496 - Non-Contact Electrodes For Electrocardiogram Final Project Report

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 118

การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วยอิเล็กโทรดแบบไม่สัมผัสผิวหนังโดยตรง

Non-contact Electrodes for Electrocardiogram

ภาณุพงศ์ บัวงาม

เสมา จันทร์แต้

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชาโครงงานวิศวกรรม


ตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปี การศึกษา 2563
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram

Panupong Buangam
Seima Jantae

A PROJECT REPORT SUMBITTED IN PARTIAL FULFILLMENT

OF THE REQUIREMENT FOR THE DEGREE

BACHELOR OF ENGINEERING IN ELECTRICAL ENGINEERING

FACULTY OF ENGINEERING

MAHIDOL UNIVERSITY

2020
โครงงานวิศวกรรม

เรื่ อง

อิเล็กโทรดแบบไม่สัมผัสผิวหนังโดยตรงสาหรับคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

ได้รับการพิจารณาอนุมตั ิให้นบั เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรวิศวกรรมศาตรบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

_____________________ _____________________
นายภาณุพงศ์ บัวงาม นายเสมา จันทร์แต้
ผูว้ ิจยั ผูว้ ิจยั

_____________________
รศ. ดร. สุรโชค ธนพิทกั ษ์, Ph.D. (Electrical Engineering)
อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน
โครงงานวิศวกรรม

เรื่ อง

อิเล็กโทรดแบบไม่สัมผัสผิวหนังโดยตรงสาหรับคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

Non-contact Electrodes for Electrocardiogram

_____________________
อ. ดร. พัฒนาช พัฒนะศรี , Ph.D. (Electrical Engineering)
ประธานกรรมการสอบโครงงานวิศวกรรม

_____________________
อ. ดร. สุพรรณ ทิพย์ทิพากร, Ph.D. (Electrical Engineering)
หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

_____________________
ผศ. เดชา วิไลรัตน์, Ph.D. (Electrical Engineering)
กรรมการสอบโครงงานวิศวกรรม

_____________________
รศ. ดร. ฉัตรชัย เนตรพิศาลวนิช, Ph.D. (Electrical Engineering)
กรรมการสอบโครงงานวิศวกรรม

_____________________
ผศ. ดร. เซง เลิศมโนรัตน์, Ph.D. (Electrical Engineering)
กรรมการสอบโครงงานวิศวกรรม
ประวัติของผูว้ ิจยั

ชื่อ นายภาณุพงศ์ บัวงาม


วัน เดือน ปี เกิด 6 พฤษภาคม 2541
สถานที่เกิด สมุทรสาคร
ประวัติการศึกษา - มัธยมศึกษาปี ที่ 6 แผนกวิทยาศาสตร์ -คณิ ตศาสตร์
จากโรงเรี ยน มัธยมวัดหนองแขม
- ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เบอร์ติดต่อ 0-95534-1689
E-mail address panupongbuangam@gmail.com

ชื่อ นายเสมา จันทร์แต้


วัน เดือน ปี เกิด 1 กันยายน 2541
สถานที่เกิด กรุ งเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา - มัธยมศึกษาปี ที่ 6 แผนกวิทยาศาสตร์ -คณิ ตศาสตร์
จากโรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศ สตรี วิทยา พุทธมณฑล
- ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่ อสาร
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เบอร์ติดต่อ 0-88652-6130
E-mail address seimajantae@gmail.con
กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี เนื่องจากได้รับด้วยความกรุ ณาอย่างสูงจาก รศ.ดร.


สุ รโชค ธนพิทกั ษ์ ที่กรุ ณาให้คาปรึ กษาแนะแนวและสนับสนุนในด้านต่าง ๆ ได้แก่ อุปกรณ์สาหรับ
การทดสอบการทางาน และความรู ้อนั เป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ตลอดจน
ช่วยตรวจแก้ไขข้อบกพร่ องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ อย่างดียงิ่ ตั้งแต่เริ่ มต้นจนถึงสาเร็ จ คณะผูจ้ ดั ทา
วิทยานิพนธ์ขอกราบขอบพระคุณด้วยความเคารพอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.เซง เลิศมโนรัตน์ ที่กรุ ณาให้คาปรึ กษา แนะแนวในการทาวิจยั นี้ จนทา


ให้วิทยานิพนธ์น้ ีสาเร็ จลุล่วง

ขอขอบคุณนางสาวภาวินี จาตุรพิศานุกูล นักศึกษาปริ ญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์


มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) ที่ให้ความช่วยเหลือ
ในการสอนพื้นฐานด้านการหาข้อมูล การทาสื่ อนาเสนอ และความรู ้ในด้านต่างๆ รวมถึงความ
ช่วยเหลือในการจัดสถานที่ทดสอบและการทางาน ซึ่งมีส่วนช่วยเป็ นอย่างมากในการทาให้
วิทยานิพนธ์น้ ีสาเร็ จลุล่วง

ขอขอบคุณนายปรากรณ์ โชคช่วยพัฒนากิจ นักศึกษาปริ ญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์


มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) ที่ให้คาแนะนา
เกี่ยวกับวงจรและการออกแบบแผ่นวงจรพิมพ์ รวมถึงคาแนะนาการใช้เครื่ องมือต่างๆ ซึ่งมีส่วนช่วย
เป็ นอย่างมากในการทาให้วิทยานิพนธ์น้ ีสาเร็ จลุล่วง

ภาณุพงศ์ บัวงาม
เสมา จันทร์แต้
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram i

ชื่อโครงงาน การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วยอิเล็กโทรดแบบไม่สัมผัส

ผิวหนังโดยตรง

ผูว้ ิจยั นายภาณุพงศ์ บัวงาม

นายเสมา จันทร์แต้

ปริ ญญา วิศวกรรมศาสตร์บณ


ั ฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

อาจารย์ที่ปรึ กษาปริ ญญานิพนธ์ รศ. ดร. สุรโชค ธนพิทกั ษ์

วันสาเร็ จการศึกษา 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

บทคัดย่อ

ในแต่ละปี มีผเู ้ สี ยชีวิตจากโรคหัวใจเป็ นจานวนมาก สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็ นสัญญาณ


ที่วดั จากการทางานของหัวใจ ถือเป็ นส่วนที่สาคัญที่ช่วยวินิจฉัยโรคทางหัวใจ โดยมีอิเล็กโทรดที่
เป็ นอุปกรณ์ที่สาคัญสาหรับการวัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ สาหรับวิทยานิพนธ์น้ ีมีวตั ถุประสงค์
เพื่อออกแบบวงจรปรับปรุ งสัญญาณจากการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยที่ไม่ตอ้ งใช้เจลนาไฟฟ้า และ
สัมผัสผิวโดยตรงในการวัด โดยจะทาการเลือกวัสดุที่ใช้เป็ นอิเล็กโทรด ทาการออกแบบและจาลอง
วงจรโดยใช้โปรแกรม Proteus ทาการออกแบบและประกอบวงจรต่างๆบนแผ่นวงจรพิมพ์ ใช้ 3
อิเล็กโทรดในการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และทดสอบสัญญาณผ่านทางออสซิลโลสโคป จะทาการติด
อิเล็กโทรดและวงจรบนเก้าอี้ ทาการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมคอนโทรลเลอร์บอร์ ดในระบบส่ ง
สัญญาณ โดยคาดหวังสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้ จะมีคุณภาพใกล้เคียงกับการมาตรฐาน และ
สามารถวัดสัญญาณผ่านเสื้ อได้
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram ii

PROJECT TITLE Non-contact Electrodes for Electrocardiogram

STUDENTS Mr. Panupong Buangam (Electrical Engineering)


Mr. Seima Jantae (Electrical Engineering)

DEGREE Bachelor of Engineering (Electrical Engineering)

PROJECT ADVISORS Assoc. Prof. Surachoke Thanapitak, Ph.D.

DATE OF GRADUATION May 31, 2021

ABSTRACT

Many people die from heart disease each a year. An electrocardiogram (ECG)
is a test that measures the heart activity. It is the key to diagnosis. Electrodes are
important equipment for ECG measurement. The purpose of this project is to design
signal conditioning, filtering and amplifying of the ECG signal without using
conductive gel and contacting the skin directly. We will select materials for the
electrodes. We will design prototypes in Proteus electronic circuit simulation software.
We will assemble the components on a Printed Circuit Board (PCB). We will use the
three leads for the testing. The ECG results will be shown on an oscilloscope for the
testing. We will attach the non-contact electrode circuits to a chair. We will program
the controller board for the monitoring system. We expect good ECG quality: similar
to standard electrodes. Non-contact electrodes can measure ECG through clothing.
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram iii

EXECUTIVE SUMMARY

Some people have risky behavior because they eat high-fat foods and they
smoke. This can affect the health. They may have high blood pressure and high
cholesterol. These health problems are risk factors for heart disease [1]. More than
20,000 Thai people died of ischemic heart disease in 2018 [2].
We can check the heart at a hospital. We can check some functions of the heart
at home. A smart watch can measure heart rate and blood-oxygen. In some countries,
smart watches can also check ECG.
An electrocardiogram (ECG) is a test that measures the heart activity. An ECG
is produced by electrical signals from the heart. Electrodes are important equipment for
ECG measurement. Electrodes are placed on the skin around the chest using from 3 to
12 leads [3]. Wet electrodes use conductive gel for measurement. It improves electrical
signals because this gel acts as an electrical conductor [4]. However, it may cause skin
allergies, such as a rash [5]. Dry electrodes do not need gel. The disadvantage is lower
electrical signal quality [4].
The purpose of this project is to design signal conditioning, filtering and
amplifying of the ECG signal without using conductive gel and contacting the skin
directly. The circuits will be placed on the electrodes. We will select materials for the
electrodes. We will simulate the design in Proteus. We will create three electrodes and
the circuits. We will test electrodes by attaching them to a chair. Human volunteers will
sit on a chair. The ECG results will be shown on an oscilloscope for the testing. We
will use a wifi controller board because we want to send data and ECG to a mobile
phone. We will program the controller board for the monitoring system. We plan to use
a local test server for displaying results. It will show the ECG on a web page. An ECG
on the mobile phone can be used on the web page. It can be used with iOS and Android.
This will help heart disease patients with the ECG measurement. This is a basic ECG
measurement for testing non-contact electrodes. It is not a commercial device.
We will make non-contact electrodes for ECG measurement. The electrodes and
the skin are separated by a layer of clothes. These electrodes will measure electrical
signals through clothes. The skin-sensing layer impedance is high for detecting
electrical signals [6]. When measuring an ECG signal through clothes, we need to design the
circuits for non-contact electrodes. Non-contact electrodes and electrical circuits work
together. Circuits include electrical components, such as resistors and capacitors. We
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram iv

will design prototypes in Proteus electronic circuit simulation software. We will


assemble the components on a Printed Circuit Board (PCB). The electrodes will be
created with a PCB. The ECG will be shown on a mobile phone. It uses http protocol
for data transmission. The protocol is a standard set of rules. It allows electronic devices
to communicate with each other.
Non-contact electrodes do not contact skin directly. They do not need gel for
measurement. They measure ECG through clothing. A layer of clothes has an affect on
ECG quality [6], [8]. We will create non-contact electrode circuits. They include
filtering and amplifying circuits. The filtering and amplifying will improve ECG quality
[7], [8]. An ECG lead placement has 3 to 12 leads [3]. We plan to use a 3-electrode
system (See Figure1). We will use three leads for testing, so we will make three non-
contact electrode circuits. We will select materials for the electrodes. Different
materials affect quality of ECG signals [6].

Figure 1: 3-lead electrode placement [3]

The signal combination receives signals from three non-contact electrodes. We


will design the circuits. We will simulate the circuits in Proteus. The circuits will be
created using electrical components. The components will be placed on a PCB. For
signal processing and data transmission, we will program a controller board that will
send data to a mobile phone. We will design a user interface for a web page. It will
show the ECG. This web page will be running on a local test server. An ECG on the
mobile phone can be used on the web page. It can be used with iOS and Android.
We will use the three leads for the testing. The ECG results will be shown on
an oscilloscope for the testing. We will attach the non-contact electrode circuits to a
chair. We will attach two non-contact electrodes to the chair backrest and one non-
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram v

contact electrode to the chair seat. A human volunteer will sit on the chair. The ECG
will be shown on a mobile phone.
Electrodes are important equipment for ECG. They detect the electrical signals.
ECG quality is important, so it should be high enough quality. We will develop non-
contact electrodes for the ECG. We will design circuits to improve ECG quality. We
expect good ECG quality: similar to wet electrodes. Non-contact electrodes can
measure ECG through clothing. The electrodes can work using three leads. The ECG
can be measured by patients through sitting on a chair. The testing results will be shown
on mobile phone and oscilloscope.
The ECG is important for those with heart disease. It is the key to diagnosis.
The ECG uses electrodes for measurement. Wet electrodes are the most common
electrodes. They use conductive gel for measurement. The gel may cause skin allergies.
We will design the circuits for non-contact electrodes. They can measure ECG through
clothing. They do not contact skin directly. We expect ECG quality of non-contact
electrodes are good. They will be used instead of wet electrodes in hospitals.
The non-contact electrodes can measure ECG through clothing. We can develop
non-contact electrodes. We can attach them to a hospital bed. It can be used to measure
ECG of bedridden patients.
We will create more functions of a mobile application. The ECG and heart rate
will be recorded in a database, then a doctor can check ECG from a database.
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram vi

สารบัญ

หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย i

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ii

EXECUTIVE SUMMARY iii

สารบัญ vi

สารบัญรู ปภาพ ix

สารบัญตาราง xii

บทที่ หน้า

1. บทนา
1.1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1
1.2. จุดมุ่งหมายของโครงงาน 2
1.3. ขอบเขตของการศึกษา 3
1.4. ขั้นตอนการดาเนิ นงาน 3
1.5. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน 3
2. ทฤษฎีบทที่เกี่ยวข้อง 4
2.1. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 4
2.1.1. คลื่นไฟฟ้าหัวใจ 4
2.1.2. การตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบทัว่ ไป 11
2.1.3. วงจรไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง 19
2.1.4. วิธีการส่ งสัญญาณ 27
2.1.5. การสร้าง Web Server ด้วย HTTP Protocol 28
3. อุปกรณ์
3.1. อุปกรณ์เบื้องต้น 29
3.1.1. LMC6081 Precision CMOS 29
Single Operational Amplifier
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram vii

