบุตรของ


เรา มีอยู่หรือไม่หนอ เห็นว่ามี ดังน้ีแล้วจึงรำพึงต่อไปว่า เสนา
ส น ะ เป็น ท่ีส บายจะมีห รือ ไม่ห นอ เห็น แม้เ สนาสนะเป็น
ที่ส บายแล้วจึงรำพึงต่อ ไปอีก ว่าพระผู้เป็น เจ้าทั้งหลายของเรา
ยังไม่ได้บ ุค ค ล เป็น ที่ส บายเลยหนอ ถึง แม้บ ุค คลเป็น ที่ส บาย
แล้ว จึงใคร่ครวญอยู่ว่า พระคุณ เจ้า ทั้งหลายยัง ไม่ไ ดอ้ าห าร
เป็น ท่ีส บายเลยหนอ
ก็ได้เห็นว่า อาหารเป็น ท่ีส บาย ยัง ไม่ม ีแ ก่พ วกเธอ
จำเดิม แต่น ้ัน มาก็จ ัด แจงข้า วยาคูอ ัน มีอ ย่า งต่า ง ๆ และของ
ขบเคี้ยวเป็น อเนกประการ และโภชนะมีรสต่างๆ อันเลิศแล้ว

ต่อ มาภิก ษุเ หล่า น้ัน ได้อ าหารเป็น ที่ส บาย จิต ก็เ ป็น
ธรรมชาติ มีอ ารมณ์เดีย ว (แน่วแน่) พวกเธอมีจ ิต แน่ว แน่
เจริญ วิป ัส สนา ต่อ กาลไม่น านนัก ก็ไ ด้บ รรลุพ ระอรหัต
พร้อ มด้วยปฏิส ัม ภิท าทั้งหลาย

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๗ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
และคิดว่า น่าขอบคุณ มหาอุบ าสิก าเป็น ที่พ ึ่ง ของเรา
ถ้าพวกเราไม่ได้อาหารเป็นท่ีพ่ืงของเราแล้วไซร้การแทงตลอด
มรรคและผล คงจะไม่ไ ด้ม ีแ ก่พ วกเรา (เป็น แน่) บ ัด น ้ี
พวกเราอยู่จำพรรษาปวารณาแล้วจักไปสู่สำนักของพระศาสดา

ที่มาของการอนุญาตให้พระภิกษุใช้เสนาสนะ

มีเรื่อ งการสร้า งวิห าร กล่าวไวใน เสนาขัน ธกะปฐม


ภาณวาร วิหารานุชานนะ ดัง น้ี

วิหารานุชานนะ๗๘

ว่าด้วยทรงอนุญาตวิหาร

เรื่องเศรษฐีชาวกรุงร^ซ^ฤห์ขออนุญาตสร้างวิหาร
สมัยนั้น พระผู้ม ีพ ระภาคพุท ธเจ้าประทับ อยู่ ณ พระ
เวฬุว ัน สถานที่ใ ห้เหยื่อ กระแต เขตกรุง ราชคฤห์ ครั้งนั้น
พระผู้ม ีพ ระภาคยัง ไม่ไ ด้ท รงบัญ ญ ัต ิ( ยัง ไม่ท รงอนุญ าต)
เสนาสนะแก่ภ ิก ษุท ้ัง หลาย และภิก ษุเหล่า นั้น อยู่ใ นที่น ั้น ๆ
ดือ ป่า โคนไม้ภ ูเขา ซอกเขา ถา ป่าช้า ป่า ชัฎ ที่แ จ้ง ลอมฟาง
เวลาเช้า ตรู่ ภิก ษุเหล่า นั้น เดิน ออกมาจากท่ีน ้ัน ๆ ดือ
จาก ป่า โคนไม้ภ ูเขา ซอกเขา ถา ป่าช้า ป๋าขัฎ ที่แจ้ง ลอมฟาง

๗๘ วิ. จู. มจ. ๗ / ๘๙

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ปัจจย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ทอดสายตาลง ตา มีก ารก้า วไป การถอยหลัง การมองดู
การเหลีย วดู การคู้แ ขน กาเหยีย ดแขนน่า เลื่อ มใสเป็น คู้
สมบูรณ์ด้วยอิริยาบถ
คร้ังนั้น เศรษฐีก รุง ราชคฤห็ไ ปสวนแต่เช้า ตรู่ ได้แล
เห็น ภิก ษุเหล่า น้ัน เดิน ออกจากท่ีน ้ัน ๆดือ จากป่า โคนไม้ภ ูเขา
ซอกเขา ถ้ํา ป่าช้า ป่าชัฏ ท่ีแจ้ง ลอมฟาง ทอดสายตาลงต า
มีการก้าวไป การถอยหลัง การมองดู การเหลียวดู การคู้แขน
การเหยีย ดแขนน่า เลื่อ มใส เป็น คู้ส มบูร ณ ์ด ้ว ยอิร ิย าบถ
คร้ันเห็นแล้วเศรษฐีชาวกรุงราชคฤห์น้ันก็มีจิตเลื่อมใส
ลำดับ น้ัน เศรษฐีช าวกรุง ราชคฤหได้เข้า ไปหาภิก ษุ
เหล่า น้ัน คร้ัน แล้ว จึงได้ก ล่า วกับ ภิก ษุด ัง นี้ว ่า “ ถ้ากระผมจะ
ให้สร้างวิหารพระคุณเจ้าจะอยู่ในวิหารของกระผมหรือ
ภิก ษุท ้ัง หลายตอบว่า “ คหบดี พระคู้ม ีพ ระภาคยังไม่
ได้ท รงอนุญ าตวิห าร” เศรษฐีก ล่า วว่า ถ้า เช่น นั้น พระคุณ
เจ้าจงทูลถามพระคู้มีพระภาคแล้วแจ้งให้กระผมทราบ
ภิก ษุเหล่า นั้น รับ คำของเศรษฐีช าวกรุง ราชคฤห์แ ล้ว
เช้า ไปเสาพระคู้ม ีพ ระภาคถึง ที่ป ระทับ ครั้น แล้ว ถวาย
อภิว าทพระคู้ม ีพ ระภาค นั้ง ณ ที่ส มควร ได้ก ราบทูล พระคู้
มีพ ระภาคดัง นี้ว ่า “ เศรษฐีช าวกรุง ราชคฤห์ต ้อ งการจะให้
สร้างวิห ารถวาย ช้า พระพุท ธเจ้า ทั้ง หลายจะพึง ปฏิป ่ต ิอ ย่า งไร

พระพุทธเจ้าช้า”

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๑๙๙ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ทรงอนุญาตเสนาสนะ ๕ ชนิด
ลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมีกถาเพราะเร่ือง
น้ีเป็น ด้น เหตุร ับ สงกับ ภิก ษุท ้ัง หลายว่า “ ภิก ษุท ั้ง หลาย เรา
อนุญ าตเสนาสนะ ๕ ชนิด คือ วิห าร เรือ น ม ุง แถบ เดีย ว
ปราสาท เรือ นโล้น ถ ้ํา ”
ต่อมา ภิก ษุเหล่านั้น เข้าไปหาเศรษฐีช าวกรุงราชคฤห์
ถึง ท่ีอ ยู่ ครั้น แล้ว ได้ก ล่า วกับ เศรษฐีช าวราชคฤห์ด ัง น้ีว ่า
“ ท่า นคหบดี พระผู้ม ีพ ระภาคทรงอน ุญ าตวิห ารแล้ว บัด น้ี

ท่านกำหนดกาลสมควรเถิด”
ลำดับ นั้น เศรษฐีชาวกรุงราชคฤห็ให้สร้างวิหาร ๖0 หลัง
โด ยใชัเวลาแค่เพีย งวัน เดีย ว คร้ันให้สร้างเสร็จแล้วจึงไปเข้า
เสาพระผู้มีพระภาคถึงท่ีประทับ”

(แล้ว กราบทูล นิม นต์พ ระองค์แ ละคณะสงฆ์ ฉัน ภัต -


ตาหารท่ีเรือนในวันรุ่งขึ้นเม่ือพระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จแล้ว)..
ได้ก ราบทูล ว่า “ ข้าพระพุท ธเจ้า ต้อ งการบุญ ต้อ งการสวรรค์
จึง ให้ส ร้า งวิห าร ๖๐ หลัง นี้ใ วั ข้า พระพุท ธเจ้า จะปฏิบ ัต ิใ น
วิหารเหล่านี้อย่างไรเล่า พระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้าตรัส ว่า “ คหบดี ถ้าเช่น นั้น ท่า น
จงถวายวิห ารเหล่า นั้น แก่ส งฆ์ใ นทิศ ทั้ง ๔ ผู้ม าแล้ว และยัง
ไม่มา”

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๐0 ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
คาถาอนุโมทนาการถวายวิหาร

ลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคทรงอนุโมทนาเศรษฐีชาวกรุง
ราชคฤห์ด้วยพระคาถาเหล่าน้ีว่า

“วิหารย่อมป้องกันความหนาวร้อนและสัตว์ร้าย
นอกจากน้ัน ยังป้องกันงู ยุงและฝนในคราวหนาวเย็น
นอกจากน้ันยังป้องกันลมแดดอัน ร้อนจัดท่ีเกิดข้ึน
การถวายวิห าร แก่สงฆ์ เพ่ือ หลีกเร้นอยู่
เพ่ือความสุข เพ่ือเพ่งพินิจ และเพื่อเห็นแจ้ง
พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรรเส่ริญ ว่าเป็นทานอันเลิศ
เพราะ ฉะนั้น ผู้ฉลาด เมื่อเห็น ประโยชน์ข องตน
พึงสร้างวิหารอันรื่น รมย์ถวายภิกษุผู้พหูสูตให้อยู่ในที่นี้

เถิด
อีกประการหนึ่งผู้เป็นบัณฑิตมีจิตเลื่อมใสในภิกษุพหูสูต
ผู้ปฏิบัติตรง พึง ถวาย ข้าว น้ํา ผ้า
และ เสนาสนะ อันควรแก่ท่านเหล่านั้น
ท่านเหล่านั้นย่อมแสดง ธรรมอันเป็นเหตุ บรรเทาสรรพ
ทุก ข์ แก่เขา
ซ่ึงเมื่อเขาร้ท้ัวถึงแล้วจะเป็นผู้ใม่มีอาสวะปรินิพพานได้[น
ชาตินี้”

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๐๑ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
คร้ันเม่ือ พระผู้ม ีพ ระภาคทรงอนุโมทนาเศรษฐีชาวกรุง
ราชคฤห์ ด้ว ยพระคาถาเหล่านี้เสร็จแล้ว ทรงลุก จากอาสนะ

เสด็จกลับ

ก าร จ ัด ท ี่พ ัก ส งฆ ์ต าม ค ุณ ส ม บ ัต ิ

พระทัพพมัลลบุตรไดรบแต่งตั้งเป็นผู้ดูแลเสนาสนะและ
จัด การภัต ตาหารถวายสงฆ ์ ซึ่ง ในขณะน้ัน ท่า นเป็น พระ
อรหันต์อายุ ๗ ขวบ แต่ก็สามารถจัดการงานได้ต็อย่างไม่มีท่ีดิ
โดยการจัด แบ่ง ตามคุณ ลัก ษณะของสงฆ์ ดังปรากฏในปฐม
ทุฎ ฐโทสสกขาบทดังน้ี

ป ฐ ม ท ุก ฐโท ส ส ิก ข าบ ท

เร่ือ งพระทัพ พมัล ลบุต ร ๗๙

สมัยนั้น พระผู้ม ีพ ระภาคพุท ธเจ้าประหับ อยู่ ณ พระ


เวฬุว ัน สถานที่ใ ห้เหยื่อ กระแต เขตกรุง ราชคฤห์ ครั้งนั้น
ท่านพระทัพ พมัลลบุต ร บรรลุอรหัตตผล เมื่ออายุ ๗ ขวบ คุณ
วิเศษอย่า งใดอย่า งหนึ่ง ที่พ ระสาวกพึง บรรลุ ท่านก็ได้บ รรลุ
แล้วทั้งหมด ไม่มีกิจอะไรๆ ที่จ ะพึง ทำยิ่ง กว่า นี้ หรือ กิจ ที่ท ำ
เสร็จแล้วซึ่งจะทำเพิ่มเดิมอีกก็ไม่มี

วิ มหา. มจ. ๑/ ๔๑๒

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๐๒ ปัจชัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ต่อ มา ท่า นพระหัพ พมัล ลบุต รหลีก เร้น อยู่ใ นที่ส งัด
เกิด ความคิด คำนึงอย่างนี้ว่า เราได้บรรลุอรหัตผลเม่ืออายุ ๗
ขวบ คุณ วิเศษอย่า งใดอย่า งหน่ึง ท่ีพ ระสาวกพึง บรรลุ เรา
ก็ไ ด้บ รรลุแ ล้ว ทั้ง หมด ไม่ม ีก ิจ อะไรๆ ที่จ ะพ ึง ทำยิ่ง กว่า นี้
หรือ กิจ ท่ีท ำเสร็จ แล้ว ซึ่ง จะทำเพ่ิม เติม อีก ก็ไ ม่ม ี เราควรช่วย
อะไรสงฆ์ได้บ้าง
ลำดับ น้ัน ท่านตกลงใจว่า “ ถ้ากระไร เราควรจัดแจง
เสนาสนะและแจกภัต ตาหารแก่ส งฆ์” ครั้น ออกจากที่ห ลีก
เร้น ในเวลาเย็น ได้เ ข้า ไปเสาพระผู้ม ีพ ระภาคถึง ที่ป ระทับ
คร้ัน ถึง แล้ว ได้ถ วายบัง คมพระผู้ม ีพ ระภาคแล้ว นั่ง ลง ณ ที่
สมควรแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า
“ พระพุท ธเจ้า ข้า ข้า พระพุท ธเจ้า หลีก เร้น อยู่ใ นที่
สงัด มีความคิดอย่างน้ีว่า‘เราได้บรรลุอรหัตตผลเมื่ออายุ๗ ขวบ
ฯลฯ หรือ กิจ ที่ท ำเสร็จ แล้ว ซึ่ง จะทำเพิ่ม เดิม อีก ก็ไ ม่ม ี เรา
ควรช่ว ยอะไรสงฆ์ไ ด้บ ้า ง’ พระพุท ธเจ้า ข้า ถ้า กระไร ข้า
พระพุท ธเจ้า พึง จัด แจงเสนาสนะและแจกภัต ตาหารแก่ส งฆ์
ข้า พระพุท ธเจ้า ปรารถนาจะจัด แจงเสนาสนะและแจกภัต ตา
หารแก่สงฆ์”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ ดีแล้ว ดีแล้ว ทัพ พะ ถ้าอย่างนั้น
เธอจงจัด แจง เสนาสนะและแจกภัต ตาหารแก่ส งฆ์” พระ
ทัพ พมัล ลบุต รกราบทูล รับ สนองพระพุท ธดำรัส แล้ว แต่งตั้ง
เสนาสนปัญ ญาปกะและภัต ดุท เทสกะ๑

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๐๓ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ลำดับ น้ัน พระผู้ม ีพ ระภาคทรงแสดงธรรมีก ถาเพราะ
เร่ืองนี้เป็นด้นเหตุแล้วร้บส่ังกับภิกษุทั้งหลายว่า‘ภิก ษุท ้ัง หลาย
ถ้าเช่นน้ันสงฆ์จงแต่งต้ังทัพพมัลลบุตรให้เป็นเสนาสนปัญ ญา

ป ก ะและภัต ตุท เทสกะ”


ก็แล ท่า นพระทัพ พมัล ลบุต ร ได้ร ับ แต่ง ตั้ง แล้ว ย่อ ม
จัด แจงเสนาสนะสำหรับ หมู่ภ ิก ษุผ ู้ม ีค ุณ สมบ้ด ีเสมอกัน รวม
ไว้ท ่ีเดีย วกัน ดัง น้ีด ือ
เสนาสนปัญ ญ าปกะ ดือ ภิกษุผู่ได้รับแต่งตั้งจากสงฆ์
ใหัมีหน้าที่จัดเสนาสนะ
ภ ัต ต ุท เท ส ก ะ ดือ ภิก ษุผ ู้ไ ด้ร ับ การแต่งตั้งจากสงฆ์ให้
มีห น้าที่จัด ภัตตาหารถวายสงฆ์

จัด แจงเสนาสนะสำหรับ ภิก ษุผู้ทรงพระลูตรรวมกันไว ้


แห่งหนึ่ง ด้วยประสงค์ว่า ภิกษุเหล่านั้นจักซักซ้อมพระสูตรกัน

จัด แจงเสนาสนะสำหรับ ภิก ษุผู้ทรงพระวินัยรวมกันไว ้


แห่งหนึ่ง ด้วยประสงค์ว่าภิกษุเหล่าน้ัน จักวิน ิจฉัยพระวิน ัยกัน

จัด แจงเสนาสนะสำหรับภิกษุผู้ทรงพระอภิธรรมรวมกัน
ไว้แ ห่งหน่ึง ด้ว ยประสงค์ว ่า ภิก ษุเหล่า นั้น จัก สนทนาพระ

อภิธรรมกัน
จัดแจงเสนาสนะสำหร์บภิกษุผู้ได้ฌานรวมกันไว้แห่งหน่ึง
ด้วยประสงค์ว่าภิกษุเหล่าน้ัน จักไม่รบกวนกัน

คัมภีร์สร้างวัดจากพระ'โอษฐ์ ๒๐๔ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
จัดแจงเสนาสนะสำหรับภิกษุผู้ชอบกล่าวติรัจฉานกถา ผุ้
มากไปด้วยการบำรุงร่างกายรวมกันไว้แห่งหน่ึงด้วยประสงค์ว่า
ภิกษุเหล่าน้ีจะอยู่ตามความพอใจ
ท่า นพระทัพ พมัล ลบุต วิน ้ัน เข้า เตโชกสิณ แล้วจัดแจง
เสนาสนะด้วยแสงสว่างนั้นสำหรบภิกษุที่มาในเวลาคาคืน
ภิก ษุท ้ัง หลายจงใจมาในเวลาค์า คืน ด้ว ยประสงค์ว ่า
“ พวกเราจะชมอิท ธิป าฏิห าริย์ของท่านพระทัพ พมัลลบุต ร” ก็มี
พวกเธอพากัน เข้า ไปหาท่า นพระทัพ พมัล ลบุต ร กล่า วว่า
“ ท่านจงจัดแจงเสนาสนะให้พวกกระผม”
ท่า นพ ระทัพ พ มัล ลบุต รกล่า วว่า “ ท ่า น ท ้ัง ห ลาย
ต้องการพักที่ไหนเล่าข้าพเจ้าจะจัดแจงในที่ไหน”
ภิก ษุเ หล่า นั้น จงใจอ้า งที่ไ กลๆ ว่า “ ท่า นจงจัด แจง
เสนาสนะให้พวกกระผมท่ีภูเขาคิชฌกก... ที่เหวสำหร่บทิ้งโจร...
ท่ีก าฬสิล าช้า งภูเขาอิส ิค ืล ิ- ที่ถ้ําสัตตบรรณ คูห าข้างภูเขาเว
ภาระ... ท ่ีเง้ือมเขาสู้ปปโสณฑิกะใกล้สิตวัน- ท่ีชอกเขาโคดม
กะ... ที่ซ อกเขาดิน ทุกะ... ที่ช อกเขาตโปทกะ- ที่ตโปทาราม...
ท่ีช ีว กัม พ ูว ัน - ท่า นจงจัด แจงเสนาสนะ ให้พ วกกระผมท่ี

มัททกุจ ฉิม ฤคทายวัน ”


ท่า นพระหัพ พมัล ลบุต รเข้า เตโชกสิณ ใช้อ งคุล ีส ่อ ง
แสงสว่า งเดิน นำหน้า ภิก ษุเ หล่า นั้น ท่า นเหล่า นั้น เดิน ตาม
พระทัพ พมัล ลบุต รไปด้ว ยแสงสว่า งน้ัน ท่า นได้จ ัด แจงเสนา

ต้มภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๐๕ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
สนะสำหรับ ภิก ษุเหล่าน้ัน ชี้แจงว่า “ น่ีเตียง น่ีต่ัง น่ีฟูก น่ีหมอน
น่ีท ี่ถ ่า ยอุจ จาระ น่ีท ่ีถ ่า ยปัส สาวะ นี่น้ัาฉัน น่ีน ํ้า ใช้ นี่ไม้เท้า
น่ีร ะเบีย บกติก าสงฆ์ ควรเช้า เวลานี้ ควรออกเวลานี้” ครั้น
จัดแจงเสร็จแล้วจึงกลับมาพระเวฬุวันวิหารตามเดิม

หลักในการพิจารณาเสนาสนะที่เหมาะสม

มีส่วนประกอบในการตัดสินใจหลัก ๒ ประการ คือ


๑. ผลของการปฏิบ้ดิในสถานที่นั้นๆ เป็นอย่างไรหรือ
ผลของการปฏิบ ัต ิโ ดยเช้า ไปอาศัย บุค คล(ใน
ฐานะครู)
๒. มีปัจจัย ๔ เพียงพอหรือไม่

วนปัตถสูตรี,'0

ว่าด้วยการอยู่ป่า

สมัยหน่ึง พระผู้ม ีพ ระภาคประทับ อยู่ ณ พระเขตวัน


อารามของอนาถบิณ ฑิก เศรษฐี เขตกรุงสาวัต ถี ณ ที่นั้นแล
พระผู้มีพระภาคไดรบตั่งภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า
“ ภิก ษุท ั้ง หลาย’ภิกษุเหล่านั้นทูลร้บสนองพระดำรัสแล้ว
พระผู้ม ีพ ระภาคได้ต รัส เร่ือ งน้ีว ่า ภิก ษ ุท ั้ง หลาย เราจัก
แสดงธรรมบรรยายว่าด้วยการอยู่ป้าแก่เธอทั้งหลาย

๘0 ม. มู. มจ. ๑๒/ ๒๐๔, มก. ๑๘/ ๑๘๖

ดัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๐๖ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว
“ ภิก ษุท ้ัง หลาย ภิก ษุในธรรมวิน ัย นี้ เข้า ไปอยู่อ าศัย
ป่าทึบ แห่งใดแห่งหน่ึง เม่ือ เธอเข้า ไปอยู่อ าศัย ป่า ทึบ นั้น สติ
ท่ียังไม่ป รากฏก็ไม่ป รากฏ จิต ท่ียังไม่ต ้ังม่ัน ก็ไม่ต ้ังมั่น อาสวะ
ท่ียังไม่ส้ินไปก็ไม่ส้ินไป และภิกษุน ้ันก็ไม่บ รรลุธรรมอัน เป็น
แดนเกษมจากโยคะอัน ยอดเย่ีย มท่ีต นยัง ไม่ไ ด้บ รรลุ ส่ว น
ปัจ จัย เคร่ือ งดำรงชีว ิต คือ จีว รบิณ ฑบาต เสนาสนะ และ
คืล านปัจ จัย เภสัช บริข าร ที่บ รรพชิต จำต้อ งนำมาใช้ส อย
ย่อ มเกิด ข้ึน ไดโดยยาก ภิก ษุน ั้น ควรพิจ ารณาอย่า งนี้ว ่า เรา
เข้ามาอยู่อ าศัย ป่าทึบ น้ี
เมื่อ เราเข้ามาอยู่ป ่าทึบ นี้ส ติท ี่ยังไม่ป รากฏก็ไ ม่ป รากฏ
จ ิต ท ยี่ ังไม่ต้ังมั่นก็ยังไม่ต้ังม่ัน อาสวะท่ยี ังไม่สิ้นไปก็ไม่ส้ินไป
และ เราก็ยังไม่ได้บ รรลุธ รรมอันเป็นแดนเกษมจากโยคะอัน
ยอดเย่ียมท่ียังไม่ได้บรรลุส่วนปัจ จัย เครื่อ งดำรงชีว ิต คือ จีวร
บ ิณ ฑ บ าต เสนาสนะ และ ต ิล าน ป ัจ จัย เภ สัช บ ริข ารท ่ี
บรรพชิตจำเป็นต้องใช้สอย ย่อ มเกิด ขึ้น ได้โ ดยยากภิก ษุน ั้น
ควรหลีก ไปจากป่า ทึบ นั้น ไม่ควรอยู่ในเวลากลางคืนหรือใน

เวลากลางวัน...

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๐๗ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
เห ต ุผ ล ก าร อ ย ู่ป ่า
อน่ึง ภิก ษุในธรรมวิน ัย น้ี เข้า ไปอยู่อ าศัย ป่า ทึบ แห่ง
ใดแห่งหน่ึงเม่ือเธอเข้าไปอยู่อาศัยป่าทึบน้ัน สติท่ียังไม่ปรากฏ
ก็ป รากฏจิตท่ียังไม่ต้ังมั่นก็ต ้ัง ม่ัน อาสวะทีย่ ังไม่สิ้นไปก็สินไป
และ ภ ิก ษ ุน ั้น ก ็บ ร ร ล ุธ ร ร ม อัน เป็น แดนเกษมจากโยคะ
อัน ยอดเย่ีย มที่ย ัง ไม่ไ ด้บ รรลุ ส่วนป ัจ จ ัย เค ร ่ือ งด ำร งช ีว ิต

ดือ จีว ร บิณ ฑบาต เสนาสนะและลิล านปัจ จัย เภสัช บริข าร


ท่ีบรรพชิตจำต้องนำมาใช้สอย ย่อ มเกิด ขึ้น ได้โ ดยยาก
ภิก ษุน ั้น ควรพิจ ารณ าอย่า งนี้ว ่า ‘ เราเช้า มาอาศัย
ป่า ทึบ นี้ เม่ือ เราเข้า มาอยู่อ าศัย ป่า ทึบ นี้ สติท ี่ย ัง ไม่ป รากฏก็
ปรากฏ จ ิต ท ย่ี ัง ไม่ต ้ัง มั่น ก็ต ั้ง ม ่ัน อ าส ว ะ ท ย่ี ัง ไม่ส ้ิน ไปก็
สิน ไป และ เราก็บ รรลุธ รรมอัน เป็น แดนเกษมจากโยคะอัน
ยอดเย่ียมท่ียังไม่ได้บรรลุส่วนปัจ จัย เคร่ือ งดำรงชีว ิต ดือ จีวร
บิณ ฑบาต เสนาสนะและลิลานปัจจัย เภสัช บริข ารที่บ รรพชิต
จำต้องนำมาใช้สอย ย่อ มเกิด ข้ึน ได้โ ดยยาก

แต่เราไม่ได้ออกบวชเป็นบรรพชิตเพราะเหตุแห่งจีวร
ฯลฯ เพราะเหตุแห่ง บิณ ฑบาต ฯลฯ เพราะเหตุแห่งเสนาสนะ
ฯลฯ เราไม ่ไ ด้อ อกบ วชเป ็น บ รรพ ชิต เพ ราะเห ตุแ ห ่ง
ลิลานปัจจัยเภลัชบริขารเมื่อเป็นเช่น น้ัน
มื่อ เราเข้า ไปอยู่อ าศัย ป่า หึบ นี้ สดิท ี่ย ัง ไม่ป รากฏก็
ป รากฏ ช ืต ท ยี่ ัง ไม่ต ั้ง มั่น ก็ต ั้ง ม ั่น อ าส ว ะ ท ย่ี ัง ไม่ส ้ิน ไปก็

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๐๘ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
สินไป และ เราก็บ รรลุธ รรมอันเป็นแดนเกษมจากโยคะอัน
ยอดเย่ียมท่ียังไม่ได้บรรลุภ ิก ษุน ้ัน รู้แ ล้ว ควรอยู่ป ้า ทึบ น้ัน ไม่
ควรหลีก ไป
อน่ึง ภิก ษุในธรรมวิน ัย น้ี เข้า ไปอยู่อ าศัย ป่า ทึบ แห่ง
ใดแห่งหน่ึง “ เราก็บ รรลุธ รรม...ส่ว นปัจ จัย เครื่อ งดำรงชีว ิต ”
ย ่อ ม เก ิด ข ้ึน ไ ด ้ไ ม ่ย าก ภ ิก ษ ุน ้ัน ค ว ร อ ย ู่ใ น ป ่า ท ึบ น ั้น จ น
ตลอดชีว ิต ไม่ค วรหลีก ไป

เห ต ุผ ล ก า ร อ ย ู่อ า ศ ัย บ ้า น

ภิก ษุท ั้ง หลาย ภิกษุในธรรมวินัยน้ีเข้าไปอยู่อาศัยบ้า น


แห่งใดแห่งหน่ึง ฯลฯ เข้าไปอยู่อาศัยนิคมแห่งใดแห่งหนึ่ง ฯลฯ
เข้าไปอาศัยน ครแห่งใดแห่งหนึ่ง ฯลฯ เข้า ไปอาศัย บุค คลใด
บุคคลหนึ่งเม่ือเธอเข้าไปอาศัยบุคคลน้ันสติที่ยังไม่ปรากฎก็ไม่
ปรากฏ จ ิต ท ยี่ ังไม่ต ั้งมั่น ก็ไม่ต ั้งมั่น อ าส ว ะท ยี่ ังไม่สิ้น ไปก็
ไม่ส้ินไป และ ภิก ษุน ้ัน ก็ไ ม่บ รรลุธ รรม อัน เป็น แดนเกษม
จากโยคะอัน ยอดเยี่ย ม ส่วนปัจ จัย เครื่อ งดำรงชีว ิต คือ จีวร
บิณ ฑบาต เสนาสนะ และ ลิลานปัจจัยเภส้ชบริขารที่บรรพชิต
จำเป็น ต้องใช้ลอย ย่อ มเกิด ข้ึน ได้โ ดยยาก
ภิกษุนั้นควรพิจารณาอย่างนี้ว่าเราเข้า ไปอาศัย บุค คล
น้ี ส ต ิท ย่ี ังไม่ปรากฏก็ไม่ปรากฏ ชิต ที่ยังไม่ต ั้งมั่น ก็ไม่ต ั้งมั่น
อาสวะทีย่ ังไม่สิ้นไปก็ไม่สิ้นไป และ ภิกษุนั้นกไ็ ม่บ รรลุธ รรม
อัน เป็น แดนเกษมจากโยคะอัน ยอดเย่ีย ม ส่ว นปัจ จัย เคร่ือ ง

คมภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๐๙ ปัจจัย ๙ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ดำรงชีวิต ดือ จีวร บิณ ฑบาต เสนาสนะ และ ลิล านปัจ จัย
เภส์ชบริขารท่ีบรรพชิตจำเป็นต้องนำมาใช้สอย ย่อ มเกิด ข้ึน ได้
โดยยาก
ภิก ษุน ้ัน ไม่ต ้อ งบอกลา ควรหลีก ไปในเวลากลางคืน
หรือ ในเวลากลางวันไม่ค วรติด ตามบุค คลน้ัน เลย
อน่ึงภิกษุในธรรมวินัยน้ีเช้าไปอาศัยบุคคลใดบุคคลหน่ึง
เมื่อเธออาศัยบุคคลนั้น สดิที่ยังไม่ปรากฏก็ไม่ปรากฏ จิต ที่ย ัง
ไม่ตั้งนั้นก็ไม่ต้ังม่ัน อาสวะท่ยี ังไม่ส๋ินไปก็ไม่สิ๋นไป และภิกษุน้ัน
ก็ไ ม่บ รรลุธ รรม อันเป็นแดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยม
ส่วนปัจจัยเคร่ืองดำรงชีวิต ดือ จีวร บิณ ฑบาต เสนาสนะ
และลิลานปัจจัยเภส้ชบริขารท่ีบรรพชิตจำเป็นต้องนำมาใช้สอย
ย่อ มเกิด ข้ึน ได้โ ดยไม่ย าก

แต่เราไม่ไ ด้อ อกจากเรือ นบวชเป็น บรรพชิต เพราะ


เหตุแห่ง จีวร ฯลฯ เพราะเหตุแห่ง บิณ ฑบาต ฯลฯ เพราะ
เหตุแห่ง เสนาสนะ
แต่เราไม่ไ ด้อ อกจากเรือ นบวชเป็น บรรพชิต เพราะ
เหตุแห่งลิลานปัจจัยเภส้ชบริขารเม่ือเป็น เช่น น้ัน
เม่ือ เราเช้าไปอยู่อ าศัยบุค คลนี้ สติท ี่ยังไม่ป รากฏก็ไม่
ปรากฏ จิต ที่ย ัง ไม่ต ั้ง มั่น ก็ไ ม่ต ั้ง มั่น อาสวะที่ย ัง ไม่ส ิ้น ไปก็
ไม่สิ้นไป และ ภิกษุนั้นก็ไม่บ รรลุธ รรม อันเป็นแดนเกษมจาก
โยคะอันยอดเยี่ยม

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑๐ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ภิกษุนั้นถึงรู้แล้วก็ค วรบอกลาก่อ นแล้ว จึงไป ไม่ควร
ติด ตามบุค คลน้ัน เลย
อน่ึง ภิก ษุใ นธรรมนี้เข้า ไปอาศัย บุค คลใดบุค คลหน่ึง
เม่ือเธออาศัยบุคคลน้ัน
สติท ย่ี ัง ไม่ป รากฏก็ป รากฏ จิต ท่ีย ัง ไม่ต ้ัง มั่น ก็ต ั้ง ม่ัน
อาสวะทีย่ ังไม่ส้ินไปก็ส้ินไปและภิกษุย่อมบรรลุธ รรม อันเป็น
แดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยมที่ยังไม่ได้บรรลุ
ส่วนปัจจัยเคร่ืองดำรงชีวิต ดือ จีวร บิณ ฑบาต เสนสนะ
และคิลานปัจจัยเภส์ชบริขารท่ีบรรพชิตจำเป็นต้องนำมาใช้สอย
ย่อมเกิดขึ้นได้โดยไม่ยาก
ภิกษุค วรพิจารณาอย่างน้ีว่าเราเข้าไปอาศัยบุค คลผู้น ้ี”
ภิก ษุค วรติด ตามบุค คลน้ัน ไปจนตลอดชีว ิต
ไม่ควรหลีกไปแม้จะถูกขับไล่ก็ตาม

จะเห็นได้ว่าพระสูตรให้ความสำคัญของผล ๒ ประการ

๑. ในสถานที่ (ป ่า ) หรือ บุค คล(หมายถึง ครูบ า


อาจารย์) ที่เราเข้าไปอยู่อ าศัย บำเพ็ญ เพีย ร มี
ผลเอื้อต่อการปฏิบ ้ติก้าวหน้า เพียงไร

๒. มีป ัจ จัย ๔ เพียงพอหรือไม่ มีค วามสำคัญ เป็น


ลำดับ รองลงไป หากผลการ ปฏิบ ัต ิธ รรมดีก ็

คมภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ควรอยู่ในที่น้ันต่อไป หากในสถานที่ใด หรือ ถ้า
มีองค์ประกอบครบถ้วนทั้ง ๒ อย่าง คือเมื่ออยู่แล้ว
ผลของการปฏิบัติด ี และปัจจัย ๔ ไม่ฟิดเคือง ก็
ย่ิงดีควรเลือกอยู่ในสถานท่ีน้ันตลอดไป

ด ิล า น ป ัจ จ ัย เภ ส ัช ท ่ีจ ํๆ เป ็น

มีเร่ืองกล่าวถึงในเภลัช ชขัน ธกะปัญ จเกส้ช ชกถาดังน้ี

เภสัช ชขัน ธกะ ปัญ จเภสัช ชกถ ๘๑

ว่า ด้ว ยทรงอนุญ าตเภสัช ๕

เร่ืองภิกษุอาพาธในฤดูสารท

สมัย นั้น พระผู้ม ีพ ระภาคประทับ อยู่ ณ พระเขตวัน


อารามของอนาถ ป็ณ ฑิก เศรษฐี เขตกรุง สาวัต ถึ ครั้ง นั้น
ภิก ษุท ั้ง หลายป่ว ยด้ว ยอาพาธท่ีเกิด ในฤดูส ารท แม้ข้าวต้ม
ท่ีด ่ืม กิน เข้า ไปก็ก ลับ อาเจีย นออกมา แม้ข ้าวสวยที่ฉ ัน แล้วก็
กลับ อาเจียนออกมาภิก ษุเหล่านั้น ซูบ ผอมหมองคลํ้าชืดเหลือ ง
เสนเอ็นขึ้นสะพรั้ง เพราะโรคน้ัน
พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็น ภิก ษุเหล่า นั้น ซูบผอม
หมองคลํ้า ซีด เหลือ ง เส้น เอ็น ขึ้น สะพรั้ง จึง ตรัส ถามพระ

๘" วิ. มหา. มจ. ๕/ ๔๓

คมภึร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑๒ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
อานนท์ว ่า “ อานนท์ ทำไมเวลานี้ภ ิก ษุท ั้ง หลายจึง ซูบ ผอม
หมองคล้ํา ซีดเหลือง เส้นเอ็นข้ึนสะพร่ัง”
ท่า นพระอานนท์ก ราบทูล ว่า “ เวลานี้ ภิก ษุท ้ัง หลาย
ป่ว ยด้ว ยอาพาธท่ีเ กิด ในฤดูส ารท แม้ข ้า วต้ม ที่ด ื่ม เข้า ไปก็
กลับอาเจียนออกมาแม้ข้าวสวยที่ฉันแล้วก็กลับอาเจียนออกมา
ภิก ษุเหล่า นั้น จึง ซูบ ผอม หมองคลํ้า ซีด เหลือ ง เส้น เอ็น ขึ้น
สะพร่ังเพราะโรคน้ันพระเจ้าข้า”

ทรงอนุญาตเภสัช ๕ ในกาล

คร้ังนั้น พระผู้มีพระภาคทรงหลีกเร้น ประทับ ในที่สงัด


ได้เ กิด ความดำริใ นพระหัย อย่า งนี้ว ่า “ เวลาน ี้ ภ ิก ษ ุท ั้ง
หลายป่ว ยด้ว ยอาพ าธที่เ กิด ในฤดูส ารท แม้ข ้า วต้ม ที่ด ่ืม
เข้า ไปกลับ อาเจีย นออกมา แม้ข ้า วสวยท่ีฉ ัน แล้ว ก็ก ลับ
อาเจีย นออกมา ภิก ษุเหล่าน้ัน ซูบ ผอม หมองคลา ซีด เหลือ ง
เส้นเอ็นขึ้นสะพรั่ง เพราะโรคนั้น เราจะอนุญ าตอะไรเป็น ยา
แก่ภ ิก ษุท ั้ง หลาย ซึ่ง เป็น ทั้ง ตัว ยาและชาวโลกถือ กัน ว่า เป็น
ยาท้ังจะให้ประโยชน์ทางโภชนาหาร และไม่เป็นอาหารหยาบ
อย่ากระน้ันเลย
เราพึง อนุญ าตเภสัช ๕ น้ีแ ก่ภ ิก ษุท ั้ง หลาย ให้รับ
ประเคนในกาลแล้วฉันในกาล”

