Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

LECTURE 7

Superposition Theorem
ในวงจรไฟฟ้ าผลตอบสนองของวงจรคือกระแสไฟฟ้ า แรงดันไฟฟ้ า ทีส
่ ว่ น
ต่างๆของวงจร จะเกิดจากการที่
แหล่งจ่ายพลังงานอิสระ Independent Source ในวงจร ทางานพร้อมๆกัน

Simple Circuit 1.มีแหล่งจ่ายพลังงานอิสระ เพียงตัวเดียว


2.Single loop Circuit , Series Circuit
3. Node pair Circuit, Parallel Circuit
ในกรณีทีว่ งจร ทีต
่ อ
้ งการหาคาตอบของวงจร จะสามารถให้แหล่งจ่ายพลังงาน
อิสระในวงจรทางานทีละ
1 ตัวได้ และให้ตวั อืน
่ หยุดทางานไป
- Current Source ให้เปิ ดวงจร
- Voltage Source ให้ลดั วงจร
ในกรณีทีว่ งจร Dependent Source ให้นามาคิดรวมทุกครัง้
- Dependent
- Controlled
Ex.

ให้ 24 V ทางาน 2A , 36V หยุดทางาน


24
𝑖𝑥1 =
5+(10 ขนาน 20)

𝑖𝑥1 = 2.057 𝐴

ให้ 2 A ทางาน 24 V , 36V หยุดทางาน


−2×6.667
𝑖𝑥2 =
6.667+5

𝑖𝑥2 = −1.143 𝐴

ให้ 36 V ทางาน 2A , 24V หยุดทางาน


−36
𝑖= = −2.57𝐴
10+(5 ขนาน 20)

−2.57×20
𝑖𝑥3 = = −2.057 𝐴
25

𝑖𝑥 = 𝑖𝑥1 + 𝑖𝑥2 + 𝑖𝑥3 = 2.057 −


1.143 − 2.057

𝑖𝑥 = −1.143 𝐴
Ex.

Supperposition
ให้ 2 mA ทางาน

Single node pair Circuit


𝑉 = 1000𝑖3 สมการที่ 1 𝑀𝑎𝑖𝑛 𝐸𝑞

ทา KCL รอบที่ 1
𝑉
−𝑖31 + − 0.5𝑖21 = 0
10𝐾

𝑉
𝑖31 = − 0.5𝑖21
10𝐾

ทา KCL รอบที่ 2
𝑉
−2𝑚𝐴 + + 𝑖21 = 0
5𝐾

𝑉
𝑖21 = 2𝑚𝐴 −
5𝐾

𝑉 𝑉
เอา 𝑖21 แทนใน 𝑖31 ; 𝑖31 = 10𝐾 − 0.5(2𝑚𝐴 − )
5𝐾
𝑉 𝑉
𝑖31 = − 1𝑚𝐴 +
10𝐾 10𝐾

2𝑉
𝑖31 = − 1𝑚𝐴
10𝐾

𝑉
𝑖31 = − 1𝑚𝐴
5𝐾

แทนใน สมการที่ 1
𝑉 = 1000𝑖3 สมการที่ 1 𝑀𝑎𝑖𝑛 𝐸𝑞
𝑉 𝑉 5
𝑉= − 1 → 𝑉 − = −1 → 𝑉 = − 𝑉 = −1.25𝑉
5 5 4
แทน V ใน 𝑖21 และ 𝑖31
−1.25
- 𝑖21 = 2𝑚𝐴 − 5𝐾
= 2𝑚𝐴 + 0.25𝑚𝐴 = 2.25𝑚𝐴
−1.25
- 𝑖31 = 10𝐾
− 0.5(2.25) = −1.25 𝐴

ให้ 4 V ทางาน

𝑖𝑧 = −0.5𝑖22 สมการที่ 1 → −0.5𝑖𝑥

5𝑘𝑖𝑥 + 4 + 1000𝑖32 = 0 สมการที่ 2 → 5𝑘𝑖𝑥 + 1000𝑖𝑦 = −4

−1000𝑖32 + 6 + 10𝑘(𝑖𝑦 − 𝑖𝑧 ) = 0 สมการที่ 3

→ −1000i𝑦 + 10𝑘𝑖𝑦 − 10𝑘𝑖𝑧 = −6 → 9𝑘𝑖𝑦 − 10𝑘(−0.5𝑖𝑥 ) = −6

→ 9𝑘𝑖𝑦 + 5𝑘𝑖𝑥 = −6

5000 1000 𝑖𝑥 −4
[ ] [𝑖 ] = [ ] 𝑖𝑥 = −0.75 𝑚𝐴 𝑖𝑦 = −0.25𝑚𝐴
5000 9000 𝑦 −6
𝑖𝑥 = −0.75 𝑚𝐴 → 𝑖22 𝑖𝑦 = −0.25𝑚𝐴 → 𝑖32

ให้ 6 V ทางาน

Node Voltage
𝑉2 𝑉
𝑉1 = 1000𝑖33 สมการที่ 1 → 1000 ( + 1 ) → 10𝑉1 = 𝑉2 + 𝑉1
10𝑘 10𝑘
𝑉1 − 𝑉2 = 6 สมการที่ 2
𝑉
ทา KCL 1 = −0.5𝑖23 + 10𝑘
2
− 𝑖33 = 0