3.1.2. LMC6082 Precision CMOS 30


Dual Operational Amplifier

3.1.3. ตัวเก็บประจุประเภทไมลา (Mylar Capacitor) 31


3.1.4. ตัวเก็บประจุประเภทเซรามิก (Ceramic Capacitor) 32
3.1.5. ตัวเก็บประจุประเภทโพลีโพรไพลีน 32
(Poiypropyrene Capacitor)
3.1.6. ตัวต้านทานแบบฟิ ล์มโลหะ (Metal Film Resistor) 33
3.1.7. ECG Cable 33
3.1.8. Battery & Battery Socket 34

3.1.9. ออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) 34


3.1.10. ESP 8266 35
3.2. โปรแกรม (Software) 36
3.2.1. Proteus 7.7 Professional 36
3.2.2. Autodesk EAGLE 36
3.2.3. Arduino IDE 37

4. วิธีดาเนินงาน 38
4.1. ภาพรวมของโครงงาน 38
4.2. การออกแบบวงจร Non-contact electrodes 38
4.2.1. วงจรรับสัญญาณ 38
4.2.2. วงจรรวมสัญญาณ 41
4.3. การออกแบบการส่งสัญญาณ 44
4.3.1. การส่ งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังคอมพิวเตอร์ 44
4.3.2. การส่ งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังโทรศัพท์มือถือ 46
4.4. การประกอบชิ้นงาน 48
4.4.1. การออกแบบแผ่นวงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board) 48
4.4.2. รู ปแบบการติดตั้ง 49
5. ผลการดาเนินงาน 50
5.1. การแสดงผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง 50
(Common mode rejection ratio)
5.1.1. ผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสู ง 50
(Common mode rejection ratioหรื อ CMRR) จากการ simulation
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram viii

5.1.2. ผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสู ง 53


(Common mode rejection ratio หรื อ CMRR) จากการทดสอบจริ ง
5.2. การแสดงผลการตอบสนองเชิงความถี่ (Frequency response) 56
5.3. ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อที่มี 57
ส่วนผสม Cotton 100%
5.4. ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อที่มี 59
ส่วนผสม Cotton 100% Polyester 40%
5.5. ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อที่มี 61
ส่วนผสม Polyester 40%
5.6. ผลการทดสอบการส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปคอมพิวเตอร์ 63
5.7. ผลการทดสอบการส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปโทรศัพท์มือถือ 64
6. สรุ ปผลการดาเนินงาน 65
6.1. สรุ ปผล 65
6.2. ปัญหาที่พบและแนวทางแก้ไข 66
6.2.1. สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีองค์ประกอบ PQ ไม่ชด ั เจน 66
6.2.2. การหน่วงเวลาในการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 67
6.2.3. ความคลาดเคลื่อนของอัตราการเต้นหัวใจ 67
6.2.4. การแกว่งไปมาของสัญญาณ 68
6.2.5. การเกิดออกซิเดชัน
่ ต่อแผ่นทองแดงที่ใช้เป็ นอิเล็กโทรด 68
6.2.6. ปัญหาในการแสดงผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจในโทรศัพท์มือถือ 68
6.3. แนวทางการพัฒนาต่อ 69
6.3.1. การพัฒนาวงจรวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 69
6.3.2. การพัฒนาด้านการแสดงผลคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ 69
6.3.3. การพัฒนาคุณภาพของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 69
6.3.4. การพัฒนารู ปแบบการติดตั้ง 69
บรรณานุกรม 70

ภาคผนวก ก 73
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram ix

สารบัญรู ปภาพ

หน้า

บทที่ 1

รู ปที่ 1.1 อาการผื่นแดงจากการใช้อิเล็กโทรดแบบเปี ยกผิดพลาด! ไม่ ได้ กาหนดบุ๊กมาร์ ก

บทที่ 2
รู ปที่ 2.1 Electrical System of the Heart 5
รู ปที่ 2.2 Depolarization and repolarization of a cardiac cell 6
รู ปที่ 2.3 Depolarization Repolarization Cycle 7
รู ปที่ 2.4 Normal Electrocardiogram 8
รู ปที่ 2.5 Electrocardiograph 11
รู ปที่ 2.6 Real time ECG Patient monitoring 11
รู ปที่ 2.8 Dry Electrode 12
รู ปที่ 2.9 Suction cup electrode 13
รู ปที่ 2.10 Electrode gel 13
รู ปที่ 2.11 Bipolar Lead 14
รู ปที่ 2.12 Unipolar Limb Lead 15
รู ปที่ 2.13 Unipolar Chest Lead 16
รู ปที่ 2.14 วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส 19
รู ปที่ 2.15 วงจรตามแรงดัน 20
รู ปที่ 2.16 วงจรขยายสัญญาณอินสตรู เมนท์ 21
รู ปที่ 2.17 วงจร Passive High Pass Filter 22
รู ปที่ 2.18 ผลการตอบสนองความถี่ 23
รู ปที่ 2.19 วงจร Sallen-key Low Pass Filter 23
รู ปที่ 2.20 ผลการตอบสนองเชิงความถี่ของ Band Stop Filter 24
รู ปที่ 2.21 วงจร Basic Twin-T Notch Filter 24
รู ปที่ 2.22 สัญญาณ input ของวงจร Active Clamper 25
รู ปที่ 2.23 สัญญาณ output ของวงจร Active Clamper 25
รู ปที่ 2.24 วงจร Active Positive Clamper 26
รู ปที่ 2.25 วงจร Driven Right Leg (DRL) 26
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram x

รู ปที่ 2.26 ขั้นตอน Analog to Digital Converter 27


รู ปที่ 2.27 ระบบการเชื่อมต่อที่มี WiFi Router เป็ นตัวกลาง 28

บทที่ 3
รู ปที่ 3.1 LMC6081 Single Op-Amp 29
รู ปที่ 3.2 LMC6082 Dual Op-Amp 30
รู ปที่ 3.3 Mylar Capacitor 31
รู ปที่ 3.4 Ceramic Capacitor 32
รู ปที่ 3.5 Polypropylene Capacitor 32
รู ปที่ 3.6 Metal Film Resistor 33
รู ปที่ 3.7 ECG Cable 33
รู ปที่ 3.8 Battery 3V CR2032 34
รู ปที่ 3.9 Battery Socket 34
รู ปที่ 3.10 Oscilloscope 35
รู ปที่ 3.11 ESP 8266 Microcontroller 35
รู ปที่ 3.12 Proteus 7.7 Professional 36
รู ปที่ 3.13 Autodesk EAGLE 36
รู ปที่ 3.14 Arduino IDE 37

บทที่ 4
รู ปที่ 4.1 วงจรรับสัญญาณ 38
รู ปที่ 4.2 Driven Right Leg Circuit 40
รู ปที่ 4.3 วงจรรวมสัญญาณ 41
รู ปที่ 4.4 วงจร Instrumentation Amplifier 42
รู ปที่ 4.5 วงจร Sallen-key Low Pass Filter 43
รู ปที่ 4.6 วงจร Twin-T Notch Filter 43
รู ปที่ 4.7 วงจร Active Clamper 44
รู ปที่ 4.8 โค้ดควบคุมการส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังคอมพิวเตอร์ 45
ผ่านโปรแกรม Arduino IDE
รู ปที่ 4.9 โค้ดการส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังโทรศัพท์มือถือ 46
รู ปที่ 4.10 PCB Design 48
รู ปที่ 4.11 วงจรที่ผา่ นการบัดกรี 48
รู ปที่ 4.12 รู ปแบบการติดตั้ง 49
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram xi

บทที่ 5
รู ปที่ 5.1 วงจรสาเร็ จ 50
รู ปที่ 5.2 สัญญาณ Input แบบ Differential-mode ที่ใช้ในการ Simulation 51
รู ปที่ 5.3 สัญญาณ Output แบบ Differential-mode ที่ได้การ Simulation 51
รู ปที่ 5.4 สัญญาณ Input แบบ Common-mode ที่ใช้ในการ Simulation 52
รู ปที่ 5.5 สัญญาณ Output แบบ Common-mode ที่ได้จากการ Simulation 52
รู ปที่ 5.6 วงจรสาเร็ จที่ทาการบัดกรี ลงบนแผ่นวงจรพิมพ์ 53
รู ปที่ 5.7 สัญญาณ Input แบบ Differential-mode ที่ใช้ในการทดสอบจริ ง 54
รู ปที่ 5.8 สัญญาณ Output แบบ Differential-mode ที่ได้จากการทดสอบจริ ง 54
รู ปที่ 5.9 สัญญาณ Input แบบ Common-mode ที่ใช้ในการทดสอบจริ ง 55
รู ปที่ 5.10 สัญญาณ Output แบบ Common-mode ที่ได้จากการทดสอบจริ ง 55
รู ปที่ 5.11 แสดงผลการตอบสนองเชิงความถี่ (Frequency response) 56
รู ปที่ 5.12 การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านเสื้ อ Cotton 100% 57
รู ปที่ 5.13 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Cotton 100% 57
รู ปที่ 5.14 วิธีการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มี 58
ส่วนผสม Cotton 100%
รู ปที่ 5.15 การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านเสื้ อ Cotton 60% Polyester 40% 59
รู ปที่ 5.16 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Cotton 60% Polyester 40%59
รู ปที่ 5.17 วิธีการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มี 60
ส่วนผสม Cotton 60% Polyester 40%
รู ปที่ 5.18 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Polyester 100% 61
รู ปที่ 5.19 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Polyester 100% 61
รู ปที่ 5.20 วิธีการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ 62
ที่มีส่วนผสม Polyester 100%
รู ปที่ 5.21 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่แสดงในคอมพิวเตอร์ผา่ นโปรแกรม Arduino IDE 63
รู ปที่ 5.22 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่แสดงในโทรศัพท์มือถือผ่าน HTTP server 64
Non-contact Electrodes for Electrocardiogram xii

สารบัญตาราง

หน้า

บทที่ 5
ตารางที่ 5.1 ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการวัดผ่านเสื้ อ 58
ที่มีส่วนผสม Cotton 100%
ตารางที่ 5.2 ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการวัดผ่านเสื้ อ 60
ที่มีส่วนผสม Cotton 60% Polyester 40%
ตารางที่ 5.3 ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการวัดผ่านเสื้ อ 62
ที่มีส่วนผสม Polyester 100%

บทที่ 6
ตารางที่ 6.1 ตารางสรุ ปผลการดาเนินงาน 65
1

บทที่ 1
บทนา
1.1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากการตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีความสาคัญในการวินิจฉัยโรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ และ
ผูค้ นให้ความสนใจมากขึ้นในปัจจุบนั ในทางการแพทย์จะใช้อิเล็กโทรดเป็ นอุปกรณ์สาคัญในการวัด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งจะแบ่งเป็ นสองประเภท คือ อิเล็กโทรดแบบเปี ยก โดยจะมีการใช้เจลนาไฟฟ้ าทาลง
บนผิวหนังเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพของการวัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งเมื่อใช้ในการวัดเสร็จแล้วจะ
ไม่สามารถนากลับมาใช้ซ้ าได้อีก เป็ นการสิ้ นเปลืองทรัพยากรทางการแพทย์ และอิเล็กโทรดแบบแห้ง
ซึ่งต้องมีการกดทับบนผิวหนังโดยตรง โดยทั้งสองประเภทนี้อาจส่ งผลต่อผูใ้ ช้ที่มีผิวหนังบอบบาง ใน
กรณีที่ผปู ้ ่ วยมีความจาเป็ นต้องติดตัวอิเล็กโทรดไว้กบั ตัวเป็ นเวลานานเพื่อทาการวินิจฉัยโรค อาจทาให้
เกิดอันตรายต่อผิวหนังหรื อก่อให้เกิดการแพ้ได้ เช่น อาการผื่นแดงที่เกิดจากการแพ้เจลนาไฟฟ้า และ
รอยกดทับจากการใช้อิเล็กโทรด

รู ปที่ 1.1 อาการผื่นแดงจากการใช้อิเล็กโทรดแบบเปี ยก


ที่มา https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1111/cod.12137
2

สาหรับวิทยานิพนธ์น้ ีจะศึกษาและพัฒนาวงจรปรับปรุ งสัญญาณจากการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ


โดยที่ไม่ตอ้ งใช้เจลนาไฟฟ้าและสัมผัสผิวโดยตรงในการวัด เพื่อแก้ปัญหาจากการใช้งานอิเล็กโทรดทั้ง
สองชนิด โดยนาหลักการทางวิศวกรรมไฟฟ้าด้านอิเล็กทรอนิกส์มาพัฒนาวงจรที่มี Input Impedance
และ common-mode rejection ration (CMRR) ที่สูง เพื่อแก้ไขปัญหาของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ที่มีสัญญาณชีวภาพและสัญญาณไฟฟ้าอื่นๆมารบกวนในการวัด และทาให้วงจรสามารถรับคลื่นไฟฟ้า
หัวใจโดยไม่ตอ้ งใช้เจลนาไฟฟ้าและสัมผัสผิวหนังโดยตรง

1.2. จุดมุ่งหมายของโครงงาน
1.2.1. เพื่อพัฒนาวงจรปรับปรุ งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยที่ไม่ตอ้ งใช้เจลนาไฟฟ้า และ
สัมผัสผิวโดยตรงในการวัด

1.2.2. เพื่อลดปัญหาสัญญาณรบกวนที่เกิดจากการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไม่ใช้เจลนาไฟฟ้า

1.2.3. เพื่อแก้ปัญหาการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เกิดจากการใช้แบบใช้อิเล็กโทรดแบบเปี ยก
และอิเล็กโทรดแบบแห้ง

1.3. ขอบเขตการศึกษา
1.3.1. สร้างวงจรปรับปรุ งสัญญาณจากการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