คัมภีร์สร้างวัดจากหระโอษฐ์ ๒๑๓ ปัจวัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
“ ภิก ษุท ั้ง หลาย เรานั้นได้มีความคิดดังนี้ว่า ‘เภ ล ้ช ่๕ นี้
ได้แก่ เนยใส เนยข้น น้ํามัน นํ้าผ้ึง น้ํา อ้อ ย เป็น ทั้ง ตัว ยา
และชาวโลกถือ กัน ว่า เป็น ยาทั้ง ให้ป ระโยชน์ท างโภชนาการ
และไม่เป็น อาหารหยาบ เราพึง อนุญ าตเภสัช ๕ น้ีแ ก่ภ ิก ษุ
ท้ัง หลาย ให้รบประเคนในกาลแล้วฉันในกาล” ภิก ษุท ้ัง หลาย
เราอนุญ าตให้ภ ิก ษุท ั้ง หลายรับ ประเคนเภสัช ทั้ง ๕ เหล่านั้น
ในกาลแล้วฉันในกาล

มูล าทิเ ภสัช ชกถา ๔๒

ว่าตัวยทรงอนุญาตเครื่องยามีรากไม้เป็นต้น

เร่ือ งรากไม้ท ่ีเป็น ยา

สมัยนั้น ภิก ษุท ้ัง หลายผู้เป็น ไข้ ต้อ งการรากไมัท ี่เป็น


ยาภิก ษุท ้ังหลายนำเร่ืองน้ีใปกราบทูล พระผู้ม ีพ ระภาคให้ท รง
ทราบ พระผู้มีพระภาครับส่ังว่า
“ ภิก ษุท ั้ง หลาย เราอนุญ าตรากไมัท ี่เป็น ยา คือ ขมิ้น
ขิงสด ว่านนํ้า ว่านเปราะ อุตพิต ข่า แฝก แห้วหมู หรือราก
ไม้ท ่ีเ ป็น ยาชนิด อ่ืน ที่ม ีอ ยู่ ซ่ึง ไม่ใ ช่ข องเค้ีย วของฉัน รับ
ประเคนแล้ว เก็บ ไว่ไ ด้จ นตลอดชีพ เมื่อ มีเหตุจ ำเป็น ภิก ษุ
จึงฉัน ได้เมื่อไม่มีเหตุจำเป็น ภิกษุฉัน ต้อ งอาบติท ุก กฎ”

๘๒
วิ. มหา. มจ. ๕/๔๖

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑๔ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
เร่ืองรากไม้บดท่ีเป็นยา

สมัยน้ันภิกษุท้ังหลายผู้เป็นไข้ต้องการรากไม้ท่ีบดเป็น
ยา ภิกษุท้ังหลายจึงนำเร่ืองน๋ีไปกราบทูลพระผู้มีพระภาค
ให้ทรงทราบ พระผู้มีพระภาครับส่ังว่า
“ภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตหินบด ลูกหินบด”

เร่ืองน้ําฝาดท่ีเป็นยา

สมัยน้ันภิกษุท้ังหลายผู้เป็นไข้ต้องการนํ้าฝาดที่เป็นยา
ภิก ษุท ั้ง หลายจึง นำเรื่อ งนี๋ไ ปกราบทูล พระผู้ม ีพ ระภาคให้
ทรงทราบ พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ ภิก ษุท ั้ง หลาย เรา
อนุญาตน้ัาฝาดท่ีเป็นยา คือ น้ําฝาดสะเดา น้ัาฝาดโมกมัน
นํ้าฝาดขี้กา นั้าฝาดบอระเพ็ด นํ้าฝาดกระถินพิมาน หรือนั้า
ฝาดท่ีเป็นยาชนิดอ่ืนที่มีอยู่ ซ่ึงไม่ใช่ของเค้ียวของฉัน รับ
ประเคนแล้วเก็บไวใต้จนตลอดชีพ เมื่อมีเหตุจำเป็น ภิก ษุ
จึงฉันได้เม่ือไม่มีเหตุจำเป็น ภิกษุฉัน ต้องอาบ้ติทุกกฏ”

เร่ืองใบไม้ท่ีเป็นยา

สมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายผู้เป็นไข้ต้องการใบไม้ที่เป็นยา
ภิก ษุท ั้ง หลายจึง นำเรื่อ งนี๋ไ ปกราบทูล พระผู้ม ีพ ระภาคให้
ทรงทราบ พระผู้มีพระภาครับส่ังว่า “ ภิก ษุท ั้ง หลาย เรา
อนุญาตใบไม้ที่เป็นยา คือ ใบสะเดา ใบโมกมันใบขี้กา ใบแมงลัก

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑๕ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ใบสาย หรือใบไม้ท่ีเป็นยาชนิดอื่นท่ีมีอยู่ ซ่ึงไม่ใช่ของเค้ียว
ของฉันรับประเคนแล้วเก็บไวใต้จนตลอดชีพเม่ือมีเหตุจำเป็น
ภิกษุจึงฉันได้เม่ือไม่เหตุจำเป็นภิกษุฉันต้องอาบ้ติทุกกฎ”

เร่ืองผลไม้ท่ีเป็นยา

สมัยนั้น ภิกษุท้ังหลายผู้เป็นไข้ต้องการผลไม้ที่เป็นยา
ภิก ษุท ั้ง หลายจึง นำเรื่อ งนี้ไ ปกราบทูล พระผู้ม ีพ ระภาคให้
ทรงทราบ พระผู้มีพระภาครับส่ังว่า “ ภิก ษุท ั้ง หลาย เรา
อนุญาตผลไมัที่เป็นยา คือ ลูกพิดังคะ ดีปลี พริกสมอไทย
สมอพิเภก มะขามป้อม ผลโกฐ หรือผลไมัท่ีเป็นยาชนิดอ่ืน
ท่ีมีอยู่ ซ่ึงไม่ใช่ของเคี้ยวของฉัน รับประเคนแล้วเก็บไวใต้
จนตลอดชีพเม่ือมีเหตุจำเป็นภิกษุจึงฉันได้เม่ือไม่มีเหตุจำเป็น
ภิกษุฉัน ต้องอาบ้ติทุกกฎ”
(หมายเหตุรายละเอียดเรื่อง เภล้ช สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ใน มูลาทิ
เภส้ชชกถา ะ พระวินัยปิฎก มหาวรรค มจ. หนัา ๔๖- ๖๓)

พระภิกษุไม่อาจต้ังอยู่ในธรรม

พระสัม มาลัม พุท ธเจ้าตรัส ถึงกับ ดัก ของพระภิก ษุผ ู้


อยู่ในที่สงัดและตั้งใจบำเพ็ญภาวนาว่า หากเผลอใจให้ตก
อยู่ในอำนาจความอยากไดีในลาภดักการะเสียแล้ว ย่อม
เป็นเหตุให้ใม่อาจบรรลุธรรม หรืออาจสึกหาลาเพศนักบวช
ไปโดยทันที ดังปรากฎในอิจฉาสูตรดังนี้

ดัมภิร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑๖ ปัจจ้ย ๙ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
อิจฉาสูตร๘๓

ว่าด้วยความอยากได้ลาภ

พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ ภิก ษุท ้ัง หลาย บุคคล ๘


จำพวกนี้ มีปรากฎอยู่ในโลกบุคคล ๘ จำพวกไหนบ้าง คือ
๑. เม่ือภิกษุในธรรมวินัยน้ีอยู่อย่างสงัด๘๔แต่ไม่ประพฤติให้
ต่อเนื่อง๘'' ความอยากได้ลาภ๘๖ย่อมเกิดข้ึน เธอหม่ัน
พากเพีย ร พยายามเพื่อ ให้ใ ด้ล าภ เมื่อ เธอหม่ัน
พากเพียร พยายามเพื่อให้ได้ลาภ แต่ลาภก็ไม่เกิดขึ้น
เพราะไม่ได้ลาภนั้น เธอจึงเศร้าโศก ลำบากใจ ร้าไร
ทุบ อก คร้าครวญ ถึง ความเลอะเลือ น ภิกษุน ี้เรา
เรียกว่าผู้อยากได้ลาภอยู่ หมั่น พากเพียร พยายาม
เพ่ือให้ได้ลาภ เธอช่ือว่าเป็นผู้ใม่ได้ลาภ เศร้าโศก ร้าไร
และเคล่ือ นจากสัทธรรม๘๗
๒. เม่ือภิกษุในธรรมวินัยน้ีอยู่อย่างสงัด แต่ไม่ประพฤติ
ให้ต่อเน่ือง ความอยากได้ล าภย่อ มเกิด ขึ้น เธอหมั่น
พากเพีย ร พยายามเพื่อ ให้ไ ด้ล าภ เมื่อ เธอหม่ัน
๘๓ อง.. อฏฐก มจ. ๒ ๓ / ๓๕๕, มก ๓๗/ ๕๗๘
๔๔ สงัด ในท่ีน ้ีห มายถึง ความสงัด ทางกาย (อง.. อฏฐก. อ. ๓/ ๖๑/ ๒๖๘)
๘๕ ไม่ประพฤติให้ต่อเนื่อง หมายถึงไม่เจริญ วิปัสสนากัมมัฏฐานให้ต่อเนื่องกันไป (อง..
อฏฐก. อ. ๓/ ๖๑/ ๒๖๘)
๘๖ลาภ ในท่ีน ี้ห มายถึง ปัจ จัย ๔ (อง.. อฏฐก. อ. ๓/ ๖๑/ ๒๖๘)
๘๗ ส้ทธรรม ในที่น ้ีห มายถึงวิป ัส สนา (อง.. อฏฐก. อ ๓/ ๖๑/ ๒๖๘)

ดัมภีร้สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑๗ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
พากเพียรพยายามเพื่อใหํได้ลาภ ลาภก็เ กิด ขึ้น เพราะ
ได้ลาภน้ัน เธอจึง มัว เมา ประมาท เลินเล่อ ภิกษุน้ีเรา
เรีย กว่า ผู้อ ยากได้ล าภอยู่ หมั่น พากเพีย ร พยายาม
เพ่ือให้ใต้ลาภ เธอชื่อว่าเป็นผู้ได้ลาภ มัวเมา ประมาท
และเคล่ือ นจากสัท ธรรม
๓. เม่ือ ภิก ษุในธรรมวิน ัย นี้อ ย่อ ย่า งสงัด แต่ไม่ประพฤติ
ๆ 5.. ฟ’ . '. 1 .1^ ๆ .
เหต่อเนือง ความ1อยากเดลาภ ย่อ มเกิด ขน1 1แต่ เธอ เม่
หม่ัน ไม่พ ากเพีย รไม่พ ยายาม เพ่ือให้ใด้ลาภ เมื่อเธอ
ไม่ห มั่น ไม่พ ากเพียรไม่พ ยายามเพื่อ ใหํได้ลาภ ลาภ ก็
ไม่เ กิด ข้ึน เพราะไม่ได้ลาภน้ัน เธอจึง เศร้า โศก ลำบาก
ใจ ราไร ทุบอก คร้าครวญ ถึงความเลอะเลือน ภิก ษุน ี้
เราเรียกว่าผู้อยากได้ลาภอยู่ แต่ไม่หมั่น ไม่พ ากเพียร
ไม่พ ยายามเพื่อ ใหํไ ด้ล าภเธอชื่อ ว่า เป็น ผู้ไ ม่ไ ด้ล าภ
เศร้าโศก ร้าไร และเคล่ือ นจากสัท ธรรม
๔. เม่ือ ภิก ษุในธรรมวิน ัย น้ีอ ยู่อ ย่า งสงัด แต่ไม่ประพฤติ
ให้ต่อเนื่อง ความอยากได ้ล าภย่อ มเกิด ขึ้น แต่เธอไม่
หม่ัน ไม่พ ากเพียร ไม่พ ยายามเพ่ือให้ใต้ลาภ เมื่อเธอ
ไม่หมั่นไม่พากเพียรไม่พยายามเพื่อให้ใด้ลาภ แด,ลาภ
ก็เ กิด ข้ึน เพราะได้ลาภนั้น เธอจึงม ัว เม า ประมาท
เลิน เล่อ ภิก ษุน ี้เ ราเรีย กว่า ผู้อ ยากไต้ล าภอยู่ แต่ไม่
หม่ัน ไม่พ ากเพียร ไม่พ ยายาม เพื่อให้ใต้ลาภ เธอชื่อ

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๑๘ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ว่าเป็น ผูใ ด้ล าภมัว เมา ประมาท และเคล่ือ น จาก
สัทธรรม
๕. เม่ือภิกษุในธรรมวินัยน้ีอยู่อย่างสงัด แต่ไม่ประพฤติ
ให้ต่อเน่ือง ความอยาก ได้ล าภย่อ มเกิด ขึ้น เธอหม่ืน
พากเพีย ร พยายาม เพ่ือให้ใต้ลาภ เมื่อเธอหม่ืน
พากเพียร พยายามเพื่อใหํได้ลาภ แต่ลาภก็ไม่เกิดข้ึน
เพราะไม่ได้ลาภน้ัน เธอก็ไม่เศร้าโศก ไม่ลำบากใจ ไม่
ร้ัาไร ไม่ท ุบ อกคราครวญ ไม่ถ ึง ความเลอะ เลือ น
ภิกษุนี้เราเรียก ว่าผู้อยากได้ลาภอยู่ หมื่น พากเพียร
พยายามเพื่อให้ใด้ลาภ เธอชื่อว่าเป็นผู้ใม่ได้ลาภ ไม่
เศร้าโศก ไม่รีาไร และไมเ่ คลื่อ นจากสัท ธรรม
๖. เมื่อภิกษุในธรรมวินัยนี้อยู่อย่างสงัด แต่ไม่ประพฤติ ให้
ต่อเนื่อง ความอยา กได้ล าภย่อ มเกิด ขึ้น เธอหมั่น
พากเพีย ร พ ย าย าม เพื่อให้ใต้ลาภ เมื่อ เธอหมั่น
พากเพียรพยายามเพื่อให้ใต้ลาภ ลาภก็เกิด ขึ้น เพราะ
ได้ลาภนั้น เธอก็ไม่ม ัวเมาไม่ประมาทไม่เลินเล่อ ภิกษุ
น้ีเราเรีย กว่า ผู้อ ยากได้ล าภอยู่ หมั่น พากเพีย ร
พยายามเพื่อให้ใต้ลาภเธอชื่อว่าเป็นผู่ได้ลาภไม่มัวเมา
ไม่ประมาท และไม่เคล่ือ นจากสัท ธรรม
๗. เมื่อภิกษุในธรรมวินัยนี้อยู่อย่างสงัด แต่ไม่ประพฤติ
ให้ต่อเนื่อง ความอยาก ได้ล าภย่อ มเกิด ขึ้น แต่เธอไม่

คัมภีร์สร้างวดจากพระโอษฐ์ ๒๑๙ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
หมน ไม่พ ากเพียร ไม่พ ยายามเพ่ือให้ได้ลาภ เมื่อเธอ
ไม่ห มื่น ไม่พ ากเพียรไม่พ ยายามเพ ื่อ ให้ได้ลาภ ลาภ ก็
ไม่เ กิด ข้ึน เพราะไม่ได้ลาภน้ัน เธอก็ไ ม่เศร้า โศก ไม่
ลำบากใจ ไม่ราไร ไม่ท ุบ อกคราคร วญ ไม่ถ ึง ความ
เลอะเลือนภิกษุน้ีเราเรียกว่าผู้อยากได้ลาภอยู่แต่ไม่หมื่น
ไม่พ ากเพีย รไม่พ ยายามเพ ื่อ ให์ไ ด้ล าภ เธอชื่อ ว่า
เป็นผู้ไม่ได้ลาภไม่เศร้าโศกไม่ร้ัาไรและไม ่เ คลื่อ นจาก
สัท ธรรม
เม่ือ ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีอ ยู่อ ย่า งสงัด แต่ไม่ประพฤติ
ให้ต่อเน่ือง ความอย ากได้ล าภย่อ มเกิด ขึ้น แต่เธอไม่
หม่ัน ไม่พ ากเพียร ไม่พ ยายามเพ่ือให้ได้ลาภ เมื่อเธอ
ไม่หมั่นไม่พากเพียรไม่พยายาม เพื่อให้ได้ลาภ แต่ล าภ
ก็เ กิด ข้ึน เพราะได้ลาภน้ัน เธอไม่ม ัว เมา ไม่ประมาท
ไม่เลินเล่อภิกษุน้ีเราเรียกว่าผู้อยากได้ลาภอยู่แต่ไม่หม่ัน
ไม่พ ากเพีย ร ไม่พ ยายามเพ ื่อ ให้ไ ด้ล าภ เธอชื่อ ว่า
เป็นผู้ได้ลาภ ไม่มัวเมา ไม่ประมาท และไม่เ คล่ือ นจาก
สัท ธรรม
ภิก ษุท ั้ง หลาย บุคคล ๘จำพวกนี้แล มีปรากฎอยู่ในโลก”
จากข้อสังเกตในพระสูตรนี้พบว่า
ซิ. เมื่อใดทื่พระภิกษุเศร้าโศกเพราะไม่ได้ลาภส้กการะ
เม่ือน้ันย่อมเคลื่อนจากพระส์ทธรรม

คัมภีร์สร้างวัดจากหระโอษฐ์ ๒๒๐ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
๒. เมื่อใดที่พระภิกษุมัวเมาเพราะการได้ลาภสักการะ
เม่ือน้ันย่อมเคลื่อนจากพระล้ทธรรม
๓. เมื่อ ใดภิก ษุม ีจ ิต ไม่ห ว่ัน ไหว ดือ ไม่เศร้า เสีย ใจ
ในยามไม่ไ ด้ล าภลัก การะ และไม่ม ัว เมาแม่ใ น
ยามได้ล าภสัก การะ ภิก ษุน ้ัน ย่อ มต้ัง อย่ใ นพระ

สท่ธรรม มีก ารขจดอาสวกแลสใหัห มดไป 2


หวังได้

พระพุทธศาสนาตั้งอยู่ไม่นาน

เพราะพุทธบุตรขาดการ่ฟิกนิสสัย ๔
ในสมัย พุท ธกาลได้ม ีป ัญ หาใหญ่เกิด ข้ึน ถึง ข้ัน กระทบ
กระเทือ นการปกครองสงฆ์ท ่ีม ีพ ระสัม มาลัม พ ุท ธเจ้า เป็น
ประมุข ทีเ ดีย ว น้ัน ดือ เร่ือ งท่ีพ ระภิก ษุอ าคัน ตุก ะบวชใหม่
ก่อการกระทบกระทั่งกับ พระภิก ษุเจ้าถิ่น เพราะการแย่งปัจ จัย
๔ จ น ก ระท ่ัง ส ่ง เล ีย งอ ื้อ อ ึง ด ัง ล ่ัน ไป ท ่ัว กระเท ือ น ถึง
พ ระพ ุท ธองค์ต ้อ งเสด็จ มาออกพ ระโอษฐ์ข ับ ไล่เ หล่า พ ระ
ภิกษุนั้นด้วยพระองค์เองแต่ภายหลังญาติโยมมาวิงวอนขอร้อง
พระองค์จ ึง ตรัส เรีย กภิก ษุเหล่า น้ัน มาอบรมถึง อัน ตรายจาก
การไม่ฟิกตนของพระภิกษุบวชใหม่ ดังปรากฏใน จาตุม สูต ร
ดังน้ี

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษธฺ ๒๒๑ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
จาตุมสูตร๘๘

ว่าด้วยเหตุการณ์[นหมู่บ้านจาตุมา

เร่ืองพระอาคันตุกะพูดเสียงดัง
สมัยหน่ึง พระผู้ม ีพ ระภาคประทับ อยู่ ณ อามลกีว ัน
หมู่บ ้า นจาตุม า สมัยนั้นแล ภิก ษุป ระมาณ ๔0 0 รูป มีท ่าน
พ ระสารีบ ุต รและท่า นพ ระมหาโมคคัล ลานะเป็น หัว หน้า
เดิน ทางมาถึง บ้า นจาตุม าเพ่ือ เข้า เสาพระผู้ม ีพ ระภาค ภิก ษุ
อาคันตุกะเหล่าน้ันสนทนาปราศรัยกับภิกษุเจ้าถิ่นจัดเสนาสนะ
เก็บบาตรและจีวรอยู่ ส่งเสียงดังอ้ืออึง
คร้ังนั้น พระผู้ม ีพ ระภาครับ ส่ัง เรีย กท่า นพระอานนท์
มาตรัส ถามว่า “ อานนท์ผ ู้ท ่ีส ่ง เสีย งดัง อ้ือ อึง เหมือ นชาว
ประมงแย่งปลากัน เป็นภิกษุพวกไหน”
ท่า นพระอานนท์ท ูล ตอบว่า “ ข้า แต่พ ระองค์ผ ู้เจริญ
ภิก ษุป ระมาณ ๕ 0 0 รูป มีท ่า นพระสารีบ ุต รและท่า นพระ
มหาโมคดัล ลานะเป็น หัว หน้า เดิน ทางมาถึง บ้า นจาตุม า
เพ ่ือ เข้า เสาพ ระผู้ม ีพ ระภาค ภ ิก ษ ุอ าคัน ตุก ะเห ล่า น ั้น
สนทนาปราศรัย กับ ภิก ษุเจ้า ถิ่น จัด เสนาสนะ เก็บบาตรและ
จีวรอยู่ ล่งเสียงดังอื้ออึง พระพุทธเจ้าข้า”

ม. ม. มจ. ๑๓/ ๑๗๗, มก. ๒ 0 / ๓๗๖

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๒๒ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
“ อานนท์ ถ้าเช่นน้ัน เธอจงไปเรียกภิกษุเหล่าน้ันมา
ตามคำของเราว่า
‘พระศาสดาตรัสเรียกท่านทั้งหลาย’
ท่านพระอานนท์ทูลรับสนองพระดำรัสแล้ว จึงเข้าไป
หาภิกษุเหล่านั้นถึงที่พักได้กล่าวกับภิกษุเหล่านั้นว่า “พระ
ศาสดาตรัสเรียกท่านทั้งหลาย”
ภิกษุเหล่านั้นรับคำแล้ว เข้าไปเสาพระผู้มีพระภาค
ถึงท่ีประทับถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วนั้งณที่สมควร
พระผู้มีพระภาคตรัสกับภิกษุเหล่านั้นว่า
“ ภิก ษุท ้ังหลาย เธอทั้งหลายพากันส่งเสียงดังอื้ออึง
เหมือนชาวประมงแย่งปลากันหรือ”
ภิก ษุเหล่า นั้น กราบทูล ว่า “ ข้าแต่พ ระองค์ผู้เจริญ
ภิกษุป ระมาณ ๕00 รูป มีท่านพระสารีบุตรและท่านพระ
มหาโมคคัลลานะเป็น หัวหน้า เดิน ทางมาถึง บ้า นจาตุม า
เพ่ือ เข้า เสาพระผู้ม ีพ ระภาค ภิก ษุอ าคัน ตุก ะเหล่า น้ัน
ปราศรัยกับภิกษุเจ้าถิ่นจัดเสนาสนะ เก็บบาตรและจีวรอยู่
ส่งเสียงดังอ้ืออึง พระพุทธเจ้าข้า”
“ ภิก ษุท ้ังหลาย เธอท้ังหลายจงไป เราขอขับไล่เธอ
ท้ังหลาย เธอทั้งหลายไม่ควรอยู่ในสำนักของเรา”
ภิก ษุเหล่า นั้น ทูล รับ สนองพระดำรัส แล้ว ลุก จาก
อาสนะถวายอภิว าทพระผู้ม ีพ ระภาค กระทำประทัก ษิณ
แล้วเก็บเสนาสนะ ถือบาตรและจีวรจากไป

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๒๓ ปัจจัย ๔ เป็นทื่สบาย

kalyanamitra.org
สมัยนั้น เจ้า ศากยะชาวบ้า นจาตุม า มาประชุม กัน อยู่
ที่ห อประชุม ด้ว ยกรณีย กิจ บางอย่า ง ได้เ ห็น ภิก ษุเ หล่า นั้น
เดิน มาแต่ไ กล จึง เข้า ไปหาภิก ษุเ หล่า น้ัน ถึง ที่อ ยู่ ได้ก ล่า ว
กับ ภิก ษุเ หล่า น้ัน ว่า “ พระคุณ ท่า นทั้ง หลาย ท่า นทั้ง หลาย
จะพากันไปไหนเล่า”
ภิก ษุเ หล่า นั้น กล่า วว่า “ ท่า นผู้ม ีอ ายุท ั้ง หลาย ภิก ษุ
สงฆ์ถูกพระผู้มีพระภาคทรงขับไล่แล้ว’’
“ พระคุณ ท่า นท้ัง หลาย ล้า เช่น นั้น ขอท่า นท้ัง หลาย
จงนั้งอยู่ท ี่น ึ่ด ัก ครู่ห นึ่ง บางทีพ วกข้า พเจ้า อาจจะให้พ ระผู้ม ี
พระภาคทรงพอพระทัยได้’’
ภิก ษุเหล่า นั้น รับ คำแล้ว ลำดับ นั้น พวกเจ้า ศากยะ
ช าวบ ้า น จาต ุม าเข ้า ไป เส าพ ระผ ู้ม ีพ ระภ าค ถ ึง ท ี่ป ระท ับ
ถวายอภิว าทแล้ว น้ัง ณ ท่ีส มควรแล้ว ได้ก ราบทูล พระผู้ม ี
พระภาคว่า
“ ข้า แต่พ ระองค์ผ ู้เจริญ ขอพระผู้ม ีพ ระภาคจงทรง
ชื่น ชมภิก ษุส งฆ์ ขอจงรับ สั่ง กับ ภิก ษุส งฆ์เ ถิด ขอพระผู้ม ี
พระภาคจงทรงอนุเคราะห์๘๙ ภิกษุสงฆ็ในบัดน้ี เหมือนอย่างท่ี
เคยทรงอนุเ คราะห์ใ นกาลก่อ นด้ว ยเถิด ในภ ิก ษ ุส งฆ ์น ี้
ภิก ษุท ั้ง หลายที่ย ัง เป็น นวกะบวชไม่น าน เพ่ิงมาสู่พระธรรม
วิน ัย น้ีก ็ม ีอ ยู่ เมื่อ ภิก ษุเหล่านั้น ไม่ได้เข้าเสาพระผู้ม ีพ ระภาค
จะพึงมีความน้อยใจ มีความแปรผันไป
๘๙ อนุเคราะห์ ในท่ีน ี้ห มายถึงการอนุเคราะห์ ๒ อย่าง คือ (๑) การอนุเคราะห์ด้วยอา
มิส (๒) การอนุเคราะห์ด้วยธรรม (ม. ม. อ. ๒ / ๑๔๙/ ๑๒๙)

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๒๔ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
พ ืช ท ่ีย ัง อ่อ น เม ่ือ ข าด น ํ้า ก ็จ ะเห ่ีย วเฉ าแ ป รเป ล่ีย น
สภาพไป แม้ฉันใด ในภิก ษุส งฆ์น ้ี ภิก ษุท ้ัง หลายท่ีย ัง เป็น
นวกะบวชไม่น าน เพ่ิง มาสู่พ ระธรรมวิน ัย น้ีม ีอ ยู่ ก็ฉ ัน น้ัน

เหมือนกัน
เมื่อ ภิก ษุเ หล่า นั้น ไม่ไ ด้เ ข้า เสาพระผู้ม ีพ ระภาค จะ
พึง มีด วามน้อ ยใจ มีดวามแปรผันไป ลูก โคอ่อ นเมื่อ ไม่เห็น
แม่ก็จะร้องหาเที่ยวซมชานไป แม้ฉันใด ในภิก ษุส งฆ์น ี้
ภิก ษุท ั้ง หลายที่ย ัง เป็น นวกะบวชไม่น าน เพิ่ง มาสู่
พระธรรมวินัยน้ีมีอยู่ก็ฉันน้ันเหมือนกัน
เม่ือ ภิก ษุเ หล่า น้ัน ไม่ไ ด้เ ข้า เสาพระผัม ีพ ระภาค จะ
พึงมีความน้อยใจ มีความแปรผันไป
ข้า แต่พ ระองค์ผ ู้เ จริญ ขอพระผู้ม ีพ ระภาคจงทรง
ช่ืน ชมภิก ษุส งฆ์ ขอจงรับ ส่ัง กับ ภิก ษุส งฆ์เ ถิด ขอพระผู้ม ี
พระภาคจงทวิง อนุเคราะห์ภ ิก ษุส งฆ์ใ นบัด นี้ เหมือ นอย่า งที่
เคยทรงอนุเคราะห็ในกาลก่อนด้วยเถิดิ

พรหมอาราธนาพระพุทธเจ้า
คร้ังน้ัน ท้า วสหัม บดีพ รหมทรงทราบความรำพึง ใน
พระหัยของพระผู้ม ีพ ระภาคด้วยใจของตนแล้ว ได้อ ัน ตรธาน
จากพรหมโลกมาปรากฏในท่ีเฉพาะพระพัก ตร์ข องพระผู้ม ี
พระภาค เปรีย บเหมือ นคนที่แ ข็ง แรงเหยีย ดแขนออกหรือ คู้

ดัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๒(^ ปัจจ้ย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
แขนเข้าแล้วห่มผ้าเฉวียงปา ประนมมือไปทางที่พระผู้มี
พระภาคประทับอยู่ได้กราบทูลว่า
“ ขอพระผู้ม ีพ ระภาคจงทรงช่ืน ชมภิกษุสงฆ์ ขอจง
รับส่ังกับภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุเคราะห์
ภิก ษุสงฆ์ในบัดนี้ เหมือนกับที่เคยทรงอนุเคราะห์),นกาล
ก่อนด้วยเถิด ในภิกษุสงฆ์น้ี ภิกษุท ั้งหลายที่ยังเป็น นวกะ
บวชไม่นานเพ่ิงมาสู่พระธรรมวินัยนี้ก็มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่า
น้ันไม่ได้เข้าเสาพระผู้มีพระภาค จะพึงมีความน้อยใจ มี
ความแปรผันไป
พืช ที่ย ัง อ่อ นเมื่อ ขาดนํ้า ก็จ ะเหี่ย วเฉาแปรเปลี่ย น
สภาพไป แม้ฉันใดในภิกษุสงฆ์น้ีภิกษุทั้งหลายท่ียังเป็นนวกะ
บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้มีอยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
เม่ือภิก ษุเหล่านั้น ไม่ได้เข้าเสาพระผู้ม ีพ ระภาค จะพึงมี
ความน้อยใจมีความแปรผันไป
ลูกโคอ่อนเมื่อไม่เห็นแม่ก็จะร้องหาเที่ยวชมชานไป
แม้ฉันใด ในภิกษุสงฆ์นี้ ภิกษุทั้งหลายที่ยังเป็นนวกะ บวช
ไม่นาน เพ่ิงมาสู่พระธรรมวินัยนี้มีอยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
เมื่อภิก ษุเหล่านั้น ไม่ได้เข้าเสาพระผ้ม ีพ ระภาค จะพึงมี
ความนัอยเจมีค่™ ม่เฝรไเนไป

ข้าแต่พ ระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้ม ีพ ระภาคจงทรง


ชื่น ชมภิกษุสงฆ์ ขอจงรับส่ังกับภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มี

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๒๖ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
พระภาคจงทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ็ในบัดน้ี เหมือนกับท่ี
เคยทรงอนุเคราะห็ในกาลก่อนด้วยเถิด๙๐ พระพุทธเจ้าข้า”
เจ้า ศากยะชาวบ้า นจาตุม าและท้า วสหัม บดีพ รหม
สามารถทูลขอให้พ ระผู้ม ีพ ระภาคทรงพอพระหัย ด้วยคำ
วิงวอนเปรียบด้ว ยพืช ท่ียังอ่อน และด้วยคำวิงวอนเปรียบ
ด้วยลูกโคอ่อน
คร้ังน้ัน ท่านพระมหาโมคคัลลานะจึงเรียกภิกษุท้ัง
หลายมากล่าวว่า “ ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พวกท่านจงลุกขึ้น
จงถือบาตรและจีวรเถิด เจ้าศากยะชาวเมืองจาตุมาและท้าว
สหัม บดีพ รหมได้ก ราบทูล ให้พ ระผู้ม ีพ ระภาคทรงพอ
พระหัยแล้วด้วยคำวิงวอนเปรียบด้วยพืชที่ยังอ่อน และด้วย
คำวิงวอนเปรียบด้วยลูกโคอ่อน”
ภิกษุเหล่านั้นรับคำแล้ว จึงลุกจากอาสนะ ถือบาตร
และจีว รเข้า ไปเสาพระผู้ม ีพ ระภาคลึง ที่ป ระทับ ถวาย
อภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วนั้ง ณ ที่สมควร พระผู้มีพระ
ภาคตรัสกับท่านพระสารีบุตรว่า“สารีบ ุต รเมื่อ เราขับ ไล่ภ ิก ษุ
สงฆ์เธอได้ม ีค วามคิด อย่า งไร”
ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
เม่ือพระผู้ม ีพ ระภาคทรงขับไล่ภิกษุสงฆ์ ข้าพระองคํใด้มี
ความคิดอย่างนี้ว่า “พระผู้มีพระภาคทรงขับไล่ภิกษุสงฆ์แล้ว
บัด นี้ พระผู้มีพระภาคจักทรงมีความขวนขวายน้อย เจริญ
๙0 รูเ ทีย บ ส์.ข. (แปล) ๑๗/ ๘๐/ ๑๒๖

ดัมภีรีสร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๒๗ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน๙๑ อยู่ แม้เราท้ังหลายก็จัก มี
ความขวนขวายน้อ ย เจริญ ธรรมเครื่อ งอยู่เป็น สุข ในปัจ จุบ ัน
อยู่เช่นกัน”
“ สารีบ ุต ร เธอจงรอก่อ น เธอจงรอก่อ น ธรรมเครื่อง
อยู่เป็น สุข ในปัจ จุบ ัน จงพัก ไว้ก ่อ น เธอไม่ค วรให้ค วามคิด
เห็นปานน้ีเกิดข้ึนอีก”
ลำดับ น้ัน พระผู้ม ีพ ระภาครับ สั่ง เรีย กท่า นพระมหา
โมคดัลลานะมาตรัสว่า
“โมคคัลลานะเม่ือเราขับ ไล่ภ ิกษุสงฆ์เธอได้ม ีดวาม
คิดอย่างไร”
ท่านพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า“ข้าแต่พระองค์ผู้
เจริญ เมื่อ พระผู้ม ีพ ระภาคทรงขับ ไล่ภ ิก ษุส งฆ์ ข้า พระองค์
ไต้มีค วามคิด อย่างน้ีว่า “ พระผู้ม ีพ ระภาคทรงขับ ไล่ภ ิก ษุส งฆ์
แล้ว บัด น้ี พระผู้ม ีพ ระภาคจัก ทรงมีค วามขวนขวายน้อ ย
เจริญ ธรรมเคร่ือ งอยู่เป็น สุข ในปัจ จุบ ัน อยู่ ข้า พระองค์แ ละ
ท่านสารีบุตรจักช่วยกัน บริห ารภิกษุสงฆ์”
“ ดีล ะดีล ะโมคดัล ลานะความจริง เรา สารีบุตรหรือโมค
คัลลานะเท่านั้นควรบริหารภิกษุสงฆ์”

๘* ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในที่น ้ีห มายถึงผลสมาบด (ม.ม.อ. ๒ / ๑๖๐/ ๑๓๐)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๒๘ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ภัยของภิกษุผู้บวชใหม่ ๔ ประการ
ลำดับ นั้น พระผู้ม ีพ ระภาครับ สั่ง เรีย กภิก ษุท ั้ง หลาย

มาตรัสว่า

“ ภิก ษุท ้ัง หลาย ภัย ๔ ประการนี้ ที่คนลงไปในนํ้าพึง


ประสบภัย ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. อูมิภัย (ภัยจากคล่ืน)
๒. กุมภีลภัย (ภัยจากจระเข้)
๓. อาวัฎฎภัย (ภัยจากนาวน)
๔. สุสุกาภัย (ภัยจากปลาร้าย)
ภัย ๔ ประการน้ีแล ท่ีคนลงไปในนํ้าพึงประสบ ฉันใด

ภิก ษุท ั้ง หลาย ภัย ๔ ประกาวินี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ที่


กุล บุต รบางคนในโล กนี้ มีศ รัท ธาออกจากเร ือ นบวชเป็น
บรรพชิตในธรรมวินัยนี้พึงประสบภัย ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ

๑. อูมืภัย
๒. กุม ภิลภัย
๓. อาวัฎฏภัย
๔. สุสุกาภัย

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษซี ๒๒๙ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
อูมิภัย เป็นอย่างไร
คือ กุล บุต รบางคนในโลกนี้ มีศ รัท ธาออกจากเรือ น
บวชเป็นบรรพชิต คิดว่า ‘เราถูกชาติ(ความเกิด) ชรา(ความแก่)
มรณะ(ความตาย) โสกะ(ความเศร้า โศก) ปริเทวะ(ความ
คราครวญ) ทุก ข์( ความทุก ข์ก าย) โทมนัส (ความทุก ข์ใ จ)
อุป ายาส(ความคับ แค้น ใจ) ครอบงำ ตกอยู่ใ นกองทุก ข์ มี
ทุก ข์ป ระดัง เข้า มา ไฉนหนอ การทำกองทุก ข์ท ั้ง หมดนี้ใ ห้
สิ้นสุด จะพึง ปรากฎ’ เพื่อ นพรหมจารีด ัก เตือ นพราสอนเธอ
ผู้บ วชแลวนนว่า 'เธ อ พ ึง ก ั' ก เไ ป !โ ย ่า ง น ี้พ ึ^

พ ึง แลดูอ ย่า งนี้ พ ึง เห ลีย วดูอ ย่า งน ี้ พ ึง คู้เ ข้า อย่า งน ี้ พึง
เหยีย ดออกอย่า งน้ี พึงครองสัง ฆาฏิ บาตรและจีว รอย่า งน้ี’
เธอติดอย่างนี้ว่า‘เมื่อ ก่อ นเราเป็น คฤหัส ถ์ม ีแ ต่ต ัก เตือ นพรั๋า
สอนผู้อ ่ืน ก็ภ ิก ษุเ หล่า น้ีม ีอ ายุค ราวลูก คราวหลานของเรา
ยัง จะม าดัก เตือ น พรํ๋า สอนเรา’ เธอจึงบอกคืนสิกขากลับมา
เป็น คฤหัส ถ์ นี้เรีย กว่า ภิก ษุผ ู้ก ลัว อูม ิภ ัย บอกคืน สิก ขา
กลับ มาเป็น คฤหัส ถ์ คำว่า อูม ภ
ี ัย นีเ้ ป็น ชื่อเรียกความโกรธ
และความตับ แค้น ใจ

