Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 131

 

มยผ.xxxx - xx

มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร

1 ขอบขาย

1.1 วัตถุประสงค
มาตรฐานการตรวจสอบอาคารนี้ กําหนดขึ้นเพื่อเปนหลักเกณฑการปฏิบัติสําหรับการตรวจสอบอาคารตาม
มาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และกฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติเฉพาะของ
ผูตรวจสอบ หลักเกณฑการขอขึ้นทะเบียนและการเพิกถอนการขึ้นทะเบียนเปนผูตรวจสอบ และหลักเกณฑการ
ตรวจสอบอาคาร พ.ศ.2548 ขอ 18 ( 2) สําหรับอาคาร 9 ประเภทตามมาตรา 32 ทวิ และตามกฎกระทรวง
กําหนดประเภทอาคารที่ตองตรวจสอบ พ.ศ.2548

1.2 ขอบเขต
ขอกําหนดตามมาตรฐานนี้ใชสําหรับวิธีการตรวจสอบสภาพอาคาร และการใชงานอาคารดวยสายตา ( visual
inspection ) ซึ่งในขั้นตอนการตรวจสอบอาจมีการใชเครื่องมือพื้นฐานตามความจําเปน เพื่อประกอบการ
พิจารณาใหความเห็นไดอยางถูกตองเทานั้น ไมรวมถึงการตรวจสอบเชิงลึกที่ตองใชผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานและ
เครื่องมือพิเศษ ขอกําหนดครอบคลุมสิ่งจําเปนที่ควรคํานึงดานความปลอดภัยตอการใชสอยอาคารในขณะ
ดําเนินการตรวจสอบสภาพอาคารและระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร ทั้งนี้ เพื่อเปนแนวทางใหกับ
ผูตรวจสอบใหสามารถพิจารณาใหขอแนะนําในการแกไขปรับปรุงอาคารใหมีความปลอดภัยยิ่งขึ้น

2 คํานิยาม

คํานิยามตาง ๆ ในมาตรฐานนี้ใหเปนไปตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และ


กฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่กําหนดไวเพิ่มเติมในมาตรฐานนี้
ในมาตรฐานนี้
“ผู ต รวจสอบ” หมายความว า ผู ซึ่ ง ได รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม หรื อ ผู ซึ่ ง ได รั บ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ซึ่งไดขึ้นทะเบียนไว
ตามพระราชบัญญัตินี้ ( มาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

หนา 1 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

“การตรวจสอบอาคาร” หมายความวา การตรวจสอบสภาพอาคารดานความมั่นคงแข็งแรง และระบบอุปกรณ


ประกอบตาง ๆ ของอาคาร ตามมาตรา 32 ทวิ แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

“เจาของอาคาร” หมายความวา ผูที่มีสิทธิ์เปนเจาของอาคาร ในกรณีอาคารชุดตามกฎหมายวาดวยอาคารชุดให


หมายถึงผูจัดการนิติบุคคลอาคารชุด

“ผูดูแลอาคาร” หมายความวา เจาของอาคารหรือ ผูที่ที่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคารใหมีหนาที่ตรวจสอบ


การบํารุงรักษาอาคาร และระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร

“เจาพนักงานทองถิ่น” หมายความวา
(1) นายกเทศมนตรี สําหรับในเขตเทศบาล
(2) นายกองคการบริหารสวนจังหวัด สําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด
(3) ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบล สําหรับในเขตองคการบริหาร
สวนตําบล
(4) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร
(5) ปลัดเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา
(6) ผูบริหารทองถิ่นขององคการปกครองทองถิ่นอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด สําหรับ
ในเขตราชการสวนทองถิ่นนั้น
( มาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )
(7) ผูวาการนิคมอุตสาหกรรม หรือผูซึ่งไดรับมอบหมาย เปนไปตามพระราชบัญญัติการ
นิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย พ.ศ.2522 สําหรับในเขตนิคมอุตสาหกรรม

“อาคารสูง” หมายความวา อาคารที่บุคคลเขาอยูหรือเขาใชสอยได โดยมีความสูงตั้งแต 23.00 เมตรขึ้นไป การ


วัดความสูงของอาคารใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงพื้นดาดฟา สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัด
จากระดับ พื้นดินที่กอสรางถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
( มาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“อาคารขนาดใหญพิเศษ” หมายความวา อาคารที่กอสรางขึ้นเพื่อใชอาคาร หรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคารเปน


ที่อยูอาศัย หรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดใน
หลังเดียวกัน ตั้งแต 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป
( มาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

หนา 2 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

“อาคารชุมนุมคน” หมายความวา อาคารหรือสวนใดของอาคารที่บุคคลอาจเขาไปภายในเพื่อประโยชนในการ


ชุ ม นุ ม คนที่ มี พื้ น ที่ ตั้ ง แต ห นึ่ ง พั น ตารางเมตรขึ้ น ไป   หรื อ ชุ ม นุ ม คนได ตั้ ง แต ห า ร อ ยคนขึ้ น ไป
( มาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ) 

“โรงมหรสพ” หมายความวา อาคารหรือสวนใดของอาคารที่ใชเปนสถานที่สําหรับฉายภาพยนตรแสดงละคร 


แสดงดนตรี หรือการแสดงรื่นเริงอื่นใด และมีวัตถุประสงคเพื่อเปดใหสาธารณชนเขาชมการแสดงนั้นเปนปกติ
ธุระ โดยจะมีคาตอบแทนหรือไมก็ตาม
( มาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“โรงแรม” หมายความวา อาคารหรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคารที่ใชเปนโรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม 


( กฎกระทรวงฉบับที่ 55 ( พ.ศ.2543 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“สถานบริการ” หมายความวา อาคารหรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคารที่ใชเปนสถานบริการตามกฎหมายวาดวย


สถานบริการ 

“อาคารชุด” หมายความวา อาคารที่ใชเปนอาคารชุดตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด

“อาคารอยูอาศัยรวม” หมายความวา อาคารหรือสวนใดสวนหนึ่งของอาคารที่ใชเปนที่อยูอาศัยสําหรับหลาย


ครอบครัว โดยแบงออกเปนหนวยแยกจากกัน สําหรับแตละครอบครัว 
( กฎกระทรวงฉบับที่ 55 ( พ.ศ.2543 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“โรงงาน” หมายความวา อาคารหรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคารที่ใชเปนโรงงานตามกฎหมายวาดวยโรงงาน 


( กฎกระทรวงฉบับที่ 55 ( พ.ศ.2543 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“ปาย” หมายความวา แผนปาย และสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งแผนปายที่เปนอาคารตามกฎหมายวาดวย


การควบคุมอาคาร

“แผนการตรวจสอบอาคาร” หมายความวา แผนการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบตาง ๆ ของ


อาคาร สําหรับผูตรวจสอบ

“แบบแปลนอาคาร” หมายความวา แบบแปลนของอาคารที่ตองตรวจสอบตามลักษณะที่เปนจริงของอาคาร


ขณะทําการตรวจสอบ ซึ่ งอย างนอ ยต องประกอบด ว ยแปลนพื้น ทุ ก ชั้น ที่ แ สดงตํา แหนงของหอง ตาง ๆ
ตําแหนงของอุปกรณเพื่อการดับเพลิง เสนทางหนีไฟ และบันไดหนีไฟ

หนา 3 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

“รายงานผลการตรวจสอบอาคาร” หมายความวา รายงานผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบ


ตาง ๆ ของอาคารที่จัดทําโดยผูตรวจสอบ

“ระบบโครงสรางของอาคาร” หมายความวา สวนของโครงสรางของอาคาร ไดแก โครงหลังคา พื้น คาน ตง


ผนังรับน้ําหนัก และเสา รวมถึงฐานราก และเสาเข็ม

“ฐานราก” หมายความวา โครงสรางของอาคารสวนที่ติดกับพื้นดิน ทําหนาที่สงถายน้ําหนักจากอาคารสวนบน


ลงสูดิน

“การวิบัติของโครงสรางอาคาร” หมายถึง การชํารุด เสียหายของระบบโครงสรางของอาคารที่มีผลกระทบตอ


ความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

“เครื่องลิฟต ( Drive Machine ) ” หมายถึง ชุดขับเคลื่อนตัวลิฟต ทําหนาที่ฉุดเชือกลวดแขวนเพื่อทําใหลิฟต


เคลื่อนที่

“ชุดควบคุมลิฟต ( Controller ) ” หมายถึง อุปกรณควบคุมลิฟตภายในตูควบคุม ประกอบดวย รีเลย (Relays)


PCBs และ Drive control

“ อุปกรณควบคุมความเร็วของลิฟต ( Over speed governor) ” หมายถึง อุปกรณควบคุมความเร็วของลิฟต


โดยมีการทํางานสัมพันธกับเครื่องนิรภัย ( Safety gear ) เพื่อจับตัวลิฟตในกรณีที่ลิฟตวิ่งเกินความเร็วที่กําหนด

“การตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ” หมายถึง การตรวจสอบบํารุงรักษา


ระบบอุปกรณประกอบตางๆ ของอาคารที่ดําเนินการโดยเจาของอาคารตามกําหนดเวลากอนที่ระบบอุปกรณนั้น
จะชํารุดเสียหาย

“หมอแปลงไฟฟา ( Transformer )” หมายถึง อุปกรณที่ทําหนาที่แปลงแรงดันไฟฟาแรงสูง จากระบบจําหนาย


ของการไฟฟานครหลวง หรือการไฟฟาภูมิภาคใหมีระบบแรงดันไฟฟาต่ํา เพื่อจายเขาสูอาคาร

“แผงควบคุมระบบไฟฟาหลัก ( Main Distribution Board : MDB )” หมายถึง ตูควบคุมระบบไฟฟาหลักของ


อาคารมี Main Circuit Breaker เพื่อตัดตอวงจรไฟฟาทั้งหมดของอาคาร

หนา 4 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

“หอผึ่งน้ํา (Cooling tower)” หมายถึง หอระบายความรอนของน้ํา ทําหนาที่ในการระบายความรอนจากน้ําที่ใช


เปนตัวกลาง(น้ําหลอเย็น)ในการระบายความรอนของเครื่องจักรตาง ๆ ตองมีการเติมสารเคมี เพื่อปองกันการ
เกิดตะกอน ตะไคร และเชื้อแบคทีเรีย

“ระบบบําบัดน้ําเสีย” หมายความวา กระบวนการทําหรือปรับปรุงน้ําเสียใหมีคุณภาพเปนน้ําทิ้ง รวมทั้งการทํา


ใหน้ําทิ้งพนไปจากอาคาร
( กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“ระบบประปา” หมายความวา ระบบการจายน้ําเพื่อใชและดื่ม


( กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“ที่พักรวมมูลฝอย” หมายความวา อุปกรณหรือสถานที่ที่ใชสําหรับเก็บ กัก มูลฝอยเพื่อรอการขนไปกําจัด


( กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“ทางหนีไฟ” หมายความวา ทางออกและแนวทางออกเพื่อใหคนออกจากอาคารเมื่อเกิดอัคคีภัย โดยจะตองเปน


เสนทางซึ่งตอเนื่องกันเพื่อออกจากภายในอาคารไปสูบันไดหนีไฟ หรือที่เปดโลงภายนอกอาคารที่ระดับพื้นดิน
( กฎกระทรวงวาดวยการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความปลอดภัย
ของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนีย มสําหรับการอนุญาตใหใ ชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ
พ.ศ. 2550 )

“บันไดหนีไฟ” หมายความวา บันไดของอาคารที่สามารถใชเปนเสนทางหนีไฟหรือเชื่อมตอกับทางหนีไฟได


โดยตองเปนพื้นที่ปลอดควันไฟ มีแสงสวางและมีการระบายอากาศหรือระบบอัดอากาศอยางเพียงพอ

“แผงควบคุมระบบแจงเหตุเพลิงไหม ( Fire Alarm Control Panel : FCP ) ” หมายถึง อุปกรณที่ออกแบบให


สามารถควบคุม ตรวจวัด คาทางไฟฟาของอุปกรณตาง ๆ ที่มาเชื่อมตอผานสายสัญญาณหรือคลื่นวิทยุ และ
สามารถตรวจสอบการทํางานของอุปกรณภายในของระบบแจงเหตุเพลิงไหม

“แผงแสดงผลเพลิงไหม ( Annunciator Panel )” หมายถึง อุปกรณที่ประกอบดวยหลอดแสดงผลหนึ่งหลอด


หรือมากกวา มีอักษรแสดงผลสถานะตางๆ หรือวิธีอื่นๆ ที่เทียบเทาที่สามารถแสดงสถานะหรือขอมูลที่เกี่ยวกับ
วงจรสัญญาณ สภาพการทํางานหรือตําแหนงของอุปกรณในระบบแจงเหตุเพลิงไหม

“ระบบทอยืน” หมายความวา ทอสงน้ําและอุปกรณที่ใชสําหรับการดับเพลิง


( กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

หนา 5 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

“เครื่องสูบน้ําดับเพลิง ( Fire pump )” หมายความวา เครื่องสูบน้ําเพื่อใชสูบน้ําจายใหกับระบบดับเพลิงของ


อาคาร ซึ่งสามารถทํางานไดทั้งในขณะเกิดอัคคีภัย และในเวลาปกติ

“เครื่องสูบน้ํารักษาแรงดัน ( Jockey pump )” หมายความวา เครื่องสูบน้ําขนาดเล็ก ที่ใชสูบน้ํารักษาแรงดันของ


น้ําในระบบดับเพลิง เพื่อปองกันไมใหเครื่องสูบน้ําดับเพลิงทํางานเมื่อไมจําเปน

“เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง ( Generator )” หมายความวา เครื่องยนตที่ใชผลิตกระแสไฟฟาสํารองใชในขณะที่


ระบบไฟฟาหลักของอาคารหยุดจายกระแสไฟฟา

“ลิฟตดับเพลิง” หมายความวา ลิฟตที่พนักงานดับเพลิงสามารถควบคุม การใชไดขณะเกิดเพลิงไหม


( กฎกระทรวงฉบับที่ 33 ( พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )

“ศูนยสั่งการดับเพลิง ( Fire command)” หมายความวา พื้นที่ของอาคารที่ใชเปนศูนยกลางการติดตอสื่อสาร


การประสานงานระหวางเจาหนาที่ดานความปลอดภัยของอาคารกับผูใชอาคาร และกับพนักงานดับเพลิงเพื่อ
ปฏิบัติงานทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน

“หัวดับเพลิงภายนอกอาคาร ( Hydrant )” หมายความวา หัวกอกน้ําประปาสาธารณะที่ใชสําหรับจายน้ํา


ดับเพลิง มีหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงสวมเร็วชนิดตัวเมียพรอมฝาครอบ และโซประกอบครบชุด

“หัวรับน้ําดับเพลิง ( Fire department connection : FDC )” หมายความวา หัวตอพรอมขอตอสวมเร็วตัวผูมี


ฝาครอบและโซประกอบครบชุดสําหรับรับนํ้าดับเพลิงจากแหลงนํ้าภายนอกโดยตอผานสายสงนํ้าของพนักงาน
ดับเพลิงเพื่อสงนํ้าเขาไปในระบบดับเพลิงของอาคาร

3 มาตรฐานอางอิง

มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง
3.1 มยผ.1552-51 มาตรฐานการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของอาคาร
3.2 มยผ.4501-51 มาตรฐานการตรวจสอบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กดวยวิธีการทดสอบแบบไมทําลาย
3.3 มยผ.4501-51 มาตรฐานงานติดตั้งไฟฟาทั่วไป
3.4 มยผ.3501-51 มาตรฐานการติดตั้งทอประปา

หนา 6 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

4 ขอบเขตการตรวจสอบอาคาร

4.1 ขอบเขตของผูตรวจสอบอาคาร
4.1.1 ผูตรวจสอบมีหนาที่ตรวจสอบ สังเกตดวยสายตาพรอมดวยเครื่องมือพื้นฐานเทานั้น จะไมรวมถึง
การทดสอบที่อาศัยเครื่องมือพิเศษเฉพาะแลวรวบรวมและสรุปผลการสังเกตทางดานความมั่นคง
แข็งแรง และระบบตาง ๆที่เกี่ยวของเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสินของผูใชสอยอาคาร
แลว จั ด ทํารายงานผลการตรวจสอบสภาพอาคารและอุ ปกรณประกอบของอาคารที่ ทําการตรวจ
สอบนั้นใหแกเจาของอาคาร เพื่อใหเจาของอาคารเสนอรายงานผลการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ
ประกอบของอาคารตอเจาพนักงานทองถิ่นทุกป
4.1.2 ผูตรวจสอบตองตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารโดยพิจารณาตามหลักเกณฑ
หรือ มาตรฐาน ดังตอไปนี้
(1) หลักเกณฑตามที่ไดกําหนดไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร หรือตามกฎหมายอื่นที่
เกี่ยวของที่ใชบังคับอยูในขณะที่มีการกอสรางอาคารนั้น หรือ
(2) มาตรฐานนี้ หรือมาตรฐานความปลอดภัยของสถาบันของทางราชการ สภาวิศวกร หรือสภา
สถาปนิก
ทั้งนี้ ณ สถานที่ วัน และเวลาที่ทําการตรวจสอบตามที่ระบุในรายงาน
4.2 รายละเอียดในการตรวจสอบ
4.2.1 รายละเอียดที่ตองตรวจสอบ
4.2.1.1 การตรวจสอบอาคารที่มลี ักษณะกายภาพเปนอาคาร ผูตรวจสอบตองตรวจสอบอาคารและ
อุปกรณประกอบของอาคารอยางนอยในเรื่องดังตอไปนี้
4.2.1.1.1 การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร ดังนี้
(1) การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
(2) การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร
(3) การเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร
(4) การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร
(5) การชํารุดสึกหรอของอาคาร
(6) การวิบัติของโครงสรางอาคาร
(7) การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

หนา 7 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

4.2.1.1.2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบของอาคาร
(1) ระบบบริการและอํานวยความสะดวก
(ก) ระบบลิฟต
(ข) ระบบบันไดเลื่อน
(ค) ระบบไฟฟา
(ง) ระบบปรับอากาศ
(2) ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม
(ก) ระบบประปา
(ข) ระบบระบายน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสีย
(ค) ระบบระบายน้ําฝน
(ง) ระบบจัดการมูลฝอย
(จ) ระบบระบายอากาศ
(ฉ) ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง
(3) ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย
(ก) บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(ข) เครื่องหมายและไฟปายบอกทางออกฉุกเฉิน
(ค) ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน
(ง) ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน
(จ) ระบบลิฟตดับเพลิง
(ฉ) ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม
(ช) ระบบการติดตั้งอุปกรณดับเพลิง
(ซ) ระบบการจ า ยน้ํ า ดั บ เพลิ ง เครื่ อ งสู บ น้ํ า ดั บ เพลิ ง และหั ว ฉี ด น้ํ า ดั บ เพลิ ง
(ฌ) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
(ญ) ระบบปองกันฟาผา

หนา 8 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

4.2.1.1.3 การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตาง ๆ ของอาคารเพื่ออพยพผูใช


อาคาร
(1) สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(2) สมรรถนะเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน
(3) สมรรถนะระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม
4.2.1.1.4 การตรวจสอบระบบบริหารจัดการความปลอดภัยในอาคาร
(1) แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร
(2) แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร
(3) แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร
(4) แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร
4.2.1.2 การตรวจสอบปาย หรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย ผูตรวจสอบตอง
ตรวจสอบอยางนอยในเรื่อง ดังตอไปนี้
4.2.1.2.1 การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรง ดังนี้
(1) การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงขนาดของปาย
(2) การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผนปาย
(3) การเปลี่ยนแปลงวัสดุของปาย
(4) การชํารุดสึกหรอของปาย
(5) การวิบัติของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(6) การทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (กรณีปาย
ที่ตั้งบนพื้นดิน)
(7) การเชื่อมยึดระหวางแผนปายกับสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย การ
เชื่อมยึดระหวางชิ้นสวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายและ
การเชื่อมยึดระหวางสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายกับฐานรากหรือ
อาคาร
4.2.1.2.2 การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบของปาย
(1) ระบบไฟฟาแสงสวาง
(2) ระบบปองกันฟาผา ( ถามี )
(3) ระบบและอุปกรณประกอบอื่น ๆ ( ถามี )

หนา 9 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

4.2.2 ลักษณะบริเวณที่ตองตรวจสอบ
ผูตรวจสอบจะตรวจสอบ รายงาน และประเมินลักษณะบริเวณอาคารทั้งภายนอก และภายในอาคาร
เฉพาะสวนที่สามารถสังเกตดวยสายตาได รวมทั้งภายในหองควบคุมระบบอุปกรณตาง ๆ ดานความ
ปลอดภัยของอาคาร ดังนี้
4.2.2.1 การตรวจสอบอาคารที่มีลักษณะกายภาพเปนอาคาร ผูตรวจสอบตองตรวจสอบอาคาร และ
อุปกรณประกอบของอาคารในสวนตาง ๆ ตอไปนี้
4.2.2.1.1 ระบบโครงสราง เชน สวนของฐานรากที่สามารถมองเห็นหรือสังเกตไดดวยสายตา
ระบบโครงสรางหลักของอาคารและระบบโครงหลังคาที่ไมมีวัสดุตกแตงปดกั้นการ
มองเห็น
4.2.2.1.2 ระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ดังนี้
(1) หองควบคุมและอุปกรณระบบลิฟต
(2) อุปกรณระบบของบันไดเลื่อน
(3) หองควบคุมระบบไฟฟา แผงควบคุมและบริภัณฑไฟฟา
(4) หองควบคุม เครื่องจักรและอุปกรณระบบปรับอากาศ
(5) หองควบคุม เครื่องจักรและอุปกรณระบบประปา
(6) หองควบคุม เครื่องจักรและอุปกรณระบบบําบัดน้ําเสียและระบบระบายน้ําเสีย
(7) ระบบระบายน้ําฝน ระบบจัดการขยะมูลฝอย
(8) หองควบคุม เครื่องจักรและอุปกรณระบบระบายอากาศ
(9) หองควบคุม เครื่องจักรและอุปกรณระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง
(10) ระบบอุปกรณในดานการปองกันและระงับอัคคีภัยของอาคาร เชน บันไดหนี
ไฟ ทางหนีไฟ เครื่องหมายและไฟ ปายบอกทางออกฉุกเฉิน ระบบระบาย
ควันและควบคุมการแพรกระจายควัน ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบลิฟต
ดับเพลิง ระบบแจงเหตุเพลิงไหม อุปกรณดบั เพลิง ระบบการจายน้ําดับเพลิง
เครื่องสูบน้ําดับเพลิง หัวฉีดน้ําดับเพลิง ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ และ ระบบ
ปองกันฟาผา

หนา 10 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

4.2.2.1.3 ระบบระบบบริหารจัดการความปลอดภัยในอาคาร เชน แบบแปลนของอาคารเพื่อใช


สําหรับการดับเพลิง ทางเขาออกของรถดับเพลิง ที่จอดรถดับเพลิง แผนและผล
การปฏิบัติตามแผนดานความปลอดภัยในอาคาร และดานการบํารุงรักษาอาคาร

5 ขอมูลทั่วไป และสิ่งจําเปนสําหรับการตรวจสอบ

5.1 ขอมูลทั่วไปของอาคาร ประกอบดวย


(1) ชื่ออาคาร ชื่อเจาของอาคาร สถานที่ตั้ง ทางเขาออก ชนิด ประเภทของอาคาร ลักษณะการใชสอยหรือ
การประกอบกิจกรรมของอาคาร จํานวนผูใชสอยอาคาร
(2) ประวัติการไดรับอนุญาต การกอสราง การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงอาคาร และอายุการใชงานอาคาร
(3) ลักษณะและรูปแบบของระบบโครงสรางของอาคาร
(4) วัสดุกอสราง วัสดุตกแตงที่มีผลกระทบดานความมั่นคงแข็งแรง และความปลอดภัยดานอัคคีภัย
(5) รายละเอียดระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคารดานความปลอดภัย
(6) การเก็บรักษาประเภทของวัตถุหรือเชื้อเพลิงที่อาจเปนอันตราย
(7) การบํารุงรักษา ซอมแซม ปรับปรุง และทดสอบสมรรถนะของระบบอุปกรณตาง ๆ ในอดีตที่ผานมา
และผูรับผิดชอบดูแลบํารุงรักษา และทดสอบสมรรถนะของระบบอุปกรณตาง ๆ
(8) การซอมอพยพของอาคาร
(9) ระบบการบริหารจัดการดานความปลอดภัยของอาคาร และการประสานงานกับสวนราชการที่เกี่ยวของดาน
ความปลอดภัยจากอัคคีภัยของอาคาร
5.2 เอกสารที่เกี่ยวของ เชน สําเนาโฉนดที่ดินบริเวณที่ตั้งอาคาร หลักฐานการเปนเจาของ หรือการครอบครอง
อาคาร เอกสารการอนุญาตตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ เอกสารการบํารุงรักษา และทดสอบสมรรถนะของ
ระบบอุปกรณตาง ๆ
5.3 แบบแปลนอาคารเพื่อการตรวจสอบ ตามลักษณะของอาคารตามที่เปนจริงโดยเจาของอาคารเปนผูจัดหา
อยางนอยตองประกอบดวยแปลนพื้นทุกชั้นมาตราสวนไมนอยกวา 1 : 100 โดยตองแสดงตําแหนงและ
มิติของหองตาง ๆ ลักษณะประเภทการใชสอยหรือการประกอบกิจกรรมของอาคาร บริเวณที่ติดตั้งระบบ
อุปกรณดานการปองกันและระงับอัคคีภัย ตําแหนงของเสนทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ ลิฟตดับเพลิง
หองควบคุมระบบอุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวของดานความปลอดภัยของอาคาร และมีการลงนามโดยเจาของ
หรือผูครอบครองอาคารรับรองวาเปนแบบแปลนตามขอเท็จจริงของอาคาร ณ วันเวลาที่ตรวจสอบ

หนา 11 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

5.4 เอกสารคูมือสําหรับการตรวจสอบอาคาร เชน กฎกระทรวงตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร


กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมืองและมาตรฐานความปลอดภัยของสถาบัน
ของทางราชการ สภาวิศวกร หรือสภาสถาปนิก และ Checklist
5.5 อุปกรณพื้นฐานที่จําเปนสําหรับใชประกอบการตรวจสอบ เชน กลองถายรูป ตลับเมตร ไฟฉาย ลูกดิ่ง
ระดับน้ําหรือวัสดุทรงกลมเล็ก ๆ เครื่องวัดอุณหภูมิชนิดไมตองสัมผัสอุปกรณไฟฟา

6 การเตรียมการตรวจสอบอาคาร

การเตรียมการที่ผูตรวจสอบอาคารควรพิจารณาเพื่อความพรอมในการดําเนินการตรวจสอบ ควรดําเนินการตาม
ขั้นตอน ดังตอไปนี้
6.1 ดําเนินการประสานงานกับเจาของอาคารและผูดูแลอาคาร เพื่อใหไดขอมูลรายละเอียดที่เกี่ยวของกับอาคาร
เพื่อการตรวจสอบ และเพื่อการกําหนดรายละเอียดขั้นตอนวิธีการในตรวจสอบ
6.2 การวางแผนการตรวจสอบ เชน การกําหนดบุคลากร กําหนดวันเวลาและชวงเวลาเขาตรวจสอบ อุปกรณ
หรือเอกสารที่ตองใช รูปแบบของรายงาน
6.2 การจัดเตรียมรวบรวมเอกสารขอมูลที่เกี่ยวของ และแบบแปลนอาคารเพื่อการตรวจสอบ รวมทั้งสิ่งจําเปน
สําหรับใชในการตรวจสอบ
6.3 ดําเนินการตรวจสอบตามแผนที่กําหนด และบันทึกผล
6.4 การจัดทํารายงานและขอแนะนําใหกับเจาของอาคาร

7 การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

7.1 การตรวจสอบอาคารที่บุคคลเขาอยูหรือเขาใชสอยได
7.1.1 ขอมูลเบื้องตนสําหรับการตรวจสอบ
(1) แบบแปลนอาคารเพื่อการตรวจสอบ
(2) แบบแปลนระบบโครงสรางของอาคาร (ถามี )
(3) ลักษณะ รูปแบบ ชนิดของโครงสราง วัสดุที่ใชตกแตงอาคาร
(4) ประเภทอาคาร ลักษณะการใชงาน การใชน้ําหนักบรรทุกจรในพื้นที่สวนตาง ๆ ของอาคาร

หนา 12 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(5) ประวัติการกอสราง การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร การเปลี่ยนแปลงการใชงาน การ


เปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงที่อาจมีผลกระทบกับความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
7.1.2 การตรวจสอบการตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
7.1.2.1 ตรวจสอบประวัติการกอสราง ตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
7.1.2.2 ตรวจสอบวามีการวามีการตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคารเพิ่มหรือลดไปจากเดิมหรือไม ซึ่ง
ตองพิจารณาทั้งการเพิ่มหรือลดองคประกอบของโครงสรางทั้งในแนวดิ่งและในแนวราบ ถามี
แบบแปลนเดิมอาจเปรียบเทียบกับแบบแปลน หรือผลการตรวจสอบอาคารครั้งที่ผานมา
กรณี ที่ ไ ม มี แ บบแปลนเดิ ม และได มี ก ารเขี ย นแบบขึ้ น ใหม ต ามลั ก ษณะของอาคารขณะ
ตรวจสอบ รวมทั้งไมเคยมีการตรวจสอบมากอน อาจพิจารณาจากสภาพภายนอกของอาคารที่
สามารถมองเห็นไดเพิ่มเติม ดังนี้
(1) รูปทรง รูปแบบ และขนาดของโครงสรางอาคาร เปรียบเทียบกับสวนอื่น ๆ ของอาคารที่
รับแรงในลักษณะเดียวกัน เชน คานที่มีชวงความยาวเทากันในชั้นเดียวกันที่รับแรงจาก
สวนของโครงสรางเหมือนกัน โครงหลังคาเหล็กในพื้นที่ใกลเคียงกันที่มีความยาวชวง
พาดเทากัน
(2) รูปแบบการจัดเรียงและความตอเนื่องของคาน หรือเสาอาคาร
(3) รอยตอของระบบโครงสราง
(4) การเสริมโครงสรางโดยใชวัสดุตางกับสวนอื่น
7.1.2.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และการเชื่อมตอระหวางสวนที่ตอเติมดัดแปลงหรือ
ปรับปรุงตัวอาคารกับสวนของอาคารเดิม
7.1.2.4 ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดจากการตอเติมดัดแปลงหรือปรับปรุงตัวอาคารที่มีตอระบบ
โครงสรางของอาคารที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคารในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่เสา รอยราวที่คาน รอยราวที่พื้น และรอยราวที่ผนังที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึง
ผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของพื้น คาน หรือ
ตง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ

หนา 13 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
หรือสวนของอาคาร
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(7) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางเนื่องจากอัคคีภัย
7.1.2.5 จําแนกชนิดของรอยราวและความเสียหาย บันทึกบริเวณและรายละเอียดเพื่อแนะนําเจาของ
อาคาร หากพบวามีปญหาที่อาจสงผลผลกระทบกับความมั่นคงแข็งแรงของอาคารใหแนะนํา
เจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียดโดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญเฉพาะอีกครัง้ หนึง่
7.1.3 การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร
7.1.3.1 ตรวจสอบประวัติการใชสอยอาคาร ลักษณะการใชน้ําหนักบรรทุกในสวนตาง ๆ ของอาคาร
และการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร
7.1.3.2 ตรวจสอบวามีการวามีการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคารเพิ่มหรือลดไปจากเดิม
หรือไม ถามีแบบแปลนเดิมอาจเปรียบเทียบกับแบบแปลน หรือผลการตรวจสอบอาคารครั้งที่
ผานมา
กรณีที่ไมมีแบบแปลนเดิมและไดมีการเขียนแบบขึ้นใหมตามลักษณะของอาคารขณะ
ตรวจสอบ รวมทั้งไมเคยมีการตรวจสอบมากอน อาจพิจารณาจากสภาพภายนอกของอาคารที่
สามารถมองเห็นไดเพิ่มเติม ดังนี้
(1) มีรูปแบบ และขนาดความหนาของพื้นเทากันแตมีลักษณะการใชสอยอาคารที่รับน้ําหนัก
บรรทุกตางกันมาก
(2) การวางน้ําหนักบรรทุกไมสอดคลองกับประเภทของอาคาร
(3) การเสริมโครงสราง
7.1.3.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุก
บนพื้นอาคารที่มีตอระบบโครงสรางของอาคารที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
ในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่เสา รอยราวที่คาน รอยราวที่พื้น และรอยราวที่ผนังที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึง
ผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 14 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของพื้น คาน หรือ


