Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

นาย ภูมิพฒ

ั น์ คล้ าวเคลือ 620410140


ทบทวนวรรณกรรม
1.ผลกระทบและการปรับตัว (Resilience) ของผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและร้ านอาหารช่ วงโควิด-19
ทฤษฎีฐานราก(Grounded Theory) โดยวิธีปฏิสมั พันธ์เชิงสัญลักษณ์
ทฤษฎีฐานรากใช้ในการศึกษากระบวนการทางสังคมที่มีปฏิสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน
Leedy and Ormrod (2001) กล่าวว่า ทฤษฎีฐานราก(grounded theory) คือทฤษฎีที่ได้จากการศึกษาปรากฏการณ์
ทางสังคม
เป็ นทฤษฎีที่มีคุณลักษณะเฉพาะที่ถูกสร้างขึ้นมาจากข้อมูลที่เป็ นไป ตามปรากฏการณ์จริ งมากที่สุด โดย
ทฤษฎีน้ ี ถูกค้นพบ พัฒนา และได้รับจากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์น้ นั ๆ
อย่างเป็ นระบบ ทฤษฎีจะประกอบไปด้วยชุดของมโนทัศน์ของปรากฏการณ์จริ ง มโนทัศน์จะถูกเชื่อมโยงกัน
ในรู ปของข้อเสนอที่แสดงถึงความเกี่ยวพันกันในรู ปแบบต่าง ๆ คำว่าทฤษฎีในความหมายของวิธีการวิจยั นี้ ค่อน
ข้างจะกินความกว้างคือ หมายรวม ถึงมโนทัศน์ หรื อกรอบแนวความคิดสำหรับการอธิ บายปรากฏการณ์ที่นกั
วิจยั ทำการศึกษา
ปรากฎการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นต่อโรงแรม ที่มีเหตุมาจากโควิด-19 ทุกโรงแรมทั้งหมดในประเทศไทยจึง
ต้องมีการปรับตัว และมีการปรับตัวที่คล้ายคลึงกันเพื่อให้โรงแรมสามารถดำเนินต่อไปได้ เช่น การปรับเงิน
เดือนของพนักงานให้ลดลงและการลดเวลาทำงานลงไปด้วย
ทฤษฎีฐานรากนี้สามารถอธิบายได้วา่ เพราะเป็ นทฤษฎีสามารถใช้อธิ บายพฤติกรรมของมนุษย์ภายใต้
บริ บททางสังคม สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในประเด็นที่เกี่ยวกับปรากฎการณ์ทางโรงแรมได้ เช่น ผูป้ ระกอบการ
ต้องลดราคาห้องพัก ปรับเปลี่ยนรู ปแบบการบริ การ เน้นตลาดท่องเที่ยวในประเทศ ลดค่าใช้จ่าย
ทฤษฎี Outside-In และการรับฟังเสี ยงสะท้อนจากผูป้ ระกอบการ
เป็ นการให้ความสนใจต่อความคิด ที่ส่งผลต่อการแสดงออกในการตอบสนองต่อสิ่ งต่างๆ หรื อปฏิกิริยา
ตอบสนองที่เลือกแล้วว่าเหมาะสมที่สุดในสถานการณ์น้ นั คนเรามีพฤติกรรมทางจิตหรื อพฤติกรรมภายใน
ควบคู่กบั พฤติกรรมภายนอก เกิดจากการสัมผัส เรี ยนรู ้ มีการรับรู ้ คิด จดจำ ตัดสิ นใจ
หากวิเคราะห์จากมุมมองจากภายนอกสู่ ภายใน (Outside-In) แนวคิดของ Prof. Ranjay Gulati (Harvard
Business School) โดยที่องค์กรธุรกิจต้องบริ หารความเสี่ ยงโดยมองจากสภาพแวดล้อมภายนอกสู่ ภายใน เพื่อ
จัดการความเสี่ ยงและปรับตัว ข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผูป้ ระกอบการธุรกิจโรงแรม
ทฤษฎีน้ ีสามารถอธิบายวิกฤตการณ์โควิด-19 ทำให้ภาคธุรกิจโรงแรม ได้รับผลกระทบโดยตรงมากกว่า
ธุรกิจอื่นๆ โดยผลการวิจยั ผูป้ ระกอบการทั้งโรงแรมและร้านอาหาร มีความกังวลสถานการณ์โควิด-19 โดย
โรงแรมขนาดเล็กมีความกังวลต่อสถานการณ์มากที่สุด รองลงมาคือ โรงแรมขนาดใหญ่ และสุ ดท้ายคือ โรงแรม
ระดับกลาง
สังเกตได้วา่ โรงแรมขนาดกลาง (30-100 ห้อง) มีความกังวลน้อยสุ ด มีความยืดหยุน่ พร้อมรับกับปั ญหาได้
ดีกว่าโรงแรมขนาดใหญ่และขนาดเล็ก อาจมาจากต้องอยูภ่ ายใต้การแข่งขันตลอดเวลาอยูแ่ ล้ว และมีความได้
เปรี ยบจากที่สามารถรองรับจำนวนนักท่องเที่ยวได้พอเหมาะกว่าธุรกิจโรงแรมทั้งขนาดใหญ่และเล็กด้วย