กุมภิลภัย เป็นอย่างไร
คือ กุล บุต รบางคนในโลกนี้ มีศ รัท ธาออกจากเรือ น
บวชเป็นบรรพชิต คิดว่า “ เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๓๐ ปัจจัย ๔ เป็นฑึ่สบาย

kalyanamitra.org
ทุก ข์ โทมนัส อุป ายาสครอบ งำ ตกอยู่ใ นกองทุก ข์ มีท ุก ข์
ประดัง เข้า มา ไฉนหนอ การทำกองท ุก ข์ท ั้ง หมดนี้ใ ห้ส ิ้น สุด
จะพึง ปรากฏ” เพื่อ นพรหมจาร ีด ัก เตือ นพรํ้า สอนเธอผู้บ วช
แล้ว น้ัน ว่า “ สิ่ง น้ีเธอควรฉัน ส่ิง น้ีเธอไม่ค วรฉัน ส่ิง น้ีเธอ
ควรบริโภค ส่ิงนี้เธอไม่ควรบริโภค ส่ิงนี้เธอควรล้ิม ส่ิงน้ีเธอ
ไม่ค วรลิ้ม ส่ิง น้ีเธอควรด่ืม สิ่ง น้ีเธอไม่ค วรดื่ม สิ่ง ที่เ ป็น
กัป ปิย ะ ๙๒ เธอควรฉัน ส่ิง ท่ีเป็น อกัป ปิ๙" เธอไม่ควรฉัน ส่ิงท่ี
เป็นกัปปียะเธอควรบริโภคส่ิงที่เป็นอกัปปิยะเธอไม่ควรบริโภค
ส่ิง ท่ีเป็น กัป ปิย ะเธอควรล้ิม สิ่งท่ีเป็น อกัป ปิย ะเธอไม่ค วรล้ิม
ส่ิง ท่ีเป็น กัป ปิย ะเธอควรด่ืม สิ่ง ท่ีเป็น อกัป ปิย ะเธอไม่ค วรดื่ม
ส่ิง น้ีเธอควรฉัน ในกาล‘'๔ ส่ิง น้ีเธอไม่ค วรฉัน ในเวลาวิก าล๙๙
สิ่งนี้เธอควรบริโภคในกาลสิ่งนี้เธอไม่ควรบริโภคในเวลาวิกาล
ส่ิงน้ีเธอควรลิ้ม ในกาล สิ่งนี้เธอไม่ค วรลิ้ม ในเวลาวิก าล สิ่ง นี้

๙๒กัป ปิย ะ หมายถึง สิ่ง ที่ถ ูก ต้อ งเหมาะสมตามพ ุท ธบัญ ญ้ต ิ เช่น ฟ้าปานะ ๘ ชนิด คือ
(๑) นํ้ามะม่วง (๒) นํ้าหว้า (๓) น่ากล้ว ยมีเมล็ด (๔) นํ้ากล้ว ยไม่ม ีเมล็ด (๕) นํา้
มะทราง (๖) นํ้าผลจัน ทน์ห รือ นาองุ่น (๗) น่าเหง้าบัว (๘) นํ้าผลมะปรางหรือน่าลิ้น จี่
เภล้ช ๕ ชนิด คือ (๑) เนยใส (๒) เนยชัน (๓) น่ามัน (๔) น่าผึ้ง (๕) น่า อ้อ ย โภชนะ
๕ ชนิด คือ (๑) ชัาวสุก (๒) ขนมสด (๓) ข้าวดู (๔) ปลา (๕) เนึ้อ รวมทั้งสิ่งที่เป็น
ยามกาลืก (สิ่ง ที่บ ริโ ภคไต้ต ั้ง แต่เข้า ถึง เที่ย ง) สัตตาหกาลิก (สิ่งที่บ ริโภคได้ภ ายใน ๗
จัน ) และยาวชีริก (ส่ิงท่ีบริโภคได้ตลอดชีวิต คือ เกลือ มูตร คูถ เถ้า ดิน ) (ดูเ ทีย บ ริ.
มหา. (แปล) ๒ / ๒๓๘-๒๕๖/ ๓๙๕-๔๐๙)
๘๓ อกัป ปยะ หมายถึง ส่ิง ท่ีไ ม่ถ ูก ต้อ งไม่เหมาะสมตามพุท ธบัญ ญ้ต ิ ซึ่ง ตรงกัน ข้า มกับ ส่ิง

ท่ีเป็น กัป ปิย ะ


๙๔ กาล หมายถึงเวลาต้ังแต่อ รุณ ข้ึน ถึงเท่ีย งจัน (สํ. ส. อ. ๑/ ๔/ ๒๒)
๙๕ ดูเซิงอรรถที่ ๓ ข้อ ๑๑ (กันทรกสูตร)

คมภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๓๑ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
เธอควรดื่มในกาล สิ่งนี้เธอไม่ค วรดื่ม ในเวลาวิก าล” เธอคิด
อย่างนี้ว่า“เมื่อก่อนเราเป็นคฤหัสถ์เคี้ยวกินสิงท่ีเราต้องการ
ไม่เคี้ยวกินสิงท่ีเราไม่ต้องการ บริโภคสิงท่ีเราต้องการ
ไม่บริโภคส่ิงท่ีเราไม่ต้องการ ล้ิม สิ่ง ท่ีเราต้อ งการ ไม่
ล้ิมส่ิงท่ีเราไม่ต้องการ ด่ืมสิ่งท่ีเราต้องการ ไม่ด่ืมส่ิงท่ี
เราไม่ต้องการ เคี้ยวกิน ทั้ง สิ่ง เป็น กัป ปีย ะและสิ่ง เป็น
อกัปปียะ บริโภคท้ังสิ่งเป็นกัปปียะและส่ิงเป็นอกัปปิยะ
ล้ิม ท้ัง ส่ิง เป็น กัป ป็ย ะและสิ่ง เป็น อกัป ปีย ะ ดื่ม ทั้งสิ่ง
เป็น กัป ปีย ะและสิ่ง เป็น อกัป ปีย ะ เคี้ย วกิน ทั้ง ในกาล
และในเวลาวิก าล บริโภคทั้งในกาลและในเวลาวิก าล
ล้ิม ทั้ง ในกาลและ ในเวลาวิก าล ดื่ม ท้ัง ในกาลและใ น
เวลาวิก าล สิ่งใดที่ประณีตไม่ว่าจะเป็น?เองเคี้ยวหริอ
ของบริโภค ที่ค หบดีผ ู้ม ีศ รัท ธาถวายแก่เราท้ังในกาล
และในเวลาวิก าล ภิก ษุเหล่า นี้ ทำเหมือ นป็ด ปากแม้
ในส่ิงของ เหล่านั้น” เธอจึงบอกคืนสิกขากลับมาเป็นคฤหัสถ์
นี้เรียกว่าภิกษุผู้กลัวกุมภีลภัยบอกคืนสิกขากลับมาเป็นคฤหัสถ์
คำว่า กุมภีลภัย น้เี ป็นช่ือเรียกความเป็นคนเห็นแก่ปากท้อง

อาวัฏ ฏภัย เป็น อย่างไร


คือ กุล บุต รบางคนในโ ลกนี้ มีศ รัท ธาออกจากเร ือ น
บวชเป็นบรรพชิต ลิด ว่า “ เราถูกชาติ ชรา มรณะโสกะ ปริเทวะ
ทุก ข์ โทมนัส อุป ายาสครอบงำ ตกอยู่ใ นกองทุก ข์ มีท ุก ข์

คัมภีร์สร้างวดจากพระโอษฐ์ ๒๓๒ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ประดัง เข้า มา ไฉนหนอ การทำกองทุก ข์ท ้ัง หมดน้ีใ ห้ส ิ้น สุด
จะพึงปรากฏ” เธอบวชอยู่อย่างน้ีในเวลาเข้าครองอัน ตรวาสก
ถือ บาตรและจีว ร เข้า ไปบิณ ฑบาตตามหมู่บ ้า นหรือ ตำบล
ไม่ร ัก ษากาย ไม่ร ัก ษาวาจา มีส ติไม่ต ั้งมั่น ไม่ส ำรวมอิน ทรีย ์
เธอเห ็น ค ห บ ด ีห รือ บ ุต รค ห บ ด ีใ น ห ม ู่บ ้า น ห รือ ต ำบ ลน ้ัน
ผู้'เอิบอ่ิม พร่ังพร้อม บำเรอตนด้ว ยกามคุณ ๕ ประการ คิด
อย่างนี้ว่า “ เม่ือ ก่อ น เราเป็น คฤหัส ถ์ผ ู้เ อิบ อ่ิม พรั่ง พร้อ ม
บ ำ เร อ ต น ด ้ว ย ก า ม ค ุณ ๕ ป ร ะ ก า ร โ ภ ค ท ร ัพ ย ์ใ น
ต ร ะ ก ูล ข อ ง เร า ก ็ม ีอ ย ู่พ ร ้อ ม เร า ส าม าร ถ ท ี่จ ะ ใ ช ้ส อ ย
โภคท รัพ ย์แ ละทำบ ุญ ได้” เธอจึง บอกคืน สิก ขากลับ มาเป็น
คฤหัส ถ์
น้ีเรีย กว่า ภิก ษุผ ู้ก ลัว อาวัฎ ฎภัย บอกคืน สิก ขากลับ
มาเป็น คฤหัส ถ์ คำว่า อาว่ฏ ฏภัย น ้ี เป็น ชื่อเรียกกาม คุณ ๕

ประการ

ส ุส ุก า ภ ัย เป ็น อ ย ่า งไ ร

คือ คุล บุต รบางคนในโลกนี้ มีศ รัท ธาออกจากเรือ น


บวชเป็นบรรพชิต คิดว่า ‘เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ
ทุก ข์ โทมนัส อุป ายาสครอบงำ ตกอยู่ใ นกองทุก ข์ มีท ุก ข์
ประดัง เข้า มา ไฉนหนอ การทำกองทุก ข์ท ้ัง หมดน้ีใ ห้ส ิ้น สุด
จะพึงปรากฎ’ เธอบวชอยู่อ ย่างนี้ในเวลาเข้าครองอัน ตรวาสก
ถือ บาตรและจีว รเข้า ไป บิณ ฑบาตตามหมู่บ ้า นหรือ ตำบล

คมภีรัสร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๓๓ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ไม่รักษากาย ไม่รักษาวาจา มีสติไม่ต้ังม่ันไม่สำรวมอินทรีย์
เธอเห็นมาตุคาม(สตรี)ในหมู่บานหรือนิคมนั้น1 นุ่งไม่
เรียบร้อยหรือห่มไม่เรียบร้อย ราคะรบกวนจิตของเธอ
เพราะเห็นมาตุคามนุ่งไม่เรียบร้อย หรือห่มไม่เรียบร้อย
เธอมีจิตพึงซ่านเพราะราคะ จึงบอกคืนสิกขากลับมาเป็น
คฤหัสถ์ น้เี รียกว่า ภิกษุผู้กลัวสุสุกาภัย บอกคืนสิกขากลับมา
เป็นคฤหัสถ์คำว่า สุส ก
ุ าภัยน้เี ป็นช่ือเรียกมาตุคาม
ภิก ษุท ้ัง หลาย ภัย ๔ ประการน้ีแล ท่ีกุลบุตรบาง
คนในโลกน้ี มีศรัทธาออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตใน
ธรรมวินัย นี้พึงประสบ๙๖”
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสภาษิตน้ีแล้ว ภิกษุเหล่านั้นมีใจ
ยินดีต่างช่ืนชมพระภาษิตของพระผู้มืพระภาค ดังน้ีแล

จากพระสูตรน้ีมีข้อสังเกตว่า
๑. แ ม ้พ ระภิก ษ ุบ วชให ม่จ ะได้พ ระอุป ัช ฌ าย์
อาจารย์ดีเพียงใดก็ตาม แต่หากตนไม่ฟิกฝน
อบรมตนเองตามคำต้ังสอนของท่าน ย่อมไม่
อาจแล้ไขนิสัยเดิมๆ ที่ด ิด มาจากครั้ง ยัง เป็น
คฤหัส ถ์ใต้ เปรียบเหมือนผลไม้ใม่ยอมลืมด้น
คนไม่ยอมลืมอดีต

ดูเทียบ องฺ. จตุกก. (แปล) ๒๑/๑๒๒/๑๘๔-๑๘๖

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๓๔ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
๒. การเปลี่ยนจากนิสัยคฤหัส ถ็ให้เป็น นิสัยสมณะ
ต้องปฏิบัตินิสลัย ๔ อย่างจริงจัง ด้วยความพอ
ใจตามท่ีมียินดีตามท่ีได้ รู้จักประมาณในการรับ
รู้จักพิจารณาในการใช้ และต้องรู้จักการวางตัว
และการใช้ส ่ิง ของให้เ หมาะสมกับ ฐานะและ
สมณเพศ
๓. การปกครองคณะสงฆ์นั้น จะล่มสลายลงไปทันที
หากพระภิก ษุเถระไม่อ าจเดือ นพระภิก ษุบ วช
ใหม่ให้อยู่ในโอวาทได้ เพราะเมื่อเดือนกันไม่ได้
ก็แสดงว่าไม่มีกัลยาณมิตร เมื่อไม่มีกัลยาณมิตร
ก็จ บส้ิน พรหมจรรย์ เพราะกัล ยาณมิต รเป็น
ท้ังหมดของพรหมจรรย์
๔. เมื่อรับคนเช้ามาแล้ว ไม่มีการ'ฝึกอบรม หมู่
สงฆ์ย ่อ มกระทบกระท้ังเพราะการแย่งชิงและ
กัก ตุน ปัจ จัย ๔ ย่อ มกระทบกระเทือ นต่อ
ศรัทธาญาติโยม ย่อมกัดกร่อนการปกครองสงฆ์
ย่อมบั่นทอนอายุพระพุทธศาสนา ซึ่งทั้งหมดนี้
มีจุดเริ่มต้นจากการไม่ฝึกนิสลัย ๔ ให้แก่พระ
บวชใหม่อย่างจริงจังต้ังแต่แรก
๕. ภัย จากคลื่น คือ อดทนต่อคำส่ังสอนของพระ
อุป ัช ฌาย์ อาจารย์ไม่ได้ มีด้นเหตุมาจากทีฎฐิ

คัมภิรัสรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๓(^ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
มานะในตน ต้อง แก้ทิฎฐิมานะด้ว ยกาวิฟิกนิสลัย ๔
โดยเฉพาะฟิกการขัดห้องสุขาของส่วนรวม
๖. ภัย จระเข้ คือ เห็นแก่ปากแก่ท้อง ต้องแก้ความ
ตะกละด้ว ยการฟิก นิส ดัย ๔ โดยเฉพาะฟิก ใหัร ู้
ประมาณในการกิน การใช้ การนอน
๗. ภัย จากนํ้า วน คือ ความรัก สบายเพลิด เพลิน ใน
กามคุณ ต้อ งแก้ด ้ว ยการฟิก นิส ลัย ๔ โดย
เฉพาะปักกลดอยู่โคนไม้
๘. ภัย จากปลาร้า ย คือ ความรัก ผู้ห ญิง ต้อ งแก้
ด้ว ยการฟิก นิส ลัย ๔ โดยเฉพาะการพิจ ารณา
ความไม่ง ามของร่า งกายว่า เป็น ของไม่ส ะอาด
และเป็นรังแห่งโรค เช่น พิจารณาความจริงของ
ร่า งกายจากอุจ จาระ ปัส สาวะของตนเองใน
แต่ละวัน เป็นต้น
๙. การบริห ารปัจ จัย ๔ สามารถบอกยุค สมัย ได้
กล่าวคือ
ยุค สร้า ง คือ ยุค ท่ีป ัจจัย ๔ ฟิตเคืองทุกอย่าง
ต้องพอใจตามที่มี ยิน ดีตามที่ได้
ยุค เจริญ คือ ยุคท่ีป ัจจัย ๔ เพียบพร้อมทุก
อย่าง ต้องรู้จักประมาณในการใช้

คมภีร ์ส รางวัด จากพระโอษฐ์ ๒๓๖ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ยุคเสื่อมคือ ยุค ที่ป ัจ จัย ๔ ฟุม เฟิอ ยทุก อย่าง
แต่ไ ม่ร ู้จ ัก ประมาณในการใช้ ไม่ค ำนึง ถึง
ความจำเป็นและเหมาะสม
๑๐. หากการฟิกนิสสัย ๔ ไม่เข้มข้นต้ังแต่ช่วงแรกบวช
ว ัด น ั้น จ ะ ต ้อ งพ บ ก ับ ป ัญ ห าค ว าม เส ่ือ ม ข อ ง
องค์ก รอย่างแน่น อน นั้นคือ จะ เกิดปัญหาของ
หายไม่ม ีค นหา ปัญ หาของเสีย ไม่ม ีค น
ซ่อม ปัญหาใช้ของไม่รู้จักประมาณ ปัญหา
สนับสนุนคนพาลเป็นหัวหน้า ผลท่ีต ามมาก็ค ือ
วัด ล้ม ละลาย เพราะมีแต่คนอาศัย แต่ไม่มี
เจ้า ของวัด ตัว จริง น่ีคือ ความอายุส ้ัน ของ
พระพุทธศาสนา
๑๑. คราวใดที่พระพุทธศาสนาเกิดปัญหา พระสัมมา-
สัมพุทธเจ้าทรงสรรเสริญผู้กล้ารับภาระของ
ส่วนรวมดุจต้ังพระโมคคัลลานไต่รับคำสรรเส่ริญ
จาก พ ร ะพ ุท ธ อ งค ์ นี่ค ือ ความ ม ่ัน คงของ

พระพุทธศาสนา

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๓๗ ปัจจัย ๔ เป็นที่สบาย

kalyanamitra.org
ภิก ษุผ ู้เ ถระทงหลาย เป็น พหูส ูต
เรีย นจบคัม ภีร ์ท รงธรรม ทรงวิน ัย
ทรงมาติกา อยู่ในเสนาสนะน้ัน

*---- ^ ๙ ’

kalyanamitra.org
บทที่

พระเถระ
เป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

ความหมายของพระเถระในเสนา สนสูต ร
วัดที่เหมาะแก่การบรรลุธรรมนั้น จะต้องมีพ ระเถระอยู่
ประจำเป็น จำนวนมาก เป็น เสมือ นแหล่ง ชุม นุม บัณ ฑิต ใน
ทางธรรม โดยพระเถระที่ด ีน ั้น ต้อ งมีค ุณ สมบัต ิต รงตามท่ี
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไวํในเสนาสนสูตรว่า
“ภิกษุผู้เถระทั้งหลาย เป็น พหูส ูตเรียนจบคัม ภีร์
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา อยู่ในเสนาสนะนั้น”

kalyanamitra.org
จากพระดำรัส ดัง กล่า ว มีข ้อ สัง เกตท่ีน ่า สนใจอยู่
หลายประการ ดือ
๑. คำว่า ภิก ษุผ ู้เถระท้ัง หลายแสดงว่าวัดท่ีเหมาะแก่
การบรรลุธรรมนั้น ต้อ งมีพ ระเถระเป็น ต้น แบบดีล ธรรมอยู่
ประจำหลายรูป วัดใดมีพระเถระเป็นต้นแบบดีลธรรมอยู่มาก
วัดน้ันย่ิงเหมาะแก่การบรรลุธรรม
๒. คำว่า เป็นพหูส ูต เรีย น จบ คัม ภ ีร ์ ทรงธรรม
ทรงวิน ัย ทรงมาติก า
๒.® เป็น พหูส ูต หมายถึง ได้ส ดับ พระพุท ธพจน์
หรือ ได้เล่า เรีย นนวัง คสัต ถุศ าสน์ (คำสอน
ของพระศาสดามีองค์ ๙)
๒.๒ เรีย นจบคัม ภีร ์ หมายถึง เรียนจบพระพุทธ
พจน์ด ือ พระไตรปิฎ ก ๕ นิก าย ได้แ ก่
ทีฆ นิก าย มัช ฌ ิม นิก าย ดัง ยุต ตนิก าย
อังคุตดรนิกาย และขุททกนิกาย
๒.๓ ทรงธรรม หมายถึงทรงจำพระสุตตันตปิฎก
๒.๔ ทรงวิน ัย หมายถึง ทรงจำพระวินัยปิฎก
น้ันย่อมแสดงว่าพระเถระที่จะเป็นครูบาอาจารย์ได้
นั้น ต้อ งเป็น ผู้ศ ึก ษาเล่า เรีย นมามาก มีค วามแตกฉานใน
พระธรรมคำสอนของ พระสัม มาอัม พุท ธเจ้า ทั้ง ภาคปริย ัต ิ
ปฏิบ ัต ิ ปฏิเ วธ และเทศนา สมควรแก่ก ารกราบไหว้ข อง
มนุษ ย์และเทวดาทั้งหลาย

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๔0 [ะเถระเป็นทึ่พ่ึง แห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ทรงมาติก า หมายถึงทรงจำพระปาติโมกข์ทั้งสอง คือ
ภิกขุปาติโมกข์แ ละภิก ขุณ ีปาติโมกข์ (อง.. ดิก. อ. ๒ / ๒ 0 / ๙๗-
๙๘)
ย่อ หย่อ น ในที่น้ีหมายถึงยึดถึอปฏิบ้ดิตามคำสงสอนโดย
ไม่เคร่งครัด (อง.. ทุก. อ. ๒ / ๔๕/ ๕๓)
โอกกมนธรรม หมายถึงนิว รณ์ ๕ คือ (๑) กามฉันทะ
(ความพอใจในกาม) (๒ ) พยาบาท (ความคิด ร้า ย) (๓ )
ถีน มิท ธะ (ความหดหู่แ ละเซ่ือ งซึม ) (๔ ) อุท ธัจ จกุก กุจ จะ
(ความฟังซ่านและร้อนใจ) (๕) วิจิกิจฉา (ความลัง เลสงสัย )
(อง.. ทุก. อ. ๒ / ๔๕/ ๕๓)
ป ว ิเ ว ก หมายถึง อุป ธิว ิเ วก คือ ความสงัด จากอุป ธิ
(สภาวะอัน เป็น ที่ตั้งที่ทรงไว้ซ ึ่งทุกข์ได้แก่กามกิเลสเบญจขันธ์
และอภิสังขาร) อีกนัยหนึ่ง หมายถึงนิพ พาน (อง.. ทุก. อ. ๒ /
๔๕/ ๕๓)

ค ัม ภ ีร ์[ น พ ร ะพ ุท ธ ศ าส น าห ม าย ถ ึง อ ะไ ร ?

จากหนังสือ คำวัด ๙๗
คำว่า คัม ภีร ์ มิความหมาย ๒ อย่าง คือ
๑. หมายถึง ห น ัง ส ือ ต ำร าท ี่ส ำค ัญ ท างศ าส น าท ี่
พิม พ์เป็น รูป เล่ม หรือเขียนลงในสมุดข่อย เข่น
เรีย กพ ระไตรปิฎ กว่า คัม ภีร ์ พระไตรปิฎ ก
เรียกหนังสืออรรถกถาว่า คัมภีร์อรรถกถา เป็นด้น
๙๗ พระธรรมกิตติว งศ์, หน้า ๑๒๑

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๔๑ เะเกระเป็นท่ีห่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๒. หมายถึง ใ บ ล าน ท ี่จ าร ห ร ือ เซ ีย น ห ร ือ พ ิม พ ์
ข้อ ความธรรมะไว้สำหร้บนำไปอ่านในเวลาเทศน์
เรีย กเต็ม ว่าคัม ภีร ์ใบลาน ใบลานเช่น นี้แ ยกเป็น
แผ่นๆเมื่อนำมาร้อยรวมกันหลายๆแผ่นด้วยเชือก
เรียกว่าเป็นผูกหนึ่ง แต่ล ะผูก เรีย กว่า หนึ่ง คัม ภีร ์
ถ้ามี ๗ ผูก ก็เรียกว่า ๗ คัม ภีร ์ เช่นพระอภิธรรม
๗ คัม ภีร ์

ล ัก ษ ณ ะ บ ุค ค ล ท ่ีเ ป ็น “ พ ห ูส ูต ๙๘”

พ ห ูส ูต ได้แก่ ผู้ที่ได้ฟังได้เรียนมามากหรือ คงแก่เรียน


มีองค์ประกอบ ๕ ประการ คือ
๑. พทุส สุต า แปลว่า ฟัง มาก คือ ได้สดับเล่าเรียนมา
มาก
๒. ธตา แปลว่า จำได้ คือ จับ หลักหรือสาระได้ ทรง
จำความ ไว้แม่นยำ
๓. วจสา ปริจ ิต า แปลว่า คล่อ งปาก คือ ท่องบ่นหรือ
ใช้คำพูดจนคล่องแคล่ว
๔. ม นสานุเ ปกซีต า แปลว่า เพ่ง ขึ้น ใจ คือ ใส่ใจ
นึก คิดพิจารณาจนเจนใจ นึก ถึงครั้งใดก็ป รากฏ
เนื้อความ สว่างชัด

อง.. ปฌ.จก. มจ. ๒ ๒ / ๑๕๗

คมภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๔๒ พระเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๕. ทิฎฐิยา สุปฏิวิทธา แปลว่า ขบได้ด้วยทฤษฎี ดือ
แทงตลอดดีด ้ว ยหิฎ ฐิ มีค วามเข้า ใจลึก ซ้ึง มอง
เห็นประจักษ์แจ้งด้วยปัญญา

สรุปได้ว่า ลักษณะผู้ท ่ีเป็นพหูสูต ดือ ผู้ใด้ฟังธรรมมาก


แล้ว ทรงจำไว่ได้ ท่อ งได้ค ล่อ งปาก นึกไดีซึ้นใจ แตกฉานใน
การศึกษานำไปปฏิป ้ติไดํโดยไม่ผิดเพี้ยน

อะไรเป็นเหตุให้ใคร่ครวญได้เร็ว
มีเรื่องนำสนใจที่เกี่ยวข้องกับการเป็นพหูสูตรที่ปรากฏอยู่
ในการสนทนาธรรมระหว่างพระอานนท์ผู้เลิศด้านพุทธอุปัฏฐาก
กับ พระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวา ผู้เลิศ ด้ว ยปัญ ญาดัง นี้

ขิปปนิสันติสูตร๙๙

ว่าด้วยเหตุใหํใคร่ครวญได้เร็ว

ครั้งนั้นท่านพระอานนท์เข้าไปหาท่านพระสารีบุตรถึงที่
อยู่ ได้ส นทนาปราศรัย พอเป็น ที่บ ัน เทิง ใจ พอเป็น ที่ร ะลึก
ถึงกันแล้วจึงนั้ง ณที่ส มควรได้ถ ามท่านพระสารีบ ุต รดังนี้ว่า

“ท่านสารีบุตร ด้วยเหตุเพียงเท่าไร ภิกษุจึงเป็นผู้


ใคร่ค รวญได้เร็ว เรียนได้เร็ว เรีย นได้ม ากในกุศ ล
ธรรมทั้งหลายและสิงที่เธอเรียนแล้วจะไม่เลือนหายไป”

๙๙ อง. ปฌฺจก. มจ. ๒๒/ ๒๘๓

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๔๓ พระเถระเป็นท่ีท่ีงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ท่า นพระสารีบ ุต รตอบว่า “ท่านอานนท์เป็นพหูสูต
เฉพาะท่า นอานนท์เ ท่า น้ัน ท่ีจ ะสามารถอธิบ ายเน้ือ
ความนี๋ให้แจ่มแจ้งได้”
พระอานนท์กล่าวว่า“ท่านสารีบุตรถ้า๗ นนั้นท่านจงฟัง
จงใส่ใจให้ดี ผมจัก กล่าว”
ท่า นพระสารีบ ุต รรับ คำแล้ว ท่า นพระอานนท์จ ึง ได้
กล่าวเร่ืองน้ีว่า
“ ท่านสารีบุตรภิกษุในธรรมวินัยน้ี
๑. เป็นผู้ฉลาดในอรรถ
๒. เป็นผู้ฉลาดในธรรม
๓. เป็นผู้ฉลาดในพยัญชนะ
๔. เป็นผู้ฉลาดในนิรุตติ
๕. เป็นผู้ฉลาดในเบื้องต้นและเบ้ืองปลาย

ด้ว ยเหตุเพีย งเท่า น้ีแ ล ภิก ษุจ ึง เป็น ผู้[คร่ค รวญได้เร็ว


เรียนได้ดี เรีย นได้ม ากในกุศ ลธรรมทั้ง หลาย และสิ่ง ที่เธอ
เรียนแล้วย่อมไม่เลือนหายไป”

ลักษณะผู้ทรงธรรมและไม่ทรงธรรม®0๐

พระศาสดาตรัสว่า
“ ภิก ษุท ้ัง หลาย เราไม่เรียกผู้เรียนมากหรือพูดมากว่า
‘เป็น ผู้ทรงธรรม’ ส่วนผูใดเรีย นคาถาแม้ค าถาเดีย วแล้วแทง

*00 ขุ. ธ. มก. ๔๓/ ๗๔

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ ๒๔๔ พระเถระเป็นที่พึ่งแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ตลอดสัจ จะท้ัง หลาย, ผู้น ้ัน ช่ือ ว่า เป็น ผู้ท รงธรรม” ดังนี้แล้ว
ตรัสพระคาถานี้ว่า
“ ตาวตา ธม.มธโร ยาวตา พหุ ภาสติ
โย จ อปฺปมฺปิ สุตุวาน ธมฺมํ กาเยน ปสฺสติ
ส เว ธมฺมธโร โหดิ โย ธมฺมํ นปฺปมชฺชติ.
บุคคล ไม่ชื่อว่าทรงธรรม เพราะเหตุท่ีพูดมาก;
ส่วนบุคคลใด ฟังแม้นิดหน่อย ย่อมเห็นธรรมด้วย
นามกาย, บุคคลใด ไม่ประมาทธรรม, บุคคลนั้นแล
เป็นผู้ทรงธรรม.”

อานิสงส์ผู้ทรงพระวินัย’’0®
พระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า จึง ตรัส ว่า “ ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย
อานิส งส์ ๕ เหล่า นี้ (มีอ ยู่) ในบุคคลผู้ทรงพระวินัย คือ
๑. กองศ ีล ของตน ย่อ ม เป ็น ข องอัน บ ุค ค ลน ้ัน
คุ้มครองรักษาไว่ดีแล้ว
๒. ย่อ มเป็นที่พ ่ึงพิงของเหล่ากุลบุตรผู้ถูกความสงสัย
ครอบงำ
๓. ย่อมเป็นผู้กล้าพูดในท่ามกลางสงฆ์
๔. ย่อมข่มชี่พวกข้าศึกได้ด้วยดีโดยสหธรรม
๕. ย่อ มเป็น ผู้ป ฏิบ ัต ิ เพื่อ ความตั้ง มนแห่ง พระ
ส์ท่ธรรม.

วิ. มหา. มก. ๑/ ๑๗๑

คัม ภีร ์ส ร้า งวิด จากพระโอษฐ์ ๒๔๕ พระเถระเป็นที่พึ่งแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
(วิน ัย เป็น ข้อ ปฏิบ ติใ หับ รรลุค วามหลุด พัน จากกิเ ลส
เป็นที่สุด)
ก็อีกประการหนึ่งกุศลธรรมเหล่าใดซึ่งมีสังวรเป็นมูล อัน
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้ว1

บุคคลผู้ท รงวิน ัย น้ันแลช่ือว่าเป็นทายาทแห่งกุศลธรรม


เหล่านั้น เพราะธรรมเหล่าน้ัน มีวินัยเป็นมูล. สมจริงดังคำท่ี
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
วิน ัย ย่อมมีเพ่ือประโยชน์แก่สังวร (ความสำรวม),
สัง วรย่อมมีเพ่ือประโยชน์แก่อวิปปฏิสาร(ความไม่เดือด
ร้อน),
อริป ปฏิส าร ย่อมมีเพื่อประโยชน์แก่ความปราโมทย์,
ค วาม ป ราโม ท ย์ ย่อมมีเพ่ือประโยชน์แ ก่ปีต ิ (ความ
อ่ิมใจ),
ปีต ิ ย่อ มมีเพื่อ ประโยชน์แ ก่ป ัส ลัท ธิ(ความสงบ),
ป ีส ลัท ธิ ย่อมมีเพ่ือประโยชน์แก่ความสุข,
ความ สุข ย่อมมีเพ่ือประโยชน์แก่สมาธิ(ความต้ังใจม่ัน)
ส ม าธ ิ ย่อ มมีเพื่อ ประโยชน์แ ก่ย ถาภูต ญาณทัส สนะ
(ความรู้เห็นตามเป็นจริง),
ยถาภูต ญ าณ ทัส สนะ ย่อมมีเพื่อประโยชน์แก่นิพพิทา
(ความเบื่อหน่าย),

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๔๖ เะเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
นิพพิทา ย่อมมีเพื่อประโยชน์แก่วิราคะ (ความสำรอก
กิเลส),
วิราคะ ย่อมมีเพื่อประโยชน์แก่วิมุตติ (ความหลุด พ้น )
วิม ุต ติ ย่อ มมีเพื่อ ประโยชน์แ ก่ว ิม ุต ติญ าณหัส สนะ
(ความรู้เห็นความหลุดพัน),
วิมุตติญาณหัสสนะ ย่อมมีเพื่อประโยชน์แก่อนุปาทา
ปรินิพพาน
การกล่าว การปรึกษา กิริยานั่งใกล้ ความเงี่ยโสต
ลงสดับ แต่ละอย่างๆ
มีอนุปาทาปรินิพพาน คือ ความพันพิเศษแห่งจิต ไม่
ถือ มั่น นั่น เป็น ผล เพราะฉะนั้น ควรทำความพยายามโ ดย
เอื้อเฟิอในการเล่าเรียนพระวินัยดังนี้แล.

ความแตกต่า งระหว่า งผู้ท รงจำกับ ผู้ท รงธรรม


มีเ ร่ือ งราวสะท้า นสะเทือ นหมู่ส งฆ์ใ นสมัย พุท ธกาล
ระหว่า งผู้ท รงจำกับ ผู้ท รงธรรมที่เ ป็น อุท าหรณ์ส อนใจพระ
ภ ิก ษ ุท ุก ยุค ทุก สมัย ม าถึง วัน น ี้ป รากฏ อยู่ใ น เรื่อ งพ ระเอกุ
ทานเถระดังน้ี

เร่ืองพระเอกุทานเถระ,’0๒

ข้อความเบื้องดัน

‘'๐๒ ชุ. ธ. มก. ๔๓/ ๗๓

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๔๗ พระเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภ
พระขีณ าสพชื่อ ว่า เอกุท านเถระ ตรัส พระธรรมเทศ นา
น้ีว่า “ น ดาวตา ธม.มธโร” เป็นต้น
พวกเทวดาให้สาธุการแก่เทศนาของพระเถระ
ได้ยินว่าพระเถระน้ันอยู่ในราวไพรแห่งหนึ่งแต่องค์เดียว
อุทานที่ท่านชาชองมีอุทานเดียวเท่านั้นว่า
“ ความโศกทั้ง หลาย ย่อ มไม่ม ีแ ก่บ ุค คลผู้ม ีจ ิต มั่น คง
ไม่ป ระมาท เป็น มุน ี ศึก ษาในทางแห่ง โมนปฏิบ ํด ี ผู้ค งท่ี
ระงับแล้ว มีสติท ุก เมื่อ ”
ได้ย ิน ว่า ในวันอุโบสถ ท่า นป่าวร้อ งการฟัง ธรรมเอง
ย่อ มกล่าวคาถานี้เสียงเทวดาสาธุก ารดุจว่าเสียงแผ่น ดิน ทรุด
คร้ันวันอุโบสถวันหนึ่ง ภิกษุผู้ทรงพระไตรปิฎก ๒ รูป
มีบริวารรูปละ ๕๐๐ ได้ไ ปสู่ท ี่อ ยู่ข องท่าน ท่า นพอเห็น ภิก ษุ
เหล่านั้น ก็ชื่นใจ กล่าวว่า
“ ท่า นทั้ง หลายมาในที่น ี้ เป็น อัน ทำความดีแ ล้ว , วัน นี้
พวกกระผมจักฟังธรรมในสำนักของท่านทั้งหลาย”
พวกภิก ษุท ่านผู้ม ือ ายุก ็ค นฟัง ธรรมในที่น ี้ม ีอ ยู่ห รือ ?
พระเอกุท าน. มี ขอรับ, ราวไพรน้ี มีค วามบัน ลือ ล่ัน
เป็นอันเดียวกันเพราะเสียงเทวดาสาธุการในวันฟังธรรม.
บรรดาภิก ษุ ๒ องค์นั้น พระเถระผู้ทรงพระไตรปิฎก
องค์ห นึ่ง สวดธรรม, องค์ห นึ่ง กล่า วธรรม. เทวดาแม้อ งค์
หนึ่งก็มิได้ให้สาธุการ.