ตง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
หรือสวนของอาคาร
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(7) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางเนื่องจากอัคคีภัย
7.1.3.4 จําแนกชนิดของรอยราวและความเสียหาย บันทึกบริเวณและรายละเอียดเพื่อแนะนําเจาของ
อาคาร หากพบวามีปญหาที่อาจสงผลผลกระทบกับความมั่นคงแข็งแรงของอาคารใหแนะนํา
เจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียดโดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญเฉพาะอีกครั้งหนึ่ง
7.1.4 การตรวจสอบการเปลี่ยนสภาพการใชอาคาร
7.1.4.1 ตรวจสอบประวัติการไดรับอนุญาต และการใชสอยอาคาร
7.1.4.2 ตรวจสอบวามีการวามีการเปลี่ยนสภาพการใชอาคารไปจากเดิมหรือไม ถามีแบบแปลนเดิม
อาจเปรียบเทียบกับแบบแปลน หรือผลการตรวจสอบอาคารครั้งที่ผานมา
กรณีที่ไมมีแบบแปลนเดิมและไดมีการเขียนแบบขึ้นใหมตามลักษณะของอาคารขณะ
ตรวจสอบ รวมทั้งไมเคยมีการตรวจสอบมากอน อาจพิจารณาจากสภาพภายนอกของอาคาร
ที่สามารถมองเห็นไดเพิ่มเติม ดังนี้
(1) การวางน้ําหนักบรรทุกไมสอดคลองกับประเภทของอาคารที่ระบุไวเดิม
(2) การเสริมโครงสรางเพื่อรองรับการใชงานตางจากเดิม
7.1.4.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนสภาพการใช
อาคารที่มีตอระบบโครงสรางของอาคารที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคารใน
เรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่เสา รอยราวที่คาน รอยราวที่พื้น และรอยราวที่ผนังที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญ
ถึงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของพื้น คาน หรือ
ตง

หนา 15 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
หรือสวนของอาคาร
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(7) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางเนื่องจากอัคคีภัย
7.1.4.4 จําแนกชนิดของรอยราวและความเสียหาย บันทึกบริเวณและรายละเอียดเพื่อแนะนํา
เจาของอาคาร หากพบวามีปญหาที่อาจสงผลผลกระทบกับความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
ใหแนะนําเจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียดโดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญเฉพาะอีก
ครั้งหนึ่ง

7.1.5 การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคาร
7.1.5.1 ตรวจสอบประวัติการใชสอยอาคาร การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
7.1.5.2 ตรวจสอบวามีการวามีการเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคารไปจากเดิม
หรือไม ถามีแบบแปลนเดิมอาจเปรียบเทียบกับแบบแปลน หรือผลการตรวจสอบอาคาร
ครั้งที่ผานมา
กรณีที่ไมมีแบบแปลนเดิมและไดมีการเขียนแบบขึ้นใหมตามลักษณะของอาคารขณะ
ตรวจสอบรวมทั้งไมเคยมีการตรวจสอบมากอน อาจพิจารณาจากสภาพภายนอกของอาคาร
ที่สามารถมองเห็นไดเพิ่มเติม ดังนี้
(1) ความสอดคลองของวัสดุกอสรางหรือวัสดุตกแตงกับประเภทและลักษณะการใชสอย
อาคารที่ระบุไวเดิม
(2) การเสริมโครงสราง
7.1.5.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวัสดุ
กอสรางหรือวัสดุตกแตงอาคารที่มีตอระบบโครงสรางของอาคารที่อาจสงผลตอความ
มั่นคงแข็งแรงของอาคารในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่เสา รอยราวที่คาน รอยราวที่พื้น และรอยราวที่ผนังที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญ
ถึงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 16 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของพื้น คาน หรือ


ตง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
หรือสวนของอาคาร
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(7) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางเนื่องจากอัคคีภัย
7.1.5.4 จําแนกชนิดของรอยราวและความเสียหาย บันทึกบริเวณและรายละเอียดเพื่อแนะนํา
เจาของอาคาร หากพบวามีปญหาที่อาจสงผลผลกระทบกับความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
ใหแนะนําเจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียดโดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญเฉพาะอีก
ครั้งหนึ่ง

7.1.6 การตรวจสอบการชํารุดสึกหรออาคาร
7.1.6.1 ตรวจสอบประวัติการใชสอยอาคาร การซอมแซมอาคาร อายุการใชงานของอาคารและ
สวนตาง ๆ ของอาคาร
7.1.6.2 ตรวจสอบวามีการวามีการชํารุดสึกหรอของโครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของอาคารหรือไม
อาจเปรียบเทียบกับผลการตรวจสอบอาคารครั้งที่ผานมา และพิจารณาจากสภาพภายนอก
ของโครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของอาคารที่สามารถมองเห็นได
7.1.6.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการชํารุดสึกหรอของ
โครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของอาคารที่มีตอระบบโครงสรางของอาคารที่อาจสงผลตอ
ความมั่นคงแข็งแรงของอาคารในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) ความเสียหายที่ผิวนอกของโครงสรางที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงผลกระทบตอความ
มั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของพื้น คาน หรือ
ตง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ

หนา 17 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
หรือสวนของอาคาร
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของวัสดุกอสรางของโครงสรางและสวนตาง ๆ ของอาคารเนื่องจากการ
ใชงานที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(7) การเสื่อมสภาพของวัสดุกอสรางของโครงสรางและสวนตาง ๆ ของอาคารเนื่องจาก
อัคคีภัยที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
7.1.6.4 จําแนกชนิดของรอยราวและความเสียหาย บันทึกบริเวณและรายละเอียดของการชํารุดสึก
หรอเพื่อแนะนําเจาของอาคาร หากพบวามีปญหาที่อาจสงผลผลกระทบกับความมั่นคง
แข็งแรงของอาคารใหแนะนําเจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียดโดยวิศวกร
ผูเชี่ยวชาญเฉพาะอีกครั้งหนึ่ง

7.1.7 การตรวจสอบการวิบัติของโครงสรางอาคาร
7.1.7.1 ตรวจสอบประวัติการซอมแซมอาคาร อายุการใชงานของอาคารและสวนตาง ๆ ของอาคาร
7.1.7.2 ตรวจสอบวามีการวามีการวิบัติของโครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของอาคารหรือไม อาจ
เปรียบเทียบกับผลการตรวจสอบอาคารครั้งที่ผานมา และพิจารณาจากสภาพภายนอกของ
โครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของอาคารที่สามารถมองเห็นได
7.1.7.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการวิบัติของโครงสรางหรือสวน
ตาง ๆ ของอาคารที่มีตอระบบโครงสรางของอาคารที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคารในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่เสา รอยราวที่คาน รอยราวที่พื้น และรอยราวที่ผนังที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึง
ผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของพื้น คาน หรือตง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง หรือ
สวนของอาคาร
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน

หนา 18 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(6) การเสื่อมสภาพของวัสดุกอสรางของโครงสรางและสวนตาง ๆ ของอาคารเนื่องจากการใช


งานที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(7) การเสื่อมสภาพของวัสดุกอสรางของโครงสรางและสวนตาง ๆ ของอาคารเนื่องจากอัคคีภัย
ที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
7.1.7.4 จําแนกชนิดของรอยราวและความเสียหาย บันทึกบริเวณและรายละเอียดของการวิบัติเพื่อ
แนะนําเจาของอาคาร หากพบวามีปญหาที่อาจสงผลผลกระทบกับความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคารใหแนะนําเจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียดโดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญเฉพาะ
อีกครั้งหนึ่ง

7.1.8 การตรวจสอบการทรุดตัวของฐานรากอาคาร
7.1.8.1 ตรวจสอบประวัติกอสราง ตอเติมดัดแปลงปรับปรุง และการซอมแซมอาคาร
7.1.8.2 ตรวจสอบวามีการวามีการทรุดตัวของฐานรากของอาคารหรือไม อาจเปรียบเทียบกับผลการ
ตรวจสอบอาคารครั้งที่ผานมา และพิจารณาจากสภาพภายนอกของโครงสรางหรือสวนตาง ๆ
ของอาคารที่สามารถมองเห็นได
7.1.8.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากทรุดตัวของฐานรากของอาคาร
ที่มีตอระบบโครงสรางของอาคารที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคารในเรื่องตาง ๆ
ดังนี้
(1) รอยราวที่เสา รอยราวที่คาน รอยราวที่พื้น และรอยราวที่ผนังที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวา
เกิดจากทรุดตัวของฐานรากที่จะสงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการทรุดตัวไมเทากันของฐานราก
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของพื้น คาน หรือ
ตง
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
หรือสวนของอาคาร
(6) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(7) ความเสียหายและการเคลื่อนตัวของพื้นดินใตอาคาร หรือบริเวณใกลเคียง รวมทั้งความ
เสียหายที่เกิดกับอาคารขางเคียง

หนา 19 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

7.1.8.4 จําแนกชนิดของรอยราวและความเสียหาย บันทึกบริเวณและรายละเอียดของการวิบัติเพื่อ


แนะนําเจาของอาคาร หากพบวามีปญหาที่อาจสงผลผลกระทบกับความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคารใหแนะนําเจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียดโดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญเฉพาะ
อีกครั้งหนึ่ง
7.1.9 การตรวจสอบรอยราวอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
รอยราวที่สวนของโครงสรางหรือผนังของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในหลายกรณีอาจไมใชสิ่งบงชี้
วาอาคารอาจไมมั่นคงแข็งแรงหรืออาจไมปลอดภัยตอการใชสอย และในบางกรณีอาจพบวาอาคาร
เกิดการวิบัติโดยไมมีรอยราวที่มองเห็นได อยางไรก็ตามขนาด ทิศทาง การเปลี่ยนแปลงของรอยราว
ที่เกิดขึ้นในหลายกรณีก็เปนสิ่งบงชี้ที่ สําคัญวาอาคารอาจไมมั่นคงแข็งแรงหรืออาจไมปลอดภัยตอ
การใชสอย ผูตรวจสอบตองบันทึกจํานวนของรอยแตกราว ทิศทางและลักษณะของรอยแตกราว
ความลึกของรอย แตกราว ความกวางของรอยราว และอัตราการขยายตัวตามที่สังเกตไดแลวพิจารณา
ใหขอแนะนําในรายงาน ซึ่งการสังเกตรอยราวในเบื้องตนจึงเปนปจจัยหนึ่งที่จะชวยในการพิจารณาให
ขอแนะนําที่ถูกตองในการพิจารณาซอมแซมปรับปรุงบํารุงรักษาอาคารใหมีความมั่นคงแข็งแรงขึ้น
หรือใหมีการตรวจสอบเพิ่มเติมโดยละเอียดโดยวิศวกรโยธาที่เชี่ยวชาญเฉพาะอีกครั้งหนึ่ง แนว
ทางการตรวจสอบรอยราวอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กและเกณฑการยอมรับใหปฏิบัติตามมาตรฐาน
กรมโยธาธิการและผังเมือง มยผ.1552-51 มาตรฐานการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของอาคาร
7.1.10 การตรวจวัดความเอียงของอาคาร
นอกจากใชวิธีการติดตามสังเกตดวยสายตาแลว อาจตรวจสอบอาคารในเบื้องตนดวยการวางวัสดุทรง
กลมเล็ก ๆ ลงบนพื้น เชน ลูกปงปอง ลูกบอล หากวัตถุนั้นกลิ้งไปในทิศทางเดียวเสมอทุกพื้นทุกชั้น
ของอาคารแสดงวาอาคารอาจมีการเอียงตัว หรือสังเกตเพิ่มเติมจากแนวการเอียงตัวของวงกบประตู
หนาตางในทิศทางที่อาจเกิดการเอียงตัวประกอบดวย และอาจตรวจสอบแนวดิ่งของอาคารเพิ่มเติม
โดยใชลูกดิ่ง หากพบวามีปญหาการเอียงตัวใหแนะนําเจาของอาคารใหมีการตรวจสอบแบบละเอียด
โดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญเฉพาะอีกครั้งหนึ่ง โดยวิธีการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของอาคารใหปฏิบัติตาม
มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง มยผ.1552-51 มาตรฐานการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของอาคาร

หนา 20 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

7.2 การตรวจสอบปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
7.2.1 ขอมูลเบื้องตนสําหรับการตรวจสอบ
(1) แบบแปลนของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(2) แบบแปลนระบบโครงสรางของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย (ถามี )
(3) ลักษณะ รูปแบบ ชนิดของโครงสราง สวนประกอบตาง ๆ เชน สลิงหรือสายยึด บันไดสําหรับการ
ซอมบํารุง ทางเดินสําหรับซอมบํารุง ( Catwalk )
(4) ประวัติการกอสราง การตอเติมดัดแปลงปรับปรุง การเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสรางที่อาจมีผลกระทบ
กับความมั่นคงแข็งแรงของปายหรืออาคารที่ติดหรือตั้งปาย
7.2.2 การตรวจสอบการตอเติมดัดแปลงปรับปรุงปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
7.2.2.1 ตรวจสอบประวัติการกอสราง ตอเติมดัดแปลงปรับปรุงขนาดของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับ
ติดหรือตั้งปาย
7.2.2.2 ตรวจสอบวามีการวามีการตอเติมดัดแปลงปรับปรุงขนาดของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติด
หรือตั้งปายเพิ่มหรือลดไปจากเดิมหรือไม ซึ่งตองพิจารณาทั้งการเพิ่มหรือลดองคประกอบของ
โครงสรางทั้งในแนวดิ่งและในแนวราบ ถามีแบบแปลนเดิมอาจเปรียบเทียบกับแบบแปลน
หรือผลการตรวจสอบครั้งที่ผานมา
กรณีที่ไมมีแบบแปลนเดิมและไดมีการเขียนแบบขึ้นใหมตามลักษณะของปายขณะตรวจสอบ
รวมทั้งไมเคยมีการตรวจสอบมากอน อาจพิจารณาจากสภาพภายนอกที่สามารถมองเห็นได
เพิ่มเติม ดังนี้
(1) มีการเปลี่ยนขนาดแผนปายหรือเปลี่ยนวัสดุแผนปาย
(2) รูปทรง รูปแบบ และขนาดของปาย เปรียบเทียบกับสัดสวนของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติด
หรือตั้งปาย
(3) รูปแบบการจัดเรียงและความตอเนื่องของโครงสรางรับแผนปาย
(4) รอยตอของระบบโครงสราง
(5) การเสริมโครงสรางโดยใชวัสดุตางกับสวนอื่น
7.2.2.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และการเชื่อมตอระหวางสวนที่ตอเติมดัดแปลงหรือ
ปรับปรุงกับสวนของปายเดิม

หนา 21 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

7.2.2.4 ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดจากการตอเติมดัดแปลงหรือปรับปรุงตัวอาคารที่มีตอระบบ
โครงสรางของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรง
ในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่สวนของโครงสรางที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็กของปายหรือของอาคารที่ติดหรือ
ตั้งปายที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของปายหรือสิ่งที่
สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของโครงสราง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรง
7.2.2.5 บันทึกบริเวณและรายละเอียดเพื่อแนะนําเจาของปาย
7.2.3 การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผนปาย
7.2.3.1 ตรวจสอบประวัติการใชสอยปาย และการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผนปาย
7.2.3.2 ตรวจสอบวามีการวามีการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักของแผนปายเพิ่มหรือลดไปจากเดิมหรือไม ถา
มีแบบแปลนเดิมอาจเปรียบเทียบกับแบบแปลน หรือผลการตรวจสอบครั้งที่ผานมา
กรณีที่ไมมีแบบแปลนเดิมและไดมีการเขียนแบบขึ้นใหมตามลักษณะของปายขณะตรวจสอบ
รวมทั้งไมเคยมีการตรวจสอบมากอน อาจพิจารณาจากสภาพภายนอกที่สามารถมองเห็น
ไดเพิ่มเติม ดังนี้
(1) มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของแผนปายหรือเปลี่ยนวัสดุแผนปาย
(2) การถอดแผนปายออกเหลือเฉพาะโครงสรางของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(3) การเสริมโครงสรางรับแผนปาย
7.2.3.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงขนาดแผนปาย
ที่มีตอระบบโครงสรางที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของปายในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่สวนของโครงสรางที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็กของปายหรือของอาคารที่ติดหรือ
ตั้งปายที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของปายหรือสิ่งที่
สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย

หนา 22 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของโครงสราง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรง
7.2.3.4 บันทึกบริเวณและรายละเอียดเพื่อแนะนําเจาของปาย
7.2.4 การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงวัสดุของแผนปาย
7.2.4.1 ตรวจสอบประวัติการใชสอย การตอเติมดัดแปลงปรับปรุงปาย และการเปลี่ยนแปลงวัสดุของ
แผนปาย
7.2.4.2 ตรวจสอบวามีการวามีการเปลี่ยนแปลงวัสดุของแผนปายไปจากเดิมหรือไม ถามีแบบแปลน
เดิมอาจเปรียบเทียบกับแบบแปลน หรือผลการตรวจสอบอาคารครั้งที่ผานมา
กรณีที่ไมมีแบบแปลนเดิมและไดมีการเขียนแบบขึ้นใหมตามลักษณะของปายขณะตรวจสอบ
รวมทั้งไมเคยมีการตรวจสอบมากอน อาจพิจารณาจากสภาพภายนอกที่สามารถมองเห็นได
เพิ่มเติม ดังนี้
(1) ความสอดคลองของวัสดุกอสราง
(2) การเสริมโครงสรางเพื่อรับวัสดุแผนปายที่มีขนาดหรือน้ําหนักเพิ่มขึ้น
7.2.4.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวัสดุของแผน
ปายที่มีตอระบบโครงสรางที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของปายในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่สวนของโครงสรางที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็กของปายหรือของอาคารที่ติดหรือ
ตั้งปายที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของปายหรือสิ่งที่
สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของโครงสราง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรง
7.2.4.4.บันทึกบริเวณและรายละเอียดเพื่อแนะนําเจาของปาย

หนา 23 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

7.2.5 การตรวจสอบการชํารุดสึกหรอของปาย
7.2.5.1 ตรวจสอบประวัติการใชสอย การซอมแซม อายุการใชงานของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับ
ติดหรือตั้งปาย
7.2.5.2 ตรวจสอบวามีการวามีการชํารุดสึกหรอของโครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของปายหรือไม อาจ
เปรียบเทียบกับผลการตรวจสอบครั้งที่ผานมา และพิจารณาจากสภาพภายนอกของโครงสราง
หรือสวนตาง ๆ ของปายที่สามารถมองเห็นได
7.2.5.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการชํารุดสึกหรอของโครงสราง
หรือสวนตาง ๆ ของปายที่มีตอระบบโครงสรางที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงในเรื่อง
ตาง ๆ ดังนี้
(1) ความเสียหายที่ผิวนอกของโครงสรางที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงผลกระทบตอความ
มั่นคงแข็งแรงของปายหรือสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย รวมทั้งกับอาคารที่ติดหรือ
ตั้งปาย
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของโครงสราง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของวัสดุกอสรางของโครงสรางและสวนตาง ๆ ของปายเนื่องจากการใช
งานที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรง
7.2.5.4 บันทึกบริเวณและรายละเอียดของการชํารุดสึกหรอเพื่อแนะนําเจาของปาย
7.2.6 การตรวจสอบการวิบัติของโครงสรางสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
7.2.6.1 ตรวจสอบประวัติการซอมแซม อายุการใชงานของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
7.2.6.2 ตรวจสอบวามีการวามีการวิบัติของโครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือ
ตั้งปายหรือไม อาจเปรียบเทียบกับผลการตรวจสอบครั้งที่ผานมา และพิจารณาจากสภาพ
ภายนอกของโครงสรางของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายที่สามารถมองเห็นได
7.2.6.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากการวิบัติของโครงสรางหรือ
สวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายที่มีตอระบบโครงสรางที่อาจสงผลตอ
ความมั่นคงแข็งแรงในเรื่องตาง ๆ ดังนี้

หนา 24 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(1) รอยราวที่สวนของโครงสรางที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็กของปายหรือของอาคารที่ติดหรือ
ตั้งปายที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของปายหรือสิ่งที่
สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของโครงสราง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรง
7.2.6.4. บันทึกบริเวณและรายละเอียดของการวิบัติเพื่อแนะนําเจาของปาย
7.2.7 การตรวจสอบการทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(กรณีปายที่ตั้งบนพื้นดิน)
7.2.7.1 ตรวจสอบประวัติการกอสราง ตอเติมดัดแปลงปรับปรุง และการซอมแซม
7.2.7.2 ตรวจสอบวามีการวามีการทรุดตัวของฐานรากของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายหรือไม
อาจเปรี ย บเที ย บกั บ ผลการตรวจสอบครั้ ง ที่ ผ า นมา และพิ จ ารณาจากสภาพภายนอกของ
โครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายที่สามารถมองเห็นได
7.2.7.3 ตรวจสอบสภาพการใชงานตามที่เห็น และผลกระทบที่เกิดจากทรุดตัวของฐานรากที่มีตอ
ระบบโครงสรางที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่สวนของโครงสรางที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็กของปายหรือของอาคารที่ติดหรือ
ตั้งปายที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดจากทรุดตัวของฐานรากที่จะสงผลกระทบตอความ
มั่นคงแข็งแรงของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการทรุดตัวไมเทากันของฐานราก
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของโครงสราง
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
(6) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(7) ความเสียหายและการเคลื่อนตัวของพื้นดินใตฐานราก หรือบริเวณใกลเคียง รวมทั้งความ
เสียหายที่เกิดกับอาคารขางเคียง

หนา 25 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

7.2.7.4 บันทึกบริเวณและรายละเอียดของการวิบัติเพื่อแนะนําเจาของปาย
7.2.8 การตรวจสอบการเชื่อมยึดระหวางแผนปายกับสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย การเชื่อมยึด
ระหวางชิ้นสวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายและการเชื่อมยึด ระหวางสิ่งที่สราง
ขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายกับฐานรากหรืออาคาร
7.2.8.1 ตรวจสอบประวัติการกอสราง ตอเติมดัดแปลงปรับปรุง และการซอมแซม
7.2.8.2 ตรวจสอบสภาพและความสมบูรณของการเชื่อมยึดระหวางแผนปายกับสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับ
ติดหรือตั้งปาย การเชื่อมยึดระหวางชิ้นสวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
และการเชื่อมยึดระหวางสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายกับฐานรากหรืออาคาร อาจ
เปรียบเทียบกับผลการตรวจสอบครั้งที่ผานมา และพิจารณาจากสภาพภายนอกของโครงสราง
ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายที่สามารถมองเห็นได
7.2.8.3 ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดจากความบกพรองของการเชื่อมยึดระหวางแผนปายกับสิ่งที่สราง
ขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย การเชื่อมยึดระหวางชิ้นสวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือ
ตั้งปายและการเชื่อมยึดระหวางสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายกับฐานรากหรืออาคารอง
โครงสรางหรือสวนตาง ๆ ของสิ่งที่สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปายที่มีตอระบบโครงสรางที่
อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
(1) รอยราวที่สวนของโครงสรางที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็กของปายหรือของอาคารที่ติดหรือ
ตั้งปายที่อาจเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของปายหรือสิ่งที่
สรางขึ้นสําหรับติดหรือตั้งปาย
(2) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการแอนตัวของสวนของโครงสราง
(3) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเคลื่อนตัวในแนวราบ
(4) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากการเอียงตัวของสวนของโครงสราง
(5) ความเสียหายและอันตรายที่เกิดกับโครงสรางจากความสั่นสะเทือน
(6) การเสื่อมสภาพของจุดตอเชื่อมตาง ๆ ที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรง
7.2.8.4. บันทึกบริเวณและรายละเอียดของการวิบัติเพื่อแนะนําเจาของปาย

หนา 26 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8 การตรวจสอบระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ ของอาคาร

8.1 การตรวจสอบระบบอุปกรณของอาคารที่บุคคลเขาอยูหรือเขาใชสอยได
8.1.1 ขอมูลเบื้องตนสําหรับการตรวจสอบ
(1) แบบแปลนอาคารเพื่อการตรวจสอบ
(2) แบบแปลนระบบของอาคาร (ถามี )
(3) ประเภทอาคาร ลักษณะการใชงาน อายุการใชงานของอาคาร
(4) ขอมูลระบบอุปกรณดานความปลอดภัยของอาคารตามขอกําหนดขั้นต่ําตามกฎหมายวาดวยการ
ควบคุมอาคาร จํานวน ชนิด ตําแหนง อายุการใชงานของระบบอุปกรณ การบํารุงรักษา และการ
ทดสอบในอดีตที่ผานมา
(5) ประวัติการกอสราง การตอเติมดัดแปลง การติดตั้ง และปรับปรุงระบบอุปกรณดานความปลอดภัย
ของอาคาร
8.1.2 การตรวจสอบระบบบริการและอํานวยความสะดวก
8.1.2.1 การตรวจสอบระบบลิฟต
(1) ตรวจสอบประวัติการใชสอยลิฟต ขอมูลของลิฟต ไดแก ประเภทลิฟต ตําแหนงที่ติดตั้ง
จํานวน ขนาดน้ําหนักบรรทุก ลักษณะการจอดและใชงานของลิฟต ลักษณะการวางเครื่อง
ลิฟต ตําแหนงหองเครื่องลิฟต ผูตรวจสอบดูแลบํารุงรักษาระบบ และความถี่ในการ
ตรวจสอบบํารุงรักษา
(2) กรณีเปนอาคารสูงที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลัง
วันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ํา ที่กําหนดเกี่ยวกับลิฟตของ
อาคารสูง ดังนี้
กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 8 พื้นอาคารสวนที่ต่ํากวาระดับถนนหนาอาคารตั้งแตชั้นที่ 3 ลงไป หรือ
ต่ํากวาระดับถนนหนาอาคารตั้งแต 7.00 เมตรลงไป ตองจัดใหมีระบบ
ลิฟต
ขอ 43 ลิฟตโดยสารและลิฟตดับเพลิงแตละชุดที่ใชกับอาคารสูงใหมี ขนาด
มวล บรรทุกไมนอยกวา 630 กิโลกรัม

หนา 27 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 45 ในปลองลิฟตหามติดตั้งทอสายไฟฟา ทอสงน้ํา ทอระบายน้ํา และ
อุปกรณตาง ๆ เวนแตเปนสวนประกอบของลิฟตหรือจําเปนสําหรับ
การทํางานและ การดูแล รักษาลิฟต
ขอ 46 ลิฟตตองมีระบบและอุปกรณการทํางานทีใ่ หความปลอดภัยดาน
สวัสดิภาพ และสุขภาพของผูโดยสารดังตอไปนี้
(1) ตองมีระบบการทํางานทีจ่ ะใหลิฟตเลื่อนมาหยุดตรงที่จอดชั้น
ระดับ ดินและประตูลิฟตตองเปดโดยอัตโนมัติเมื่อไฟฟาดับ
(2) ตองมีสัญญาณเตือนและลิฟตตองไมเคลื่อนที่เมื่อบรรทุกเกินพิกัด
(3) ตองมีอุปกรณที่จะหยุดลิฟตไดในระยะที่กําหนด โดยอัตโนมัติ
เมื่อตัวลิฟตมีความเร็วเกินพิกดั
(4) ตองมีระบบปองกันประตูลิฟตหนีบผูโดยสาร
(5) ลิฟตตองมีเคลื่อนที่เมื่อประตูลิฟตปดไมสนิท
(6) ประตูลิฟตตองไมเปดขณะลิฟตเคลื่อนที่หรือหยุดไมตรงที่จอด
(7) ตองมีระบบแสงสวางฉุกเฉินในหองลิฟตและหนาชัน้ ที่จอด
(8) ตองมีระบบการระบายอากาศในหองลิฟต

ขอ 47 ใหมีคําแนะนําอธิบายการใช การขอความชวยเหลือ การใหความ


ชวยเหลือ และขอหามใชดังตอไปนี้
(1) การใชลิฟตและการขอความชวยเหลือ ใหติดไวในหองลิฟต
(2) การใหความชวยเหลือ ใหติดไวในหองจักรกลและหองผูดูแลลิฟต
(3) ขอหามใชลิฟต ใหติดไวที่ขางประตูลิฟตดานนอกทุกชั้น
ขอ 48 การควบคุมการติดตั้งและตรวจสอบระบบลิฟตตองดําเนินการโดย
วิศวกรไฟฟาหรือวิศวกรเครื่องกล ซึ่งเปนผูไดรับใบอนุญาตเปนผู
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมตั้งแตประเภทสามัญวิศวกรขึ้นไป
ตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรรม

หนา 28 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) ตรวจสอบสภาพหองเครื่องลิฟต ( Machine room ) และอุปกรณภายในหองเครื่อง


(ก) ตําแหนงที่ตั้งหองเครื่องลิฟตตองสะดวกในการเขาตรวจสอบบํารุงรักษาไดอยาง
ปลอดภัย ภายในหองเครื่องตองมีพื้นที่กวางเพียงพอ ไมมีสิ่งกีดขวางสะอาดและจัดเก็บ
เฉพาะอุปกรณที่จําเปนสําหรับการบํารุงรักษา ไมใชเปนที่เก็บวัสดุหรืออุปกรณอื่นที่ไม
เกี่ยวของ
(ข) ประตูหองเครื่องลิฟตตองสามารถปดล็อคได มีปายบอกวาเปนหองลิฟต และมีปาย
เตือนเพื่อหามผูที่ไมเกี่ยวของ
(ค) หองเครื่องลิฟตตองมีระบบการระบายอากาศ และระบบปรับสภาวะอากาศที่ดีเพียงพอ
และมีแสงสวางเพียงพอตลอดเวลา
(ง) ชองเปด ตาง ๆ ในหองเครื่องลิฟต ทั้งแนวดิ่งและแนวนอนมี ฝาปด ที่เ รีย บรอย และ
แข็งแรง
(จ) ผนัง พื้น เพดานหองเครื่องลิฟต และการยึดเครื่องลิฟตมีความมั่นคงแข็งแรง
(ฉ) หองเครื่องลิฟต มีการจัดเตรียมอุปกรณดับเพลิงไวอยางเหมาะสมเพียงพอ
(ช) การติดตั้งสวิตชตัดตอนทางไฟฟา (Main breaker & Switches ) ควรอยูใกลประตู
ทางเขาหองเครื่องลิฟต
(ซ) มีอุปกรณในการชวยเหลือผูติดลิฟต และปายแนะนําวิธีการใหความชวย เหลือติดไวใน
หองเครื่อง
(ฌ) ตรวจสอบสภาพของอุปกรณในหองเครื่องขณะไมจายกําลังไฟฟา ไดแก สภาพความ
มั่งคงของแทนรองรับเครื่องลิฟต และลักษณะการวางตําแหนงอุปกรณ การรั่วซึมของ
น้ํามัน หลอลื่น สภาพรอก การสึกหรอของรองรอก สภาพลวดแขวนการสึกหรอของ
เชือกลวดแขวน ความสะอาดของชุดเบรก สภาพชุดควบคุมความเร็ว ( Over speed
governor ) สภาพเชือกลวดของชุดควบคุมความเร็ว สภาพสวิตชตัดตอนทางไฟฟา
(Main breaker & Switches )
(ญ) ตรวจสอบสภาพอุปกรณในหองเครื่อง ขณะจายกําลังไฟฟา ไดแก สภาพของมอเตอร
สภาพการหมุนขับเฟอง สภาพเชือกลวดแขวนขณะทํางาน สภาพการควบคุมความเร็ว
ขณะเคลื่อนที่ สภาพเบรกขณะทํางาน (เรียบไมเรียบ) เสียงผิดปกติที่เกิดขณะอุปกรณ
ทํางาน การเกิดประกายไฟ หรือกลิ่นเหม็นไหมจากอุปกรณ สภาพชุดควบคุม

