Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

LECTURE 2

Simple Circuit

กฎพื้นฐานและวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

กฎของโอห์ม ( Ohm’s Law )

1. V= IR
2. R= V/I
3. I= V/R

(Resistance)

R=RESISTANCE มีหน่วยเป็นโอห์ม R=1/G

ส่วนกลับของค่าความต้านทานคือค่าความนา G G=1/R

POWER

Real Power (กาลังจริง) ความต้านทานจะรับพลังงานไฟฟ้าเสมอ พลังงานไฟฟ้าที่เกิดจากความต้านทานจะ


มีค่าเป็น + เสมอ สูตรดังนี้

1. PR = VR IR

2. PR= IR2 R

3. PR= VR2/R
กฎของวงจรไฟฟ้า Electric’s Law

KIRCHOFF’S LAW

Kirchhoff’s Current law กฎกระแส (KCL)

ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้าและไหลออกจาก node ใดๆ จะต้องเป็น 0 เสมอ

กระแสไฟฟ้าไหลเข้า node กระแสไฟฟ้าไหลออก node

+ หรือ - - หรือ +

-i4+i1+i2+i3=0 ใช้สูตร KCL ในสมการ

หรือเขียนในเทอมทั่วไปคือ
𝑛

∑𝐼 =0
𝑛=1

Kirchhoff’s Voltage law กฎแรงดัน (KVL)

ผลรวมของแรงดันไฟฟ้าในวงจรวงรอบปิดใดๆเป็นศูนย์เสมอ 0
𝑛

∑𝑉 = 0
𝑛=1
ตัวอย่าง

หา VR และ VX

KVL +4 – 36+ VR = 0

VR= +36-4=+32 V

KVL -32+12+14+VX = 0

VX = 32-12-14 = +6 V

***การทาวงจร***

- หากระแสที่ไหลผ่านอุปกรณ์ในวงจรได้
- หาแรงดันที่ตกคร่อมอุปกรณ์mทุกตัวในวงจรได้
- หากาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนอุปกรณ์ทุกตัวในวงจรได้
ตัวอย่าง

หา Ix และ Vx

1. KCL

-6+10+IX = 0
IX = -4 A
2. KCL

-10+12+IY = 0
IY = -2 A
3. หา VX KVL

-VX+60-10 = 0 , VX = 60-10 , VX = 50V


Simple Circuit

Analysis of Single loop Circuit

วงจรอนุกรม Series Circuit

กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอุปกรณ์ทุกตัวในวงจร มีค้าท่ากันทั้งหมด

ในวงจรถ้ามีแหล่งจ่ายพลังงานตัวเดียว ( INDEPENDENT SOURCE )

แหล่งจ่ายพลังงานจ่ายเสมอ PS = VI

ในวงจรถ้ามีแหล่งจ่ายหลายตัว SORCE จะจ่ายพลังงานได้ทุกตัว

ตัวอย่าง

วิธีทา -120+30IX+30+15IX= 0

-90+45IX = 0

IX=90/45=2 A
P = VI

P = -(120)(2)

P = -240 watts

P = I2R = 22(30)

P = +120 watts

P = VR = +(2(30))

P = +60 watts

P = I2R = 22(15)

P = +60 watts

∑ 𝑝 = −240 + 120 + 60 + 60 = 0 𝑤𝑎𝑡𝑡𝑠


ตัวอย่าง

KVL -3VB-10I-20I-30I+2VA+120 = 0

-60I-3VB+2VA= -120 สมการที่ 1

จากสมการมีตัวแปร 3 ตัวแปร มี I,VB ,VA

จะต้องหาความเกี่ยวข้องว่า VA เปลี่ยนเป็น i

VB เปลี่ยนเป็น i

KVL = -10i-20i+VA = 0

VA = 30i

VA = 30(-0.8) = -24 V

KVL = 20i+VB + 30i = 0

VB = -50i

VB=-50(-0.8) =+40 V
VA , VB แทนในสมการที่ 1

= -60i – 3(-50i) + 2(30i) = -120

= -60i+150i+60i = -120

I = -120/150 = -0.8 A

P = -VI

P = -(120)(-0.8) = +96 watts

P = -VI

P = -(-48(-0.8)) = -38.4 watts

P = I2 R

P = (0.8)2 (60) = +38.4 watts

P = VI

P = +(120)(-0.8)

P = -96 watts

∑ 𝑝 = +96 − 38.4 + 38.4 − 96 = 0

You might also like