บทที่ 3 จิตฟิสิกส์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

จิตฟิ สิกส์

จิตฟิ สิกส์ (Psychophysics) ซึง่ กุสตาฟ เธียโอดอร์ เฟคเนอร์


(Gustav Theodor Fechner, 1801-1887) นักจิตวิทยาชาว
เยอรมันได้คน้ พบในปี พ.ศ. 2403 เขาตีพิมพ์เผยแพร่ในตารา
คลาสสิคชื่อว่า “Elemente der Psychophysik” ที่แสดง
ถึงความต้องการพัฒนาทฤษฎี โดยอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า
ที่อยูร่ อบๆ ตัว กับความรูส้ กึ ที่มีตอ่ สิ่งเร้า
จิตฟิ สิกส์ หมายถึง การอธิบายวิธีการวัดเชิงปริมาณของ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า และ การรับรู ้ ซึง่ เป็ นประสบการณ์เชิงอัตวิสยั
ของแต่ละบุคคล จิตฟิ สิกส์จะทาการทดลองเพื่อวิเคราะห์วา่ ผูเ้ ข้ารับการ
ทดลองจะสามารถตรวจพบสิ่งเร้า สามารถระบุสิ่งเร้า สามารถแยกความ
แตกต่างระหว่างสิ่งเร้านัน้ กับสิ่งเร้าอื่น และสามารถอธิบายขนาดหรือ
ธรรมชาติของความแตกต่างของสิ่งเร้าได้หรือไม่
1. กฎของเวเบอร์ (Weber’ s Law)

∆IαI -------------- (1)

∆I=kI -------------- (2)

∆I =k -------------- (3)
I
สมการ (3) นี ้ เป็ นกฎของเทรชโฮลด์ความแตกต่าง ผูค้ น้ พบกฎนีเ้ ป็ นนักจิตฟิ สกิ ส์
ชาวเยอรมันชื่อ เอิรน์ สต์ เวเบอร์ (Ernst Weber, 1795-1878) ในปี
ค.ศ. 1834 จึงมีช่ือเรียกว่า กฎของเวเบอร์ (Weber’s Law) และ k ใน
สมการเรียกว่า ตัวคงที่ของเวเบอร์ (Weber’s Constant) ซึง่ หมายถึง
ลักษณะเฉพาะของบุคคลในความรูส้ กึ แต่ละอย่าง
2. กฎของเฟคเนอร์ (Fechner’ s Law)

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มของการรู ้สึกกับความเข้มของสิ่ งเร้า


3. กฎของสตีเวนส์ (Stevens’ s Law)
สตีเวนส์ได้สร้างกฎจิตฟิ สิ กส์ข้ ึนมาใหม่ เรี ยกว่า กฎการยกกาลัง
ของสตีเวนส์ (Stevens’s Power Law) โดยมีสูตรในการคานวณ ดังนี้
P = KSn
P = ระดับการรู ้สึก
S = ความเข้มของสิ่ งเร้า
K = ค่าคงที่
n = ค่าคงที่ในการยกกาลัง
Absolute Threshold Exercise

จานวนครัง้ ที่รูส้ กึ เห็น (เป็ น %)

เทรชโฮลด์

ความเข้มของแสง (หน่วยสมมติ)
เส้นโค้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับวัตถุ เรียกว่า ฟั งก์ชนั จิตฟิ สิกส์
(Psychophysical Function)
Imagine
that we
obtained the
following
psychophysic
al function
from an
observer
whose task
was to judge
whether or
not sugar
was tasted in
a cup of
water.

You might also like