หนา 29 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

( Controller) และการปองกัน สภาพสวิตชฉุกเฉินในตัวลิฟต


(4) ตรวจสอบอุปกรณประกอบลิฟต ปลองลิฟต และบอลิฟต
(ก) สภาพและความมั่นคงแข็งแรงของอุปกรณประกอบลิฟต ไดแก ปะกับราง ชุดนํารอง
การปองกัน การกระแทก (Buffer) น้ําหนักถวง และการยึดแขวน
(ข) สภาพและการทํางานของประตูลิฟตและวงจรนิรภัย
(ค) สภาพของตัวลิฟต การระบายอากาศในตัวลิฟต และระบบสื่อสารกับภายนอก
(Two way)
(ง) สภาพและความสะอาดภายนอกปลองลิฟต สภาพประตูชานพัก และชองฉุกเฉินเขา
ปลองลิฟต
(จ) สภาพการใชงานของเสียงเรียก กระดิ่งขณะชวยเหลือ และไฟฉุกเฉิน
(ฉ) สภาพและการปองกันชองเปดตาง ๆ
(ช) ความสะอาด และไฟแสงสวางในบอลิฟต
(5) ตรวจสอบตัวลิฟต และอุปกรณ
(ก) การทํางานของอุปกรณปองกันประตูหนีบ ( Door detector )
(ข) การระบายอากาศในตัวลิฟต ( Car ventilation )
(ค) ไฟแสงสวางในตัวลิฟต ( Car lighting )
(ง) ไฟแสงสวางฉุกเฉิน และอุปกรณสื่อสาร
(จ) วัสดุ หรืออุปกรณตกแตง
(ฉ) ปายแนะนําวิธีการใชลิฟต
(ช) สภาพ เสียง การสั่นสะเทือนในตัวลิฟตขณะทํางาน
(6) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบ
และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM )
ตามกําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

หนา 30 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8.1.2.2 การตรวจสอบระบบบันไดเลื่อน และทางลาดเลื่อน


(1) ตรวจสอบประวัติการใชสอยบันไดเลื่อน ทางลาดเลื่อน ขอมูลของบันไดเลื่อน ทางลาด
เลื่อน ไดแก ประเภท ตําแหนงที่ติดตั้ง จํานวน ลักษณะการใชงาน ตําแหนงระบบ
ควบคุม ผูตรวจสอบดูแลบํารุงรักษาระบบ และความถี่ในการตรวจสอบบํารุงรักษา
(2) ตรวจสอบสภาพทั่วไปของบันไดเลื่อน ทางลาดเลื่อน
(ก) ความเรียบของแผนพื้นทางเดินเขาออก
(ข) การแตกหักของซี่แผนหวี
(ค) การแตก หรือบิ่นของขั้นบันได
(ง) การฉีกขาด หรือบิดงอของแผน Skirting และ Inner decking
(จ) การฉีกขาดของราวมือจับ
(3) ตรวจสอบระยะความปลอดภัย
(ก) ระยะหางของขอบบันได และ Skirting
(ข) ระยะหางของขั้นบันได
(ค) ระยะหางของราวมือจับ และผนังหรือบันไดเลื่อน ทางลาดเลื่อนขางเคียง
(4) ตรวจสอบบริเวณโดยรอบ
(ก) ปายเตือน ปายสัญลักษณวิธีการใชงาน หรืออุปกรณปองกันอุบัติเหตุ
(ข) ขนาดพื้นที่ทางเขาออก
(ค) สิ่งกีดขวางบริเวณทางเขาออก
(ง) ชองหางขางบันไดเลื่อน ทางลาดเลื่อน
(จ) ระยะเหนือขั้นบันได
(5) ตรวจสอบการทํางานขณะมีการเคลื่อนที่พรอมกับตัวแทนผูรับผิดชอบบํารุงรักษาระบบ
(ก) เสียง และความเร็ว
(ข) ความสัมพันธของความเร็วการเคลื่อนที่ของราวมือจับและขั้นบันได
(6) ตรวจสอบสภาพและการทํางานของอุปกรณความปลอดภัยพรอมกับตัวแทนผูรับผิดชอบ
บํารุงรักษาระบบ
(ก) สภาพสวิตชหยุดฉุกเฉิน
(ข) เบรก
(ค) Auto start sensor – Top station & bottom station ( ถามี )

หนา 31 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(7) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบและ


การทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM )
ตามกําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.2.3 การตรวจสอบระบบไฟฟา
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบไฟฟา ขอมูลของระบบ ไดแก ประเภทขนาดการ
ใชไฟฟา ชนิดขนาดตําแหนงที่ตดิ ตั้งหมอแปลง ชนิดขนาดตําแหนงที่ติดตั้งตูควบคุม
ระบบ แผงควบคุม แบบแปลนระบบไฟฟา ผูตรวจสอบดูแลบํารุงรักษาระบบและความถี่
ในการตรวจสอบบํารุงรักษา
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบไฟฟาของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

หนา 32 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 11 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองมีระบบจายพลังงานไฟฟา
เพื่อการแสงสวางหรือกําลังซึ่งตองมีการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ
ไฟฟาตามมาตรฐาน ของการไฟฟานครหลวงหรือการไฟฟาสวน
ภูมิภาค ในกรณีที่อยูนอกเขตความรับผิดชอบของการไฟฟานคร
หลวงและการไฟฟาสวนภูมภิ าค ใหใชมาตรฐานเพื่อความปลอดภัย
ทางไฟฟาของสํานักงานพลังงานแหงชาติ
ในระบบจายไฟฟาตองมีสวิตชประธานซึ่งติดตั้งในที่ทตี่ ดั ไว
โดยเฉพาะ แยกจากบริเวณทีใ่ ชสอยเพื่อการอื่น ในการนีจ้ ะจัดไวเปน
หองตางหากสําหรับ กรณีตดิ ตั้งภายในอาคาร หรือจะแยกเปนอาคาร
โดยเฉพาะก็ได
การติดตั้งหมอแปลงไฟฟาหรือเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหนําความ
ในวรรคสองมาใชบังคับ โดยจะรวมบริเวณที่ติดตั้งสวิตชประธาน
หมอแปลงไฟฟา และเครื่องกําเนิดไฟฟาไวในทีเ่ ดียวกันก็ได
เมื่อมีการใชกระแสไฟฟาเต็มที่ตามที่กําหนดในแบบแปลน
ระบบไฟฟา แรงดัน ไฟฟาที่สายวงจรยอยจะแตกตางจาก
แรงดันไฟฟาที่แผงสวิตชประธานไดไมเกินรอยละหา
ขอ 12 แผงสวิตชวงจรยอยทุกแผงของระบบไฟฟาตองตอลงดิน
การตอลงดิน หลักสายดิน และวิธีการตอใหเปนไปตาม
มาตรฐานของการไฟฟานครหลวงหรือการไฟฟาสวนภูมภิ าค ในกรณี
ที่อยูนอกเขตความรับผิดชอบของการไฟฟานครหลวง หรือการไฟฟา
สวนภูมภิ าคใหใชมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยทางไฟฟาของ
สํานักงานพลังงานแหงชาติ
ขอ 17 แบบแปลนระบบไฟฟาใหประกอบดวย
(1) แผนผังวงจรไฟฟาของแตละชั้น ของอาคารที่มีมาตราสวน
เชนเดียวกับทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง วาดวยขนาดของแบบแปลนที่
ตองยื่นประกอบการ ขออนุญาต ในการกอสรางอาคารซึ่งแสดงถึง
(ก) รายละเอียดการเดินสายและติดตั้งอุปกรณไฟฟาทั้งหมด ในแตละ
วงจรยอยของระบบไฟฟาแสงสวางและกําลัง
(ข) รายละเอียดการเดินสายและการติดตั้งอุปกรณทั้งหมดของ ระบบ

หนา 33 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
สัญญาณเตือนเพลิงไหม
(ค) รายละเอียดการเดินสายและการติดตั้งอุปกรณทั้งหมดของ ระบบ
ไฟฟาฉุกเฉิน
(2) แผนผังวงจรไฟฟาแสดงรายละเอียดของระบบสายดิน สาย
ประธานตาง ๆ รวมทั้งรายละเอียดของระบบปองกันสายประธาน
ดังกลาวและอุปกรณไฟฟา ทั้งหมดของทุกระบบ
(3) รายการประกอบแบบแสดงรายละเอียดของการใชไฟฟา
(4) แผนผังวงจรและการติดตั้งหมอแปลงไฟฟา แผงควบคุมหรือแผง
จายไฟฟาและระบบจายพลังงานไฟฟาสํารอง
(5) แผนผังรายละเอียดการเดินสายและการติดตั้งอุปกรณทั้งหมดของ
ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา

(3) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวย
การอนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบไฟฟา
เพิ่มเติม ดังนี้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 16 โรงมหรสพตองมีระบบจายพลังงานไฟฟาเพื่อการใหแสงสวาง
หรือกําลัง ซึ่งตองมีการเดินสายและติดตั้งอุปกรณไฟฟาตามมาตรฐาน
การติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย ของสมาคมวิศวกรรมสถาน
แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ หรือตามมาตรฐานของการ
ไฟฟานครหลวงหรือการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือมาตรฐานอื่นที่กรม
โยธาธิการและผังเมืองเห็นชอบ

หนา 34 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ในระบบจายพลังงานไฟฟาตองมีสวิตชประธานสําหรับโรง
มหรสพโดยเฉพาะติดตั้งในสถานที่ที่สามารถเขาถึงไดโดยงาย
ขอ 17 แผงสวิตชวงจรยอยทุกแผงของระบบไฟฟาตองตอลงดิน
การตอลงดิน หลักสายดิน และวิธีการตอ ใหเปนไปตามมาตรฐานการ
ติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทยของสมาคมวิศวกรรมสถานแหง
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ หรือมาตรฐานของการไฟฟานคร
หลวงหรือการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือมาตรฐานอื่นที่กรมโยธาธิการ
และผังเมืองเห็นชอบ

(4) การตรวจสอบสภาพสายอากาศแรงสูง (สวนผูใชไฟ)


(ก) สภาพเสา และอุปกรณประกอบหัวเสา เชน การแตกราว การเอนตัว การผุกรอน
ของเสาและสลักเกลียวยึดตอมอ การผุกรอนของคอนสายและเหล็กประกับคอนสาย
( Brace ) การบิ่นหรือการแตกราวของลูกถวยและตัวรองรับสายสะพาน ( Support )
(ข) การพาดสาย สภาพสาย ระยะหยอนยานของสาย
(ค) ระยะหางของสายกับอาคาร สิ่งกอสราง หรือตนไม
(ง) สภาพการติดตั้งลอฟากอนเขาอุปกรณ
(จ) สภาพการตอลงดิน สภาพสายดิน หลักดิน จุดตอสายดินกับหลักดิน
(5) ตรวจสอบสภาพสายใตดิน แรงสูง
(ก) สภาพสายสวนที่มองเห็นได
(ข) จุดตอ ขั้วสาย
(ค) สภาพการติดตั้งลอฟา
(ง) สภาพการตอลงดิน สภาพสายดิน หลักดิน จุดตอสายดินกับหลักดิน

หนา 35 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(6) ตรวจสอบที่ตั้งและสภาพหมอแปลง
(ก) ที่ตั้งของหมอแปลงและหองหมอแปลงตองอยูในสถานที่ซึ่งบุคคลที่มีหนาที่
เกี่ยวของเขาถึงไดโดยสะดวก เพื่อทําการตรวจและบํารุงรักษา และตองจัดใหมีการ
ระบายอากาศอยางเพียงพอกับการใชงาน อุณหภูมิในหองหมอแปลงตองไมเกิน 40
องศาเซลเซียส และตองไมมีการใชเปนที่เก็บของหรือวัสดุที่ไมเกี่ยวของ โดยเฉพาะ
วัสดุที่ติดไฟไดงาย
(ข) ตรวจความมั่นคงแข็งแรงและความปลอดภัยของการติดตั้งหมอแปลงในหองหมอ
แปลง
กรณีผนังและพื้นหองหมอแปลงสําหรับหมอแปลงชนิดฉนวนน้ํามัน ( Oil type
transformer ) ตองสรางดวยวัสดุโครงสรางที่มีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอกับสภาพ
การใชงานและทนไฟ เชน ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหนาไมนอยกวา 125 มม. หรือ
ผนังกออิฐหนาไมนอยกวา 200 มม.
กรณีหมอแปลงชนิดฉนวนของเหลวไมติดไฟ หรือหมอแปลงชนิดแหง( Dry type
transformer ) ความหนาของผนังหองหมอแปลงที่เปนผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหนา
ไมนอยกวา 65 มม. หรือถาเปนผนังกออิฐหนา ไมนอยกวา 100 มม.
(ค) ประตู หอ งหม อ แปลงต อ งเป น ชนิด ทนไฟ อยูใ นสภาพที่ เ ปด ป ด ได ส ะดวกและ
สามารถป ด ล็ อ คได และมี ปา ยเตื อ นข อ ความ “ อั น ตรายไฟฟาแรงสูง ” และ
“ เฉพาะเจาหนาที่ที่เกี่ยวของเทานั้น ” ติดไวที่ดานนอกรั้วหรือหองหมอแปลงใน
ตําแหนงที่เห็นไดอยางชัดเจน
(ง) ตรวจบอพักน้ํามันตองใสหินเบอร 2 จนเต็ม ไมมีน้ําขัง ปริมาตรของบอพักไมนอย
กวา 3 เทาของปริมาณน้ํามันหมอแปลงตัวที่มากที่สุด (ดูไดจากแผนปายประจํา
เครื่องหรือคูมือหมอแปลง )
(จ) ตรวจระยะหางระหวางหมอแปลงกับผนังหรือรั้ว ตองกวางไมนอยกวา 1 เมตร โดย
รอบตัวหมอแปลง ระยะหางระหวางหมอแปลงไมนอยกวา 0.60 เมตร
กรณีเปนลานหมอแปลง ตองอยูหางจากวัสดุท่ตี ิดไฟไดงาย มีรั้วสูงไมนอยกวา 2
เมตรที่มีความแข็งแรงไมผุกรอน มีประตูรั้วที่เปดปดไดสะดวกและสามารถปด
ล็อคได รั้วโลหะตองอยูหางจากสวนที่มีไฟฟาหรือสายไฟไมนอยกวา 1.20 เมตร

หนา 36 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

พื้นลานโรยหินเบอร 2 หนาไมนอยกวา 100 มม. ตองไมมีวัชพืชปกคลุม พื้นระบาย


น้ําไดดีและมีการปองกันน้ําทวมขัง
กรณีหมอแปลงติดตั้งอยูบนคาน สภาพเสา คานตองมั่นคงแข็งแรง ไม แตกราว
ไมทรุดเอียง
(ฉ) หมอแปลงที่มีสารดูดความชื้น ( Silica gel) อยูดวย ใหตรวจดูสีของสารดูความชื้น
ดวย ปกติเปนสีมวงน้ําเงิน ถามีความชื้นสูงจะเปลี่ยนสีเปนน้ําตาลชมพู
(ช) สภาพการตอสายแรงต่ําออกจากหมอแปลง
(ซ) สภาพการติดตั้งลอฟาแรงสูง (Lightning Arrester)
(ฌ) สภาพการติดตั้งดรอฟเอาทฟวสคัตเอาท (Drop fuse cutout ) สภาพกระบอกฟวส
ความมั่นคงของการจับยึด ไมมีวัสดุติดไฟไดใตฟวส
(ญ ) สภาพการประกอบสายดินกับตัวถังหมอแปลงและลอฟาแรงสูง
(ฎ) สภาพการตอสายนิวทรัลลงดิน
(ฏ) สภาพภายนอกหมอแปลงครีบระบายอากาศ การเปนสนิม การรั่วซึมของน้ํามัน
หมอแปลง
(ฐ) อุณหภูมิขั้วตอสายไฟที่เขาออกหมอแปลงดวยเครื่องวัดอุณหภูมิชนิดไมตองสัมผัส
อุปกรณไฟฟา ปกติอุณหภูมิไมควรเกิน 75 องศาเซลเซียส
(7) ตรวจสอบสภาพแรงต่ําภายนอกอาคาร
(ก) สภาพเสา สายอากาศ และลูกถวย
(ข) สภาพการติดตั้งลอฟาแรงต่ํา
(ค) สภาพแผงสวิตชตาง ๆ ภายนอกอาคาร
(ง) สภาพเมนเซอรกิตเบรกเกอร ฟวสหรือสวิตช
(จ) สภาพเซอรกิตเบรกเกอร (Circuit breaker)
(ฉ) สภาพการตอลงดิน
(ช) สภาพสายตอไปยังหลักดิน (Grounding Electrode Conductor)
(ซ) สภาพหลักดิน (Grounding Electrode)
(ฌ) สภาพจุดตอของสาย
(ญ) สภาพการประกอบสายดิน และสายนิวทรัล

หนา 37 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(8) ตรวจสอบสภาพแรงต่ําภายในอาคาร
(ก) สภาพวงจรเมน (Main Circuit)
(ข) สภาพสายเขาเมนสวิตช (สายจากหมอแปลง)
(ค) สภาพแผงสวิตชเมน
(ง) สภาพเมนเซอรกิตเบรกเกอร ฟวสหรือสวิตช
(จ) สภาพเซอรกิตเบรกเกอร (Circuit breaker)
(ฉ) สภาพการตอลงดิน
(ช) สภาพสายตอไปยังหลักดิน (Grounding Electrode Conductor)
(ซ) สภาพหลักดิน (Grounding Electrode)
(ฌ) สภาพการประกอบสายดินและสายนิวทรัล
(ญ) สภาพจุดตอของสาย
(ฎ) อุณหภูมิของอุปกรณ
(ฏ) ที่วางเพื่อการปฏิบัติงานที่จุดติดตั้งแผงสวิตชเมน อาจพิจารณาไดจากตารางที่ 1 ดังนี้
ตารางที่ 1 ขอแนะนําในการพิจารณาตรวจสอบที่วางเพื่อการปฏิบัติงานที่จุดติดตั้งแผงสวิตชเมน
ระยะห างของแผงสวิ ตช กั บผนั ง กรณี อุ ปกรณ ไฟฟ าแรงดั นวั ด กรณีอุปกรณไฟฟาแรงดันวัด
คอนกรีตหรือสวนที่ตอลงดิน หรือ เทียบกับดินไมเกิน 600 โวลต เทียบกับดินเกิน 600 โวลต
กับแผงสวิตชอื่น แตไมเกิน 33 กิโลโวลต
ด านหน าแผงสวิ ตช ที่ ต องทํ างาน
ขณะมีไฟฟา กับผนังคอนกรีตหรือ ไมนอยกวา 1.05 เมตร ไมนอยกวา 1.80 เมตร
สวนที่ตอลงดิน
ด านหน าแผงสวิ ตช ที่ ต องทํ างาน
ขณะมี ไฟฟ ากั บแผงสวิ ตช อื่ นที่ มี ไมนอยกวา 1.20 เมตร ไมนอยกวา 2.70 เมตร
ไฟฟา
แผงสวิตชดานที่ไมตองปฏิบัติงาน
กับผนังคอนกรีตหรื อส วนที่ตอลง ตั้งติดผนังได
ดิน
ด านหน าแผงสวิ ตช ที่ ต องทํ างาน
ขณะดั บไฟฟ าก อนปฏิ บั ติ งานกั บ ไมนอยกวา 0.75 เมตร
ผนังคอนกรีตหรือสวนที่ตอลงดิน

หนา 38 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ฐ) ปายชื่อและแผนภาพเสนเดี่ยวของแผงสวิตชเมน
(ฑ) สภาพสายปอน (Feeder)
(ฒ) แผงสวิตชยอยตาง ๆ
(ณ) เมนเซอรกิตเบรกเกอร ฟวสหรือสวิตช
(ด) เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit breaker)
(ต) การตอลงดินของบริภัณฑ (จากแผงสวิตชยอยไปยังแผงสวิตชเมน)
(ถ) การประกอบสายดินและสายนิวทรัล
(ท) ที่วางเพื่อการปฏิบัติงานที่จุดติดตั้งตูแผงสวิตชยอย
(ธ) ปายชื่อและแผนภาพเสนเดียวของแผงสวิตชยอย
(น) วงจรยอย (Branch Circuit)
(บ) สายดินของบริภัณฑ (Equipment Grounding Conductor)
(9) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบ
และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM )
ตามกําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา
(10) ผูตรวจสอบไมตองตรวจสอบในลักษณะดังนี้
(ก) การวัดหรือทดสอบแผงสวิตช ที่ตองใหสายวัดสัมผัสกับบริภัณฑในขณะที่แผง
สวิตชนั้นมีไฟหรือใชงานอยู
(ข) ทดสอบการใชงานอุปกรณปองกันกระแสเกิน
(ค) ถอดออกหรือรื้อบริภัณฑไฟฟา นอกจากเพียงเปดฝาแผงสวิตชแผงควบคุม เพื่อ
ตรวจสภาพบริภัณฑ
8.1.2.4 การตรวจสอบระบบปรับอากาศ
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบปรับอากาศ ขอมูลของระบบ ไดแก ประเภท ขนาดการ
ใช ชนิด ขนาด ตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณ ตูควบคุมระบบ ผูตรวจสอบดูแลบํารุงรักษา
ระบบ และความถี่ในการตรวจสอบบํารุงรักษา

หนา 39 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) กรณี เ ป น อาคารสู ง หรือ อาคารขนาดใหญ พิ เ ศษที่ ไ ด รับ อนุญ าต หรื อได ยื่น คํา ขอรั บ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบปรับอากาศของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้
กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 10 การระบายอากาศในอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่มีการ
ปรับภาวะอากาศดวยระบบการปรับภาวะอากาศ ตองมีลักษณะ
ดังตอไปนี้
(1) ตองมีการนําอากาศภายนอกเขามาในพื้นที่ปรับภาวะอากาศ หรือ
ดูดอากาศจากภายในพืน้ ที่ปรับภาวะอากาศออกไปไมนอ ยกวาอัตรา
ดังตอไปนี้
การระบายอากาศในกรณีที่มีระบบปรับภาวะอากาศ
ลูกบาศกเมตร/
ลําดับ สถานที่ ชั่วโมง/ ตารางเมตร
1 หางสรรพสินคา (ทางเดินชมสินคา) 2
2 โรงงาน 2
3 สํานักงาน 2
4 สถานอาบอบนวด 2
5 ชั้นติดตอธุระกับธนาคาร 2
6 หองพักในโรงแรมหรืออาคารชุด 2
7 หองปฏิบัติการ 2
8 รานตัดผม 3
9 สถานโบวลิ่ง 4
10 โรงมหรสพ (บริเวณที่นั่งสําหรับคนดู) 4
11 หองเรียน 4
12 สถานบริหารรางกาย 5

หนา 40 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขั้นต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
13 รานเสริมสวย 5
14 หองประชุม 6
15 หองน้าํ หองสวม 10
16 สถานที่จําหนายอาหารและเครื่องดืม่ 10
(หองรับประทานอาหาร)
17 ไนทคลับ บาร หรือสถานลีลาศ 10
18 หองครัว 30
19 โรงพยาบาล – หองคนไข 2
หองผาตัดและหองคลอด 8
หอง ไอ.ซี.ยู. 5
สถานที่อื่น ๆ ที่มิไดระบุไวในตารางใหใชอัตราการระบายอากาศ
ของสถานที่ที่มีลักษณะใกลเคียงกัน
(2) หามนําสารทําความเย็นชนิดเปนอันตรายตอรางกาย หรือ ติดไฟ
ไดงายมาใชกบั ระบบปรับภาวะอากาศที่ใชสารทําความเย็นโดยตรง
(3) ระบบปรับภาวะอากาศดวยน้าํ หามตอทอน้ําของระบบปรับ ภาวะ
อากาศเขากับทอน้ําของระบบประปาโดยตรง
(4) ระบบทอลมและระบบปรับภาวะอากาศตองมีลักษณะดังตอไปนี้
(ก) ทอลม วัสดุหุมทอลม และวัสดุบภุ ายในทอลม ตองเปนวัสดุ ที่
ไมติดไฟ และไมเปนสวนทีท่ ําใหเกิดควันเมื่อเกิดเพลิงไหม

(ข) ทอลมสวนที่ติดตั้งผานผนังกันไฟหรือพื้นที่ทําดวยวัสดุทนไฟ
ตอง ติดตั้งลิ้นกันไฟที่ปด อยางสนิทโดยอัตโนมัติ เมื่ออุณหภูมิสูงเกิน
กวา 74 องศาเซลเซียส และลิ้นกันไฟตองมีอัตราการทนไฟไมนอย
กวา 1 ชั่วโมง 30 นาที

(ค) หามใชทางเดินรวม บันได ชองบันได ชองลิฟตของอาคาร

หนา 41 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขั้นต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
เปนสวนหนึง่ ของระบบทอลมสงหรือระบบทอลมกลับเวนแตสวนที่
เปนพื้นทีว่ าง ระหวางเพดานกับพื้นหองชัน้ เหนือขึน้ ไปหรือหลังคาที่
มีสวนประกอบของเพดานทีม่ ีอัตราการทนไฟไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
(5) การขับเคลื่อนอากาศของระบบปรับภาวะอากาศตองมีลักษณะ
ดังตอไปนี้
(ก) มีสวิตชพัดลมของระบบการขับเคลื่อนอากาศที่ปดเปด ดวยมือ
ติดตั้งในที่ทเี่ หมาะสมและสามารถปดสวิตชไดทันทีเมื่อเกิดเพลิงไหม
(ข) ระบบปรับภาวะอากาศที่มีลมหมุนเวียนตั้งแต 50 ลูกบาศก
เมตรตอนาทีขึ้นไป ตองติดตั้งอุปกรณตรวจจับควันหรืออุปกรณ
ตรวจสอบการเกิดเพลิงไหม ที่มีสมรรถนะไมดอยกวาอุปกรณ
ตรวจจับควันซึ่งสามารถบังคับใหสวิตชหยุดการทํางานของระบบได
โดยอัตโนมัติ
ทั้งนี้ การออกแบบและควบคุมการติดตั้งระบบปรับภาวะอากาศ
และระบบระบาย อากาศในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตอง
ดําเนินการ โดยผูไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมตั้งแตประเภทสามัญวิศวกรขึ้นไป ตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพ
วิศวกรรม

(3) ตรวจสอบสภาพทั่วไปของหองเครื่องทําน้ําเย็น ( Chiller room) เครื่องสูบน้ําเย็น (CHP)


เครื่องสูบน้ําระบายความรอน (CDP) สภาพเครื่องทําน้ําเย็นและอุปกรณในหอง
(ก) ประตูที่ติดตอกับภายในอาคารตองปดตลอดเวลา
(ข) สภาพและการทํางานของเครื่องทําน้ําเย็น ( Chiller )
(ค) สภาพและการทํางานของเครื่องสูบน้ําเย็น และ/หรือเครื่องสูบน้ําระบายความรอน
(ง) สภาพและการทํางานของอุปกรณตาง ๆ และระบบควบคุม
(จ) สภาพทอน้ํา การรั่วซึมของระบบ
(ฉ) วิธีการระบายอากาศ กรณีสารทําความเย็นรั่วไหล

หนา 42 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ช) สภาพแวดลอมในหองไมรอนอบอาว แสงสว างเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน


เพียงพอ ไมมีน้ําขังหรือไหลนอง
(ซ) สภาพลิ้นปองกันเพลิงไหม
(4) ตรวจสอบสภาพทั่วไปของหอระบายความรอน หรือหอผึ่งน้ํา (Cooling tower)
(ก) สภาพน้ํา การฟุงกระจายและการรั่วไหล
(ข) การเติมสารเคมีฆาเชื้อโรค หรือวิธีการฆาเชื้อโรควิธีอื่น
(ค) ระยะหางจากชองนําอากาศเขาสูอาคารอยูในระยะที่เหมาะสม อยูในพื้นที่ที่ระบาย
อากาศดี ไมอยูในซอกมุมที่ระบายอากาศและความรอนไดไมดี ทําใหเปลืองพลังงาน
หรือสงอากาศรอนถึงกัน
(ง) สภาพตะใครน้ํา หรือสิ่งสกปรกที่สะสม
(จ) ประวัติการตรวจสภาพน้ํา
(5) ตรวจสอบสภาพเครื่องสงลมเย็น (Air Handling Unit)
(ก) การไหลนองของน้ํา
(ข) ความสะอาดภายในหอง
(ค) ไมมีการใชเปนที่เก็บวัสดุอื่นที่ไมเกี่ยวของ
(ง) ชองเติมอากาศไมถูกปด
(จ) มีการปดชองทอในแนวดิ่งและแนวราบปองกันไฟลาม
(ฉ) แผงกรองอากาศติดตั้งถูกตอง ไมรั่ว ไมเวนชองวาง
(ช) ความสะอาดของแผงกรองอากาศ และคอยล
(ซ) การทําความสะอาดถาดน้ําทิ้ง ไมมีตะกอน หรือมีน้ําขัง
(ฌ) ชองนําอากาศเขาอยูหางชองทิ้งอากาศในระยะที่เหมาะสม
(6) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบและ
การทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

หนา 43 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8.1.3 ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม
8.1.3.1 การตรวจสอบระบบประปา
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบประปา ขอมูลของระบบ ไดแก ประเภท ขนาดการใช
ชนิด ขนาด ตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณ ตูควบคุมระบบ ผูตรวจสอบดูแลบํารุงรักษาระบบ
และความถี่ในการตรวจสอบบํารุงรักษา
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ 2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตาม
เกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบประปาของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ
ดังนี้
กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 21(1) และ(4) แบบแปลนระบบทอน้ําตาง ๆ ในแตละชัน้ ของอาคารใหมีมาตราสวน
เชนเดียวกับทีก่ ําหนดในกฎกระทรวงวาดวยขนาดของแบบแปลนที่
ตองยื่นประกอบการขอ อนุญาตในการกอสรางอาคารโดยใหมี
รายละเอียดดังตอไปนี้
(1) ระบบทอน้ําประปาที่แสดง แผนผังการเดินทอเปนระบบ
จากแหลงจายน้ําไปสูอุปกรณและสุขภัณฑทั้งหมด
ฯลฯ
(2) ระบบการเก็บและจายน้ําจากที่เก็บน้ําสํารอง
ขอ 36 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองมีที่เก็บน้ําใชสาํ รอง ที่
สามารถจายน้ําในชั่วโมงการใชน้ําสูงสุดไดไมนอยกวา 2 ชั่วโมง และ
ตองมีระบบทอจายน้ําประปา ที่มีแรงดันน้าํ ในทอจายน้ําและปริมาณ
น้ําประปาดังตอไปนี้
(1) แรงดันน้ําในระบบทอจายน้ําที่จดุ น้ําเขาเครื่องสุขภัณฑตองมี
แรงดัน ในชั่วโมงการใชน้ําสูงสุดไมนอยกวา 0.1 เมกะปาสกาลมาตร
(2) ปริมาณการใชน้ําสําหรับจายใหแกผูใชน้ําทั้งอาคารสําหรับ
ประเภท เครื่องสุขภัณฑแตละชนิดใหเปนไปตามหลักเกณฑ
ดังตอไปนี้

หนา 44 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ตารางเปรียบเทียบปริมาณน้าํ ประปาคิดเปนหนวยสุขภัณฑเพื่อหา
ปริมาณน้ํา
สวนบุคคล สาธารณะ ประเภท ชนิดของเครื่อง
หนวย หนวย
เครื่องสุขภัณฑ ควบคุม สุขภัณฑ สุขภัณฑ
สวม (Flush valve) ประตูน้ําลาง (Flush valve) 6 10
สวม (Flush tank) ถังน้ําลาง (Flush tank) 3 5
ที่ปสสาวะ(Flush valve)ประตูน้ําลาง (Flush valve) 5 10
ที่ปสสาวะ(Flush tank) ถังน้ําลาง (Flush tank) 3 5
อางลางมือ กอกน้ํา 1 2
ฝกบัว กอกน้ํา 2 4
อางอาบน้ํา กอกน้ํา 2 4
หนวยสุขภัณฑ หมายความวา ตัวเลขที่แสดงถึงปริมาณการใชน้ํา หรือ
การระบายน้ําเปรียบเทียบกับระหวางสุขภัณฑตางชนิดกัน
ทั้งนี้ สุขภัณฑอื่น ๆ ที่ไมไดระบุใหเทียบเคียงตัวเลขตามตาราง
ขางตน
ขอ 37 ระบบทอจายน้ําตองมีวิธีปอ งกันมิใหสิ่งปนเปอนจากภายนอก เขาไป
ในทอจายน้ําได
ในกรณีที่ระบบทอจายน้ําแยกกันระหวางน้าํ ดื่มกับน้ําใช ตอง
แยกชนิด ของทอจายน้ําใหชดั เจน หามตอทอจายน้ําทั้งสองระบบเขา
ดวยกัน

(3) ตรวจสอบสภาพทั่วไปสภาพทางกายภาพและการทํางานของถังเก็บน้ําเครื่องจักร เครื่อง


สูบน้ํา ระบบทอและอุปกรณที่ใชในระบบ

หนา 45 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ก) กรณีที่เปนระบบจายน้ําดวยแรงโนมถวง (Gravity down feed ) มีถังเก็บน้ําปริมาณ