คัมภีร์สร้างวัดจากพระ:โอษฐ์ ๒๔๘ เะเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษุเหล่า น้ัน จึงพูดกันว่า “ ท่านผู้ม ีอ ายุ ท่า นกล่าวว่า
‘ในวัน ฟังธรรมพวกเทวดาในราวไพ รนี้ ย่อ มให้ส าธุก ารด้ว ย
เสียงดัง, ‘น้ีช่ืออะไรกัน ?”
พระเอกุท าน. ในวัน อ่ืน ๆ เป็น อย่า งน้ัน ขอรับ , แต่
วัน นี้กระผมไม่ทราบว่า‘น่ีเป็นเร่ืองอะไร.’
พวกภิกษุ. ผู้มีอายุ ถ้าอย่างน้ันท่านจงกล่าวธรรมดูก่อน.
ท่านจับพัดวีชนีน้ังบนอาสนะแล้วกล่าวคาถาน้ันนั้นแล.
เทวดาท้ังหลายไดให้สาธุการด้วยเสียงอันดัง.
พวกภิก ษุติเตียนเทวดา
คร้ังนั้นภิกษุท่ีเป็นบริวารของพระเถระทั้งสองยกโทษว่า
“ เทวดาในราวไพรน้ี ให้ส าธุก ารด้ว ยเห็น แก่ห น้า กัน , เมื่อ
ภิก ษุผ ู้ท รงพระไตรปิฎ กแม้ก ล่า วอยู่ป ระมาณเท่า นี้, ก็ไม่
กล่า วแม้ส ัก ว่า ความสรรเสริญ อะไรๆ, เมื่อ พระเถระแก่อ งค์
เดีย วกล่า วคาถาหน่ึง แล้ว , พากัน ให้ส าธุก ารด้ว ยเสีย งอัน ดัง.
“ ภิก ษุเหล่า นั้น แม่ไ ปถึง วิห ารแล้ว กราบทูล ความนั้น แด่พ ระ

ศาสดา.
พระศาสดาตรัสกับพระภิกษุผู้ทรงพระไตรปิฎกทั้งสองว่า
บุคคลไม่ชื่อว่าผู้ทรงธรรมเพียงเพราะพูดมาก
ส่วนผู้เดได้สดับตร้บฟังธรรมน้อย
แต่ (๑) พ ิจ าร ณ าเห ็น ธ ร ร ม ด ้ว ย น า ม ก า ย
ท้ัง (๒ ) ไ ม ่ป ร ะม าท ธ ร ร ม น ั้น
ผู้น้ันช่ือว่า ผู้ท รงธรรม

ค้มภีรัสร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๔๙ เะเถระเป็นท่ีห่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
มีเรื่องราวกล่าวไว[นอุมมคฺคสูตรดังนี้

อุม มคุด สูต ร'0"

ภิก ษุ เราแสดงธรรมเป็นอันมาก คือ สุตตะ เคยยะ เวย


ยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธรรม เวทัลละ
ถ้า แม้ภ ิก ษุ รู้อ รรถ รู้ธ รรม แห่งคาถา ๔ บาท แล้ว ปฏิบ ัต ิ
ธรรม สมควรแก่ธรรม ก็ควรเรียกว่า เป็นพหูสูต เป็นผู้ท รง
ธรรม”
จากข้อ ความเบ้ือ งต้น น้ีก ล่า วได้ว ่า คำว่า ทรงธรรม
หมายถึงบุคคลที่ไดศึกษาเล่าเรียนธรรมเข้าใจความหมายแล้ว
ได้น ำธรรมมาประพ ฤติป ฏิบ ัต ิ สมควรแก่ธรรม เพระฉะนั้น
เม่ือมองอีกนัยหน่ึงก็ศึอคำว่า ทรงธรรม หมายความว่า ทำได้
จริง จนกระทั่ง เป็น ปกติน ิส ัย

ค ุณ ส ม บ ัต ิข อ งพ ร ะ เถ ร ะ

พระสัม มาลัม พุท ธเจ้า ทรงอธิบ ายคุณ สมบัต ิข องพระ


เถระที่ส ามารถทำให้ว ัด นั้น เป็น สถานท่ีเหมาะแก่ก ารบรรลุ
ธรรมไวํในเถรสูตรดังน้ี

๑๐๓ อง. จตุก. มจ. ๒๑/ ๒๖๗

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๕๐ (ะเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เถรสูตร"0๔

“ ภิก ษุท ้ังหลาย ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ประการ


นี้แล ย่อ มเป็น ผู้ป ฏิบ ้ต ิเพื่อ เกื้อ กูล แก่ค นหมู่ม าก เพื่อ สุขแก่
คนหมู่ม าก เพื่อประโยชน์แก่คนหมู่มาก เพื่อ เกื้อ กูล เพื่อสุข
แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. เป็นรัตตัญฌู บวชมานาน
๒. เป็น ผู้ม ีช ื่อ เสีย ง มีย ศมีบ ริว ารมาก ปรากฏแก่
พวกคฤหัส ถ์ และบรรพชิต
๓. เป็น ผู้ไ ด้จ ีว ร บ ิณ ฑ บ าต เสนาสน ะ และ
คิลานปัจจัยเกลช์บริขาร
๔. เป็น พหูสูต ทรงสุตะ ส่ังสมสุตะ เป็นผใดัฟัง
มากซึ่งธรรมท้ังหลายที่มีความงามในเบืองต้น
มีดวามงามในท่ามกลาง มืดวามงามในที่สุด
ประกาศพรหมจรร ย์พ ร้อ มทั้ง อรรถ และ
พยัญ ชนะ บริส ุท ธ บริบ ูร ณ์ค รบถ้ว นแล้ว
ทรงจำไวได้ดล่องปาก ขนใจ แทงตลอดดี
ด้วยทิฎฐิ
๕. เป็น สัมมาทิฏฐิ มีความเห็นไม่วิปริต บุค คลนั้น
ทำให้ค นหมู่ม ากออกจากอสัท ธรรม ให้ต ั้ง อยู่ใ น
ส์ทธรรมคนหมู่มากพากันตามอย่างเธอด้วยคิดว่า
๑๐๔ อง.. ปฌฺจ ก. มจ. ๒ ๒ / ๑๕๖

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๕๑ เะเกระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
‘เป็นภิกษุเถระเป็นรัตตัญญู บวชมานาน’ บาง
‘เป็นภิกษุเถระ มีชื่อเสียง มียศ มีบริวารมาก ปรากฏ
แก่พวก คฤหัสถ์และบรรพชิต’ บ้าง
‘ เป็น ภิก ษุเ ถระ ได้จ ีว ร บิณ ฑบาต เสนาสนะ และ
ลิล านปัจ จัย เภส้ชชบริขาร’ บ้าง
‘เป็นภิกษุเถระ เป็นพหูสูต ทรงสุตะ ส่ังสมสุตะ’ บ้าง
ภ ิก ษ ุท ้ัง ห ลาย ภิก ษุผ ู้เ ถระประกอบด้ว ยธรรม ๕
ประการนี้แ ล ย่อ มเป็น ผู้ป ฏิบ ัต ิเ พ่ือ เก้ือ กูล แก่ค นหมู่ม าก
เพ่ือสุขแก่คนหมู่มาก เพื่อประโยชน์แก่คนหมู่มากเพ่ือเกอกูล
เพ่ือสุขแก่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย

คุณ สมบัติของภิกษุผู้สามารถเท่ียวไปในทิศทั้งล่ี
(พระธุดงค์)
จ า ก ก าร ศ ึก ษ าล ัน ค ว ้า พ บ ว ่า ม ีพ ร ะ ส ูต ร เก ี่ย ว ก ับ
คุณ สมบัต ิข องพระธุด งค์ท ่ีก ล่า วไว้ส อดคล้อ งกับ คุณ สมบัต ิ
ของพระเถระอย่างน่าสนใจ ปรากฏในจาตุททิสสูตรดังนี้

จาตุทหิสสูตร”0''

ว่าด้วยธรรมของภิกษุผู้เที่ยวไปในทิศทั้งสี่

๑๐๕ อง.. จตุก. มจ. ๒ ๒ / ๑๘๖

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๕๒ พระเถระเป็นที่พึ่งแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ้ัง หลาย ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ
เป็นผู้เท่ียวไปในทิศท้ังส่ึ
ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
ภิกษุในธรรมวินัยน้ี
๑. เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยการสังวรในปาติโมกข์
เพียบพร้อมด้วยอาจาระและโคจร มีปกติเห็น
ภัยในโทษแม้เล็ก น้อ ย สมาทานศึก ษาอยู่ใ น
สิกขาบทท้ังหลาย
๒. เป็น พหูส ูตทรงสุต ะสั่งสมสุตะเป็น ผู้ได้ฟ ังมาก
ซ่ึงธรรมท้ัง หลายท่ีม ีค วามงามในเบื้อ งด้น มี
ความงามในท่า มกลาง มีค วามงามในท่ีส ุด
ป ร ะก าศ พ ร ห ม จ ร ร ย ์พ ร ้อ ม ท ั้ง อ ร ร ถ แ ล ะ
พยัญชนะบริสุทธ๋ึบริบูรณ์ ครบถ้วน แล้วทรงจำ
ไวิได้ คล่อ งปาก ข้ึน'ใจ แทงตลอดดีด ้ว ยทิฎ ฐิ
๓. เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ
คืลานปัจจัยเภสํชชบริขารตามแต่จะได้
๔. เป็นผู้ได้ฌาน ๔ อันมีในจิตย่ิงซ่ึงเป็นเคร่ืองอยู่
เป็นสุขในปัจจุบันตามความปรารถนาไดโดยไม่
ยาก ไต่โดยไม่ลำบาก
๕. ทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะ
เพราะอาสวะสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึง
อยู่ในปัจจุบัน

คมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๕๓ ะเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งกาวบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษุท ้ัง หลาย ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการน้ีแล
เป็นผู้เที่ยวไปในทิศทั้งสี่

จากพระสูต รนี้แ สดงให้เห็น ว่า หากพระภิก ษุผ ู้ม ีค ุณ


สมปติ ๕ ประการดัง กล่า วนี้ เดิน ทางไปพำนัก ยังสถานที่ใ ด
สถานท่ีน ้ัน ย่อ มเหมาะแก่การบรรลุธรรม ควรแก่การที่ผู้ใคร่
ต่อการบรรลุธรรม พึงน้อ มตนเข้าไปหา เพื่อ กราบขอความ
รู้ในการปฏิปติธรรมจากท่าน

คุณ สมบัต ิข องภิก ษุผ ู้อ ยู่ใ นเสนาสนะอ ัน สงัด


การเดิน ธุด งค์เ ข้า ป่า ลึก ซึ่ง มีภ ัย อัน ตรายมาก เพื่อ
บำเพ ็ญ เพ ีย รภาวนานั้น พระสัม มาส้ม พุท ธเจ้า มิไ ด้ท รง
อนุญ าตแก่พ ระภิก ษุเป็น การทั้ว ไป แด่ท รงกำหนดไว้อ ย่า ง
ชัด เจนว่า พระภิก ษุท ่ีจ ะอยู่ป ระจำในป่า ลึก ได้น ั้น ต้อ งมี
คุณสมปติตรงตามที่กำหนดไวํในอรัญญสูตรดังนี้

อรัญญสูตร®0๖

ว่าด้วยคุณสมปติของภิกษุผู้อยู่ในเสนาสนะอันสงัด

ดูก ่อ นภิก ษุท ้ัง หลาย ภิก ษุผ ู้ป ระกอบด้ว ยธรรม ๕
ประการ ควรเพื่อเสพอาศัยเสนาสนะอันสงัด คือ ป่าและป่าชัฏ
ธรรม ๕ ประการ เป็นไฉน คือ

๑๐๖ อง.. จตุก. มจ. ๒ ๒ / ๑๘๗

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๕๔ พระเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑. ภิกษุในธรรมวินัยน เป็น ผู้ม ีด ีล เป็น ผู้สำรวมด้วย
ความสำรวมในพระปาติโ มกข์ ถึง พร้อ มด้ว ย
อาจาระและโคจร มีปกติเห็นภัยในโทษมี ประมาณ
น้อย สมาทานศึก ษาอยู่ในสิก ขาบททั้งหลาย
๒. เป็น พหูส ูต ทรงไว้ซ่ึง สุต ะ สะสมสุต ะ เป็น ผู้ใ ต้
ส ด ับ ม าก ท รงจำไว้ ค ล ่อ งป าก ขึ้น ใจ แทง
ตลอด ด้ว ยดีด ้ว ยทิฏ ฐิ ซึ่งธรรมทั้งหลายอันงาม
ใน เบ ื้อ งต้น งาม ใน ท ่า ม ก ลาง งาม ใน ท ี่ส ุด
ประกาศพรหมจรรย์พ ร้อ มทั้ง อรรถ พร้อ มทั้ง
พ ยัญชนะ บริสุทธี๋บริบูรณ์สิ้นเชิง
๓. เป็น ผู้ป รารภความเพีย ร เพ่ือละอกุศลธรรม เพ่ือ
บำเพ ็ญ กุศ ลธรรมทั้ง หลาย เป็น ผู้ม ีก ำลัง มี
ความบากบนมั่น คง ไม่ทอดท้ิงธุระในกุศลธรรม
ท้ังหลาย
๔. เป็น ผู้ใ ด้ต ามความปรารถนาไดโดยไ ม่ย าก ไม่
ลำบาก ซึ่ง ฌ าน ๔ อันมีในจิตย่ิง เป็น เคร่ืองอยู่
สบายในปัจจุบัน
๕. ย่อ มกระทำให้แ จ้ง ซ่ึง เจโตวิม ุต ติป ัญ ญาวิม ุต ติ
อัน หาอาสวะมิไ ด้ เพราะอาสวะทั้ง หลายสิ้น ไป
ด้ว ยปัญ ญาอัน ย่ิงเองในปัจ จุบ ัน เข้าถึงอยู่
ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ภิก ษุผ ู้ป ระกอบด้ว ยธรรม ๕
ประการนี้แล ควรเพื่อเสพอาศัย เสนาสนะที่ส งัด คือ ป่าและ
ป่า ชัฎ

ดัม ภีร ์ส ว้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๕๕ เะเถระเป็นท่ีพ่ึงแห่งการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิกษุนั้นเข้าไปหาภิกษุผู้เถระเหล่านั้น
ในเวลาที่ส มควร จึงสอบถามไต่ถ าม
ว่าพุทธพจน์น้ีเป็นอย่างไร เน้ีอความ
แห่งพุทธพจน์นี้เป็นอย่างไร

ซ^

kalyanamitra.org
บทที่

พระลูกสิษย์
เป็นผูรภการ์ฝ็กตน

ความหมายของพระภิก ษุผ ู้ร ัก การฟิก ตนในเสนา


สนสูตร
พระสัมมาดัมพุทธเจ้าได้ตรัสถีงการเป็นพระภิกษุผู้รักการ
ฟิกตนไวํในเสนาสนสูตรดังนี้

“ภิกษุน้ันเข้าไปหาภิกษุผู้เถระเหล่านั้น ในเวลาที่
สมควร จึงสอบถามไต่ถ ามว่าพุท ธพจน์น ี้เป็น อย่างไร
เน้ือความแห่งพุทธพจน์นี้เป็นอย่างไร”

kalyanamitra.org
การท่ีพ ระภิก ษุเข้าไปหาพระภิก ษุผ ู้เถระน้ัน หมายถึง
การเข้า ไปขอความรู้จ ากภิก ษุท ี่เป็น ครูบ าอาจารย์ จึง ต้อ งดู
กาลเทสะให้เป็น ต้อ งรู้จ ัก วางตัว ให้เป็น ต้อ งรู้จ ัก ตั้ง คำถาม
ให้เ ป็น คือ ถามเพ่ือ นำความรู้ม า'ฝึก ฝนอบรมตนเองให้
ละเว้น ความชั่ว ทำความดี และกลั่น ใจให้ผ่องใสยิ่งๆ ขึ้นไป
จนกว่าจะบรรลุธรรมส้ินอาสวะกิเลสตามพระพุทธองค็ไป
จากพระดำรัส นี้ การที่ว ัด ใดจะได้พ ระลูก ศิษ ย์ท ี่เป็น
พระดีน้ัน มีชัอสังเกตว่า
สิ้งที่ค รูบ าอาจารย์ตองมีให้กบลูกศิษ ย์ก็คือ
๑. ให้ความรู้ท่ีถ ูก ต้องเหมาะสมกับ สติป ัญ ญาของลูก
ศิษ ย์
๒. ให้เวลาในการอบรมปมนิสัยแก่ลูกศิษย์ด้วยตนเอง

ส่ิงที่ลกศิษ ย์ต้องมีใหักับ พระอาจารย์ก็คือ


๑ ต้อ โรู้จ ".กาลเท ่ส ะท ํ[ เห ม าะสม ใน การเข้า ไป

หาครูบ าอาจารย์
๒. ต้อ งวางตัว ให้เหมาะสมในฐานะลูก ศิษ ย์ คือ มี
มารยาท รู้จ ัก ให้เกียรติ ให้ค ว าม เค ารพ ครูบ า
อาจารย์ หรือ พูด ง่า ยๆ ก็ค ือ ประพฤติต นให้
เป็นคนที่ควรไดํรบคำแนะนำส่ังสอน
๓. ต้อ งต้ัง คำถามให้เป็น คือถามให้น่าตอบ จึงจะได้
ป ัญ ญ าใน การแก้ไ ขปรับ ปรุง น ิส ัย ของตัว เอง
ไม่ใช่ถ ามออกไปแล้ว ใครๆ ฟัง ลูก ็ร ู้ส ึก เหมือ น
กำลัง ลบหลู่ หรือ ลองภูมิครูบาอาจารย์

ต้ม ภีร ์ส รางวัด จากพระโอษฐ ๒๕๘ พระลูกศิษย์เป็นผู้รักการ่ฝึกคน

kalyanamitra.org
เห ต ุแ ล ะ ป ัจ จ ัย ใน ก าร ส ึก ษ าธ ร ร ม ไ ด ้ด ี
ประการที่ ๑ รู้จ ัก ต้ัง คำถามเป็น

มีค ำอธิบ ายเร่ือ งการถามในอรรถกถามหาเวทัล ลสูต ร


ดังนี้

อรรถกถามหาเวทัล ลสูต ร 8’0๗

การถามมี ๕ อย่าง ดือ


๑. ถามเพื่อส่องสิ่งที่ยังไม่เห็น
๒. ถามเพื่อเทียบเดืยงสิ่งท่ีเห็นแล้ว
๓. ถามเพ่ือดัดสงสัย
๔. ถามเพ่ือซ้อมความเข้าใจ (ให้ย อมรับ ,ให้อ นุม ีต ิ)
๕. ถามเพ ่ือ ต้อ งการแสดง (เส ีย เอ ง, ถาม เอง,
ตอบเอง)

การถามเพ่ือ ส่อ งสิ่ง ท่ีย ัง ไม่เ ห็น เป็น อย่า งไร?


โดยปกติ ผู้ที่ยังไม่เข้าใจ ยังไม่เห็น ยังไม่ชั่ง ยังไม่
ไตร่ตรอง ยังไม่แจ่มแจ้ง ยังไม่อบรมลักษณะ ก็ถามเพื่อเข้าใจ
เพ่ือเห็น เพ่ือชั่ง (เทีย บ) เพ่ือไตร่ตรอง เพื่อแจ่มแจ้ง เพื่ออบรม
ลักษณะน้ันน้ีดือการถามเพื่อส่องถึงส่ิงที่ยังไม่เห็น

•0๗ ม. มู. มจ. ต๒ / ๔๘๘

คัมภีร์สร้างวัดจากหระ;โอษฐ์ ๒๕๙ ะลูกสษยัเป็นผู้'รักการ'ฝืกดน

kalyanamitra.org
การถามเพื่อเทียบเคียงสิ่งที่เห็นแล้วเป็นอย่างไร?
โดยปกติ ผู้ท่ีเข้าใจได้เห็น ได้ช่ัง ได้ใตร่ตรอง ได้ทราบ
ได้แ จ่ม แจ้ง ได้อ บรมลัก ษณะไว้แ ล้ว ก็ย ัง ถามปัญ หาเพ่ือ
ต้อ งการเทีย บเคีย งกับ หมู่ป ราชญ์ พวกอ่ืน น้ีค ีอ การถาม
เพ่ือเทียบเคียง

การถามเพื่อตัดความสงสัย เป็นอย่างไร?
โดยปกติผู้แล่นไปในความสงสัยแล่นไปในความเคลือบ
แคลง เกิดความคิด สองจิต สองใจ “ เป็น อย่า งนี้ หรือไม่หนอ
เป็นอะไร อย่างไรหนอ”
ก็ถ ามเพ่ือ ต้อ งการดัด ความสงลัย นี้คีอ การถามเพื่อ
ตัดความสงสัย

การถามเพ่ือซ้อมความเข้าใจ
ส่ว นการลึอ เอาความยอมรับ รู้ แล้ว ถามในเวลาแสดง
ธรรมอย่างน้ีว่า ภิก ษุท ้ัง หลาย พวกเธอเข้าใจข้อ น้ัน อย่างไร
รูป เท่ียง หรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า ดังน้ีเป็น ต้น ช่ือว่า
การถามเพ่ือซ้อมความเข้าใจ

การถามเพื่อต้องการจะตอบ
การถามของพระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ที่ท รงถามภ ิก ษ ุ
สงฆ์ด ้ว ยพระองค์เองแท้ๆ แล้ว ทรงต้อ งการตอบเสีย ด้ว ย
ตนเองแบบนี้ว ่า ภิก ษุท ั้ง หลายหลัก ตั้ง มั่น ของความระลึก
เหล่านี้ม ีส ี่อย่าง สื่อย่างเป็นไฉน ดังนี้เป็น ต้น ชื่อ ว่าการถาม
เพื่อต้องการจะตอบ

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒ ๖๐ พระลูกสิษย์เป็นผู้รักการ่ฟิกตน

kalyanamitra.org
การถามห้า อย่า งน้ัน ในท่ีน ้ีป ระสงค์เอาการถามเพ่ือ
เทียบเคียงส่ิงท่ีเห็นแล้ว

ประการที่ ๖ จับประเด็นถูก
มีเรื่องราวการจับประเด็นถูก กล่าวไวืในปริสวรรค ดัง นี้

ปริสวรรค'’0๘

หมวดว่าด้วยบริษัท

ภิก ษุท ั้ง หลาย บริษัท ๒ จำพวกนี้ บริษัท ๒ จำพวกไหน


บ้าง คีอ
๑. บริษัทที่ดื้อด้านไม่ไต่ถามและไม่ได้ร้ปการแนะนำ
๒. บริษัทท่ีไต่ถาม ได้รับการแนะนำ และไม่ดื้อด้าน
บริษัทท่ีไต่ถาม ไต่รบการแนะนำ และไม่ด้ือด้านเป็น
อย่างไร
ดือ บริษ ัท ใดในธรรมวิน ัย น้ีเม่ือ ผู้อ ่ืน กล่า วสูต รท่ีท ่า น
ผู้เชี่ยวชาญรจนาไว้เป็น บทกวี มีอักษรวิจิตร มีพยัญ ชนะวิจิตร
อยู่ภ ายนอก เป็น สาวกภาษิต พวกภิก ษุไ ม่ ต้ัง ใจฟัง ด้ว ยดี
ไม่เง่ีย หูฟ ัง ไม่เข้า ไปตั้ง จิต ไว้เพื่อ รัท ั้ว ถึง และไม่ให้ค วาม
สำคัญธรรม ว่าควรเรียน ควรท่องจำให็ขึ้นใจ
แต่เม่ือ ผู้อ ่ืน กล่า วสูต รท่ีต ถาคตกล่า วไว้ ล้ํา ลึก มีเน้ีอ
ความ ลึก ขึ้ง เป็น โลกุต ตรธรรม ป ระกอบด้ว ยความ ว่า ง

๑๐๘ อง. ทุก. มจ. ๒๐/ ๙๑, มก. ๓๓/ ๔๐๗

ดัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษธ์ ๒๖๑ พระลูกสึษย์เป็นผู้’รักการ'สกคน

kalyanamitra.org
ภิกษุเหล่าน้ันกลับ ต้ัง ใจฟัง ด้ว ยดีเง่ีย หูฟ ัง เข้า ไปต้ัง จิต ไว้เพ่ือ
รู้ท่ัวถึง และให้ค วามสำคัญ ธรรมว่าควรเรียน ควรท่อ งจำให้
ข้ืนใจคร้ันท่องจำธรรมน้ันแล้วย่อมสอบสวนไต่ถ ามกันว่า
“พุท ธพจน์น ้ีเ ป็น อย่า งไรเน้ีอ ความแห่ง พุท ธพจน์น ้ี
เป็น อย่า งไร”
ภิกษุเหล่าน้ันเปิดเผยธรรมที่ยังไม่ได้เปิดเผยทำให้ง่าย
ซ่ึง ธรรมท่ีย ัง ไม่ไ ด้ท ำให้ง ่า ย และบรรเทาความสงสัย ใน
ธรรมท่ีน ่าสงสัย หลายอย่า ง บริษ ัท นี้เรียกว่า บริษ ัท ที่ไต่ถ าม
ได้ริบการแนะนำ และไม่ดื้อด้าน
ภิก ษุท ั้ง หลาย บริษัท ๒ จำพวกนี้แล
บรรดาบริษัท ๒ จำพวกน้ี บริษ ัท ท่ีไต่ถ าม ได้ริบการ
แนะนำ และไม่ดื้อด้านเป็นเลิศ

อานันทสูตร®0''

ว่าด้วยคุณธรรม ๖ ของพระอานนท์

ครั้ง นั้น ท่า นพระอานนท์ไ ด้เ ข้า ไปหาท่า นพระสารี


บุต รถึง ท่ีอ ยู่ ได้สนทนาปราศรัย พอเป็น ที่บ ัน เทิงใจ พอเป็น
ที่ระลึกถึงกันแล้วนั้งณที่สมควรได้เรียนถามท่านพระสารีบุตร
ดังนี้ว่า

๑๐๘ อง. ฉกก. มจ. ๒ ๒ / ๕๒๐, มก. ๓๖/ ๖๘๓

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๖๒ เะลูกสษย์เป็นผู้รกการสกตน

kalyanamitra.org
ท่านสารีบุตร ภิก ษุไ ด้ฟ ัง ธรรมท่ีย ัง ไม่เคยฟัง ธรรมท่ี
ภิก ษุน ั้น เคยฟัง แล้ว ไม่ถ ึง ความเลอะเสือ น
ธรรม ท ี่ภ ิก ษ ุน ั้น เคยสัม ผัส ด้ว ยใจม าก่อ น ปรากฏ
แก่เ ธอ แ ล ะภ ิก ษ ุน ้ัน ย ่อ ม ร ู้ธ ร รม ท ่ีย ัง ไม ่เ ค ย รู้ด ้ว ย เห ต ุ
เท่า ไรหนอ”
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า
“ ท่า นพระอานนท์เ ป็น พหูส ูต เฉ พ าะท่า น อานน ท์
เท่าน้ันท่ีจะอธิบายเนื้อความแห่งภาษิตน้ันให้แจ่มแจ้งได้”
ท่า นพระอานนท์ก ล่า วว่า “ ท่า นสารีบ ุต ร ถ้า เช่น นั้น
ท่านจงฟัง จงใส่ใจให้ดี ผมรัก กล่าว”
ท่า นพระสารีบ ุต รรับ คำแล้ว ท่า นพระอานนท์จ ึง ได้
กล่าวเรื่องนื้ว่า
“ ท่านสารีบ ุตร ภิกษุในพระธรรมวินัยน้ี

เรีย นธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน


อิติวุตตกะ ชาดกะ อัพภูตธรรม เวทัลละ เธอแสดงธรรมตาม
ท่ีตนได้สดับมาตามท่ีตนได้เรียนมาแก่ผู้อื่นโดยพิสดาร
บอกสอนธรรมทีไ่ ด้สดับมาตามที่ตนได้เรียนมาแก่ผู้อื่น
โดยพิสดาร
สาธยายธรรมตามที่ตนได้สดับตามที่ตนได้เรียนมาโดย
พิสดาร
ตรึก ตาม ตรองตาม เพ่ง ตามด้ว ยใจซึ่ง ธรรมตามที่
ได้ส ดับ มาตามที่ต นได้เรีย นมา อยู่จ ำพรรษาอยู่ใ นอาวาสที่

ค้มภิร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๖๓ [ะลูกสษย์เป็นผู้ร'กการฟิกตน

kalyanamitra.org
มีภ ิก ษุเถระผู้เป็น พหูส ูต เรีย นจบคัม ภีร ์ ทรงธรรม ทรงวิน ัย
ทรงมาติกาอยู่
เข้า ไปหาภิกษุเถระเหล่าน้ันในเวลาท่ีสมควร
แล้ว สอบถาม ไต่ถ ามว่า พระพุทธพจน์นี้เป็นอย่างไร
เนี้อ ความแห่งพระพุท ธพจน์น ี้เป็น อย่างไร ภิก ษุผ ู้เถระเหล่า
นั้นย่อม เปิด เผยซัอ ที่ย ัง ไม่เปิด เผย ทำข้อ ความที่เข้า ไจยาก
ให้เข้าใจง่าย และบรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลาย ท่ีน ่า
สงสัยมีหลายอย่างแก่ภิกษุนั้น
ท่า นสารีบ ุต ร ภิก ษุได้ฟ ังธรรมท่ียังไม่เคยฟัง ธรรมท่ี
ภิกษุได้ฟ ังแล้ว ย่อ มไม่ถ ึง ความเลอะเลือ น ธรรมท่ีภ ิก ษุเคย
ลัม ผัส ด้ว ยใจมาก่อ น ปรากฏแก่เธอและภิก ษุน ้ัน รู้ธ รรมท่ีย ัง
ไม่เคยรู้ชดด้วยเหตุเท่าน้ีแล

ท่านพระ สารีบุต รกล่าวว่า. ‘ผู้ม ีอ ายุ น่าอัศจรรย์จริง


ไม่เคยปรากฏ ท่านอานนท์ใต้ก ล่าวไว้ด ีแ ล้ว พวกผมจะทรง
จำท่า นพระอานนท์ว ่า เป็น ผู้ป ระกอบด้ว ยธรรม ๖ ประการ
เพราะท่านอานนท์
๑. เรีย นธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา
อุทาน อิดิวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ
๒. ย่อ มแสดงธรรม ตามที่ได้ฟ ังมาได้เรียนมาแก่
ผู้อื่นโดยพิสดาร
๓. ย่อ มบอกสอนธรรม ตามที่ได้ฟังมาได้เรียนมา
แก่ผู้อ่ืนโดยพิสดาร

คัมภีร์สร้างวัดจากพระ:โอษฐ์ ๒๖๔ เะลูกสีษย์เป็นผู้รักการรีเกตน

kalyanamitra.org
๔. ย ่อ ม ท ำก าร ส าธ ย าย ธ ร ร ม ตามท่ีไ ด้ฟ ัง มาได้
เรียนมาโดยพิสดาร
๕. ย่อมตรีกดรอง เพ่งด้วยใจ ซ่ึงธรรมตามท่ีได้ฟ ัง
มาได้เรียนมา
๖. ย่อ มจำพรรษา อยู่ใกลชิดครูอาจารย์อยู่ในอาวาส
ท ่ีม ีภ ิก ษ ุผ ู้เ ถ ร ะ ผ ู้เ ป ็น พ ห ูส ูต เรีย นจบคัม ภีร ์
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา เข้า ไปหาภิก ษุผ ู้
เถระเหล่า นั้น ตามกาลอัน ควร แ ล ้ว ส อ บ ถ าม
ไต่ถ ามว่า พ ระพ ุท ธพ จน ์น ้ีเ ป็น อย่า งไร เน้ีอ
ความ ของพ ระพ ุท ธพ จน ์น ี้เ ป็น อย่า งไร ภิก ษุ
เหล่านั้น ย่อ มเปิด เผยข้อ ท่ีย ัง ไม่เปิด เผย ทำข้อ
เข ้า ใจยาก ให ้เ ข ้า (ใจ)โด ยง่า ย และบรรเทา
ความสงสัย ในธรรมท้ัง หลาย ที่น ่า สงสัย หลาย
อย่างแก่ภิกษุน้ัน”

ประการที่ส าม รู้จักไต่ถามในเวลาอันควร
ศึกษาจากปฐมโลกกามคุณ สูตร

ปฐมโลกกามคุณ สูต ร ๑๑0

ว่าด้วยโลกในวินัยของพระอริยะ

สิ. สฬา. มก. ๒๘/ ๑๙๕, มจ. ๑๘/ ๑๓๖

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๖๕ เะลูกสษย์เป็นผู้รักการฟิกตน

kalyanamitra.org
คร้ังนั้น แล ภิก ษุเ หล่า นั้น พากัน เข ้า ไป ห าท่า นพระ
อานนท์ถ ึง ท่ีอ ย่ ได้ป ราศรัย กับ ท่า น คร้ัน ผ่า นการปราศรัย
พอให้ร ะลึก ถึง เกัน ไป่แ ล้ว นง ณ ท่ีค วรล่ว นข้า งหน้ีง คร้ัน

แล้วได้กล่าวกะท่านพระอานนท์ว่า ท่า นพ ระอานนท์ พระผ่มื


พระภาคเจ้าทรงแสดงอุเทศข้อ น้ีโคยย่อ ไม่ท รงจำแนก เนอ
ความให้พิสดาร เสด็จลุกจากพุทธอาสน์เข้าไปสู่พระวิห ารเสีย
เม่ือพระองค์เสด็จลุกไปไม่นาน
พวกเราจึง ใคร่ค รวญดูว ่า ใครหนอจะช่ว ย จำแนก
เน้ีอ ความแห่ง อุเทศที่พ ระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ทรงแสดงโดยย่อ
ไม่ทรงจำแนกเนื้อความให้พ ิส ดารนี้ โดยพิส ดารได้ พวกเรา
จึง คิด ได้ว ่า ท่า นพระอานนท์น ้ี อัน พระศาสดา และเพ่ือ น
พ รหมจารีผ ู้เ ป็น ปราชญ ์ย กย่อ งสรรเสริญ ท้ัง ท่า นพ ระ
อานนท์น ี้ย ่อ มสามารถจำแนกเน ื้อ ความแห่ง อุเทศที่ พระผู้มี
พระภาคเจ้า ทรงแสดงโดยย่อ ไม่ท รงจำแนกเนื้อ ความให้
พิสดารน้ีโดยพิสดารได้
ถ้ากระไร เราพากันเข้า ไปหา ท่านพระอานนท์ถ ึงที่อยู่
แล้ว ไต่ถ ามเนื้อ ความ ข้อนั้นกะท่าน ขอท่านพระอานนท็ไ ด้
โปรดจำแนกเนื้อ ความเถิด.
ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ดูก ่อ นอาวุโสท้ังหลาย เปรียบ
เหมือนบุรุษผู้ด้องการแก่นไม้แสวงหาแก่นไม้ เที่ยวหาแก่นไม้
อยู่ กลับล่วงเลยรากล่วงเลยสำด้นแห่งด้นไม้มืแก่นด้นใหญ่ ซึ่ง
ดั้งอยู่เฉพาะหน้าไปเสียมาสำคัถฺเแก่นไม้ที่จะพึงแสวงหาได้ที่กิ่ง
และใบ ฉันใด คำอุปไมยนื้ก็ฉันนั้น

คมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๖๖ (ะลูกสีษย์เป็นผู้รักการ'สกตน

kalyanamitra.org
ดือ พวกท่า นล่ว งเลยพระผู้ม ีพ ระภาคเจ้า ผู้ป ระทับ
อยู่เฉพาะหน้า ในฐานะเป็น ศาสดาของท่า นทั้ง หลายไปเสีย
มาสำคัญเนื้อความทึ่จะไต่ถ ามนี้แทัจริงพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
เม่ือ ทรงทราบ ย่อ มทราบ เม่ือ ทรงเห็น ย่อ มเห็น พระองค์
เป็นผู้มีพระจักษุมีพระญาณมีธรรม เป็นผู้ประเสิ่ริฐ เป็นผู้กล่าว
เป็น ผู้ป ระกาศ เป็น ผู้ท ำเน้ือ ความให้ต ื้น เป็นผู้ให้อมตธรรม
เป็นเจ้าของ แห่งธรรม เป็นผู้ถึงธรรมที่แทั
เว ล า น ี้ เป ็น ก า ล ส ม ค ว ร ท ื่จ ะ ท ูล ถ า ม เน ี้อ ค ว า ม
ข้อ น้ัน กะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ทรงแก้ปัญหาแก่ท่านท้ัง
หลายอย่า งใด ท่า นท้ัง หลายพึง ทรงจำความข ้อ นั้น ไว้อ ย่า ง
น้ันเถิด.

เว ล าท ี่ส ม ค ว ร เป ็น อ ย ่า งไ ร ?

