วิธีฝึกกรรมฐานด้วยตนเองแบบง่าย ๆ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

กก

   (   )

  1

วิธีฝกกรรมฐานดวยตนเองแบบงาย ๆ

มีทานพุทธศาสนิกชนมากทานไดมีจดหมายมาขอวิธีปฏิบัติกรรมฐานแบบงายๆ เพื่อฝก
ดวยตนเอง อาตมาจึงเขียนวิธีฝกกรรมฐานดวยตนเองขึ้นเปนแบบฝกในหมวด สุกขวิปสสโก
คือฝกแบบงายๆ ขอใหทานผูสนใจปฏิบัติตามนี้

สมาธิ

อันดับแรก ขอใหทานผูสนใจจงเขาใจคําวาสมาธิกอนสมาธิ แปลวา ตั้งใจมั่น หมายถึง


การตั้งใจแบบเอาจริงเอาจังนั่นเอง ตามภาษาพูดเรียกวา เอาจริงเอาจัง คือ ตั้งใจวาจะทําอยางไร
ก็ทําอยางนั้นอยางเครงครัด ไมเลิกลมความตั้งใจ

ความประสงคที่เจริญสมาธิ

ความประสงคที่เจริญสมาธิก็คือ ตองการใหอารมณสงัดและเยือกเย็น ไมมีความ


วุนวายตออารมณที่ไมตองการ และความประสงคที่สําคัญกวานั้นก็คือ อยากใหพนอบายภูมิ
คือ ไมเกิดเปนสัตวนรก เปรต อสุรกายสัตวเดียรัจฉาน อยางต่ําถาเกิดใหมขอเกิดเปนมนุษยและ
ตองการเปนมนุษยชั้นดี คือ
๑. เปนมนุษย ที่มีรูปสวย ไมมีโรคภัยไขเจ็บเบียดเบียน ไมมีอายุสั้นพลันตาย
๒. เปนมนุษย ที่มค ี วามสมบูรณดวยทรัพย ทรัพยสินไมเสียหายดวยไฟไหม, โจรเบียด-
เบียน, น้ําทวม หรือลมพัดทําลายใหเสียหาย
๓. เปนมนุษย ที่มีคนในปกครองอยูในโอวาทไมดื้อดานดันทุรัง ใหมีทุกขเสียทรัพยสิน
และเสียชื่อเสียง
๔. เปนมนุษย ที่มวี าจาไพเราะ เมื่อพูดออกไปเปนที่พอใจของผูรับฟง
๕. เปนมนุษย ที่ไมมีอาการปวดประสาท คือปวดศีรษะมากเกินไป ไมเปนโรคประสาท
ไมเปนบาคลั่งเสียสติ
รวมความวาโดยยอก็คือ ตองการเปนมนุษยที่มีความสงบสุขทุกประการ เปนมนุษยที่มี
ความอุดมสมบูรณดวยทรัพยสินทุกประการ ทรัพยไมมีอะไรเสียหายจากภัย ๔ ประการคือ ไฟไหม
ลมพัด โจรรบกวน น้ําทวม และเปนมนุษยที่มีความสงบสุข ไมเดือดรอนดวยเหตุทุกประการ ฯลฯ

ประสงคใหเกิดเปนเทวดาหรือนางฟาบนสวรรค

บางทานก็ตองการไปเกิดบนสวรรคเปนนางฟาหรือเทวดาที่มีรางกายเปนทิพย มีที่อยูและ
สมบัติเปนทิพยไมมค
ี ําวาแก, ปวยและยากจน (ความปรารถนาไมสมหวัง) เพราะเทวดาหรือ
นางฟาไมมีความเปลี่ยนแปลงทางรางกาย มีความปรารถนาสมหวังเสมอ
บางทานก็อยากไปเกิดเปนพรหม ซึ่งมีความสุขและอานุภาพมากกวาเทวดาและนางฟา
บางทานก็อยากไปนิพพาน
เปนอันวาความหวังทุกประการตามทีก ่ ลาวมาแลวนั้นจะมีผลแกทุกทานแนนอน ถาทาน
ตั้งใจทําจริง และปฏิบัตต
ิ ามขั้นตอน
แบบที่บอกวางายๆ นี้ถาปฏิบัติไดครบถวน ทานจะไดทุกอยางตามที่กลาวมาแลวทั้งหมด
โดยใชเวลาไมนานนัก จะชาหรือเร็วอยูที่ทานทําจริงตามคําแนะนําหรือไมเทานั้นเอง

อารมณที่ตองการในขณะปฏิบัติ

สําหรับอารมณที่ตองการในขณะปฏิบัติ ทานตองเขาใจเสียกอนวา เวลานั้นตองการอารมณ


สบาย ไมใชอารมณเครียด เมื่อมีอารมณเปนสุขถือวาใชได อารมณเปนสุขไมใชอารมณดับสนิท
จนไมรูอะไร เปนอารมณธรรมดาแตมีความสบายเทานั้นเอง ยังมีความรูสึกตามปกติทก ุ อยาง

เริ่มทําสมาธิ

เริ่มทําสมาธิใชวิธีงาย ๆ ไมตองมีพิธีรีตองมาก ใชธูปเทียนเทาที่มีบูชาพระ


ใชเครื่องแตงกายตามทีท ่ า นแตงอยูแลว ไมจําเปนตองใชเครือ
่ งแตงตัวสีขาว ฯลฯ เปนตน
เพราะไมสําคัญที่เครื่องแตงตัว ความสําคัญจริง ๆ อยูที่ใจ ใหคุมอารมณใจใหอยูตามที่เรา
ตองการก็ใชได

อาการนั่ง

อาการนั่ง ถาอยูที่บานของทานตามลําพัง ทานจะนั่งอยางไรก็ไดตามสบาย จะ


นั่งขัดสมาธิ
นั่งพับเพียบ นั่งหอยเทาบนเกาอี้ หรือ นอน ยืน เดิน ตามแตทานจะสบาย ทั้งนี้หมายถึงหลังจากที่
ทาน
บูชาพระแลว เสร็จแลวก็เริ่มกําหนดรูลมหายใจเขา และหายใจออก คําวา กําหนดรู คือหายใจเขาก็
รู
หายใจออกก็รู ถาตองการใหดีมาก ก็ใหสังเกตดวยวาหายใจเขายาวหรือสั้น หายใจออกยาวหรือ
สั้น
ขณะที่รูลมหายใจนี้ และเวลานั้นจิตใจไมคิดถึงเรือ ่ งอื่นๆ เขาแทรกแซง ก็ถอ
ื วาทานมีสมาธิแลว
การทรงอารมณรูเฉพาะลมหายใจเขาออก โดยที่อารมณอื่นไมแทรกแซง คือไมคิดเรือ ่ งอื่นในเวลา
นั้น จะมีเวลามากหรือนอยก็ตาม ชื่อวาทานมีสมาธิแลว คือตั้งใจรูลมหายใจโดยเฉพาะ

ภาวนา

การเจริญกรรมฐานโดยทั่วไปนิยมใชคําภาวนาดวย เรื่องคําภาวนานี้อาตมาไมจํากัดวา
ตองภาวนาอยางไร เพราะแตละคนมีอารมณไมเหมือนกัน บางทานนิยมภาวนาดวยถอยคํา
สั้น ๆ บางทานนิยมใชคําภาวนายาว ๆ ทั้งนี้ก็สุดแลวแตทานจะพอใจ อาตมาจะแนะนําคําภาวนา
อยางงายคือ "พุทโธ" คําภาวนาบทนี้ งาย สั้น เหมาะแกผูฝกใหม มีอานุภาพและมีอานิสงสมาก
เพราะเปนพระนามของพระพุทธเจา การนึกถึงชือ ่ ของพระพุทธเจาเฉย ๆ พระพุทธเจา
ตรัสไวในเรื่อง มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร วาคนที่นึกถึงชื่อทานอยางเดียว ตายไปเกิดเปนเทวดา
หรือนางฟาบนสวรรคไมใชนับรอยนับพัน พระองคตรัสวานับเปนโกฏิ ๆ เรื่องนี้จะนํามาเลา
ขางหนาเมื่อถึงวาระนั้น
เมื่อภาวนาควบคูกับรูลมหายใจจงทําดังนี้ เวลาหายใจเขานึกวา "พุท" เวลาหายใจออก
นึกวา "โธ" ภาวนาควบคูกับรูลมหายใจตามนี้เรื่อย ๆ ไปตามสบาย ถาอารมณใจสบายก็ภาวนา
เรื่อย ๆ ไป แตถาเกิดอารมณใจหงุดหงิดหรือฟุงจนตั้งอารมณไมอยูก็จงเลิกเสีย จะเลิกเฉย ๆ
หรือดูโทรทัศน หรือฟงวิทยุหรือหาเพื่อนคุยใหอารมณสบายก็ได (เพื่อเปนการผอนคลาย
อารมณ) อยากําหนดเวลาตายตัววาตองนั่งใหครบเวลาเทานั้นเทานี้แลวจึงจะเลิก ถากําหนด
อยางนั้นเกิดอารมณฟุงซานขึ้นมาจะเลิกก็เกรงวาจะเสียสัจจะที่กําหนดไว ใจก็เพิ่มการฟุงซาน
มากขึ้น ถาเปนเชนนี้บอย ๆ ก็จะเกิดเปนโรคประสาทหรือเปนโรคบา ขอทุกทานจงอยาทนทํา
อยางนั้น

-------------------------------------

ตอนที่ 2

ขณิกสมาธิ

อารมณที่ทรงสมาธิระยะแรกนี้จะทรงไมไดนาน เพราะเพิ่งเริ่มใหม ทานเรียก


สมาธิระยะนี้วา ขณิกสมาธิ คือสมาธิเล็กนอย ความจริงสมาธิถึงแมวาจะทรงอารมณไมได
นานก็มีอานิสงสมาก