มากที่ชั้นดาดฟา ใหตรวจสอบสภาพความมั่นคงแข็งแรงของถังเก็บน้ํา และการรั่วซึม
รวมทั้งสภาพทางกายภาพและการทํางานของเครื่องสูบน้ํา
(ข) กรณีที่เปนระบบจายน้ําขึ้นหรือลงดวยเครื่องสูบน้ําเพิ่มแรงดัน( Booster pump feed )
มักจะไมมีถังเก็บน้ําขนาดใหญที่ชั้นดาดฟาของอาคาร แตมีระบบควบคุมการทํางานที่
ยุ ง ยากกว า ระบบจ า ยน้ํ า ด ว ยแรงโน ม ถ ว ง นอกจากตรวจสอบสภาพความมั่ น คง
แข็งแรงของถังเก็บน้ํา การรั่วซึม และสภาพทางกายภาพและการทํางานของเครื่องสูบ
น้ําแลว ตองตรวจสอบสภาพและการทํางานของเครื่องจักร และอุปกรณที่ใชในระบบ
ควบคุมการทํางานดวย
(ค) ความสะดวกในการเขาตรวจสอบสภาพน้ําในถังเก็บน้ําทั้งบนดาดฟา บนพื้นดิน
หรือใตดิน
(ง) สภาพและความเหมาะสมของหองเครื่องสูบน้ําประปา
(จ) ความเหมาะสมเพียงพอทั้งปริมาณ และแรงดันของน้ําประปาที่ใชกับอาคาร
(ฉ) การรั่วซึมของระบบทอ
(ช) ระยะหางของระบบท อประปากับระบบน้ําเสีย หรือความเสี่ยงตอการเกิด Cross
connection
(ซ) ความเสี่ยงในการเกิด Water hammer
(4) ตรวจสอบความสะอาดของเก็บน้ําประปา และการปองกันสิ่งปนเปอน ตรวจสอบการดูแล
รักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบและการทดสอบระบบ
ในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.3.2 การตรวจสอบระบบระบายน้ําเสีย และระบบบําบัดน้ําเสีย


(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบ ขอมูลของระบบ ไดแก ประเภทการใช ชนิด ขนาด
ตําแหนงที่ติดตั้งอุปกรณ ตูควบคุมระบบ ผูตรวจสอบดูแลบํารุงรักษาระบบและความถี่ใน
การตรวจสอบบํารุงรักษา

หนา 46 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ


ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ํา
ที่กําหนดเกี่ยวกับระบบระบายน้ําเสีย และระบบบําบัดน้ําเสียของอาคารสูง หรืออาคาร
ขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 21(3) แบบแปลนระบบทอน้ําตาง ๆ ในแตละชั้นของอาคารใหมีมาตราสวน
เชนเดียวกับที่กําหนดในกฎกระทรวงวาดวยขนาดของแบบแปลนที่
ตองยื่นประกอบการขอ อนุญาตในการกอสรางอาคารโดยใหมี
รายละเอียดดังตอไปนี้ ฯลฯ
(3) ระบบทอระบายน้ําที่แสดงแผนผังการเดินทอระบายน้ําฝน
การเดินทอน้ําเสียจากสุขภัณฑและทอน้ําเสียอื่น ๆ จนถึงระบบบําบัด
น้ําเสีย รวมทั้งการเดินทอ ระบายอากาศของระบบทอน้ําเสีย
ขอ 30 การออกแบบและการคํ า นวณรายการระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย และการ
ระบายน้ําทิ้งของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองดําเนินการ
โดยผูไดรับใบอนุญาต เปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตั้งแต
ประเภทสามัญวิศวกรขึ้นไปตามกฎหมาย วาดวยวิชาชีพวิศวกรรม
ขอ 32 ระบบบําบัดน้ําเสียจะแยกเปนระบบอิสระเฉพาะอาคารหรือเปนระบบ
รวมของสวนกลางก็ได แตตองไมกอใหเกิดเสียง กลิ่น ฟอง กาก หรือ
สิ่งอื่นใด ที่เกิดจากการบําบัดนั้นจนถึงขนาดที่อาจเกิดภยันตรายตอ
สุขภาพชีวิต รางกาย หรือ ทรัพยสิน กระทบกระเทือนตอการรักษา
คุณภาพสิ่งแวดลอม หรือความเดือดรอนรําคาญ แกประชาชนผูอยู
อาศัยใกลเคียง
ขอ 33 น้ําเสียตองผานระบบบําบัดน้ําเสียจนเปนน้ําทิ้งกอนระบายสูแหลง
รองรั บ น้ํ า ทิ้ ง โดยคุ ณ ภาพน้ํ า ทิ้ ง ให เ ป น ไปตามประกาศสํ า นั ก งาน
คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เรื่องกําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ํา
ทิ้งจากอาคาร

หนา 47 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ทางระบายน้ํ า ทิ้ ง ต อ งมี ลั ก ษณะที่ ส ามารถตรวจสอบและทํ า ความ
สะอาด ไดโดยสะดวกในกรณีที่ทางระบายน้ําเปนแบบทอเปดตองมี
ขอ 34 บอสําหรับตรวจการระบายน้ําทุกระยะไมเกิน 8.00 เมตร และทุกมุม
เลี้ยวดวย

ขอ 35 ในกรณี ที่ แ หล ง รองรั บ น้ํ า ทิ้ ง มี ข นาดไม เ พี ย งพอจะรองรั บ น้ํ า ทิ้ ง ที่
ระบายจากอาคารในชั่วโมงการใชน้ําสูงสุด ใหมีที่พักน้ําทิ้งเพื่อรองรับ
ปริมาณน้ําทิ้ง ที่เกินกวาแหลงรองรับน้ําทิ้งจะรับไดกอนที่จะระบายสู

แหลงรองรับน้ําทิ้ง

(3) ตรวจสอบ สภาพและการทํางานของ บอบําบัดน้ําเสีย อุปกรณและเครื่องจักรของระบบ


บําบัดน้ําเสีย
(ก) ตรวจสอบสภาพอุปกรณในสวนบําบัดเบื้องตน ( primary treatment ) เชน ตะแกรงดัก
ขยะ ( Screen ) บอดักกรวด ( Grit chamber ) บอตกตะกอนขั้นตน (Primary
sedimentation tank ) บอเกรอะ ( Septic tank ) บอดักไขมัน ( Grease trap )
(ข) ตรวจสอบสภาพและการทํ างานของอุ ปกรณ ในส วนบําบั ดขั้ นที่ สอง ( Secondary
treatment ) ซึ่งสวนใหญใชการบําบัดแบบอาศัยมวลชีวภาพ ( Biological treatment )
เชน ระบบใชบอกรองไรอากาศ (Anaenrobic filter tank ) และระบบใชบอเติมอากาศ (
Aeration tank ) โดยอาจแบงตามการอยูอาศัยของแบคทีเรียเปนแบบแขวนลอย (
Suspended growth ) และแบบเกาะติดบนแผนตัวกลาง ( Contact growth )
(ค) ตรวจสอบสภาพและการทํางานของอุปกรณในสวนจัดการตะกอนสวนเกิน ( Excess
sludge treatment ) เชน ลานตากตะกอน ( Sludge drying bed ) หรือการสูบออกไป
กําจัดที่อื่น
(ง) ตรวจสอบสภาพสี กลิ่นของน้ําลนจากถังตกตะกอน
(จ) ตรวจสอบระบบวิธีการจัดการตะกอน และไขมัน กลิ่นฟอง และกาก

หนา 48 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ฉ) ความสะดวก มี สุ ขลั ก ษณะที่ เ หมาะสม และปลอดภั ย ในการเข า ไปตรวจสอบ


บํารุงรักษา
(ช) ความสะดวกในการขนยายเครื่องจักร การขนถายตะกอน ไขมัน หรือสารเคมี
(4) สภาพของบอรับน้ําเสีย อุปกรณและเครื่องจักรของระบบระบายน้ําเสีย
(5) สภาพของทอระบายน้ําโสโครก ทอน้ําเสีย และทอระบายอากาศ
(ก) สภาพภายนอกที่มองเห็น เชน เปนสนิม การแตกหัก หรือการรั่วซึม
(ข) ความลาดเอียงของระบบทอ
(ค) ความสะดวกในการซอมแซมบํารุงรักษาระบบทอ มีชองทําความสะอาด ( Clean out )
เหมาะสมเพียงพอ
(ง) กลิ่นเหม็นจากระบบทอ
(6) สภาพของราวกันตก ฝาปด
(7) ตรวจสอบภาระการบําบัดน้ําเสีย
(ก) ประเมินปริมาณน้ําเสียจากปริมาณการใชน้ํา กิจกรรมและพฤติกรรมการใชน้ํา จํานวน
สุขภัณฑเมื่อเทียบกับจํานวนผูใชสอย
(ข) ประเมินความเขมขนมลพิษในน้ําเสีย เชน คาบีโอดี ไนโตรเจนรวม จากกิจกรรมและ
พฤติกรรมการใชน้ํา
(ค) ตรวจสอบขนาดความจุของหนวยบําบัดยอยแตละหนวยในระบบ ขนาดของเครื่องจักร
อุปกรณสําคัญ เชน เครื่องสูบน้ํา เครื่องเติมอากาศ และเปรียบเทียบกับภาระการบําบัด เพื่อประเมิน
ความพอเพียงของระบบ
(8) ผลการตรวจสอบคุณภาพน้ําทิ้ง
(9) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบ
และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM )
ตามกําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

หนา 49 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8.1.3.3 การตรวจสอบระบบระบายน้ําฝน
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบ ขอมูลของระบบ
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑ
ขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบระบายน้ําฝนของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ
ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 21(3) แบบแปลนระบบทอน้ําตาง ๆ ในแตละชัน้ ของอาคารใหมีมาตราสวน
เชนเดียวกับทีก่ ําหนดในกฎกระทรวงวาดวยขนาดของแบบแปลนที่
ตองยื่นประกอบการขอ อนุญาตในการกอสรางอาคารโดยใหมี
รายละเอียดดังตอไปนี้ ฯลฯ
(3) ระบบทอระบายน้ําทีแ่ สดงแผนผังการเดินทอระบายน้ําฝน การ
เดินทอน้ําเสียจากสุขภัณฑและทอน้ําเสียอืน่ ๆ จนถึงระบบบําบัดน้ํา
เสีย รวมทั้งการเดินทอ ระบายอากาศของระบบทอน้ําเสีย

ขอ 31 การระบายน้ําฝนออกจากอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษจะ


ระบายลงสูแหลงรองรับน้ําทิ้งโดยตรงก็ได แตตองไมกอใหเกิด
ภยันตรายตอสุขภาพ ชีวิต รางกาย หรือทรัพยสิน หรือกระทบ
กระเทือนตอการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

(3) ตรวจสอบสภาพ ความเหมาะสม เพียงพอ ความลาดเอียง การปองกันการอุดตันของ


หัวรับน้ําฝน ทางน้ําลน (Roof over flow ) รางระบายน้ําฝน ทอระบายน้ําฝน
(4) ตรวจสอบสภาพบอตรวจการระบายน้ําหรือบอพักน้ํา บอสูบระบายน้ํา และการระบาย
น้ําฝนสูระบบระบายน้ําสาธารณะ

หนา 50 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(5) ตรวจสอบสภาพและความพรอมของเครื่องจักรและอุปกรณ กรณีเปนอาคารที่มีเครื่อง


สูบน้ําระบายน้ําฝนในชั้นใตดิน
(6) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบ
และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษา ตามกําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.3.4 การตรวจสอบระบบจัดการมูลฝอย
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบ ขอมูลของระบบ ประเภทของมูลฝอย เชน มูลฝอย
ทั่วไป มูลฝอยยอยสลายงายหรือขยะเปยก มูลฝอยที่สามารถนํากลับมาใชใหมได
( Recycle waste ) หรือมูลฝอยอันตราย ( Hazardous waste )
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบจัดการมูลฝอยของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้
กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 38 ในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพเิ ศษตองมีการจัดเก็บขยะมูลฝอย
โดยวิธีขนลําเลียงหรือทิ้งลงปลองทิ้งมูลฝอย
ขอ 39 การคิดปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในอาคาร ใหคิดจากอัตราการใช
ดังตอไปนี้
(1) การใชเพื่อการอยูอาศัย ปริมาณมูลฝอยไมนอยกวา 2.40
ลิตร ตอคนตอวัน
(2) การใชเพื่อการพาณิชยกรรมหรือการอื่น ปริมาณมูลฝอย
ไมนอยกวา 0.4 ลิตร ตอพื้นที่หนึ่งตารางเมตรตอวัน

หนา 51 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 40 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองจัดใหมีที่พักรวมมูลฝอยที่มี
ลักษณะดังตอไปนี้
(1) ตองมีขนาดความจุไมนอยกวา 3 เทาของปริมาณมูลฝอยที่
เกิดขึ้น ในแตละวันตาม ขอ 39
(2) ผนังตองทําดวยวัสดุถาวรและทนไฟ
(3) พื้นผิวภายในตองเรียบและกันน้ําซึม
(4) ตองมีการปองกันกลิ่นและน้าํ ฝน
(5) ตองมีการระบายน้าํ เสียจากมูลฝอยเขาสูระบบบําบัดน้าํ เสีย
(6) ตองมีการระบายอากาศและปองกันน้ําเขา
ที่พักรวมมูลฝอยตองมีระยะหางจากสถานที่ประกอบอาหาร
และสถานที่เก็บอาหารไมนอ ยกวา 4.00 เมตร แตถาที่พักรวมมูลฝอยมี
ขนาดความจุเกิน 3 ลูกบาศกเมตร ตองมีระยะหางจากสถานที่ดังกลาว
ไมนอยกวา 10.00 เมตร และสามารถขนยายมูลฝอย ไดโดยสะดวก
ขอ 41 ที่พักมูลฝอยของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพเิ ศษตองมีลักษณะ
ดังตอไปนี้
(1) ฝา ผนัง และประตูตองแข็งแรงทนทาน ประตูตองปดไดสนิทเพื่อ
ปองกันกลิ่น
(2) ขนาดเหมาะสมกับสถานที่และสะดวกตอการทําความสะอาด
ขอ 42 ปลองทิ้งมูลฝอยของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตอง มี
ลักษณะ ดังตอไปนี้
(1) ตองทําดวยวัสดุทนไฟ มีขนาดความกวางแตละดานหรือ
เสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 60 เซนติเมตร ผิวภายในเรียบ ทําความ
สะอาดไดงายและไมมีสวนใด ที่จะทําใหมูลฝอยติดคาง
(2) ประตูหรือชองทิง้ มูลฝอยตองทําดวยวัสดุทนไฟและปดได
สนิท เพื่อปองกันมิใหมลู ฝอยปลิวยอนกลับและติดคางได
(3) ตองมีการระบายอากาศเพือ่ ปองกันกลิ่น
(4) ปลายลางของปลองทิ้งมูลฝอยตองมีประตูปดสนิทเพื่อ
ปองกันกลิ่น

หนา 52 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) ตรวจสอบตําแหนงที่ตั้ง สภาพ ความเหมาะสมเพียงพอของหองพักขยะ และการจัดเก็บขยะ


(4) ตรวจสอบความสะอาด และกลิ่น
(5) ตรวจสอบความสะดวกในการเขาถึง
(6) ตรวจสอบความเสี่ยงตอการแพรเชื้อโรค
(7) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบและ
การทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษา ตามกําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.3.5 การตรวจสอบระบบระบายอากาศ
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบ ขอมูลของระบบ
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบระบายอากาศของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 7 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่มีสว นของพื้นที่อาคารต่ํากวา
ระดับพื้นดินตองมีระบบระบายอากาศและระบบบําบัดน้ําเสียและการ
ระบายน้ําทิ้งตาม หมวด 2 และหมวด 3 แยกเปนอิสระจากระบบ
ระบายอากาศและระบบบําบัดน้ําเสีย และการระบายน้าํ ทิ้งสวนเหนือ
พื้นดิน
พื้นที่อาคารสวนที่ต่ํากวาระดับพื้นดินตามวรรคหนึ่ง หามใช
เปนที่อยูอาศัย

หนา 53 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )

ขอ 9 การระบายอากาศในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองจัด ให


มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติหรือโดยวิธกี ล ดังตอไปนี้
(1) การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ใหใชเฉพาะกับพืน้ ที่มีผนังดาน
นอกอยางนอยหนึ่งดาน โดยใหมีชองเปดสูภ ายนอกอาคารได เชน
ประตู หนาตาง หรือ บานเกล็ด ซึ่งตองเปดไวระหวางใชสอยพื้นที่นนั้
ๆ และพื้นที่ของ ชองเปดนีต้ องเปด ไดไมนอยกวารอยละ 10 ของพื้น
นั้น
(2) การระบายอากาศโดยวิธีกล ใหใชกับพืน้ อาคารใดก็ได โดยใหมี
กลอุปกรณขับเคลื่อนอากาศเพื่อใหเกิดการนําอากาศภายนอกเขามา
ตามอัตรา ดังตอไปนี้
การระบายอากาศ

อัตราการระบายอากาศ ลําดับ
สถานที่ ไมนอยกวาจํานวนเทาของ
ปริมาตรของหองใน 1ชั่วโมง
1 หองน้ํา หองสวมของที่พักอาศัย 2
หรือสํานักงาน
2 หองน้ํา หองสวมของอาคารสาธารณะ 4
3 ที่จอดรถที่อยูต่ํากวาระดับพื้นดิน 4
4 โรงงาน 4
5 โรงมหรสพ 4
6 สถานที่จําหนายอาหารและเครื่องดื่ม 7
7 สํานักงาน 7
8 หองพักในโรงแรมหรืออาคารชุด 7
9 หองครัวของที่พักอาศัย 12
10 หองครัวของสถานที่จําหนายอาหาร 24
และเครื่องดื่ม
11 ลิฟตโดยสารและลิฟตดับเพลิง 30

หนา 54 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )

สําหรับหองครัวของสถานที่จําหนายอาหารและเครื่องดืม่ จะ
ใหมีอัตรา การระบายอากาศนอยกวาที่กําหนดได แตตองมีการระบาย
อากาศครอบคลุมแหง ที่เกิดของกลิ่น ควัน หรือกาซที่ตองการระบาย
ทั้งนี้ ตองไมนอ ยกวา 12 เทาของ ปริมาตรของหองใน 1 ชั่วโมง
สถานที่อื่น ๆ ที่มิไดระบุไวในตารางใหใชอัตราการระบาย
อากาศของ สถานที่ที่มีลักษณะใกลเคียงกัน
ตําแหนงชองนําอากาศเขาโดยวิธกี ล ตองหางจากทีเ่ กิดอากาศ
เสีย และชองระบายอากาศทิง้ ไมนอยกวา 5.00 เมตร สูงจากพื้นดินไม
นอยกวา 1.50 เมตร
การนําอากาศเขาและการระบายอากาศทิ้งโดยวิธีกล ตองไม
กอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญแกประชาชนผูอยูอาศัยใกลเคียง

(3) ตรวจสอบสภาพทั่วไป การติดตั้งและการใชงานของอุปกรณการระบายอากาศ


(4) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการตรวจสอบและ
การทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.3.6 การตรวจสอบระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบ ขอมูลของระบบปองกันหรือควบคุมมลพิษทางอากาศ
และเสียงในอาคาร เชน ระบบปองกันหรือควบคุมไอเสียจากเครื่องกําเนิดไอน้ํา( Steam boiler )
ระบบปองกันหรือควบคุมไอเสียจากเครื่องกําเนิดไฟฟา ( Generator ) หรือระบบปองกัน
หรือควบคุมไอเสียจากขบวนการผลิต

หนา 55 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) ตรวจสอบสภาพและการทํางานของเครื่องจักร และอุปกรณในระบบปองกันหรือควบคุม


มลพิษทางอากาศ และเสียง เชน Bag filter, Wet scrubber, Electrostatic precipitator, Cyclone
(3) ตรวจสอบการระบายอากาศ หรือการระบายไอเสียของระบบ
(4) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการ ตรวจสอบและ
การทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.4 ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย
8.1.4.1 บันไดหนีไฟ และทางหนีไฟ
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงานระบบ ขอมูลของระบบ ชนิด ขนาด จํานวน ตําแหนง
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ํา
ที่กําหนดเกี่ยวกับระบบบันไดหนีไฟ และทางหนีไฟของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ
พิเศษ ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 8 พื้นอาคารสวนที่ต่ํากวาระดับถนนหนาอาคารตั้งแตชั้นที่ 3 ลงไปหรือ
ต่ํากวาระดับถนนหนาอาคารตั้งแต 7.00 เมตรลงไป ตองจัดใหมีระบบ
ลิฟตตามหมวด 6 และตองจัดใหมีบนั ไดหนีไฟที่มีระบบแสงสวาง
และระบบอัดลมที่มีความดันขณะใชงานไมนอยกวา 3.86 เมกะปาส
กาลมาตร ทํางานอยูตลอดเวลา ผนังบันไดหนีไฟทุกดานตองเปน
คอนกรีตเสริมเหล็กหนาไมนอยกวา 10 เซนติเมตรเพื่อใชเปนที่หนีภยั
ในกรณีฉุกเฉินได บันไดหนีไฟนี้ตองอยูห างกันไมเกิน60.00 เมตร
โดยวัดตามแนวทางเดิน

หนา 56 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )

ขอ22 อาคารสูงตองมีบันไดหนีไฟจากชั้นสูงสุดหรือดาดฟาสูพ ื้นดินอยาง


นอย 2 บันได ตั้งอยูในที่ที่บคุ คลไมวาจะอยู ณ จุดใดของอาคาร
สามารถมาถึงบันได หนีไฟได สะดวก แตละบันไดหนีไฟตองอยูหาง
กันไมเกิน 60.00 เมตร เมื่อวัดตามแนวทางเดิน
ระบบบันไดหนีไฟตามวรรคหนึ่งตองแสดงการคํานวณให
เห็นวาสามารถใช ลําเลียงบุคคลทั้งหมดในอาคารออกนอกอาคารได
ภายใน 1 ชั่วโมง

ขอ 23 บันไดหนีไฟตองทําดวยวัสดุทนไฟและไมผุกรอน เชน คอนกรีต


เสริมเหล็ก เปนตน มีความกวางไมนอยกวา 90 เซนติเมตร ลูกนอน
กวางไมนอยกวา 22 เซนติเมตร และลูกตั้งสูงไมเกิน 20 เซนติเมตร
มีชานพักกวางไมนอยกวา 90 เซนติเมตร และมีราวบันไดอยางนอย
หนึ่งดาน
หามสรางบันไดหนีไฟเปนแบบบันไดเวียน

ขอ 24 บันไดหนีไฟและชานพักสวนที่อยูภายนอกอาคารตองมีผนังดาน ที่


บันได พาดผานเปนผนังกันไฟ

ขอ 25 บันไดหนีไฟที่อยูภายในอาคารตองมีอากาศถายเทจากภายนอกอาคาร
ได แตละชั้นตองมีชองระบายอากาศที่มีพนื้ ที่รวมกันไมนอยกวา 1.4
ตารางเมตร เปดสูภายนอกอาคารไดหรือมีระบบอัดลมภายในชอง
บันไดหนีไฟที่มีความดัน ลมขณะใชงานไมนอยกวา 3.86 เมกะปาส
กาลมาตร ที่ทํางานไดโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดเพลิงไหม

หนา 57 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 26 บันไดหนีไฟที่อยูภายในอาคารตองมีผนังกันไฟโดยรอบยกเวน ชอง
ระบายอากาศและตองมีแสงสวางจากระบบไฟฟาฉุกเฉินใหมองเห็น
ชองทางไดขณะเพลิงไหม และมีปายบอกชั้นและปายบอกทางหนีไฟ
ที่ดานในและดานนอกของประตูหนีไฟทุกชั้นดวยตัวอักษรที่สามารถ
มองเห็นไดชัดเจน โดยตัวอักษร ตองมีขนาดไมเล็กกวา 10 เซนติเมตร

ขอ 27 ประตูหนีไฟตองทําดวยวัสดุทนไฟ เปนบานเปดชนิดผลักออก สู


ภายนอกพรอมติดตั้งอุปกรณชนิดที่บังคับใหบานประตูปดไดเอง มี
ความกวาง สุทธิไมนอยกวา 90 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
และตองสามารถเปดออกไดโดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรือ
ทางออกสูบันไดหนีไฟตองไมมีชั้น หรือธรณีประตูหรือขอบกั้น

ขอ 29 อาคารสูงตองมีดาดฟาและมีพื้นที่บนดาดฟาขนาดกวาง ยาว ดานละ


ไมนอยกวา 6.00 เมตร เปนที่วางเพื่อใชเปนทางหนีไฟทางอากาศได
และ ตองจัดใหมีทางหนีไฟบนชั้นดาดฟานําไปสูบันไดหนีไฟได
สะดวกทุกบันได และมีอุปกรณเครื่องชวยในการหนีไฟจากอาคารลง
สูพื้นดินไดโดยปลอดภัย

(3) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่


กฎกระทรวงฉบับที่ 50 (พ.ศ.2540 ) แกไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออก
ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตาม
เกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับบันไดหนีไฟ และทางหนีไฟของอาคารสูง หรืออาคารขนาด
ใหญพิเศษเพิ่มเติมจาก (2) ดังนี้

หนา 58 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง50 (พ.ศ.2540 )
แกไขเพิม่ เติมฉบับที่ 33
(พ.ศ.2535 ) ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
ขอ 12 ใหใชขอ ความตอไปนี้ บันไดหนีไฟที่อยูภายในอาคารตองมีอากาศถายเทจากภายนอก
เปนขอ 25 แหงกฎกระทรวง อาคารได แตละชั้นตองมีชองระบายอากาศที่มีพื้นที่รวมกันไมนอย
ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2533) กวา 1.4 ตารางเมตร เปดสูภายนอกอาคารไดหรือมีระบบอัดลมภายใน
ชองบันไดหนีไฟที่มีความดัน ลมขณะใชงานไมนอยกวา 3.86 เมกะ
ปาสกาลมาตร ที่ทํางานไดโดยอัตโนมัติเมือ่ เกิดเพลิงไหม และบันได
หนีไฟที่ลงสูพนื้ ของอาคารนั้นตองอยูในตําแหนงที่สามารถออกสู
ภายนอกไดโดยสะดวก

ขอ 8 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปน ขอ 8 ทวิ อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองจัดใหมีผนังและ


ขอ 8 ทวิ และขอ 8 ตรี แหง ประตูที่ทําดวยวัสดุทนไฟที่สามารถปดกั้นมิใหเปลวไฟหรือควันเมื่อ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 เกิดเพลิงไหมเขาไปในบริเวณบันไดที่มิใชบันไดหนีไฟของอาคาร
(พ.ศ. 2535) ทั้งนี้ ผนังหรือประตูดังกลาวตองสามารถทนไฟไดไมนอยกวา 1
ชั่วโมง
ขอ 8 ตรี อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองจัดใหมีแผนผัง
ของอาคารแตละชั้น ติดไวบริเวณหองโถงหนาลิฟตทุกแหงของแตละ
ชั้นนั้นในตําแหนงที่เห็นไดชัดเจน และทีบ่ ริเวณพืน้ ชั้นลางของอาคาร
ตองจัดใหมีแผนผังอาคารของทุกชั้นเก็บรักษาไวเพื่อใหสามารถ
ตรวจสอบไดโดยสะดวก

แผนผังของอาคารแตละชั้นใหประกอบดวย
(1) ตําแหนงของหองทุกหองของชั้นนั้น
(2) ตําแหนงทีต่ ิดตั้งตูสายฉีดน้ําดับเพลิงหรือหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิง
และอุปกรณดบั เพลิงอื่น ๆ ของชั้นนั้น
(3) ตําแหนงประตูหรือทางหนีไฟของชั้นนัน้
(4) ตําแหนงลิฟตดับเพลิงของชั้นนั้น

หนา 59 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง50 (พ.ศ.2540 )
แกไขเพิม่ เติมฉบับที่ 33
ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
(พ.ศ.2535 )

ขอ 13 ใหใชขอ ความตอไปนี้ อาคารสูงตองมีดาดฟาและมีพื้นที่บนดาดฟาขนาดกวาง ยาวดานละไม


เปนขอ 29 แหงกฎกระทรวง นอยกวา 10.00 เมตร เปนทีโ่ ลงและวางเพือ่ ใชเปนทางหนีไฟทาง
ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2533) อากาศได และตองจัดใหมีทางหนีไฟบนชั้นดาดฟาที่จะนําไปสูบันได
หนีไฟไดสะดวกทุกบันได รวมทั้งจัดใหมอี ุปกรณเครื่องชวยในการ
หนีไฟจากอาคารลงสูพื้นดินไดโดยปลอดภัยดวย

(4) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ


ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารกอนวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ รวมทั้งกรณีไมเขาขายเปน
อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ แตเขาขายเปนอาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ
โรงแรม สถานบริการ อาคารชุด อาคารอยูอาศัยรวม และโรงงาน ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบบันไดหนีไฟ และทางหนีไฟ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 47
(พ.ศ.2540 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ดังนี้

หนา 60 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540 )
ขอ 5(1) (1) อาคารที่มีความสูงตั้งแตสี่ชั้นขึ้นไปใหติดตั้งบันไดหนีไฟที่ไมใช
บันไดในแนวดิ่งเพิ่มจากบันไดหลักใหเหมาะสมกับพื้นทีข่ องอาคาร
แตละชั้น เพื่อใหสามารถลําเลียงบุคคลทั้งหมดในอาคารออกนอก
อาคารไดภายในหนึ่งชัว่ โมง โดยไมถือเปนการดัดแปลงอาคารแตตอง
ยื่นแบบใหเจาพนักงานทองถิ่นตรวจพิจารณาใหความเห็นชอบ และ
บันไดหนีไฟตองมีลักษณะ ดังนี้
(ก) บันไดหนีไฟภายในอาคารตองมีผนังทุกดานโดยรอบที่ทําดวย
วัสดุที่ไมติดไฟ
(ข) ชองประตูสูบันไดหนีไฟตองเปนบานเปดทําดวยวัสดุที่ไมติดไฟ
พรอมติดตั้งอุปกรณชนิดทีบ่ ังคับใหบานประตูปดไดเองเพื่อปองกัน
ควันและเปลวไฟมิใหเขาสูบันไดหนีไฟ และมีความกวางสุทธิไมนอย
กวา 80 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 2.00 เมตร
ขอ 5 (2) (2) จัดใหมกี ารติดตั้งแบบแปลนแผนผังของอาคารแตละชั้นแสดง
ตําแหนงหองตาง ๆ ทุกหอง ตําแหนงทีต่ ิดตั้งอุปกรณดับเพลิงตาง ๆ
ประตูหรือทางหนีไฟของชั้นนั้นติดไวในตําแหนงทีเ่ ห็นไดชัดเจนที่
บริเวณหองโถงหรือหนาลิฟตทุกแหงทุกชัน้ ของอาคาร และที่บริเวณ
พื้นชั้นลางของอาคารตองจัดใหมแี บบแปลนแผนผังของอาคารทุกชั้น
เก็บรักษาไวเพือ่ ใหสามารถตรวจสอบไดโดยสะดวก

ขอ 5(5) (5) ติดตั้งระบบไฟสองสวางสํารองเพื่อใหมีแสงสวางสามารถ


มองเห็นชองทางเดินไดขณะเพลิงไหม และมีปายบอกชั้นและปาย
บอกทางหนีไฟที่ดานในและดานนอกของประตูหนีไฟทุกชั้นดวย
ตัวอักษรที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนโดยตัวอักษรตองมีขนาดไมเล็ก
กวา 10 เซนติเมตร

หนา 61 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(5) กรณีอาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ โรงแรม สถานบริการ อาคารชุด อาคารอยูอาศัยรวม


และโรงงานที่ไมเขาขายเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ที่ไดรับใบอนุญาตให
กอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543 ) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่
กําหนดเกี่ยวกับระบบบันไดหนีไฟ และทางหนีไฟ ดังนี้
กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543 )
ขอ 24 บันไดของอาคารอยูอาศัยรวม หอพักตามกฎหมายวาดวย
หอพัก สํานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย โรงงาน และอาคาร
พิเศษ สําหรับที่ใชกับชั้นที่มพี ื้นที่อาคารชั้นเหนือขึน้ ไปรวมกันไม
เกิน 300 ตารางเมตร ตองมีความกวางสุทธิไมนอยกวา 1.20 เมตร แต
สําหรับบันไดของอาคารดังกลาวที่ใชกับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือ
ขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ตองมีความกวางสุทธิไมนอยกวา
1.50 เมตร ถาความกวางสุทธิของบันไดนอยกวา 1.50 เมตร ตองมี
บันไดอยางนอยสองบันได และแตละบันไดตองมีความกวางสุทธิไม
นอยกวา 1.20 เมตร

บันไดของอาคารที่ใชเปนที่ชุมนุมของคนจํานวนมาก เชน
บันไดหองประชุมหรือหองบรรยายที่มีพนื้ ที่รวมกันตั้งแต 500 ตาราง
เมตรขึ้นไป หรือบันไดหองรับประทานอาหารหรือสถานบริการที่มี
พื้นที่รวมกันตัง้ แต 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดของแตละชั้น