ศึกษาได้จาก ธัม มัญ ฌุส ูต ร'” ’ หัวข้อ กาลัญ ญ

ดือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้รู้จักกาล มี ๔ อย่าง ดือ


น้ีเป็น กาลแห่ง อุเทศ(หมายถึงการเรีย นพุท ธพจน์)
น้ีเป็นการแห่งปริปุจฉา (หมายถึง การสอบถามเห ตุผ ล)
น้ีเป็น การบำเพ็ญ เพียร น้ีเป็นการหลีกเร้น
หากภิก ษุไ ม่ร ู้จ ัก กาลว่า น้ีเป็น กาลแห่ง อุเ ทศ
นี้เป็นกาลแห่ง ปริป ุจ ฉา นเี้ ป็นกาลบำเพ ็ญ เพ ีย ร

8๑0 อง. สตฺตก มจ. ๒๓/ ๑๔๓

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๖๗ พระลูกสษย์เป็นผู้รักการ‘สกตน

kalyanamitra.org
นเป็น ก าล ห ล ีก เร ้น เราไม่เ รีย กเธอว่า เป็น กาลัญ ฌู
ในท่ีน ้ี
แต่เพราะภิกษุรีจกกาลว่าน้ีเป็น กาลแห่งอุเทศ
ธ จ จ
น้ีเป็นกาลแห่งปริปุจฉาน้ีเป็นกาลแห่งกาลบำเพ็ญเพียร
น้ีเป็นกาลหลีกเร้นฉะน้ันเราจึงเรียกเธอว่าเป็นกาลัญ ฌู
การท่ีบ ุค คลใดจะเป็น พหูส ูต ได้น ั้น บุค คลน้ัน จะต้อ ง
เป็น ผู้'มีศ รัท ธาเป็น เบื๋อ งต้น เข้า ไปศึก ษาหาความรู้ รู้จัก
ไต่ถามข้อสงสัยต่างๆตั้งใจฟังจำเนี้อความนั้นแล้วนำไปปฏิบํติ
โดยจะต้องรู้จักกาลเทศะซ่ึงในหัวข้อ กาลัฌ ูญ
ซึ่งแบ่งเวลาออกเป็น ๔ ช่ว ง ดือ
๑. ช่ว งเวลาศึก ษาเล่า เรีย นพุท ธพจน์
๒. ช่วงเวลาลัน คว้าสอบถามเหตุผ ล
๓. ช่วงเวลาท่ีปฏิบ ติบำเพ็ญ เพียร
๔. ช่ว งเวลาหลีก เร้น (แยกตัว ออกจากหมู่ค ณะเพ่ือ
แสวงหาความวิเวกเป็นครั้งคราว)

เ ห ต ุแ ล ะ ป ัจ จ ัย ท ี่ท ำ ใ ห ้แ จ ่ม แ จ ้ง ใ น ธ ร ร ม ข อ ง

พ ร ะ ต ถ าค ต

ปุณ ณ ีย สูต ร ๑๑๖

ว่าด้วยพระปุณณิยะ
๑๑๒ องฺ อฏซิก มจ ๒๓/ ๔0 ๖

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๖๘ พระลูกสืษย์เป็นผู้ร้กการ'สกตน

kalyanamitra.org
คร้ังนั้น ท่า นปุณ ณิย ะเข้า ไปเสาพระผู้ม ีพ ระภาคถึง ท่ี
ประทับ ถวายอภิว าทแล้ว น่ัง ณ ท่ีส มควร ได้ก ราบทูล พระ
ผู้มีพระภาคดังน้ี

“ ข้าแต่พ ระองค์ผ ู้เจริญ อะไรหนอแล เป็นเหตุเป็น


ป๋จจัย ให้พระธรรมเทศนาของพระตถาคต แจ่มแจ้งใน
บางคราว แต่บางคราวไม่แจ่มแจ้ง”
พระผู้ม ีพ ระภาคตรัส ตอบว่า “ ปุณ ณิย ะ ภิก ษุเป็น ผู้ม ี
ศรัทธา แต่ไม่เข้าไปหาธรรมเทศนาของตถาคตจึงไม่แจ่มแจ้ง
แต่เม่ือใด ภิก ษุเป็น ผู้ม ีศ รัท ธาและเข้า ไปหาเมื่อ นั้น ธรรม
เทศนาของตถาคตจึงแจ่มแจ้ง
ปุณ ณิย ะ แต่เม่ือใด ภิกษุเป็นผู้มีศรัทธาและ เข้าไปหา
แต่ไม่เข้าไปนั่งใกล้ -.. เข้าไปนั่งใกล้แต่ไม่สอบถาม สอบถาม
แต่ไม่เงี่ยโสตฟังธรรม เงี่ยโสตฟังธรรม ...แต่ฟังธรรมแล้ว
ไม่ทรงจำธรรมไว่ได้. .ฟังแล้ว ทรงจำไว่ได้ แต่ไม่พ ิจารณา
เนื้อ ความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้ใต้... พิจ ารณาเนื้อ ความแห่ง
ธรรมที่ท รงจำไว้ แต่ไม่รู้อรรถ ไม่รู้ธรรม ไม่ป ฏิบ ัต ิธ รรม
สมควรแก่ธรรม รู้อรรถ รู้ธ รรมปฏิบ ัต ิส มควรแก่ธ รรมแล้ว
แต่ไ ม่ม ีว าจางาม เจรจาถ้อ ยคำไพเราะปร ะกอบด้ว ยวาจา
ชาวเมือง ท่ีส ละสลวยไม่ห ยาบคาย ให้รู้ความหมายได้
แต่ไ ม่ช ี้แ จงให้เพื่อ นพรหมจารีเห็น ชัด ไม่ช วนใจให้
อยากรับ เอาไปปฏิบ ัต ิ ไม่เ ร้า ใจให้อ าจหาญแกล้ว กล้า ไม่
ปลอบชโลมใจให้สดช่ืน ร่าเริง ธรรมเทศนาขอ งตถาคตจึง ไม่
แจ่มแจ้ง

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๖๙ พระลูกสษย์เป็นผู้รกการปึกตน

kalyanamitra.org
ปุณ ณิย ะ แต่เม่ือใด ภิกษุเป็นผู้มีศร้ทธา ๑
เข้าไปหา ๑
เข้าไปนั่งใกล้ ๑

สอบกาม ๑
เง่ียโสตฟังธรรม ๑
ฟังแล้ว ทรงจำไว้๑
พิจารณาเน้ือความแห่งธรรมที่ทรงไว้๑

เป็นผซริซิอรรถรซิธรรม ปฏ
๙*ิบตธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
มีวาจางาม เจรจาถ้อยคำไพเราะ ประกอบด้ว ย
วาจาชาวเมือง ท่ีส ละสลวยไม่ห ยาบคายให้ร ู้ค วามหมายได ้๑
ช้ีแจงให้เพื่อนพรหมจารีเห็นชัดชวนใจให้อยากรับ
เอาไปปฏิบ ้ต เร้า ใจ ให้อ าจหาญแกล ้ว กล้า ปลอบชโลม ใจ
ให้สดช่ืนร่าเริง ๑
เม่ือนั้นธรรมเทศนาของตถาคตจึงแจ่มแจ้ง

ปุณ ณิยะ ธรรมเทศนาของตถาคตประกอบด้วยธรรม ๑0


ประการ นื้แลจึงแจ่มแจ้งโดยแท้

เน้ือ ความแห่งพุท ธพจน์ป ระกอบไปด ้ว ยอะไรบ้าง

พุทธพจน์ มี องค์ ๙ (นวังคสัตถุสาสน์)


๑. สุตตะ คำสอนประเภทร้อยแก้ว ล้วนอรรถกถา
อธิบ ายว่า ได้แก่ อุภ โตวิภ ัง ค์ (ปาติโ มกข์ท ั้ง

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๗๐ [ะสูกสิษย์เป็นผู้วกการ่ชิกตน

kalyanamitra.org
สองฝ่า ย) นิเทศ ขัน ธกะ ปริว าร และพระสูตร
ในสุตตนิบาตท้ังสูตรอ่ืนๆ มี มงคลสูตร เป็นต้น

๖. เค ยยะ คำสอนประเภทร้อ ยแก้ว ผสมร้อ ยกรอง


หมายเอาพระสูต รที่ม ีค าถาทั้ง หมด โดยเฉพาะ
สคาถวรรค ลังยุต ตนิกาย
๓. เวยยากรณ ะ คำสอนประเภทท่ีเป็นอรรถาธิบ าย
โดยละเอียดเป็น ร้อ ยแก้วล้วนๆเช่น อภิธ รรมปิฎ ก
พระสูต รท่ีไม่ม ีค าถา และพระพุท ธพจน์อ ื่น ที่ไ ม่
นับเข้าในองค์ ๘ ขัอที่เหลือ

๔. คาถา คำสอนประเภทร้อยกรองล้วน เช่น ธรรมบท


เถรคาถา เถรี คาถา และคาถาล้วน ในสุดตนิบาต
ท่ีไม่ม ีช่ือกำกับว่า “ สูตร”
๕. อุท าน คำสอนประเภทที่เปล่งขึ้น จากแรงบัน ดาล
ใจของ พระพุทธเจ้า และพระสาวก มี ๘๒ พระสูตร
ส่วนมากจะเป็น บทร้อยกรอง
๖. อ ิด ว ุต ต ก ะ คำสอนประเภทคำอ ้า งอิง ท่ีย ก
ข้อความท่ีพ ระพุทธเจ้า ตรัสไว้ มาอ้างเป็น ตอนๆ
ได้แก่ พระสูตรส้ันๆ ๑๑๐ สูตรที่ข้ึน ต้น ด้วยคำว่า

“ วุตฺตํ เหตํ ภควตา”


๗. ชาดกะ (ชาดก) คำสอนประเภทนิทานชาดก หรือ
เรื่อ งราวในชาติป างก่อ นของพระพุท ธเจ้า ขณะ
เป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่ มีทั้งหมด ๕๕0
เรื่อง

ดัมภึร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๗๑ (ะลูกสิษย์เป็นผู้รักการ่สกดน

kalyanamitra.org
๘. อัพ ภูต ธรรม คำสอนประเภทเรื่องอัศจรรย์เก่ียว
กับ พระพุท ธเจ้า และพระสาวกท้ัง หลาย เช่น
พระพุท ธองค์ส มัย อยู่ใ นพระครรภ์พ ระนางสิร ิ
มหามายา นั่ง สมาธิผ ิน พระพัก ตร์อ อกมาทาง
ด้า นหน้า พระอุท ร ไม ่แ ปดเข้อ น ด้ว ยมลทิน
ครรภ์เหมือ นทารกธรรมดาทั้ว ไป นี้เป็น เรื่อ ง
อัศจรรย์เก่ียวกับพระโพธิสัตว์เป็นด้น

๙. เวท'ลละ คำสอนประเภทคำถาม-คำตอบ
เวทัลละ แปลว่า ได้ค วามรู้ค วามปลื้ม ใจ หมายถึง
ผู้ถ ามได้ค วามรู้แ ละความปลื้ม ใจ แล้ว ก็ถ ามต่อ
ไปเรื่อ ยๆ เช่น จูฬ เวทัล ลสูต ร สัม มาหิฎ ฐิส ูต ร
และสักกะปัญหาสูตร เป็นด้น

ต อ งไ ด ค ร ูด จ งจ ะเอ าด ีไ ด

พระภิกษุรปหนึ่งเช้าไปสอบถามพระภิกษุที่เป็นพระโสดา
ห่เ 9
บันแล้วจำนวน ๔ รูป ว่าท่านเหล่านั้นมีวิธีปฎิบติธรรมอย่างไร
แด่ป รากฏว่า คำตอบที่ไ ด้ร ับ จากแต่ล ะรูป ไม่เหมือ นกัน จึง
เกิดความสงสัยว่า เหตุใ ดปฏิบ ัต ิไ ม่เ หมือ นกัน แต่ก ลับ บรรลุ
เป็น พ ระโสดาบัน เหมือ นกัน พระสัม มาดัม พุท ธเจ้าจึงทรง
อธิบ ายด้ว ยการใช้อ ุป มาเปรีย บเทีย บให้เ ห็น ว่า คำตอบที่
แตกต่างกัน ของพระภิก ษุโสดาบัน ทั้ง สี่ร ูป นั้น เกี่ย วข้อ งเป็น
เร่ือ งเดีย วกัน กับ การบรรลุม รรคผลนิพ พานได้อ ย่า งไร ดัง
ปรากฏในกิงสุโปมสูตรดังนี้

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๗๒ เะลูกศึษย์เป็นผู้รักการ'ฝ็กดน

kalyanamitra.org
กิง สุโ กปมสูต ร ๑๑"

ว่าด้วยอุปมาด้วยต้นทองกวาว
ครั้ง นั้น ภิก ษุร ูป หนึ่ง เข้า ไปหาภิก ษุอ ีก รูป หนึ่ง ถึง
ที่อย่แล้วได้ถามภิกษุรปนั้นดังนี้ว่า
'บ รีรี]
“ ผู้ม ีอ ายุ ด้ว ยเหตุเพีย งเท่า ไรหนอ ภิก ษุจ ึง มีท ัศ นะ
หมดจดดี”
ภิกษุรปนั้นตอบว่า
รีรี]
“ ผรี]มอายรูี เพราะภิก ษรีรรี]ขัด ถึงความ เกิด แ ละความ ดับ
แห่ง ผัส สายต'นะ ๖ ประการ ตามความเป็น จริง ด้วยเหตุ
เพีย งเท่า น้ีแ ลภิก ษุจ ึงมีท ัศ นะหมดจดดี”
ขณะนั้น ท่านไม่พ อใจการตอบปัญ หาของภิก ษุร ูป นั้น
จึง เข้า ไปหาภิก ษุอ ีก รปหนึ่ง ถึง ที่อ ย่ แล้ว ได้ถ ามภิก ษุร ปนั้น
จ ขํ ข จจ่]
ดังนี้ว่า
“ ผู้ม ีอ ายุ ด้ว ยเหตุเ พีย งเท่า ไรหนอภิก ษุจ ึง มีท ัศ นะ
หมดจดด”
ภิกษุรปนั้นตอบว่า
รีรี]
“ ผมอายู
รี] รี เพราะภิกจข
ษุ่ ร ขัด ถึงความ เกิด แ ละความ ดับ
แห่ง อุป าทานขัน ธ์ ๕ ตามความเป็น จริง ด้ว ยเหตุเพีย งเท่า
นี้แล ภิกษุจึงมีท ัศ นะหมดจดดี”

๑๑๓ ส์ สาฬ มจ. ๑๘/ ๒๕๕

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๗๓ หระลูกสึษย์เป็นผู้รกการฟิกตน

kalyanamitra.org
ต่อมา ท่านไม่พอใจการตอบปัญหาของภิกษุรูปน้ัน
. ^๘1 ๘ V ท^ ’’2
จึงเข้าไปหาภิกษจุอีกข ริูปหนงถึงทอย
‘บแ
่ ลั วได้ ถามภิ กษ ุ รู
1

จ*ม นนว่า
“ ผู้มีอายุ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงมีทัศนะ
หมดจดด”
ภิกษุนั้นตอบว่า
“ผ
จม]อาจย เพราะภิกจษ
ข์ุรู้ชัดถึงความเกิดและควา”มดับ
แห่งมหาภูตรูป ๔ ตามความเป็นจริง ด้วยเหตุเพียงเท่านแล
ภิกษุจึงมีทัศนะหมดจดดี”

ต่อมา ท่านไม่พอใจการตอบปัญหาของภิกษุรูปนั้น จึง


เข้าไปหาภิกษุอีกรูปหนึ่งถึงที่อย่แล้วได้ถามภิกษุรูปนั้นว่า
จ จ] จ] จจ]
“ ผู้มีอายุ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงมีทัศนะ
หมดจดด”
ภิกษุรูปนั้นตอบว่า
จจ]
“ผ้มีอายุเพราะภิกษุรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า ‘ส่ิงใดส่ิง
ฑ่ รึ ^ จข ’
หน่ึงมีความเกิดข้ึนเป็นธรรมดา ส่ิงน้ันท้ังปวงมีดวาม
ดับไปเป็น1ธรรมดา’ ด้วยเหตุเพียงเท่าน้ีแล ภิกษุจึงมีทัศนะ
หมดจดดี”

ต่อมา ท่านไม่พอใจการตอบปัญหาของภิกษุรูปนั้น จึง


5? จจ]
เข้าไปเสาพระผู้มีพระภาคถึงที่ประหับ ถวายอภิวาทแล้ว นั่ง
ณท่ีสมควรได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า

ดัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๗๔ [ะลูกสษย์เป็นผู้รักการ'สกตน

kalyanamitra.org
“ ข้า แต่พ ระองค์ผ ู้เ จริญ ขอป ระทาน วโรกาส ข้า
พระองค์เข้าไปหาภิกษุรูป หน่ึงถึงท่ีอย่ แล้วได้ถามภิกษุร, ูปน้ัน
ๆขิ ข จน
ว่า ‘ผู้ม ีอ ายุด ้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอภิก ษุจึงมีท ัศ นะหมดจดดี’
เม่ือข้าพระองค์ถ ามอย่างน้ีแ ล้ว ภิก ษุรูป น้ัน ได้ต อบข้า
•V จ'ข
พระองค์ด ัง น้ีว ่า ‘ผ้ม ีอ ายุเพราะภิก ษุร ู้ช ัด ถึงดวามเกิด และ
ข่ จ รีข่
ดวามดับ แห่ง ผัส สายตนะ๖ ประการตามความเป็นจริง ด้วย
เหตุเพียงเท่านี้แ ลภิก ษุจ ึงมีท ัศ นะหมดจดดี’

ขณะน้ันข้าพระองค์ไม่พอใจการตอบปัญหาของภิกษุน้ัน
จึง เข้า ไปหาภิก ษุอ ีก รูป หน่ึง ถึง ท่ีอ ย่ , แล้ว ได้ถ ามภิก ษุร ูป น้ัน
จ ข้ ‘บจบ
ว ่า .... ฯ ล ฯ ....
.......ความเกิดและความดับ อุป าทานขัน ธ์ ๕ ........
...... ความเกิดและความดับ มหาภูต รูป ๔ ........
...... นึ่ง ใดนึ่ง หนึ่ง มีด วามเกิด ขึ้น เป็น ธรรมดา
น่ึงนั้นทั้งปวงมีดวามดับไปเป็นธรรมดา ...ฯ

ต่อ มา ข้า พระองค์ไ ม่พ อใจการตอบปัญ หาของภิก ษุ


รูป นั้น จึงเข้ามาเสาพระองค์ถ ึงที่ป ระหับ ฯลฯ

ขัาแต่พ ระองค์ผู้เจริญด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอภิกษุ
จึง มีท ัศ นะหมดจดดี”
พระผู้ม ีพ ระภาคตรัส ว่า “ ภิก ษุ เปรีย บเหมือ นบุร ุษ
ไม่เคยเห็น ต้น ทองกวาวเลย เขาเข้า ไปหาบุร ุษ คนหน่ึง ผู้เคย
เห็น ด้น ทองกวาวถึง ที่อ ยู่ แล้ว ถามบุร ุษ น้ัน อย่า งน้ีว ่า ‘ท่า น
ผู้เจริญ ต้นทองกวาวเป็นเช่นไร”

คัม ภีร์ส รัางวดจากพระโอษฐ ๒๗๕ หระลูกสษย์เป็นผู้รักการขิกตน

kalyanamitra.org
บุร ุษ นั้น พึงตอบอย่างน้ีว ่า ‘ท่านผู้เจริญ ต้น ทองกวาว
ดำเหมือนตอที่ถูกไฟไหม้’
เวลานั้น ต้น ทองกวาวเป็น ดัง ท่ีเขาเห็น ขณะนั้น เขา
ไม่พ อใจการตอบปัญ หาของบุร ุษ นั้น จึง เข้า ไปหาบุร ุษ อีก
คนหน่ึง ผู้เ คยเห็น ต้น ทองกวาวถึง ที่อ ยู่ แล้ว ถามบุร ุษ นั้น
อย่างน้ีว่า ‘ท่านผู้เจริญ ต้นทองกวาวเป็นเช่นไร’
บุร ุษ นั้น พึงตอบอย่างน้ีว ่า ‘ท่า นผู้เจริญ ต้น ทองกวาว
แดงเหมือ นช้ิน เน้ือ ’ เวลาน้ัน ต้น ทองกวาวเป็น ดัง ที่เขาเห็น
ต่อมาเขาไม่พอใจการตอบปัญหาของ
บุร ุษ นั้น จึง เข้า ไปหาบุร ุษ อีก คนหนึ่ง ผู้เ คยเห็น ด้น
ทองกวาวถึง ท่ีอ ยู่ แล้ว ถามบุร ุษ น้ัน อย่า งน้ืว ่า ‘ท่า นผู้เจริญ
ต้นทองกวาวเป็นเช่นไร’
บุร ุษ นั้น พึงตอบอย่างน้ืว ่า ‘ท่านผู้เจริญ ต้น ทองกวาว
ที่เกิดนานมีฝักเหมือนต้นชึกั
เวลานั้น ดัน ทองกวาวเป็น ดัง ท่ีเขาเห็น ต่อ มา เขาไม่
พอใจการตอบปัญ หาของบุร ุษ นั้น จึง เข้า ไปหาบุร ุษ อีก คน
หนึ่งผู้เคยเห็น ต้น ทองกวาวถึงที่อยู่ แล้วถามบุรุษนั้นอย่างนี้ว่า
‘ท่านผู้เจริญ ดันทองกวาวเป็นเช่นไร’
บุรุษ นั้น พึงตอบอย่างนื้ว ่า ‘ท่านผู้เจริญ ดัน ทองกวาว
มีใบแก่และใบอ่อนหนาแน่น มีร่มทึบเหมือนต้นไทร’
เวลานั้น ต้น ทองกวาวเป็น ดัง ที่เขาเห็น แม้ฉ ัน ใด ชัอ นื้
ก็ฉันนั้นเหมือนกัน การเห็น ของสัต บุร ุษ เหล่า นั้น ผู้เ ชื่อ แล้ว

ดัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๗๖ เะลูกสษย์เป็นผู้รกการืสกตน

kalyanamitra.org
เป็น 1อัน1ถูก ต้อ งโดยป ระการใด ๆ ส ัต บ ุร ุษ เห ล ่า น ้ัน ก ็ไ ด ้
ตอบโดยประการนั้น ๆ

ภิก ษุ เมืองชายแดนของพระราชา มีกำแพงและเชิงเทิน


ม่ันคง มี ๖ ประตู
น าย ป ร ะต ข
ู องเมือ งน้ัน เป็น บัณ ฑิต เฉีย บแหลม มี
ปัญ ญา คอยห้า มคนท่ีต นไม่ร ู้จ ัก อนุญ าตเฉพาะคนท่ีต น
รู้จักให้เข้าไปในเมืองน้ัน

ราชทูต ๖ นายมีราชการด่วนมาจากทิศตะวันออก ถาม


นายประตูน้ันอย่างน้ีว่า ‘ผู้เจริญ เจ้าเมือง ๆ น้ีอยู่ท่ีไหน’
นายประตูน ้ัน ตอบอย่า งน้ีว ่า ‘ท่า นผู้เ จริญ น้ัน เจ้า
เมืองนั้ง่อยู่ทท
ี่ างลี่แ ยกกลางเม ือ ง’
ลำดับ น้ัน ราชทูต ๒ นายผู้ม ีร าชการด่ว นได้ม อบ
ถวายพระราชสาส์น ตามความเป็น จริง แก่เจ้า เมือ งแล้ว กลับ
ไปตามทางท่ีตนมา
ราชทูตอีก ๒ นายผู้มีราชการด่วน มาจากทิศตะวัน ตก
ฯลฯ มาจากทิศ เหนือ -.. มาจากทิศ ใต้ แล้ว ถามนายประตู
น้ันอย่างน้ีว่า ‘ผู้เจริญ เจ้าเมือง ๆ นี้อยู่ที่ไหน’
นายประตูน ้ัน ตอบอย่า งน้ีว ่า ‘ท่า นผู้เจริญ นั้น เจ้า
เมือ งนั้งอยู่ท ี่ท างลี่แยกกลางเมือ ง’
ลำดับ นั้น ราชทูต ๒ นายผู้ม ืราชการด่วนน้ัน ได้ม อบ
ถวายพระราชสาส์น ตามความเป็น จริง แก่เ จ้า เมือ งแล้ว ก็
กลับ ไปตามทางที่ต นมา แม้ฉันใด

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๗๗ โะะลูกสษย์เป็นผู้รกการนืกตน

kalyanamitra.org
อุปไมยน้ีก ็ฉ ัน น้ัน เรายกมาก็เพ่ือ ให้เข้า ใจเน้ือ ความ
ชัดเจน

ในอุปไมยน้ันมีอธิบายดังต่อไปน้ี
คำว่า เม ือ ง นีเ้ ป็นชื่อของ กาย นี้ ซ่ึงประกอบขึ้นจาก
มหาภูต รูป ๔ เกิด จากมารดาบิด า เจริญ วัย เพราะข้า วสุก
และขนมกุม มาส ไม่เ ท่ีย งแท้ ต้อ งอบ ต้อ งนวดเฟ้น มีอัน
แตกกระจัดกระจายไปเป็นธรรมดา
คำว่า มี ๖ ป ร ะต ู น้เี ป็นช่ือของ อายตนะภายใน ๖
ประการ
คำว่า น าย ป ร ะ ต ู นีเ้ ป็นช่ือของ สติ
คำว่า ราช ท ูต ๖ น าย ผ ู้ม ีร าช ก าร ด ่ว น น เี้ ป็นชื่อของ
ส ม ถ ะ แ ล ะ ว ิป ัส ส น า
คำว่า เจ ้า เม ือ ง นีเ้ ป็นช่ือของ วิญ ญาณ
คำว่า ท า งล ่ีแ ย ก ก ล างเม ือ งน เ้ี ป็นชื่อของมหาภูตรูปท้ัง
๔ คือ
๑. ปฐวีธาตุ (ธาตุด ิน )
๒. อาโปธาตุ (ธาตุน ั้า )
๓. เตโชธาตุ (ธาตุไฟ)
๔. วาโยธาตุ (ธาตุล ม)
คำว่า พ ร ะร าช ส าส ์น ต าม ค วาม เป ็น จร ิง น เ้ี ป็นชื่อของ
น ิพ พ าน

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๗๘ (ะลูกสษย์เป็นตู้รกกาวฟิกตน

kalyanamitra.org
คำว่า ทางตามที่ต นมา นีเ้ ป็นชื่อของอริยมรรคมีองค์

คอ
๑. สัมมาทิฎฐิ (เห็น ชอบ)
ฯลฯ
๘. สัมมาสมาธิ (ตั้งจิต มั่น ชอบ)”

จากคำตรัสในพระสูตรน้ีมีข้อคิดและข้อสังเกตว่า
๑. การสอบถามผ ้ร1 ัเป็น การหาความร ัท ี่ถ ูก ต้อ งใน
‘นบ ‘น ข์
การปฏิป ้ต ิ แต่การรู้ได้แจ้งชัด มีแ ต่ต ้อ งลงมือ
ปฏิบ้ติด้วยตนเองเท่านั้น
๒. สถานท่ีแห่งใดมีพระเถระ ผู้เป็น พหูสูต ทรงภูม ิร ู้
ภูมิธรรมและยินดีต่อการช้ีแนะหนทางพระนิพพาน
สถานที่แ ห่ง น้ัน คือ ประตูส ู่ม รรคผลนิพ พานใน
แดนมนุษย์
๓. ผู้ท ำพระนิพ พานให้แ จ้งได้แ ล้ว แม้ต ่า งคนต่า ง
ตอบไม่เ หมือ นกัน แต่ห มายถึง พ ระนิพ พาน
เหมือ นกัน มีแ ต่ผ ู้เห็น พระนิพ พานแล้ว เท่า นั้น
จึง จะรู้ว ่า แม้ต อบไม่เหมือ นกัน แต่ไม่มีอะไรชัด
กันแม้แด่คำเดียว
๔. การทำพระนิพ พานให้แ จ้ง ต้อ งอาลัย การปฏิบ ้ต ิ
มรรคมีองค์ ๘ เป็นสายกลางแห่งการบรรลุธรรม
แต่ม รรคมีอ งค์ ๘ จะครบถ้ว นได้ก ็ต ่อ เม่ือ ลงมือ
ทำสมาธิภ าวนาเท่า นั้น หากไม่ท ำสมาธิภ าวนา

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๗๙ เะลูกสิษย์เป็นผู้รักกาวฟิกตน

kalyanamitra.org
ต้น ทางแห่ง การมุ่ง ตรงสู่พ ระนิพ พานย่อ มไม่
เกิดข้ึนในบุคคลน้ัน
๕. การบำเพ็ญ ภาวนา เพ่ือทำพระนิพพานให้แจ้งน้ัน
สมถและวิปัสสนาต้องติดคู่กันไม่พรากออกจากกัน
จึงจะเห็นพระนิพพาน
๖. พระอรหันต์เห็นพระนิพพาน ๔ คร้ัง
เห็นครั้งแรก ดือ เป็นพระโสดาบัน
เห็นคร้ังท่ีสอง ดือ เป็นพระสกทาคามี
เห็นคร้ังท่ีสาม ดือ เป็นพระอนาคามี
เห็นคร้ังท่ีส่ีดือ เป็นพระอรหันต์

มิไ ด้เป็น พระอรหัน ต์แ ต่เห็น พระนิพ พาน


มีหลักฐานในพระไตรปิฎกท่ีน่าสนใจเกี่ยวกับพระสงฆ์ผู้
ยัง ไม ่ห ม ดกิเ ลส แต่ก ็ส ามารถเห็น พ ระนิพ พ านได้ ดัง
ปรากฎในโกดัมพ็สูตรดังนี้

โกสัมพิสูตร๑*’๔

ว่าด้วยการสนทนาธรรม ณกรุง โกลัม พ็

สํ น. มจ. ๑๖/ ๑๔๑

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๘0 เะลูกสิษยัเป็นผู้รกการ่ฝืกตน

kalyanamitra.org
สมัย หน่ึง ท่า นพระมุส ิล ะ ท่า นพระปวิฎ ฐะ ท่านพระ
นารทะ และท่านพระอานนท์พ ักอยู่ ณ โฆสิต าราม เขตกรุง
โก ส้มพี
...ท่านนารทะ เว้นจากความเช่ือ เว้นจากความชอบใจ
เว้นจากการฟังตามกันมาเว้นจากการคิดตรองตามแนวเหตุผล
เว้น จากการเข้า ได้ก ับ ทฤษฎีท ี่พ ิน ิจ ไว้แ ล้ว ท่า นนารทะมี
ความรู้เฉพาะตนว่า ‘ความดับแห่งภพเป็น นิพพานหรือ’
“ ท่า นปวิฎ ฐะ เว้นจากความเช่ือ เว้น จากความชอบใจ
เว้นจากการฟังตามกันมาเว้นจากการคิดตรองตามแนวเหตุผล
เว้น จากการเข้า ได้ก ับ ทฤษฎีท ี่พ ิน ิจ ไว้แ ล้ว ผมรู้เ ห็น ว่า
‘ความดับแห่งภพเป็น นิพพาน”
“ ถ้าเช่นนั้น ท่านนารทะก็เป็นพระอรหันตขีณ าสพละสิ”

“ ท่า นผู้ม ีอ ายุ ข้อ ว่า ‘ความดับ แห่ง ภพเป็น นิพ พาน’
ผมเห็น ดีด ้ว ยปัญ ญาอัน ชอบตามความเป็น จริง แต่ผมไม่ใช่
พระอรหัน ตขีณ าสพ เปรีย บเหมือ นบ่อ นั้า ในทางกัน ดารที่
ปอน้ัน ไม่ม ีเชือก ไม่มีคันโพง ทันใดนั้น มีบ ุร ุษ เดิน ฝ่า ความ
ร้อ นอบอ้า วเหน็ด เหน่ือ ยเม่ือ ยล้า กระหายนั้า มา เขามองดู
บ่อ น้ํา น้ัน ก็รู้ว่ามีน ้ัา แต่ส ัม ผัส ด้ว ยกายไม่ไ ด้ อุปมานี้ฉันใด
อุปไมยก็ฉันนั้น ข้อ ว่า ‘ความดับ แห่ง ภพเป็น นิพ พาน’ ผมก็
เห็น ดีด ้ว ยปัญ ญาอัน ชอบตามความเป็น จริง แต่ผ มไม่ใช่
พระอรหันตขีณาสพ”

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๘๑ พระลกสษฟ้เป็นผู้ร้กการ่?เกตน

kalyanamitra.org
ภิก ษุผ ู้เ ถระเหล่า นั้น ย่อ มเปิด เผย
ข้อที่ยังไม่เปิดเผย ทำซัอที่เข้าใจยาก
ให้เ ข้า ใจง่า ย และบรรเท าความ
สงสัย ในธรรมท่ีน ่า สงสัย หลายอย่า ง
แก่ภิกษุน้ัน

kalyanamitra.org
บทท่ี

*-----/-------- *

การอบรมบ่มนิสัย
เพื่อการบรรลุธรรม

ความหมาย ของการอบร มธรรมะใน เสน1าสนสูต ร


พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสความหมายของการอบรม
ธรรมะไว้ดังนี้

ภิกษุผู้เถระเหล่านั้นย่อมเปิดเผยข้อที่ยังไม่เปิดเผย
ทำข้อท่ีเข้าใจยากให้เข้าใจง่าย
และบรรเทาความสงสัยในธรรมที่น่าสงสัยหลาย
อย่างแก่ภิกษุนั้น

kalyanamitra.org
จากพระดำรัสดังกล่าว มีข้อสังเกตว่า
๑. พระเถระที่ส ามารถฟิก อบรมพระภ ิก ษุใ ห้บ รรลุ
ธรรมได้น้ัน ต้องอาศัยองค์ประกอบ ๔ ประการ

๑.® ครูด้นแบบ คือ พระเถระผู้สอนธรรม


๑.๒ ลูก ศิษ ย์ค ือ พระภิกษุผู้เรียนธรรม
๑.๓ การวางหลักสูตรท่ีดีจริง
๑.๔ การอบรมปมนิสัยท่ีดีจริง

๒. การฟิกอบรมธรรมะให้แก่พระภิกษุน้ันเดิมพันด้วย
ความเจริญ รุ่งเรือ ง หรือ ความเส่ือ มสูญ ของพระพุท ธศาสนา
เพราะธรรมะในพระพุทธศาสนามี ๓ ระดับ
๒.๑ ธรรมะท่ีพระส้มมาลัมพุทธเจ้าตรัสรู้ซ่ึงสถิตอยู่
ภายในพระวรกายของพระองค์
๒.๒ ธรรมะที่พ ระสัม มาดัม พุท ธเจ้า ทรงสั่ง สอน
เพ่ือฟิกอบรมชาวโลกให้บรรลุธณรม
๒.๓ ธรรมะ คือ นิส ัย ดีท ี่ไ ด้จ ากการฟ ิก ฝน
อบรมตนเอ งอย่า งทุ่ม ชีว ิต เป็น เดิม พัน ใน
การทำความดี

พระเถระต้นแบบ ผู้รู้จริง ทำได้จริง สอนได้จริง


การที่พ ระเถระท่า นจะเป็น ด้น แบบได้ ย่อ มแสดงว่า
ท่านต้องรู้จริง ทำได้จริง สอนได้จริง

ด้ม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๘๔ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑.๑ รู้จริง คือ เป็นพหูสูต เรียนจบคัมภีร์ทรงธรรม ทรง
วิน ัย ทรงมาติกา
๑.๒ ทำได้จ ริง คือ ฟิกตนเองอย่างทุ่ม ชีวิต เป็น เดิม พัน
และบรรลุธรรมมาตามลำดับ
๑.๓ สอนได้จ ริง คือ สามารถอธิบายให้แจ่มแจ้งได้จริง
ว่า อะไร ทำไม ทำอย่า งไร ผลเป็น อย่างไร และสามารถฟิก
นิส ัย ทุ่ม ชีว ิต ทำความดีใ ห้แ ก่ล ูก ศิษ ย์ไ ด้จ ริง ซึ่ง ข้อ นี้พ ระ
เถระจะทำได้ต่อเมื่อ
(๑) พระเถระมีค วามเข้า ใจเร่ือ งการอบรมบ่ม
นิสัยคนว่า
(๑.๑) นิสัยคืออะไร
(๑.๒) นิสัยเกิดข้ึนได้อย่างไร
(๑.๓) อุปกรณ์การฟิกอยู่ที่ไหน
(๑.๔) สถานท่ีฟิกเป็นอย่างไร

(๒) พระเถระมีค ุณ สมปตของกัล ยาณมิต ร ด้ง


ปรากฎในทุติยมิตตสูตรดังนี้

ทุต ิย ม ิต ตสูต ร■” ๖

ว่าด้วยองค์แห่งมิตร สูตรที่ ๒

ภ ิก ษ ุท ้ัง หลาย มิต รประกอบด้ว ยองค์ ๗ ประการ


เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปน่ังใกล้แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม

**๖ องฺ สดกุ มจ. ๒๓/ ๔๗, มก. ๓๗/ ๙๓

ดัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๘๔ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
องค์ ๗ ประการ อะไรบ้าง ลือ
๑. เป็นท่ีรักเป็นท่ีพอใจ9๑๗
๒. เป็นท่ีเคารพ
๓. เป็นที่ยกย่อง
๔. เป็นนักพูด99๘
๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ99’'
๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซ้ึงได้9'’ 0
๗. ไม่ชักนำในอฐานะ9'” ,
” ๗
เป็น ที่ร ัก เป็น ที่พ อใจ ในท่ีนี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ
(๑) มีศรัทธา คือ เช่ือการตรัสรู้ของพระตถาคต เช่ือกรรมและผลของกรรม
(๒) มีศีล คือ เป็นท่ีรัก เป็นท่ีเคารพ เป็นท่ีนับถือของสัตว์ท้ังหลาย
(๓) มีสุดะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซ้ึงท่ีสัมปยุตด้วยสัจจะและปฎิจจลมุปบาท
(๔) มีจาคะ คือ ปรารถนานัอย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่
(๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฎีบ้ติ เพอเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูล
แก่ผู้อ่ืน
(๖) มีสต คือ มีสติตั้งม่ัน
(๗) มีสมาธิ คือ มีจิตต้ังม่ันไม่พิงซ่าน

(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม


รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เก้ือกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาดามความเป็นจริง
มจิต เป็น หน่ึงในอารมณ์น นด้ว ยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่ เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่
เกื้อกูลด้วยความเพียร (อง.. สต.ตก. ฎีกา ๓/ ๓๗-๔๓/ ๒๐๓)
” ๘
เป็น นัก พูด ในท่ีน้ีหมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (อง.. สดฺดก. อ. ๓/ ๓๗/ ๑๗๙)
■” ๙ อดทนต่อ ถ้อ ยดำในท่ีน ี้ห มายถึง ปฏิบ้ติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (อง.. สด.ดก. อ.
๓/ ๓๗/ ๑๗๙)
0๒0
ถ้อ ยดำลึก ซึ้ง หมายถึง เรื่องเก่ียวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (อง..
สต.ตก. อ. ๓/ ๓๗/ ๑๗๙)
“๒ ๑ ไม่ช ัก นำในอฐานะหมายถึงป้องกัน ไม่ให้ท ำในส่ิงท่ีไม่เป็นประโยชน์เก้ือกูลมีคติ
เป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคดิเป็นสุข (เทียบ อง.. ลด.ดก. ฎีกา
๓/ ๓๗/๒๐๓)

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๘๖ การอบรมนิสัยเพี่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิกษุทั้งหลายมิตรประกอบด้วยองค์๗ ประการน้ีแล เป็น
็ าม
่ ต
ผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปน่ังใกล้ แม้จะถูกข้บไลก

พ ระลูก ศิษ ย์ผ ู้ม ีค วามพ ร้อ มใน การฟ ิก ตน

ในพระพุท ธศาสนา ผ้ม ีค วามพร้อ มในการฟิก ตน


หมาย1ดึง1 ผัท ึม ีโวามไมประมาท

ผู้มีความไม่ประมาท ดือ ผู้ท ี่ป ฏิบ ัต ิม รรคมีอ งค์ ๘


นั่น ก็ห มายความว่า มรรคมีองค์ ๘ คือ แม่บทการฟิก
คนในพระพุทธศาสนา ซึ่งประกอบด้วย

๑. สมมาทภฐิ
ใ .. . 'ใ . น ้ี. , 1 ปัญ ญา
๒. ล้มมาสิงกิปปะ
๓. สัมมาวาจา
๔. สัมมากัมม้นตะ ศีล
๕. สัมมาอาชีวะ
๖. สัมมาวายามะ
๗. สัมมาสติ สมาธิ
๘. สัมมาสมาธิ

นอกจากนี้ มรรคมีอ งค์ ๘ ยัง กล่า วย่อ เหลือ องค์ ๓


ได้'อีกด้วย คือ

ดมภร์ส ร้างวัด จากพระโอษฐ ๒๘๗ การอบรมน๊ส ัย เพ่ึอ การบรรลุธ รรม

kalyanamitra.org
๑. สัมมาทิฏฐิ ดัมมังกัปปะ ย่อเหลือ ป ญ
ั ญา
๒. สัมมาวาจา สัมมากัมมันตา สัมมาอาชีวะ ย่อเหลือ
ศึล
๓. สัม มาวายามะ สัมมาสติ สัม มาสมาธิ ย่อ เหลือ
สมาธิ

นอกจากน ้ีจ ากการศึก ษ าพ บว่า


๑. ป๋ฌ ูญ า เกิดขึ้นได้ด้วย เคารพ
๒. ศึล เกิดข้ึนได้ด้วย วิน ัย
๓. สมาธิ เกิดขึ้นได้ด้วย อดทน