ฝกทรงอารมณ

อารมณทรงสมาธิ ถึงแมวาจะทรงไมไดนานแตทานทําดวยความเคารพก็มีผล
มหาศาลแตถารักษาอารมณไดนานกวา มีสมาธิดีกวาจะมีผลมากกวานั้นมาก การฝกทรงอารมณให
อยูนาน หรือที่เรียกวามีสมาธินานนั้น ในขั้นแรกใหทําดังนี้
ใหทานภาวนาควบกับรูลมหายใจเขาออก หายใจเขานึกวา"พุท" หายใจออกนึกวา
"โธ" ดังนี้ นับเปนหนึ่ง นับอยางนี้สิบครั้งโดยตั้งใจวาในขณะที่ภาวนาและรูลมเขาลมออกอยางนี้
ในระยะสิบครั้งนี้เราไมยอมใหอารมณอื่นเขามาแทรก คือไมยอมคิดอยางอื่นจะประคองใจใหอยู
ในคําภาวนา และรูลมเขาลมออกทําครั้งละสิบเพียงเทานี้ ไมชาสมาธิของทานจะทรงตัวอยูอ  ยาง
นอยสิบนาทีหรือถึงครึ่งชัว่ โมง จะเปนอารมณที่เงียบสงัดมากอารมณจะสบายจงพยายามทํา
อยางนี้เสมอๆ ทางที่ดีทําแบบนี้เมื่อเวลานอนกอนหลับและตื่นใหมๆ จะดีมากบังคับอารมณ
เพียงสิบเทานั้นพอใชเวลาประมาณหนึ่งเดือนจะสามารถทรงอารมณเปนฌานไดเปนอยางดี

อยาฝนอารมณมากนัก

เรื่องของอารมณเปนของไมแนนอนนัก ในกาลบางคราวเราสามารถควบคุมไดตาม
ที่เราตองการ แตในกาลบางคราวเราก็ไมสามารถควบคุมได เพราะกระสับกระสายเสียจนคุม
ไมอยู ในตอนนั้นควรจะยอมแพมัน เพราะถาขืนตอสูจะเกิดอารมณหงุดหงิดหรือเครียดเกินไป
ในที่สุดถาฝนเสมอๆ แบบนั้นอารมณจะกลุม สมาธิจะไมเกิด สิ่งที่จะเกิดแทนก็คือ อารมณ
กลุม เมื่อปลอยใหกลุมบอย ๆ ก็อาจจะเปนโรคประสาทได
ขอที่ควรระวังก็คือ ทําแบบการนับดังกลาวแลวนั้น สามารถทําไดถึงสิบครั้ง หรือบางครั้ง
ทําไดเกินสิบก็ทําเรื่อย ๆ ไป ถาภาวนาไปไมถึงสิบอารมณเกิดรวนเรกระสับกระสาย ใหหยุดพัก
ประเดี๋ยวหนึ่งแลวทําใหม สังเกตดูอารมณวาจะสามารถควบคุมภาวนาไปไดไหม ถาสามารถ
ควบคุมใหอยูภายในขอบเขตของภาวนาได และรูลมหายใจเขาออกควบคูกันไปไดดีกท ็ ําเรื่อยๆ
ไป แตถาควบคุมไมไหวจริง ๆ ใหพักเสียกอน จนกวาใจจะสบายแลวจึงทําใหมหรือเลิกไปเลย
วันนั้นพัก ไมตองทําเลยปลอยอารมณใหรื่นเริงไปกับการคุย หรือชมโทรทัศน หรือฟงวิทยุ หรือ
หลับไปเลยเพื่อใหใจสบายใหถือวาทําไดเทาไรพอใจเทานั้น ถาทําอยางนี้ไมชาจะเขาถึงจุดดี
คือ อารมณฌาน
คําวา ฌาน คือ อารมณชิน ไดแก เมื่อตองการจะรูลมหายใจเขาออกเมื่อไร อารมณ
ทรงตัวทันที ไมตองเสียเวลาตั้งทาตั้งทางเลย ภาวนาเมื่อไรใจสบายเมื่อนั้น แตทวาอารมณฌาน-
โลกียทท ี่ ําไดนั้น เอาแนนอนไมได เมื่อรางกายปกติ ไมเหนื่อย ไมเพลีย ไมปวยมันก็สามารถคุม
อาการภาวนา หรือรูลมหายใจเขาออกไดสบาย ไมมีอารมณขวาง แตถารางกายบกพรองนิดเดียว
เราก็ไมสามารถคุมใหอยูต  ามที่เราตองการได
ฉะนั้น ถาหลงระเริงเลนแตอารมณสมาธิอยางเดียว จะคิดวาเราตายคราวนี้หวังไดสวรรค ,
พรหมโลก นิพพานนั้น (เอาแนนอนไมได) เพราะถากอนตายมีทก ุ ขเวทนามาก จิตอาจจะทรง
อารมณไมอยู ถาจิตเศราหมองขุนมัวเมื่อกอนตาย อาจจะไปอบายภูมิ คือ นรก,เปรต,อสุรกาย,
สัตวเดียรัจฉานได ถาหลงทําเฉพาะสมาธิ ไมหาทางเอาธรรมะอยางอื่นเขาประคับประคอง ถา
เมื่อเวลาตายเกิดมีอารมณเศราหมองเขาครองใจ สมาธิก็ไมสามารถชวยได จึงตองใชธรรมะ
อยางอื่นเขาประคองใจดวยธรรมะที่ชวยประคองใจใหเกิดความมั่นคงไมตองลงอบายภูมิมีนรก
เปนตนก็ไดแก กรรมบถ ๑๐ ประการ คือ

กรรมบถ ๑๐ ประการ

๑. ไมฆาสัตว หรือไมทรมานสัตวใหไดรับความลําบาก
๒. ไมลักทรัพย คือไมถือเอาทรัพยของผูอื่นที่เขาไมใหดวยความเต็มใจ
๓. ไมทําชูในบุตรภรรยาและสามีของผูอื่น
(ขอแถมนิดหนึ่ง ไมดื่มสุราและเมรัยที่ทําใหมึนเมาไรสติ)
๔. ไมพูดจาที่ไมตรงความเปนจริง
๕. ไมพูดวาจาหยาบคายใหสะเทือนใจผูรับฟง
๖. ไมพูดสอเสียดยุใหรําตําใหรั่ว ทําใหผูอื่นแตกราวกัน
๗. ไมพูดจาเพอเจอเหลวไหล
๘. ไมคิดอยากไดทรัพยของผูอื่นที่เจาของเขาไมยกให
๙. ไมคิดประทุษรายใคร คือไมจองลางจองผลาญเพื่อทํารายใคร
๑๐. เชื่อพระพุทธเจาและปฏิบัติตามคําสั่งสอนของทานดวยดี

อานิสงสกรรมบถ ๑๐

ทานที่ปฏิบัติในกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ ทานเรียกชื่อเปนกรรมฐานกองหนึ่งเหมือนกัน


คือ ทานเรียกวา สีลานุสสติกรรมฐาน หมายความวาเปนผูทรงสมาธิในศีล

ทานที่ปฏิบัติในกรรมบถ ๑๐ ประการไดนั้น มีอานิสงสดังนี้


๑. อานิสงสขอที่หนึ่ง จะเกิดเปนคนรูปสวย ไมมีโรคภัยไขเจ็บ มีอายุยืนยาว ไมอายุ
สั้นพลันตาย
๒. อานิสงสขอที่สอง เกิดเปนคนมีทรัพยมาก ทรัพยไมถูกทําลายเพราะโจร , ไฟไหม ,
น้ําทวม , ลมพัด จะมีทรัพยสมบัติสมบูรณบริบูรณขั้นมหาเศรษฐี
๓. อานิสงสขอที่สาม เมื่อเกิดเปนคนจะมีคนที่อยูในบังคับบัญชาเปนคนดี , ไมดื้อดาน
อยูภายในคําสั่งอยางเครงครัด มีความสุขเพราะบริวาร
และการไมดื่มสุราเมรัยเมื่อเกิด เปนคนจะไมมีโรคปวดศีรษะที่รายแรง, ไมเปนโรค
เสนประสาท, ไมเปนคนบาคลั่ง จะเปนคนที่มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ, มีสติปญญาเฉลียวฉลาด

เรื่องของวาจา
๔. อานิสงสขอที่สี่, ขอหา, ขอหก และขอเจ็ด เมื่อเกิดเปนคน จะเปนคนปากหอม
หรือมีเสียงทิพย คนที่ไดยินเสียงทานพูด เขาจะไมอิ่มไมเบื่อในเสียงของทาน ถาเรียกตามสมัย
ปจจุบัน จะเรียกวาคนมีเสียงเปนเสนหก็คงไมผิด จะมีความเปนอยูที่เปนสุข และทรัพยสินมหา-
ศาลเพราะเสียง
เรื่องของใจ
๕. อานิสงสขอที่แปด ,ขอเกา และขอสิบ เปนเรื่องของใจ คืออารมณคิด ถาเวนจาก
การคิดลักขโมย เปนตน ไมคิดจองลางจองผลาญใคร, เชื่อพระพุทธเจา และปฏิบัติตามคําสอน
ของทานดวยความเคารพ, ถาเกิดเปนมนุษย จะเปนคนมีอารมณสงบ, มีความสุขสบายทางใจ
ความเดือดเนื้อรอนใจในกรณีใดๆ ทุกประการจะไมมเี ลย มีแตความสุขใจอยางเดียว