1.3.2. ใช้รูปแบบการวัดแบบ 3 อิเล็กโทรด

1.3.3. สร้างผลิตภัณฑ์วดั คลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไม่ใช้เจลนาไฟฟ้าและสัมผัสผิวโดยตรง


3

1.4. ขั้นตอนการดาเนินงาน
1.4.1. ทาการศึกษาค้นคว้าเรื่ องของคลื่นไฟฟ้าหัวใจในร่ างกาย

1.4.2. ทาการศึกษาค้นคว้าเรื่ องของอุปกรณ์การวัดสัญญาณ รู ปแบบวงจรที่ใช้ในการวัด

1.4.3. ออกแบบวงจรวัดสัญญาณ และจาลองการทางานของวงจร

1.4.4. สั่งซื้ออุปกรณ์ตามที่ได้ออกแบบไว้

1.4.5. ทดลองต่ออุปกรณ์บนเบรดบอร์ด และทดสอบวัดสัญญาณกับผูใ้ ช้งาน

1.4.6. ปรับปรุ งวงจรรับสัญญาณให้มีผลลัพธ์ตามที่ตอ้ งการ

1.4.7. ออกแบบตัวผลิตภัณฑ์

1.4.8. สั่งทาตัวผลิตภัณฑ์

1.4.9. ทาการประกอบตัวผลิตภัณฑ์

1.4.10. ทดสอบผลิตภัณฑ์กบ
ั ผูใ้ ช้งาน

1.4.11. บันทึกผลและทาการวิเคราะห์สัญญาณ

1.5. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
1.5.1. ได้เรี ยนรู ้การนาความรู ้ทางวิศวกรรมมาพัฒนาเป็ นอุปกรณ์วดั คลื่นไฟฟ้าหัวใจ

1.5.2. ได้เรี ยนรู ้การออกแบบวงจรปรับปรุ งสัญญาณในรู ปแบบต่างๆ

1.5.3. ได้เรี ยนรู ้การออกแบบและสร้างแผ่นวงจรพิมพ์

1.5.4. ได้เรี ยนรู ้วิธีการใช้อุปกรณ์เครื่ องมือในการทดลองด้านอิเล็กทรอนิกส์

1.5.5. ได้เรี ยนรู ้การนาเทคโนโลยีมาช่วยเหลือในการดูแลสุขภาพ


4

บทที่ 2
ทฤษฎีบทที่เกีย่ วข้ อง
2.1. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1.1. คลื่นไฟฟ้าหัวใจ[7]
หัวใจเป็ นอวัยวะกล้ามเนื้อที่สาคัญที่ต้ งั อยูภ่ ายในกึ่งกลางของทรวงอก แบ่งออกเป็ น 4
ห้อง ในส่วนของซีกขวาของหัวใจจะทาหน้าที่รับเลือดที่มาจากส่วนต่างๆของร่ างกายส่งต่อไป
ฟอกที่ปอดและซีกซ้ายของหัวใจจะทาหน้าที่รับเลือดจากปอดส่ งไปเลี้ยงส่ วนต่างๆของร่ างกาย
ภายในหัวใจมีระบบการนาไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ โดยมีจุดกาเนิดไฟฟ้า (Pacemaker) ส่ งกระแส
ไฟฟ้าไปตามจุดต่าง ๆ ของหัวใจ ทาให้เกิดเป็ นคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram: ECG) เป็ นกระบวนการนาไฟฟ้าภายในเซลล์
จึงเกิดการกระตุน้ ในกล้ามเนื้ อหัวใจ ส่งผลให้เกิดการหดตัวและคลายตัวเป็ นจังหวะตามที่ถูก
กระตุน้ ทาให้หวั ใจสามารถขยายตัวรับเลือดและหดตัวสู บฉี ดเลือดออกไปเลี้ยงส่ วนต่างๆทัว่
ร่ างกายได้โดยผนังจากเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษทางไฟฟ้าที่สามารถทาให้
ศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์และภายในเซลล์แตกต่างกันได้

a. การเกิดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และระบบเหนี่ยวนาไฟฟ้าหัวใจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจเกิดจากการที่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจทาหน้าที่เป็ นจุดเริ่ มต้นของ
กระบวนการนาไฟฟ้าอยูภ่ ายในเซลล์ การกระตุน้ ในกล้ามเนื้อหัวใจทาให้เกิดการหด
ตัวและคลายตัวเป็ นจังหวะตามที่ถูกกระตุน้ ทาให้หวั ใจสามารถขยายตัวรั บเลือด
และหดตัวสู บฉี ดเลือดออกไปเลี้ยงส่ วนต่างๆทัว่ ร่ างกายได้โดยผนังจากเซลล์กล้ามเนื้อ
หัวใจซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษทางไฟฟ้าที่สามารถทาให้ศกั ย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์และ
ภายในเซลล์แตกต่างกันได้โดยการที่ศกั ย์ไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีการแลก
เปลี่ ย นเกลื อ แร่ ( Na +และ K +) ระหว่ า งภายในและภายนอกเซลล์ ก ารเกิ ด
ศัก ย์ไ ฟฟ้ า นั้นเริ่ มจากตาแหน่งส่ วนบนสุ ดของหัวใจ เรี ยกว่า SA node แล้วกระจาย
ไปทุกทิศทางของหัวใจห้องบน และมาสิ้ นสุ ดที่ AV node ดังรู ปที่ 2.1
5

รู ปที่ 2.1 Electrical System of the Heart


ที่มา http://www.budhosp.go.th/news/archive/คลื่นไฟฟ้าหัวใจ

b. สภาวะต่างๆในการทางานของหัวใจ
ในการทางานของกล้ามเนื้อหัวใจเมื่ออยูใ่ นระยะพักตัว ศักย์ไฟฟ้าเกิดขึ้นภายในจะ
มีค่าน้อยมาก ซึ่งอาจเรี ยกว่าศักย์ไฟฟ้าขณะเซลล์พกั อยู่ ซึ่งเป็ นสภาวะที่เรี ยกว่า โพลา
ไรเซชัน (Polarization) โดยเมื่อค่าศักย์ไฟฟ้าจะสู งขึ้นจากการถูกกระตุน้ จะเรี ยกว่า
สภาวะ ดีโพลาไรเซชัน (Depolarization) ซึ่งเป็ นผลมาจากการแลกเปลี่ยนความ
เข้มข้นของสารเกลือแร่ เช่ น โซเดี ย มไอออนที่ อ ยู่ ภ ายนอกเซลล์ ก ั บ โปแต
สเซี ย มไอออนที่อยู่ภายในเซลล์ในภาวะปกติภายในเซลล์จะมีสารโปรแตสเซียมสูง
โซเดียมต่า สารเกลือแร่ เหล่านี้จะค่อยๆ ซึมผ่านเข้าออกเซลล์เป็ นระยะๆ ทาให้ค่า
ศักย์ไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ดังนั้นเมื่อใดที่ศกั ย์ไฟฟ้าของเซลล์ลดต่าลงมากๆ
เซลล์จะตอบสนองการกระตุน้ โดยสารโซเดียมภายนอกเซลล์จะซึมเข้าสู่ภายในเซลล์
ทาให้ค่าศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์เพิ่มขึ้น ต่อมาค่าศักย์ไฟฟ้าก็จะค่อยๆลดลง เพราะมีสาร
โปรแตสเซียมซึมผ่านเข้าภายในเซลล์ตามด้วยสารโซเดียมถูกขับออกไปนอกเซลล์
โดยจะเรี ยกว่าเซลล์อยูใ่ นสภาวะกลับตัวหรื อย้อนกลับว่า สภาวะรี โพลาไรเซชัน
(Repolarization) โดยการทางานทั้งหมดจะเกิดขึ้นเป็ นจังหวะเปลี่ยนแปลงขึ้นลง
6

ลักษณะคล้ายคลื่น ซึ่ งเป็ นที่มาที่ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram) ดังรู ปที่


2.2 และ 2.3

รู ปที่ 2.2 Depolarization and repolarization of a cardiac cell


ที่มา https://aibolita.com/heart-and-vessels/50830-depolarization-and-repolarization.html
7

รู ปที่ 2.3 Depolarization Repolarization Cycle


ที่มา https://www.studyblue.com/notes/note/n/3-heart-physiology/deck/1065289

c. ลักษณะของสัญญานคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
โดยลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะมีองค์ประกอบอยูด่ ว้ ยกัน 5 คลื่น
องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบคลื่น P ซึ่งจะเป็ นคลื่นแรกสุ ดที่ปรากฏขึ้น
จากนั้นจะตามมาด้วยองค์ประกอบคลื่น Q ซึ่งจะเป็ นคลื่นที่มีทิศกลับด้านลง
ในทางลบ จากนั้นจะเป็ นองค์ประกอบคลื่น R ซึ่งมีลกั ษณะชัดเจนที่สุด
จากนั้นจะตามด้วยองค์ประกอบคลื่น S ที่มีลกั ษณะกลับด้านลงแบบ
องค์ประกอบคลื่น Q และองค์ประกอบคลื่น T จะมีเป็ นคลื่นที่ปรากฏท้ายสุด
ตามในรู ปที่ 2.5 โดยตามมาตรฐานกลุ่มคลื่นไฟฟ้าหัวใจทั้งจะมีช่วงความถี่อยู่
ที่ประมาณ 0.05-100 Hz
8

รู ปที่ 2.4 Normal Electrocardiogram


ที่มา https://www.ekgstripsearch.com/U_Wave.htm

จะสังเกตเห็นว่า QRS Complex หรื อกลุ่มคลื่นที่มีองค์ประกอบของคลื่น QRS


จะเป็ นกล่มคลื่นที่อยูต่ รงกลางของคลื่นไฟฟ้าหัวใจทั้งหมด และยังสามมารถสังเกตได้
ชัดเจนที่สุดใน 5 องค์ประกอบ อีกทั้งในส่ วน QRS Complex ยังทางานร่ วมกับ
สภาวะ ดีโพลาไรเซชัน (Depolarization) ในการทางานของหัวใจ โดยองค์ประกอบ
ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะอธิบายเพิ่มเติมในตารางที่ 2.1
9

องค์ประกอบ คาอธิบาย เวลา

แสดงถึงผลรวมทางไฟฟ้าของการเกิดกระบวนการดีโพลาไรซ์
(Depolarization) ที่หวั ใจห้องบนทั้งสองห้องเนื่ องจากผนังกล้ามเนื้อ
หัวใจห้องบนไม่หนานักจึงเห็นรู ปคลื่นไฟฟ้าไม่สูงนักไม่เกิน 0.3 มิลลิ
P wave < 80 ms
โวลต์ โดยปกติคลื่น Pจะเป็ นคลื่นหัวตั้ง เว้นแต่ใน Lead aVR ที่คลื่น
P จะเป็ นคลื่นหัวกลับ คลื่น P จะมีขนาดใหญ่และเห็นได้ชด ั ที่สุดเมื่อ
อยูใ่ น Lead II มากกว่า Lead อื่น ๆ

ผลจากสภาวะ ดีโพลาไรเซชัน (Depolarization) ของหัวใจห้องล่าง


ซ้ายและขวา ซึ่งทาให้กล้ามเนื้อหัวใจมีการหดตัว เพื่อที่จะสู บฉีดเลือด
ไปยังบริ เวณต่างๆของร่ างกาย ทาให้เกิดเป็ นองค์ประกอบคลื่น QRS
เกิดขึ้น โดยองค์ประกอบคลื่น R จะมีลกั ษณะเป็ นบวกชัดเจนมาก
QRS
ที่สุด เนื่องจากความหนาของผนังที่ก้ นั บริ เวณหัวใจห้องล่างซ้ายไปขวา 80 - 100
complex โดยรู ปแบบการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะได้องค์ประกอบ QRS ไม่ ms
เหมือนกัน ซึ่งเกิดจากรู ปแบบการติด Lead และความหนาของที่ก้ นั
หัวใจในแต่ละห้องที่ไม่เท่ากัน โดยองค์ประกอบ
คลื่น Q หมายถึง Negative Deflection ที่พบครั้งแรกหลังคลื่น P
คลื่น R หมายถึง Positive Deflection ที่พบครั้งแรกหลังคลื่น P
คลื่น S หมายถึง Negative Deflection ที่พบครั้งแรกหลังคลื่น R

ลักษณะขององค์ประกอบคลื่น T มีลกั ษณะคล้ายกับองค์ประกอบคลื่น


R แต่จะมีความสู งที่นอ
้ ยกว่า โดยองค์ประกอบ R จะมีความสูง
มากกว่าร้อยละ 70 และอลค์ประกอบคลื่น T จะมีลีกษณะไม่สมมาตร
กล่าวคือ ในทางด้านขาขึ้นจะมีค่าความชันที่นอ้ ยกว่าในด้านกราฟขา
T wave ลงอยูเ่ ล็กน้อย โดยการเกิดของคลื่น T จะเกิดจากสภาวะ ดีโพลาไรเซ 160 ms

ชัน (Depolarization) ของหัวใจห้องล่างขวาและซ้ายก่อนที่จะเกิด


การคลายหัวของหัวใจทั้งสองห้อง
10

แสดงถึงช่วงกระบวนการรี โพลาไรซ์ (Repolarization) ของ


กล้ามเนื้อ Papillar ที่ยดึ ลิ้นหัวใจ AV มักบันทึกได้ไม่ชดั เจนแต่จะ
U wave เห็นได้ชดั ที่สุด ใน Chest Lead V4 ,V5 คลื่น U มักมีขนาดไม่เกิน -
0.1 mV มักจะเป็ นคลื่นเล็ก ๆ เกิดขึ้นหลังคลื่น Tและอยู่ก่อนคลื่น P
ในรอบคลื่นถัดไป

วัดเริ่ มจากคลื่น P จนถึงเริ่ ม QRS Complex บางครั้งเรี ยกว่า P–Q


Interval ระยะนี้ หมายถึงระยะที่ใช้ใน กระบวนการดีโพลาไรซ์ 120 - 200
PR Interval
ms
กล้ามเนื้อหัวใจ ห้องบนทั้งสองและถูกหน่วง (Delay) ที่ AV Node