เพราะฉะน้ัน พระภิกษุผู้มีดวามพร้อมในการ่ฝืกตนนั้น
จึง ต้อ งมีเคารพ วิน ัย อดทน เป็น พื้น ฐานสำคัญ จึง จะทำให้
การปฏิบ ้ต ิม รรคมีอ งค์ ๘ เกิด ความก้า วหน้า ไปตามลำดับ ๆ
จนกระท่ังบรรลุธรรมเป็นผู้ถึงท่ีสุดแห่งทุกข์

ป ัญ ญ าเก ิด ข ึ้น ไ ด ้ด ้ว ย เค าร พ เป ็น อ ย ่า งไ ร

๑. ประเภทของ ความเคารพ
พระสารีบุต ร พระอัค รสาวกเบ้ือ งขวาของพร ะสัม มา-
สมพุท ธเจ้า กล่า วแสดงเร่ือ งประเภทขอ งความเคารพ ไว่ใ น
ลักกัจจสูตร'”0'0 ว่า

องฺ สดฺตก มจ. ๒๓/ ๑๕อ, มก. ๓๗/ ๒๔๗

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๘๘ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ความเคารพมี ๗ ประการ
๑. เคารพในพระพุทธเจ้า
๒. เคารพในพระธรรม
๓. เคารพในพระสงฆ์
๔. เคารพในการศึกษา
๕. เคารพในการทำสมาธิ
๖. เคารพในความไม่ประมาท
๗. เคารพในการปฏิสันถาร
ผู้มีเคารพใน ๗ ประการนี้ ย่อ มเป็น ผู้ล ะอกุศ ล เจริญ
กุศลได้

๒. พระพุท ธศาสนาต้ังอยู่ได้ด ้วยความเคารพ


พระสัม มาดัม พุท ธเจ้า ตรัส ถึง เหตุแ ห่ง ความเสื่อ มและ
ความเจริญ ของพระพุท ธศาสนาไว้ใ นปฐมดัท ธัม มลัม โมส
สูตรดังน้ี

ปฐมสัท ธัม ่ม สัม โมสสูต ร๑๒"

ว่า ด้ว ยเหตุเส่ือ มและเหตุเจริญ แห่งศาสนา

ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ธรรม ๕ ประการนี้ย่อมเป็น ไปเพื่อ


ความตั้ง มั่น ไม่ล บเลือ นเสื่อ มสูญ แห่ง สัท ธรรม ธรรม ๕
ประการเป็นไฉน ดือ

"๒" ยึงฺ ป๋ฌฺจก มจ. ๒๒/๒๔๓, มก. ๓๖/๓๔๓

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๘๙ การอบรมน้ลัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑. ภิกษุในธรรมวินัยนย่อมฟังธรรมโดยเคารพ
๒. เล่าเรียนธรรมโดยเคารพ
๓. ทรงจำธรรมโดยเคารพ
๔. ใคร่ค รวญอรรถแห่ง ธรรมที่ท รงจำไวํโ ดย
เคารพ
๕. รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิป้ติธรรมสมควรแก่ธรรม
โดยเคารพ

ดูก ่อ นภิก ษุท ั้ง หลาย ธรรม ๕ ประการน้ีแล ย่อมเป็นไป


เพ่ือความต้ังม่ันไม่ลบเลือนเส่ือมสูญแห่งล้ทธรรม

๓. ปัญ ญาเกิด ขึ้น จากดวามเดารพ

มีหลักฐานยืนยันว่า ปัญ ญาเกิดข้ึนได้ด้วยความเคารพ


ปรากฏใน คารวสูตร ดัง นี้

ดารวสูต ร ๑๒๔

ว่าด้วยพระพุทธเจ้าทรงลักการะเคารพธรรม

สมัย หนึ่ง พระผู้ม ีพ ระภาคแรกตรัส รู้ป ระทับ อย่ท ี่ใ ต้


ต้นอชปาลนิโครธใกล้ฝังแม่นํ้าเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลา ครังนั้น
พระผู้ม ีพ ระภาคเสด็จ หลึก เร้น อยู่ใ นที่ส งัด เกิด ความรำพึง
อย่า งนี้ว ่า “ บุค คลผูไ ม่เคารพ ไม่ย ำเกรง ย่อ มอยู่เ ป็น ทุก ข์

*๒๙ ส์ ส มจ. ๑๕/๒๓๓, มก. ๒๕/®๒๗

ดัม ภึร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๙๐ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เราพึง สัก การะ เคารพ อาศัย สมณะหรือ พราหมณ์ค นไหน
หนอแลอยู่”
ลำดับ นั้น พระผู้ม ีพ ระภาคได้ม ีพ ระดำริด ังนี้ว่า “ เรา
พึง สัก การะ เคารพอาศัย สมณะหรือ พราหมณ์อ ่ืน อยู่ เพ่ือ
ความบริบ ูร ณ ์แ ห่ง สีล ขัน ธ์ท ี่ย ัง ไม่บ ริบ ูร ณ ์ แต่เราไม่เห็น
สมณะหรือ พราหมณ์อ ่ืน ในโลก พร้อ มท้ัง เทวโลก มารโลก
พรหมโลก และหมู่ส ัต ว์พ ร้อ มท้ัง สมณพราหมณ์ เทวดาและ
มนุษ ย์ท ่ีม ีศ ีล สมบูร ณ์ก ว่า เรา ท่ีเ ราจะพึง สัก การะ เคารพ
อาศัยอยู่
เราพึงลัก การะ เคารพ อาศัย สมณะหรือ พราหมณ์อ ่ืน
อยู่ เพื่อ ความบริบ ูร ณ์แ ห่ง สมาธิข ัน ธ์ท ี่ย ัง ไม่บ ริบ ูร ณ์ แด่เรา
ไม่เห็นสมณะหรือพราหมณ์อ่ืนในโลกพร้อมท้ังเทวโลกมารโลก
พรหมโลก และหมู่ส ัต ว์พ ร้อ มท้ัง สมณพราหมณ์ เทวดาและ
มนุษ ย์ท ่ีม ีส มาธิส มบูร ณ์ก ว่า เรา ท่ีเ ราพึง ลัก การะ เคารพ
อาศัยอยู่
เราพึงดักการะ เคารพ อาศัยสมณะหรือพราหมณ์อื่นอยู่
เพ่ือ ความบริบ ูร ณ์แ ห่ง ปัญ ญาขัน ธ์ท ี่ย ัง ไม่บ ริบ ูร ณ์ แต่เราไม่
เห็นสมณะหรือพราหมณ์อื่นในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก
พรหมโลก และหมู่ส ัต ว์พ ร้อ มท้ัง สมณพราหมณ์ เทวดาและ
มนุษ ย์ท ี่ม ีป ัญ ญาสมบูร ณ์ก ว่า เรา ที่เราพึง ดัก การะ เคารพ
อาศัยอยู่

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๙® การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เราพึงสักการะ เคารพ อาศัยสมณะหรือพราหมณ์อนอยู่
เพื่อ ความบริบ ูร ณ์แ ห่ง วิม ุต ติข ัน ธ์ท ี่ย ัง ไม่บ ริบ ูร ณ์ แต่เราไม่
เห็น สมณะหรือ พราหมณ์อ ่ืน ในโลก พร้อ มทั้ง เทวโลก ฯลฯ
ท่ีมีริมุตติสมบูรณ์กว่าเรา ที่เราพึงลักการะ เคารพ อาศัยอยู่
เราพึงลักการะ เคารพ อาศัยสมณะหรือพราหมณ์อ่ืนอยู่
เพื่อ ความบริบ ูร ณ์แ ห่งวิม ุต ติญ าณทัส สนขัน ธ์ท ี่ย ัง ไม่บ ริบ ูร ณ์
แต่เราไม่เห็นสมณะหรือพราหมณ์อื่นในโลก พร้อมทั้งเทวโลก
มารโลก พรหมโลก และหมู่ส ัต ว์พ ร้อ มทั้ง สมณพราหมณ์
เทวดาและมนุษ ย์ท ่ีม ีว ิม ุต ติญ าณทัส สนะสมบูร ณ์ก ว่า เรา ท่ี
เราพึงลักการะ เคารพอาศัยอยู่

ทางท่ีดีเราพึงสักการะเคารพธรรมที่เราตรัสรู้แล้วนั่นแลอยู่

จากข้อ สังเกตใน ๓ พระสตรนี้เอง ที่ท ำให้เกิด ความ


เข้าใจท่ีเช่ือมโยไ.กบมรรคมีองฅ์๘ ว่า

เคารพ คือ เปิดใจรับความรู้และความดี ไม่ว่าจาก


ใครก็ตาม หรือส่ิงใดก็ตามที่ดีจริง
เพราะเหตุน ี้ เคารพจึงเป็นต้นทางแห่งปัญญา
และเป็นพื้นฐานแห่งการบรรลุธรรมท่ียิ่ง ๆพื้นไป

คัมภีร์สร้างรัดจากพระโอษฐ์ ๒๙๒ การอบรมน้สัยเพึ่ 0 การบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ศีล เกิด ขึ้น ได้ด ้ว ยวิน ัย เป็น อย่างไร

๑. ประเภทของวินัย
วิน ัยของพระภิก ษุในที่น ้ีคือ ปาริสุทธิศีล

แบ่งเป็น ๔ ประเภท
(๑) ปาติโมกขสังวรศีล
ศีลคือ ความสำรวมในพระป าติโมกข์ เว้น จากข้อ
ห้ามทำตามข้ออนุญ าตประพฤติเคร่งครัดในสิกขาบททั้งหลาย

(๖) อินทรียสังวรศีล
ศีล คือ ความสำรวมอิน ทรีย ์ ระวังไม่ให้บาปอกุศล
ครอบงำ เม่ือร้บรู้อารมณ์ด้วยอินทรีย์ทั้ง ๖

(๓) อาชีวปาริสุทธิศีล
ศีลคือความบริสุทธึ้แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีว ิต โดยทาง
ท่ีชอบ ไม่ป ระกอบอเนสนามีห ลอกลวงเขาเลี้ยงชีพ เป็น ด้น

(๔) ปัจจัยสันนิสิตศีล
ศีล ท่ีเก่ีย วกับ ปัจ จัย ๔ ได้แก่ ปัจ จัย ปัจ จเวกขณะ
คือ พิจ ารณาใช้ส อยปัจ จัย ๔ ให้เป็น ไปตามความหมายแ ละ
ประโยชน์ของส่ิงน้ันไม่บริโภคด้วยตัณหา

(วสุทธ. ๑/ ๑๔-๑๘/ ๑๗-๓๖)

๖. ศีลเกิดข้ึนได้ด้วยวินัย

มีหลักฐานยืนยันว่า ศีลเกิดขึ้นได้ด้วยวินัย มากมาย จึง


ขอยกมาเฉพาะที่ปรากฎในอัทกรินสูตรดังนี้

คัมภีร์สรัางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๙๓ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
อันธ กรินท สูตร‘'๒๕

ว่าด้วยหมู่บ้านอันธกวินทะ

สมัยหนึ่ง พระผู้ม ีพ ระภาคประทับ อยู่ท ่ีห มู่บ ้า นอัน ธ-


กวิน ทะ แคว้น มคธ ครั้งน้ัน ท่า นพระอานนท์เ ข้า ไปเสา
พระผู้ม ีพ ระภาคถึงท่ีประทับถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ที่สมควร
พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเร่ืองน้ีว่า
อานนท์เธอทั้งหลายพึงยังพวกภิกษุใหม่ บวชได้ไม่
นาน เพิ่งมาสู่ธรรมวินัยให้สมาทาน ให้ต้ังม่ัน ให้ดำรง
อยู่ในธรรม ๕ ประการ
ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. เธอท้ัง หลายพึง ยัง ภิก ษุเหล่า น้ัน ให้ส มาทาน ให้
ต้ัง มั่น ให้ด ำรงอยู่ใ นปาติโ มกขสัง วรศีล ว่า ‘ ผู้
มีอ ายุท ้ัง หลาย มาเถิด ขอท่า นทั้ง หลายจงเป็น
ผู้ม ีศ ีล สำรวมด้ว ยการสัง วรในพระปาติโ มกข์
เพีย บพร้อ มด้ว ยอาจาระและโคจร มีป กติเ ห็น
ภัย ในโทษแม้เ ล็ก น้อ ย สมาทานศึก ษาอยู่ใ น
สิก ขาบททั้งหลาย’
๒. เธอทั้ง หลายพึง ยัง ภิก ษุเหล่า น้ัน ให้ส มาทาน ให้
ต้ังมั่น ให้ดำรงอยู่ในอิน ทรีย์สังวรศีลว่า ‘ผู้มีอายุ
ท้ังหลาย มาเถิด ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้คุ้มครอง

๑๒๕

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๙๔ การอบรมนิสัยเพี่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ทวารในอินทรีย์ท้ังหลาย มีสติเป็นเคร่ืองรักษา'’๒๖
มีสดิปัญญาเป็นเครื่องร้กษาตน๑๒๗ มีใจร้กษาดีแล้ว
ประกอบด้วยจิตท่ีมีสติเป็นเคร่ืองรักษาอยู่’
๓. เธอท้ังหลายพึงยังภิก ษุเหล่านั้น ให้ส มาทานให้ต ้ัง
ม่ันให้ดำรงอยู่ในการพูดมีท่ีจบว่า‘ผู้ม ีอ ายุท ้ังหลาย
มาเถิด ขอท่า นท้ัง หลายจงเป็น ผู้พ ูด น้อ ย พูด ให้
มีท่ีจบ’
๔. เธอท้ัง หลายพึง ยัง ภิก ษุเหล่า น้ัน ให้ส มาทาน ให้
ต้ังมั่น ให้ด ำรงอยู่ใ นความสงบกายว่า ‘ผู้ม ีอ ายุ
ท้ัง หลายมาเถิด ขอท่า นท้ัง หลายจงอยู่ป ่า เป็น วัต ร
จงอาศัย เสนาสนะอัน เงีย บสงัด คือ ป่า โปร่ง และ
ป่า ทึบ ’
๕. เธอทั้ง หลายพึง ยัง ภิก ษุเหล่า นั้น ให้ส มาทาน ให้
ตั้ง มั่น ให้ด ำรงอยู่ใ นล้ม มาทัส สนะ(ความเห็น
ชอบ)ว่า ‘ผู้ม ีอายุท้ังหลาย มาเถิด ขอท่า นทั้ง หลาย
จงเป็น ผู้ม ีส ัม มาทิฏ ฐิ๑๒๘ ประกอบด้ว ยสัม มา-
ทัสสนะ’

"๒๖ สติเป็นเครื่องรักษา หมายถึงสติเป็น เคร่ืองรัก ษาทวาร (อง.. ปฌฺจก. อ. ๓/ ๑๑๔/


๔๘)
0๒๗ สติป ัญ ญาเป็น เคร่ือ งรัก ษาตน ในท่ีน ี๋ห มายถึง สดิท ี่ป ระกอบด้ว ยญาณเป็น เคร่ือ ง
ด้มครองทวาร (อง.. ปฌฺจก. อ. ๓/ ๑๑๔/ ๔๘)
‘‘๒๘ สัม มาทิฎ ฐิ ในที่น ้ีห มายถึงมีส ัม มาทิฎ ฐิ ๔ ประการ คือ (๑) กัม มัสสกตสัม มาทิฎ ซิ
(เห็นชอบว่าสัตว์ม ีกรรมเป็น ของตน) (๒) ฌานสัม มาทิฎ ฐิ (เห็น ชอบในขั้น ฌาน) (๓)
วิป ัส สนาสัม มาทิฎ ฐิ (เห็นชอบในขั้นวิปัสสนา) (๔) มัคคสัม มาทิฎ ฐิ (เห็นชอบในขั้น
อริยมรรค) (๕) ผลสัม มาทิฎ ฐิ (เห็นชอบในขั้นอริยผล) (อง..ปฌ.จก.อ. ๓/ ๑๑๔/ ๔๘)

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๒๙& การอบรมน้ส์ยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
อานนท์เธอท้ังหลายพึงยังพวกภิกษุใหม่บวชได้ใม่นาน
เพิ่งมาสู่ธรรมวินัยนี้ให้สมาทานให้ตั้งมั่นให้ดำรงอยู่ในธรรม๕
ประการน้ีแล

๓. ศีลเป็นพ้ีนฐานแห่งการบรรลุธรรม
พระสัม มาดัม พุท ธเจ้าตรัส กำชับ ให้พ ระภิก ษุเป็น ผู้ร ัก
ศีล และแสดงถึง อานิส งส์จ ากการฟิก ตนของผู้ร ัก ศีล ที่เห็น ได้
ในปัจจุบันไปตามลำดับฝยอากังขสูตรดังน้ี

อากังขสูตร',’” ,

ว่าด้วยความหวัง

สมัยหน่ึง พระผู้ม ีพ ระภาคประทับ อยู่ ณ พระเชตวัน


อารามของอนาถบิณ ฑิก เศรษฐี เขตกรงสาวัต ถี ณ ทื่นั้นแล
พระผู้ม ีพ ระภาคได้ร ับ สงเรีย กภิก ษุท ัง หลาย มาตรัส ว่า
ภิก ษุท ั้ง หลาย ภิก ษุเหล่า นั้น ทูล รับ สนองพระดำรัส แล้ว พระ
ผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเรื่องนี้ว่า
ภิก ษุท ั้ง หลาย เธอทั้ง หลายจงเป็น ผู้ส มบูร ณ์ด ้ว ยศีล
สมบูร ณ์ด ้ว ยปาติโมกข์ล้ารวมด้วยการสังวรในปาติโมกข์
เพียบพร้อมด้วยอาจาระและโคจร8''0 มีปกติเห็นภัยในโทษ
แม้เล็ก น้อ ยสมาทานศีก ษาอยู่ใ นสิก ขาบททั้ง หลายเถิด

•๒’' อง. ทสก. มจ ๒๔/ ๑๔๖


•“ 0 รูเชิงอรรถที่ ๑,๒ ข้อ ๑๗ (ปฐมนาถสูตร)ใน อง. ทสก. มจ. ๒ ๔ / ๓๑

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๙๖ การอบรมนิสัยเพิ่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑. หากภิกษุห วังว่า ‘เราพึงเป็นที่รัก เป็นท่ีชอบใจ
เป็น ที่เคารพและเป็น ท่ีย กย่อ งชองเพ่ือ นพรหมจารีท ้ัง
หลาย’ พึงเป็นผู้ทำศีลท้ังหลายให้บ ริบ ูรณ์หม่ันประกอบความ
สงบแห่ง จิต ภายใน ไม่ห ่า งจากฌาน ประกอบด้ว ยวิป ัส สนา
เพ่ิมพูนเรือนว่าง"""เถิด
หากภิกษุหวังว่า ‘เราพึงเป็นผู้ได้จีวรบิณฑบาต
๖.
เสนาสนะและติลานปัจจัยเภสัชชบริขาร’พึงเป็น ผทำศีลทั้ง
หโเายให้บ รผูร ณ หมน ปรโกอบควโง สงบ^

ไม่ห ่างจากฌาน ประกอบด้วยวิปัสสนา เพ่ิมพูนเรือนว่างเถิด

๓. หากภิก ษุห วัง ว่า ‘เราบริโภคจีวร บิณ ฑบาต


เสนาสนะ และดีลานปัจจัยเภสัชชบริขารของชนเหล่าใด
ขอสักการะของชนเหล่านั้น พึงมี ผลมาก มีอานิสงส์มาก’
พึงเป็น ผู้ท ำศีลทั้งหลายให้บ ริบ ูรณ์...เพิ่ม พูน เรือ นว่างเถิด

๔. หากภิก ษุห วัง ว่า ‘ญาติสายโลหิต""'’ เหล่าใด


ผู้ล่วงสับไปแล้ว มีจิตเล่ือมใส ระลึกกึงเรา ขอการระลึกกึง
เราของญาติสาโลหิตเหล่าน้ันพึงมีผลมากมีอานิสงส์มาก’
พึงเป็น ผู้ท ำศีล ทั้ง หลายให้บ ริบ ูร ณ์ ... เพ่ิมพูนเรือนว่างเถิด

"๓๑ เพิ่ม พูน เรือนว่างในท่ีน้ีหมายถึงการเรียนกัมมัฏฐานดือสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนา


กัม มัฏ ฐาน แล้ว เขาไปยังเรือนว่าง นั่ง อยู่ต ลอดวัน ตลอดคืน เจริญ อธิจ ิต ตสิก ขาด้ว ย
สมถกัม มัฏฐาน เจริญ อธิป ัญ ญาสิก ขา ด้ว ยวิป ัสสนากัมมัฏ ฐาน (อง.. ทสก. อ. ๓/ ๗๑/
๓๕๗, ม.มู.อ. ๑/ ๖๕/ ๑๖๙-๑๗๐)
"๓๒ ญาติ หมายถึง บิดามารดาของสามีแ ละเครือญาติฝ่ายบิดามารดาของสามี หรือบิดา
มารดาของภรรยา และเครือญาติฝ่ายบิดามารดาของภรรยา สาโลหิด หมายถึงผู้ร่ว ม
สายเลือ ดเดีย วกัน ได้แก่ ปูหรือดา เป็นต้น (อง.. ทสก. อ. ๓/ ๗๑/ ๓๕๘, อง..ทสก.ฎีกา
๓/ ๗ ๑ -๗ ๔ / ๔๒๕)

คัม ภีร ์ส รัว งวัด จากพระโอษฐ์ ๒๙๗ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๕. หากภิกษุหวังว่า ‘เราพึงเป็นผู้สันโดษด้วยจีวร
บิณ ฑบาต เสนาสนะและต ิล านปัจ จัย เภสัช ชบริข าร
ตามแต่จะได้’ พึงเป็นผู้ทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ ... เพ่ิมพูน
เรือนว่างเถิด
๖. หากภิกษุหวังว่า ‘เราพึงเป็นผู้อดทนต่อความ
หนาว ร้อน หิว กระหายเหลือ บ ยุง ลม แดด และ
สัม ผัส แห่งสัต ว์เลื้อ ยคลาน ล้อ ยคำหยาบคายร ้า ยกาจ
พึงเป็น ผู้อ ดกล้ัน เวทนาท้ัง หลายอัน มีใ นร่างกายที่เกิด
ข้ึนแล้วเป็นทุกข์ กล้าแข็ง เผ็ดร้อน ไม่ยินดี ไม่น่าพอใจ
พรากชืวิต’ พึงเป็นผู้ทำศีลท้ังหลายให้บริบูรณ์... เพิ่มพูนเรือน
ว่างเถิด
๗. หากภิกษุหวังว่า ‘เราพึงเป็นผู้ข่มความยินดี
และความยิน ร้า ย ความยิน ดีแ ละความยิน ร้ายไม่พ ึง
ครอบงำเรา ขอเราพึงข่ม ความยิน ดีแ ละความยิน ร้าย
ที่เกิดขึ้นอยู่’ พึงเป็นผู้ทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ -.. เพิ่มพูน
เรือนว่างเถิด
๘. หากภิกษุหวังว่า ‘เราพึงเป็นผู้ระงับความกลัว
ความหวาดเสีย วได้ ความกลัวความหวาดเสียวไม่พ ึง
ครอบงำเรา ขอเราพึงระงับความกลัว ความหวาดเสียว
ที่เกิดขึ้นอยู่’พึงเป็นผู้ทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์...เพิ่มพูนเรือน
ว่างเถิด

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๙๘ การอบรมนิสัยเพี่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๙. หากภิกษุหวังว่า ‘เราพึงเป็นผูได้ฌาน๔ อันมีใน
จิต ยิ่ง ซึ่ง เป็น เครื่อ งอยู่เ ป็น สุข ในปัจ จุบ ัน ตามความ
ปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบาก’ พึงเป็น ผู้ท ำศีล
ท้ังหลายให้บ ริบ ูรณ์... เพ่ิมพูนเรือนว่างเถิด

๑๐. หากภิก ษุห วัง ว่า ‘เราพึงทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ


ปัญ ญาวิม ุต ติอ ัน ไม่ม ีอ าสวะเพราะอ าสวะสิน ไป ด้ว ย
ปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน’พึงเป็นผู้ทำศีลทั้งหลาย
ให้บ ริบ ูร ณ์ หมนประกอบค วามสงบแห่ง จิต ภายใน ไม่ห ่า ง
จากฌาน ประกอบด้วยวิปัสสนา เพ่ิมพูนเรือนว่างเถิด
ภิก ษุท ั้ง หลาย เพราะอาศัย คำที่เรากล่า วไว้ว ่า ‘ เธอ
ท้ัง ห ลายจงเป ็น ผู้ส ม บ ูร ณ ์ด ้ว ยศีล สม บ ูร ณ ์ด ้ว ยป าติโ ม กข ์
สำรวมด้ว ยการสัง วรในปาติโ มกข์ เพีย บพร้อ มด้ว ยอาจาระ
และโคจร มีป กติเห็น ภัย ในโทษแม้เล็ก น้อ ย สมาทานศึก ษา
อยู่ในสิก ขาบททั้ง หลายเถิด ’ เราจึงกล่าวไว้เช่นน้ัน

จากหลัก ฐานใน ๓ พระสูตรนี้เอง ที่ท ำให้เกิด ความ


เข้าใจท่ีเช่ือมโยงกับมรรคมีองค์ ๘ ว่า
วินัย ดือ ดวามควบดุมท้ังกายและวาจาให้สงบ เพ่ือ
พร้อมที่จะรุดหน้าทำดวามดีต่อไป
เพราะเหตุน้ีวินัยจึงเป็นต้นทางแห่งสีลและเป็นพี๋น
ฐานแห่งการบรรลุธรรมที่ยิ่ง ๆ ขึ้นไป

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๒๙๙ การอบรมนัส้ยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
สมาธิเกิดข้ึนได้ด้วยอดทนเป็นอย่างไร

๑. ประเภทความอดทน
พ ระสัม ม าส ้ม พ ุท ธ เจ้า ต รัส แ สด งอ ุป สรรค ใน ก าร
ปฏิบ ัต ิธ รรมที่เกิด จากกิเลสภายในและส ่ิง ร้า ยแรงภายนอก
ไวํในโรคสูตรดังน้ี

โรคสูตร,’”’'

ว่าด้วยโรค

ภิก ษุท ั้ง หลาย โรค ๒ อย่า งนี้


โรค ๒ อย่าง อะไรบ้าง คือ
๑. โรคทางกาย
๒. โรคทางใจ
สัตว์ผู้อ้างว่า ตนเองไม่มีโรคทางกายตลอดระยะเวลา ๑
ปีบ ้า ง ๒ ปีบ ้า ง ๓ ปีบ ้าง ๔ ปีบ ้าง ๕ ปีบ ้า ง ๑๐ ปีบ ้า ง ๒๐
ปีบ ้า ง ๓๐ ปีบ ้า ง ๔๐ ปีบ้าง ๕๐ ปีบ ้าง แม่ย่ิงกว่า ๑๐๐ ปีบ ้าง
ยัง พอมีอ ยู่ แต่ส ัต ว์ผ ู้จ ะกล่า วอ้า งว่า ตนเองไม่ม ีโรคทางใจ
ตลอดระยะเวลา แม้ค รู่เดีย ว หาได้โ ดยยาก ยกเว้น ท่า นผู้
หมดกิเลสแล้ว
ภิก ษุท ้ัง หลาย โรคของบรรพชิต ๔ อย่า งน้ี
โรค ๔ อย่าง อะไรบ้าง คือ

‘""๓ อง. จตุกุก มจ. ๒๑/ ๒๑๗, มก. ๓๕/ ๓๗๓

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๐๐ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑. ภิก ษุในธรรมวิน ัยนเป็น คนมัก มาก คับ แค้น ไม่
สัน โดษด้ว ยจีว ร บิณ ฑบาต เสนาสนะ และ
ลิลานปัจจัยเภสํชชบริขารตามแด่จะได้
๒. เธอเม่ือ มัก มาก คับ แค้น ไม่ส ัน โดษด้ว ยจีว ร
บิณ ฑบาต เสนาสนะแล ะลิล านปัจ จัย เภสัช ช
บริข ารตามแต่จ ะได้ ย่อ มตั้ง ความปรารถ นา
เพ่ือ ไม่ใ ห้ผ ู้อ ่ืน ดูห มื่น เพ่ือ ให้ใ ต้ล าภลัก การะ
และช่ือเสียง
๓. เธอวิ่ง เต้น ขวนขวาย พยายามเพื่อ ไม่ใ หัผ ู้อ ื่น ดู
หม่ืน เพ่ือให้ใต้ลาภดักการะและช่ือเสียง
๔. เธอเข้า ไปหาตระกูล ทั้ง หลาย น่ัง กล่า วธรรม
กลั้นอุจจาระและปัสสาวะเพื่อให้เขานับถือ

ภิก ษุท ้ัง หลาย โรคของบรรพชิต ๔ อย่างนี้แล


เพราะเหตุน้ัน เธอท้ังหลายในธรรมวินัยนี้พึงสำเหนียก
อย่างน้ีว่า
“ เราจัก ไม่เป็นคนมัก มาก ไม่เป็น คนมีจิต คับ แค้น ไม่
เป็น คนไม่ส ัน โดษด้วยจีวร บิณ ฑบาต เสนาสนะ และลิล าน
ปัจจัยเภดัธชบริขารตามแต่จะไต่เราจักไม่ตั้งความปรารถนาชั่ว
เพื่อให้คนอื่น รู้จัก เพื่อ ให้ใ ต้ล าภดัก การะและชื่อ เสีย ง เรา
จัก ไม่ว ิ่ง เต้น ไม่ข วนขวายไม่พ ยายามเพื่อ ให้ค นอื่น รู้จ ัก
เพื่อให้ใต้ลาภดักการะและชื่อเสียง

คัม ภีร์ส ร้างวัด จากพระ:โอษฐ์ ๓๐๑ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เราจักอดทนต่อความหนาว ความร้อนความหิวกระหาย
ต่อ การถูก เหลือบ ยุง ลม แดด และสัต ว์เล้ือ ยคลานทั้งหลาย
รบกวน
ต่อถ้อยคำหยาบคายร้ายแรงด่าง ๆ
จัก เป ็น ผู้อ ดกล้ัน เวทน าทั้ง ห ลายอัน ม ีใ น ร่า งกายท่ี
เกิดข้ึนแล้ว เป็น ทุก ข์ กล้าแข็ง เจ็บปวด เผ็ดร้อน ไม่น่ายินดี
ไม่น่าพอใจ พรากชีวิต”

จากพระสูตรน้ีทำให้พ บข้อสังเกตว่า

ความอดทน มี ๔ ประเภท
๑. ความอดทนต่อ อำนาจกิเลส
๒. ความอดทนต่อความลำบากตรากตรำ
๓. อดทนต่อคำพูดกระทบกระท้ัง
๔. อ ด ท น ต ่อ ท ุก เวท น าท ่ีเ ก ิด ข ้ึน จาก ค วาม
เจ็บป่วย

๖. สมาธิเกิด ขนไต้ด ้วยความอดทน


มีห ลัก ฐานยืน ยัน ว่า สม าธิเ กิด ขึ้น ได้ด ้ว ยอดทน
ปรากฏในสัมมาสมาธิสูตรดังนี้

คมภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐํ ๓๐๒ การอบรมน่สัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
สัมมาสมาธิสูตร5'"๔

ว่าด้วยสัมมาสมาธิ

ภิก ษุท ้ัง หลาย ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็น


ผู้อาจบรรลุสัมมาสมาธิอยู่ได้

ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ


ภิกษุในธรรมวินัยน้ี

๑. เป็นผู้อดทนต่อรูป
๒. เป็นผู้อดทนต่อเสียง
๓. เป็นผู้อดทนต่อกลิ่น

๔. เป็นผู้อดทนต่อรส
๕. เป็นผู้อดทนต่อโผฎฐัพพะ

ภ ิก ษ ุท ั้ง ห ล าย ภ ิก ษ ุป ระกอบ ด้ว ยธรรม ๕


ประการน้ีแลเป็น ผู้อาจบรรลุสัมมาสมาธิอยู่ได้

จากหลัก ฐานใน๒ พระสูตรนี้เอง ที่ทำให้เกิดความเข้าใจ


ท่ีเช่ือมโยงกับมรรคมีองค์ ๘ ว่า
อดทนดือ ความยืน หยัด ที่จะทำความดีให้ย ิ่ง ๆข ึ้น
ไป ไม่ว ่า จะมีอ ุป สรรค หรือส่ิงร้ายแรงใด ๆ ท้ังภายนอก­
กายในคุกคามถาโถมเข้ามา

”‘'๔ องฺ ปฌจก มจ. ๒ ๒ / ๑๙๒, มก. ๓๖/ ๒๔๓

ดัมภึร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๐๓ การอบรมน้สขเพี่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เพ ราะเห ต ุน ี้ อดท น ซ ีง เป ็น บ ่อ เกิด แ ห ่ง สม าธิแ ละ
เป็น พี๋น ฐานแห่ง การบรรลุธ รรมที่ย ิ่ง ๆขึ้น ไป

หลัก สูต รการซิก อบรมพระภิก ษุในพระพุท ธศาสนา


ตามที่ศึกษาเสนาสนสูตรมาต้ังแต่ต้นแล้วว่า
บุคคลที่จะบรรลุธรรมน้ันต้องประกอบด้วยคุณสมป็ติ ๕
ประการ คือ
๑. มีศ ร้ท ํธ า
๖. มีอ าพาธน้อ ย
๓. ไม่โ อ้อ วด-ไม่ม ีม ารยา
๔. ปรารภความเพีย ร
๕. มีป ัญ ญา

เม่ือกำหนดคุณสมป้ติ ๕ ข้อ น้ีเป็น เป๋าหมายการฟิก คน


แล้ว ก็พบว่า ต้องทำการแบ่งหลักสูตรออกเป็น ๓ ประเภท
หลัก สูต รท่ี ๑ คือ ไม่ม ี ทำให้ม ี
หลัก สูต รที่ ๖ คือ มีแ ล้ว ไม่ท ำให้เ สีย
หลัก สูต รท่ี ๓ คือ มีแ ล้ว ทำให้ต ็ย ิ่ง ๆ ขึ้น ไป

๑. ไม่ม ี ทำให้ม ี ดือ ห ลัก สูต รสร้า งบ ุค ลาก รให ้


พร้อ มเป็น พระ
ห ม ายถ ึง หลัก สูต รสำห รับ ฟ ิก อบ รม ผู้ท ี่ย ัง ไม ่ม ี
คุณสมบ้ติของผู้บรรลุธรรม ๕ ประการ โดยใข้แม่บท คือ เสนา
สูต ร ดังที่กล่าวมาแล้ว

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๐๔ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๖. มีแ ล้ว ไม่ท ำให้เสีย ดือ หลัก สูต รสร้า งพระให้
พร้อมบรรลุธรรม
หมายถึง หลัก สูต รสำหรับ ‘ฝืก อบรมผู้ท ี่ม ีค ุณ สมปติ
ของผู้บรรลุธรรม ๕ ประการอยู่แล้ว ให้สามารถรัก ษามนคง
ได้ย่ิง ๆ ข้ึน ไปจนกระทั่งอยู่ใ นระดับ ทุ่ม ชีว ิต เป็น เดิม พัน เพื่อ
ทำความดี โดยใช้แม่บท คือ คณกโมดคัล ลานสูต ร ดัง น้ี
ในพระสูตรนี้จะกล่าวถึงขั้นตอนการฟิกอบรมของพระภิกษุมาตาม
ลำดับ ดังต่อไปนี้
ลำดับ ท่ี ๑ ให้รักษาศีล
ลำดับ ที่ ๒ ให้สำรวมอินทรีย์
ลำดับ ท่ี ๓ ให้รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร
ลำดับ ที่ ๔ ให้ป ระกอบความเพีย รเครื่อ งตื่น อยู่
เนืองๆ
ลำดับ ท่ี ๕ ให้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ
ลำดับ ท่ี ๖ ให้อยู่ในเสนาสนะอันสงัด
ลำดับ ที่ ๗ ให้บรรลุฌานที่ ๑ - ๔

รายละเอียดของพระสูตรมีดังน้ี

ดลเกโมดคัลลานสูตร*”"'

ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อคณกโมคคัลลานะ

00๙ ม. ลุ มจ. ๑๔/ ๗๘, มก. ๒ ๒ / ๑๕๓

คัม ภึร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๐๕ การยิบรมน้สัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ข้า พเจ้า ได้ส ดับ มาอย่า งนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้ม ีพ ระภาค
ประทับ อยู่ ณ ปราสาทของ มิด ารมาตา ในบุพ พาราม เขต
กรุงสาวัตถี คร้ังน้ันแล คณกโมคดัลลานพราหมณ์เข้าไปเสา
พระผู้ม ีพ ระภาคถีง ท่ืป ระหับ แล้ว ได้ส นทนาปราศร ัย
พอเป็นที่บันเทิงใจ พอเป็นที่ระลึกถึงกันแล้ว นั่ง ณ ที่สมควร
ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังน้ีว่า

“ ข้า แต่พ ระโคดมผู้เจริญ ปราสาทของ มิค ารมาตา


หลัง นี้ม ีก ารศึก ษาโดยลำดับ มีก ารกระทำโดย ลำดับ มีก าร
ปฏิม ้ต ิโ ดยลำดับ คือ โครงสร้า งบัน ไดชั้น ล่า ง ย่อ มปรากฏ
แม้พ ราหมณ์เ หล่า นี้ก ็ม ีก ารศึก ษาโดยลำดับ มีก ารกระทำ
โดยลำดับ มีการปฏิบัติโดยลำดับ ย่อมปรากฏด้วยการเล่าเรียน
แม้นักรบเหล่าน้ีก็มีการศึกษาโดยลำดับมีการกระทำโดยลำดับ
มีก ารปฏิบ ัต ิโ ดยลำดับ ย่อ มปรากฏในเ ร่ือ งการใข้อ าวุธ
แม้แต่ข้าพเจ้าท้ังหลายผู้เป็นนักคำนวณก็มีการศึกษาโดยลำดับ
มีก ารกระทำโดย ลำดับ มีก ารปฏิบ ัต ิโ ดยลำดับ ย่อ มปรากฏ
ในเร่ือ งการนับ จำนวน เพราะข้า พเจ้า ทั้ง หลายได้ศ ิษ ย์แ ล้ว
เบ้ืองต้นให้เขานับอย่างนี้ว่า ‘หนึ่ง หมวดหนึ่ง สอง หมวดสอง
ลาม หมวดสาม ส่ี หมวดส่ี ห้า หมวดห้า หก หมวดหก เจ็ด
หมวดเจ็ด แปด หมวดแปด เก้า หมวดเก้า สิบ หมวดสิบ ’
ย่อมให้นับไปถึงจำนวนร้อยให้นับไปเกินจำนวนร้อยแม้ฉันใด
ข้า แต่พ ระโคดมผู้เ จริญ พ ระองค์ส ามารถเพ ื่อ จะ
บ ัญ ญ ัต ิก ารศึก ษ าโดยลำดับ การกระทำโ ดยลำดับ การ
ปฏิบัติโดยลำดับในพระธรรมวินัยแม้น้ีฉันน้ันบ้างไหม”

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๐๖ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
การศึกษาและการปฏิบัติเป็นข้ันตอน

พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ พราหมณ์ เราสามารถเพ่ือจะ


บัญ ญ ัต ิก าร ศึก ษาโดยลำดับ การกระทำโดยลำดับ การ
ปฏิบ ัต ิโ ดยลำดับ ในธรรมวินัยน้ีได้ เปรียบเหมือนคน'ฝึก ม้า
ผู้ช ำนาญ ได้ม ้า อาชาไนยตัว งามแล้ว เบื้อ งต้น ทีเดีย ว ย่อม
ฝึก ให้ค ุ้น กับ การบังคับ ในบังเหีย น ต่อ มาจึงฝึกให้คุ้น ยิ่งขึ้น ไป
แม้ฉันใด ตถาคตก็ฉ ัน นั้น เหมือ นกัน ได้บ ุร ุษ ที่ค วรฟิก แล้ว
เบ้ืองด้น ทีเดียว ย่อมแนะนำอย่างน้ีว่า
‘มาเถิด ภิก ษุ เธอจงเป็นผู้มีศึลสำรวมด้วยการสังวร
ในปาติโมกข์ เพียบพร้อมด้วยอาจาระและโคจร๑๓๖ อยู่ จง
เป็นผู้มีปกติเห็นภัยในโทษแม้เล็กน้อย สมาทาน ศึกษาอยู่ใน
สิก ขาบททั้ง หลายเถิด ’
พราหมณ์ ในกาลใดภิก ษุเป็น ผ้ม ึศ ึล สำรวมด้ว ยการ
ดังวรใ^"ปาติโมกข์ไสยบ พ รัอ ่ X
อาจาระและโคจร เป็น ผู้
เห็นภัยในโทษแม้เล็กน้อยสมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลาย
ในกาลนั้นตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า

” '๖ คำว่า อาจาระ หมายถึงความไม่ล่ว งละเมิด ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ความ


สำรวมระวังในศีลท้ังปวงและการไม่เลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาอาชีวะที่พระพุทธเจาทรงตำหนิ
คำว่า โคจร หมายถึง การไม่เที่ย วไป ยังสถานที่ท ี่ไ ม่ส มควรเที่ย วไป เช่น ที่อ ยู่ข อง
หญิงแพศยา การไม่คลุก คลีก ับ บุคคลที่ไม่ส มควรคลุก คลีด ้วย เช่น พระราชา การไม่
คบหากับตระกูลที่ไม่สมควรคบหา เช่น ตระกูล ที่ไ ม่ม ศรัท ธาไม่ม ิค วามเลื่อ มใส(อภิ.วิ.
(แปล) ๓๕/ ๕๑๓-๕๑๔/ ๓๘๘-๓๘๙ และตูเทยบ ข.ม. (แปล) ๒๙/ ๑๙๖/ ๕ ๗๑-๕๗๔

คมภีร ัส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๐๗ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
‘มาเถิด ภิก ษุเธอจงเป ็น ผู้ค ุ้ม ครองทวารใน อิน ทรีย ์
ท ้ัง ห ลาย’ ดือ เธอเห็นรูปทางตาแล้ว อย่ารวบถือ อย่าแยกถือ
จงปฏิบ ติเพ่ือ สำรวมจัก ขุน ทรีย ์( อิน ทรีย ์ด ือ จัก ขุ) ซ่ึงเม่ือไม่
สำรวมแล้วจะเป็นเหตุให้ถูกบาปอกุศลธรรม
ดือ อภิช ฌา(ความเพ่ง เล็ง อยากไล้ส ่ิง ของของเขา)
และโทมนัส(ความทุกข็ใจ) ครอบงำได้เธอจงรัก ษาจัก ขุน ทรีย ์
จงถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์
เธอฟังเสียงทางหูแล้ว -..
เธอดมกล่ินทางจมูกแล้ว ...
เธอล้ิมรสทางล้ินแล้ว ...
เธอถูกต้องโผฏฐัพพะทางกายแล้ว -..