อานิสงสรวม

เมื่อกลาวถึงอานิสงสรวมแลว ผูที่ปฏิบัติกรรมฐานในขั้นนี้ ถึงแมวาจะทรงสมาธิไมได


นาน ตามที่เรียกวา ขณิกสมาธิ นั้น ถาสามารถทรงกรรมบถ ๑๐ ประการไดครบถวน ทานกลาววา
เมื่อตายจากโลกนี้ไปแลว ไมตองไปเกิดในอบายภูมิอีกตอไป บาปที่ทําไวตั้งแตสมัยใดก็ตาม ไมมี
โอกาส นําไปลงโทษในอบายภูมิ มีนรกเปนตน อีกตอไป
ถาบุญบารมีไมมากกวานี้ ตายจากคนไปเปนเทวดาหรือพรหม เมื่อหมดบุญแลวลงมา
เกิดเปนมนุษย จะบรรลุเปนพระอรหันตในชาตินั้น แตถาเรงรัดการบําเพ็ญเพียรดี , รูจักใชปญญา
อยางมีเหตุผล ก็สามารถบรรลุมรรคผลเขาถึงพระนิพพานไดในชาตินี้

แนะวิธีรักษากรรมบถ ๑๐ ประการ

การที่จะทรงความดีเต็มระดับตามที่กลาวมาใหครบถวน ใหปฏิบัติดังนี้
๑. คิดถึงความตาย ไวในขณะที่สมควร คือไมใชทุกลมหายใจเขาออก เมื่อตื่นขึ้นใหม ๆ
อารมณใจยังเปนสุข กอนที่จะเจริญภาวนาอยางอื่น ใหคิดถึงความตายกอน คิดวาความตายอาจ
จะเขามาถึงเราในวันนี้ก็ได จะตายเมื่อไรก็ตามเราไมขอลงอบายภูมิ ที่เราจะไปคือ อยางต่ําไป
สวรรค , อยางกลางไปพรหม ถาไมเกินวิสัยแลวขอไปนิพพานแหงเดียว คิดวาไปนิพพานเปนที่
พอใจที่สด ุ ของเรา
๒. คิดตอไปวา เมื่อความตายจะเขามาถึงเราจะเปนเวลาใดก็ตาม เราขอยึดพระพุทธเจา
พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา พระสงฆสาวกของพระพุทธเจาเปนที่พึ่งตลอดชีวิต คือไม
สงสัยในความดีของพระพุทธเจา ยอมเคารพดวยความศรัทธา คือความเชื่อถือในพระองค ขอ
ปฏิบัติตามคําสอน คือกรรมบถ ๑๐ ประการโดยเครงครัด ถาความตายเขามาถึงเมื่อไร
ขอไปนิพพานแหงเดียว
เมื่อนึกถึงความตายแลว ตั้งใจเคารพ พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆสาวกแลวตั้งใจ
นึกถึงกรรมบถ ๑๐ ประการวามีอะไรบาง ตั้งใจจํา และพยายามปฏิบัติตามอยาใหพลั้งพลาดคิด
ติดตามขอปฏิบต ั ิเสมอวา มีอะไรบาง ตั้งใจไวเลยวา วันนี้เราจะไมยอมละเมิดสิกขาบทใด
สิกขาบทหนึ่งเปนอันขาด เปนธรรมดาอยูเองการที่ระมัดระวังใหมๆ อาจจะมีการพลั้งพลาด
พลั้งเผลอในระยะตนๆ บางเปนของธรรมดา แตถาตัง้ ใจระมัดระวังทุกๆ วันไมนานนักอยาง
ชาไมเกิน ๓ เดือน ก็สามารถรักษาไดครบ มีอาการชินตอการรักษาทุกสิกขาบทจะไมมีการ
ผิดพลาดโดยที่เจตนาเลย เมื่อทานใดทรงอารมณกรรมบถ ๑๐ ประการไดโดยไมตองระวัง
ก็ชื่อวาทานทรงสมาธิขั้นขณิกสมาธิไดครบถวนเมื่อตาย ทานไปสวรรคหรือพรหมโลกไดแน
นอนถาบารมียังออนเกิดเปนมนุษยอีกชาติเดียว ไปนิพพานแน ถาขยันหมั่นเพียรใชปญญา
แบบเบา ๆ ไมเรงรัดเกินไป รักษาอารมณใจใหเปนสุขไมติดในความโลภ ไมวุนวายในความ
โกรธ มีการใหอภัยเปนปกติ ไมเมาในรางกายเรา และรางกายเขาไมชาก็บรรลุพระนิพพาน
ไดแนนอน เปนอันวาการปฏิบัติขั้นขณิกสมาธิจบเพียงเทานี้

.
--------------------------------------------------------------
  3

อุปจารสมาธิ

อุปจารสมาธิ หมายถึง สมาธิเฉียดฌาน คือ ใกลจะถึงปฐมฌาน มีกําลังใจเปนสมาธิ


สูงกวาขณิกสมาธิเล็กนอยต่ํากวาปฐมฌานนิดหนอยเปนสมาธิทม ี่ ีอารมณชมุ ชื่นเอิบอิ่มผูปฏิบัติ
พระกรรมฐานถาอารมณเขาถึงอุปจารสมาธิแลว จะมีความเอิบอิ่มชุมชืน ่ ไมอยากเลิก ทานที่มี
อารมณเขาถึงสมาธิขน ั้ นี้ จึงตองระมัดระวังตัวใหมาก เคยพักผอนเวลาเทาไร เมื่อถึงเวลานัน ้
ตองเลิกและพักผอน ถาปลอยอารมณความชุม  ชื่นทีเ่ กิดแกจิตไมคิดจะพักผอน ไมชาอาการ
เพลียจากประสาทรางกายจะเกิดขึ้น ในที่สุดอาจเปนโรคประสาทได ที่ตองรักษาประสาทก็
เพราะปลอยใจใหเพลิดเพลินเกินไปจนไมไดพักผอน ตองเชื่อคําเตือนของพระพุทธเจาที่ทา น
แนะนํา ปญจวัคคียฤาษีทั้ง ๕ มี ทานอัญญาโกณฑัญญะ เปนประธานโดยทีพ ่ ระพุทธเจา
ทานตรัสวา เธอทั้งหลายจงละสวนสุดสองอยางคือ
๑. ปฏิบัติเครียดเกินไป จนถึงขั้นทรมานตน คือเกิดความลําบาก
๒. ความอยากไดเกินไป จิตใจวุนวายเพราะความอยากได จนอารมณไมสงบ
ถาเธอทั้งหลายติดอยูในสวนสุดสองอยางนี้อยางใดอยางหนึ่ง ผลในการปฏิบัติคือ
มรรคผลจะไมมีแกเธอเลย ขอใหทุกคนตั้งอยูใน มัชฌิมาปฏิปทา คืออารมณปานกลางไดแก
อารมณพอสบาย
เมื่อพระพุทธเจาทรงแนะไวอยางนี้ ก็ยังมีบางทานฝาฝนปฏิบัติเพลิดเพลินเกินไป
ไมพักผอนตามเวลาที่เคยพักผอน จึงเกิดอารมณฟุงซานวุน  วายจนเปนโรคประสาท ทําให
พระพุทธศาสนาตองถูกกลาวหาวาการปฏิบัติพระกรรมฐานทําใหคนเปนบา ฉะนั้น
ขอทานนักปฏิบัติทุกทาน จงอยาฝนคําแนะนําของพระพุทธเจา จงรูจักประมาณเวลาทีเ่ คย
พักผอน ตองพักผอนใหเพียงพอ และปฏิบัติแคอารมณสบาย ถาเกินเวลาพักทีเ่ คยพักก็ดี
อารมณฟุงซานวุนวายคุมไมอยูก็ดีขอใหพักการปฏิบัตเิ พียงแคนน ั้ พักใหสบาย พอใจผลที่ได
แลวเพียงนั้น ปลอยอารมณใจใหรื่นเริงไปตามปกติ

นิมิตทําใหบา

มีเรื่องที่จะทําใหบาอีกเรื่องหนึ่งคือ นิมิต นิมิตคือภาพที่ปรากฏใหเห็นเพราะเมื่อกําลัง


สมาธิเขาถึงระยะอุปจารสมาธินี้ จิตใจเริ่มสะอาดจากกิเลสเล็กนอย เมื่อจิตเริ่มสะอาดจาก
กิเลสพอสมควรตามกําลังของ สมาธิที่กดกิเลสไว ยังไมใชการตัดกิเลส อารมณใจเริ่ม
เปนทิพยนิด ๆ หนอย ๆ ยังไมมีความเปนทิพยทรงตัวพอที่จะเปนทิพจักขุญาณได จิตที่สะอาด
เล็กนอยนัน้ จะเริ่มเห็นภาพนิด ๆ หนอย ๆ ชั่วแวบเดียวคลายแสงฟาแลบคือ ผานไปแวบหนึ่งก็
หายไป ถาตองการใหเกิดใหมก็ไมเกิดเรียกรองออนวอนเทาไรก็ไมมาอีก ทานนักปฏิบัติตอง
เขาใจตามนี้วา ภาพอยางนี้เปนภาพที่ผา นมาชั่วขณะจิตไมสามารถบังคับภาพนัน ้ ใหกลับมาอีก
ได หรือบังคับใหอยูนานมาก ๆ ก็ไมไดเหมือนกัน
ภาพที่ปรากฏนี้จะทรงตัวอยูนานหรือไมนานอยูที่สมาธิของทาน เมือ ่ ภาพปรากฏ
ถากําลังใจของทานไมตกใจพลัดจากสมาธิ ภาพนั้นก็ทรงตัวอยูนานเทาที่สมาธิทรงตัวอยู ถา
เมื่อภาพปรากฏทานตกใจ สมาธิก็พลัดตกจากอารมณ ภาพนั้นก็จะหายไป สวนใหญจะลืม
ความจริงไปวา เมื่อภาพจะปรากฏนั้นเปนอารมณสงัดไมมีความตองการอะไรจิตสงัดจากกิเลส
นิดหนอยจึงเห็นภาพได ครั้นเมื่อภาพปรากฎแลว เกิดมีอารมณอยากเห็นตอไปอีก อาการอยาก
เห็นนี้แหละเปนอาการฟุงซานของจิต จิตตกอยูภายใตอํานาจของกิเลส จิตมีความสกปรกเพราะ
กิเลส อยางนี้ตองการเห็นเทาไรก็ไมเห็น เมื่อไมเห็นตามความตองการก็เกิดความกลุม ยิ่งกลุม
ความฟุงซานยิ่งเกิด เมื่อความปรารถนาไมสมหวังในที่สุดก็เปนโรคประสาท (บางราย
บาไปเลย) ที่เปนเชนนี้เพราะไมเชื่อตามคําแนะนําของพระพุทธเจา ที่ทรงแนะนําไววาจงอยา
มีอารมณอยากหรืออยาใหความอยากไดเขาครอบงําบังคับบัญชาจิต
เมื่อนิมิตเกิดขึ้นควรทําอยางไร