วัดจากระยะเริ่ ม QRS Complex จนสิ้ นสุ ดคลื่น T หมายถึงระยะเวลา


QT
Interval
ในกระบวนการดีโพลาไรซ์และรี โพลาไรซ์ ในกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่าง <440 ms
ทั้งหมด ซึ่งอาจเปลี่ยนไปตามอายุเพศและอัตราหายใจ

ST segment เป็ นการเริ่ ม ventricle repolarization นับจาก


ST
segment
จุดสิ้ นสุ ดของ QRS complex จุดต่อตรงนี้เรี ยกว่า j point ไปจนถึง -
จุดเริ่ มต้น T wave

ตารางที่ 2.1 องค์ประกอบของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ


11

2.1.2. การตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบทัว่ ไป[7]

d. อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัด
- Electrocardiograph สาหรับการบันทึกกราฟคลื่นไฟฟ้าหัวใจลงกระดาษ

รู ปที่ 2.5 Electrocardiograph


ที่มา https://www.tigermedical.com/Products/12-Channel-ECG-Machine

- ECG Patient monitoring สาหรับการดูผลการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ


real time

รู ปที่ 2.6 Real time ECG Patient monitoring


ที่มา https://www.indiamart.com/proddetail/patient-monitor-20963723588.html
12

- Electrodes แผ่นขั้วไฟฟ้าที่ใช้สาหริ บติดลงบนผิวหนังของผูท


้ ี่รับการ
ตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยทัว่ ไปแล้วจะมีหลายรู ปแบบ ดังนี้
o Wet electrode เป็ นอิเล็กโทรดที่ทาขึ้นเพื่อให้แนบสนิ ทกับผิวหนัง
ของร่ างกายก่อนใช้งานต้องมีการทาเจลหรื อครี มเพื่อเพิม่ การนา
ไฟฟ้า

รู ปที่ 2.7 Wet electrode


ที่มา davismedical.com/Products/Kendall-Medi-Trace-Mini-130-Foam-ECG-Electrode-
CASE

o Dry electrode เป็ นอิเล็กโตรดที่สามารถปิ ดบนผิวหนังของร่ างกาย


โดยตรงไม่ตอ้ งใช้ครี มมาเป็ นตัวกลางลักษณะที่สาคัญของ
อิเล็กโทรดชนิ ดนี้คือ จะมี Amplifier ซึ่งมี Input Impedance มาก
และเพื่อลดการรบกวนอิเล็กโตรดจะต่อเข้าเครื่ องโดยใช้สายลีดที่
พยายามให้ส้ นั ที่สุด

รู ปที่ 2.8 Dry Electrode


ที่มา https://www.researchgate.net/figure/a-Fabrication-steps-of-the-dry-ECG-electrodes-i-
PET-ii-screen-printed-electrode_fig1_324949881
13

o Suction cup electrode เป็ นอิเล็กโทรดที่ทาเป็ นรู ปถ้วยด้านบนติด


ลูกยางเพื่อบีบให้เกิดแรงดูด เมื่อติดที่ผิวหนังผูถ้ ูกวัดจะมีเฉพาะของ
อิ เ ล็ ก โตรดเท่ า นั้ นที่ ติ ด ผิ ว หนั ง และก่ อ นใช้ ต้ อ งใส่ ค รี มเพื่ อ
นาสัญญาณได้ดียงิ่ ขึ้น ยังคงใช้อยูใ่ นปัจจุบนั ในการบันทึก Chest
lead

รู ปที่ 2.9 Suction cup electrode


ที่มา https://www.med-linket.com/ecg-electrodes.html

- Electrode Gel สาหรับลงบนผิวหนังก่อนทาการตรวจวันคลื่นไฟฟ้าหัวใจ


เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการวัดสัญญาณ

รู ปที่ 2.10 Electrode gel


ที่มา https://www.walmart.com/ip/Easy-Home-Ultrasound-Conductive-Electrode-Gel-2-2-
oz-60g-Tube-Gel-for-TENS-EMS-Pads-ETG-60T-2-Pack/717656232
14

e. รู ปแบบการติดเครื่ องมือวัด EKG/ECG


คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่สมบูรณ์จะต้องติดที่วดั ประกอบด้วย 12 Lead ซึ่งในแต่ละ
Lead เกิดจากการวางขั้วไฟฟ้าไว้ในแต่ละตาแหน่งๆบนร่ างกาย โดยรู ปแบบการติดที่
วัดทั้ง 12 Lead นี้จะแบ่งออกได้เป็ น 3 รู ปแบบคือ
- Bipolar Lead เป็ นการติดสายวัดสัญญาณตามส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย ใน
ลักษณะของรู ปสามเหลี่ยมเอนโทเฟ่ น เช่น แขนขวา แขนซ้าย ขาขวาและขา
ซ้าย แต่โดยปกติจะทาการวางไว้บนที่ขาซ้าย เพราะมีความสะดวกในการวัด
มากกว่า โดยการวัดจะเป็ นการวัดค่าความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้าที่เราทา
การติดไว้ที่ต่างๆของร่ างกายตามที่ระบุไว้

จากรู ปแบบการติดแบบ Bipolar Lead ทาให้ได้การติดตั้งแบ่งเป็ น 3 ตาแหน่ง


หรื อเรี ยกว่า 3 Lead ตามลักษณะในรู ปที่ 2.11 คือ Lead I จะเป็ นการวัดค่าความต่าง
ของศักย์ไฟฟ้าที่แขนขวาและศักย์ไฟฟ้าแขนซ้าย Lead II จะทาการวัดค่าความต่างของ
ศักย์ไฟฟ้าที่แขนขวาและศักย์ไฟฟ้าขาซ้าย และ Lead III จะเป็ นการวัดค่าความต่าง
ของศักย์ไฟฟ้าที่แตกต่างกันระหว่างแขนซ้ายและขาขวา

รู ปที่ 2.11 Bipolar Lead


ที่มา https://hackaday.io/project/15575-cardiotron/log/46799-basic-operation-and-
limitations
15

- Unipolar Limb Lead หรื อแบบ Augmented Limb Lead เป็ นการวัดค่า
ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตาแหน่งเดียวกับแบบ Standard Limb Lead โดยใช้
วิธีการวัดทั้ง 3 จุดโดยเปรี ยบเทียบจุดหลักกับค่าเฉลี่ยศักย์ไฟฟ้ากับจุดที่เหลือ
โดยเทียบกับอิเล็กโทรดอ้างอิงซึ่งถือว่าศักย์ไฟฟ้าเป็ นศูนย์โวลต์เรี ยกว่าเอกซ์
โพลริ่ งอิเล็กโทรด (Exploring Electrode) มีตาแหน่งมาตรฐานแบ่งได้เป็ น 3
Lead คือ

รู ปที่ 2.12 Unipolar Limb Lead


ที่มา https://www.wikilectures.eu/w/Unipolar_and_bipolar_connection

Lead aVR ใช้อิเล็กโทรดติดกับขั้วไฟฟ้าบวกวางที่แขนขวาเปรี ยบเทียบกับ


ค่าเฉลี่ยศักย์ไฟฟ้าของแขนซ้ายกับขาซ้าย
Lead aVL ใช้อิเล็กโทรดติดกับขั้วไฟฟ้าบวกวางที่แขนซ้ายเปรี ยบเทียบกับ
ค่าเฉลี่ยศักย์ไฟฟ้าของแขนขวากับขาซ้าย
Lead aVF ใช้อิเล็กโทรดติดกับขั้วไฟฟ้าบวกที่ขาซ้ายเปรี ยบเทียบกับค่าเฉลี่ย
ศักย์ไฟฟ้าของแขนขวากับแขนซ้าย

- Unipolar Chest Lead หรื อ Precordial Lead เป็ นการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ


ระหว่างตาแหน่งต่าง ๆ บนหน้าอกรอบหัวใจตามแบบมาตรฐานสากลซึ่งมี
การวางตาแหน่งด้วยกัน 6 ตาแหน่ง หรื อใช้ตวั ย่อว่า V Lead ตามตาแหน่งต่าง
ๆ ของขั้วไฟฟ้าที่วา่ งอยูบ่ นหน้าอกซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
16

รู ปที่ 2.13 Unipolar Chest Lead


ที่มา https://www.pondermed.com/pondering-cardiology/hunting-culprit-properly-
understanding/

- Lead V1 จะทาการติดไว้บริ เวณด้านขวาของกระดูกซี่ โครง ซึ่งติดประมาณ


บริ เวณกระดูกซี่โครงชิ้นที่ 4 ตามตาแหน่งในรู ปที่ 2.13
- Lead V2 จะทาการติดไว้บริ เวณด้านซ้ายของกระดูกซี่โครง ซึ่งติดประมาณ
บริ เวณกระดูกซี่โครงชิ้นที่ 4 ตามตาแหน่งในรู ปที่ 2.13
- Lead V3 จะทาการติดบริ เวณทางด้านซ้ายของซี่โครงในช่องระหว่าง Lead
V2 กับ Lead V4
- Lead V4 จะทาการติดบริ เวณด้านซ้ายของกระดูกศี่โครง ซึ่งติดประมาณ
บริ เวณกระดูกซี่โครงชิ้นที่ 5 และในตาแหน่งตามแนวของเส้น Mid-
clavicular line ตามรู ปที่ 2.13
- Lead V5 จะทาการติดบริ เวณด้านซ้ายของกระดูกซี่ โครง บริ เวณกระดูก
ซี่โครงชิ้นที่ 6 และตามแนวของ Anterior azillaty line กับเส้นขนานที่วดั
จากบริ เวณ Lead V4
- Lead V6 จะทาการติดบริ เวณจุดตัดของแนว Mid-clavicular line และ
Anterior azillaty line ที่วดั ลากขนานกับ Lead V4
17

f. ขั้นตอนในการตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจสามารถทาได้ที่โรงพยาบาล คลินิก หรื อหน่วยงานสาธารณสุขต่าง ๆ ใช้
เวลาตรวจประมาณ 5-10 นาที โดยมีข้นั ตอนดังนี้

- ผูเ้ ข้ารับการตรวจนอนหงายลงบนเตียงและทาตัวผ่อนคลายหรื อปฏิบตั ิตาม


คาแนะนาของเจ้าหน้าที่
- การติดตัวรับกระแสไฟฟ้าจากการเต้นของหัวใจตามแขน ขา และหน้าอก อาจ
มีการเช็ดทาความสะอาดหากผิวหนังสกปรกหรื อโกนขนตามจุดที่มีการติด
ตัวรับกระแสไฟฟ้าในกรณีที่ติดตัวรับกระแสไฟฟ้าไม่อยู่
- ทาครี มหรื อเจลที่ใช้เป็ นตัวนาไฟฟ้าในการติดแผ่นอิเล็กโทรด
- ในระหว่างการตรวจควรอยูน่ ิ่ งไม่เคลื่อนไหว พูดคุย หรื อขยับมากเกินไป ไม่
เกร็งตามส่วนต่าง ๆ ของร่ างกาย เพราะอาจส่งผลให้เกิดความคาดเคลื่อนของ
ผลตรวจขึ้นได้

g. ประโยชน์ของการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
- เช็คอัตราการเต้นของหัวใจว่ามีจงั หวะการเต้นที่เร็วหรื อช้าผิดปกติ
หรื อมีความสม่าเสมอหรื อไม่
- ค้นหาต้นตอของอาการเจ็บหน้าอก ซึ่งอาจเกิดจากภาวะเส้นเลือดหัวใจตีบ ทา
ให้หวั ใจขาดเลือดเฉียบพลันหรื อเกิดจากภาวะอื่น ๆ เช่น เยือ่ หุม้ หัวใจอักเสบ
(เนื้ อเยือ่ บาง ๆ ที่คลุมรอบหัวใจ) กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
- ตรวจหาโรคหัวใจในผูป้ ่ วยที่มีอาการของโรคเบื้องต้นก่อน เช่น หายใจลาบาก
เหนื่อย หายใจสั้นหรื อหายใจไม่อิ่ม เวียนศีรษะ หน้ามืด หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
- ตรวจความหนาของผนังกั้นห้องหัวใจ
- ดูประสิ ทธิภาพของการใช้ยาและผลข้างเคียงที่อาจกระทบต่อการทางานของ
หัวใจ
- ตรวจเช็คสุขภาพหัวใจในผูท้ ี่มีความเสี่ ยง โดยเฉพาะโรคประจาตัวหรื อมี
ปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคทางด้านหัวใจเช่นผูท้ ี่เป็ นโรคความดันสู ง
คอเลสเตอรอลสูง สูบบุหรี่ โรคเบาหวาน หรื อมีประวัติบุคคลในครอบครัว
เป็ นโรคหัวใจ
18

h. ปัญหาในการวัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ในการวัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจอาจได้รับการรบกวนจากแหล่งรบกวนหลาย
ประเภท
- สัญญาณความถี่รบกวนของสายไฟฟ้าที่ 50 Hz และความถี่จากแหล่งจ่ายไฟ
หลัก
- การสัมผัสระหว่างอิเล็กโทรดและผิวหนังทาให้เกิดการเบี่ยงเบนของสัญญาณ
- การเปลี่ยนแปลงในอิมพีแดนซ์ที่ผิวอิเล็กโทรด
- การหดตัวของกล้ามเนื้ อทาให้เกิดคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้ อ
(EMG หรื อ Electromyography) และผสมกับสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
- การหายใจของผูไ้ ด้รับการตรวจสัญญานคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
- สัญญาณรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้าจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ โดยมีสาย
อิเล็กโทรดทาหน้าที่เป็ นเสาอากาศ
- เสี ยงรบกวนจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่มกั มีความถี่สูง

i. ข้อจากัดในการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะพบความผิดปกติได้เฉพาะเมื่อมีอาการในขณะตรวจ
เท่านั้น จึงอาจทาให้ผลออกมาเป็ นปกติหากผูป้ ่ วยไม่มีอาการตอนตรวจ เช่น ผูป้ ่ วยที่มี
อาการเจ็บหน้าอกเป็ น ๆ หาย ๆ จากโรคหลอดเลือดหัวใจที่ยงั ตรวจไม่พบอาจได้ผล
ตรวจออกมาเป็ นปกติ เนื่องจากตอนตรวจไม่มีอาการ ดังนั้นอาจต้องมีการตรวจซ้ า
หลายครั้งหรื อมีการตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีพิเศษอื่น เช่น การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะ
ออกกาลังกาย การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสี ยงความถี่สูง

j. ผลข้างเคียงของการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็ นวิธีที่ปลอดภัย ไม่มีอนั ตรายในการตรวจ แต่ในขณะ
การตรวจอาจทาให้เกิดความอึดอัดเล็กน้อยเมื่อติดตัวรับกระแสไฟฟ้า ในบางรายอาจมี
อาการบวมแดงหรื อผื่นขึ้นหลังการถอดอุปกรณ์ออก
19