ของอาคารนั้นที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ตองมี


ความกวางไมนอยกวา 1.50 เมตร อยางนอยสองบันได ถามีบันได
เดียวตองมีความกวางไมนอยกวา 3 เมตร
บันไดที่สูงเกิน 4 เมตร ตองมีชานพักบันไดทุกชวง 4 เมตร
หรือนอยกวานั้น และระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรือชานพักบันไดถึงสวน
ต่ําสุดของอาคารที่อยูเหนือขึน้ ไปตองสูงไมนอยกวา 2.10 เมตร

หนา 62 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543 )

ชานพักบันไดและพื้นหนาบันไดตองมีความกวางและความ
ยาวไมนอยกวาความกวางสุทธิของบันได เวนแตบันไดที่มีความกวาง
สุทธิเกิน 2 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหนาบันไดจะมีความยาวไม
เกิน 2 เมตรก็ได
บันไดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองตองมีลูกตั้งสูงไมเกิน 18
เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักสวนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแลวเหลือ
ความกวางไมนอยกวา 25 เซนติเมตร และตองมีราวบันไดกันตก
บันไดที่มีความกวางสุทธิเกิน 6 เมตร และชวงบันไดสูงเกิน 1 เมตร
ตองมีราวบันไดทั้งสองขางบริเวณจมูกบันไดตองมีวัสดุกนั ลื่น

ขอ 25 บันไดตามขอ 24 จะตองมีระยะหางไมเกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุด


บนพื้นชั้นนั้น
ขอ 26 บันไดตามขอ 23 และขอ 24 ที่เปนแนวโคงเกิน 90 องศา จะไมมีชาน
พักบันไดก็ได แตตองมีความกวางเฉลี่ยของลูกนอนไมนอยกวา 22
เซนติเมตร สําหรับบันไดตามขอ 23 และไมนอยกวา 25 เซนติเมตร
สําหรับบันไดตามขอ 24
ขอ 27 อาคารที่สูงตั้งแตสี่ชั้นขึ้นไปและสูงไมเกิน 23 เมตร หรืออาคารที่สูง
สามชั้นและมีดาดฟาเหนือชัน้ ที่สามที่มีพื้นที่เกิน 16 ตารางเมตร
นอกจากมีบนั ไดของอาคารตามปกติแลว ตองมีบันไดหนีไฟที่ทําดวย
วัสดุทนไฟอยางนอยหนึ่งแหง และตองมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟ
นั้นไดโดยไมมีสิ่งกีดขวาง
ขอ 28 บันไดหนีไฟตองมีความลาดชันนอยกวา 60 องศา เวนแตตึกแถวและ
บานแถวที่สูงไมเกินสี่ชั้น ใหมีบันไดหนีไฟที่มีความลาดชันเกิน 60
องศาได และตองมีชานพักบันไดทุกชัน้

หนา 63 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543 )

ขอ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารตองมีความกวางสุทธิไมนอยกวา 60
เซนติเมตรและตองมีผนังสวนที่บันไดหนีไฟพาดผานเปนผนังทึบ
กอสรางดวยวัสดุถาวรที่เปนวัสดุทนไฟ

บันไดหนีไฟตามวรรคหนึ่ง ถาทอดไมถึงพื้นชั้นลางของ
อาคารตองมีบันไดโลหะที่สามารถเลื่อนหรือยึดหรือหยอนลงมา
จนถึงพื้นชั้นลางได
ขอ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารตองมีความกวางสุทธิไมนอยกวา 80
เซนติเมตรมีผนังทึบกอสรางดวยวัสดุถาวรที่เปนวัสดุทนไฟกัน้
โดยรอบ เวนแตสวนที่เปนชองระบายอากาศและชองประตูหนีไฟ
และตองมีอากาศถายเทจากภายนอกอาคารไดโดยแตละชัน้ ตองมีชอง
ระบายอากาศที่เปดสูภายนอกอาคารไดมีพนื้ ที่รวมกันไมนอยกวา
1.40 ตารางเมตร กับตองมีแสงสวางใหเพียงพอทั้งกลางวันและ
กลางคืน
ขอ 31 ประตูหนีไฟตองทําดวยวัสดุทนไฟ มีความกวางสุทธิไมนอยกวา 80
เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร และตองทําเปนบานเปดชนิด
ผลักออกสูภายนอกเทานั้น กับตองติดอุปกรณชนิดที่บังคับใหบาน
ประตูปดไดเอง และตองสามารถเปดออกไดโดยสะดวกตลอดเวลา
ประตูหรือทางออกสูบันไดหนีไฟตองไมมธี รณีหรือขอบกั้น

ขอ 32 พื้นหนาบันไดหนีไฟตองกวางไมนอยกวาความกวางของบันไดและ
อีกดานหนึ่งกวางไมนอยกวา 1.50 เมตร

หนา 64 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(6) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวย
การอนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับบันไดหนีไฟ
และทางหนีไฟเพิ่มเติม ดังนี้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 3 (3) โรงมหรสพประเภท ค และประเภท ง ตองตั้งอยูในตําแหนงที่มีบันได
หนีไฟหรือทางหนีไฟจากโรงมหรสพเพื่อออกสูภายนอกอาคารได
อยางนอยสองทาง และบันไดหนีไฟหรือทางหนีไฟตองมีขีด
ความสามารถในการระบายคนที่ออกจากโรงมหรสพไปสูภายนอก
อาคารไดในระยะเวลาหนึ่งชั่วโมง
(โรงมหรสพประเภท ก หมายความถึง โรงมหรสพที่เปนอาคารเดี่ยว
ซึ่งมีการจัดทีน่ ั่งคนดูในลักษณะยึดติดกับพื้น
โรงมหรสพประเภท ข หมายความถึง โรงมหรสพที่เปนอาคาร
เดี่ยว ซึ่งไมมีการจัดที่นั่งคนดูในลักษณะยึดติดกับพืน้
โรงมหรสพประเภท ค หมายความถึงโรงมหรสพที่ตั้งอยูในอาคารที่
ประกอบกิจการหลายประเภทรวมกัน ซึ่งมีการจัดที่นั่งคนดูใน
ลักษณะยึดติดกับพื้น
โรงมหรสพประเภท ง หมายความถึง โรงมหรสพที่ตั้งอยูในอาคารที่
ประกอบกิจการหลายประเภทรวมกัน ซึ่งไมมีการจัดที่นงั่ คนดูใน
ลักษณะยึดติดกับพื้น
โรงมหรสพประเภท จ หมายความถึง โรงมหรสพที่ตั้งอยูกลางแจงซึ่ง
มีรั้วที่ถาวรหรือมีลักษณะมั่นคงแข็งแรงกั้นขอบเขตโรงมหรสพและมี
พื้นที่ภายในขอบเขตโรงมหรสพตั้งแต 150 ตารางเมตรขึ้นไป )
ขอ 23 อาคารใดที่มีโรงมหรสพตั้งอยูตั้งแตชั้นทีส่ องขึ้นไป ตองจัดใหมี
บันไดหนีไฟใหเปนไปตามกฎกระทรวงซึ่งออกตามกฎหมายวา
ดวยการควบคุมอาคารเกี่ยวกับอาคารสูง

หนา 65 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 24 ทางหนีไฟจะตองมีสวนปดลอมที่ไมมีชองใหไฟหรือควันจาก
ภายนอกผานเขามาไดและสวนปดลอมนี้ตองมีอัตราการทนไฟได
ไมนอยกวาสองชั่วโมง และมีประตูหนีไฟซึ่งมีขนาดความกวาง
ระบบระบายอากาศ ระบบอัดลมภายใน แสงสวางจากไฟฟา
ฉุกเฉินและปายบอกทางหนีไฟเชนเดียวกับบันไดหนีไฟตาม
กฎกระทรวงซึ่งออกตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
เกี่ยวกับอาคารสูง
ขอ 28 โรงมหรสพจะตองจัดใหมีประตูทางออกที่สามารถเปดออกได
โดยสะดวกตลอดเวลาที่มีคนดูอยูขางใน
ขอ 34 โรงมหรสพจะตองมีจํานวนทางออกหรือประตูทางออก
ดังตอไปนี้
(1) โรงมหรสพที่มีความจุคนไมเกินหาสิบคน ตองมีทางออก
หรือประตูทางออกไมนอยกวาสองแหง
(2) โรงมหรสพที่มีความจุคนตั้งแตหาสิบเอ็ดคนถึงสองรอยหา
สิบคนตองมีทางออกหรือประตูทางออกไมนอยกวาสามแหง
(3) โรงมหรสพที่มีความจุคนตั้งแตสองรอยหาสิบเอ็ดคนถึงหก
รอยคน ตองมีทางออกหรือประตูทางออกไมนอยกวาสี่แหง
(4) โรงมหรสพที่มีความจุคนตั้งแตหกรอยเอ็ดคนขึ้นไป
ตองมีทางออกหรือประตูทางออกไมนอยกวาหาแหง 
โรงมหรสพที่มีการจัดที่นั่งคนดูในพื้นชั้นลอยใหมีการจัด
ทางออกหรือประตูทางออกตามจํานวนทีก่ ําหนดไวในวรรคหนึ่งใน
พื้นชั้นลอยดังกลาวดวย ทางออกหรือประตูทางออกของโรงมหรสพ
ที่ตั้งอยูดานขางจะตองตรงกับแนวทางเดินตามแนวขวางของโรง
มหรสพตามขอ 31 วรรคสาม
ในกรณีที่โรงมหรสพมีทางออกหรือประตูทางออกสองแหง
ประตูทางออกตองมีระยะไมนอยกวาครึ่งหนึ่งของเสนทแยงมุมที่ยาว
ที่สุดของโรงมหรสพ

หนา 66 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ในกรณีทโี่ รงมหรสพมีทางออกหรือประตูทางออกตั้งแตสามแห
งขึ้นไปตองจัดใหมีทางออกหรือประตูทางออกที่ผนังโรงมหรสพสา
มดานยกเวนผนังดานหลังจอรับภาพและทางออกหรือประตูทางออก
อยางนอยสองแหงตองมีระยะหางจากทางออกหรือประตูทางออกอื่น
ไมนอยกวาครึ่งหนึ่งของเสนทแยงมุมทีย่ าวที่สุดของโรงมหรสพ
ในกรณีทโี่ รงมหรสพมีเวทีการแสดงจะตองมีทางออกหรือประตู
ทางออกดานหลังเวทีเพิ่มอีกอยางนอยหนึ่งแหง
เพื่อประโยชนในการคํานวณจํานวนทางออกหรือประตูทางออก
ตามขอนี้ในกรณีของโรงมหรสพที่ไมมีการจัดที่นั่งคนดู
อัตราสวนหนึง่ คนตอพื้นที่ 0.60 ตารางเมตร
ขอ 35 โรงมหรสพที่ตั้งอยูตั้งแตชั้นที่สองขึ้นไปเวนแตโรงมหรสพ
ประเภท จ ตองมีระยะหางเมื่อวัดตามแนวทางเดิน ดังตอไปนี้
(1) ประตูทางออกจากโรงมหรสพทุกบานจะตองมีระยะหางจาก
บันไดหนีไฟหรือทางหนีไฟไมเกิน 45.00 เมตร
(2) ที่นั่งทุกที่นั่งจะตองมีระยะหางจากบันไดหนีไฟหรือทางหนี
ไฟไมเกิน 60.00 เมตร
โรงมหรสพที่ตั้งอยูระดับพื้นดินประตูทางออกจากโรง
มหรสพทุกบานจะตองเปดออกสูภายนอกอาคารโดยตรง หากไม
สามารถเปดออกสูภายนอกโดยตรงตองอยูหางจากทางออกสูภายนอก
อาคารไมเกิน 45.00 เมตร เมื่อวัดตามแนวทางเดิน
ขอ 37 ประตูทางออกจากโรงมหรสพจะตองมีลักษณะ ดังตอไปนี้
(1) เปนบานประตูซึ่งเปดออกสูภายนอก และเมือ่ เปดออก
แลวจะตองไมกีดขวางทางเดินหรือบันไดหรือชานพักบันได
(2) บานประตูตองมีอัตราการทนไฟไดไมนอยกวาหนึ่งชั่วโมง
เวนแตโรงมหรสพประเภท จ
(3) เหนือประตูตองมีปายบอกทางหนีไฟดวยตัวอักษรวา
“ทางออก” พรอมดวยสัญลักษณทางหนีไฟที่สามารถมองเห็นได
ชัดเจนตลอดเวลา โดยตัวอักษรจะตองมีขนาดตัวอักษรสูงไมนอยกวา

หนา 67 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
15 เซนติเมตร
(1) มีความกวางสุทธิไมนอยกวา 1.50 เมตร สูงไมนอยกวา 2.00
เมตร และขนาดความกวางของทุกประตูรวมกันตองเปนไปตาม
จํานวนที่นั่งคนดูในอัตราสวน 1 เซนติเมตรตอจํานวนที่นั่งคนดูหนึ่ง
คน
(2) เมื่อเปดออกสูบันไดหนีไฟโดยตรงจะตองมีชานพักขนาด
ความกวางสุทธิดานละไมนอยกวา 1.50 เมตร อยูหนาประตูทางออก
จากโรงมหรสพ เวนแตโรงมหรสพประเภท จ
(3) ตองไมมีธรณีประตูหรือขอบกั้น ทั้งนี้ พืน้ บริเวณหนา
ประตูทางออกจากโรงมหรสพหากจะมีระดับพื้นดานนอกและดาน
ในอยูตางระดับกันใหระดับพื้นดานนอกอยูต่ํากวาพื้นดานในไดไม
เกิน 2.50 เซนติเมตร

ขอ 38 ทางออกจากโรงมหรสพจะตองมีลักษณะ ดังตอไปนี้


(1) เหนือทางออกตองมีปายบอกทางหนีไฟดวยตัวอักษรวา
“ทางออก” พรอมดวยสัญลักษณทางหนีไฟที่สามารถมองเห็นได
ชัดเจนตลอดเวลา โดยตัวอักษรจะตองมีขนาดตัวอักษรสูงไมนอยกวา
15 เซนติเมตร
(2) มีความกวางสุทธิไมนอยกวา 1.50 เมตร สูงไมนอยกวา 2.00 เมตร
และขนาดความกวางของทางออกทุกแหงรวมกันตองเปนไปตาม
จํานวนที่นั่งคนดูในอัตราสวน 1 เซนติเมตรตอจํานวนที่นั่งคนดูหนึ่ง
คน
(3) ตองไมมีธรณีประตูหรือขอบกั้น ทั้งนี้ พื้นบริเวณหนาทางออก
จากโรงมหรสพ หากจะมีระดับพื้นดานนอกและดานในอยูตางระดับ
กันใหระดับพืน้ ดานนอกอยูต่ํากวาพื้นดานในไดไมเกิน 2.50
เซนติเมตร

หนา 68 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 39 โรงมหรสพประเภท ก ประเภท ข และประเภท จ จะตองมี
ทางเดินภายนอกโดยรอบอาคารโรงมหรสพ ซึ่งไมมีสิ่งกีดขวางและมี
ความกวางสุทธิไมนอยกวา 2.00 เมตร
ขอ 40 โรงมหรสพประเภท ค และประเภท ง จะตองมีทางเดินภายนอก
โดยรอบซึ่งไมมีสิ่งกีดขวางและมีความกวางสุทธิไมนอยกวา 2.00
เมตร โดยทางเดินโดยรอบดังกลาวจะตองเชื่อมตอกับบันไดหนีไฟ
หรือทางหนีไฟ
ในกรณีที่โรงมหรสพตามวรรคหนึ่งมีหลายโรงในบริเวณ
เดียวกันและมีทางเดินภายนอกที่ใชรวมกัน ทางเดินภายนอกที่ใชรวม
กันดังกลาวจะตองไมมีสิ่งกีดขวาง และมีความกวางสุทธิไมนอยกวา
3.00 เมตร

(7) ตรวจสอบความเหมาะสมและเพียงพอของชนิด ขนาด จํานวนและตําแหนงของบันไดกับผูใช


อาคาร และจํานวนตองไมลดลงตลอดทิศทางการหนีไฟ
(8) ตรวจสอบความตอเนื่อง และเปนพื้นที่ปลอดภัยที่สามารถใชหนีไฟออกสูนอกอาคารได
อยางปลอดภัย
(9) สภาพและความมั่นคงแข็งแรงของขั้นบันได วัสดุผิวพื้นบันไดตองเรียบและไมลื่น ความ
สม่ําเสมอของขนาดขั้นบันได และมีชานพักทุกระดับความสูงไมเกิน 3 เมตร
(10) สภาพและความมั่นคงแข็งแรง ของราวจับ และราวกันตก ความเหมาะสมของวัสดุที่ใชทํา
ราวจับ
(11) ตรวจสอบการระบายอากาศในชองบันไดกรณีเปนบันไดหนีไฟภายในอาคาร โดยชองระบาย
อากาศตองเปดอยางถาวร และตองอยูหางจากชองเปดของอาคารที่อาจจะนําควันไฟเขาสู
บันไดได
(12) ความเหมาะสมและเพียงพอของขนาดและจํานวนประตูทางออก เสนทางออก เสนทางหนีไฟ
โดยที่ขนาดและจํานวนตองไมลดลงตลอดทิศทางการหนีไฟ

หนา 69 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(13) สภาพผิว ขนาด ความลาดเอียง และความมั่นคงแข็งแรงของทางลาดที่เปนสวนประกอบใน


เสนทางหนีไฟ
(14) ความสองสวางของแสงไฟในชองบันไดและบนเสนทางหนีไฟ
(15) อุปสรรคกีดขวางตลอดเสนทางจนถึงเสนทางออกสูภายนอกอาคาร
(16) การปด – เปด ประตูตลอดเสนทาง ตามทิศทางการอพยพ
(17) ตรวจสอบสภาพประตู ห นี ไ ฟ และอุ ป กรณ ป ระกอบของประตู เช น วงกบ บานพั บ
อุปกรณบังคับปดเองโดยอัตโนมัติ( Door closer ) Magnetic Door Holder  ธรณีประตู
กานผลัก ( Panic bar หรือ Push bar ) ประตูหนีไฟตองไมล้ํากีดขวางเขาไปในทางสัญจร
ในชองบันได
(18) ตรวจสอบการปองกันควันไฟเขาสูชองบันได โถงกันควัน ( Smoke lobby ) และระบบอัด
อากาศในชองบันไดหนีไฟ
(19) ตรวจสอบการปดลอมแบงพื้นที่ปองกันไฟของอาคารบริเวณโถง เสนทางหนีไฟ ชองทอ
และชองเปดตาง ๆ
(20) การจัดเตรียมทางไปสูทางหนีไฟ และบันไดหนีไฟอยูในพื้นที่เหมาะสม ไมผานพื้นที่ที่อาจมี
การปดกั้น หรือเปนทางตัน หรือมีวัตถุอันตราย
(21) ตรวจสอบพื้นที่หลบภัยสําหรับรองรับผูอพยพในกรณีฉุกเฉิน สําหรับอาคารที่มีผูใชสอย
จํานวนมากเกินกวาจํานวนบันไดหนีไฟที่มีอยูจะรองรับได
(22) ทางปลอยออกจากทางหนีไฟสูภายนอกอาคาร หรือพื้นที่ปลอดภัย
(23) ตรวจสอบประตูหนีไฟตองสามารถเปดออกไดจากภายในอาคาร และสามารถเปดกลับเขาสู
อาคารไดตลอดเวลา
(24) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง การซอมอพยพ มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรอง
การตรวจสอบ การทดสอบ และการซอมอพยพในอดีตที่ผานมา

หนา 70 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8.1.4.2 เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของประเภท จํานวน ขนาด ตําแหนง
(2) ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน ดังนี้
ตองมีปายบอกชั้นและปายบอกทางหนีไฟที่ดานในและดานนอกของประตูหนีไฟทุกชั้น
ดวยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนโดยตัวอักษรตองมีขนาดไมเล็กกวา 10เซนติเมตร
(3) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวย
การอนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคาร
เพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม
อาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับ
เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉินเพิ่มเติม ดังนี้ 
 
กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 25 โรงมหรสพประเภท ก และประเภท ค ตองมีแสงไฟทางเดิน
ระหวางแถวทีน่ ั่งเพื่อใหแสงสวางตลอดความยาวของทางเดินระหวาง
แถวที่นั่งหรือทางเดินแตละขั้นในกรณีที่ทาํ เปนขั้นบันได
ขอ 26 แนวทางเดินภายในโรงมหรสพตองมีปายบอกทางหนีไฟทีเ่ ห็น
ไดชัดเจนตลอดเวลาไปสูบันไดหนีไฟหรือทางหนีไฟไดโดยสะดวก
ขอ 37 (3) (3) เหนือประตูตองมีปายบอกทางหนีไฟดวย
ตัวอักษรวา“ทางออก” พรอมดวยสัญลักษณทางหนีไฟทีส่ ามารถ
มองเห็นไดชัดเจนตลอดเวลา โดยตัวอักษรจะตองมีขนาดตัวอักษรสูง
ไมนอยกวา 15 เซนติเมตร
ขอ 38 (1) ทางออกจากโรงมหรสพจะตองมีลักษณะ ดังตอไปนี้
(1) เหนือทางออกตองมีปายบอกทางหนีไฟดวยตัวอักษรวา
“ทางออก” พรอมดวยสัญลักษณทางหนีไฟที่สามารถมองเห็นได
ชัดเจนตลอดเวลา โดยตัวอักษรจะตองมีขนาดตัวอักษรสูงไมนอยกวา
15 เซนติเมตร

หนา 71 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(4) ตรวจสอบความเหมาะสม เพียงพอของชนิด จํานวน ขนาด ตําแหนง การสื่อความหมาย


และการแสดงทิศทางเพื่อนําไปสูทางหนีไฟ
(5) สภาพและการทํางานของเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉินในเสนทางหนีไฟ และที่
บริเวณดานในและดานนอกของบันไดหนีไฟ
(6) สภาพและการทํางานของไฟสองสวางฉุกเฉินบริเวณเครื่องหมายทางออกฉุกเฉินที่ไมมีแสง
สวางในตัว
(7) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง การซอมอพยพ มีรายงานการตรวจสอบมีใบรับรองการ
ตรวจสอบ การทดสอบ และการซอมอพยพในอดีตที่ผานมา

8.1.4.3 ระบบระบายควันและควบคุมการแพรกระจายควัน
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของระบบประเภท จํานวน ขนาด ตําแหนงของระบบ
ควบคุมการแพรกระจายควัน ประกอบดวย
(ก) ระบบอัดอากาศในชองบันไดหนีไฟ ( Staircase pressurization system )
(ข) ระบบอัดอากาศในปลองลิฟตหรือโถงลิฟตดับเพลิง ( Elevator shaft pressurization
system )
(ค) ระบบระบายควันสําหรับพื้นที่จํากัดขอบเขต (Zone smoke control system )
(ง) ระบบระบายควันสําหรับพื้นที่โถงโลงตอเนื่องขนาดใหญ ( Atrium smoke control
system )
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 50 (พ.ศ.2540 ) แกไขเพิ่มเติม
กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบระบาย
ควันและควบคุมการแพรกระจายควันของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

หนา 72 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง50(พ.ศ.2540 )
แกไขเพิม่ เติมฉบับที่ 33 ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย
(พ.ศ.2535 )
ขอ 11 ใหเพิ่มความ อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่มีโถงภายในอาคารเปนชองเปด
ตอไปนี้เปนขอ 10 ทวิ แหง ทะลุพื้นของอาคารตั้งแตสองชั้นขึ้นไปและไมมีผนังปดลอม ตองจัดใหมี
กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 ระบบควบคุมการแพรกระจายของควันที่สามารถทํางานไดโดยอัตโนมัติ
(พ.ศ. 2533) เมื่อเกิดเพลิงไหม ทั้งนี้ เพื่อระบายควันออกสู
ภายนอกอาคารไดอยางรวดเร็ว

ขอ 8 ใหเพิ่มความตอไปนี้ อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองจัดใหมีผนังและประตูที่ทําดวย


เปนขอ 8 ทวิ แหง วัสดุทนไฟที่สามารถปดกั้นมิใหเปลวไฟหรือควันเมื่อเกิดเพลิงไหมเขา
กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 ไปในบริเวณบันไดที่มิใชบนั ไดหนีไฟของอาคาร ทั้งนี้ ผนังหรือประตู
(พ.ศ. 2533) ดังกลาวตองสามารถทนไฟไดไมนอยกวา 1 ชั่วโมง

(3) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวยการ
อนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบระบายควัน
และควบคุมการแพรกระจายควันเพิ่มเติม ดังนี ้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 36 โรงมหรสพที่ตั้งอยูในอาคารตั้งแตสองชั้นขึ้นไปที่มีโถงภายใน
อาคารเปนชองเปดและไมมีผนังปดลอมตองติดตั้งระบบควบคุมการ
แพรกระจายของควันและระบบระบายควันในบริเวณดังกลาวที่
สามารถทํางานไดโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดเพลิงไหม

หนา 73 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(4) ตรวจสอบความเหมาะสม เพียงพอของชนิด ขนาด จํานวน และตําแหนงของระบบอุปกรณ


ควบคุม
(5) ตรวจสอบสภาพของระบบควบคุมการทํางาน และอุปกรณในระบบ
(ก) สภาพอุปกรณในบริเวณที่เปนโถงโลงในอาคาร (Atrium)
(ข) สภาพอุปกรณในบริเวณโถงลิฟตและชองบันไดหนีไฟ
(ค) สภาพอุปกรณในบริเวณเสนทางหนีไฟ ทางผานหนีไฟ พื้นที่หลบภัย
(ง) สภาพอุปกรณในพื้นที่อื่น ๆ ของอาคารที่ตองการใหปลอดควันไฟ
(จ) สภาพพัดลมและมอเตอรในระบบอัดอากาศ
(ฉ) สภาพทอลมและชองจายลมของระบบอัดอากาศ
(ช) สภาพชองระบายควันและแผนปรับลมกันไฟและควัน ( Fire and smoke damper )
(6) ตรวจผลการทดสอบการทํางานของระบบวาสามารถใชไดทันที่ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทั้งแบบ
อัตโนมัติ และแบบที่ใชมือ รวมทั้งสามารถทํางานไดตอเนื่อง โดยไมหยุดชะงักขณะเกิด
เพลิงไหม
(7) สังเกตการรั่วไหลของอากาศภายในชองบันไดแบบปดทึบที่มีระบบพัดลมอัดอากาศรวมทั้ง
การออกแรงผลักประตูเขาบันไดขณะพัดลมอัดอากาศทํางาน
(8) ตรวจชองเปด เพื่อการระบายควันจากชองบันไดและอาคาร รวมถึงชองลมเขาเพื่อเติมอากาศ
เขามาแทนที่ดวย
(9) การปองกันการแพรกระจายควันของชองวางชองเปด แนวนอน และแนวดิ่งระหวางชั้น เชน
ชองวางเหนือเพดาน ประตู ชองทางเดิน ชองทองานระบบ ชองลิฟต ปลองโถงบันได
(10) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

หนา 74 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8.1.4.4 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของระบบประเภท จํานวน ขนาด ตําแหนง
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉินของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ
ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 14 อาคารสูงหรืออาคารใหญพิเศษตองมีระบบจายพลังงานไฟฟาสํารอง
สําหรับกรณีฉกุ เฉินแยกเปนอิสระจากระบบอื่น และสามารถทํางาน
ไดโดยอัตโนมัติเมื่อระบบจายไฟฟาปกติหยุดทํางาน
แหลงจายพลังงานไฟฟาสํารองสําหรับกรณีฉุกเฉินตามวรรคหนึ่ง
ตองสามารถจายพลังงานไฟฟาไดเพียงพอตามหลักเกณฑดังตอไปนี้
(1) จายพลังงานไฟฟาเปนเวลาไมนอยกวาสองชั่วโมงสําหรับ
เครื่องหมายแสดงทางฉุกเฉิน ทางเดิน หองโถง บันได และระบบ
สัญญาณเตือนเพลิงไหม
(2) จายพลังงานไฟฟาตลอดเวลาที่ใชงานสําหรับลิฟตดับเพลิง เครื่อง
สูบน้ําดับเพลิง หองชวยชีวิตฉุกเฉิน ระบบสื่อสาร เพื่อความปลอดภัย
ของสาธารณะและกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมที่จะกอใหเกิด
อันตรายตอชีวติ หรือสุขภาพอนามัยเมื่อกระแสไฟฟาขัดของ

หนา 75 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวยการ
อนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบไฟฟสํารอง
ฉุกเฉินเพิ่มเติม ดังนี้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 18 โรงมหรสพหรืออาคารที่ตั้งโรงมหรสพตองมีระบบจายพลังงาน
ไฟฟาสํารองสําหรับเครื่องหมายแสดงทางฉุกเฉิน ทางเดิน บันได
บันไดหนีไฟ ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหมและไฟสองสวางสําหรับ
ทางเดิน หองโถง บันได บันไดหนีไฟแยกเปนอิสระจากระบบไฟฟา
ปกติครอบคลุมพื้นที่โรงมหรสพถึงบันไดหนีไฟ และสามารถ
ทํางานไดโดยอัตโนมัติไมนอยกวาหนึ่งชัว่ โมง เมื่อระบบจายพลังงาน
ไฟฟาปกติหยุดทํางาน เวนแตโรงมหรสพประเภท จ
โรงมหรสพประเภท จ ตองมีระบบจายพลังงานไฟฟาสํารอง
สําหรับเครื่องหมายแสดงทางฉุกเฉินและทางเดินแยกเปนอิสระจาก
ระบบไฟฟาปกติครอบคลุมพื้นที่โรงมหรสพและสามารถทํางานได
โดยอัตโนมัตไิ มนอยกวาหนึ่งชั่วโมงเมื่อระบบจายพลังงานไฟฟาปกติ
หยุดทํางาน

(4) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิด ขนาด จํานวน และตําแหนงของระบบอุปกรณ


(5) ตรวจสอบสภาพอุปกรณ พรอมระบบอุปกรณควบคุมการทํางาน
(ก) สภาพทั่วไปของเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง ( Generator ) ขนาดพิกัดของเครื่อง การตั้งการ
ทํางานไวแบบอัตโนมัติ
(ข) สภาพและความพรอมของแบตเตอรี่เพื่อสตารทเครื่องยนต

หนา 76 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ค) สภาพและความพรอมของเครื่องยนต ระบบจายน้ํามันเชื้อเพลิงเครื่องยนต ปริมาณน้ํามันในถัง


น้ํามันเชื้อเพลิง ( Day tank ) และปริมาณน้ํามันสํารอง
(ง) การทํางานของระบบควบคุมทั้งแบบอัตโนมัติ และแบบใชมือ
(จ) การระบายอากาศของหองเครื่องขณะเครื่องยนตทํางาน
(6) ตรวจสสอบการจายกระแสไฟฟาสําหรับอุปกรณหรือระบบในวงจรชวยเหลือชีวิต และระบบที่
สําคัญอื่น ๆ เชน ระบบลิฟตดับเพลิง ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม ระบบระบายควันและ
ควบคุมการแพรกระจายควัน ระบบอัดอากาศในชองบันไดหนีไฟ เครื่องสูบน้ําดับเพลิง
ระบบระบายอากาศ ระบบแสงสวางในบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(7) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา มีการตรวจการทํางานโดยจําลองการเกิดไฟฟาดับ การตรวจการทํางาน
ของสวิตชสับเปลี่ยนอัตโนมัติ ( ATS) รวมทั้งการทํางานของแบตเตอรี่ ควรมีรายงาน
ทุกเดือน และตองมีรายงานการทดสอบเดินเครื่องทุกสัปดาห
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.4.5 ระบบลิฟตดับเพลิง
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของระบบประเภท จํานวน ขนาด ตําแหนง
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบลิฟตดับเพลิงของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

หนา 77 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 15 กระแสไฟฟาที่ใชกับลิฟตดับเพลิงตองตอจากแผงสวิตชประธาน
ของอาคารเปนวงจรทีแ่ ยกเปนอิสระจากวงจรทั่วไป