คําวา นิมิต มี ๒ ประเภทคือ นิมิตที่เราสรางขึ้น กับ นิมิตที่ลอยมาเอง


๑. นิมิตที่เราสรางขึ้น จะแนะนําในระยะตอไป นิมิตประเภทนี้ตองรักษาหรือควบคุม
ใหทรงอยู เพราะเปนนิมิตที่สรางกําลังใจใหทรงสมาธิไดนาน หรืออาจสรางกําลังสมาธิใหทรง
อยูนานตามที่เราตองการ
๒. นิมิตลอยมาเอง สําหรับนิมิตประเภทนี้ในที่บางแหงทานแนะนําวา ควรปลอยไปเลย
อยาติดใจจําภาพนัน ้ หรือไมสนใจเสียเลย เพราะเปนนิมิตที่ไมมีความแนนอนถาขืนจําหรือจอง
ตองการภาพ ภาพนั้นจะหายไป กําลังใจจะเสีย แตบางทานแนะนําวาเมื่อนิมิตเกิดขึ้นจะปลอยใจ
ใหเพลิดเพลินไปในนิมิตนัน ้ ก็ได เพราะใจจะไดเปนสุข จะมีความชุม ชื่นในนิมิตนัน
้ เปนเหตุให
ทรงสมาธิไดดี แตจงอยาหลงในนิมิตถานิมิตหายไปก็ปลอยใจไปตามสบาย ไมติดใจในนิมิตนั้น
คงภาวนาไปตามปกติ
ทั้งสองประการนี้ ขอใหทานนักปฏิบัติเลือกเอาตามแตอารมณใจจะเปนสุข แตขอเตือน
ไวนิดหนึ่งวาเมื่อนิมิตปรากฏขึ้น ถาปลอยใจใหเพลิดเพลินไปกับนิมิต ทานอยาลืมวาเมื่อนิมิต
หายไปนั้นเพราะใจเราพลัดจากสมาธิ ใหเริ่มตั้งอารมณโดยจับลมหายใจและภาวนาไปใหม
ไมสนใจกับภาพนิมิตที่หายไปจงอยาลืมวานิมิตเกิดขึน ้ มาเพราะจิตมีสมาธิ และเราไมอยาก
เห็นจึงเปนได และ นิมิตนั้นไมใชทิพจักขุญาณ เมือ ่ หายไปก็เชิญหายไปเราไมสนใจกับ
นิมิตอีกเราจะรักษาอารมณใจใหเปนสุขจากคําภาวนาและรูลมหายใจตอไป ถาความกระวน
กระวายเกิดขึ้นใหเลิกเสียทันที

สรางนิมิตใหเกิดขึ้น

เรื่องสรางนิมิตนี้ ในที่นี้ไมมีการบังคับ ทานตองการสรางก็สราง ทานไมตอ  งการสราง


ก็ไมตองสราง สุดแลวแตความตองการ ขอแนะนําผูทต ี่ องการสรางไวดังนี้
การสรางนิมิตมีหลายแบบ แตทวาในหนังสือนีแ ้ นะนํากรรมฐานหลัก คือ พุทธานุสสติ-
กรรมฐาน จึงขอแนะนําเฉพาะกรรมฐานกองนี้ อันดับแรกขอใหทานหาพระพุทธรูปที่ทาน
ชอบใจสักองคหนึ่ง ถาบังเอิญหาไมไดก็ไมตองหา ใหนึกถึงพระพุทธรูปที่วัดไหนก็ไดที่ทา น
ชอบใจที่สุด ถานึกถึงพระพุทธรูปแลวใจไมจับในพระพุทธรูป จิตจดจอในรูปพระสงฆองคใด
องคหนึ่งที่ทานชอบก็ได เมื่อนึกถึงภาพพระพุทธรูปก็ดี ภาพพระสงฆก็ดี ใหจําภาพนั้นให
สนิทใจแลวภาวนาวา "พุทโธ" พรอมกับจําภาพพระนัน ้ ๆ ไว
ถาทานมีพระพุทธรูปใหทานนั่งขางหนาพระพุทธรูป ลืมตามองดูพระพุทธรูปแลวจดจํา
ภาพพระพุทธรูปใหดี รูปพระพุทธรูปนั้นเปนกรรมฐานไดสองอยางคือ เปนพุทธานุสสติ นึก
ถึงพระพุทธเจาก็ได และเปนกสิณก็ได เมื่อทานมีความรูสึกวา รูปที่ตั้งอยูขางหนาเรานีเ้ ปน
พระพุทธรูป ความรูสึกอยางนั้นของทานเปนพุทธานุสสติกรรมฐาน ถามีความรูสก ึ ตามสีของ
พระพุทธรูป เชน พระพุทธรูปสีเหลือง เปน ปตกสิณ ถาพระพุทธรูปเปนสีขาว เปน โอทา-
ตกสิณ ถาพระพุทธรูปสีเขียว เปน นีลกสิณ ทั้งสามสีนี้ สีใดสีหนึ่งก็ตามเปนกสิณระงับโทสะ
เหมือนกัน
เมื่อทานจะสรางนิมต ิ ใหทําดังนี้ อันดับแรกใหลืมตามองดูพระพุทธรูป จําภาพพระพุทธรูป
พรอมทั้งสีใหครบถวน ในขณะนั้นเมื่อเราเห็นสีพระพุทธรูปไมตองนึกวาเปนกสิณอะไรตั้งใจจํา
เฉพาะพระพุทธรูปเทานัน ้ เมื่อจําไดแลวหลับตานึกถึงภาพพระพุทธรูปนั้นภาวนาควบกับลม
หายใจเขาออกไปตามปกติ เมื่อภาวนาไปไมนานนัก ภาพพระอาจจะเลือนจากใจ เรื่องภาพ
เลือนจากใจนี้เปนของธรรมดาของผูฝ  กใหม เมื่อภาพเลือนไปก็ลืมตาดูภาพพระใหมทําอยางนี้
สลับกันไป เมื่อเวลาจะนอนใหจําภาพพระไวตั้งใจนึกถึงภาพพระ นอนภาวนาจนหลับไป ทั้ง ๆ
ที่จําภาพพระไวอยางนั้น แตถาภาวนาไปเกิดมีอารมณวุนวายนอนไมยอมหลับ ตองเลิกจับภาพ
พระและเลิกภาวนาปลอยใจคิดไปตามสบายของใจมันจนกวาจะหลับไป
อานิสงสสรางนิมิต

การสรางนิมิตมีอานิสงสอยางนี้คือ ทําใหใจเกาะนิมิตเปนสมาธิไดงาย และทรงสมาธิ


ไดนานตามสมควร สามารถสรางจิตใหเขาถึงระดับฌานไดรวดเร็ว

ขั้นตอนของนิมิต

นิมิตขั้นแรกเรียกวา อุคหนินิมิต อุคหนิมิตนีม ้ ีหลายขัน ้ ตอน ในตอนแรกเมือ ่ จําภาพ


พระไดจนติดใจแลว (ไมใชติดตา) ตองเรียกวา ติดใจ เพราะใจนึกถึงภาพพระจะนั่ง นอน
ยืน เดิน ไปทางไหน หรืออยูที่ใดก็ตาม ตองการนึกถึงภาพพระ ใจนึกภาพไดทน ั ทีทันใดมี
ความรูในภาพพระนั้นครบถวนไมเลือนลางอยางนีเ้ รียกวา "อุคหนิมิตขั้นตน" เปนเครื่อง
พิสูจนอารมณสมาธิไดดีกวาการนับ ถาสมาธิยังทรงอยู ภาพนั้นจะยังทรงอยูกับใจ ถาสมาธิ
สลายตัวไป ภาพนัน ้ จะหายไปจากใจถาทานทําไดเพียงเทานี้ อานิสงส คือบุญบารมีที่ทา น
จะได
อุคหนิมิตขัน้ ที่สอง เมื่อสมาธิทรงตัวมากขึ้น ภาพพระจะชัดเจนมากขึ้นจะใสสะอาด
ผุดผองกวาภาพจริงถาทานนึกขอใหภาพพระนั้นสูงขึน ้ ภาพนั้นจะสูงขึ้นตามที่ทา นตองการ
ตองการใหอยูขางหนาหรือขางหลัง เล็กลงหรือใหญขึ้นจะเปนไปตามนัน ้ ทุกประการ อยางนี้
จัดเปนอุคหนิมิตขั้นที่สองสมาธิจะทรงตัวไดดีมาก จะสามารถทรงเวลาไดนานตามที่
ตองการ
อุคหนิมิตขัน ้ ที่สาม เปนขั้นสุดทายของอุคหนิมต ิ เมื่อภาพนิมิตคือภาพพระปรากฏ
ใหถือเอาสีเหลืองเปนสําคัญ ความจริงสีอื่นก็มีสภาพเหมือนกันแตจะอธิบายเฉพาะสีเหลือง
เมื่อสมาธิทรงตัวเต็มอัตรา ภาพสีเหลืองหรือสีอื่นก็ตาม จะคอย ๆ คลายตัวเปนสีขาวออกมา
ทีละนอย ๆ ในที่สุดจะเปนสีขาวสะอาดและหนาทึบอยางนี้ถือวา เปนอุคหนิมิตขัน ้ สุดทาย
ถาประสงคจะใชเปน ทิพจักขุญาณก็ใชในตอนนีไ ้ ดทน ั ที แตตองมีความฉลาดและอาจหาญ
พอ ถาไมฉลาดและอาจหาญไมพอก็จะสรางความเละเทะใหเกิดมากขึ้น วิชาทิพจักขุญาณ
เปนหลักสูตรของวิชชาสาม ในที่นแ ี้ นะนําในหลักสูตรสุกขวิปสสโก จึงของดไมอธิบายเพราะ
จะทําใหเฝอและวุน  วายวาไปตามทางของ สุกขวิปสสโก ดีกวา
อุคหนิมิตนี้เปนนิมิตของ อุปจารสมาธิ จึงยังไมอธิบายถึง อัปปนาสมาธิ