2.1.3. วงจรไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง

k. วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส (Non-inverting Operational Amplifier)


วงจรที่ทาหน้าที่ขยายสัญญาณ โดยสัญญาณที่ผา่ นการขยายจะไม่กลับเฟส ผลคือ
จะได้สัญญาณในรู ปแบบเดิม โดยจะขยายตาม Gain(Av) ของวงจร

รู ปที่ 2.14 วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส


ที่มา https://www.electronics-tutorials.ws/opamp/opamp_3.html

จากรู ป พิจารณาที่โหนด V1 ด้วยกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์


𝑉out − 𝑉1 𝑉1
− =0
𝑅F 𝑅2

จะได้ 𝑉1 = (𝑅
𝑅2
F +𝑅2
)𝑉out

จากคุณสมบัติทางอุดมคติของ Operating Amplifier (Op-Amp)


𝑉+ = 𝑉𝑖𝑛 = 𝑉− = 𝑉1

จะได้ 𝑉in = (𝑅
𝑅2
F +𝑅2
)𝑉out

เมื่อจัดรู ปจะได้ 𝑉out = (1 + 𝑅𝐹)𝑉in


𝑅
2
20

l. วงจรตามแรงดัน (Voltage Buffer)


วงจรที่ทาหน้าที่ปรับสัญญาณที่เข้ามา จะให้ค่าแรงดันทางด้านเอาท์พุตเท่ากับ
แรงดันทางด้านอินพุต เนื่องจากมีอตั ราขยายแรงดันของวงจร เท่ากับ 1 (A = 1)

รู ปที่ 2.15 วงจรตามแรงดัน


ที่มา http://www.g-tech.ac.th/vdo/ELECTRICdoc

พิจารณาจากรู ปจะได้
𝑉+ = 𝑉𝑖 = 𝑉−

𝑉− = 𝑉𝑜 −

𝑉𝑜 = 𝑉𝑖
21

m. วงจรขยายสัญญาณอินสตรู เมนท์ (Instrumentation Amplifier)


เป็ นวงจรที่ทาหน้าที่ขยายสัญญาณที่แตกต่างกัน โดยมีอตั ราขยายแรงดันของวงจร
มีค่ามากซึ่งเหมาะสมกับการขยายสัญญาณที่มีขนาดเล็ก ความต้านทานด้านอินพุตมีค่า
สูงมาก และอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง (Common mode rejection ratio)ซึ่ง
โดยปกติแล้วสัญญาณชีวภาพหรื อสัญญาณรบกวนซึ่งขั้วบวกและลบมีลกั ษณะ
เหมือนกัน ดังนั้นวงจรขยายสัญญาณอินสตรู เมนท์เหมาะสมที่ใช้ขยายสัญญาณขนาด
เล็ก และมีสัญญาณโหมดร่ วมที่เราไม่ตอ้ งการ

รู ปที่ 2.16 วงจรขยายสัญญาณอินสตรู เมนท์


ที่มา http://pws.npru.ac.th/thawatchait/data/files/Chapter%202_Op-
Amp%20Circuits_01_ok.pdf

การวิเคราะห์วงจรขยายอินสตรู เมนท์สามารถอธิบายได้ดงั นี้


แรงดันผลต่าง 𝑉𝑜1 − 𝑉𝑜2 มีค่าเท่ากับ
2𝑅2
𝑉𝑜1 − 𝑉𝑜2 = (1 + )(𝑉1 − 𝑉2 )
𝑅1

แรงดันเอาต์พุตของออปแอมป์ A3 มีค่าเท่ากับ
𝑅4
𝑉𝑜𝑢𝑡 = (− )(𝑉 − 𝑉𝑜2 )
𝑅3 𝑜1

ดังนั้น แรงดันเอาต์พุตของวงจรมราค่าเท่ากับ
𝑅4 2𝑅2
𝑉𝑜𝑢𝑡 = (1 + )(𝑉2 − 𝑉1 )
𝑅3 𝑅1
22

n. Passive High Pass Filter


วงจรกรองความถี่ต่า ที่จะยอมให้ความถี่สูงผ่านได้อย่างเดียว โดยมีจุดตัดที่ fC
ความถี่คตั ออฟ คือ ความถี่ ณ ขณะที่อตั ราขยายของวงจรมีค่าลดลงเป็ น 0.707 เท่าของ
อัตราขยายปกติ (-3 dB) บางครั้งอาจเรี ยกความถี่น้ ี ได้วา่ ความถี่มุม (Corner
Frequency) เป็ น Filter แบบ first order ที่ใช้เพียงแค่ R และ C ในการทางานแบบ
passive คือสามารถทางานโดยไม่มีการใช้ไฟเลี้ยงวงจร โดยมีรูปแบบวงจรคือ

รู ปที่ 2.17 วงจร Passive High Pass Filter


ที่มา https://www.electronics-tutorials.ws/filter/filter_2.html

โดย 1
𝑓𝑐 = 2𝜋RC

o. Sallen-key Low Pass Filter


วงจรกรองความถี่ต่าจะยอมให้ความถี่ผา่ นได้ในช่วงตั้งแต่สัญญาณที่เป็ นแรงดัน
DC ไปจนถึงความถี่คตั ออฟ (Cutoff Frequency) แทนด้วยเครื่ องหมาย fc ความถี่คตั
ออฟ คือ ความถี่ ณ ขณะที่อตั ราขยายของวงจรมีค่าลดลงเป็ น 0.707 เท่าของอัตราขยาย
ปกติ (-3 dB) บางครั้งอาจเรี ยกความถี่น้ ีได้วา่ ความถี่มุม (Corner Frequency) ถ้ามี
ความถี่ที่สูงเกิน fc ผ่านวงจรจะลดทอนขนาดความถี่น้ นั จนมีค่าน้อยมาก ๆ จากในรู ป
เส้นประแสดงถึงผลในทางอุดมคติ ส่วนเส้นทึบแสดงถึงผลของวงจรในทางความเป็ น
จริ ง ในช่วงที่ยอมให้ความถี่ผ่านได้เราเรี ยกว่า ช่วงผ่าน (Pass Band) และช่วงที่ไม่ยอม
ให้ความถี่ผา่ นเรี ยกว่า ช่วงลดทอน (Stop band) ดังรู ปภาพที่ 2.18
23

รู ปที่ 2.18 ผลการตอบสนองความถี่


ที่มา http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/7222/2/Fulltext.pdf

รู ปที่ 2.19 วงจร Sallen-key Low Pass Filter


ที่มา https://www.electronics-tutorials.ws/filter/filter_6.html

โดย 𝐴𝑣 = 1 + 𝑅2
𝑅
1

1
𝑓𝑐 =
2𝜋√𝑅3 𝑅4 𝐶1 𝐶2
24

p. Twin-T Notch Filter


เป็ นวงจรที่ใช้ตดั ความถี่ในความถี่ที่ไม่ตอ้ งการออก ในลักษณะเดียวกับ Band
Stop Filter ตามดังรู ปที่ 2.20 วงจรจะไม่ยอมให้ความถี่ที่ fc ผ่าน

รู ปที่ 2.20 ผลการตอบสนองเชิงความถี่ของ Band Stop Filter


ที่มา https://www.electronics-tutorials.ws/filter/band-stop-filter.html

รู ปที่ 2.21 วงจร Basic Twin-T Notch Filter


ที่มา https://www.electronics-tutorials.ws/filter/band-stop-filter.html

โดย fN จะเป็ นความถี่ที่ตอ้ งการตัดออก โดยคานวณได้จากสมการ


1
𝑓𝑁 =
4𝜋RC
25

q. Active Clamper Circuit


วงจรที่ทาหน้าที่ยกระดับสัญญาณขึ้น ซึ่งจะทาการยกสัญญาณขึ้นจากค่าสัญญาณ
สูงสุดที่เข้ามา Vm ให้กลายเป็ น 2Vm ทาให้สัญญาณยกสู งขึ้นจากสัญญาณที่เข้ามาดัง
รู ปที่ 2.22กลายเป็ นรู ปที่ 2.23 โดยมีรูปแบบวงจรดังรู ป 2.24

รู ปที่ 2.22 สัญญาณ input ของวงจร Active Clamper


ที่มา
https://www.youtube.com/watch?v=xU7nGvADHZM&ab_channel=ALLABOUTELECT
RONICS

รู ปที่ 2.23 สัญญาณ output ของวงจร Active Clamper


ที่มา
https://www.youtube.com/watch?v=xU7nGvADHZM&ab_channel=ALLABOUTELECT
RONICS
26

รู ปที่ 2.24 วงจร Active Positive Clamper


ที่มา
https://www.youtube.com/watch?v=xU7nGvADHZM&ab_channel=ALLABOUTELECT
RONICS

r. Driven Right Leg circuit (DRL)

วงจร Driven Right Leg หรื อวงจร DRL เป็ นวงจรที่ทาหน้านาสัญญาณอื่นจาก


ร่ างกายมาใช้หกั ลบเพื่อปรับปรุ งสัญญาณชีวภาพให้ดียงิ่ ขึ้น โดยมักจะถูกเพิ่มเข้าไปใน
ตัวขยายสัญญาณชีวภาพเพื่อลดการรบกวนใน common mode เช่น คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
(Electrocardiogram or ECG), คลื่นไฟฟ้าสมอง (Electroencephalogram or
EEG) หรื อ คลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้ อ (Electromyography or EMG) โดยจะวัด
สัญญาณไฟฟ้าขนาดเล็กมากที่ปล่อยออกมาจากร่ างกาย และเนื่องจากร่ างกายสามารถ
ทาหน้าที่เป็ นเสาอากาศที่รับการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้าโดยเฉพาะความถี่ 50/60 Hz
จากสายไฟฟ้า การรบกวนนี้จะเข้ามาทาให้สัญญาณทางชีวภาพยากต่อการวัด จึงใช้
วงจร Driven Right Leg เพื่อกาจัดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้น

รู ปที่ 2.25 วงจร Driven Right Leg (DRL)


ที่มา https://www.researchgate.net/figure/Driven-right-leg-circuit-34_fig8_325316317
27

2.1.4. วิธีการส่งสัญญาณ
ในการส่งสัญญาณไปยังคอมพิวเตอร์หรื อโทรศัพท์ ซึ่งมีรูปแบบการสื่ อแบบ digital
โดยสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจซึ่งมีลกั ษณะเป็ นสัญญาณ analog จึงจาเป็ นที่ตอ้ งมีแปลง
สัญญาณจากสัญญาณ analog เป็ น digital ซึ่งจะเรี ยกว่า Analog to Digital Converter หรื อ
ADC โดยมีข้ น
ั ตอนดังรู ปที่ 2.26

รู ปที่ 2.26 ขั้นตอน Analog to Digital Converter


ที่มา http://www.myreadingroom.co.in/notes-and-studymaterial/68-dcn/732-analog-to-
digital-conversion-techniques.html

โดยจะแบ่งเป็ น 3 ขั้นตอนหลักคือ
-Sampling คือ การนาสัญญาณ analog มาคูณกับสัญญาณ PAM ซึ่งมีลกั ษณะเป็ น
pulse ในช่วงเวลาที่เท่ากัน ทาให้ผลของคูณสัญญาณคือ สัญญาณ analog จะถูกดึงค่ามาเป็ น
ค่าที่ละค่า ตามระยะเวลาของสัญญาณ PAM ซึ่งทฤษฎีที่เกี่ยวข้องของความเร็วในการดึง
สัญญาณ (Sampling Rate) ที่เหมาะสมคือ Nyquist Rate โดยจะกาหนดให้ความเร็วในการ
ดึงสัญญาณต้องมีค่าอย่างน้อยเป็ นสองเท่าของความถี่สูงสุดของสัญญาณที่ เราจะทาการ
Sampling เพื่อให้สัญญาณไม่เกิดความผิดเพี้ยนจากสัญญาณต้นฉบับ
-Quantizing คือ การกาหนดค่าของสัญญาณที่ผา่ นการ Sampling มาแล้วให้เป็ น
ค่าคงที่ เพื่อที่จะเข้าสู่การเข้ารหัสเป็ น digital ต่อไป
-Encoding คือ การนาค่าสัญญาณที่ผา่ นการ Quantizing มาแปลงเป็ นรหัส digital
โดยใช้วิธีเทียบค่ากับจานวน bit ที่ใช้ในการ Analog to Digital -Converter เช่น ถ้าใช้ 3 Bit
ในการ converter ตัวอย่าง ลักษณะการเข้ารหัส คือ 0 v แทนด้วย 000, 0.2 v แทนด้วย 001,
0.4 v แทนด้วย 010
28

2.1.5. การสร้าง Web Server ด้วย HTTP Protocol


ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตจะทาการสื่ อสารกันด้วยระบบ IP address ในรู ปที่ 2.27 จะ
แสดงถึงระบบการเชื่อมต่อของ network ที่มีตวั กลางในการรับส่งข้อมูลคือตัว WiFi Router

รู ปที่ 2.27 ระบบการเชื่อมต่อที่มี WiFi Router เป็ นตัวกลาง


ที่มา https://lastminuteengineers.com/creating-esp8266-web-server-arduino-ide/

โดย WiFi Router จะทาหน้าที่สร้าง HTTP server ซึ่งเป็ น server จาลองขึ้นมาให้


อุปกรณ์ที่อยูใ่ นระบบการเชื่อมต่อ (LAN) เดียวกัน สามารถใช้งาน Web page หรื อ Web
server เดียวกันได้ โดยวิธีใช้งานจะเข้าถึงโดย IP address ซึ่งจะใช้เป็ นรู ปแบบ Ipv4
29