วงจรไฟฟาสํารองสําหรับลิฟตดับเพลิงตองมีการปองกันอันตราย
จากเพลิงไหมอยางดีพอ
ขอ 28 อาคารสูงตองจัดใหมีชองทางเฉพาะสําหรับบุคคลภายนอกเขาไป
บรรเทาสาธารณภัยที่เกิดในอาคารไดทุกชัน้ ชองทางเฉพาะนีจ้ ะเปน
ลิฟตดับเพลิงหรือชองบันไดหนีไฟก็ได และทุกชั้นตองจัดใหมีหอง
วางที่มีพื้นทีไ่ มนอยกวา 6.00 ตารางเมตร ติดตอกับชองทางนี้ และ
เปนบริเวณที่ปลอดจากเปลวไฟและควันเชนเดียวกับชองบันไดหนี
ไฟ และเปนทีต่ ั้งของตูหัวฉีดน้ําดับเพลิงประจําชั้นของอาคาร
ขอ 43 ลิฟตโดยสารและลิฟตดับเพลิงแตละชุดที่ใชกับอาคารสูงใหมีขนาด
มวลบรรทุกไมนอยกวา 230 กิโลกรัม
ขอ 44 อาคารสูงตองมีลิฟตดับเพลิงอยางนอยหนึง่ ชุด ซึ่งมีรายละเอียดอยาง
นอยดังตอไปนี้
(1) ลิฟตดับเพลิงตองจอดไดทุกชั้นของอาคาร และตองมีระบบ
ควบคุมพิเศษสําหรับพนักงานดับเพลิงใชขณะเกิดเพลิงไหม
โดยเฉพาะ
(2) บริเวณหองโถงหนาลิฟตดับเพลิงทุกชั้นตองติดตั้งตูสายฉีดน้ํา
ดับเพลิงหรือหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงและอุปกรณดับเพลิงอื่น ๆ
(3) หองโถงหนาลิฟตดับเพลิงทุกชั้นตองมีผนังหรือประตูที่ทําดวย
วัตถุทนไฟปดกั้นมิใหเปลวไฟหรือควันเขาได มีหนาตางเปดออกสู
ภายนอกอาคารไดโดยตรง หรือมีระบบอัดลมภายในหองโถงหนา
ลิฟตดับเพลิงทีมีความดันลมขณะใชงานไมนอยกวา 3.86 เมกะปาส
กาลมาตร และทํางานไดโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดเพลิงไหม
(4) ระยะเวลาในการเคลื่อนที่อยางตอเนื่องของลิฟตดับเพลิงระหวาง
ชั้นลางสุดกับชั้นบนสุดของอาคารตองไมเกินหนึ่งนาที
ทั้งนี้ ในเวลาปกติลิฟตดับเพลิงสามารถใชเปนลิฟตโดยสารได

หนา 78 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) การตรวจสอบตามเกณฑมาตรฐาน
(4) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิด ขนาด จํานวน และตําแหนงของระบบอุปกรณ
(5) ตรวจสอบสภาพอุปกรณ พรอมระบบอุปกรณควบคุมการทํางาน
(ก) ตรวจสอบตามเกณฑทั่วไปของลิฟต
(ข) ตรวจสอบสภาพโถงปลอดควันไฟ รวมทั้งผนัง ชองเปดตาง ๆ และประตู
(ค) ตรวจสอบอุป กรณร ะบบป อ งกั น อั คคี ภั ย ต า ง ๆ ภายในโถงปลอดควั น ไฟ ได แก
อุปกรณดับเพลิง ตูสายฉีดน้ําดับเพลิงหรือหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิง
(ง) ตรวจสอบการปองกันน้ําไหลลงสูชองลิฟต ( ถามี )
(จ) ตรวจสอบการทํางานของลิฟตดับเพลิง รวมทั้งสัญญาณกระตุนจากระบบแจงเหตุ
เพลิงไหม และการทํางานของระบบอัดอากาศ (ถามี)
(6) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.4.6 การตรวจสอบระบบแจงเหตุเพลิงไหม
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของระบบชนิด จํานวน ตําแหนงของอุปกรณ
(2) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้น
ต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบแจงเหตุเพลิงไหมของอาคารสูง หรือ อาคารขนาดใหญพิเศษ
ดังนี้

หนา 79 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 16 ในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพเิ ศษตองมีระบบสัญญาณเตือน
เพลิงไหมทุกชัน้ ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหมอยางนอยตอง
ประกอบดวย
(1) อุปกรณสงสัญญาณเพื่อใหหนีไฟที่สามารถสงเสียงหรือสัญญาณ
ใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือทราบอยางทั่วถึง
(2) อุปกรณแจงเหตุที่มีทั้งระบบแจงเหตุอัตโนมัติและระบบแจงเหตุที่
ใชมือเพื่อใหอปุ กรณตาม (1) ทํางาน

(3) กรณีเปนอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ


ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารกอนวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ รวมทั้งกรณีไมเขาขายเปน
อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ แตเขาขายเปนอาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ
โรงแรม สถานบริการ อาคารชุด อาคารอยูอาศัยรวม และโรงงาน ตรวจสอบตามเกณฑ
ขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบแจงเหตุเพลิงไหมตาม กฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540 )
ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540 )
ขอ 5(4) (4) ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหมทกุ ชั้น โดยระบบสัญญาณ
เตือนเพลิงไหมอยางนอยตองประกอบดวย
(ก) อุปกรณสง สัญญาณเพื่อใหหนีไฟที่สามารถสงเสียงหรือ
สัญญาณใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือทราบอยางทั่วถึง
(ข) อุปกรณแจงเหตุที่มีทั้งระบบแจงเหตุอตั โนมัติ และระบบ
แจงเหตุที่ใชมอื เพื่อใหอุปกรณตาม (ก) ทํางาน

หนา 80 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(4) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวยการ
อนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบสัญญาณ
เตือนเพลิงไหมเพิ่มเติม ดังนี้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 19 โรงมหรสพ เวนแตโรงมหรสพประเภท จ ตองมีระบบ
สัญญาณเตือนเพลิงไหมซึ่งอยางนอยตองประกอบดวย
(1) อุปกรณสงสัญญาณเพื่อใหหนีไฟที่สามารถสงเสียงสัญญาณ
ใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือทราบอยางทั่วถึง
(2) อุปกรณแจงเหตุที่มีทั้งระบบแจงเหตุอัตโนมัติและระบบแจง
เหตุที่ใชมือเพือ่ ใหอุปกรณตาม (1) ทํางาน

ในกรณีที่เปนโรงมหรสพประเภท ค หรือโรงมหรสพประเภท ง ซึ่ง


ตั้งอยูในอาคารขนาดใหญ อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ
ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหมของโรงมหรสพจะตองตอเชื่อมเขากับ
ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหมของอาคารดังกลาวดวย
(5) ตรวจสอบสภาพอุปกรณ พรอมระบบอุปกรณควบคุมการทํางานของแผงควบคุมระบบ
แจงเหตุเพลิงไหม ( Fire Alarm Control Panel : FCP )
(ก) ตรวจสอบตําแหนงของแผงควบคุมระบบแจงเหตุเพลิงไหม และตําแหนงของแผง
แสดงผลเพลิงไหม ( Annunciator Panel )
(ข) ตรวจสอบแหลงจายไฟฟาใหแผงควบคุม
(ค) ตรวจสอบการแสดงผลขณะปกติ และเมื่ออุปกรณระบบขัดของไมพรอมใชงาน

หนา 81 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ง) ตรวจสอบความพรอมในการแจงเหตุทั้งแบบอัตโนมัติและแบบใชมือระบบแจงเหตุ
เพลิงไหม
(จ) ตรวจสอบการเชื่อมโยงกับระบบดับเพลิง และระบบฉุกเฉินตาง ๆ และความพรอม
ของของอุปกรณระบบฉุกเฉินตาง ๆ ที่ใชสัญญาณกระตุนระบบแจงเหตุเพลิงไหม
(ฉ) ตรวจสอบขั้นตอนการแจงเหตุอัตโนมัติ และชวงเวลาแตละขั้นตอน
(6) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิดอุปกรณตรวจจับเพลิงไหมอัตโนมัติในแตละหองหรือ
พื้นที่ โดยอาจพิจารณาความเหมาะสมของอุปกรณตามลักษณะการใชงานของอุปกรณได
ดังนี้
(ก) อุปกรณตรวจจับควันชนิดไอออนไนเซชั่น (Ionization smoke detector) เหมาะ
สําหรับใชตรวจจับสัญญาณควันในระยะเริ่มตนที่มีอนุภาคของควันเล็กมาก
(ข) อุปกรณตรวจจับควันชนิดโฟโตอิเลคตริก (Photoelectric smoke detector) เหมาะ
สําหรับใชตรวจจับสัญญาณควันในระยะที่มีอนุภาคของควันที่ใหญขึ้น ทํางานโดยใช
หลักการสะทอนของแสง
(ค) อุปกรณตรวจจับความรอนชนิดจับอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ (Rate-of-rise heat
detector) ทํ า งานเมื่ อมี อั ต ราการเพิ่ ม ของอุ ณ หภูมิ เ ปลี่ ย นแปลงไปตั้ งแต 10 องศา
เซลเซียส ใน 1 นาที
(ง) อุปกรณตรวจจับความรอนชนิดจับอุณหภูมิคงที่ ( Fixed temperature heat detector)
ทํางาน เมื่ออุณหภูมิของ Sensors สูงถึงจุดที่กําหนดไวซึ่งมีตั้งแต 60 องศาเซลเซียส
ไปจนถึง 150 องศาเซลเซียส อาศัยหลักการของโลหะสองชนิด เมื่อถูกความรอนแลว
มีสัมประสิทธิ์การขยายตัวแตกตางกัน
(จ) อุปกรณตรวจจับความรอนชนิดรวม (Combination heat detector) ตรวจจับความ ร
อนที่เกิดไดทั้งแบบอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ และแบบจับอุณหภูมิคงที่
(ฉ) อุปกรณตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector)ใชในบริเวณพื้นที่อันตรายและมีความ
เสี่ยงในการเกิดเพลิงไหมสูง ทํางานโดยการตรวจจับความถี่คลื่นแสงในยานอุลตรา
ไวโอเล็ทซึ่งมีความยาวคลื่นอยูในชวง 0.18-0.36 ไมครอนที่แผออกมาจากเปลวไฟ
(7) ตรวจสอบตําแหนงของอุปกรณตรวจจับเพลิงไหมอัตโนมัติ และครอบคลุมครบถวนที่
กําหนด อาจพิจารณาตําแหนงของอุปกรณไดตามตารางที่ 2 ดังนี้

หนา 82 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

ตารางที่ 2 แสดงตําแหนงของอุปกรณตรวจจับเพลิงไหมอัตโนมัติ
ชนิดของอุปกรณ พื้นที่การตรวจจับ ระยะหางระหวาง ความสูงเพดาน
(ตารางเมตร) อุปกรณ (เมตร) (เมตร)
ตรวจจับควัน 150 9 0.4
75 4.5 4
ตรวจจับความรอน 70 6 0.4
35 3 4.9

(8) ตรวจสอบตําแหนงและระยะหางระหวางอุปกรณแจงเหตุดวยมือหรือแจงเหตุดวยแสง
ครอบคลุมครบถวนตามที่กําหนด อาจพิจารณาตําแหนงของอุปกรณได ดังนี้
(ก) งายตอการสังเกต ไมมีอุปสรรคกีดขวาง
(ข) ตําแหนงที่ติดตั้งควรอยูใกลบริเวณทางออก ทางหนีไฟ ที่สามารถมองเห็นไดชัดเจน
(ค) ระดับติดตั้งสะดวกในการกดแจงเหตุ (สูงจากพื้น 1.1-1.5 เมตร)
(ง) กรณีระบบแบงโซนไวมากกวา 5 โซน ควรมีแจ็คโทรศัพทเพื่อใชติดตอ ระหวางเจา
หนาที่บริเวณที่เกิดเหตุกับหองควบคุมของอาคาร เพื่อรายงานสถานะการณและสั่ง
ใหเปดสวิทซ ใหกระดิ่งดังทุกโซน (General alarm )
(9) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM )
ตามกําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.4.7 การตรวจสอบอุปกรณดับเพลิง
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของชนิด จํานวน ขนาด ตําแหนงที่ติดตั้งเครื่อง
ดับเพลิงแบบมือถือ ซึ่งการเลือกใชชนิดของเครื่องดับเพลิงแบบมือถือตองเหมาะสมกับ
ประเภทของเพลิง ดังนี้
(ก) ประเภท ก ( Class A ) ไดแก เพลิงที่เกิดจากวัสดุติดไฟปกติ เชน ไม ผา กระดาษ
(ข) ยาง และพลาสติก อาจเลือกใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดผงเคมีแหง ( Dry
Chemical ) แบบอเนกประสงค ชนิดโฟม ( Foam ) ชนิดสารสะอาด ( Clean agent )
หรือชนิดหมอกน้ํา ( Water mist )

หนา 83 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ค) ประเภท ข ( Class B ) ไดแก เพลิงที่เกิดจากของเหลวติดไฟ น้ํามันและแกสติดไฟ


ตาง ๆ อาจเลือกใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดผงเคมีแหง ชนิดคารบอนไดออกไซด
( CO2) ชนิดโฟม หรือชนิดสารสะอาด
(ง) ประเภท ค ( Class C ) ไดแก เพลิงที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา อาจเลือกใชเครื่องดับเพลิง
แบบมือถือชนิดผงเคมีแหง ชนิดคารบอนไดออกไซด ( CO2) ชนิดสารสะอาด หรือ
ชนิดหมอกน้ํา
(จ) ประเภท ง ( Class D ) ไดแก เพลิงที่เกิดจากโลหะที่ติดไฟ อาจเลือกใชเครื่องดับเพลิง
แบบมือถือชนิดผงเคมีแหงแบบ Purple - K และ Super – K
(ฉ) ประเภท จ ( Class K ) ไดแก เพลิงที่เกิดจากไขมันพืชหรือสัตวอาจเลือกใชเครื่อง
ดับเพลิงแบบมือถือชนิดผงเคมีแหงแบบโซเดียมไบคารบอนเนตและโปรแตสเซียมไบ
คารบอนเนต และชนิดน้ํายาเคมีดับเพลิง ( Wet Chemical )
(2) กรณีเปนอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ โรงแรม สถาน
บริการ อาคารชุด อาคารอยูอาศัยรวม หรืออาคารโรงงาน ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่
กําหนดเกี่ยวกับอุปกรณดับเพลิง ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540 ) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540 )
ขอ 5 (3) ติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือตามชนิดและขนาดทีก่ ําหนดไวใน
ตารางทายกฎกระทรวงนี้อยางใดอยางหนึง่ สําหรับดับเพลิงที่เกิดจาก
ประเภทของวัสดุที่มีในแตละชั้น โดยใหมี 1 เครื่องตอพื้นที่ไมเกิน
1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไมเกิน 45.00 เมตร แตไมนอยกวาชั้นละ 1
เครื่อง
การติดตั้งเครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือนี้ ตองติดตั้งใหสว นบนสุดของ
ตัวเครื่องสูงจากระดับพืน้ อาคารไมเกิน 1.50 เมตร ในที่มองเห็น
สามารถอานคําแนะนําการใชไดและสามารถเขาใชสอยไดสะดวก
และตองอยูใ นสภาพที่ใชงานไดตลอดเวลา

หนา 84 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวยการ
อนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ 
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับเครื่องดับเพลิง
แบบมือถือเพิ่มเติม ดังนี้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 21 โรงมหรสพนอกจากจะตองมีระบบปองกันเพลิงไหมตามขอ
20 แลวตองติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือหรือเครื่องดับเพลิงยกหิ้ว
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีความสามารถในการปองกัน
อัคคีภัยไดไมนอยกวาความสามารถเทียบเทา 4 A และ10 B และ
มีขนาดบรรจุไมนอยกวา 15 ปอนด หรือ 6.80 กิโลกรัม ดังตอไปนี้
(1) บริเวณที่นงั่ คนดูชั้นลาง
(ก) ติดตั้งไวที่ผนังโรงมหรสพ หลังที่นั่งคนดูแถวหลังสุด อยาง
นอยขางละ 1 เครื่อง
(ข) ติดตั้งไวที่ผนังโรงมหรสพประมาณกึ่งกลางทีน่ งั่ คนดูภายใน
โรงมหรสพอยางนอยขางละ 1 เครื่อง
(ค) ติดตั้งไวที่ผนังโรงมหรสพ หนาที่นั่งคนดูแถวหนาสุด อยาง
นอยขางละ1 เครื่อง
(ง) ติดตั้งไวที่ผนังโรงมหรสพ ดานหลังจอหรือบนเวที อยาง
นอยขางละ 1 เครื่อง
(2) บริเวณที่นงั่ คนดูชั้นบน ติดตั้งไวที่ผนังโรงมหรสพ หนาที่นั่งคนดู
แถวหนาสุดอยางนอยขางละ 1 เครื่อง และหลังที่นั่งคนดูแถวหลังสุด
อยางนอยขางละ 1 เครื่อง
(3) บริเวณหองฉาย ติดตั้งไวอยางนอย 2 เครื่อง

หนา 85 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
สําหรับโรงมหรสพประเภท จ ตองติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบ
มือถือหรือเครื่องดับเพลิงยกหิ้วที่มีมาตรฐานและมีคณ ุ สมบัติในการ
ปองกันอัคคีภยั เชนเดียวกันกับเครื่องดับเพลิงตามวรรคหนึ่งไม
นอยกวา 2 เครื่องตอพื้นที่ไมเกิน1 ,000 ตารางเมตร และเพิ่มขึ้นอีก 1
เครื่องตอพื้นที่ 250 ตารางเมตรที่เพิ่มขึ้น
การติดตั้งเครื่องดับเพลิงตองติดตั้งใหสวนบนสุดของตัวเครื่อง
สูงจากระดับพืน้ อาคารไมเกิน1.50 เมตร ในที่ที่สามารถมองเห็นได
ชัดเจน สามารถอานคําแนะนําการใชไดและสามารถเขาใชสอยได
โดยสะดวก

(4) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิด ขนาด จํานวน ตําแหนงและระยะเขาถึงเครื่องดับเพลิง


แบบมือถือ ในแตละหอง/พื้นที่ และครอบคลุมครบถวน
(5) ตรวจสอบสภาพภายนอกของถังตองสมบูรณไมบุบ เหล็กสลักกานเปดน้ํายาไมถูกดึงออก
สภาพของสายฉีดไมรั่วหรือฉีกขาด และมีความพรอมใชงานเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
(6) กรณีเปนเครื่องดับเพลิงแบบมือถือที่มีมาตรวัด (Pressure gauge) ใหตรวจสอบดูตําแหนง
ของเข็มที่เกจวัดปริมาณสารเคมีในถัง เข็มจะตองชี้ในบริเวณพื้นที่ “สีเขียว”หรือคอนไป
ทาง“สีแดงทางขวา” (Overcharge) เล็กนอย ซึ่งแสดงวาเครื่องดับเพลิงอยูในสภาพปกติ
และพร อ มที่ จ ะนํ า ไปใช ง าน และถ า หากพบว า เข็ ม ชี้ อ ยู  ใ นพื้ น ที่ “สี แ ดงทางซ า ย”
(Recharge) แสดงวาเครื่องดับเพลิงเครื่องนั้นไดมีการนําไปใชงานแลว หรือผิดปกติ จะ
ตองนําไปเติมสารเคมีหรือเปลี่ยนเครื่องดับเพลิงสํารองไปติดตั้งแทน
(7) กรณีเปนเครื่องดับเพลิงที่ไมมีมาตรวัด เชน ชนิดกาซคารบอนไดออกไซดชนิดสะสม
แรงดัน ตรวจสอบโดยการชั่งน้ําหนักเปรียบเทียบกับน้ําหนักบรรจุที่ระบุไว หากน้ําหนัก
ลดลงเหลือนอยกวารอยละ 80 จะตองนําไปเติมหรือเปลี่ยนเครื่องดับเพลิงสํารองไปติดตั้ง
แทน
(8) ตรวจสอบการเขาถึง อุปสรรคกีดขวาง การมองเห็นในระยะไกล

หนา 86 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(9) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้


(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.4.8 การตรวจสอบระบบการจายน้ําดับเพลิง เครื่องสูบน้ําดับเพลิง และหัวฉีดน้ําดับเพลิง


(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของชนิด จํานวน ขนาด ตําแหนง
(2) กรณีเปนอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับ
ใบอนุญาตใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ํา
ที่กําหนดเกี่ยวกับระบบปองกันเพลิงไหมของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 18 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองมีระบบปองกันเพลิงไหมซึ่ง
ประกอบดวยระบบทอยืน ทีเ่ ก็บน้ําสํารอง และหัวรับน้ําดับเพลิง
ดังตอไปนี้
(1) ทอยืนตองเปนโลหะผิวเรียบที่สามารถทนความดันใชงานไดไม
นอยกวา 1.2 เมกะปาสกาลมาตร โดยทอดังกลาวตองทาดวยสีน้ํามันสี
แดงและติดตั้งตั้งแตชั้นลางสุดไปยังชัน้ สูงสุดของอาคาร ระบบทอยืน
ทั้งหมดตองตอเขากับทอประธานสงน้ําและระบบสงน้ําจากแหลงจาย
น้ําของอาคารและจากหัวรับน้ําดับเพลิงนอกอาคาร

พรอมทั้งฝาครอบและโซรอยติดไวทุกระยะหางกันไมเกิน 64.00
เมตร และเมื่อใชสายฉีดน้ําดับเพลิงยาวไมเกิน 30.00 เมตร ตอจากตู
หัวฉีดน้ําดับเพลิงแลวสามารถนําไปใชดับเพลิงในพืน้ ทีท่ ั้งหมดในชั้น
นั้นได

หนา 87 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
(2) ทุกชัน้ ของอาคารตองจัดใหมีตูหวั ฉีดน้าํ ดับเพลิงที่ประกอบดวย
หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงพรอมสายฉีดน้ําดับเพลิงขนาดเสนผาน
ศูนยกลาง 25 มิลลิเมตร (1 นิ้ว) และหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงชนิด
หัวตอสวมเร็วขนาดเสนผานศูนยกลาง 65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) (3)
อาคารสูงตองมีที่เก็บน้ําสํารองเพื่อใชเฉพาะในการดับเพลิงและตองมี
ระบบสงน้ําที่มีความดันต่ําสุดที่หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงที่ชั้นสูงสุด
ไมนอยกวา 0.45 เมกะปาสกาลมาตร แตไมเกิน 0.7 เมกะปาสกาล
มาตร ดวยอัตราการไหล 30 ลิตรตอวินาที โดยใหมีประตูน้ําปดเปด
และประตูน้ํากันน้ําไหลกลับอัตโนมัติดวย (4)
หัวรับน้ําดับเพลิงที่ติดตั้งภายนอกอาคารตองเปนชนิดขอตอสวมเร็ว
ขนาดเสนผานศูนยกลาง 65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) ที่สามารถรับน้ําจาก
รถดับเพลิงที่มีขอตอสวมเร็วแบบมีเขี้ยวขนาดเสนผานศูนยกลาง 65
มิลลิเมตร (2 1/2 นิ้ว) ทีห่ วั รับน้ําดับเพลิงตองมีฝาปดเปดที่มีโซรอย
ติดไวดวย ระบบทอยืนทุกชุดตองมีหวั รับน้ําดับเพลิงนอกอาคารหนึ่ง
หัวในที่ที่พนักงานดับเพลิงเขาถึงไดโดยสะดวกรวดเร็วทีส่ ุด และให
อยูใกลหวั ทอดับเพลิงสาธารณะมากที่สดุ บริเวณใกลหวั รับน้ํา
ดับเพลิงนอกอาคารตองมีขอความเขียนดวยสีสะทอนแสงวา `หัวรับ
น้ําดับเพลิง'
(5) ปริมาณการสงจายน้ําสํารองตองปริมาณการจายไมนอ ยกวา 30
ลิตรตอวินาที สําหรับทอยืนทอแรก และไมนอยกวา 15 ลิตรตอวินาที
สําหรับทอยืนแตละทอที่เพิม่ ขึ้นในอาคารหลังเดียวกัน แตรวมแลวไม
จําเปนตองมากกวา 95 ลิตรตอวินาที และสามารถสงจายน้ําสํารองได
เปนเวลาไมนอ ยกวา 30 นาที

หนา 88 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวยการ
อนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบปองกัน
เพลิงไหมเพิ่มเติม ดังนี้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 20 โรงมหรสพ เวนแตโรงมหรสพประเภท จ ตองมีระบบปองกัน
เพลิงไหมซึ่งประกอบดวยทอจายน้ําดับเพลิง ที่เก็บน้ําสํารอง และหัว
รับน้ําดับเพลิง ดังตอไปนี้
(1) ทอจายน้ําดับเพลิงตองเปนโลหะผิวเรียบที่สามารถทนความดัน
1.20 เมกะปาสกาล โดยทอดังกลาวตองทาสีน้ํามันสีแดง และจะตอง
ตอเขากับทอประธานสงน้ํา และระบบสงน้ําจากแหลงจายน้ําของ
อาคารที่ตั้งโรงมหรสพ และจากหัวรับน้ําดับเพลิงนอกอาคาร
(2) ตองจัดใหมีตูหัวฉีดน้ําดับเพลิงที่ประกอบดวยหัวตอสายฉีดน้ํา
ดับเพลิงพรอมสายฉีดน้ําดับเพลิง ขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา
25 มิลลิเมตร หรือ 1 นิ้ว และหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงชนิดหัวตอสวม
เร็วที่ตอเชื่อมกับระบบของเจาพนักงานดับเพลิงได โดยมีขนาดเสน
ผาศูนยกลาง 65 มิลลิเมตร หรือ 2.50 นิ้ว พรอมทั้งฝาครอบและโซ
รอยติดไว ซึ่งสามารถนําไปใชดับเพลิงครอบคลุมทุกพื้นที่
(3) ตองมีที่เก็บน้ําสํารองเพื่อใชเฉพาะในการดับเพลิงและตองมี
ระบบสงน้ําที่มีความดันซึ่งสามารถดับเพลิงไดทุกพื้นที่
(4) ตองมีหัวรับน้ําดับเพลิงทีต่ ิดตั้งภายนอกอาคารชนิดขอตอสวมเร็ว
ที่สามารถรับน้ําจากรถดับเพลิงได ซึ่งอยูในสถานที่ที่พนักงาน
ดับเพลิงเขาถึงไดโดยสะดวกรวดเร็วที่สุดและใหอยูใกลหวั ทอดับ
เพลิงสาธารณะมากที่สุด โดยที่หวั รับน้าํ ดับเพลิงตองมีฝาปดเปดที่มี
โซรอยติดไวดวย และบริเวณใกลหัวรับน้าํ ดับเพลิงนอกอาคารตองมี
ขอความเขียนดวยสีสะทอนแสงวา “หัวรับน้ําดับเพลิง”

หนา 89 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
(5) ปริมาณการสงจายน้ําสํารองตองมีปริมาณการจายไมนอยกวา
สําหรับทอยืนทอแรก และไมนอยกวา 15 ลิตรตอวินาที สําหรับทอ
ยืนแตละทอที่เพิ่มขึ้นในอาคารหลังเดียวกัน แตรวมแลวไมจําเปนตอง
มากกวา 95 ลิตรตอวินาที และสามารถจายน้ําสํารองไดเปนเวลาไม
นอยกวา 30 นาที
ในกรณีที่เปนโรงมหรสพประเภท ค หรือโรงมหรสพประเภท
ง ซึ่งตั้งอยูในอาคารขนาดใหญ อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ
ตองจัดใหมีระบบทอจายน้ําดับเพลิงที่ตอมาจากทอยืนของอาคาร
เพียงพอสําหรับใชดับเพลิงบริเวณพืน้ ที่โรงมหรสพทั้งหมดใน
ลักษณะตูหัวฉีดน้ําดับเพลิงที่ประกอบดวย หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิง
พรอมสายฉีดน้ําดับเพลิงขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 25
มิลลิเมตร หรือ 1 นิ้ว และหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงชนิดหัวตอสวมเร็ว
ขนาดเสนผาศูนยกลาง 65 มิลลิเมตร หรือ 2.50 นิ้ว พรอมทั้งฝาครอบ
และโซรอยติดไว โดยจะตองติดตั้งในจุดที่เขาถึงไดสะดวกและ
ปลอดภัย

(3) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิด ขนาด จํานวน และตําแหนงของระบบอุปกรณในแตละ


หองหรือพื้นที่ และครอบคลุมครบถวน
(4) ตรวจสอบสภาพอุปกรณ การเขาถึง อุปสรรคกีดขวาง
(5) ตรวจสอบสภาพและการทํางานของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง
(6) ตรวจสอบระบบสํารองน้ําดับเพลิง ความเพียงพอของน้ําสํารองเพื่อการดับเพลิง
(7) ตรวจสอบระบบทอยืน ตูดับเพลิงพรอมสายฉีด และหัวจายน้ําดับเพลิง
(8) ตรวจสอบการใชงานของสายฉีด และหัวจายน้ําดับเพลิง
(9) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

หนา 90 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8.1.4.9 การตรวจสอบระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของชนิด จํานวน ขนาด ตําแหนง
(2) กรณีเปนอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับใบอนุญาต
ใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่
กําหนดเกี่ยวกับระบบดับเพลิงอัตโนมัติของอาคารสูง หรือ อาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 20 อาคารสู ง หรื อ อาคารขนาดใหญ พิ เ ศษต อ งจั ด ให มี ร ะบบดั บ เพลิ ง
อัตโนมัติ เชน SPRINKLE SYSTEM หรือระบบอื่น ที่เ ทีย บเทา ที่
สามารถทํางานไดดวยตัวเองทันทีเมื่อมีเพลิ งไหม โดยใหสามารถ
ทํางานครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดทุกชั้น ในการนี้ ใหแสดงแบบแปลน
และรายการประกอบแบบแปลนของระบบดับเพลิงอัตโนมัติในแตละ
ชั้นของอาคารไวดวย

(3) กรณีโรงมหรสพที่ไดรับใบอนุญาตใหกอสรางอาคารภายหลังวันที่กฎกระทรวงวาดวยการ
อนุญาตใหใชอาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความ
ปลอดภัยของโรงมหรสพ และอัตราคาธรรมเนียมสําหรับการอนุญาตใหใชอาคารเพื่อ
ประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ.2550 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดเกี่ยวกับระบบดับเพลิง
อัตโนมัติเพิ่มเติม ดังนี้

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ขอ 22 โรงมหรสพประเภท ก และประเภท ข ที่เปนอาคารขนาดใหญ
จะตองจัดใหมีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เชน ระบบหัวกระจายน้ํา

หนา 91 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ฯ ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


โรงมหรสพ พ.ศ.2550
ดับเพลิงหรือระบบอื่นที่เทียบเทาที่สามารถทํางานไดดวยตัวเองทันที
เมื่อเกิดเพลิงไหม โดยใหสามารถทํางานครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด
โรงมหรสพประเภท ค หรือโรงมหรสพประเภท ง ซึ่งตั้งอยูใน
อาคารขนาดใหญ อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ จะตองจัดให
มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติตามวรรคหนึ่ง

(3) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิด ขนาด จํานวน และตําแหนงของระบบอุปกรณในแตละ


หองหรือพื้นที่ และครอบคลุมครบถวน
(4) ตรวจสอบการทํางานอุปกรณระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการปลอยสารดับเพลิง อาทิ การ
แจงเหตุ การเปด – ปดลิ้นกั้นไฟหรือควัน เปนตน
(5) ตรวจสอบขั้นตอนการดับเพลิงแบบอัตโนมัติและชวงเวลาแตละขั้นตอน
(6) ตรวจสอบความถูกตองตามที่กําหนดของแหลงจายไฟฟาใหแผงควบคุม แหลงน้ําดับเพลิง
ถังสารดับเพลิง
(7) ตรวจสอบความดันน้ํา และการไหลของน้ํา ในจุดที่ไกลหรือสูงที่สุด
(8) ตรวจสอบการแสดงผลของระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
(9) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษาเชิงปองกัน ( Peventive Maintenance : PM ) ตาม
กําหนดเวลา ควรมีรายงานทุกเดือน
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

8.1.4.10 การตรวจสอบระบบปองกันฟาผา
(1) ตรวจสอบประวัติการใชงาน ขอมูลของชนิด จํานวน ขนาด ตําแหนง
(2) กรณีเปนอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษที่ไดรับอนุญาต หรือไดยื่นคําขอรับใบอนุญาต
ใหกอสรางอาคารหลังวันที่กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 ) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกาศใชบังคับ ตรวจสอบตามเกณฑขั้นต่ําที่
กําหนดเกี่ยวกับระบบปองกันฟาผาของอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนี้

หนา 92 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กฎกระทรวง ขอกําหนด หรือเกณฑขนั้ ต่ําตามกฎหมาย


ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535 )
ขอ 13 อาคารสูงตองมีระบบปองกันอันตรายจากฟาผา ซึ่งประกอบดวยเสา
ลอฟา สายลอฟา สายนําลงดิน และหลักสายดินที่เชื่อมโยงกันเปน
ระบบสําหรับสายนําลงดินตองมีขนาดพื้นที่ภาคตัดขวางเทียบไดไม
นอยกวาสายทองแดงตีเกลียว ขนาด 30 ตารางมิลลิเมตร สายนําลงดิน
นี้ตองเปนระบบที่แยกเปนอิสระจากระบบสายดินอื่น
อาคารแตละหลังตองมีสายตัวนําโดยรอบอาคาร และมีสายนําลงดิน
ตอจากสายตัวนําหางกันทุกระยะไมเกิน 30 เมตร วัดตามแนวขอบ
รอบอาคาร
ทั้งนี้ สายนําลงดินของอาคารแตละหลังตองมีไมนอยกวาสองสาย
เหล็กเสริมหรือเหล็กรูปพรรณในโครงสรางอาคารอาจใชเปนสายนํา
ลงดินได แตตอ งมีระบบการถายประจุไฟฟาจากโครงสรางสูหลักสาย
ดินไดถูกตองตามหลักวิชาการชาง
ระบบปองกันอันตรายจากฟาผาใหเปนไปตามมาตรฐานเพื่อความ
ปลอดภัยทางไฟฟาของสํานักงานพลังงานแหงชาติ

(3) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิด ขนาด จํานวน และตําแหนงของระบบอุปกรณในแตละ


หองหรือพื้นที่ และครอบคลุมครบถวน
(4) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดินครอบคลุมครบถวน
(5) ตรวจสอบระบบรากสายดิน
(6) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย
(7) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา ดังนี้
(ก) สําเนารายงานการตรวจสอบบํารุงรักษา ตามกําหนดเวลา
(ข) สําเนารายงาน หรือการรับรองผลการทดสอบประจําป หรือตามกําหนดเวลา

หนา 93 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

8.2 การตรวจสอบระบบอุปกรณของปาย
8.2.1 การตรวจสอบระบบไฟฟาแสงสวาง
(1) สภาพโคม ไฟฟา
(2) สภาพทอสาย และสายไฟ
(3) สภาพอุปกรณควบคุมระบบ
(4) การตอลงดิน
(5) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา
8.2.2 การตรวจสอบระบบปองกันฟาผา
(1) ตรวจสอบความเหมาะสมของชนิด ขนาด จํานวน และตําแหนงของระบบอุปกรณ
(2) ตรวจสอบระบบตัวนําลอฟา ตัวนําตอลงดินครอบคลุมครบถวน
(3) ตรวจสอบระบบรากสายดิน
(4) ตรวจสอบจุดตอประสานศักย
(5) ตรวจสอบการดูแลรักษา ซอมบํารุง และการทดสอบระบบในอดีตที่ผานมา

9 การตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณตาง ๆ เพื่อการอพยพ

9.1 สมรรถนะของบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
9.1.1 ตรวจสอบขีดความสามารถ ความพรอมและความสัมพันธของการทํางานของบันไดหนีไฟ ประตูหนีไฟ
การระบายอากาศในชองบันได ระบบอัดอากาศในชองบันได เสนทางหนีไฟ ประตูในเสนทางหนีไฟ
ไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน แผนผังของอาคาร เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน และระบบการ
ติดตอสื่อสารเพื่อใหความชวยเหลือ โดยขีดความสามารถของบันไดหนีไฟตองเพียงพอที่จะสามารถ
อพยพผูใชอาคารทั้งหมดออกสูพื้นที่ปลอดภัยไดภายในเวลาไมเกิน 1 ชั่วโมง จํานวนเสนทางหนีไฟจาก
ชั้นของ อาคาร หรือพื้นที่ใดๆ ของอาคารตองมีอยางนอย 2 เสนทาง โดยจํานวนที่เหมาะสมใหพิจารณา
จากจํานวนผูใชสอยอาคารแตละชั้นประกอบเกณฑตามตารางที่ 3 และกรณีไมมีขอมูลจํานวนผูใช
อาคารใหพิจารณาจากตารางที่ 4 เพื่อประมาณความเพียงพอของบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ

หนา 94 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนเสนทางหนีไฟในชั้นพิจารณาจากจํานวนผูใชสอยอาคารในชั้น

ประเภทการใช จํานวนเสนทางหนีไฟ
สอยอาคาร ไมนอยกวา ไมนอยกวา 3 เสนทาง  ไมนอยกวา 4 เสนทาง ไมนอยกวา 5 เสนทาง 
2 เสนทาง
อาคารทั่วไป มากกวา 500 คน มากกวา 1,000 คน มากกวา 2,000 คน
ไมเกิน แตไมเกิน 1,000 คน แตไมเกิน 2,000 คน
อาคารชุมนุมคน 500 คน มากกวา 500 คน มากกวา 750 คน มากกวา 1,000 คน
โรงมหรสพที่ แตไมเกิน 750 คน แตไมเกิน 1,000 คน
เปนอาคารเดี่ยว

ตารางที่ 4 แสดงพื้นที่ใชสอยตอคนโดยประมาณตามลักษณะการใชสอยอาคาร

ประเภทการใชสอยอาคาร พื้นที่ใชสอยตอคน
โดยประมาณ ( ตารางเมตร)
หองอาหาร ภัตตาคาร หองประชุม โรงมหรสพ 1.5
หองพักของโรงแรม อาคารอยูอาศัยรวม 20
หองเรียนกวดวิชา 1.0
หางสรรพสินคา 5.0
โรงงานที่ใชแรงงานคนเปนหลัก 2.0
โรงงานที่ใชแรงงานคนและเครื่องจักร 6.0
โรงงานที่ใชเครื่องจักรเปนหลัก 10
สถานบริการ 2.5
พื้นที่พักคอยของสถานพยาบาล 1.5
หองตรวจของสถานพยาบาล 5.0
สํานักงาน 10
กิจกรรมอื่น ๆ 10

หนา 95 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

9.1.2 ตรวจสอบการจัดวางเสนทางหนีไฟ ในกรณีพื้นที่ของอาคารมีทางออกหรือประตูทางออกสองแหง


ระยะหางระหวางทางออกหรือประตูทางออกตองมีระยะไมนอยกวาครึ่งหนึ่งของเสนทแยงมุมที่ยาว
ที่สุดของพื้นที่นั้น
9.1.3 ตรวจสอบความเหมาะสมของระยะทางตันและระยะสัญจร โดยระยะทางตันไมควรเกิน 10 เมตร และ
ระยะสัญจรไปสูประตูหนีไฟหรือจุดปลอดภัยที่อยูใกลที่สุดไมควรเกิน 30 เมตร
9.1.4 ตรวจสอบทางออกสุดทายสูภายนอกอาคาร ทางปลอยออกภายในอาคารไมควรเกินรอยละ 50 ของ
จํานวนทางหนีไฟทั้งหมด
9.1.5 ตรวจสอบความเหมาะสมของประตูหนีไฟ ตองเปดออกไปตามทิศทางการอพยพหนีไฟและเปดเปด
ประตูจากภายในบันไดยอนกลับเขาสูอาคารได ถารองรับผูใชอาคารตั้งแต 100 คนขึ้นไปควรใช
อุปกรณการเปดประตูชนิดกานผลัก ( Panic hardware )
9.1.5 ตรวจสอบผลการฝกซอมหนีไฟที่ผานมาโดยมีการใชบันไดหนีไฟ และทางหนีไฟที่มีอยูทุกแหง

9.2 สมรรถนะของเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน
9.2.1 ตรวจสอบความชัดเจน เขาใจงาย ถูกตอง และความตอเนื่องของเครื่องหมายและไฟปายทางออก
ฉุกเฉินในบันไดหนีไฟและเสนทางหนีไฟทุกแหง
9.2.2 ตรวจสอบความสวางของไฟปาย
9.2.3 ตรวจสอบผลการฝกซอมหนีไฟที่ผานมาโดยมีการทํางานของเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน
รวมกับระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินในบันไดหนีไฟและในเสนทางหนีไฟทุกแหง
9.3 สมรรถนะของระบบแจงสัญญาณเหตุเพลิงไหม
9.3.1 ตรวจสอบสภาพการทํางานของแผงควบคุมระบบแจงเหตุเพลิงไหม ดังนี้
(1) ไฟแสดงสถานะของชุดจายแรงดันไฟฟาโดยสถานะปกติจะแสดงดวยหลอดไฟ (LED) สีเขียว
ตองติดสวางตลอดเวลา กรณีที่หลอดไฟ (LED) สีเขียวไมติดสวาง ใหแจงผูดูแลอาคารตรวจสอบ
แกไขที่ตูเบรกเกอรที่จายแรงดันไฟฟาของระบบ หรือตรวจสอบที่ตัวปองกันแรงดันไฟฟาเกิน
(ฟวส)
(2) ไฟแสดงสถานการณแจงเหตุ ( Alarm ) แสดงดวยหลอดไฟ (LED) สีแดง โดยปกติจะตองไมติด
สวาง ถากรณีที่หลอดไฟติดสวาง แสดงวาอุปกรณตรวจจับอัตโนมัติทํางานหรือมีสัญญาณจาก
อุปกรณแจงเหตุดวยมือ ใหตรวจสอบวา เกิดการแจงเหตุที่ ชั้นใด บริเวณใดของอาคารหรือไม ถา
สัญญาณแจงเหตุผิดพลาด ใหแจงผูดูแลอาคารตรวจสอบแกไข

หนา 96 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) ไฟแสดงสถานการณเกิดการทํางานผิดพลาด (Trouble) แสดงดวยหลอดไฟ (LED) สีเหลือง


โดยปกติจะตองไมติดสวาง ถากรณีที่หลอดไฟติดสวาง แสดงวาเกิดการทํางานที่ผิดพลาดจาก
ตูควบคุมระบบ หรือ สายสัญญาณตางๆ เกิดการหลุด หลวม ขาด หรือเกิดการลัดวงจร
(4) สายไฟหรือสายสัญญาณตางๆ ที่ตอเขาตูควบคุมระบบตองยึดแนนกับขั้วรับสายสัญญาณ
(5) อุปกรณรีเลย (ชุดขับเคลื่อนลิฟต เมื่อเกิดเหตุ) ตองยึดแนนกับฐานใสรีเลยไมมีรองรอยการ
ชํารุด
(6) แบตเตอรี่สํารองไฟฟาดับที่อยูภายในแผงควบคุม ตองมีแรงดันไฟฟา 12 VDC หรือไมต่ํากวา
10 VDC ควรใหผูดูแลอาคารทําการตรวจวัดโดยการใชมัลติมิเตอรวัดแรงดันไฟฟา กรณีที่
แรงดันไฟฟาต่ํากวาใหแจงผูดูแลรักษาระบบเพื่อทําการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม ตามคุณสมบัติเดิมที่
ระบุไวที่แบตเตอรี่
(7) ภายในแผงควบคุมระบบตองมีความสะอาดไมมีการสะสมของฝุน หากพบวามีการสะสมฝุน
ใหแจงผูดูแลรักษาระบบทําความสะอาด และตองปดฝาตูใหสนิท และล็อคดวยกุญแจทุกครั้ง
9.3.2 ตรวจสอบสภาพการทํางานของอุปกรณในระบบแจงเหตุเพลิงไหม ดังนี้
(1) อุปกรณตรวจจับควัน (Smoke Detector) ตองมีผลการตรวจบํารุงรักษาอุปกรณรายเดือนที่
ผานมาที่แสดงผลการสุมทดสอบและบํารุงรักษาอุปกรณทุกจุดที่ติดตั้ง กรณีที่ไมมีผลการ
ทดสอบ อาจใหผูดูแลระบบสุมทดสอบหรือแสดงการบํารุงรักษาอุปกรณเพื่อประกอบการ
ประเมินสมรรถนะของอุปกรณ ดังนี้
(ก) การทดสอบโดยใชสเปยทดสอบ (Smoke detector tester) โดยการพนสเปยหางจาก
อุปกรณตรวจจับควันประมาณ 0.60 ถึง 1.20 เมตร หากอุปกรณตรวจจับควันมีการ
ทํางานเปนปกติจะทํางานหลังจากพนสเปยประมาณ 5-8 วินาที อุปกรณบางรุนอาจจะมี
หลอดไฟ (LED) ติดสวางดวย แลวจึงสงสัญญาณไปยังแผงควบคุมเพลิงไหม และไฟ
แสดงสถานการณแจงเหตุจะติดสวาง ในกรณีที่อุปกรณตรวจจับควันไมทํางานใหถอด
อุปกรณตรวจจับควันออกจากฐานและตรวจดูสายสัญญาณวาตอเขากับขั้วตออุปกรณ
ตรวจจับควันหรือไม หรือเปลี่ยนอุปกรณตรวจจับควันตัวใหม
(ข) การบํารุงรักษาโดยใชสเปยทําความสะอาด (Dust air cleaning) โดยการพนสเปยหางจาก
อุปกรณตรวจจับควันประมาณ 0.30 เมตร 1-2 ครั้ง และตรวจดูสภาพการตอสายสัญญาณ
กับขั้วตออุปกรณตรวจจับควัน

หนา 97 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) อุปกรณตรวจจับความรอน ( Heat detector ) ตองมีผลการตรวจบํารุงรักษาอุปกรณรายเดือนที่


ผานมาที่แสดงผลการสุมทดสอบและบํารุงรักษาอุปกรณทุกจุดที่ติดตั้ง กรณีที่ไมมีผลการ
ทดสอบ อาจใหผูดูแลระบบสุมทดสอบหรือแสดงการบํารุงรักษาอุปกรณเพื่อประกอบการ
ประเมินสมรรถนะของอุปกรณ ดังนี้
(ก) การทดสอบอุปกรณตรวจจับความรอนโดยใชเครื่องเปาลมรอน เปาหางจากอุปกรณ
ตรวจจับความรอนประมาณ 0.30 เมตร ประมาณ 5-10 วินาที หากอุปกรณตรวจจับ
ความรอนมีการทํางานเปนปกติจะสงสัญญาณไปยังแผงควบคุมระบบแจงเหตุเพลิงไหม
และไฟแสดงสถานการณแจงเหตุจะติดสวาง ในกรณีที่อุปกรณตรวจจับความรอนไม
ทํางานใหถอดอุปกรณตรวจจับความรอนออกจากฐานและตรวจดูสายสัญญาณวาตอ
เขากับขั้วตออุปกรณตรวจจับความรอนหรือไม หรือเปลี่ยนอุปกรณตรวจจับความรอน
ตัวใหม
(ข) การบํารุงรักษาโดยใชสเปยทําความสะอาด (Dust air cleaning) โดยการพนสเปยหางจาก
อุปกรณตรวจจับควันประมาณ 0.30 เมตร 1-2 ครั้ง และตรวจดูสภาพการตอสายสัญญาณ
กับขั้วตออุปกรณตรวจจับควัน
(3) อุปกรณแจงเหตุดวยมือ (Manual Station) ตองมีผลการตรวจบํารุงรักษาอุปกรณรายเดือนที่
ผานมาที่แสดงผลการสุมทดสอบและบํารุงรักษาอุปกรณทุกจุดที่ติดตั้ง กรณีที่ไมมีผลการ
ทดสอบ อาจใหผูดูแลระบบสุมทดสอบหรือแสดงการบํารุงรักษาอุปกรณเพื่อประกอบการ
ประเมินสมรรถนะของอุปกรณ ดังนี้
(ก) การทดสอบโดยการเปลี่ยนสวิตชภายในใหเปนสถานะ “ปดวงจร” (Close Loop) จะมี
เสียงสัญญาณดังที่กระดิ่งแจงเหตุ (Alarm bell) กรณีที่ไมมีเสียงสัญญาณดังที่ให
ตรวจสอบที่สายสัญญาณของอุปกรณแจงเหตุดวยมือวาสายสัญญาณขาดหรือไม หรือ ทํา
การปลดสายสัญญาณออกจากวงจรและใชมัลติมิเตอรตรวจสอบอุปกรณแจงเหตุดวมือ
วาอยูในสถานะที่ใชงานไดปกติหรือไม
(ข) การบํารุงรักษาโดยใชสเปยทําความสะอาดหนาสัมผัส พนที่สวิทชที่อยูภายในอุปกรณ 
แจงเหตุดวยมือ และใชผาสะอาดเช็ดทําความสะอาดภายนอกของอุปกรณแจงเหตุดวยมือ
(4) กระดิ่งแจงเหตุเพลิงไหม (Alarm bell) ตองมีผลการตรวจบํารุงรักษาอุปกรณรายเดือนที่
ผานมาที่แสดงผลการสุมทดสอบและบํารุงรักษาอุปกรณทุกจุดที่ติดตั้ง กรณีที่ไมมีผลการ

หนา 98 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

ทดสอบ อาจใหผูดูแลระบบสุมทดสอบหรือแสดงการบํารุงรักษาอุปกรณ
เพื่อประกอบการประเมินสมรรถนะของอุปกรณ ดังนี้
(ก) การตรวจสอบโดยการกดปุม “Drill” ที่หนาตูควบคุมแจงเหตุเพลิงไหม เพื่อสงเสียง
สัญญาณออกทางกระดิ่งแจงเหตุเพลิงไหมทุกตัว และเดินตรวจสอบทุกจุดที่มีการติดตั้ง
กระดิ่งฯ ในแตละชั้น
(ข) การบํารุงรักษาโดยใชสเปยหลอลื่นพนที่แกนกระดิ่งและใชผาสะอาดเช็ดทําความสะอาด
โดยรอบภายนอกของกระดิ่งแจงเหตุเพลิงไหม
9.3.3 ตรวจสอบผลการฝกซอมแจงเหตุเพลิงไหมที่ผานมา

10 การตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยในอาคาร

10.1 ตรวจสอบตําแหนง จํานวน และสภาพของหัวรับน้ําดับเพลิง ( Fire department connection : FDC ) และ


หัวจายน้ําดับเพลิง ดังนี้
(1) ปายบอกตําแหนงและชื่อของหัวรับน้ําดับเพลิง หรือหัวจายน้ําดับเพลิง
(2) การมองเห็นและเขาถึงไดงาย ไมมีสิ่งกีดขวางการเขาใชงาน
(3) สภาพฝาครอบ หัวตอสายรับน้ํา และการรั่วซึม
(3) สภาพวาลวกันน้ําไหลกลับระหวางหัวรับน้ําดับเพลิงกับระบบทอรับน้ําดับเพลิงของอาคาร
10.2 ตรวจสอบตําแหนง จํานวน และสภาพของหัวดับเพลิงนอกอาคาร ( Hydrant ) ดังนี้
(1) สภาพความสมบูรณ พรอมใชงาน
(2) การมองเห็นและเขาถึงไดงาย ไมมีสิ่งกีดขวางการเขาใชงาน
(3) ผลการทดสอบการทํางานโดยการเปดปดที่ผานมาที่ดําเนินการโดยเจาหนาที่ของอาคาร
10.3 ตรวจสอบทางเขาออกของรถดับเพลิง และที่จอดรถดับเพลิง ดังนี้
(1) ความเหมาะสม เพียงพอ และความพรอมของประตูทางเขาออกทุกดาน
(2) ความกวางของเสนทางเขาออก
(3) ตําแหนง ความเหมาะสม เพียงพอของที่จอดรถดับเพลิง
(4) อุปสรรคกีดขวาง
10.4 กรณีอาคารสูง และอาคารขนาดใหญพิเศษ ตรวจสอบตําแหนงที่ตั้ง ความพรอมของศูนยสั่งการดับเพลิง และ
เจาหนาที่ประจําศูนยสั่งการดับเพลิง ดังนี้

หนา 99 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(1) ศูนยสั่งการดับเพลิงควรอยูที่ระดับชั้นพื้นดิน ใกลลิฟตดับเพลิงและหองเครื่องสูบน้ําดับแพลิง


(2) ปดลอมดวยผนังทนไฟ มีทางออกสูทางสาธารณะหรือภายนอกอาคารไดโดยตรง
(3) มีระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศแยกออกจากสวนอื่น ๆ ของอาคาร
(4) ติดตั้งอุปกรณตรวจจับควันอัตโนมัติภายใน
(5) มีแผงแสดงผลเพลิงไหมของระบบแจงเหตุเพลิงไหม
(6) มีแผงควบคุมระบบประกาศฉุกเฉิน
(7) มีแผงแสดงตําแหนงลิฟต และทิศทางการเคลื่อนที่
(8) มีแผงควบคุมและแสดงผลการทํางานของระบบตาง ๆ ของอาคาร
(9) มีระบบการสื่อสารเพื่อการชวยเหลือ
(10) ที่เก็บแบบแปลนของอาคารเพื่อใชสําหรับการดับเพลิง
(11) ขอมูล และรายงานผลการดูแลบํารุงรักษาระบบอุปกรณประกอบตาง ๆของอาคาร
10.5 ตรวจสอบแบบแปลนของอาคารเพื่อใชสําหรับการดับเพลิง
(1) ตําแหนงที่เก็บแบบแปลนปลอดภัย และสามารถนํามาใชไดสะดวกเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม
(2) แบบแปลนมีรายละเอียดพื้นทุกชั้นของอาคารอยางนอยตองแสดงตําแหนงบันไดหนีไฟ ทางหนีไฟ และ
ระบบอุปกรณเพื่อการดับเพลิง
10.6 ตรวจสอบแผนและผลการปฏิบัติตามแผนดานความปลอดภัยในอาคาร
10.6.1 แผนและผลการปฏิบัติตามแผนการปองกันและระงับอัคคีภัย ประกอบดวย
(1) แผนกอนเกิดเหตุเพลิงไหม
(ก) แผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย เชน การจัดกิจกรรมลดการสูบบุหรี่ กิจกรรม 5 ส. การจัด
นิทรรศการ การใชสื่อตาง ๆ ภายในอาคาร
(ข) แผนการอบรม เชน อบรมการดับเพลิงขั้นตน การฝกซอมดับเพลิง การฝกซอมหนีไฟ และ
การปฐมพยาบาล
(ค) แผนการตรวจตรา เชน การสํารวจความเสี่ยงเพื่อเฝาระวังและขจัดตนเหตุของการเกิดเพลิง
ไหม การจัดทําขอมูลเชื้อเพลิง สารเคมี สารไวไฟและพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดเพลิงไหม
(2) แผนขณะเกิดเหตุเพลิงไหม
(ก) แผนการดับเพลิงที่มีการกําหนดขั้นตอนอยางเปนระบบในดานการบริหารจัดการใหเพลิง
ไหมที่เกิดขึ้นอยูในภาวะที่ควบคุมได และสงบอยางรวดเร็ว โดยตองมีความปลอดภัยของผู
ปฏิบัติการดวย

หนา 100 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(ข) แผนอพยพหนีไฟที่ประกอบดวย หนวยตรวจสอบจํานวนผูอพยพ จุดรวมพล ผูนําทางหนีไฟ


หนวยชวยชีวิตและยานพาหนะ
(3) แผนหลังเกิดเหตุเพลิงไหม
(ก) แผนบรรเทาทุกขที่ประกอบดวย การประสานงานงานกับหนวยงานภาครัฐ การสํารวจความ
เสียหาย การรายงานตัวของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ การชวยเหลือ การประเมินความเสียหาย และ
การปรับปรุงแกไข
(ข) แผนการปฏิรูปฟนฟู
10.6.2 ขั้นตอนการตรวจสอบแผนและผลการปฏิบัติตามแผนดานความปลอดภัยในอาคาร
(1) ตรวจสอบความเหมาะสม สอดคลอง และความชัดเจนของขั้นตอนตาง ๆ ในแผน
(2) ตรวจสอบการจัดระบบปองกันและระงับอัคคีภัย และการใชงานระบบอุปกรณที่มี
(3) ตรวจสอบความพรอมปฏิบัติตามแผน
(4) ตรวจสอบการประเมินผลและปรับปรุงแผน
10.7 ตรวจสอบแผนและผลการปฏิบัติตามแผนการซอมอพยพผูใชอาคาร
(1) ตรวจสอบความเหมาะสม ขั้นตอน วิธีการดําเนินการซอมอพยพผูใชอาคาร
(2) ตรวจสอบบทบาทหนาที่ของผูเกี่ยวของในแผน
(3) ตรวจสอบแบบรายงานผลการฝกซอมดับเพลิง และการนฝกซอมหนีไฟประจําปของอาคาร
(4) ตรวจสอบใบรับรองของหนวยงานฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟที่ทําการฝกซอมประจําป
ใหกับอาคาร
10.8 ตรวจสอบแผนและผลการปฏิบัติตามแผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร
(1) ตรวจสอบนโยบายดานความปลอดภัยของอาคาร
(2) ตรวจสอบการนําระบบอื่น ๆ มาใชในการดูแลระบบความปลอดภัย เชน ระบบ BAS (Building
Automation System ) หรือ ระบบ CCTV (Close Circuit Television)
(3) ตรวจสอบขอมูลบุคลากร เจาหนาที่เกี่ยวกับความปลอดภัยของอาคาร

หนา 101 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

10.9 แผนและผลการปฏิบัติตามแผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร
(1) ตรวจสอบแผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารประจําป และแนวทางการ
ตรวจสอบตามแผน
(2) ตรวจสอบแผนปฏิบัติการการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร และคูมือ
ปฏิบัติการตามแผน

หนา 102 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

ภาคผนวก

1. การตรวจสอบรอยราวอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
รอยราวที่สวนของโครงสรางหรือผนังของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในหลายกรณีอาจไมใชสิ่งบงชี้วา
อาคารอาจไมมั่นคงแข็งแรงหรืออาจไมปลอดภัยตอการใชสอยและในบางกรณีอาจพบวาอาคารเกิดการวิบัติ
โดยไมมีรอยราวที่มองเห็นได อยางไรก็ตามขนาด ทิศทาง การเปลี่ยนแปลงของรอยราวที่ เกิดขึ้นในหลาย
กรณีก็เปนสิ่งบงชี้ที่ สําคัญวาอาคารอาจไมมั่นคงแข็งแรงหรืออาจไมปลอดภัยตอการใชสอย ดังนั้นการ
สังเกตรอยราวในเบื้องตนจึงเปนปจจัยหนึ่งที่จะชวยในการพิจารณาใหขอแนะนําที่ถูกตองในการพิจารณา
ซอมแซมปรับปรุงบํารุงรักษาอาคารใหมีความมั่นคงแข็งแรงขึ้น หรือใหมีการตรวจสอบเพิ่มเติมโดยละเอียด
โดยวิศวกรโยธาที่เชี่ยวชาญเฉพาะอีกครั้งหนึ่ง รอยราวในโครงสรางคอนกรีตสามารถเกิดไดจากหลายสาเหตุ
และสามารถเกิดขึ้นไดในทุกชวงอายุของโครงสราง การวิเคราะหหาสาเหตุที่แทจริงของรอยราวใน
โครงสรางคอนกรีตนั้นมีสวนชวยใหซอมแซมโครงสรางไดอยางมีประสิทธิภาพผูตรวจสอบตองบันทึก
จํานวนของรอยแตกราว ทิศทางและลักษณะของรอยแตกราว ความลึกของรอยแตกราว ความกวางของรอย
ราว และอัตราการขยายตัวของรอยราวอยางครบถวน ประกอบดวย
(1) ทิศทางและลักษณะของรอยราว
ลักษณะของรอยราวที่สามารถสังเกตไดบนผิวโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก เปนขอมูลพื้นฐานที่บง
บอกสาเหตุของการเกิดรอยราว เชน รอยแตกลายงาเกิดจากการยึดรั้งคอนกรีตที่ผิวดวยคอนกรีตดานใน
โครงสราง หรือมีการขยายตัวของคอนกรีตที่อยูดานในของโครงสราง รอยราวที่อยูในทิศทางเดียวจะ
เกิดจากแรงดึงในคอนกรีตโดยแรงดึงดังกลาวอาจเกิดจากการทรุดตัวของโครงสรางหรือ เกิดจากแรงดัด
ที่กระทํากับโครงสราง
(2) ความลึกของรอยราว
ความลึกของรอยราวสามารถแยกออกกวางๆ ไดเปน 4 ระดับคือ
(ก) รอยราวเฉพาะที่ผิว คือ รอยราวที่ความลึกเขาไปในโครงสรางไมมากหรือเกิดรอยราวในชั้นของปูน
ฉาบ
(ข) รอยราวตื้น คือรอยราวที่เกิดในผิวคอนกรีตและมีความลึกที่ไมมากนักเมื่อเทียบกับระยะคอนกรีต
หุมเหล็กของโครงสราง
(ค) รอยราวลึก คือรอยราวที่มีความลึกมากในระดับที่ทําใหเหล็กเสริมผุกรอนได โดยเฉพาะอยางยิ่งใน

หนา 103 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

กรณีที่รอยราวมีความลึกมากกวาระยะคอนกรีตหุมเหล็กซึ่งทําใหเหล็กเสริมเกิดการผุกรอนไดอยาง
รวดเร็ว
(ง) รอยราวทะลุโครงสราง คือรอยราวที่ทะลุโครงสรางซึ่งบงบอกถึงความเสียหายที่คอนขางรุนแรง
และมีการกระจายตัวของแรงดึงที่กระทําในคอนกรีตที่คอนขางคงที่
(3) ความกวางของรอยราว
เปนปจจัยที่มีผลมากที่สุดตอความคงทนของโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
(4) อัตราการขยายตัวของรอยราว
เปนสิ่งบงชี้วาสาเหตุของรอยแตกราวนั้นยังดําเนินอยูอยางตอเนื่องหรือมีความรุนแรงมากขึ้นหรือไม
ทั้งนี้ ขอมูลเกี่ยวกับอัตราการขยายตัวของรอยราวนั้น มีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับการดําเนินการ
ซอมแซมโครงสรางคอนกรีต โดยทั่วไปสามารถแบงแยกประเภทรอยราวออกเปนรอยราวที่มีความ
กวางมากขึ้นเรื่อยๆ และรอยราวที่มีสภาพคงที่แลว การตรวจสอบรอยราวที่สวนของโครงสรางหรือ
ผนังของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กดวยสายตาอาจพิจารณาในเบื้องตนจากลักษณะรูปแบบของรอยราว
ไดดังนี้
2. ลักษณะรอยราวในอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
2.1 รอยราวเนื่องมาจากคุณภาพการกอสราง
(1) รอยราวแบบแตกลายงาที่ผนัง ขนาดเล็กและสั้น เกิดขึ้นทิศทางไมแนนอน ไมเปนระเบียบ เกิดจาก
ปูนฉาบสูญเสียน้ํา หรือเกิดการระเหยของน้ําในปูนฉาบอยางรวดเร็ว ถือวาเปนรอยราวที่แสดงถึง
คุณภาพของการกอสราง ไมใชสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

รูปที่ 2-1 รูปแบบรอยราวแบบแตกลายงาที่ผนัง ขอ 2.1(1)

หนา 104 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) รอยราวแบบเฉียงที่ผนังบริเวณมุมขอบวงกบประตูหรือหนาตาง เกิดจากวิธีการกอสราง


ที่ขาดคุณภาพ ไมใชสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

รูปที่ 2-2 รูปแบบรอยราวแบบเฉียงที่ผนังบริเวณขอบวงกบประตู


หรือหนาตาง ขอ 2.1 (2)
(3) รอยราวที่บริเวณรอยตอของผนังกับเสา หรือผนังกับคานที่มีขนาดรอยราวเล็ก ๆ เกิดตาม
แนวรอยตอเปนแนวยาว เกิดจากวิธีการกอสรางที่ขาดคุณภาพในการกออิฐผนังไมไดใส
เหล็กหนวดกุงยึดผนังกับเสาและคาน ไมใชสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดผลกระทบตอความ
มั่นคงแข็งแรงของอาคาร

รูปที่ 2-3 รูปแบบรอยราวที่บริเวณรอยตอของผนังกับเสา หรือผนัง


กับคาน ขอ 2.1 (3)

หนา 105 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(4) รอยราวที่แนวตอหัวเสาและทองคานถือวาเปนรอยราวที่แสดงถึงคุณภาพของการกอสราง
เกิ ด จากความบกพร อ งระหวา งการกอ สรางที่ ไ มไ ดลา งทํ า ความสะอาดหั ว เสาก อนเท
คอนกรีตคานเหนือหัวเสา เปนสิ่งบงชี้วาอาจเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคาร

รูปที่ 2-4 รูปแบบรอยราวที่แนวตอหัวเสาและทองคาน


ขอ 2.1 (4)
2.2 รอยราวในโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กเนื่องจากวัสดุเสื่อมสภาพ
(1) รอยราวเนื่องจากเหล็กเสริมในโครงสรางเปนสนิม มีแนวรอยราวตามแนวของเหล็กเสริมเปนรอย
ราวที่แสดงถึงคุณภาพของการกอสรางไมดี เนื่องจากมีคอนกรีตที่หุมเหล็กเสริมหนาไมเพียงพอ
หรืออยูในสภาวะแวดลอมที่มีความเขมขนของคลอไรดสูง หรืออยูในสภาพที่ชุมน้ําและแหง
สลับกันและมีรูโพรงทําใหเหล็กเสริมไดรับความชื้นทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศเกิดเปน
สนิม ทําใหแรงยึดเกาะระหวางเหล็กและคอนกรีตลดลงและเกิดการบวมตัวของเหล็กแลวขยายตัว
ดันคอนกรีตที่หุมเหล็กบริเวณนั้นปริแตกราวกระเทาะหลุดรอนออกมา ถาเกิดในเสามักเกิดเปน
รอยราวแนวดิ่งขนานกับเหล็กยืนเสา ถาเกิดในคานมักเกิดเปนรอยราวแนวนอนขนานกับเหล็ก
เสริมคาน สําหรับในพื้นมักเกิดบริเวณใตทองพื้นเปนแนวเสนขนานกันตรงกับตําแหนงของเหล็ก
เสริมในพื้นและแตกตามยาวตามทิศทางของเหล็กเสริม รอยราวเนื่องจากเหล็กเสริมในโครงสราง
เปนสนิมนี้หากปลอยทิ้งไวนานคอนกรีตจะกระเทาะหลุดรอนจนเห็นเหล็กเสริม ถือเปนสิ่งบงชี้ที่
สําคัญวาอาจเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 106 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 2-5 รูปแบบรอยราวเนื่องจากเหล็กเสริมในเสาและคานเปน


สนิม ขอ 2.2 (1)

รูปที่ 2-6 รูปแบบรอยราวเนื่องจากเหล็กเสริมในพื้นเปนสนิม


ขอ 2.2 (1)

(2) รอยราวในแนวดิ่งที่บริเวณกึ่งกลางคาน หรือในบริเวณจุดรองรับคานฝาก เนื่องมาจากแรงดัดที่เกิด


จากน้ําหนักบรรทุกเกินกวาความสามารถรับน้ําหนักไดของคาน เกิดการแอนตัวมาก รอยราวสวน
ใหญมักเกิดบริเวณชวงกลางคานที่ใตทองคาน มีลักษณะเปนตัวยูเปนรอยแตกราวเริ่มจากใตคาน
ตอเนื่องขึ้นตามแนวดิ่งทั้งสองขางของคาน รอยราวอาจมีขนาดเล็กมาก แตบริเวณดานลางจะมีรอย
แตกรา วที่มีขนาดกว างกวาด านขาง เมื่อคานมี ก ารแอน ตั วมากขึ้น จะเกิดรอยราวเพิ่มขึ้นหลาย

หนา 107 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

แนวขนานกันมักเกิดเพิ่มขึ้นเปนคู ๆ ขนาบแนวรอยราวเดิม ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาคานตองแบก


ภาระรับน้ําหนักบรรทุกเกินกําลังอาจสงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
(3) รอยราวในแนวดิ่งและแนวเฉียงทแยงมุมที่บริเวณปลายคานใกลหัวเสา เนื่องมาจากแรงดัดที่เกิด
จากน้ําหนักบรรทุกเกินกวาความสามารถรับน้ําหนักไดของคาน เกิดการแอนตัวมากบริเวณชวง
กลางคานจนสงผลใหเกิดการแตกราวที่ปลายคาน ลักษณะรอยราวจะเริ่มเกิดที่ดานบนและแตกราว
ลงด า นล า งของคาน เมื่ อ เกิ ด รอยร า วที่ ป ลายคานดา นหนึ่ ง ก็ มัก พบว า ที่ ป ลายอี ก ด า นหนึ่ ง ก็ จ ะ
แตกราวในลักษณะเดียวกัน ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาคานตองแบกภาระรับน้ําหนักบรรทุกเกิน
กําลังและมีการแอนตัวมากอาจสงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

ปลายคาน

กลางคาน

รูปที่ 2-7 รูปแบบรอยราวในแนวดิ่งที่บริเวณกึ่งกลางคาน


ขอ 2.2 (2) และที่ปลายคาน ขอ 2.2 (3) เนื่องมาจาก
แรงดัด
(4) รอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่คานบริเวณใกลหัวเสา เนื่องจากแรงบิดที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกเกิน
กวาความสามารถรับน้ําหนักไดของคาน สวนใหญมักเกิดกับคานที่มีลักษณะเปนคานยื่น ลักษณะ
เปนรอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมจํานวนหลายแนวขนานกัน ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาคานตองรับ
แรงบิดเพิ่มขึ้นเกินกําลังและมีการแอนตัวที่อาจสงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 108 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 2-8 รูปแบบรอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่ปลายคาน


เนื่องจากแรงบิด ขอ 2.2 (4 )

(5) รอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่พื้นชนิดเสริมเหล็กสองทาง ( Two-ways Slab ) บริเวณกึ่งกลางพื้น


เนื่องจากแรงดัดที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกเกินกวาความสามารถรับน้ําหนักไดของพื้น รอยราวมัก
เกิดที่ทองพื้นบริเวณชวงกลางรอยราวเฉียงจากกึ่งกลางพื้นเขาหามุมเสา ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวา
พื้นตองรับภาระน้ําหนักบรรทุกเกินกําลังที่อาจสงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

รูปที่ 2-9 รูปแบบรอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่พื้นชนิดเสริมเหล็ก


สองทาง (Two-ways Slab) เนื่องจากแรงดัด ขอ 2.2(5)

หนา 109 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(6) รอยราวในแนวเสนตั้งฉากกับแนวเหล็กเสริมหลักของพื้นชนิดเสริมเหล็กทางเดียว ( One-way


Slab ) บริเวณกึ่งกลางพื้น เนื่องจากแรงดัดที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกเกินกวาความสามารถรับ
น้ําหนักไดของพื้น รอยราวมักเกิดที่ทองพื้นบริเวณชวงกลางพื้น ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาพื้นตอง
รับภาระน้ําหนักบรรทุกเกินกําลังที่อาจสงผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

รูปที่ 2-10 รูปแบบรอยราวใตทองพื้นในแนวเสนตั้งฉากกับแนวเหล็ก


เสริมหลักของพื้นชนิดเสริมเหล็กทางเดียว (One-way Slab)
เนื่องจากแรงดัด ขอ 2.2 (6 )

(7) รอยราวใกลขอบพื้นดานบนในแนวเสนตรงตามแนวคาน เนื่องจากแรงดัดที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุก


เกินกวาความสามารถรับน้ําหนักไดของพื้น ทําใหเกิดการแอนตัวและแตกราว อาจมีรอยราวที่มุม
เสาดวย ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาพื้นตองรับภาระน้ําหนักบรรทุกเกินกําลังที่อาจสงผลกระทบตอ
ความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 110 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 2-11 รูปแบบรอยราวใกลขอบพื้นดานบนในแนวเสนตรง


ตามแนวคานเนื่องจากแรงดัด ขอ 2.2 (7 )
(8) รอยราวเปนแนวเสนที่ผิวพื้นตามแนวรอยตอของแผนพื้นสําเร็จรูปเหนือคาน ถือวาเปนรอยราวที่
แสดงถึงคุณภาพของการกอสราง เปนสิ่งบงชี้วาอาจเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคาร

รูปที่ 2-12 รูปแบบรอยราวเปนแนวเสนที่ผิวพื้นตามแนวรอยตอของ


พื้นสําเร็จรูปเหนือคาน ขอ 2.2 (8 )
(9) รอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่ผิวบนของพื้นไรคานบริเวณหัวเสา หรือตอมอ เนื่องจากแรงเฉือนที่
เกิดจากน้ําหนักบรรทุกเกินกวาความสามารถรับน้ําหนัก ทําใหพื้นไรคานแอนตัวเกิดรอยราวผิวบน
ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาอาจเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 111 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 2-13 รูปแบบรอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่ผิวบนของพื้นไรคาน


บริเวณหัวเสา หรือตอมอ เนื่องจากแรงเฉือน ขอ 2.2 (9 )

(10)รอยราวเปนปลอง ๆ ตามแนวนอนที่บริเวณชวงกลางเสาดานขาง เนื่องจากมีน้ําหนัก บรรทุกเกิน


กวาความสามารถรับน้ําหนักไดของเสา อาจเกิดเพียงดานใดดานหนึ่งหรือเกิดรอยเสาขึ้นอยูกับ
ลักษณะแนวการกดทับ ถามีรอยราวเกิดเพียงดานใดดานหนึ่ง หรือคอนกรีตแตกออกจนเห็นเหล็ก
เสริมหลักทั้งหมดบิดงอไปดานเดียวกันจะเกิดขึ้นเพราะเสาถูกดึงรั้งเอียงไปดานนั้น สําหรับดาน
ตรงขามที่เกิดแรงอัดอาจไมเกิดรอยราว ถาเกิดรอบเสาอาจทําใหชวงกลางเสาระเบิดออกและเหล็ก
เสริมหักงอได ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาอาจเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

ทิศทางการดึงรั้ง

ดานที่เกิดแรงอัด ดานที่เกิดแรงดึง

รูปที่ 2-14 รูปแบบรอยราวเปนปลอง ๆ ตามแนวนอนที่บริเวณ


ชวงกลางเสาดานขางเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกเกินกําลัง
ขอ2.2 (10 )

หนา 112 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(11)รอยราวในแนวดิ่งที่กลางผนัง เนื่องจากคานรับน้ําหนักไมไดเกิดการแอนตัวและกดทับ ทําใหผนัง


ที่อยูทองคานแตกราว ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาอาจเกิดผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคาร

รูปที่ 2-15 รูปแบบในแนวดิ่งที่กลางผนัง เนื่องจากคานรับน้ําหนัก


ไมได ขอ 2.2 (11 )

2.3 รอยราวที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของฐานราก
(1) รอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่ผนังที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของเสาหรือฐานรากที่ทําใหผนังที่
เชื่อมตอระหวางเสาเกิดการบิดตัวและเกิดแรงดึงในผนังในทิศทางตั้งฉากกับทิศทางของแรงดึง
ทิศทางของรอยราวจึงมีลักษณะเฉียงทแยงมุมและมักเกิดขึ้นที่บริเวณกลางผนังและอาจเกิดขึ้น
หลายเสนขนานกัน รอยราวจะมีความกวางที่บริเวณชวงกลางเสนมากกวาที่ปลายเสนและตําแหนง
ที่เริ่มแตกราวจะมีขนาดของความกวางรอยราวกวางที่สุด ลักษณะของรอยราวนี้บงบอกไดวาฐาน
รากหรือเสาตนใดที่มีการทรุดตัวซึ่งอาจพิจารณาไดโดยการลากเสนจากแนวตั้งฉากที่กึ่งกลางรอย
ราวจะชี้ไปที่จุดที่โคนเสาหรือฐานรากที่คาดวามีการทรุดตัว รอยราวชนิดนี้ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญ
วาเกิดการทรุดตัวของเสาหรือฐานราก ที่มีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 113 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 2-16 รูปแบบรอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่ผนังที่เกิดเนื่อง


มาจากการทรุดตัวของฐานราก ขอ 2.3 (1)
(2) รอยราวในแนวดิ่งที่ผนังบริเวณขอบเสาที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของเสาหรือฐานรากที่ทําให
ผนังที่เชื่อมตอระหวางเสาเกิดรอยแตกราวเนื่องจากแรงเฉือน รอยราวจะมีความกวางที่บริเวณขอบ
เสาชวงบนกวางมากกวาที่ชวงลาง ลักษณะของรอยราวนี้บงบอกไดวาฐานรากหรือเสาตนนั้นมีการ
ทรุดตัว รอยราวชนิดนี้ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดการทรุดตัวของเสาหรือฐานราก ที่มีผลกระทบ
ตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

รูปที่ 2-17 รูปแบบรอยราวในแนวเฉียงทแยงมุมที่ผนังที่เกิดเนื่องมาจาก


การทรุดตัวของเสาหรือฐานราก ขอ 2.3 (2)

หนา 114 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(3) รอยราวในแนวดิ่งที่คานบริเวณหัวเสา ที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของเสาหรือฐานรากที่ไม


เทากันทําใหปลายคานชวงรอยตอกับเสาแตกราวโดยปลายคานดานที่เสาหรือฐานรากทรุดตัว
มากกวาจะเกิดรอยราวจากดานลางขึ้นดานบน และปลายคานดานที่มีการทรุดตัวของเสาหรือฐาน
รากนอยกวาจะเกิดรอยราวจากดานบนลงดานลาง ตําแหนงที่เริ่มแตกราวจะมีขนาดของความกวาง
รอยราวกวางที่สุด ลักษณะของรอยราวนี้บงบอกไดวาฐานรากหรือเสามีการทรุดตัวไมเทากันที่ถือ
เปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดการทรุดตัวของเสาหรือฐานราก ที่มีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรง
ของอาคาร

รูปที่ 2-18 รูปแบบรอยราวในแนวดิ่งที่คานบริเวณหัวเสาที่เกิด


เนื่องมาจากการทรุดตัวของเสาหรือฐานรากที่ไมเทากัน
ขอ 2.3 (3)
(4) รอยราวเปนแนวเสนที่ผิวพื้นตามแนวรอยตอของพื้นกับคานที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของเสา
หรือฐานรากไมเทากัน ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดการทรุดตัวของเสาหรือฐานรากไมเทากันที่
อาจมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

หนา 115 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 2-19 รูปแบบรอยราวเปนแนวเสนที่ผิวพื้นตามแนวรอยตอ


ของพื้นกับคานที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของ
เสาหรือฐานรากที่ไมเทากัน ขอ 2.3 (4)
(5) รอยราวเปนเสนในแนวราบที่เสาตามแนวเหล็กปลอกที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของเสา หรือ
ฐานรากไมเทากัน เพราะเสาถูกดึงรั้งเอียงไปดานที่มีการทรุดตัวมากกวาทําใหดานตรงขามที่รับแรง
ดึงเกิดรอยราว ถือเปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญวาเกิดการทรุดตัวของเสาหรือฐานราก ที่ไมเทากันที่อาจมี
ผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

รูปที่ 2-20 รูปแบบรอยราวเปนเสนในแนวราบที่เสาตามแนวเหล็ก


ปลอกที่เกิดเนื่องมาจากการทรุดตัวของเสาหรือฐานราก
ที่ไมเทากัน ขอ 2.3 (5)

หนา 116 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

3. การตรวจวัดและติดตามการเปลี่ยนแปลงของรอยราวในอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
นอกจากใชวิธีการติดตามสังเกตดวยสายตาแลว หากพบรอยราวที่อาจสงผลตอความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคารได ควรวัดขนาดมิติตาง ๆ ของรอยราวที่พบ และบันทึกตําแหนง ลักษณะ ขนาดของรอยราว
พรอมทั้งติดตามเปนระยะ ซึ่งอาจใชดินสอหรือปากกาขีดตําแหนงของรอยราวแลวระบุขนาดที่วัดได
และลงวันที่ตรวจวัดไว หรืออาจใชวิธีติดกระจกบางครอมในแนว ตั้งฉากกับรอยราวที่ผนังบริเวณที่เกิด
รอยราว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดมากขึ้นอาจทําใหกระจกแตก

รูปที่ 2-21 วิธีการติดตามสังเกตรอยราวโดยใชดินสอหรือปากกา


ขีดตําแหนง ขนาดของรอยราวแลวระบุวันที่ตรวจไว

รูปที่ 2-22 วิธีการติดตามสังเกตรอยราวโดยการติดกระจกบางครอมรอยราว


ความกวางของรอยราวที่ยอมใหของโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กใหพิจารณาตามมาตรฐาน
กรมโยธาธิการและผังเมือง มยผ.1552-51 มาตรฐานการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของอาคาร

หนา 117 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

4. การตรวจสอบระบบอุปกรณประกอบตาง ๆ
1.ระบบลิฟต
โดยทั่วไปอาคารจะมีหองเครื่องลิฟตอยูที่ชั้นดาดฟา และในหองเครื่องลิฟตจะติดตั้งอุปกรณที่สําคัญในการ
ควบคุมการทํางานของลิฟต เชน เครื่องลิฟต ( Drive machine ) ชุดควบคุม ( Controller ) อุปกรณควบคุม
ความเร็ว ( Over speed governor ) สวิตชตัดตอนทางไฟฟา ( Main breaker & switches ) ดังตัวอยางการจัด
วางอุปกรณในหองเครื่องลิฟตตามรูปที่ 1
เครื่องลิฟตที่นิยมใชเปนแบบใชแรงฉุดจากความฝด ( Traction machine ) ซึ่งมี 2 แบบ ดังนี้
(1) เครื่องลิฟตขับเคลื่อนดวยเฟอง ( Gear –drive – machine ) ใชกําลังจากมอเตอรไฟฟาขับผานชุดเฟองทด
ไปหมุนรอกขับเคลื่อน
(2) เครื่องลิฟตขับเคลื่อนโดยตรง ( Direct – drive หรือ Gearless – drive – machine ) ใชกําลังจากมอเตอร
ไฟฟาขับตอโดยตรงกับรอกขับเคลื่อน

รูปที่ 1 แสดงตัวอยางแปลนหองเครื่องลิฟต

1 เครื่องลิฟต ( Drive machine )


2 สวิตชตัดตอนทางไฟฟา ( Main breaker & Switches )
3 ชุดควบคุม ( Controller )
4 อุปกรณควบคุมความเร็ว ( Over speed governor )
5 โทรศัพทสื่อสาร และเอกสารสําหรับตรวจบํารุงรักษา

หนา 118 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

6 อุปกรณชวยเหลือผูติดคางในลิฟต และขอแนะนําการใหความชวยเหลือ
ผูติดคางในลิฟต
7 ระบบปรับอากาศ
8 ชองระบายอากาศ พัดลมระบายอากาศ
9 ไฟฟาสองสวางฉุกเฉิน
10 ประตูหองเครื่อง
11 ไฟฟาแสงสวาง
S อุปกรณตรวจจับควัน
อุปกรณดับเพลิง

ตูชุดควบคุม  เครื่องลิฟต 

รูปที่ 2 ภายในหองเครื่องลิฟต ( Machine room ) แสดง


เครื่องลิฟต ( Drive Machine ) และ ตูชุดควบคุม
( Controller )

หนา 119 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 3 อุปกรณควบคุมความเร็วลิฟต ( Over speed governor )

2.ระบบบันไดเลื่อน

ราวมือจับ ( Handrill)

Skirting 

Inner decking สวิตชหยุดฉุกเฉิน ( Stop botton ) 

รูปที่ 8-3 อุปกรณบันไดเลื่อน แสดง ราวมือจับ Skirting ,


Inner decking และสวิตชหยุดฉุกเฉิน ( Stop botton )
3.ระบบปรับอากาศ
ระบบปรับอากาศแตละระบบอาจมีลักษณะและขอควรพิจารณาที่แตกตางกัน เชน
(1) ชนิดรวมศูนยประเภททําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา ( Water cooled water chiller central system)
เปนระบบที่มีขนาดใหญที่สุดประกอบดวย เครื่องทําน้ําเย็น ( Chiller ) เครื่องสูบน้ําเย็น (CHP) เครื่องสูบ
น้ําระบายความรอน (CDP) หอผึ่งน้ํา ( Cooling tower ) และเครื่องสงลมเย็น (Air Handling Unit)

หนา 120 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) ชนิดรวมศูนยประเภททําน้ําเย็นระบายความรอนดวยอากาศ ( Air cooler water chiller central system)


ประกอบดวย เครื่องทําน้ําเย็น ( Chiller ) เครื่องสูบน้ําเย็น หอระบายความรอนดวยอากาศ และ
เครื่องสงลมเย็น (Air Handling Unit)
(3) ชนิดชุดระบายความรอนดวยน้ํา (Water Cooled Package) เปนระบบที่มีขนาดเล็กโดยทั้งชุดอยูภายใน
บริเวณปรับอากาศซึ่งจะมีคอมเพรสเซอรอยูภายในดวย แตจะมีชุดทอระบายความรอนดวยน้ําแยกกันแต
ละชุด มีปมน้ําระบายความรอน และหอผึ่งน้ํา
(4) ชนิดแยกสวน ( Split type ) เปนระบบที่มีขนาดเล็ก สะดวกในการใชงานและบํารุงรักษา ประกอบดวย 2
สวน คือ Condensing Unit อาจอยูภายนอกหอง ซึ่งประกอบดวยขดทอความรอน พัดลม และคอมเพรส
เซอร สวนที่สองคือ Fan Coil Unit จะอยูภายในหอง ซึ่งประกอบดวยขดทอความเย็นและพัดลม

Chiller 

รูปที่ 4 ตัวอยางเครื่องทําน้ําเย็น ( Chiller )

หนา 121 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 5 ตัวอยางหอผึ่งน้ํา (Cooling tower) ในระบบปรับอากาศชนิด


รวมศูนยประเภททําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา
( Water cooled water chiller central system)

รูปที่ 6 ตัวอยางหอระบายความรอนในระบบปรับอากาศชนิด
รวมศูนย ประเภททําน้ําเย็นระบายความรอนดวยอากาศ
( Air cooler water chiller central system)

หนา 122 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

4.ระบบไฟฟา

รูปที่ 7 ตัวอยางหมอแปลงไฟฟา ( Transformer ) ชนิดฉนวนน้ํามัน


( Oil type ) ติดตั้งบนลานหมอแปลง

รูปที่ 8 ตัวอยาง แผนภาพเสนเดี่ยว

หนา 123 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

5.ระบบบําบัดน้ําเสีย
ระบบบําบัดน้ําเสียแตละระบบอาจมีลักษณะและขอควรพิจารณาที่แตกตางกัน เชน
(1) ระบบตะกอนเรง ( Activated sludge ) เปนระบบใชบอเติมอากาศเลี้ยงจุลชีพชนิด Aerobic แบบแขวนลอย
เพื่อยอยสลายสารอินทรียในน้ําเสีย มักไมคอยมีปญหาเรื่องกลิ่นเหม็น และน้ําทิ้งที่ผานการบํ าบัด มี
คุณภาพสูง แตเปนระบบที่ใชพลังงานสูงตองเดินเครื่องเติมอากาศตลอดเวลา และมีตะกอนเกิดขึ้นที่
ตองการการบําบัดตอไป นอกจากนี้ตองการผูมีความรูความชํานาญในการควบคุมดูแลระบบ
(2) ระบบแผนหมุนชีวภาพ ( Rotating biological contactor : RBC ) เปนระบบที่ไมใชการเติมอากาศ เลี้ยงจุล
ชีพชนิด Aerobic แบบเกาะติดบนแผนตัวกลางเพื่อยอยสลายสารอินทรียในน้ําเสีย อาจมีปญหาเรื่องกลิ่น
และแมลง ราคาคากอสรางสูง ใชพื้นที่มาก แตการควบคุมดูแลไมยุงยากมาก
อุปกรณในสวนบําบัด
(1) อุปกรณในสวนบําบัดเบื้องตน ( primary treatment ) เชน ตะแกรงดักขยะ ( Screen ) บอดักกรวด ( Grit chamber )
บอตกตะกอนขั้นตน (Primary sedimentation tank ) บอเกรอะ ( Septic tank ) บอดักไขมัน ( Grease trap )
(2) อุปกรณในสวนบําบัดขั้นที่สอง ( Secondary treatment ) ซึ่งสวนใหญใชการบําบัดแบบอาศัยมวลชีวภาพ
( Biological treatment ) เชน ระบบใชบอกรองไรอากาศ (Anaenrobic filter tank ) และระบบใชบอเติมอากาศ
( Aeration tank ) โดยอาจแบงตามการอยูอาศัยของแบคทีเรียเปนแบบแขวนลอย ( Suspended growth ) และแบบ
เกาะติดบนแผนตัวกลาง ( Contact growth )
(3) อุปกรณในสวนจัดการตะกอนสวนเกิน ( Excess sludge treatment ) เชน ลานตากตะกอน ( Sludge drying bed )
หรือการสูบออกไปกําจัดที่อื่น

หนา 124 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 8-10 ชองลมระบบอัดอากาศ และไฟฟาแสงสวาง


ฉุกเฉินในบันไดหนีไฟ

รูปที่ 8-11 ตัวอยางเครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน

หนา 125 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

ควบคุมการแพรกระจายควันประกอบดวย
(1) ระบบอัดอากาศในชองบันไดหนีไฟ ( Staircase pressurization system )
(2) ระบบอั ด อากาศในปล อ งลิ ฟ ต ห รื อ โถงลิ ฟ ต ดั บ เพลิ ง ( Elevator shaft
pressurization system )
(3) ระบบระบายควันสําหรับพื้นที่จํากัดขอบเขต (Zone smoke control system )
ระบบระบายควันสําหรับพื้นที่โถงโลงตอเนื่องขนาดใหญ ( Atrium smoke
control system )

รูปที่ 8-12 พัดลมดูดอากาศในระบบควบคุมการแพรกระจายควัน

ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉินประกอบดวย
(1) เครื่องตนกําลัง ( Engine prime mover ) สวนใหญใชเปนเครื่องยนตดีเซล มี
สวนประกอบสําคัญ คือ
(ก) ระบบเชื้อเพลิง ( Fuel system )
(ข) ระบบระบายความรอน ( Cooling system )
(ค) ระบบไอเสีย ( Exhaust system )
(ง) ระบบเริ่มเดินเครื่อง ( Start system )

หนา 126 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) เครื่องกําเนิดไฟฟา ( Alternator ) มีสวนประกอบสําคัญ คือ


(ก) สวนสรางสนามแมเหล็กหมุน ( Rotor )
(ข) สวนสรางแรงดันเหนี่ยวนําและจายไฟฟาใหโหลด ( Stator )
(ค) สวนสรางสนามแมเหล็กและจายกระแสตรงใหขดลวดสนาม (A.C.Exiter )
(ง) สวนควบคุมใหไดแรงดันออกที่ตองการ ( Voltage regulator )
(3) แผงควบคุม ( Control panel ) ทําหนาที่
(ก) ควบคุมการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟา
(ข) ควบคุมการประจุแบตเตอรี่
(ค) ตรวจสอบการจายกระแสไฟฟา และสงสัญญาณใหชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา
(ง) สับเปลี่ยนโหลดไฟฟา
(4) สวิตชสับเปลี่ยนอัตโนมัติ ( Auto transfer switch : ATS) ทําหนาที่สับเปลี่ยน
โหลดจากแหลงจายไฟปกติไปยังชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา

รูปที่ 8- 13 เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง ( Generator )

ระบบแจงเหตุเพลิงไหมประกอบดวย
(1) ชุดจายไฟ ( Power supply ) เปนอุปกรณแปลงกําลังไฟฟาของแหลงจายไฟมา
เปนกําลังไฟฟากระแสตรงที่ใชปฎิบัติงานของระบบและจะตองมีระบบไฟฟา
สํารอง เพื่อใหระบบทํางานไดในขณะที่ไฟปกติดับ

หนา 127 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

(2) แผงควบคุมระบบแจงเหตุเพลิงไหม (Fire alarm control panel : FCP) เปนสวน


ควบคุ ม และตรวจสอบการทํ า งานของอุ ป กรณ แ ละส ว น ต า งๆในระบบ
ประกอบ ดวยวงจรตรวจคุมคอยรับสัญญาณจากอุปกรณเริ่มสัญญาณ วงจร
ทดสอบการทํางาน วงจรปองกันระบบ วงจรสัญญาณแจงการทํางานในสภาวะ
ปกติ และภาวะขัดของ เชน สายไฟจากอุปกรณตรวจจับขาด แบต เตอรี่ตํ่าหรือ
ไฟจายตูแผงควบคุมโดนตัดขาด ที่แผงควบคุมจะมีสัญญาณไฟและเสียงแสดง
สภาวะ ตางๆ เชน
(ก) Fire Lamp จะติดเมื่อเกิดเพลิงไหม
(ข) Main Sound Buzzer จะมีเสียงดังขณะแจงเหตุ
(ค) Zone Lamp จะติดคางแสดงโซนที่เกิด Alarm
(ง) Trouble Lamp แจงเหตุขัดของตางๆ
(จ) Control Switch สําหรับการควบคุม เชน เปด/ปดเสียงที่ตูและกระดิ่ง ทดสอบ
การทํางานของแผงควบคุม ทดสอบ Battery และ Reset ระบบหลังเหตุการณ
เปนปกติ
(3) อุปกรณเริ่มสัญญาณ ( Initiating devices ) เปนอุปกรณตนกําเนิดของสัญญาณ
แจงเหตุเพลิงไหม แบงเปน
(ก) อุปกรณเริ่มสัญญาณจากบุคคลโดยใชมือ ( Manual switch ) แบบดึง หรือ
กด หรือ ทุบกระจก
(ข) อุปกรณเริ่มสัญญาณอัตโนมัติ เชน อุปกรณตรวจจับควัน( Smoke detector )
อุปกรณตรวจจับความรอน ( Heat detector ) อุปกรณตรวจจับเปลวไฟ
( Flame detector ) อุปกรณตรวจจับแกส (Gas Detector)
(4) อุปกรณแจงสัญญาณ ( Signaling devices ) เชน กระดิ่ง หวูด ไซเรน
ไฟสัญญาณ
(5) อุปกรณประกอบ ( Auxiliary devices ) เปนอุปกรณที่ทํางานเชื่อมโยงกับระบบ
อื่นที่เกี่ยวของกับการควบคุม ปองกันและดับเพลิง โดยการสงสัญญาณไป
กระตุนการทํางานของระบบอื่น เชน ระบบบังคับลิฟตลงชั้นลาง การปดพัดลม
ในระบบปรับอากาศ การเปดพัดลมในระบบควบคุมควันไฟ การควบคุมการ
ปดเปดประตูกนั ควันไฟ การควบคุมระบบกระจายเสียงประกาศแจงขาว การ
เปดระบบดับเพลิง หรือรับสัญญาณจากระบบอื่นมากระตุนการทํางาน เชน การ

หนา 128 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

ทํางานของระบบดับเพลิงอัตโนมัติ หรือจากเครื่องสูบน้ําดับเพลิง อาจพิจารณา


ความเหมาะสมของอุปกรณตามลักษณะการใชงานของอุปกรณได ดังนี้
(ช) อุปกรณตรวจจับควันชนิดไอออนไนเซชั่น (Ionization smoke detector)
เหมาะสําหรับใชตรวจจับสัญญาณควันในระยะเริ่มตนที่มีอนุภาคของควัน
เล็กมาก
(ซ) อุปกรณตรวจจับควันชนิดโฟโตอิเลคตริก (Photoelectric smoke detector)
เหมาะสําหรับใชตรวจจับสัญญาณควันในระยะที่มีอนุภาคของควันที่ใหญ
ขึ้น ทํางานโดยใชหลักการสะทอนของแสง
(ฌ) อุปกรณตรวจจับความรอนชนิดจับอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ (Rate-of-
rise heat detector) ทํางานเมื่อมีอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป
ตั้งแต 10 องศาเซลเซียส ใน 1 นาที
(ญ) อุปกรณตรวจจับความรอนชนิดจับอุณหภูมิคงที่ ( Fixed temperature heat
detector) ทํางานเมื่ออุณหภูมิของ Sensors สูงถึงจุดที่กําหนดไวซึ่งมีตั้งแต
60 องศาเซลเซียสไปจนถึง 150 องศาเซลเซียส อาศัยหลักการของโลหะ
สองชนิด เมื่อถูกความรอน แลวมีสัมประสิทธิ์การขยายตัวแตกตางกัน
(ฎ) อุปกรณตรวจจับความรอนชนิดรวม (Combination heat detector)
ตรวจจับความรอนที่เกิดไดทั้งแบบอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ และแบบจับ
อุณหภูมิคงที่
(ฏ) อุปกรณตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector)ใชในบริเวณพื้นที่อันตรายและ
มีความเสี่ยงในการเกิดเพลิงไหมสูง ทํางานโดยการตรวจจับความถี่คลื่น
แสงในย า น อุ ล ตร า ไวโอเล็ ท ซึ่ ง มี ค วามยาวคลื่ น อยู  ใ นช ว ง 0.18-0.36
ไมครอนที่แผออกมาจากเปลวไฟ

หนา 129 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 8-14 ตัวอยางแผงควบคุมระบบแจงเหตุเพลิงไหม


( Fire Alarm Control Panel )

รูปที่ 8-15 ตัวอยางอุปกรณเริ่มสัญญาณ ( Initialting ) แจงเหตุดวยมือ


แบบใชมือดึงหรือกดลง (Manual pull down ) และ
อุปกรณแจงสัญญาณเพลิงไหม ( Alarm Bell )

หนา 130 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร


 

รูปที่ 8-16 ตัวอยางอุปกรณตรวจจับควัน (Smoke Detector)


และอุปกรณตรวจจับความรอน ( Heat Detector )

รูปที่ 8 – ตัวอยางแบบใบตรวจบํารุงรักษา
ประจําเดือนของเครื่องดับเพลิง
แบบมือถือ (tag )

หนา 131 มยผ.xxxx-xx : มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร

You might also like