อาการและอารมณของอุปจารสมาธิ

อาการของอุปจารสมาธิคือ ปติไดแกอารมณความอิ่มใจเมื่อทํามาถึงตอนนี้อารมณ
จะชุมชื่นมาก อารมณสะอาดเยือกเย็น มีความเปนสุขอยางยอดเยี่ยม ไมเคยพบความสุข
อยางนีม้ ากอนเลยในชีวิต ตอนนี้เวลาภาวนาลมหายใจจะเบากวาปกติมาก อารมณเปนสุข
รางกายของนักปฏิบัติที่เขาถึงระดับนี้ ผิวหนังจะนวลขึน ้ เพราะอารมณที่มีความสุขแตอาการ
ทางรางกายนี่สิทท ี่ ําใหนักปฏิบัติตกใจกันมากนั่นก็คือ
๑. อาการขนลุกซูซา เมื่อเกิดอาการอยางนี้หรืออยางอื่นที่กลาวถึงตอไปจะมีอารมณ
ใจเปนสุข ขอใหทุกทานปลอยอาการอยางนัน ้ ไปตามสภาพของรางกาย จงอยาสนใจ เมื่อสมาธิ
สูงขึ้น หรือลดตัวลงต่ํากวานั้น อาการอยางนั้นก็จะหมดไปเอง อาการขนลุกพองถามีขน ึ้ พึงควร
ภูมิใจวา เราเขาถึงอาการของปติระดับหนึ่งแลว อยากังวลอาการของรางกาย
๒. อาการของปติขน ั้ ที่ ๒ ไดแกอาการน้ําตาไหล
๓. อาการของปติขั้นที่ ๓ คือรางกายโยกโคลง โยกไปขางหนาบางขางหลังบาง
บางคราวโยกแรง จนศีรษะใกลถึงพื้น
๔. อาการของปติขน ั้ ที่ ๔ ตามตําราทานวาตัวลอยขึ้นบนอากาศ แตผลของการปฏิบัติ
ไมแนนัก บางรายก็เตนเหมือนปลุกตัว บางรายก็ตัวลอยขึ้นบนอากาศ เมื่อลอยไปแลว ถาสมาธิ
คลายตัวก็กลับมาที่เดิมเอง (อยาตกใจ)
๕. อาการของปติขน ั้ ที่ ๕ คือ มีอาการแผซานในรางกายซูซา เหมือนมีลมไหลออก
ในที่สุดเหมือนตัวใหญและสูงขึ้น หนาใหญแลวมีอาการเหมือนลมไหลออกจากกาย ในที่สุด
ก็มีความรูสึกวาตัวหายไปเหลือแตทอนหัว
อาการทั้งหมดนี้ เมือ ่ เกิดขึ้นอารมณใจจะมีความสุข ฉะนั้น นักปฏิบัติใหถืออารมณใจ
เปนสําคัญ อยาตกใจในอาการตามที่กลาวมาแลวนั้น พอสมาธิสูงถึงระดับฌานก็จะสลายตัว
ไปเอง ปตินี้เมื่อเกิดขึ้นแลวอารมณจะเปนสุข คือถึงระดับที่สี่ ที่จะเขาถึงปฐมฌาน ตอไปก็
เปนปฐมฌานเพราะอยูชิดกัน

อัปปนาสมาธิหรือฌาน

ตอไปนี้จะพูดหรือแนะนําใน อัปปนาสมาธิ คําวา อัปปนาสมาธิ เปนสมาธิใหญ มีอารมณ


มั่นคง เขาถึงระดับฌาน ตั้งแตฌานที่หนึ่งถึงฌานที่สี่ แตกอนที่จะพูดถึง อัปปนาสมาธิ ขอยอน
มาอธิบายถึงอุปจารสมาธิเล็กนอยกอน การที่พูดมาแลวเปนการพูดในเรื่องของนิมิตโดยตรง
ทานที่ไมนิยมนิมิตจะไมเขาใจ

อุปจารสมาธิระดับสุดทาย
เมื่อจิตเขาถึงอุปจารสมาธิขน ั้ สุดทาย ถาผูปฏิบัติไมสนใจในนิมิต หรือสรางนิมิตใหเกิดขึน ้
ไมได ใหสังเกตอารมณใจดังนี้ อารมณนี้มเี หมือนกันทั้งทานที่ถือนิมิตหรือไมถอ ื นิมิต คือจะมี
ความรูสึกวามีอารมณตั้งมัน ่ ทรงตัวดี มีความชุมชืน ่ ไมอม ิ่ ไมเบื่อในการปฏิบัติ มีอารมณเปนสุข
เยือกเย็นมาก ซึ่งไมเคยพบมาเลยในชีวิต และมีอารมณเปนหนึ่ง กําหนดอารมณไวอยางไร
อารมณไมเคลื่อนจากที่ตั้งอยูไดนาน ตอนนี้เปน ฌาน อารมณที่สังเกตไดคือ
๑. รูลมหายใจเขา รูลมหายใจออก คําภาวนาทรงตัว ไมลืมไมเผลอไมฟุงไปสูเรื่องอื่น
นอกเหนือจากที่คิดจะภาวนา มีอารมณเต็มเปยมดวยกําลังใจไมอิ่มไมเบื่อไมอยากลุกออกจากที่
มีความสุขหรรษาเปนพิเศษ ซึ่งไมเคยมีความสุขใดในชีวิตที่เคยพบมากอนเลยมีอารมณตั้งมัน ่ ดิ่ง
อยูในที่เดียวเปนพิเศษ (ขอหานี้เปนฌาน) หูไดยินเสียงทุกอยางชัดเจนมากที่เขามากระทบ
ประสาทหู เสียงคนหรือเสียงสัตวธรรมดาไมใชเสียงทิพย แมแตเสียงเครื่องขยายเสียงที่มีเสียงดัง
มาก ตอนนี้ไดยน ิ ทุกอยางชัดเจนตามปกติแตไมรําคาญในเสียงนั้นเลย คงภาวนาหรือกําหนดรูลม
หายใจเขาออกไดเปนปกติเหมือนไมมีเสียงรบกวนลมหายใจจะเบากวาเวลาปกติจนสังเกตไดชัด
อาการอยางนี้ทา นเรียกวา ปฐมฌาน คือ ฌานที่หนึ่ง
๒. เมื่อจิตเปนสมาธิในฌานที่สองมีความรูสึกดังนี้คือจะรูสึกวาคําภาวนาหายไป
บางทานหรือหลายทานควรจะพูดวา มากทานก็คงไมผิดเมื่ออารมณเขาถึงฌานที่สองใหมๆ
อารมณยังไมชิน เมื่อขณะที่จิตทรงอยูในฌานนี้ จะมีความอิ่มเอิบสุขสบาย จะเผลอตัว เมื่อจิต
มีสมาธิลดลง เพราะกําลังจิตถอยสมาธิ จะลดลงอยูที่อุปจารสมาธิ ตอนนี้อารมณคิด คือความ
รูสึกก็เกิดขึ้น เมื่อจิตตั้งอยูใ นฌานจะไมสามารถคิดอะไรได เพราะเอกัคคตารมณคืออารมณ
เปนหนึ่งไมมีอารมณคิดจะทรงตัวเฉยอยูแ  ละไมมีคําภาวนา คําภาวนานี้ตั้งแตฌานที่สองถึงฌาน
ที่สี่จะไมมีคาํ ภาวนาเมื่อรูสึกตัววาไมไดภาวนาก็จะคิดวาตนเองหลับไปหรือเผลอไป ความจริง
ไมใช ซึ่งเปนอาการของฌานที่สอง
๓. เมื่อจิตมีสมาธิเขาถึงฌานที่สาม ตอนนี้จะรูสึกวา ลมหายใจเบาลงมาเกือบไมรูสึก
วาหายใจ แตความจริงยังรูส  ึกถนัดอยูแตเบามากนั่นเอง อาการทางรางกายจะรูสึกเหมือนเกร็งไป
ทั้งราง แตความจริงรางกายเปนปกติ แตทม ี่ ีความรูสึกอยางนัน ้ เปนอาการของสมาธิ เสียงภายนอก
ที่เขามากระทบหูเกือบไมไดยินเสียงนั้นเลยไดยินแตเบามาก จิตทรงอารมณเปนหนึ่งสงัดดีมาก
เปนพิเศษ อยางนีเ้ ปนอาการของฌานที่สาม
๔. อาการของฌานที่สี่ เมื่อจิตเขาถึงฌานที่สี่ ฌานสี่นม ี้ ีสองขั้นคือ หยาบ กับ ละเอียด
สําหรับฌานหนึ่ง สอง สาม นั้น แตละฌานมีสามชั้นคือ หยาบ กลาง ละเอียด ที่ไมอธิบายไว ก็
เพราะกลัวจะเฝอ เพราะเมือ ่ ฝกไดใหมยังไมมีกําลังใจที่แนนอน ประเดี๋ยวไดประเดี๋ยวสลายตัว
อธิบายละเอียดเขาแทนที่จะเปนผลดี จะกลายเปนอาหารผสมยาพิษไปจุกจิกใจเขาเลยเลิกดีกวา
เปนอันวารูกันวาเปนฌานชั้นที่สี่ก็พอ ฌานอืน ่ ๆ พอรูวาถึงฌานก็พอ จงอยาลืมวาเมื่อถึง
ฌานแลวเวลาไมนานก็พลัดจากฌาน คืออารมณลดลงมาที่อารมณปกติ ใหคิดวาเราถึงฌานไดแลว
จะอยูนานหรือไมนานก็ชาง เปนอันวาเราเขาถึงธงชัยแลวก็ดีถมไป วันนี้ฌานสลายตัววันหนาเวลา
หนายังมีอีก เมื่อเรายังไมตายเพียงใด เราก็เลนเพลิดเพลินในฌานใหอารมณเปนสุข เพื่อเพราะ
กําลังสมาธิไวเปนกําลังชวยตัดกิเลสในโอกาสหนาตอไป
เลอะเทอะมาเสียนาน ตอนนี้เขาตอนฌานสี่กันเถอะ เมื่อจิตเขาถึงฌานสี่หยาบตอนนัน ้ จะมี
ความรูสึกวา ลมหายใจหายไป ไมรูสึกวาหายใจ แตที่จริงแลวลมหายใจยังมีตามปกติแตทวาจิต
ไมรับทราบวารางกายทําอะไร หายใจหรือไม จิตใจยอมไมรับรูตามทานพูดวาจิตกับประสาทแยก
กันเด็ดขาด แตตอนฌานสีห ่ ยาบนี้จิตแยกออกจากประสาทจริงแตยังไปไมไกลนัก ฉะนั้นเมื่อมี
เสียงดังขนาดเครื่องขยายเสียงที่ดังมากๆ ตั้งอยูใกลหูยังพอไดยินแววๆ เหมือนอยูไกลกันมาก
เมื่อจิตเขาถึงฌานสีล
่ ะเอียด ตอนนี้สบายมาก เพราะไมรูอะไรเลย (ไมใชหลับ) ภายใน
กําลังของจิตเข็มแข็งมาก มีความสวางโพลง แตจิตไมยอมรับรูเรื่องของประสาทเลย ไมวา
เสียงหรือการกระทบกาย จิตไมยอมรับทราบดวยประการทั้งปวง อาการของฌานสี่ที่ละเอียด
เปนอยางนี้
ที่นาํ อาการของฌานมากลาวไวทน ี่ ี้ก็เพราะวาการปฏิบัติในหมวดสุกขวิปสสโก ก็ทรงฌาน
เหมือนหมวดอื่นเหมือนกัน เพื่อนักปฏิบัติจะไดทราบอาการเอาไว เพราะมีผูมาถามเรื่องอาการ
ของฌานนี้นับรายไมถว น บางรายถามแลวถามอีกถามบอยๆ ชักสงสัยวาทําจริงหรือเปลา เพราะ
ผูทําจริงเขาไมถามบอย เมื่อถามแลวเอาไปปฏิบัติไดแลวรูเรื่องก็ไมมีเรื่องถามตอไป