𝑉2
𝑖33 = − 0.5𝑖23
10𝑘

𝑉
ทา KCL 2 𝑖23 = − 5𝑘1
𝑉2 𝑉1 𝑉2 𝑉1
แทน 𝑖23 ลงใน 𝑖33 = − 0.5 (− )→ +
10𝑘 5𝑘 10𝑘 10𝑘

𝑉2 𝑉
𝑉1 = 1000𝑖33 สมการที่ 1 → 1000 ( + 1 ) → 10𝑉1 = 𝑉2 + 𝑉1
10𝑘 10𝑘
→ 9V1 = V2 → 9V1 − V2 = 0 สมการที่ 1

9 −1 𝑉1 0
[ ][ ] = [ ] 𝑉1 = −0.75𝑉 𝑉2 = −6.75𝑉
1 −1 𝑉2 6
𝐴𝑁𝑆 𝐼2 = 1.5𝑚𝐴 𝐼3 = −1.5𝑚𝐴
THEVENIN’S THEOREMS
(ทฤษฎีบทของ The venin’s คือการแทนวงจรในส่วนทีเ่ หลือจากการเลือก
ด้วยความต้านทานอนุกรม ด้วย
แหล่งจ่ายแรงดัน)

วิเคราะห์หาวงจรสมมุลย์ Thevenins จะมี3 กรณี ขน


ึ้ อยูก
่ บ
ั วงจรประกอบไป
ด้วย Element ชนิดใด
กรณีที่ 1 วงจรประกอบไปด้วย

Independent Source

- ให้หา 𝑉𝑇𝐻
- ให้มองเข้าไปทีข
่ องวงจรแล้วให้แหล่งจ่ายพลังงานทุกตัวหยุดทางาน
แล้วหาความต้านทานสมมูล
ออกมมาจะได้ 𝑅𝑇𝐻
Ex.

่ ว้ ั 𝑥 − 𝑥 ′
ทีข
หา 𝑉𝑇𝐻
𝑉1 = 88 สมการที่ 1
𝑉2 − 88 𝑉2 𝑉2 − 𝑉3
+ + = 0 สมการที่ 2
10 50 20
→ 17𝑉2 − 5𝑉3 = 880
𝑉3 − 𝑉2 𝑉3
+ = 1 → −2𝑉2 + 3𝑉3 = 40 สมการที่ 3
20 40

17 −5 𝑉2 880
[ ][ ] = [ ] 𝑉2 = 69.27𝑉 𝑉3 = 59.51 𝑉
−2 3 𝑉3 40

𝑉𝑇𝐻 = 69.27 𝑉
หา𝑅𝑇𝐻 โดยมองเข้าไปทีข
่ ว้ ั แล้วปิ ดแหล่งจ่ายพลังงานทัง้ หมด

𝑅𝑇𝐻 =
10ขนาน50ขนาน60 = 7.31

วงจร 𝑇ℎ𝑒𝑣𝑒𝑛𝑖𝑛𝑠
กรณีที่ 2 วงจรประกอบไปด้วย

การหาวงจรสมมูลย์ของ Thevenins ทาได้โดย


- หา 𝑉𝑇𝐻
- ให้ลดั วงจรทีข่ ว้ ั แล้วหา 𝑖𝑠𝑐
𝑉𝑇𝐻
𝑅𝑇𝐻 =
𝑖𝑠𝑐
Ex.

𝑉𝑇𝐻 = 𝑉𝑎𝑏

𝑉1 = 20 สมการที่ 1
𝑉2 − 𝑉1 𝑉2 𝑉2 − 𝑉3
+ + = 0 → 8𝑉2 − 2𝑉3 = 100 สมการที่ 2
40 200 100
𝑉3 − 𝑉2 𝑉2
− 1.5 ( ) = 0 → −3.5𝑉2 + 2𝑉3 = 0 สมการที่ 3
100 200

8 −2 𝑉2 100
[ ][ ] = [ ] 𝑉2 = 22.22𝑉 𝑉3 = 38.89𝑉
−3.5 2 𝑉3 0
𝑉𝑇𝐻 = 38.89 𝑉
หา 𝑅𝑇𝐻 โดยการลัดวงจรทีข
่ ว้ ั a-b แล้วหา 𝑖𝑠𝑐

𝑉1 = 20 สมการที่ 1
𝑉2 − 20 𝑉2 𝑉2 100
+ + = 0 → 8𝑉2 = 100 → 𝑉2 = = 12.5𝑉
40 200 100 8
𝑉2 12.5
𝐼1 = = = 0.0625𝐴
200 200
𝑉2 −𝑉3 12.5−0
𝐼100 𝑂𝐻𝑀 = = = 0.125 𝐴
100 100

ทา KCL = −0.125 − 0.09375 + 𝑖𝑠𝑐 = 0

𝑖𝑠𝑐 = 0.219𝐴
𝑉𝑇𝐻 38.89
𝑅𝑇𝐻 = = = +177.82 𝑂𝐻𝑀
𝑖𝑠𝑐 0.219

You might also like