2.แนวทางในการบริหารจัดการธุรกิจโรงแรมในช่ วงวิกฤต โควิด-19


ทฤษฎีปรับโครงสร้ างรายได้
การปรับโครงสร้างรายได้ของธุรกิจโรงแรม (Lukam 2021) ตัวอย่าง เช่น ธุรกิจโรงแรมที่หนั มาทำอาหารส่ ง
เดลิเวอรี่ อย่างเต็มรู ปแบบเพราะธุรกิจโรงแรมมีบุคลากรที่มีศกั ยภาพ ดังนั้นสามารถปรับเปลี่ยนรู ปแบบการให้
บริ การใหม่พร้อมมีการจัดการส่ งเสริ มการขายเพื่อหารายได้ให้กบั สถานประกอบกและสอดคล้องกับ
สถานการณ์ปัจจุบนั ที่ประชาชนส่ วนใหญ่ใช้บริ การสัง่ อาหารผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ
ซึ่ งธุรกิจโรงแรมสามารถใช้กลยุทธ์น้ ี ในการหารายได้ให้กบั ธุรกิจของตนเอง เนื่องจากพนักงานส่ วนใหญ่มี
ศักยภาพมากกว่างานที่ท ำอยู่ เช่น พนักงานเสิ ร์ฟที่ขบั ขี่รถมอเตอร์ไซค์หรื อรถยนต์ได้ ให้ใช้ยานพาหนะส่ ง
อาหารให้ลูกค้า พนักงานต้อนรับให้มาดูแลช่องทางออนไลน์ของโรงแรม เช่น เพจ ไลน์ ทางการขายของ
โรงแรม เพื่อประชาสัมพันธ์การขายอาหาร และรับการสัง่ อาหารจากลูกค้า
ทฤษฎีน้ ีสามารถอธิบายได้จริ ง เพราะจากการฝึ กงานมาช่วงเดือนมีนาคมยังมีการลดเวลาชัว่ โมงการทำงาน
เพื่อลดรายได้ของพนักงาน หรื อเป็ นการโฆษณาขายอาหารเมนูที่ในโรงแรมทำเองและทำส่ งเป็ น Delivery เพื่อ
หารายได้เสริ ม เพือที่จะให้ธุรกิจโรงแรมสามารถดำเนินไปได้
ทฤษฎีเกียวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
เบคเกอร์ และนิวเฮาเซอร์ (Becker&Neuhauser อ้างใน คฑาวุธ พรหมายน ,2545) ได้เสนอโมเดลสําหรับ
ประสิ ทธิ ภาพขององค์การ คือ ประสิ ทธิภาพขององค์การ นอกจากจะพิจารณาถึงปั จจัยนําเข้า หรื อทรัพยากร เช่น
บุคลากร เงิน วัสดุ และผลผลิต ที่องค์การได้รับ ยังประกอบด้วยปั จจัยในส่ วนอื่น ๆ
หากสภาพแวดล้อมนการปฏิบตั ิงานองค์การ มีการปฏิบตั ิงานทีซ ้ำซ้อนน้อย มีมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของ
องค์การ มีการกำหนดที่เป็ นระเบียบ แบบแผน ที่ละเอียดชัดเจน ก็ยอ่ มทําให้ประสิ ทธิ ภาพการทํางานของ
องค์การมีมากกวาองค์การที่มีการทํางานที่ซบั ซ้อน หรื อไม่มีมาตรฐานในการปฏิบตั ิงาน การกำหนดมาตรฐาน
การปฏิบตั ิทีชดั เจน เพื่อเพิ่มมผลการปฏิบตั ิงานทีเป็ นรู ปธรรม ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึนตามไปด้วยเช่นกัน
ผลงานทีเป็ นรู ปธรรม แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในด้านบวกกับประสิ ทธิ การทํางานเมื่อนําการกำหนด
มาตรฐานในการปฏิบตั ิงาน ควบคู่ไปพร้อมกับผลงานทีเป็ นรู ปธรรมจะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทีเพิ่มขึน
ต่อประสิ ทธิ ภาพ มากกวาสิ่ งใดสิ่ งหนึงเพียงลําพัง
ผลกระทบโควิดที่มีต่อโรงแรมทัว่ ประเทศ สามารถใช้ทฤษฎีน้ี อธิ บายได้วา่ ประสิ ทธิ ภาพที่โรงแรมสามารถ
ดำเนินต่อไปได้กต็ อ้ งเกิดจากปัจจัยหลักๆคือ 1. ปั จจัยเฉพาะบุคคล 2. ปั จจัยทีเกี่ยวข้องกับงาน 3. ปั จจัยที่เกี่ยวกับ
ฝ่ ายบริ การ ปั จจัยส่ วนบุคคลในการปฏิบตั ิงานประกอบด้วยปั จจัยหลายด้านทีมีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบตั ิงาน
ของแต่ละบุคคล
แต่ไม่สามารถอธิบายได้วา่ ปัจจัยบุคคลของแต่ละคนนั้นมีเท่ากันหรื อไม่และไม่สามารถบอกได้วา่ จะ
สามารถทำงานร่ วมกันเป็ นทีมแล้วจะมีประสิ ทธิ ภาพที่สุด สามารถแก้วิกฤติต่างๆได้ท้ งั หมด