พลัดตกจากฌาน

เรื่องอาการพลัดตกจากฌานนี้มผ ี ูประสบกันมามาก แมผเู ขียนเองอาการอยางนี้ก็พบมา


ตั้งแตอายุ ๗ ป ตอนนั้นถามีอารมณชอบใจอะไรจิตจะเปนสุข สักครูก็มีอาการเสียววาบคลาย
พลัดตกจากที่สูง ตอนนั้นเปนเด็กไมไดถามใครเพราะไมรูเรื่องของฌาน เปนอยูอยางนีม ้ านาน
เกือบหนึ่งป เมื่อทานแมพาไปหา หลวงพอปาน หลวงพอทานเห็นหนา ทานก็ถามทานแมวา
เจาหนูคนนี้ชอบทําสมาธิหรือ ทานถามทั้งๆ ที่เพิ่งเห็นหนา ทานแมยังไมไดบอกทานเลย
หลวงพอปานทานก็พูดของทานตอไปวา เอ..เจาหนูนี่มันมี ทิพจักขุญาณ ใชไดแลวนี่หวา
ทานหันมาถามผูเขียนวา เจาหนูเคยเห็นผีไหม" ก็กราบเรียนทานวา "ผีเคยมาคุยดวย
ขอรับ แตทวาเขาไมไดมาเปนผี เขามาเปนคนธรรมดาตอเมื่อเขาจะลากลับเขา
จึงบอกวา เขาตายไปแลวกี่ป แลวก็สั่งใหชวยบอกลูกบอกหลานเขาดวย"
หลวงพอปานทานก็พูดตอไปวา "อาการที่เสียวใจคลายหวิวเหมือนคนตกจากที่สูง
นั้นเปนอาการที่จิตพลัดตกจากฌาน คือ เมื่อจิตเขาถึงฌานมีอารมณสบายแลว
ประเดี๋ยวหนึ่งอาศัยที่ความเข็มแข็งยังนอย ไมสามารถทรงตัวได ก็พลัดตก
ลงมา"
ทานบอกวา "กอนภาวนาใหหายใจยาวๆ แรงๆ สักสองสามครั้งหรือหลายครั้งก็ดี
หายใจแรงยาวๆ กอน แลวจึงภาวนา ระบายลมหยาบทิ้งไป เหลือแตลมละเอียด
ตอไปอาการหวิวหรือเสียวจะไมมีอีก" ถาทําครั้งเดียวไมหายก็ทาํ เรื่อยๆ ไป เมือ่ ทํา
ตามทานก็หายจากอาการเสียว ใครมีอาการอยางนี้ลองทําดูแลวกัน หายหรือไมหายก็สุดแลว
แตเปอรเซ็นตของคน คนเปอรเซ็นตมากบอกครั้งเดียวก็เขาใจและทําไดแตทานที่มีเปอรเซ็นต
พิเศษไมทราบผลเหมือนกัน (ตามใจเถอะ)
เปนอันวาเรื่องสมาธิหมดเรื่องกันเสียที เรื่องปฏิภาคนิมิตก็ของดไมอธิบายไมรูจะอธิบาย
ไปทําไม เพราะพูดถึงฌานแลวก็หมดเรื่องกัน อัปปนาสมาธิเปนสมาธิขั้นฌานก็คอ ื อารมณฌาน
นั่นเอง ปฏิภาคนิมิตเปนนิมต ิ ของฌานมีรูปสวยเหมือนดาวประกายพรึกรูเทานี้ก็แลวกัน

ความมุงหมายในการเจริญสมาธิ

การที่เจริญสมาธิมีความมุงหมายดังนี้คือ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจามีพระพุทธประสงค
เพื่อใหพนจากความทุกข มีการเกิดเปนสัตวนรก เปรต อสุรกาย สัตวเดียรัจฉานเปนตน ถาจะ
เกิด ก็ตองการเกิดเปนมนุษยชั้นดี มีรูปสวย เสียงไพเราะ มีโรคนอย มีอายุยืนยาวนานถึงอายุขย ั
มีทรัพยสมบัติมาก มีความสุขเพราะทรัพยสิน และทรัพยสินไมถูกทําลายเพราะโจร ไฟ น้ํา ลม
มีคนในปกครองดีไมฝา ฝนคําสั่ง มีเสียงไพเราะผูท  ี่ฟงเสียงไมอิ่มไมเบื่อในการฟง พูดเปนเงิน
เปนทอง (รวยเพราะเสียง) ไมมีโรคประสาท หรือโรคบารบกวน มีหวังพระนิพพานเปนที่ไปแนนอน
หรือมิฉะนั้นเมื่อยังไปนิพพานไมได ไปเกิดเปนพรหมหรือเทวดากอนแลวตอไปนิพพาน
แตความประสงคของพระพุทธองคมีพระพุทธประสงคใหไปพระนิพพานโดยตรง

เกิดดีไมมีอบายภูมิ

เมื่อยังตองเกิดก็เกิดดีไมมีการไปอบายภูมิ ทานใหปฏิบัติดังนี้ เราเปนนักสมาธิ คือ


มีอารมณมน ั่ คง ถามุงแตสมาธิธรรมดาที่นั่งหลับตาปฏิบัติ ความดีไมทรงตัวไดนาน ตอไป
อาจจะสลายตัวได มีมากแลวที่ทาํ ไดแลวก็เสื่อม และก็เสื่อมประเภทเอาตัวไมรอด คือสมาธิ
หายไปเลย ในปจจุบันนี้ที่ไดแลวเสื่อมก็มีมาก เพื่อเปนการปองกันการเสื่อมและเปนผูมีหวัง
ในการเกิดที่ดีแนนอน ทานใหทําดังนี้

-------------------------------------

ตอนที่ 4

เกิดดีไมมีอบายภูมิ (ตอ)