รู้แจ้งธรรมารมณ์ทางใจแล้ว อย่ารวบลือ อย่า แยกลือ


จงปฏิบ ัต ิเ พื่อ สำรวมมนิน ทรีย ์( อิน ทรีย ์ด ือ มโน) ซ่ึงเม่ือ ไม่
สำรวมแล้ว จะเป็น เหตุใ ห้ถ ูก บาปอกุศ ลธรรมดือ อภิช ฌาและ
โทมน ัส ครอบ งำได้ เธอจงรัก ษ าม น ิน ทรีย ์ จงถึง ความ
สำรวมในมนินทรีย์
พ ราหมณ ์ ในกาลใดภิก ษุเ ป็น ผู้ต ุ้ม ครองทวารใน
อิน ทรีย ์ท ้ัง หลายแล้ว ในกาลนั้น ตถาคตย่อ มแนะนำเธอให้
ย่ิงข้ึนไปว่า
‘มาเถิด ภิก ษุ เธอจงเป็น ผู้ร ู้ป ระมาณในการบริโ ภค
อาหาร ดือ เธอพึงพิจารณาโดยแยบคายแล้วฉันอาหาร ไม่ใช่
เพ่ือ เล่น ไม่ใช่เพื่อมัวเมา ไม่ใช่เพื่อประดับ ไม่ใช่เพื่อตกแต่ง

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฺธ ์ ๓๐๘ ภารอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
แต่ฉ ัน อาหารเพีย งเพื่อ ความดำรงอยู่ไ ด้แ ห่ง กายนี้ เพื่อ ให้
กายน้ีเป็น ไปได้ เพ่ือ กำจัด ความเบีย ดเบีย น เพื่อ อนุเคราะห์
พรหมจรรย์ ด้ว ยคิด เห็น ว่า ‘เราจัก กำจัด เวทนาเก่า และจัก
ไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึ้นความดำเนินไปแห่งกายความไม่มีโทษ
และการอยู่ผาสุข จักมีแก่เรา’
พ ราหมณ ์ ในกาลใดภิก ษุเ ป็น ผู้ร ู้ป ระมาณ ในการ
บริโภคอาหารในกาลน้ันตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ย่ิงข้ึนไปว่า
‘มาเถิด ภิก ษุ เธอจงเป็น ผู้ป ระกอบความเพีย รเคร่ือ ง
ด่ืน อย่า งต่อ เน ื่อ ง คือ เธอจงชำระจิตให้บริสุทขึ้จากธรรมทั้ง
หลายท่ีเป็นเครื่องขัดขวางด้วยการจงกรมด้วยการนั้งตลอดวัน
จงชำระจิต ให้บ ริส ุท ธิ้จ ากธรรมทั้ง หลายที่เป็น เครื่อ งขัด ขวาง
ด้ว ยการจงกรม ด้ว ยการน้ัง ตลอดปฐมยามแห่ง ราตรี นอน
ด ุจ ราช ส ีห ์โ ด ยข ้า งเบ ้ือ งข วา ช ้อ น เท ้า เห ล ื่อ ม เท ้า มี
สติส ัม ปชัญ ญะกำหนดใจพร้อ มจะลุก ขึ้น ตลอดมัช ฌิม ยาม
แห่งราตรี จงลุก ข้ึน ชำระจิต ให้บ ริส ุท ธิ้จ ากธรรมทั้ง หลายที่
เป็นเครื่องขัด ขวาง ด้วยการจงกรม ด้ว ยการนั้ง ตลอดปัจ ฉิม
ยามแห่งราตรี’
พราหมณ ์ ในกาลใดภิก ษุเ ป็น ผู้ป ระกอบความเพีย ร
เครื่อ งตื่น อย่า งต่อ เนื่อ งในกาลนั้น ตถาคตย่อ มแนะนำเธอ
ให้ยิ่งขึ้นไปว่า
‘ ม าเถิด ภ ิก ษ ุ เธ อ จ ง เป ็น ผ ู้ป ร ะ ก อ บ ด ้ว ย
สติส ัม ปชัญ ญะ คือ ทำความรู้สึกตัวในการก้าวไป การถอยกลับ
การแลดู การเหลีย วดู การคู้เข้า การเหยีย ดออก การครอง

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๓๐๙ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
สัง ฆาฏิ บาตรและจีว ร การฉัน การดื่ม การเคี้ย ว การลิ้ม
การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ การเดิน การยืน การน่ัง การนอน
การดื่น การพูด การน่ิง’
พ ราห ม ณ ์ ใน ก าลใด ภ ิก ษ ุเ ป ็น ผ ู้ป ระก อ บ ด ้ว ย
สติสัมปชัญญะในกาลน้ันตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ย่ิงข้ึนไปว่า

‘มาเถิด ภิก ษุ เธอจงพัก อยู่ ณ เสนาสนะอัน เงีย บสงัด


คือ ป้า โคนไม้ภ ูเขา ชอกเขา ถา ป่าช้า ป้าชัฏ ท่ีแจ้ง ลอมฟาง
ภิกษุน ั้น พักอยู่ ณ เสนาสนะอันเงียบสงัด คือ ป่า โคนไม้ภ ูเขา
ซอกเขา ถ้ํา ป่า ป่าชัฏ ท่ีแจ้ง ลอมฟาง ภิก ษุน ั้น กลับ จาก
บิณฑบาตภายหลังฉันภัตตาหารเสร็จแล้วน่ังขัด สม าธิต ้ัง กาย
ตรง ดำรงสติไ ว้เ ฉพาะหน้า ภิกษุน้ันละอภิช ฌาในโลก มีใจ
ปราศจากอภิช ฌ า(ความเพ ่ง เล็ง อยากได้ส ่ิง ของของเขา)
ชำระจิตให้บริสุทธ้ีจาก อภิชฌา ละความมุ่ง ร้า ยคือ พยาบาท
มีจ ิต ไม่พ ยาบาท มุ่งประโยชน์เก้ือกูล ต่อ สรรพสัต ว์อ ยู่ ชำระ
จิตให้บริสุทธึ๋จากความมุ่งร้ายคือพยาบาท ละถีน มิท ธะ(ความ
หดหู่แ ละเชื่องซึม ) ปราศจากถีนมิทธะ กำหนดแสงสว่า ง มี
สติส ัมปชัญ ญะอยู่ชำระจิตให้บ ริสุทธ้ิจากถีน มิทธะ ละอุท ธัจ จ
คุก อุจ จะ(ความฟังซ่านและรำคาญใจ) เป็นผูไม่ฟังซ่าน มีจิต
สงบภายใน ชำระจิต ให้บ ริส ุท ธึ้จ าก อุท ธัจ จอุก อุจ จะ ละ
วิจ ิก ิจ ฉา(ความดังเลสงสัย)ข้ามพ้นวิจิกิจฉาได้แล้วไม่มีความ
สงสัย ในกุศ ลธรรมทั้ง หลายอยู่ จึง ชำระจิต ให้บ ริส ุท ธิ้จ าก
วิจิกิจฉาได้’

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๑0 การอบวมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษุน ั้น ละน ิว รณ ์ ๕ น้ีท่ีทเ่ าใหจิต เศร้าหมองบั่น ทอน
กำลัง ปัญ ญาสงัด จากกามและอกุศ ลธรรมท้ัง หลายแล้ว เข้า
ปฐมฌานที่ม ีว ต
ิ ก วิจาร ปีติและสุข อันเกิดจากวิเวกอยู่ เพราะ
วิตกวิจารสงบระงับไป เข้า ทุต ิย ฌาน -.. อยู่ เพราะปีติ จางคลาย
ไป มีอุเบกขา มีสดิสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เข้า ตติย
ฌ า น ... อยู่ เพราะละสุขและทุกข็ได้ เพราะโสมนัสและโทมนัส
ดับไปก่อน เข ้า จ ต ุต ถ ฌ าน .-. อยู่
พราหมณ ์ ในภิก ษุท ้ัง หลายผู้เ ป็น พระเสขะผู้ย ัง ไม่
บรรลุอ รหัต ยัง ปรารถนาธรรมท่ีเ กษมจากโยคะอย่า งยอด
เย่ีย มอยู่เ หล่า น้ัน เรามีค ำพรั้า สอนเข่น นี้แ ด่ส ำหรับ ภิก ษุผ ู้
เป็น พระอรหัน ตขีณ าสพอยู่จบพรหมจรรย์แ ล้วทำกิจท่ีควรทำ
เสร็จแล้ว ปลงภาระได้แ ล้ว '’"๗ บรรลุป ระโยชน์ต นโดยลำดับ
แล้ว สิ้น ภ วสัง โยช น ์แ ล้ว ห ลุด พ ้น แล้ว เพ ราะรู้โ ดยช อบ
เหล่า นั้น ธรรมเหล่า นี้จ ึง จะเป็น ไปเพื่อ ความอยู่เ ป็น สุข ใน
ปัจจุบ ัน และเพ่ือ สติส ัม ปชัญ ญะแก่เธอท้ังหลาย”
เมื่อ พระผู้ม ีพ ระภาคตรัส อย่า งนี้แ ล้ว คณกโมคคัล
ลานพราหมณ์ไ ด้ก ราบทูล พระผู้ม ีพ ระภาคว่า “ สาวกของ
ท่า นพระโคดมที่ท ่า นพระโคดมสั่ง สอนอยู่อ ย่า งนี้ พราสอน
อยู่อ ย่า งน้ี สำเร็จ นิพ พานอัน ถึง ที่ส ุด โดยส่ว นเดีย วทุก พวก
ทีเดียวหรือ หรือว่าบางพวกก็ไม่สำเร็จ”
"‘"๗ ส้ินภวสังโยชน์แล้ว หมายถึง ส้ิน ลังโยชน์ ๑๐ ประการ คือ (๑) กามราคะ (๒)
ปฏิฆะ (๓) มานะ (๔) ทิฏ ฐิ (๔) วิจิกิจฉา (๖) สีส ัพ พตปรามาส (๗ ) ภวราคะ
(๘) อิสสา (๙) มัจฉริยะ (๑๐) อวิชชา ดังโยชน์เหล่านี้ เรียกว่า ภวดัง โยชน์ เพราะ
ผูก พันหมู่สัตว์ไว!นภพน์อยภพใหญ่ (ม.มู.อ. ๑/ ๘/ ๔๗)

คมภิร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๓๑๑ การอบรมน้ลัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า‘•พราหมณ์ส าวกของเราที่เ รา
ส่ังสอ'แอยู่อย่างน้ีพ ราสอนอยู่อย่างนีบ
้ างพวกสำเร็จ นิพ พาน
อันถึงท่ีสุดโดยส่วนเดียว บางพวกไม่ส ำเร็จ ”
“ อะไรหนอ เป็น เหตุเ ป็น ปัจ จัย ท เี่ ป็นเหตุให้นิพพาน
ก็ม ีอ ยู่ ทางให้ถ ึงนิพ พานก็ม ีอ ยู่ ท่านพระโคดมผู้ช ัก ชวนก็ม ี
พระชนม์อ ยู่ แต่ส าวกของท่า นพระโคดมที่ท ่า น พระโคดม
ส่ังสอนอยู่อ ย่างน้ีพ รั้าสอนอยู่อ ย่างน้บ
ี างพวกสำเร็จ นิพ พาน
อันด็งท่ีสุดโดยส่วนเดียว บางพวกกลับ ไม่ส ำเร็จ ”
“ พราหมณ ์ ถ้า เช่น น้ัน เราจัก ถามท่า นในเรื่อ งนี้
ท่านชอบใจ อ ย่างไรพึงพ ยากรณ์อ ย่างนั้น
ท่า นเข้า ใจความข้อ น้ัน ว่า อย่า งไร คือ ท่า นชำนาญ
ทางไปกรุงราชคฤห์มิใช่หรือ”
“ใช่ ท่านพระโคดม”
“ พราหมณ ์ ท่า นเข้า ใจความข้อ นั้น ว่า อย่า งไร คือ
บุร ุษ ผู้ป รารถนาจะไปกรุง ราชคฤห์พ ึง มาในท่ีน ้ี บุรุษ นั้น เข้า
ม าห าท ่า น แ ล้ว พ ูด อ ย่า งน ี้ว ่า ‘ท ่า น ผู้เ จริญ ข ้า พ เจ ้า
ปรารถนาจะไปกรุง ราชคฤห์ ขอท่า นจงบอกทางไปกรุง
ราชคฤห์น ้ัน ให้ข ้า พเจ้า ด้ว ยเถิด ’ ท่า นพึง บอกเขาอย่า งนี้ว ่า
‘พ่อ ตุถ เ มาเถิด ทางน้ีไ ปกรุง ราชคฤห์ท ่า นจงไปตามทาง
น้ัน ชวดรู่ห นึ่งแล้ว จัก เห็น หมู่บ ้านชื่อ โน้น ไปตามทางนั้น
ช่ัวครู่หน่ึงแล้วจักเห็นนิคมชื่อโน้นไปตามทางนั้นชั่วครู่หนึ่งแล้ว
จัก เห็น สวนที่น ่ารื่น รมย์ ป้าที่น ่ารื่น รมย์ ภาคพื้น ที่น ่า รื่น รมย์
สระโบกขรณีท่ีน่าร่ืนรมย์ของกรุงราชคฤห์’

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๑๒ การอบวมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
บุรุษนั้นท่ีท่านส่ังสอนอยู่อย่างน้ี พร่ืาสอนอยู่อย่างน้ี
จำทางผิดเดินไปเสียทางตรงกันข้าม ต่อมาบุรุษคนที่สอง
ปรารถนาจะไปกรุงราชคฤห์ พึงเดินมา บุรุษน้ันเข้ามาหา
ท่านแล้วพูดอย่างนี้ว่า ‘ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าปรารถนาจะไป
กรุง ราชคฤห์ ขอท่า นจงบอกทาง ไปกรุง ราชคฤห์น ั้น ให้
ข้าพเจ้าด้วยเถิด’ ท่านพึงบอกเขาอย่างนี้ว่า
‘พ่อ คุณ มาเถิด ทางน้ีไปกรุงราชคฤห้ ท่านจงไป
ตามทางนั้นช่ัวครู่หนึ่งแล้ว จักเห็นหมู่บ้านช่ือโน้น ไปตาม
ทางน้ันช่ัวครู่หน่ึงแล้ว จักเห็นนิคมช่ือโน้น ไปดามทางน้ัน
ช่ัวครู่หน่ึงแล้ว จักเห็น สวนท่ีน ่าร่ืนรมย์ ป่า ที่น ่า รื่น รมย์
ภาคพ้ืนท่ีน่ารื่นรมย์สระโบกขรณีท่ีน่ารื่นรมย์ของกรุงราชคฤห์’
บุรุษน้ันท่ีท่านสั่งสอนอยู่อย่างนี้ พรื่าสอนอยู่อย่างนี้ พึงไป
ถึงกรุงราชคฤห็โดยสวัสดี
พราหมณ์ อะไรหนอ เป็น เหตุเป็น ปัจ จัย ให้ก รุง
ราชดฤห์ก็มีอยู่ ทางไปกรุงราชคฤห์ก็มีอยู่ ท่านผู้บอกก็ยังมี
ชีวิตอยู่ แต่บุรุษที่ท่านสั่งสอนอยู่อย่างนี้ พร่ืาสอนอยู่อย่างน้ี
คนหน่ึงจำทางผิด เดินไปเสียทางตรงกันข้าม คนหน่ึงเดิน
ทางไปถึงกรุงราชคฤห็โดยสวัสดี”
พราหมณ์ก ราบทูล ว่า “ ท่านพระโคดม ในเรื่อ งนี้
ข้าพเจ้าจะทำอย่างไรได้ ข้าพเจ้าเป็นแต่ผู้บอกทาง”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “พราหมณ์ ฉันนั้นเหมือนกัน
นิพ พานก็ม ีอ ยู่ ทางไปนิพ พานก็ม ีอ ยู่ เรา(ตถาคต )ผู้
ชักชวนก็มีอยู่ ก็เมื่อเป็นเช่นนี้ สาวกทั้งหลายของเราที่เรา

คมกร์สร้างวัคจากพระ:โอษฐ์ ๓๑๓ การอบรมน้สัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
สั่ง สอน อยู่อ ย่า งน ี้ พ รื่า สอน อยู่อ ย่า งน ี้ บ างพ วกสำเร็จ
นิพพานอันถึงท่ีสุดโดยส่วนเดียว บางพวกไม่สำเร็จ ในเรื่องน้ี
เราจะทำอย่างไรได้ตถาคตก็เป็น แต่ผ ู้บอกทาง”
เม่ือ พระผู้ม ีพ ระภาคตร ัส อย่า งน้ีแ ล้ว ดณกโมค คัล
ลานพราห มณ์ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า
“ ท่านพระโคดมบุคคลผู้ใม่มีศรัทธาประสงค์จะเลี้ยงชีวิต
ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เป็นผู้[อ้อวด มีมารยา เจ้า เล่ห ์
ฟังซ่าน ถือตัว โลเล กลับ กลอก ปากกล้า พูดพรื่าเพรื่อ ไม่
คุ้ม ครองทวา รในอิน ทรีย ์ท ั้ง หลาย ไม่ร ู้ป ระมาณใน การ
บริโภคอาหาร์เม่ประกอบความเพียรเป็นเครื่องตื่นอย่างต่อเนื่อง
ไม่น ำพาในคว ามเป็น สมณะ ไม่ม ีค วามเคารพ อย่า งจริง ใจ
ในสิก ขา มัก มาก ย่อ หย่อ นไป เป็น ผู้น ำในโอกกม นธรรม
ทอดธุร ะในปวิเวก(ความส งัด )เกีย จคร้า น ละเลยควา มเพีย ร
หลงลืม สติ ไม่ม ีสัม ปชัญ ญะ มีจิตไม่ตั้งมั่น มีจิตกวัดแกว่ง มี
ปัญ ญาทึบ เป็น ดัง คนหนวกแ ละคนใบ้ ท่า นพระโคด มย่อ ม
อยู่ร ่ว มกับ คนเหล่า น้ัน ไม่ไ ด้ ส่ว นกุล บุต รผู้ม ีศ รัท ธา ออก
จากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเป็นผูไม่โอ้อวดไม่มีมายาไม่เจ้าเล่ห์
ไม่ฟ ัง ซ่า น ไม่ถ ือ ตัว ไม่โลเล ไม่ป ากกล้า ไม่พ ดพร่ืาเพร่ือ
คุม ดรอง'ทวารใน!"นทร ีย์ท งหลาย รู้ป ระมาณใน การบรโภค

อาหาร ประกอบค วามเพีย รเครื่อ งตื่น อย่า งต่อ เนื่อ ง นำพา


ในความเป ็น สมณะ มีค วามเคารพ อย่างจริงใจ ในสิก ขา ไม่
มักมาก ไม่ย ่อ หย่อ น ทอดธุระในโอกกมนธรรม เป็นผู้น์าใน
ปวิเวก ปรารภคว ามเพีย ร อุท ิศ กายและใจ มีส ดิม ั่น คง มี

คมภรัสรางวัดจากพระโอษฐ์ ๓๑๔ การอบรมนิสัยเพ่ือการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
สัมปชัญญะ มีจิตต้ังมั่น มีจิตแน่วแน่ มีปัญญา ไม่เป็นดังคน
หนวกและคนใบ้ ท่านพระโคดมผู้เจริญย่อมอยู่ร่วมกับกุล
บุตรเหล่าน้ันได้ บรรดารากไม้หอม บัณฑิตยกย่องกฤษณา
ว่า เป็น เลิศ บรรดาไม้ท ี่ม ีแ ก่น หอม บัณ ฑิต ยกย่อ ง
แก่นจันทน์แดงว่าเป็นเลิศ บรรดาไม้ท่ีมีดอกหอม บัณฑิต
ยกย่อ งดอกมะลิว่าเป็น เลิศ แม้ฉันใด คำสงสอนของท่าน
พระโคดม ก็ฉันน้ันเหมือนกันจัดว่ายอดเย่ียมกว่าอัชชธรรม ๒
ท้ังหลาย
ท่า นพระโคดม พระภาษิต ของพระองค์ช ัด เจน
ไพเราะย่ีงนัก ท่านพระโคดมพระภาษิตของพระองค์ชัดเจน
ไพเราะย่ิง นัก พระองค์ท รงประกาศธรรมแจ่ม แจ้ง โดย
ประการต่างๆ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่ควา เปิดของ
ท่ีปิดบอกทางแก่ผู้หลงทาง หรือตามประทีปในท่ีมืด ด้วยต้ังใจ
ว่า ‘คนมีตาดีจะเห็นรูปได้’
ข้าพระองค์น ี้ข อถึง ท่า นพระโคดม พร้อ มทั้งพระ
ธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอท่านพระโคดมโปรดทรง
จำข้าพระองค์ไ ว้ว ่า เป็น อุบ าสกผู้ถ ึง สรณะ ตั้ง แต่ว ัน นี้
เป็นต้นไปจนตลอดชีวิต ดังนี้แล

๓. มีแล้ว ไม่ทำให้เสีย คือ หลักสูตรสร้างพระให้


พร้อมเป็นนักเผยแผ่
หมายถึง หลักสูตรสำหรับฟิกอบรมผู้ที่สามารถรักษา
คุณสมบัติ๔ประการให้ม่ันคงอย่างชนิดทุ่มชีวิตเป็นเดิมพันแล้ว

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๑๕ การอบรมนิสัยเพี่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ให้สามารถพัฒนาตนขนมาเป็นครูสอนศีลธรรมให้แก่ชาวโลก
เป็น กำลัง เผยแผ่พ ระพุท ธศาสนาให้ก ว้า งไกลย่ิง ๆ ข้ึนไป
โดยใช้แม่บท คือ ธ้ม มัญ ฌูส ูต รดัง นี้

ธัม มัญ ฌูสูต ร๑๓๘

ว่าด้วยบจุคคลผ‘น้ริ‘น้ธรรม

ภิกษุท้ังหลายภิกษุป ระกอบด้วยธรรม ๗ ประการนี้เป็น


ผู้ค วรแก่ข องที่เ ขานำมาถวาย ฯลฯ เป็น นาบุญ อัน ยอด
เย่ียมของโลก
ธรรม ๗ ประการ อะไรบ้าง คือ
ภิกษุในธรรมวินัยน้ี

๑. เป็นธัมมัญฌู
๒. เป็นอัตถัญฌู
๓. เป็นอัตดัญฌู
๔. เป็น มัตด้ญ ผู
๕. เป็นกาลัญฌู
๖. เป็นปริดัญฌู
๗. เป็นปุคคลปโรปรัญฌู” '๙

•“ ๘ อง.. สด.ตก. มจ. ๒๓/ ๑๔๓


๑๓๙ ปุค คลปโรปรั
ญ ฌู หมายถึงรู้จัก เลือกคน กล่าวคือรู้ว่า เมื่อคบหาคนใดอกุศลธรรม
เส่ือ มไปกุศ ลธรรมเจริญ ขึ้น จงเลือ กคบคนนั้น เมื่อ คบคนใดอกุศ ลธรรมเจริญ ขึ้น
กุศลธรรมเส่ือมไป ก็ไม่คบคนนั้น (อง..สต.ตก.ฎีกา ๓/ ๖๘/ ๒๓๕)

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากหระโอษฐ์ ๓๑๖ การอบรมนิสัยเทื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษุเป็น ธัม มัญ ฌู อย่างไร
ดือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้รู้ธรรมดือ สุตตะ เคยยะ เวย
ยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธรรม เวทัลละ
หากภิก ษุไ ม่ร ู้ธ รรมดือ สุตตะ ฯลฯ เวทัล ละเลย เราไม่พ ึง
เรียกเธอว่าเป็นธัมมัญ5 ญในท่ีน้ีแต่เพราะภิกษุรู้ธรรมดือ สุตตะ
โ , 'ข ิ จข่ จิ 1
ฯลฯ เวทั ล ล ฉะนั น
้ เราจึ ง เรี ย กเธอว่ า เป็น ธัม มัญ ฌู ภิก ษุช ่ือ
ว่าเป็น ธัม ม่ญ ฌู ด้วยประการฉะน้ี

ภิก ษุเป็น อัต ถัฌ ูญ อย่างไร


ดือ ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีร ู้ค วามหมายแห่ง ภาษิต นั้น ๆ
นั้นแลว่า ‘นี้เป็น ความหมายแห่ง ภาษิต นี้ นี้เป็น ความหมาย
แห่ง ภาษิต น้ี’ หากภิก ษุไ ม่ร ู้เน้ือ ความแห่งภาษิต นั้น ๆ เลยว่า
‘นี้เป็น ความหมายแห่งภาษิต นี้น ี้เป็น ความหมายแห่งภาษิต นี้’
เราไม่พ ึงเรียกเธอว่า ‘เป็น อัต ถัญ ญ’ ในที่น ้ี แต่เพราะภิก ษุร ู้
" ฆ จข่
ความหมายแห่งภาษิต น้ัน ๆ ว่า
‘น้ีเ ป็น ความหมายแห่ง ภาษิต น้ี น้ีเ ป็น ความหมาย
แห่ง ภาษิต น้ี’ ฉะนั้น เราจึง เรีย กเธอว่า เป็น อัต ถัญ ฌู ภิก ษุ
ช่ือ ว่าเป็น ธัมมัญ ฌู อัตถัญฌู ด้วยประการฉะนี้

ภิก ษุเป็น อัต ตัญ ฌ ู อย่างไร


ดือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้รู้จักตนว่า ‘ว่าโดยศรีทธา ศีล สุตะ
จาคะ ปัญ ญา ปฏิภ าณ เรามีอ ยู่ป ระมาณเท่า นี้’ หากภิก ษุ

คัมภีร์สรางวัดจากพระ:โอษฐ์ ๓๑๗ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุ&รรม

kalyanamitra.org
ไม่รู้จักตนว่า ‘ว่าโดยศร้ท่ธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญ ญา ปฏิภ าณ
เรามีอยู่ประมาณเท่าน้ี’ เราไม่พึงเรียกเธอว่าเป็นอัดดัญฌูในท่ีน้ี
แต่เพราะภิกษุรู้จักตนว่า ‘ว่าโดยศร้ท่ธา ศีล สฺตะ จาคะ ปัญ ญา
จขิ จิ ® ®
ปฏิภ าณ เรามีอ ยู่ป ระมาณเท่า น’ ฉะนั้น เราจึง เรีย กเธอว่า
เป็น อัด ดัญ ฌู ภิก ษุช ่ือ ว่า เป็น ธัม มัญ ญ อัต ถัญ ฌู อัต ตัญ ฌู
ด้วยประการฉะน้ี

ภิก ษุเป็น มัต ตัญ ฌู อย่างไร


คือ ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีร ู้จ ัก ประมาณใน การรับ จีว ร
บิณ ฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชชบริข าร’’๔'’ หาก
ภิกษุไม่รู้จักประมาณในการรับจีวร บิณ ฑบาต เสนาสนะ และ
ค ืล าน ป ัจ จัย เภ ส ัช ช บ ริข าร เราไม ่พ ึง เรีย ก เธ อว่า เป ็น
มัด ดัญ ญในท่ีน ้ี แต่เพราะภิก ษุร ู้จ ัก ประมาณใน การรับ จีว ร
“'ข จุจุ] ”
บิณ ฑบาต เสนาสนะ และคิล านปัจ จัย เภสัช ชบริข าร ฉะนั้น
เราจึง เรีย กเธอว่า เป็น มัต ดัญ ฌู ภิก ษุช ่ือ ว่า เป็น ธัม มัญ ฌู
อัตถัญ ฌู อัตดัญฌู มัตดัญฌู ด้วยประการฉะนี้

ภิก ษุเป็น กาสัญ ฌู อย่างไร

"๙๐ คิล านปัจจัยเภสํช ชบริขาร คือเภสัชท้ัง ๕ ได้แก่ เนยใส เนยข้น น้ํามัน นาผ้ึง น้ํา
อ้อย (วิ.อ. ๒ / ๒๙๐, สารตฺถ. ฎีกา ๒ / ๒๙๐/ ๓๙๓) เป็น สิ่งส้ป ปายะสำหรับ ภิก ษุเจ็บ ไข้
จัด ว่า เป็น บริข าร คือ บริวารของชีว ิต ดุจ กำแพงด้อ มพระนครเพรา ะคอยป้อ งกัน
รักษาไม่ให้อาพาธท่ีจะบ่ันรอนชีวิตได้ช่องเกิดข้ึน และเป็น สัม ภาระของชีวิตคอยประ
คับ ประคองชีวิตให้ดำรงอย่ได้นาน (วิ. อ. ๒/ ๒๙๐/ ๔๐-๔๑, ม. มู. อ. ๑/ ๑๙๑/ ๓๙๗,
ม.มู. ฎีก า ๑/ ๒ ๓ / ๒๑๓) เป็น เครื่อ งป้อ งกัน โรคบำบัด โรคทให้เ กิด ทุก ขเวทนา
เน่ืองจากธาตุก ำเริบให้ห ายไป (สารตฺถ. ฎีกา ๒/ ๒๙๐/ ๓๙๓)

คัม ภีร ์ส วัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๑๘ การอบวมนิสัยเพี่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
คือภิกษุในธรรมวินัยน้ีรู้จักกาลว่าน้ีเป็นกาลแห่งอุทเทส
๑๕๑ น้ีเป็นกาลแห่ง ปริปุจฉ‘‘๔๒ น้ีเป็น กาลบำเพ็ญ เพีย ร น้ีเป็น
กาลหลีก เร้น ’ หากภิก ษุไ ม่ร ู้จัก กาลว่า ‘น้ีเป็น กาลแห่ง อุท เทศ
น้ีเป็น กาลแห่ง ปริป ุจ ฉา น้ีเป็น กาลบำเพ็ญ เพีย ร น้ีเป็น กาล
หลีก เร้น ’ เราไม่เ รีย กเธอว่า เป็น กาลัญ ฌูใ นที่น ้ี แต่เพราะ
ภิก ษุร ้จ ัก กาลว่า ‘นี้เป็นกาลแห่งอุทเทศนี้เป็นกาลแห่งปริปุจฉา
97 จ'บิ 97 จ 97 จ
นี้เป็น กาลบำเพ็ญ เพีย ร นี้เป็น กาลหลีก เร้น ’ ฉะนั้น เราจึง
เรีย กเธอว่า เป็น กาลัญ ฌู ภิก ษุช ื่อ ว่า เป็น ธัม มัญ ฌู อัต ถัญ ฌู
อัตตัญ ฌู มัตตัญฌู กาลัญ ฌู ด้วยประการฉะนี้

ภิก ษุเป็น ปริส ัญ ฌู อย่างไร


คือ ภิกษุในธรรมวิน ัยน้ีรู้จ ัก บริษ ัท ว่า ‘นี้ข ้ต ติย บริษ ัท
นี้พ ราหมณบริษ ัท นี้ค หบดีบ ริษ ัท นี้ส มณบริษ ัท ในบริษ ัท
น้ัน เราควรเข้า ไปหาอย่า งน้ี ควรยืน อย่า งน้ี ควรทำอย่า งน้ี
ควรน้ัง อย่า งนี้ ควรกล่า วอย่า งน้ี ควรสงบน่ิง อย่า งนี้’ หาก
ภิกษุไม่ร้จักบริษัทว่า ‘นี้ชัตติยบริษัท ฯลฯ ควรสงบนิ่งอย่างนี้’
เราไม่เรีย ณธอว่า เป็น ปริส ัญ ฌู ในที่น ี้ แต่เพราะภิก ษุร ู้จ ัก
บริษ ัท ว่า ‘น้ีข ้ต ติย บริษ ัท ฯลฯ ควรสงบนิ่ง อย่า งนี้’ ฉะนั้น
เราจึงเรียกเธอว่าเป็นปริสัญญภิกษุช่ือว่าเป็นธ้มมัญญอัตกัญญ
อัตตัญฌู มัตตัญ ฌู กาลัญ ฌู ปริสัญญ ด้วยประการฉะน้ี

"๙" อุท เทส หมายถึงการเรีย นพระพุท ธพจน์ (อง.. สต.ตก. อ. ๓/ ๖๘/ ๒๐๓)
๑๔๖ ปริปุจฉา หมายถึงการสอบถามเหดุผ ล (อง.. สต.ตก. อ. ๓/ ๖๘/ ๒๐๓)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๑๙ การอบรมนิสัยเพี่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิกษุเป็นปุดคลปโรปรัญญ อย่างไร
คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้รู้จักบุคคล ๒ จำพวก บุคคล ๒
จำพวก คือ พวกหน่ึงต้องการเห็นพระอริยะ อีกพวกหนึ่งไม่
ต้องการเห็นพระอริยะ บุคคลพวกที่ไม่ต้องการเห็นพระอริยะ
ก็ถูกติเตียนด้วยเหตุนั้น อย่างนี้ บุคคลพวกที่ต้องการเห็น
พระอริยะ ก็ได้รับการสรรเส่ริญด้วยเหตุนั้น อย่างน้ี
บุคคลผู้ต้องการเห็น พระอริยะก็มี ๒ จำพวก คือ
พวกหนึ่งต้องการฟังสัทธรรม อีกพวกหนึ่งไม่ต้องการฟัง
สัทธรรม บุคคลพวกท่ีไม่ต้องการฟังสัทธรรม ก็ถูกติเตียน
ด้วยเหตุน้ัน อย่างน้ี บุคคลพวกท่ีต้องการฟังสัทธรรม ก็ได้
รับการสรรเส่ีริญด้วยเหตุน้ันอย่างน้ี
บุคคลผู้ต้องการฟังสัทธรรมก็มี ๒ จำพวก คือ พวก
หนึ่งเงี่ยโสตฟังธรรม อีกพวก หนึ่งไม่เงี่ยโสตฟังธรรม
บุคคลพวกที่ไม่เงี่ยโสตฟังธรรม ก็ถกติเตียนด้วยเหตุน ั้น
อย่างนี้ บุโคลพวกทเงยโสตฟังธรรม ก็ไ ดโโารสรรเ!ริญ

ด้วยเหตุน้ันอย่างน้ี
บุคคลเงี่ยโสตฟังสัทธรรมก็มี ๒ จำพวก คือ พวก
หน่ึงฟังแล้วทรงจำธรรมไว้ได้ อีกพวกหนึ่งฟังแล้วทรงจำ
ธรรมไม่ได้ บุคคลพวกท่ีฟ้งแล้วทรงจำธรรมไม่ได้ ก็ถูกดิ
เตียนด้วยเหตุนั้นอย่างน้ีบุคคลพวกท่ีฟังแล้วทรงจำธรรมไว้ได้
ก็ได้รับการสรรเส่ริญด้วยเหตุนั้นอย่างนี้