3.ปัจจัยทีมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานบริษัททรัพย์ศรีไทยจํากัด (มหาชน)
ทฤษฏีการจูงใจ
ERG ของเคลย์ตนั อัลเดอร์เฟอร์ได้นาํ ทฤษฏีความต้องการตามลําดับขันของมาสโลว์มาปรับให้เป็ นทฤษฏี ERG
ซึ งย่อมาจาก
1. Existence คือ ความเป็ นอยู่ เป็ นการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน หรื อการดํารงชีพ
ซึ งตรงกบลําดับขั้นที่ 1 และ 2 ของมาสโลว์ คือ ความต้องการทางด้านร่ างกาย และความมันคงและ
ปลอดภัย
2. Relatedness คือ ความต้องการ ความสัมพันธ์กบผูอ้ ืนในสังคม ซึ งตรงกับลําดับที่3 และ 4
3. Growth คือ ความต้องการความกาวหน้าประสบความสําเร็ จอย ้ างสู งสุ ด เพือให้ได้รับการ ่
ยกยองตรงกับลําดับขั้นที่ 5
ซึ งทฤษฏี ERG นันมีส่วนทีต่างจากทฤษฏีของมาสโลว์อยู3่ ส่ วน คือ
1. การจัดกลุ่มความต้องการทีต่างกนั
2. ERG เชือในทฤษฏีทีวา ลําดับความต้องการของมนุษย์สามารถเกิดขึนพร้อมกันได้ และ
ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นไปตามลําดับขั้น
3. ERG เป็ นแนวความคิดทีเป็ นปัจจุบนั มากกวา ทฤษฏีลาํ ดับขั้น และด้านความต้องการ คือ
หากความต้องการในลําดับสูงยังไม่ได้รับการตอบสนอง การแสดงออกถึงความต้องการในลําดับตํา
ก็จะเพิ่มมากขึน และทฤษฏี ERG ยังให้ความสําคัญต่อปั จจัยเฉพาะบุคคลทีต่างกน เช่น ปัจจัย
ทางการศึกษา ด้านครอบครัว หรื อวัฒนธรรม มีส่วนและมีผลต่อการทําให้เกิดแรงกระตุน้ ต่อความ
ต้องการได้(Robbins, S.P., 2005)
ทฤษฎีน้ ีสามารถสรุ ปได้วา่ แรงจูงใจในการทํางานของบุคคล เกิดจาความคิด ของบุคคลในการตั้งความคาด
หวังในสิ่ งที่กระทํา ซึ่ งความคาดหวังนั้นมักเป็ นไปตามค่านิยมของตน ทําให้บุคคลพยายามทําให้ได้ หากสิ่ งที่
พยายามสอดคล้องกับความสามารถด้วย ก็จะเป็ นแรงจูงใจที่ ข้มข้นสําหรับบุคคล
แต่ไม่สามารถอธิบายได้วา่ แรงจูงใจของแต่ละคนมีเหตุจูงใจมาจากตรงไหน และมีความต้องการมากน้อยเท่า
กันหรื อไม่ เพราะแต่ละคนย่อมมีความคิดที่แตกต่างกัน