บทที่ 3
อุปกรณ์
3.1. อุปกรณ์เบื้องต้น
3.1.1. LMC6081 Precision CMOS Single Operational Amplifier
สาหรับใช้เป็ น Voltage Buffer ทั้งสองตัวในวงจร Electrode ทั้งของ Electrode ตัว
ที่1 และ 2 ใช้เป็ นวงจร Driven Right Leg circuit (DRL) เนื่องจากเป็ นวงจรที่อยู่ส่วนหน้า
ในการรับสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องใช้ IC ที่มีกระแสที่มีค่าน้อย
ประมาณ fA (10-15) และใช้ในวงจร Sallen-key Low Pass Filter

รู ปที่ 3.1 LMC6081 Single Op-Amp


ที่มา https://akizukidenshi.com/catalog/g/gI-13454/

ข้อมูลเชิงเทคนิค
- Low offset voltage: 150 μV

- Operates from 4.5V to 15V single supply

- Ultra low input bias current: 10 fA

- Output swing to within 20 mV of supply rail, 100k load

- Input common-mode range includes V-

- High voltage gain: 130 dB

การนาไปใช้
30

- Instrumentation amplifier

- Photodiode and infrared detector preamplifier

- Transducer amplifiers

- Medical instrumentation

- D/A converter

- Charge amplifier for piezoelectric transducers

3.1.2. LMC6082 Precision CMOS Dual Operational Amplifier


สาหรับใช้เป็ นวงจร Instrumentation Amplifier และเนื่องจากเป็ น IC ชนิด Dual
ทาให้ประหยัดพื้นที่บนวงจร

รู ปที่ 3.2 LMC6082 Dual Op-Amp


ที่มา https://octopart.com/lmc6082ain%2Fnopb-texas+instruments-24815277

ข้อมูลเชิงเทคนิค

- Low offset voltage: 150 μV

- Operates from 4.5V to 15V single supply

- Ultra low input bias current: 10 fA

- Output swing to within 20 mV of supply rail, 100k load

- Input common-mode range includes V-

- High voltage gain: 130 dB

การนาไปใช้
31

- Instrumentation amplifier

- Photodiode and infrared detector preamplifier

- Transducer amplifiers

- Medical instrumentation

- D/A converter

- Charge amplifier for piezoelectric transducers

3.1.3. ตัวเก็บประจุประเภทไมลา (Mylar Capacitor)[7]

รู ปที่ 3.3 Mylar Capacitor


ที่มา https://www.xuanxcapacitors.com/introduction-of-mylar-capacitor.html

ตัวเก็บประจุประเภทไมลาเป็ นตัวเก็บประจุไม่มีข้วั และมีคุณสมบัติที่มีลกั ษณะเฉพาะ


ในการนาไปใช้งาน โดยจะนิยมใช้ในงานที่มีเสถียรภาพสูง กระแสรั่วต่า และมีค่าสัมประสิ ทธิ์
ทางอุณหภูมิสูง โดยส่วนมากจะนามาใช้ในด้าน Coupling, Decoupling และ Filter
32

3.1.4. ตัวเก็บประจุประเภทเซรามิก (Ceramic Capacitor)

รู ปที่ 3.4 Ceramic Capacitor


ที่มา http://phchitchai.wbvschool.net/archives/1256

ตัวเก็บประจุประเภทเซรามิก เป็ นตัวเก็บประจุชนิดที่ไม่มีข้วั มีลกั ษณะกลมแบน ส่วน


ใหญ่ตวั เก็บประจุชนิดนี้ มีค่าน้อยกว่า 1 ไมโครฟารัด และ และสามารถทนแรงดันได้ประมาณ
50-100 โวลต์

3.1.5. ตัวเก็บประจุประเภทโพลีโพรไพลีน (Polypropylene Capacitor)

รู ปที่ 3.5 Polypropylene Capacitor


ที่มา http://phchitchai.wbvschool.net/archives/1256

ตัวเก็บประจุประเภทโพลีโพรไพลีน หรื อไบแคป (Bi-Cap) มีคุณสมบัติคล้ายกับตัว


เก็บประจุประเภทอิเล็กโตรไลต์ติก แต่ไม่มีข้วั
33

3.1.6. ตัวต้านทานแบบฟิ ล์มโลหะ (Metal Film Resistor)[7]

รู ปที่ 3.6 Metal Film Resistor


ที่มา https://nextgenguitars.ca/products/1-2w-metal-film-resistors-pkg-5.html

ตัวต้านทานแบบฟิ ล์มโลหะเป็ นตัวต้านทานที่มีช้ นั โลหะบางเป็ นส่ วนที่ให้ค่าความ


ต้านทาน โดยทัว่ ไปตัวต้านทานประเภทนี้มีการนามาใช้งานมากกว่าตัวต้านทานฟิ ล์มคาร์บอน
เนื่องด้วยคุณสมบัติที่มีความเสถียรสูงและมีค่าความคลาดเคลื่อนน้อย
3.1.7. ECG Cable
ใช้สาหรับเชื่อมต่ออิเล็กโทรดทั้งสามตาแหน่งเข้ากับวงจร Preamplifier

รู ปที่ 3.7 ECG Cable


ที่มา https://www.globalsources.com/ECG-EKG/Medical-Materials-ECG-cable-
1178393947p.htm#1178393947
34

3.1.8. Battery & Battery Socket


จ่ายไฟเลี้ยงให้วงจร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาด 20 มิลลิเมตร x 3.2 มิลลิเมตร
ความจุ 225 mAh

รู ปที่ 3.8 Battery 3V CR2032


ที่มา https://www.batteries4pro.com/en/BATTERIES/button-cell/3v-cr-series/3,429-
cr2032-3v-lithium-battery-4008496276882.html

รู ปที่ 3.9 Battery Socket


ที่มา https://eunicell.en.alibaba.com/product/

3.1.9. ออสซิลโลสโคป (Oscilloscope)[7]


เป็ นเครื่ องมือวัดสัญญาณไฟฟ้าที่จะแสดงผลออกมาเป็ นกราฟแรงดันไฟฟ้า (แกน Y)
เทียบกับเวลา (แกน X) มีขนาดช่องตารางอยูท่ ี่ 1 เซนติเมตร ทาให้สามารถทาการวัดแรงดันกับ
เวลาจากจอได้ โดยอ้างอิงจากอัตราส่ วนที่ได้ต้ งั ค่าไว้ในตัวของออสซิลโลสโคป
35

รู ปที่ 3.10 Oscilloscope


ที่มา https://th.rs-online.com/web/p/oscilloscopes/0575591/
3.1.10. ESP 8266
เป็ น Microcontroller ที่สร้างเขียนโปรแกรมควบคุมลงไปได้ สามารถใช้สาหรับการ
ส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรื อโทรศัพท์มือถือได้ โดยเป็ นบอร์ดที่มี WiFi module
ในตัวเอง
ข้อมูลเชิงเทคนิค
- Wi-Fi Module

- Analog Input Pins (ADC): 1 pin, voltage range of 0V-3.2V, 10 bits

- 192 kHz sampling rate (Maximum)

- Power supply 3.3V, 400mA

- Power < 1.0 mW

- Deep Sleep Operating features: current < 10 µA

รู ปที่ 3.11 ESP 8266 Microcontroller


36

3.2. โปรแกรม (Software)


3.2.1. Proteus 7.7 Professional
โปรแกรม Proteus หรื อ Labcenter Electronics Proteus เป็ นโปรแกรมที่ใช้ใน
งานด้านอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นวงจรที่ใช้งานง่าย มี Microcontroller เบอร์ต่าง ๆ ให้เลือกใช้เป็ น
จานวนมาก สามารถออกแบบวงจรไฟฟ้า พร้อมทั้งจาลองการทางานของวงจรได้

รู ปที่ 3.12 Proteus 7.7 Professional


ที่มา http://projectsdunia.blogspot.com/2015/01/how-to-install-proteus-software-on.html

3.2.2. Autodesk EAGLE


Autodesk EAGLE (Easily Applicable Graphical Layout) เป็ นโปรแกรม
สาหรับงานออกแบบ Schematic และ PCB Routing มีจุดเด่น คือ ใช้งานง่าย รองรับการใช้
งานในระบบ Window และ Mac

รู ปที่ 3.13 Autodesk EAGLE


ที่มา https://www.esoftner.com/3d-cad/autodesk-eagle-download/
37

3.2.3. Arduino IDE


Arduino IDE คือโปรแกรมสาหรับใช้เขียนโปรแกรม, คอมไพล์ และอัปโหลด
โปรแกรมลงบอร์ด Arduino หรื อบอร์ดตัวอื่นๆ ที่คล้ายกัน เช่น ESP8266

รู ปที่ 3.14 Arduino IDE


ที่มา http://apisit13411.blogspot.com/2018/08/basic-arduino-ide.html
38

บทที่ 4
วิธีการดาเนินงาน
4.1. ภาพรวมของโครงงาน
ในการจัดทาโครงงานนี้ จะทาการมุ่งเน้นไปที่การศึกษาและออกแบบวงจรในการรับสัญญาณ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยที่จะต้องทาการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้โดยไม่ตอ้ งใช้เจลนาไฟฟ้า และสามารถวัด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยไม่ตอ้ งสัมผัสผิวหนังโดยตรง โดยในการออกแบบจะแบ่งเป็ น 3 ส่วนคือ
1.วงจรรับและรวมสัญญาณซึ่งจะขอเรี ยกว่า วงจร Non-contact electrodes ซึ่งเป็ นส่ วนที่ให้
ความสาคัญมากที่สุด 2. การส่งสัญญาณ ส่วนที่ทาการส่งสัญญาณที่ได้จากวงจร Non-contact
electrodes 3. การประกอบชิ้นงาน คือการนาวงจรที่ผา่ นการบัดกรี ลงบนแผ่นลายวงจรพิมพ์ แผ่น
ทองแดงที่ทาหน้าที่เป็ น electrode และ Microcontroller ที่ใช้ในการส่งสัญญาณ ติดเข้ากับเก้าอี้เพื่อให้
ผูใ้ ช้งานสามารถวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยการนัง่ ในทั้ง 3 ส่วนประกอบจะมีการอธิบายแนวทางการ
ออกแบบหรื อวิธีการดาเนินงานต่างๆในหัวข้อต่อไป

4.2. การออกแบบวงจร Non-contact electrodes


ในการอธิบายจะขอแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนหลักคือ ส่วนของวงจรรับสัญญาณ และส่วน
ของวงจรรวมสัญญาณ โดยจะมีรายละเอียดการออกแบบดังนี้

4.2.1. วงจรรับสัญญาณ

รู ปที่ 4.1 วงจรรับสัญญาณ


39

s. Material
Material คือ บริ เวณส่วนแรกสุดที่รับสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจจากร่ างกาย ซึ่ง
เลือกใช้แผ่นทองแดงเป็ นอิเล็กโทรดในการรับสัญญาณ ซึ่งมีคุณสมบัติการนาไฟฟ้าที่ดี
มีความยืดหยุน่ ราคาถูก การตัดแต่งเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และปลอดภัยกับผิวหนังมนุษย์

t. วงจรตามแรงดัน (Voltage Buffer)


ใช้เป็ นวงจรในส่วนแรกที่รับสัญญาณต่อจาก แผ่นทองแดงที่ทาหน้าที่รับสัญญาณ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจจากร่ างกายเข้ามา ทาหน้าที่ในการรับสัญญาณ ด้วยคุณสมบัติของวงจร
Voltage Buffer ทาให้สัญญาณที่รับเข้ามาสามารถส่ งต่อสัญญาณไปยังส่ วนต่อไปของ
วงจรได้โดยสัญญาณไม่เกิดการผิดเพี้ยน หรื อเกิดการลดทอนของสัญญาณ อีกทั้งยังใช้
คุณสมบัติของ LM6081 ที่มี Input Impedance ที่สูง เพื่อที่ใช้ในการรับสัญญาณ
คลื่นไฟฟ้าหัวที่ตอ้ งผ่านเสื้ อมาก่อนที่จะเข้าสู่ วงจร ซึ่งเสื้ อมีคุณสมบัติในการเป็ นฉนวน
ทาให้ตอ้ งใช้วงจรตามแรงดันที่มีค่า Input Impedance ที่สูงมากพอในการรับสัญญาณ
อีกทั้งในส่ วนต่างๆของวงจร ยังมีการใช้วงจร Voltage Buffer ในการส่งผ่านสัญญาณ
ระหว่างจุด เพื่อทาให้สัญญาณไม่เปลี่ยนแปลงในการส่งสัญญาณในแต่ละ state
u. Passive High Pass Filter
จาก standard IEC60601-2-25 ที่มีการระบุคุณสมบัติของวงจรที่ใช้วดั
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งมี Frequency Response อยูท่ ี่ 0.05 Hz-100 Hz ดังนั้นการ
ออกแบบ High Pass Filter จึงมีค่า Cutoff Frequency (fc) อยูท่ ี่ 0.05 Hz แต่
เนื่องจากข้อจากัดของอุปกรณ์ จึงทาการออกแบบ Cutoff Frequency (fc) อยูท่ ี่ 0.3
Hz แทน เพื่อที่จาใช้ในการกรองความถี่ต่าออกไป โดยจะมีการออกแบบดังนี้
จาก 1
𝑓𝑐 = 2𝜋RC

1
0.3 = 2𝜋RC

เมื่อให้ 𝐶 = 0.47 µ𝐹 จะได้ 1


𝑅 = 2𝜋(0.5)(0.47µ)

𝑅 = 1128758.46 Ω

ดังนั้น จึงเลือก 𝐶 = 0.47 µ𝐹 และ 𝑅 = 1 𝑀𝛺


40

v. Non-Inverting Amplifier
ใช้เป็ นวงจรขยายเบื้องต้น และใช้เป็ นจุดเชื่อมต่อของวงจร Driven Right Leg
โดยมีการออกแบบดังนี้
จาก Gain = (1 + 𝑅𝐹)
𝑅
2