ทานใหทําจิตใหทรงตัวในอารมณตอไปนี้คือ

๑. คิดวาชีวิตนี้ตองตายแนแตเราไมทราบวันตาย ใหคิดตามที่พระพุทธเจาสอนไววา
เธอทั้งหลายจงอยาคิดวาวันตายจะเขามาถึงเราในวันพรุงนี้ ใหคิดวาอาจจะตาย
วันนี้ก็ได เมื่อคิดถึงความตายแลวไมใชทาํ ใจหอเหี่ยว คิดเตรียมตัววาเราตายเราจะไปไหน
จงตัดสินใจวาเราตองการนิพพาน ถาไปนิพพานไมไดขอไปพักที่พรหมหรือสวรรค ถาตองกลับ
มาเกิดเปนมนุษยจะตองไมลงอบายภูมิ แลวพยายามรักษากําลังใจใหทรงตัวในความดีที่เปน
ที่พึ่งเพื่อใหเราเขาถึงไดแนนอนตามที่เราตองการ คือ
๒. ยอมรับนับถือพระพุทธเจาดวยความเคารพ โดยปฏิบัติใน พุทธานุสสติ ตามที่
แนะนํามาแลวอยาใหขาด
๓. เคารพในพระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา โดยใจนึกถึงความตายอยาง
ไมประมาท ทรงอารมณไวใน อานาปานุสสติกรรมฐาน และกรรมฐานขออื่นๆ ทีท ่ ําไดแลว
เปนปกติ อยาใหกรรมฐานนั้นๆ เลือนหายจากใจในยามทีว่ างจากการงานเวลาทํางานใจ
อยูที่งาน เวลาวางใจอยูที่กรรมฐาน"
๔. ยอมรับนับถือพระอริยสงฆสาวกของพระพุทธเจาดวยการปฏิบัติตามพระธรรม
ของพระพุทธเจา ที่พระสงฆนํามาแนะนําเลือกปฏิบัตต ิ ามที่พอจะทําได
๕. ปฏิบัติและทรงกําลังใจใน ศีลและกรรมบถ ๑๐ อยางเครงครัด ไมยอมละเมิด
ศีลและกรรมบถ ๑๐ อยางเด็ดขาดเวนไวแตทาํ ไปเพราะเผลอไมตั้งใจสําหรับศีลควบกรรมบถ
๑๐ ทานใหปฏิบัติดังนี้
อันดับแรก จงมีความเขาใจวาการปฏิบัติคือการใชอารมณใหเปนสมาธิหมายถึงวาจําได
เสมอไมลม ื วา ศีล และ กรรมบถ ๑๐ มีอะไรบาง เมื่อจําไดแลวก็พยายามเวนไมละเมิดอยาง
เด็ดขาด ใหมๆ อาจจะมีการพลั้งเผลอละเมิดไปบางเปนของธรรมดา เมื่อชินคือชํานาญที่เรียก
วา จิตเปนฌาน คือปฏิบัติระวังจนชิน จนกระทั่งไมตองระวังก็ไมละเมิด อยางนี้ทา นเรียกวา
เปนฌานในศีล และ กรรมบถทั้ง ๑๐ ประการ ผลที่ทาํ ไดก็มผ ี ลในขั้นตนก็คือไปเกิดเปน
เทวดาหรือพรหม หรือมาเกิดมาเปนมนุษยชน ั้ ดีตามทีก่ ลาวมาแลว

ผลของศีลและกรรมบถ๑๐ มีดังนี้
๑. เวนจากการฆาสัตวและทรมานสัตว ใหไดรับความลําบากตลอดชีวิตเวนอยางนี้
ได ถาเกิดเปนมนุษยใหมจะเปนคนมีรูปสวยมาก ไมมโี รคเบียดเบียนอายุยน
ื ยาวครบอายุขัย
ตายใหมไมตองลงอบายภูมิตอไป จนกวาจะเขานิพพาน
๒. เวนการถือเอาทรัพยสินที่คนอืน ่ ไมเต็มใจให หรือขโมยของเขาตลอดชีวิตและ
มีการใหทานตามปกติ เวนตามนี้ไดและใหทานเสมอตามแตจะใหได ถายังไมมพ ี อจะใหไดก็
คิดวา ถาเรามีทรัพยเราจะใหเพื่อเปนการสงเคราะห อยางนี้ถา ตายไปจากชาตินี้ ก็ ไปเกิดเปน
เทวดาหรือพรหม หมดบุญจากเทวดาหรือพรหมมาเกิดเปนคน จะเปนคน ร่ํารวยมาก มีความ
ปรารถนาในทรัพยสมหวังทุกอยาง ทรัพยไมถูกทําลาย เพราะโจร ไฟ น้ํา ลม และจะรวยตลอด
ชาติ
๓. เวนจาการทําชู ลูกเขา ผัวเขา เมียเขา ตลอดชีวิต เวนอยางนี้ไดตายจากความ
เปนคน ไปเกิดเปนเทวดาหรือพรหมแลวลงมาเกิดเปนคนจะมีคนในปกครองดีทุกคนจะไมหนัก
ใจเพราะคนในปกครองเลย
๔. เวนจาการพูดปด
๕. เวนจาการพูดหยาบ
๖. เวนจากการพูดยุใหชาวบานแตกราวกัน เวนจาการพูดวาจาที่ไมเปนประโยชน
ตลอดชีวิต เวนอยางนี้ได หลังจากเปนเทวดาหรือพรหมแลว มาเกิดเปนคน จะเปนคนที่มวี าจา
เปนที่รักของผูรับฟง ไมมีใครอิ่มหรือเบื่อในการฟง ถาพูดตามภาษาชาวบานทานเรียกวามีวาจา
เปนมหาเสนห หรือมีเสียงเปนทิพย คนชอบฟงเสียงทีพ ่ ูด การงานทุกอยางจะสําเร็จเพราะเสียง
ทรัพยสินตางๆ จะเกิดขึ้นเพราะเสียง ถาพูดโดยยอก็ตองพูดวารวยเพราะเสียง หรือเสียงมหา-
เศรษฐีนั่นเอง
๗. เวนจากการดืม ่ น้าํ เมาทีท
่ ําใหเสียสติทุกประการตลอดชีวิต เวนไดตามนี้
เมื่อเกิดเปนคนใหมจะไมมโี รคปวดศีรษะ ไมเปนโรคประสาท ไมมีโรคบามารบกวน เปนคน
มีมนั สมองดีปลอดโปรงในอารมณ (เปนคนฉลาดมาก)
๘. เวนจากการคิดอยากไดทรัพยของผูอน ื่ เอามาเปนของตน ขอนี้ไมไดขโมย
และไมคิดวาจะขโมยดวย เปนการคุมอารมณใจ
๙. ไมคิดประทุษรายจองเวรจองกรรมจองลางจองผลาญใคร มีจิตเมตตาคือ
ความรักในคนและสัตวเหมือนรักตัวเอง
๑๐.ยอมรับนับถือพระพุทธเจา และปฏิบัติตามที่พระองคทรงสั่งสอนทุกประการไมสงสัย
ในคําสอนและผลของการที่ปฏิบัติตามคําสอนแลวมีผลความสุขปรากฏขึ้น ผลของการเวนในขอ
๘, ๙, ๑๐ นี้ เมื่อเกิดใหมจะเปนคนมีอารมณสงบสุข ไมมีความทุกขทางใจอยางใดอยางหนึ่ง
เลยและเปนผลที่ทาํ ใหเขาถึงพระนิพพานงายที่สุข
เมื่อทานเวนตามนี้ได การเวนควรเวนแบบนักเจริญสมาธิ คือมีอารมณรูเพือ ่
เวนตลอดเวลา เมื่อเวนจนชิน จนไมตองระวังก็ไมละเมิด อยางนี้ถือวาทานมีฌานในศีล
และกรรมบถ ๑๐ ประการ ทานเรียกวา เปนผูทรงฌานในสีลานุสสติกรรมฐาน

อานิสงสที่ไดแนนอน
อานิสงส คือ ผลของการปฏิบัติไดครบถวนและทรงอารมณ คือไมละเมิด
ตอไป ทานบอกวาเมื่อตายจากความเปนคนชาตินี้ ไมมีคําวาตกนรก เปนตน ตอไป
อีกในระยะแรกกอนปฏิบัตทิ านจะมีบาปหนักหรือมากขนาดใดก็ตาม บาปนั้นหมด
โอกาสลงโทษทานตลอดไปทุกชาติจนกวาทานจะเขา พระนิพพาน

เมื่อไรจะไปนิพพาน
ในเมื่อทานปฏิบัติไดตามนี้ครบถวนแลว จะไปนิพพานเมื่อไรทานตรัสไว
ดังนี้คือ
๑. ถามีอารมณเขมขน คือบารมีเขมแข็ง บารมี คือ กําลังใจ มีกําลังมัน
่ คง
ปฏิบัติแบบเอาจริงไมเลิกถอนหรือยอหยอนแตไมทาํ จนเครียดเอาแคนึกไดเต็มใจทําจริง
อยูในเกณฑอารมณเปนสุข อยางนีท ้ านบอกวาตายจากความเปนคน ไปเกิดเปนเทวดา
หรือพรหมลงมาเกิดเปนมนุษยชาติเดียว ในชาตินั้นเองเปนพระอรหันตไปนิพพานใน
ชาตินั้น
๒. ถามีบารมีคือกําลังใจปานกลาง ทําไปไมละแตการทํานั้นออนบางเขมแข็ง
บาง อยางนี้เกิดเปนมนุษยอีกสามชาติไปนิพพาน
๓. ประเภทกําลังใจออนแอ ทําไดครบจริงแตระยะการกระตือรือลนมีนอยปลอย
ประเภทชางเถอะตามเดิม ฉันรักษาไดไมขาดก็แลวกัน อยางนี้ทา นวา มาเกิดเปนมนุษย
อีกเจ็ดชาติไปนิพพาน
รวมความแลว ประเภทแข็งเปรี๊ยะไปนิพพานเร็วประเภทแข็งบางออนบางไป
นิพพานชานิดหนึ่ง ประเภทออนไมคอยจะแข็ง แตไมยอมทิ้งความดีที่ปฏิบัติได เรียก
ตามภาษาชาวบานวา ถึงก็ชางไมถึงก็ชาง อยางนี้ถึงชานิดหนึ่ง แตก็ตองถือวาเปนผูมี
โชคดีเหมือนกันหมดคืองดโทษบาปที่ทํามาแลวทั้งหมดมีกาํ ลังเขาพระนิพพานแนนอน
ถายังไปนิพพานไมไดแตเมื่อมาเกิดเปนคนก็เปนคนพิเศษ มีรูปสวยรวยทรัพยเปนตน
ตายจากคนก็เปน เทวดา นางฟา หรือพรหม ตองถือวาโชคดีมากเปนอันวา กรรมฐาน-
ปฏิบัติดวยตนเองแบบงาย ๆ แตไปถึงนิพพานไดก็ยุตก ิ ันเพียงเทานี้