ทฤษฎีแนวคิดการปรับตัวของธุรกิจ ที่เกิดจาก covid-19
ผลกระทบของธุรกิจโรงแรมจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คือ 1) การ
ขาดสภาพคล่อง อาจทำให้ผปู้ ระกอบการแบกรับภาวะฝื ดเคืองและปั ญหาทางการเงินที่เกิดขึ้นไม่ไหวจนอาจต้อง
ออกจากธุรกิจ 2) ภาวะห้องพักล้นตลาด จากการเข้ามาลงทุนของผูป้ ระกอบการรายใหญ่ ส่ งผลให้เกิดการ
แข่งขันที่รุนแรงเพิ่มขึ้น 3) ถูกแย่งฐานลูกค้าจากแพลตฟอร์มการแบ่งปั นห้องเช่าและที่พกั ทดแทนที่ไม่ถูกต้อง
ตามกฎหมาย (ศูนย์วิจยั ธนาคารออมสิ น, 2563) ผลกระทบดังกล่าวทำให้ธุรกิจโรงแรมมีการปรับกลยุทธ์ธุรกิจ
โรงแรม
กลยุทธ์การปรับตัวของธุรกิจโรงแรม Hilton International ได้ประกาศว่า ทางโรงแรมได้มีการพัฒนา
มาตรฐานในการทำความสะอาด ซึ่ งโรงแรมร่ วมมือกับบริ ษทั ด้านการทำความสะอาด RB,Lysol (Hilton
CleanStay with Lysol Protection), Dettol และได้ที่ปรึ กษาจาก Mayo Clinic (คลินิกป้ องกันการติดเชื้ออันดับ
ต้นๆ ของสหรัฐอเมริ กา) เพื่อเรี ยกความมัน่ ใจจากลูกค้ากลับมาอีกครั้ง และจัดการอบรมพนักงานโรงแรมให้การ
ป้ องกันตนเองจากการแพร่ ระบาดโดยเฉพาะพนักงานที่จ ำเป็ นต้องสัมผัสลูกค้าโดยตรง” เช่น นำเทคโนโลยีเข้า
มาช่วยฆ่าเชื้อโรคและไวรัส เช่น แสงอุลตร้าไวโอเลตและสเปรย์พน่ ทำความสะอาด การ Check In, Check Out
และการเข้าห้องพักด้วยดิจิทลั คีย ์ (Digital Key)ผ่านโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของลูกค้า
ทฤษฎีสอดคล้องกับงานวิจยั เนื่องจากมีการแก้ไขและใช้กลยุทธ์เดียวกันได้การปั ญหาวิกฤติโควิด-19 โดย
มีหลักการที่เหมือนกันโดยใช้วิธีการปรับตัวให้โรงแรมดำเนินการไปได้ต่อและมีศกั ยภาพที่สุด
แต่ทฤษฎีน้ ีไม่ได้สามารถใช้ได้กบั ทุกโรงแรม เพราะโรงแรมแต่ละที่กม็ ีขนาดที่ต่างกัน ทั้งในเรื่ องของงบ
ประมาณ การใช้เทคโนโลยีต่างๆมาช่วยพัฒนาและแก้ไขก็ไม่สามารถทำได้เหมือนกันทุกแรมแรม

You might also like