เมื่อให้ 𝑅𝐹 = 20 𝑘𝛺 และ 𝑅2 = 10 𝑘𝛺
จะได้ Gain = (1 + 10)
20

Gain = 3 เท่า

มีการต่อ C ขนาด 1 µF ขนานกับ RF เพื่อป้องกันการขยายสัญญาณรบกวนที่มี


ความถี่สูง ทาให้ในวงจรส่ วนนี้เปรี ยบเป็ น Low Pass Filter ในขั้นแรก
w. Driven Right Leg Circuit
Driven Right Leg Circuit มีหน้าที่นาสัญญาณจากร่ างกาย หรื อ Body Voltage
Reference มาเป็ น Virtual Ground ให้กบั วงจร เพื่อทาให้สัญญาณไฟฟ้าหัวใจมี
คุณภาพมากขึ้น โดย Driven Right Leg Circuit จะมี Vcm ที่ต่อกับ Voltage Buffer,
Inverting Amplifier และ Material ที่ต่อกับร่ างกายตามลาดับดังรู ปที่ 4.2

รู ปที่ 4.2 Driven Right Leg Circuit

x. Supply
การจ่ายไฟเลี้ยงให้ท้ งั วงจรรับและส่ งสัญญาณ ใช้ถ่าน CR2032 ขนาด 3 V
จานวน 4 ก้อน โดยใช้ถ่าน CR2032 อย่างละ 2 ก้อน ต่ออนุกรมเพื่อใช้เป็ น
แหล่งจ่ายไฟขนาด 6 V และ -6 V
41

4.2.2. วงจรรวมสัญญาณ

รู ปที่ 4.3 วงจรรวมสัญญาณ

y. Instrumentation Amplifier
ใช้เป็ นวงจรรวมสัญญาณจากวงจรรับสัญญาณที่รับสัญญาณมาแตกต่างกัน โดยจะ
ทาหน้าที่ขยายสัญญาณที่แตกต่างกัน และเหมาะสมกับการขยายสัญญาณที่มีขนาดเล็ก
ความต้านทานด้านอินพุตมีค่าสูง มีอตั รากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง (Common
mode rejection ratio) ซึ่งโดยปกติแล้วสัญญาณชีวภาพหรื อสัญญาณรบกวนซึ่ง
ขั้วบวกและลบมีลกั ษณะเหมือนกัน ดังนั้น Instrumentation Amplifier เหมาะสมที่
ใช้เป็ นวงจรรวมสัญญาณ ซึ่งสมารถขยายสัญญาณขนาดเล็กได้ดี และมีการจากัด
สัญญาณรบกวนที่ไม่ตอ้ งการได้ดี โดยมีการออกแบบดังนี้
42

รู ปที่ 4.4 วงจร Instrumentation Amplifier

จาก 𝑅
𝑉𝑜𝑢𝑡 = 𝑅4 (1 +
3
2𝑅2
𝑅1
)(𝑉2 − 𝑉1 )

ให้ 𝑅1 = 10 𝑘Ω 𝑅2 = 20 𝑘Ω 𝑅3 = 1 𝑘Ω และ 𝑅4 = 50 𝑘𝛺

จะได้ 𝑉𝑜𝑢𝑡 =
50k
1k
(1 +
2(10k)
20k
)(𝑉2 − 𝑉1 )

Gain = 100 เท่า

z. Sallen-key Low Pass Filter


จาก standard IEC60601-2-25 ที่มีการระบุคุณสมบัติของวงจรที่ใช้วดั คลื่นไฟฟ้า
หัวใจ ซึ่งมี Frequency Response อยูท่ ี่ 0.05 Hz-100 Hz ดังนั้นการออกแบบ Low
Pass Filter จึงมีความสาคัญอย่างมากเพราะต้องกรองความถี่สูงที่เราไม่ตอ้ งการทิ้งไป
ดังนั้น จึงออกแบบ Cutoff Frequency (fC) ให้ใกล้เคียง 100 Hz เนื่องจากข้อจากัดของ
อุปกรณ์ โดยจะมีการออกแบบดังนี้
43

รู ปที่ 4.5 วงจร Sallen-key Low Pass Filter

จาก 𝑓𝑐 = 2𝜋√𝑅
1
3 𝑅4 𝐶1 𝐶2

ให้ 𝑅3 = 𝑅4 = 1𝑘𝛺 𝐶1 = 2µF และ 𝐶2 = 1µ𝐹

จะได้ 𝑓𝑐 =
1
2𝜋(1000)√(2µ)(1µ)

𝑓𝑐 = 112.54 𝐻𝑧

aa. Twin-T Notch Filter

ใช้เป็ นวงจรตัดความถี่ที่ไม่ตอ้ งการออก ในกรณี น้ ีคือ สัญญาณรบกวน 50 Hz


ดังนั้นในการออกแบบจะเลือกตัดความถี่ที่ 50 Hz โดยจะมีการออกแบบดังนี้

รู ปที่ 4.6 วงจร Twin-T Notch Filter


จาก 𝑓𝑁 = 4𝜋RC
1

ให้ 𝐹𝑁 = 50 Hz และ C = 100 nF


44

จะได้ 1
R = 4𝜋(50)(100𝑛)

R = 15915.49 Ω

ดังนั้น เลือก C = 100 nF และ 𝑅 = 15 kΩ


bb. Active Clamper Circuit
ใช้เป็ นวงจรยกสัญญาณในสัญญาณ output เพื่อส่งสัญญาณไปยัง controller
board เพื่อให้สัญญาณอยูใ่ นช่วงการรับสัญญาณขาเข้าของ controller board โดยต้อง
ออกแบบให้ผลคูณของ RL และC มีค่ามากกว่า τ มากๆ

รู ปที่ 4.7 วงจร Active Clamper

โดย ให้ 𝑅𝐿 = 1.5 MΩ และ C = 1 µF


cc. Supply
การจ่ายไฟเลี้ยงให้ท้ งั วงจรรับและส่ งสัญญาณ ใช้ถ่าน CR2032 ขนาด 3 V จานวน
6 ก้อน โดยใช้ถ่าน CR2032 อย่างละ 2 ก้อน ต่ออนุกรมเพื่อใช้เป็ นแหล่งจ่ายไฟขนาด
6 V และ -6 V

4.3. การออกแบบการส่ งสัญญาณ


4.3.1. การส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังคอมพิวเตอร์
จากสัญญาณที่ออกจากวงจรสาเร็จที่ได้ซ่ ึงมีลกั ษณะเป็ นสัญญาณ analog ในการ
ส่งสัญญาณไปยังคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการสื่ อสารในรู ปแบบ digital จึงจาเป็ นที่ตอ้ งมีแปลง
สัญญาณจากสัญญาณ analog เป็ น digital ซึ่งจะเรี ยกว่า Analog to Digital Converter
หรื อ ADC ซึ่งทาได้โดยการส่งสัญญาณไปที่ Microcontroller ซึ่งใช้ตวั ESP 8266
เนื่องจากมี Analog Input Pins (ADC): 1 pin, voltage range of 0V-3.2V, 10 bits
โดยมี 192 kHz sampling rate จาก IEC60601-2-25 ซึ่งระบุ Frequency Response
45

ของวงจรที่ใช้วดั คลื่นไฟฟ้าหัวใจอยูท่ ี่ 0.05 Hz-100 Hz ดังนั้นสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ


จะอยูใ่ นช่วงความถี่น้ นั
จาก Nyquist Rate กาหนดให้ความเร็วในการดึงสัญญาณต้องมีค่าอย่างน้อยเป็ น
สองเท่าของความถี่สูงสุดของสัญญาณที่เราจะทาการ Sampling เพื่อให้สัญญาณไม่เกิด
ความผิดเพี้ยนจากสัญญาณต้นฉบับ ทาให้เราพบว่าสามารถใช้ ESP 8266 สามารถส่ง
สัญญาณไปยังคอมพิวเตอร์ได้

โดยจะต้องทาการโปรแกรมลง ESP 8266 ในการส่งสัญญาณไปยังคอมพิวเตอร์


ผ่านโปรแกรม Arduino IDE ซึ่งมีรูปแบบของโค้ดดังรู ปที่ 4.8

รู ปที่ 4.8 โค้ดควบคุมการส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังคอมพิวเตอร์ผา่ นโปรแกรม Arduino IDE

จากในโค้ดจะรับสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่าน Pin A0 ของ ESP 8266 ซึ่งเป็ น


Analog Pin ผ่านคาสั่ง analogRead (A0) โดยมีการกาหนดขอบบนและขอบล่างในการ
แสดงผลสัญญาณ และการหน่วงในการรับสัญญาณที่ 1 ms ผ่านคาสั่ง delay(1)
46

4.3.2. การส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังโทรศัพท์มือถือ
ในนการส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังโทรศัพท์มือถือ โดยสัญญาณที่ออกจาก
วงจรสาเร็จ จะส่งเข้าที่ Analog Pin ที่ขา A0 ของ ESP 8266 และทาการแปลงเป็ นสัญญาณ
digital จากนั้นจะทาการโปรแกรมลง ESP 8266 ในสร้าง HTPP server ขึ้นมาผ่าน WiFi
Router ซึ่งเข้าถึงโดย IP address ซึ่งจะใช้เป็ นรู ปแบบ Ipv4 โดยมีรูปแบบของโค้ดดังรู ปที่ 4.9

รู ปที่ 4.9 โค้ดการส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังโทรศัพท์มือถือ


47

โดยเริ่ มต้นจะสร้าง port ที่เป็ นช่องทางในการติดต่อที่ใช้ใน HTTP server ผ่านคาสั่ง


AsyncWebServer server(80) ซึ่งหมายถึง port ในการสื่ อสารจะใช้ port 80 ในการรับส่ ง
ข้อมูล
จากนั้นจะทาการสร้าง HTTP server โดยให้ ESP 8266 เชื่อมต่อกับ WiFi Router
ในคาสั่ง
WiFi.begin (ssid, password);

while (WiFi.status() != WL_CONNECTED) {

delay(1000);

Serial.println("Connecting to WiFi..");

// Print ESP8266 Local IP Address


Serial.println(WiFi.localIP());

จากนั้นจะทาการส่ งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยัง Web page ที่ออกแบบไว้ผา่ น


คาสั่งดังต่อไปนี้

// Route for root / web page


server.on("/", HTTP_GET, [](AsyncWebServerRequest *request){

request->send(SPIFFS, "/index.html");

});

server.on("/ECG", HTTP_GET, [](AsyncWebServerRequest *request){

request->send_P(200, "text/plain", handle_sensor().c_str());

});

ซึ่งจะทาการเรี ยกฟังก์ชนั handle_sensor() โดยรับสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่าน


คาสั่ง analogRead(A0) จากนั้นส่ งไปที่ index.html เพือ่ ส่งคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปแสดงในหน้า
Web page ที่ได้ออกแบบไว้
48

4.4. การประกอบชิ้นงาน
4.4.1. การออกแบบแผ่นวงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board)
ใช้โปรแกรม Autodesk EAGLE ในการออกแบบ และวาดลายของวงจร Non-
contact electrodes โดยทาเพียงหนึ่งหน้า (Single Layer PCB) ที่รวมทั้งวงจรรับสัญญาณ
และรวมสัญญาณไว้ในแผ่นเดียวกัน มีการใช้ Ground Plane ซึ่งเป็ นเทคนิคที่นา Ground ของ
วงจรที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มาเชื่อมต่อเป็ น Node เดียวกัน ซึ่งมีลกั ษณะ
เป็ นระนาบขนาดใหญ่ เพื่อลดปัญหาการเกิด Ground Loop ที่จะมีผลต่อประสิ ทธิภาพการ
ทางานของวงจร

รู ปที่ 4.10 PCB Design

รู ปที่ 4.11 วงจรที่ผา่ นการบัดกรี


49

4.4.2. รู ปแบบการติดตั้ง
ใช้แผ่นทองแดงเป็ นอิเล็กโทรดติดบริ เวณพนักพิงและที่นงั่ ทางด้านหน้าของเก้าอี้ และ
ติดแผ่นวงจรพิมพ์ที่ผา่ นการบัดกรี แล้ว และ Controller Board ที่บริ เวณด้านหลังเก้าอี้ ดังรู ปที่
4.12 โดยจะใช้สาย ECG cable ที่บดั กรี ติดกับแผ่นทองแดง เชื่อมต่อมายังแผ่นวงจรพิมพ์
จากนั้นในการส่งสัญญาณออก จะทาการส่งสัญญาณออกด้วยสายไฟ 2 เส้นคือ เส้นที่ส่งสัญญาณ
และเส้นที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อจาก Ground ของวงจร

รู ปที่ 4.12 รู ปแบบการติดตั้ง


50

บทที่ 5
ผลการดาเนินงาน
5.1. การแสดงผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสู ง (Common mode rejection ratio)
5.1.1. ผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง (Common mode rejection ratio หรื อ
CMRR) จากการ simulation

โดยในวงจรสาเร็จที่ได้ดงั รู ปที่ 5.1 จะทาการทดสอบทั้ง Differential-mode และ


Common-mode เพื่อที่จะใช้ในการหาค่า CMRR โดยการจาลองจะจาลองผ่านโปรแกรม
Protues 7.7 Professional

รู ปที่ 5.1 วงจรสาเร็ จ


51

ในการทดสอบ Differential-mode ทดสอบโดยการใส่สัญญาณ Input เป็ น


20 𝑚𝑉𝑝𝑝 และ 0 𝑉𝑝𝑝 เพื่อจาลองการสัญญาณแบบ Differential-mode ดังรู ปที่ 5.2

รู ปที่ 5.2 สัญญาณ Input แบบ Differential-mode ที่ใช้ในการ Simulation

รู ปที่ 5.3 สัญญาณ Output แบบ Differential-mode ที่ได้การ Simulation

โดยจะได้ อัตราขยายแบบ Differential-mode คือ


𝑉𝑜𝑢𝑡 (2.85 − (−2.80))
𝐴𝑑 = = = 282.5
𝑉𝑖𝑛, 1 − 𝑉𝑖𝑛, 2 (10𝑚 − (−10𝑚)) − 0
52

ในการทดสอบ Common-mode ทดสอบโดยการใส่สัญญาณ Input เป็ น


800 𝑚𝑉𝑝𝑝 ทั้งสอง Input เพื่อจาลองการสัญญาณแบบ Common-mode สัญญาณที่เข้าต้อง
มีลกั ษณะเหมือนกัน ดังรู ปที่ 5.4