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๒๐ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
บุค คลฟัง แล้ว ทรงจำธรรมไวํไ ด้ก ็ม ี ๒ จำพวก คือ
พวกหนึ่ง พิจ ารณาเน้ือ ความแห่ง ธรรมท่ีท รงจำไว้ อีก พวก
หน่ึง ไม่พ ิจ ารณาเน้ือ ความแห่ง ธรรมที่ท รงจำไว้ บุค คลพวก
ท่ีไ ม่พ ิจ ารณาเน้ือ ความแห่ง ธรรมท่ีท รงจำไว้ ก็ถ ูก ติเ ตีย น
ด้ว ยเหตุน ้ัน อย่า งนี้ บุค คลพวกท่ีพ ิจ ารณาเนื้อ ความแห่ง
ธรรมท่ีทรงจำไว้ก็ได้รบการสรวิเส่ริญ ด้วยเหตุนั้น อย่า งนี้
บุค คลพิจ ารณาเน้ือ ความแห่ง ธรรมท่ีท รงจำไวัก ็ม ี ๒
้ รรถรู้ธ รรมแล้วปฏิบ ัต ิธ รรมสมควร
จำพวก คือ พวกหนึ่ง รูอ
แก่ธ รรม อีกพวกหน่ึง

รู้อรรถรู้ธรรมแล้วไม่ป ฏิบ ัต ิธ รรมลมควรแก่ธรรม บุคคล


พวกที่ร ู้อ รรถรู้ธ รรมแล้ว ไม่ป ฏิบ ัต ิธ รรมสมควรแก่ธ รรม ก็
ถูก ติเ ตีย นด้ว ยเหตุน ้ัน อย่า งนี้ บุค คลพวกท่ีร ู้อ รรถรู้ธ รรม
แล้ว ปฏิบ ติธ รรมสมควรแก่ธ รรม ก็ไ ด้ร ับ การสรรเสริญ ด้ว ย
เหตุน ้ัน อย่า งน้ี

บุคคลรู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิปติธรรมสมควรแก่ธรรมก็มี
๒ จำพวก คือ
พวกหนึ่ง ปฏิป ้ต ิเพื่อ เกื้อ กูล ตนเอง แต่ไ ม่ป ฏิป ติเพื่อ
เกื้อ กูล ผู้อ ื่น อีก พวกหนึ่ง ปฏิบ ัต ิเ พ ื่อ เกื้อ ถูล ตนเองและ
ป ฏิบ ัต ิเ พ ื่อ เกื้อ กูล ผู้อ ื่น บ ุค คลพ วกที่ป ฏ ิบ ัต ิเ พ ื่อ เกื้อ กล
ตนเองแต่ไ ม่ป ฏิป ติเพ่ือ เก้ือ กูล ผู้อ ่ืน ก็ถ ูก ติเตีย นด้ว ยเหตุน ัน
ี ฏิบ ัต ิเ พื่อ เก้ือ กูล ตนเองและปฏิบ ัต ิเพ่ือ เก้ือ กูล
อย่า งน้ีพ วกท่ป
ผู้อ ื่น ก็ได้รับการสรวิเส่ริญด้วยเหตุนั้น อย่า งนี้

คัม ภีร ์ส รัา งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๒๑ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ภิก ษ ุท ั้ง หลาย ภิก ษุเ ป็น ผ้ร ้จ ัก บุค คล ๒ ฝ่า ยด้ว ย
1 จ ' น ่ข ํ จ '
ประการฉะน้ีแลภิกษุชื่อว่าเป็นปุคคลปโรปรัญ ฌูอย่างน้ี
ภิก ษุท ้ัง หลาย ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๗ ประการน้ีแล
จึง เป็น ผู้ค วรแก่ข องท่ีเ ขานำมาถวาย ฯลฯ เป็น นาบุญ อัน
ยอดเย่ียมของโลก

สรุป
จากหลัก สูตรดังกล่าวท้ังสามประการนี้ก ล่าวคือ
๑. การสรางคนให้พร้อมเป็นพระด้วยเสนาสนสูตร
๒. การสร้า งพระให้พ ร้อ มเป็น พระที่จ ะบรรลุธ รรม
ตัวยคณกโมคคัลานสูตร
๓. การสร้า งพระให้พ ร้อ มเป็น พระนัก เผยแผ่ด ้ว ย
ธ้มมัญฌูสูตร
ทั้ง สามหลัก สูต รนี้จ ะสำเร็จ ได้ด ้ว ยวิธ ีก ารอบรมนิส ัย
ให้ธรรมะเป็น อัน หน่ึงอัน เดียวกับ ใจ โดยต้อ งได้พ ระเถระ ผู้
มีจ ิต เมตตาและมีใ จใหญ่ มีค วามสามารถในการอบ รมปม
นิสัยลูกศิษย็ให้ใจกับธรรมะเป็นหนึ่งเดียวกัน

การ้ฟิกอบรมบ่มนิสัยให้ใจกับธรรมเป็นหนึ่งเดียวกัน

0. กระบวนการสร้างพระแท้(ในแง่การบริหาร)
ในการฟิก อบรมพระ ฟิก อบรมคนให้ส มบูร ณ์แ บบ
พร้อ มที่จ ะเป็น พระตามหลัก พระพุท ธศาสนานั้น ต้อ งมีห ลัก

คมภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษุฐ ์ ๓๒๒ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
การในการทำงาน และเลือกใช้หลักสูตรในการฟิกท่ีเหมาะสม
ซ่ึงในเบื้องต้น มี ๔ ข้ันตอน คือ

ข้ัน ตอนท่ี ๑ ต้อ งคัด คนเข้า มาบวชจำเป็น ต้องคัด เอา


เฉพาะบุคคลที่ฟิกได้เท่านั้น เข้ามาบวชเป็นอายุพระพุทธศาสนา
โดยใช้ห ลักจาก เสนาสนสูตร เป็น ตัววัด คุณ สมปติเบื้องต้น ๕
ประการได้แก่
๑.๑ มีศรัทธา
๑.๒ มีอาพาธน้อย
๑.๓ ไม่โอ้อวดไม่มีมารยา
๑.๔ มีความเพียร
๑.๕ มีปัญ ญา
ข้ัน ตอนท่ี ๖ ปรับ พ้ืน ฐานให้เ สมอคัน โดยใช้ส มณ
ส ัญ ญ าส ูต ร 8๔๓ เป็น บทฟิก เบื้อ งต้น ซ่ึง ประกอบด้ว ย ส ม ณ
สัญ ญ า ๓ ประการ และธรรม ๗ ประการ
๖.® ส ม ณ ส ัญ ญ า ๓ ป ระก าร ได้แ ก่ ความ
ตระหนักรู้ว่า
๒.๒.๑ เราเป็น ผู้ม ีเพศต่างจากคฤหัสถ์
๒.๒.๒ ชีวิตเราเน่ืองด้วยผู้อ่ืน
๒.๒.๓ มรรยาทอย่างอื่นอันเราควรทำมีอยู่

อง. ทสก. มจ. ๒๔/๒๔๒, มก. ๓๘/๓๓๗

ดัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๒๓ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
13.๖ ปลูก ฝัง ธรรม ๗ ประการให้เป็นนิสัยไป
พร้อม ๆ กัน ดือ
๒.๒.๑ เป็นผู้รักษาศีลเป็นนิสัย
๒.๒.๒ เป็นผูไม่มีอภิชฌา
๒.๒.๓ เป็นผูไม่มีพยาบาท
๒.๒.๔ เป็นผูไม่มีมานะ
๒.๒.๕ เป็นผู่ใคร่ต่อการศึกษา
๒.๒.๖ เป็น ผู้ม ีก ารพ ิจ ารณ าใน ปัจ จัย
ท้ัง หลาย แล้วจึงบริโภค
๒.๒.๗ เป็นผู้ปรารภความเพียร
ข ้ัน ต อ น ท ่ี๓'ฝัก คนเพ่ือ การเข้า ถึง ธรรมเป็น ไปตาม
ลำดับ ขั้น ตอน โดยใช้ “ คณ กโมคคัล ลานสูต ร” เป็นบทฟิก
ในการอบรมพระภิกษุ

ดกเกโมคดัล ลานสูต ร* ๔๔

ว่าด้วยการศึกษาตามลำดับ

มีก ารปฏิบ ํติต ามลำดับ ดือ


ลำดับ ท่ี ๑ ให้รักษาศีล สำรวมในปาติโมกข์
ลำดับ ที่ ๒ ให้สำรวมอินทรีย์
ลำดับ ที่ ๓ ให้รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร

ม. ปี มจ. ๑๔/๗๘, มก. ๒๒/๑๔๓

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษธ์ ๓๒๔ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ลำดับ ท่ี๔ ให้ป ระกอบความ เพีย รเคร่ือ งต่ืน
อยู่เนืองๆ
ลำดับท่ี ๕ ให้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ
ลำดับ ท่ี๖ ให้อ ยู่ใ นเสนาสนะอ ัน สงัด เพ่ือ
กำจัดนิวรณ์ ๕
ลำดับที่ ๗ ให้บรรลุฌานท่ี ๑-๔

ข้ัน ตอนท่ี ๔ ปรับ ปรุงสภาพแวดล ้อ มให้เหมาะแก่


การอบรมสืล ธรรม โดยศึกษาหลักจากเสนาสน สูต ร แล้วนำ
แนวคิดมาใชในการสร้างบรรยากาศภายในวัดให้สงบร่มรื่น
เหมาะแก่การปฏิบ้ติธรรม และเส่ริมสร้างพัฒนานิสัยที่ดี
ในการปรับ ปรุงสภาพแวดล้อมข้ึนมาใหม่น ้ัน การ
กำหนดขอบเขต ของแต่ละส่วน (2อกเกธ) ต้องยึดหลักว่า
พยายามให้กระทบกับบุคคลและสถานที่เดิมน้อยที่สุด โดย
คำนึงถึงลักษณะการใช้งานเป็นสำคัญ เช่น อย่าให้บริเวณที่
ต้องใช้เสียงดังไปอยู่ใกล้กับบริเวณที่ต้องการความสงบ
เพราะฉะนั้น เมื่อเราได้ปฏิบํติมาตาม ๔ ขั้นตอนนี้แล้ว
เมื่อถึงคราวฟิกอบรมคน เราก็ต้องดัดคนที่ตั้งใจมาบวชก่อน
ส่วนคนที่ไม่ตั้งใจบวช อย่ารับเช้ามา แต่ถ้ารับเช้ามาต้อง
แน่ใจว่าจะฟิกอบรมให้เขาตั้งใจบวชได้ มิฉะน้ัน เราอาจ
กลายเป็น ผู้สร้างความเสียหายให้แก่ก ารคณะสงฆ ์ด ้วยมือ
ของตนเอง

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๓๒๕ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
13. ห น ท างป ฏ ิบ ัต ิเ พ ื่อ ไ ป น ิพ พ าน (ใน แ ง่ต ัว บ ุค ค ล )

จากการศึก ษาคัน คว้าหนทางปฏิป ้ต ิเพ่ือไปนิพ พานใน


นิพ พานปัญ หาสูต ร ปรากฎข้อความสำคัญว่า

นิพ พานปัญ หาสูต ร 0๙๕

สมัยหนึ่ง ท่านพระสารีบุตรอยู่ ณ หมู่บ ้านนาสกคาม


แคว้นมคธ ครั้งนั้น ชัม พุข าทกปริพ าชก เข้าไปหาท่านพระ
สารีบุตร ถึง ท่ีอ ยู่ ได้สนทนาปราศรัยเป็น ท่ีบ ัน เทิงเริงใจ พอ
เป็น ที่ระลึก ถึงกัน แล้ว นั่ง ณ ที่สมควร ได้ถ ามท่านพระสารี
บุตรดังน้ีว่า ‘ท่านสารีบ ุตร’ ที่เรียกกัน ว่า ‘นิพ พาน นิพ พาน’
นิพพานเป็นอย่างไร
ท่า นพระสารีบ ุต รตอบว่า ‘ ผู้ม ีอ ายุ ความส้ิน ราคะ
ความสิ้นโทสะ และความส้ินโมหะ น้ีเรียกว่า นิพ พาน ๑๔๖
‘มีมรรค มีป ฏิป ทา เพื่อให้แจ้งพระนิพพานนั้นอยู่หรือ’
‘มีมรรค มีปฏิปทา เพ่ือทำให้แจ้งนิพพานน้ันอยู่’
‘มรรคเป็นอย่างไรปฏิปทาทำให้แจ้งน้ันเป็นอย่างไร’

‘ผู้ม ีอ ายุ คือ อริย มรรคมีอ งค์ ๘ นีแ


้ ล เพื่อทำให้แจ้ง
นิพพานน้ันได้แก่’

0๔๕ สิ. สฬา. มจ. ๑๘/ ๓๓๕ ปฏิปทา. ข'อปฏิบัติ แนวทางความประพฤติ ทางปฏิบ ํต ิ
มคฺค -ทาง มก. ๒ ฟ /๘๘
0๔๖ สภาพของพระนิ
พ พานท่ีกล่าวมา แสดงว่า นิพพาน ธ ธรรมชาติบริสุท ธี้ หากใคร
เข้าถึงได้ใจของคนผู้น ั้น ย่อมบริสุท ธี้ดาม คือ สิ้น ราคะ โมหะ โทสะ

คัมภีร์สร้างวัดจากพระ:โอษฐ์ ๓๒๖ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
๑. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ
๒. สัมมาดังกัปปะ คิดชอบ
๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ
๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ
๔. สัมมาอาชีวะ เล้ียงชีพชอบ

๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ
๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ
๔. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ

น้ีแลดือมรรคน้ีดือปฏิปทาเพ่ือทำให้แจ้งนิพ พานน้ัน
‘ท่า นสารีบ ุต ร มรรค ดีจริงหนอ ปฏิป ทาท่ีท ำให้แ จ้ง
นิพพานน้ีต็จริงหนอ และควรไม่ประมาท’

จากพระสูตรดังกล่าว การที่จะไปดึงพระนิพพานนั้น จะ
ต้องปฏิบัติดังนี้
๑) ปฏิบัติมรรคมีองค์๘
๒) มีการดึกษาและปฏิบัติควบคู่กันไป

โดยบุค คลน้ัน ต้องมีด้นทุนในการปฏิบัติอยู่ ๒ ประการ


ดังกล่าวแล้วในเสนาสนสูตร ดือ
๑) มีคุณสมบัติของภิกษุผู้พร้อมต่อการบรรลุธรรม ๕
ประการ
๒ ) อาศัย อยู่ใ น เสน าสน ะท่ีม ีค ุณ สมบ ัต ิเ ห มาะแก่
การบรรลุธรรม ๕ ประการ

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษค์ ๓๒๗ การอบรมน้สัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
เพราะฉะน ้ัน หากได้องค์ประกอบต่างๆ ครบถ้ว น
แล้วตนเองลงมือศึกษาและปฏิบ้ติมรรคมีองค์ ๘ อย่างต่อ
เน่ืองเป็นนิสัยทุ่มชีวิตเป็นเดิมพ้นในการทำความดี ย่อม
บรรลุธรรมไปตามลำดับในที่สุด

ความเล่ือมและความดำรงม่ันของพระพุทธศาสนา

จากการ'ฝ ืกอบรมพระภิกษุมาตามสามหลักสูตรดัง
กล่าวนั้น แท้จริงแล้ว คือการเดิมพันด้วยความเจริญหรือ
ความเส่ือ มของพระ พุท ธศาสนา ดัง ปรากฏใน ตติย
ส้ทธ้มมดัมมโมสูตรดังน้ี

ตติยลัทยัมมสัมโมสสูตร*๙๗
ว่าด้วยเหตุเส่ือมแห่งพระส้ทธรวิม

ภิกษุท้ังหลายธรรม ๕ประการน้ีย่อมเป็นไปเพ่ือความ
เส่ือมสูญหายไปแห่งส้ทธรรม
ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. ภิกษุในธรรมวินัยนีเ้ ล่าเรียนพระสูตรที่เล่าเรียนกัน
มาไม่ดื ด้วยบทพยัญชนะที่สืบทอดกันมาไม่ต๑๔๘

แม้อรรถ’’๙■'แห่งบทพยัญชนะท่ีสืบทอดกันมาไม่ต็ก็
ชื่อว่าเป็นการสืบทอดขยายความไม่ดี นี้เป็น
‘'๙๗ อง. ปัญจก มจ. ๒๒/๒๕๔
“๔๘ บทพยัญชนะท่ีสืบทอดกันมาไม่ดี หมายถึงบทบาลีท ่ีสีบทอดกันมาผิดระเบียบ
(อง..ทุก.อ. ๒ / ๒ 0 / ๒๘) และดู อง.. ทุก. (แปล) ๒ 0 / ๒๐/๗๒
‘•๔*' อรรถ ในที่น้ีหมายถึงอรรถกถาที่ลวดสืบทอดกันมาผิดระเบียบ (อง.. ทุก. อ. ๒/ ๒ 0 /
๒๘)

คัมภึร์สร้างวัดจากหระโอษฐ์ ๓๒๘ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ธรรมประการท่ี ๑ ย่อ มเป็น ไปเพ่ือ ความเส่ือ ม
สูญหายไปแห่งสัทธรรม
๒. ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีเป็น ผู้ว ่า ยาก ประกอบด้ว ย
ธรรมเป็น เครื่อ งทำให้เป็น ผู้ว ่า ยาก ไม่อ ดทนรับ
ฟังคำพรื่าสอนโดยเคารพ นี้เป็นธรรมประการที่ ๒
ย่อมเป็นไปเพ่ือความเส่ือมสูญหายไปแห่งส้ทธรรม
๓. ภิก ษุใ นธรรมวิน ัย น้ีเป็น พหูส ูต เรีย นจบคัม ภีร ์
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติก า๑๕๐ ไม่ถ ่า ยทอด
สูต รแก่ผ ู้อ ื่น โดยเคารพเมื่อ ภิก ษุเหล่า น้ัน ล่ว งดับ
ไป สูต รก็ข าดรากฐาน ไม่ม ีท ่ีพ ่ึง อาศัย นี้เป็น
ธรรมประการที่ ๓ ย่อ มเป็น ไปเพื่อ ความเสื่อ ม
สูญหายไปแห่งส้ทธรรม
๔. ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นเถระ ผู้ม ัก มาก ย่อ ห ย่อ น
๑''’’ เป็น ผู้น ำในโอกกมนธรรม ๑๕๒ ทอดธุร ะใน
0๕0
เป็นพหูสูต หมายถึงได้ส ดับ พระพุท ธพจน์ห รือได้เล่าเรีย นนวังคสัตถุศาสน์(คำสอน
ของพระศาสดามีอ งค์ ๙)เรีย นจบคัม ภีร์ หมายถึง เรียนจบพระพุทธพจน์คือ พระไตร
ปิฎ ก ๕ นิก าย ได้แก่ ทีฆ นิก าย มัชฌิมนิกาย ดังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย และขุท
ทกนิก าย
ทรงธรรม หมายถึงทรงจำพระสุต ตัน ตปิฎ ก
ทรงวินัย หมายถึงทรงจำพระวิน ัย ปิฎ ก
ทรงมาติก า หมายถึง ทรงจำพระปาติโ มกข์ท ั้ง สอง คือ ภิก ขุป าติโ มกข์ และ
ภิก ขุณ ีป าติโ มกข์ (อง.. ดิก. อ. ๒ / ๒๐/ ๙๗-๙๘)
ย่อ หย่อ นในที่น ี้ห มายถึงยึด ถือ ปฎิป ติต ามคำสั่งลอนโดยไม่เคร่งครัด (อง..ทุก.อ. ๒ /
๔๕/ ๕๓)
"๕๒ โอกกมนธรรม หมายถึง นิว รณ์ ๕ คือ (๑) กามฉันทะ (ความพอใจในกาม) (๒)
พยาบาท (ความคิด ร้าย) (๓) ถีนมิทธะ (ความหดหู่และเซื่องซึม) (๔) อุท ธัจจถุกถุจจะ
(ความฟังซ่านและร้อนใจ) (๕) วิกิจฉา (ความดัง เลสงสัย ) (อง.. ทุก. อ. ๒ / ๔๕/ ๕๓)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๒๙ กาวอบรมน้สัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ปวิเ วก’ ๕”ไม่ปรารภความเพียรเพ่ือถึงธรรมท่ียังไม่
ถึง เพื่อบรรลุธรรมท่ียังไม่บรรลุ เพื่อ ทำให้แ จ้ง
ธรรมที่ยังไม่ได้ทำให้แจ้งหมู่คนรุ่นหลังพากันตาม
อย่า งภิก ษุเถระเหล่า นั้น แม้ห มู่ค นรุ่น หลังนั้น ก็
เป็น ผู้ม ้ก มาก เป็น ผู้ย ่อ หย่อ น เป็นผู้นำในโอกก
มนธรรมทอดธุร ะในปวิเ วก ไม่ป รารภความ
เพีย รเพื่อ ถึง ธรรมที่ย ัง ไม่ถ ึง เพื่อ บรรลุธ รรมที่
ยังไม่บรรลุเพ่ือทำให้แจ้งธรรมท่ียังไม่ได้ทำให้แจ้ง
น้ีเป็น ธรรมประการท่ี ๔ ย่อ มเป็น ไปเพ่ือ ความ
เส่ือมสูญหายไปแห่งล้ทธรรม
๕. สงฆ์แ ตกแยกกัน เม่ือสงฆ์แตกแยกกัน จึงมีก าร
ด่า กัน มีก ารบริภ าษกัน มีก ารใส่ร ้า ยกัน มีการ
ทอดทิ้ง กัน หมู่ค นที่ย ังไม่เลื่อ มใสในสงฆ์น ั้น ก็
ไม่เลื่อมใส และหมู่ค นที่เลื่อ มใสแล้ว ก็ก ลายเป็น
อ่ืนไป น้ีเป็นธรรมประการท่ี ๕ ย่อมเป็นไปเพ่ือ
ความเสื่อมสูญหายไปแห่งส้ทธรรม

ภิก ษ ุท ้ัง หลาย ธรรม ๕ ประการน้ีแ ล ย่อ มเป็น ไป


เพ่ือความเลื่อมสูญหายไปแห่งส้ทธรรม
ภิก ษ ุท ั้ง หลาย ธรรม ๕ ประการนี้แ ล ย่อ มเป็น ไป
เพ่ือความดำรงนั้นไม่ความเสื่อมสูญ ไม่หายไปแห่งล้ทธรรม

‘'๕'’ ปวิเวก หมายถึงอุป ธิว ิเวก คือความสงัดจากอุป ธิ (สภาวะอัน เป็น ท่ีต้ังท่ีท รงไว้ซ ่ึง
ทุกข์ได้แก่ กาม กิเลส เบญจขันธ์และอภิสังขาร) อีกนัยหนึ่ง หมายถึงนิพ พาน (องฺ.ทุก.อ.
๒ / ๔๕/ ๕๓)

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๓๐ การอบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
๑. ภิกษุในธรรมวินัยนี้เล่าเรียนพระสูตรที่เล่าเรียนกัน
มาตี ด้วยบทพยัญ ชนะที่ลืบ ทอดกัน มาตี แม้อรรถ
แห่ง บทพ ยัญ ชนะที่ล ืบ ทอดกัน มาตี ก็ช ่ือ ว่า
เป็นการลืบทอดขยายความดีน้ีเป็นธรรมประการท่ี
๑ ย่อ มเป็น ไปเพ่ือ ความดำรงมั่น ไม่เส่ือ มสูญ
ไม่หายไปแห่งส้ทธรรม
๒. ภิกษุในธรรมวินัยน๋ีไม่เป็นผู้ว่ายากไม่ประกอบด้วย
ธรรมเป็น เครื่อ งทำให้เป็น ผู้ว ่า ยาก อดทนรับ ฟัง
คำพวิาสอนโดยเคารพ นี้เป็นธรรมประการที่ ๒
ย่อ มเป็น ไปเพ่ือ ความดำรงม่ัน ไม่เสื่อ มสูญ ไม่
หายไปแห่งล้ทธรรม
๓. ภ ิก ษุใ นธรรมวิน ัย นี้เป็น พหุส ูด เรีย นจบคัม ภีร ์
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ถ่ายทอดสูด รแก่ผู้
อื่นโดยเคารพ เมื่อภิกษุเหล่านั้น ล่วงลับ ไป สูตรก็
ไม่ขาดรากฐานมีท่ีพ ่ึงอาศัยนี้เป็น ธรรมประการที่
๓ ย่อ มเป็น ไปเพ่ือ ความดำรงมั่น ไม่เส่ือ มสูญ
ไม่หายไปแห่งส์ทธรรม
๔. ภิก ษุเป็น เถระไม่ม ัก มากไม่ย่อ หย่อ นหมดธุระใน
โอกกมนธรรมผู้น ำในปวิเวก ปรารภความเพีย ร
เพ่ือถึงธรรมที่ยังไม่ถึงเพื่อบรรลุธรรมที่ยังไม่บรรลุ
เพื่อ ทำให้แ จ้ง ธรรมที่ย ัง ไม่ไ ด้ท ำให้แ จ้ง หมู่ค น

คมภึร้สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๓๑ การอบรมน็สัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
รุ่น หลัง พากัน ตามอย่า งภิก ษุเ ถระเหล่า น้ัน แม้
หมู่ค นรุ่น หลัง นั้น ก็ไ ม่ม ัก มาก ไม ่ย ่อ ห ย่อ น
หมดธุร ะในโอกกมนธรรม เป็น ผู้น ำในปวิเวก
ปรารภความเพีย รเพื่อ ถึง ธรรมที่ย ัง ไม่ถ ึง เพ่ือ
บรรลุธ รรมที่ยังไม่บ รรลุ เพ่ือ ทำให้แ จ้ง ธรรมท่ี
ยัง ไม่ไ ด้ท ำให้แ จ้ง นี้เป็น ธรรมประการท่ี ๔
ย่อ มเป็น ไปเพ่ือ ความดำรงม่ัน ไม่เสื่อ มสูญ ไม่
หายไปแห่งล้ทธรรม
๕. สงฆ์พร้อมเพรียงกัน ชื่นชมกัน ไม่วิวาทกัน มีอุท
เทสที่ส วดร่ว มกัน ๑อย่ผ าสุก เมื่อ สงฆ์พ ร้อ ม
เพรียงกน จึงไม่มี)าารดำกน ไม่ม ีก ารบรภาษกน
ไม่มีการใส่ร้ายกัน ไม่ม ีก ารทอดทิ้งกัน หมู่คนที่
ยังไม่เล่ือ มใสในสงฆ์น ั้น ก็เลื่อ มใส และหมู่ค นที่
เล่ือมใสแล้วก็เล่ือมใสย่ิงข้ึนนี้เป็นธรรมประการท่ี๕
ย่อ มเป็น ไปเพ่ือ ความดำรงม่ัน ไม่เสื่อ มสูญ ไม่
หายไปแห่ง สัท ธรรม ภิก ษ ุท ั้ง หลาย ธรรม ๕
ประการนี้แล ย่อ มเป็น ไปเพื่อ ความดำรงมั่น ไม่
เสื่อมสูญ ไม่หายไปแห่งล้ทธรรม

คัม ภีร ์ส ร้า งวัด จากพระโอษฐ์ ๓๓๒ การยบรมนิสัยเพื่อการบรรลุธรรม

kalyanamitra.org
ประวัต ิ

พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตุตซีโว)

ปัจจุบันดำรงสมณกิจ
รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย

รองประธานมูลนิธิธรรมกาย
และ ?โอรเฝอกI ๐1 □เาล ก าก าฟ เก ^61'ก3 ใเ0 กลเ
เฟอปแ3 แอก รอก!อโ (บ.ร./V )
เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๓

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีคณะกสิกรรมและสัตวบาล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน
และ วแวเอ๓ 3 อ! ว 3 เโ7 'โออเากอเอฐV บอผ^อรเวบโV
รอแอฐอ, /\บร!โ8 เ18
อุปสมบทเมื่อวันท่ี ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔
ณ พัทธสีมาวัดปากน้ํา ภาษีเจริญ
กรุงเทพมหานคร

kalyanamitra.org
บรรณานุก รม
(๑) พระไตรปืฏ ก
๑. วัด ดี พระดี สัง คมดี
มหาจุฬ าลงกรณ์ร าชวิท ยาลัย . ๒๕๒๙ สมณ สัญ ญ าสูต ร, พระสุตตัน ตปิฎก
อังคุตรนิกาย ทสกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ คณกโมคดัล ลานสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกายอุปริปัณณาสก์.กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ เสนาสนสูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตร
นิกาย ทสกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปาสราสิส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก มัชฌิม
นิกาย มูลปัณณาสก์. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ พรหมยาจนคาถา, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกายมูลปัณ ณาสก์.กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ นิพ พานปัญ หาสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
ลังยุตตนิกาย สฬายตวรรค. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

๖. ศรัท ธา
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ กีฎาคิริสูตร, พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย
มัชฌิมปัณณาสก์. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ สิร ิม าวิม าน, พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน
วัตถุ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ นคโรปมสูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตร
นิกาย สัตดกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ สุภ ูด ิส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังลุตรนิกาย
เอกาทสกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ติฐ านสูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุดรนิกาย
ดิกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

คัมภีร์สร้างวัดขิากหระโอษฐ์ ๓๓๕ บรรถเานุกรม

kalyanamitra.org
๓. อาพาธน้อ ย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ คิร ิม าน้น ทสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ยังคุตร
นิกาย ทสกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ร าชวิท ยาลัย . ๒๕๒๙ ขุท ทกวัต ถุ, พระวิน ้ยปิฎ ก จูฬวรรค
ภาค ๒. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ชังกมสูตร, พระสุตตันตปิฎก ยังคุตรนิกาย
ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ รโถปมสูต ร, พระสุตตัน ตปิฎก ลังยุต
ตนิกาย สฬายตวรรค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ร าชวิท ยาลัย . ๒๕๒๙ สารีป ุต ตเถรคาถา พระสุตตัน ตปิฎก
ขุททกนิกาย เถรคาถา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ ปุต ตมัง สสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังยุตตนิกาย
นิทานวรรค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ สุก ชาดก, พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิก าย ชาดก.
กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ลัก ขณสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย
ปาฎิกวรรค. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ จูฬ กัม มวิภ ัง คสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์.กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

๔. ไม่โอ้อ วด ไม่ม ีม ารยา


มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ อุท ุม พริก สูตร, พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย
ปาฎิกวรรค. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปุร าเภทสุต ตนิเ ทศ, พระสุตตันตปิฎก
ชุททกนิกาย มหานิทเทศ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ ภีม เสนชาดก, พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิก าย
ชาดก. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒ ๕๒๕พกชาดก, พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิก าย ชาดก.
กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๓๕ บรรณานุก รม

kalyanamitra.org
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๔๒๙ อนุม านสูต ร, พระสุตตันตปิฎก มัชฌิม
นิกาย มัชฌิมปัณณาสก์. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๔๒๙ สัม พทุล ภิก ขุว ัต ถุ, พระสุตตันตปิฎก
ขุททกนิกาย ธรรมบท. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๔๒๙ สามดามสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ม้ชฌิม
นิกาย อุปริปัณณาสก์. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

๕. ความเพีย ร
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ทุต ิย ทสพลสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลัง
ยุตตนิกาย นิทานวรรค. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ฆฎสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ดังยุตตนิกาย
นิทานวรรค.กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ โพธิร าชกุม ารสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกาย มัช ฌิม ปัณ ณาสก์ กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราช
วิท ยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ สมยสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังคุตรนิกาย
ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ กุส ีต ารัม ภวัต ถุส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก
ลังคุตรนิกาย ยัฎฐกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ วัณ ณุป ถชาดก, พระสุตตันตปิฎก ชุททกนิกาย
ชาดก. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙ ภาวนาสูตร,พระสุตตันตปิฎก ลังคุตรนิกาย
สตตกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

๖. ปัญ ญา
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ มหาจุน ทเถรคาถา, พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย
เถรคาถา. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙โยนิโ สมนสิก ารสัม ปทาสูต ร, พระสุดดันต
ปิฎ ก ดังยุตตนิกาย มหาวารวรรค.กรุงเทพฯ ะ โรงพิม พ์ม หาจุฬ าลงกรณ์
ราชวิทยาลัย

คัมภีร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๓๓๖ บรรณานุกรม

kalyanamitra.org
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปฐมธมมวิห ารีส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก
อังคุตรนิกาย ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎ ราชวิท ยาลัย . ๒๕๒๕ สมาธิส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลัง ยุด ตนิก าย
ขันธวารวรรค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ มหาปัญ ญาสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ดัง
ยุดดนิกาย มหาวารวรรค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙ปัญ ญาสูตร,พระสุตตันตปิฎ ก อังคุดรนิกาย
สตตกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ โรหิต ัส สสูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตร
นิกาย จตุกกนิบาต. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ นครสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังยุตตนิกาย
นิทานวรรค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปทสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ดังยุตตนิกาย
มหาวารวรรค.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ มหาอัต ตารีส กสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกายอุปริปัณณาสก์.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

๗. การเสือ กทำเล สถานท่ี


มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปาสราสิส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก มัชฌิม
นิกาย มูลปัณณาสก์. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ โพธิร าชกุม ารสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณ ณาสก์.กรุงเทพฯ : โรงพิม พ์ม หาจุฬ าลงกรณ์ราช
วิท ยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙พิม พิส ารสมาคมกถา,พระวิน ัย ปิฎ ก, มหา
วารวรรค. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ เสนาขัน ธกะ, พระวินัยปิฎก, จูฬวรรค.
กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ อรรถกถาสามัญ ญผลสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๓๗ บรรณานุก รม

kalyanamitra.org
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ อรรถกถาขุท ทกนิก าย พรรณนาทวิเตติงสาการ,
พระสุตตันตปิฎก ขุท ทกนิก าย ธรรมบท. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหามกุฎ
ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ คณกโมคคัล านสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกายอุปริปัณณาสก์.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ภัณ ฎกสูตร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย
ทสกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปฐมอนาคตภยสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
อังคุตรนิกาย ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ วนโรปสูตร, พระสุตตันตปิฎก ลังยุดดนิ
กาย สคาถวรรค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. ปัจ จัย ๔ เป็น ที่ส บาย


มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ สัน ตุฎ ฐิส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตร
นิกาย จตุกกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ อรรถกถา พระวิน ัย ดิง สกกัณ ฑวรรณา, พระ
วินัยปิฎก มหาวิภังค์. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ อรรถกถา สติป ัฏ ฐานสูต ร พระมหาเถระ, พระ
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหามกุฎ
ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ อรรถกถา ชุท ทกนิก าย ธรรมบท ภิก ษุรูป ใด
รูป หน่ึง, พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหา
มกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ เสนาข้น ธกะ, วิห ารานุช านน, พระวินัย
ปิฎ ก, จูฬวรรค. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปฐมทุฎ ฐโทสสิก ขาบท, พระวินัยปิฎก
มหาวิภังค์ กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙วนปัตถสูตร,พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย
มูลปัณณาสก์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

ค้มภีร้สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๓๘ บรรณานุกรม

kalyanamitra.org
๙. พระเถระ
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ เถระสูตร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย
ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ .- โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ชิป ปนิส ัน ติส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตร
นิกาย ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ ลัก ษณะผู้ท รงธรรมและไม่ท รงธรรม, พระสุต
ดันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ ทรงพระวินัย, พระวินัยปิฎก มหาวิภงฺค. กรุงเทพฯ
: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ อุม มคุด สูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุดร
นิกาย จตุกุกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ พระเอกุท านเถระ, พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย
ธรรมบท. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ เถระสูตร, พระสุตตันตปิฎก อังคุดรนิกาย
ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ จาตุท ทิส สูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุตร
นิกาย จตุกุกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙อรัญญสูตร,พระสุดดันดปิฎกอังคุตรนิกาย
จตุกุกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

๑๐. พระลูก ติษ ย์


มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ ปฐมโลกกามคุณ สูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังยุตตนิ
กาย สฬายตนวรรค. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ธัม มัญ ฌุส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก อังคุดร
นิกาย สตตกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ มหาเวทลลสูต ร, พระสุตตันตปิฎก มชฺฌิมนิกาย
มูลปณฺณาสก์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ปุณ ณิย สูต ร, พระสุดดันตปิฎก อังคุตร
นิกาย สต.ดกนิบาต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

คัมภีร์สร้างวัดจากพระโอษฐ์ ๓๓๙ บรรณานุก รม

kalyanamitra.org
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๒๕ พุท ธพจน์, พระวินัยปิฎก มหาวิภงฺศ์. กรุงเทพฯ ะ
โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๔๒๙ กิงสุโกปมสูตร, พระสุตตันตปิฎก ลังยุตตนิ
กาย สฬายตนวรรค. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

๑๑. การอบรมบ่ม นิส ัย


มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ทุต ิย มิต ตสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังกุตร
นิกาย สตตกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ สัก กิจ จสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังคุดร
นิกาย ลัตฺตกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลย. ๒๕๒๙ ปฐมสัท ธัม มสัม โมสสูต ร, พระสุตตันตปิฎก
ลังคุดรนิกายปัญจกนิบาต.กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ ดารวสูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังยุตตนิกาย
สคาถวรรค.กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณ์ร าชวิท ยาลัย . ๒๕๒๙ อัน ธกวิน ทสูต ร, พระสุต ตัน ตปิฎ ก
ลังคุตรนิกาย ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙ อาลังขสูตร,พระสุตตันตปิฎก ลังคุตรนิกาย
ทสกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ โรคสูตร, พระสุตตันตปิฎก ลังคุตรนิกาย
จตุกุกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.๒๕๒๙สัม มาสมาธิสูต ร,พระสุตตัน ตปิฎ ก ลังดุตร
นิกาย ปัญจกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ คณ)กโมดดัลลานสูตร, พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกาย สุปริปัณณาสก์.กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. ๒๕๒๙ อัม มัญ ฌูส ูต ร, พระสุตตันตปิฎก ลังดุตร
นิกาย สัตดกนิบาต. กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

(๒) หนัง สือ ประกอบ


พระธรรมกิตติวงศ์ ๒๕๔๘ คำวัด , กรุงเทพฯ ะโรงพิมพ์เลี่ยงเชียง
บรรจบ บรรณรุจิ ๒๕๓๗. อสีต ิม หาสาวก, กรุงเทพ ะ กองทุนพุทธสถาน

ดัมภึร์สรางวัดจากพระโอษฐ์ ๓๔๐ บรรณานุกรม

kalyanamitra.org
kalyanamitra.org

You might also like