-----------------------------

ตอนที่ 5

เริ่มเจริญสมาธิ

อันดับแรก ขอใหทานที่จะเจริญสมาธิแตงกายใหเรียบรอยตามที่พึงจะมี ใชเครื่อง


แตงกายธรรมดาที่มีอยูแลว แตจัดใหเรียบรอยเทานั้นเอง

เครื่องบูชา

เครื่องบูชาพระ ใชดอกไม ธูป เทียน ตามที่จะพึงหาได ถาบังเอิญอยางใดอยางหนึ่งหา


ไมไดก็ไมตอ  งวิตกกังวล ใหบูชาตามที่ของมีอยู
แตถาในสถานที่บางแหงหรือทานที่อยูเอง จะหาอะไรก็ไมได แมแตธูปก็บังเอิญไมมี
ก็ไมเปนไร ใชมือกับใจบูชาดวยความเคารพจริงก็ใชได

บูชาพระ

เมื่อนั่งเรียบรอยแลวทําใจเคารพในพระพุทธเจา พระธรรม พระอริยสงฆ ใหแนนอน


แลวกลาววาจานมัสการพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ พระอริยสงฆ ดังนี้ (การกลาวนี้
ถาออกเสียงเบา ๆ พอไดยินจะดีมาก แตถาไมมีแรงก็ใชนึกในใจก็ใชไดมีผลเสมอกัน)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ กลาวอยางนี้ ๓ หนแลว
แปลเปนไทยดังนี้ (ควรแปลเพื่อความมั่นใจและรูเรือ ่ งที่เรากลาว)
ขาพเจา ขอนอบนอมนมัสการสมเด็จพระผูมพ ี ระภาคเจาผูเปนพระอรหันตพระองคนั้น
ตลอดชีวิต
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ขาฯ ขอถึงพระพุทธเจาเปนที่พึ่งตลอดชีวิต
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ขาฯ ขอถึงพระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจาเปนที่พึ่ง
ตลอดชีวิต
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ขาฯขอถึงพระอริยสงฆสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจาเปน
ที่พึ่งตลอดชีวิต

ตอนี้ไปเปนถอยคําที่กําหนดไววาจะรักษาใหมั่นคง ไมยอมใหขาดตกบกพรอง ไมตองวา


ภาษาบาลีเพราะจะทําใหฟุงเฟอเอาเพียงคิดในใจกําหนดไววา เราจะรักษาตลอดวันนี้และคืนนี้
ไมใหบกพรอง และทุก ๆ วันจนกวาจะตาย
๑. เราจะไมฆาและทรมานคนและสัตวใหตาย หรือใหไดรับความเดือดรอน ตลอดชีวิต
๒. เราจะไมลักขโมย คดโกง หลอกลวง เปนตน ในทรัพยสินของคนอื่นเอามาเปนของ
เรา ตลอดชีวิต
๓. เราจะไมทําชู ลูกเมีย สามี ภรรยา และคนในปกครองของผูอื่น โดยที่ผูปกครองและ
เจาของไมอนุญาต ตลอดชีวิต
๔. เราจะไมพูดปด คือวาจาไมตรงความจริง ไมพูดวาจาหยาบใหเปนที่สะเทือนใจของ
ผูรับฟง ไมยุหรือนินทาคนอื่นใหเปนเครื่องบาดหมางหรือแตกราวกัน ไมพูดวาจาเหลวไหลไร
ประโยชนตลอดชีวิต
๕. เราจะไมดื่มสุราและเมรัย ตลอดชีวิต
๖. เราจะไมคิดอยากไดทรัพยของผูอื่น เอามาเปนของตน โดยที่ทานเจาของไมไดให
ดวยความเต็มใจ ตลอดชีวิต
๗. เราจะไมจองเวรจองกรรม จองลางจองผลาญคิดพยาบาทเพื่อพิฆาตแกแคนใน
บุคคลที่ทําใหไมพอใจ แตถาไมหนักเกินไปเราจะใหอภัยแกผูนั้น ตลอดชีวิต
๘. เราจะไมฝาฝนพระธรรมวินัย มีศีล เปนตน ตามที่พระพุทธเจาสอนไว จะปฏิบัติ
ตามคําสั่งสอนนั้นดวยความเคารพตลอดชีวิต
ทั้งหมดนี้ จะกลาวโดยออกเสียงเบา ๆ พอไดยิน หรือจะคิดในใจก็ไดทั้ง
สองอยาง เมื่อนมัสการและปฏิญาณตามนี้แลว ทานจะสวดมนตตอตามที่จะพึงสวดได
หรือจะไมสวดมนตตอ  จะสมาทานพระกรรมฐานเลยก็ไดตามใจทาน มีผลเสมอกัน ถา
จะสมาทานใหสมาทานดังนี้

ใหทานตั้งใจกลาว นะโม ฯลฯ ๓ จบ แลวกลาวดังนี้


อิมาหัง ภะคะวา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปริจัจชามิ
แปลวา ขาแตองคสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาผูเจริญ ขาพระพุทธเจา ขอ
มอบกายถวายชีวิตแดองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา
เมื่อสมาทานแลว กราบ ๓ ครั้ง ดวยความเคารพ ตอไปก็เริ่มทําสมาธิ การนั่ง
ทานจะนั่งขัดสมาธิ หรือพับเพียบก็ได ถาเปนที่บานของทานไมมีคนอื่นอยูดวย จะนั่งเกาอี้
หอยขาลงหรือนั่งทาไหนก็ไดตามแตรางกายจะสบาย จะยืน จะเดิน นอนก็ไดไมหาม ทํา
เทาที่รางกายสบายอยาฝนใหรางกายตองถูกทรมาน จิตจะไมเปนสมาธิ

บทภาวนา

คําภาวนานี้ ในที่นี้ขอแนะนําใหภาวนาวา "พุทโธ" เพราะสั้นและงายมีอานิสงสมาก


หายใจเขานึกตามวา พุท หายใจออกนึกตามวา โธ ใจนึกถึงพระพุทธรูปที่วัดไหนหรือพระ
ที่บานก็ได หรือวาชอบใจพระสงฆองคใด นึกถึงพระสงฆนั้นก็ได ตามแตใจจะตองการและ
จําภาพงาย ถาพระพุทธรูปอยูใกลใหลืมตาดูพระพุทธรูป พอจําไดดีแลวหลับตานึกถึง
พระพุทธรูป ถาภาพนั้นเลือนไปจากใจใหลืมตาดูใหม แลวหลับตานึกถึงภาพพระ ทําอยางนี้
สลับกันไป ในไมชาจิตจะทรงสมาธิไดดีไมตอ  งมองภาพพระ จิตสามารถนึกถึงภาพพระได
ตลอดเวลาที่ตองการ อยางนี้ทานเรียกวา จิตเปนฌาน อารมณเขาถึงขั้นที่ตองการ

ความตองการของการเจริญพระกรรมฐาน

การเจริญพระกรรมฐาน ไมใชวาจะตองการทําใจใหสบายเฉพาะเวลาที่นั่งสมาธิ
เทานั้น การนั่งสมาธิไดดีขนาดไหนก็ตาม แตเมื่อเลิกนั่งแลวใจไมทรงการปฏิบัติในกฎ ๘
ประการ ตามที่กลาวมาแลวได คือยังเผลอลืม ยังละเมิดเปนบางวาระ ถือวายังเอาดีจริง ๆ
ไมได เพราะยังเปนทางเดินลงนรก แตละขอถาละเมิดมีโอกาสลงนรกได จึงจําตองเอา
สมาธิใชในที่นั้นดวย คําวา สมาธิ แปลวา ตั้งใจมั่น เวลานั่งฝก เปนการฝกอารมณให
ทรงตัวเพื่อเอามาใชตามนี้ เมื่อเลิกนั่งแลวมีใจ เคารพพระพุทธเจา พระธรรม พระอริยสงฆ
เปนปกติ ใจตองระวังไมใหสิกขาบท ๘ ประการ ขาดตกบกพรอง ทรงอยูดวยดีตลอดเวลา
เรียกวา มีสมาธิครบถวน ถาปฏิบัติไดครบถวนตามนี้และทรงไดไมขาดตลอดกาล บาป
ที่ทําแลวทั้งหมดไมใหผลตอไปเลิกไปอบายภูมิจนกวาจะเขานิพพาน

ความตองการของใจ

ความตองการของใจ คือความปารถนาใหมีใจตองการที่ไปจุดเดียว คือ นิพพาน


เมื่อใจตองการนิพพานจริงจัง จิตจะเริ่มสงบไมทุรนทุรายมาก จิตจะคอยๆ บรรเทาความรัก
ในระหวางเพศ ความโลภ ความโกรธ ความหลงจะคอยๆ สลายตัวไป จนถึงไมเหลือ
อะไรไวเลย จะมีแตอารมณสบายใจเปนสุข วางเฉยตออารมณที่ทําใหขัดใจและเฉยไมสนใจ
ตอสิ่งทีท
่ ําใหชอบใจมีอารมณปกติที่เรียกวา " สังขารุเปกขาญาณ " เมื่อมาถึงตอนนี้มี
หวังไปนิพพานแนนอน

กอนทําอะไรทั้งหมดใหนก
ึ ถึงความตายไวกอน

การนึกถึงความตายไวเปนปกติ ผลที่จะไดรบ
ั ก็คือกิเลสทั้งหลายสลายตัวเร็ว
ความตองการผลในการเจริญกรรมฐานจะมีรวดเร็วมาก ฉะนั้นขอทานนักปฏิบัติจง
อยาลืมคิดวา เราจะตายไว และตั้งใจทําความดีตามพระสูตร ทานจะมีผลตามนั้น
แนนอน

-------------------------------------------

You might also like