รู ปที่ 5.4 สัญญาณ Input แบบ Common-mode ที่ใช้ในการ Simulation

รู ปที่ 5.5 สัญญาณ Output แบบ Common-mode ที่ได้จากการ Simulation

โดยจะได้ อัตราขยายแบบCommon-mode คือ


𝑉𝑜𝑢𝑡 (19.02𝑚 − 18.08𝑚)
𝐴𝑐 = = = 1.175 × 10−3
𝑉𝑖𝑛, 𝑐 (400𝑚 − (−400𝑚))
53

จาก อัตราขยายแบบ Differential-mode และ อัตราขยายแบบ Common-mode จะ


ได้ อัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง (Common mode rejection ratio หรื อ CMRR) คือ
𝐴𝑑 282.5
CMRR= 20log ( 𝐴𝑐 ) = 20log(1.175×10−3) = 107.62𝑑𝐵

5.1.2. ผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง (Common mode rejection ratio หรื อ


CMRR) จากการทดสอบจริ ง

โดยในวงจรสาเร็จที่ทาการบัดกรี ลงบนแผ่นวงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board) และ


ตรวจสอบสัญญาณทาง oscilloscope

รู ปที่ 5.6 วงจรสาเร็ จที่ทาการบัดกรี ลงบนแผ่นวงจรพิมพ์

ในการทดสอบ Differential-mode ทดสอบโดยการใส่สัญญาณ Input เป็ น


21.6 𝑚𝑉𝑝𝑝 และ 0 𝑉𝑝𝑝 เพื่อจาลองการสัญญาณแบบ Differential-mode ดังรู ปที่ 5.7
54

รู ปที่ 5.7 สัญญาณ Input แบบ Differential-mode ที่ใช้ในการทดสอบจริ ง

รู ปที่ 5.8 สัญญาณ Output แบบ Differential-mode ที่ได้จากการทดสอบจริ ง


โดยจะได้ อัตราขยายแบบ Differential-mode คือ
𝑉𝑜𝑢𝑡 5.20
𝐴𝑑 = = = 240.74
𝑉𝑖𝑛, 1 − 𝑉𝑖𝑛, 2 21.60𝑚 − 0
55

ในการทดสอบ Common-mode ทดสอบโดยการใส่สัญญาณ Input เป็ น


800 𝑚𝑉𝑝𝑝 ทั้งสอง Input เพื่อจาลองการสัญญาณแบบ Common-mode สัญญาณที่เข้าต้อง
มีลกั ษณะเหมือนกัน ดังรู ปที่ 5.9

รู ปที่ 5.9 สัญญาณ Input แบบ Common-mode ที่ใช้ในการทดสอบจริ ง

รู ปที่ 5.10 สัญญาณ Output แบบ Common-mode ที่ได้จากการทดสอบจริ ง


56

โดยจะได้ อัตราขยายแบบ Common-mode คือ


𝑉𝑜𝑢𝑡 14𝑚
𝐴𝑐 = = = 1.75 × 10−2
𝑉𝑖𝑛, 𝑐 800𝑚

จาก อัตราขยายแบบ Differential-mode และ อัตราขยายแบบ Common-mode จะ


ได้ อัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง (Common mode rejection ratio หรื อ CMRR) คือ
𝐴𝑑 240.74
CMRR= 20log ( 𝐴𝑐 ) = 20log(1.75×10−2) = 82.77𝑑𝐵

5.2. การแสดงผลการตอบสนองเชิงความถี่ (Frequency response)


โดยการแสดงผลการตอบสนองเชิงความถี่ (Frequency response) จะแสดงจากโปรแกรม
Protues 7.7 Professional ซึ่งจะได้ดงั รู ปที่ 5.11

รู ปที่ 5.11 แสดงผลการตอบสนองเชิงความถี่ (Frequency response)


57

5.3. ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Cotton 100%

รู ปที่ 5.12 การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านเสื้ อ Cotton 100%

รู ปที่ 5.13 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Cotton 100%

จากรู ปที่ 5.13 จะเห็นว่าสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้จะมีองค์ประกอบ RST ที่ชดั เจนตาม


ลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่องค์ประกอบ PQ จะไม่ชดั เจน และไม่มีสัญญาณรบกวนที่ 50 Hz มา
รบกวน
58

โดยการคานวณอัตราการเต้นของหัวใจ โดยจะใช้ Cursor วัดระยะเวลาความแตกต่างของคลื่น


องค์ประกอบคลื่น R คือค่า R – R interval โดยได้ผลตามรู ปที่ 5.14

รู ปที่ 5.14 วิธีการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Cotton 100%

จาก 𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 =


60
R-R interval

จะได้ 𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 =


60
740.0m

𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 = 81 𝑏𝑝𝑚

จากการทดสอบซ้ าทั้งหมด 3 ครั้ง โดยตัวแปรควบคุมเดิม คือ ผูท้ ดสอบ สภาพแวดล้อม และ


ระยะเวลา พบว่าได้ลกั ษณะของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะเดิม ทั้ง 3
ครั้ง แต่ได้อตั ราการเต้นของหัวใจแตกต่างกันดังตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Cotton 100%


อัตราการเต้นของหัวใจ
จานวนครั้งที่ทดสอบ R-R interval (ms)
(bpm)
1 740 81
2 768 78
3 768 78
เฉลี่ย 759 79
59

5.4. ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Cotton 60%


Polyester 40%

รู ปที่ 5.15 การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านเสื้ อ Cotton 60% Polyester 40%

รู ปที่ 5.16 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Cotton 60% Polyester 40%

จากรู ปที่ 5.16 จะเห็นว่าสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้จะมีองค์ประกอบ RST ที่ชดั เจนตาม


ลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่องค์ประกอบ PQ จะไม่ชดั เจน และไม่มีสัญญาณรบกวนที่ 50 Hz มา
รบกวน
60

โดยการคานวณอัตราการเต้นของหัวใจ โดยจะใช้ Cursor วัดระยะเวลาความแตกต่างของคลื่น


องค์ประกอบคลื่น R คือค่า R – R interval โดยได้ผลตามรู ปที่ 5.17

รู ปที่ 5.17 วิธีการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Cotton 60%


Polyester 40%

จาก 𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 =


60
R-R interval

จะได้ 𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 =


60
824.0m

𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 = 73 𝑏𝑝𝑚

จากการทดสอบซ้ าทั้งหมด 3 ครั้ง โดยตัวแปรควบคุมเดิม คือ ผูท้ ดสอบ สภาพแวดล้อม และ


ระยะเวลา พบว่าได้ลกั ษณะของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะเดิม ทั้ง 3
ครั้ง แต่ได้อตั ราการเต้นของหัวใจแตกต่างกันดังตารางที่ 5.2

ตารางที่5.2 ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Cotton 60%


Polyester 40%
อัตราการเต้นของหัวใจ
จานวนครั้งที่ทดสอบ R-R interval (ms)
(bpm)
1 824 73
2 716 84
3 828 72
เฉลี่ย 789 76
61

5.5. ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Polyester 100%

รู ปที่ 5.18 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Polyester 100%

รู ปที่ 5.19 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อ Polyester 100%

จากรู ปที่ 5.19 จะเห็นว่าสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้จะมีองค์ประกอบ RST ที่ชดั เจนตาม


ลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่องค์ประกอบ PQ จะไม่ชดั เจน ไม่มีสัญญาณรบกวนที่ 50 Hz มา
รบกวน แต่สัญญาณจะแกว่งไปมา ไม่มีความสม่าเสมอเหมือนเสื้ อทั้งสองชนิดที่ได้ทดลองไปในข้างต้น
62

โดยการคานวณอัตราการเต้นของหัวใจ โดยจะใช้ Cursor วัดระยะเวลาความแตกต่างของคลื่น


องค์ประกอบคลื่น R คือค่า R – R interval โดยได้ผลตามรู ปที่ 5.20

รู ปที่ 5.20 วิธีการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Polyester 100%

จาก 𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 =


60
R-R interval

จะได้ 𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 =


60
868.0m

𝐻𝑒𝑎𝑟𝑡 𝑅𝑎𝑡𝑒 = 69 𝑏𝑝𝑚

จากการทดสอบซ้ าทั้งหมด 3 ครั้ง โดยตัวแปรควบคุมเดิม คือ ผูท้ ดสอบ สภาพแวดล้อม และ


ระยะเวลา พบว่าได้ลกั ษณะของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะเดิม ทั้ง 3
ครั้ง แต่สัญญาณจะแกว่งไปมา ไม่มีความสม่าเสมอ และได้อตั ราการเต้นของหัวใจแตกต่างกันดังตาราง
ที่ 5.3

ตารางที่ 5.3 ตารางแสดงอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการวัดผ่านเสื้ อที่มีส่วนผสม Polyester 100%


อัตราการเต้นของหัวใจ
จานวนครั้งที่ทดสอบ R-R interval (ms)
(bpm)
1 868 69
2 824 73
3 840 71
เฉลี่ย 844 71
63

5.6. ผลการทดสอบส่ งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปคอมพิวเตอร์

รู ปที่ 5.21 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่แสดงในคอมพิวเตอร์ผา่ นโปรแกรม Arduino IDE

จากรู ปสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ได้จะเห็นว่ามีลกั ษณะใกล้เคียงกับผลที่ทดสอบใน


Oscilloscope พบว่ามีองค์ประกอบ RST ที่ชด ั เจนตามลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่มี
องค์ประกอบ PQ ไม่ชดั เจน และไม่มีสัญญาณรบกวนที่ 50 Hz มารบกวน
64

5.7. ผลการทดสอบส่ งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปโทรศัพท์มือถือ

รู ปที่ 5.22 คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่แสดงในโทรศัพท์มือถือผ่าน HTTP server

จะเห็นว่ารู ปสัญญาณคลื่นที่ได้ พบว่าไม่เป็ นตามลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เนื่องจาก ใน


การส่งคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังโทรศัพท์ผา่ น HTPP server ในหน้าตาของ Web page จะกาหนด
ความเร็วในการดึงข้อมูลมาแสดงเป็ นกราฟใน Web page ได้เร็วสุดอยูท่ ี่ 50 ms ซึ่งเมื่อคิดเป็ น
sampling rate จะอยูท ่ ี่ 501𝑚𝑠 = 20 𝐻𝑧 ซึ่งไม่เพียงพอต่อการส่งคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่มี Frequency
Response อยูท ่ ี่ 0.05 Hz - 100 Hz จากหลักการของ Nyquist Rate ที่กาหนดให้ความเร็วในการ
ดึงสัญญาณต้องมีค่าอย่างน้อยเป็ นสองเท่าของความถี่สูงสุดของสัญญาณที่เราจะทาการ Sampling
ดังนั้นสัญญาณที่ได้จึงเกิดความผิดเพี้ยนจากสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ออกจากวงจรสาเร็จ
65

บทที่ 6
สรุปผลการดาเนินงาน
6.1. สรุ ปผล
ตารางที่ 6.1 ตารางสรุ ปผลการดาเนินงาน
คุณสมบัติ ผลที่ได้
ผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง
(Common mode rejection ratio หรื อ 107.62 𝑑𝐵
CMRR) จากการ simulation
ผลอัตรากาจัดสัญญาณโหมดร่ วมสูง
(Common mode rejection ratio หรื อ 82.77 𝑑𝐵
CMRR) จากการทดสอบจริ ง
การแสดงผลการตอบสนองเชิงความถี่ Bandwidth อยูใ่ นช่วง 0.3 Hz – 112.54 Hz และ
(Frequency response) มีการตัดความถี่ที่ 50 Hz ออก
282.50 เท่า (49.02 𝑑𝐵) จากการ Simulation
อัตราขยายของวงจร
240.74 เท่า (47.63 𝑑𝐵) จากการทดสอบจริ ง
สัญญาณที่วดั ได้มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะ
ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อ
ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่องค์ประกอบ PQ ไม่ชดั เจน
ที่มีส่วนผสม Cotton 100%
ได้อตั ราการเต้นของหัวใจเฉลี่ย 79 bpm
สัญญาณที่วดั ได้มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะ
ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อ
ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่องค์ประกอบ PQ ไม่ชดั เจน
ที่มีส่วนผสม Cotton 60% Polyester 40%
ได้อตั ราการเต้นของหัวใจเฉลี่ย 76 bpm
สัญญาณที่วดั ได้มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะ
ผลการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจจริ งผ่านเสื้ อ ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่องค์ประกอบ PQ ไม่ชดั เจน
ที่มีส่วนผสม Polyester 100% และสัญญาณจะแกว่งไปมา ไม่มีความสม่าเสมอ ได้
อัตราการเต้นของหัวใจเฉลี่ย 71 bpm
สัญญาณรบกวนที่ 50 Hz คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้ไม่ปรากฏสัญญาณรบกวนที่
50 Hz
รู ปแบบการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Bipolar Lead (3 lead)
วัสดุที่ใช้รับสัญญาณ แผ่นทองแดงหนา 0.1 mm และ 0.3 mm
66

ถ่าน CR2032 ขนาด 3V (225mAH)


แหล่งจ่ายไฟ
จานวน 4 ก้อน
กระแสที่จ่ายให้วงจร 16 mA
สัญญาณที่วดั ได้มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะ
ส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยังคอมพิวเตอร์ ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แต่มีองค์ประกอบ PQ ไม่
ชัดเจน
สัญญาณที่ได้ไม่เป็ นตามลักษณะของคลื่นไฟฟ้า
ส่งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปยัง
หัวใจ เนื่องจากมี sampling rate ที่ 20 Hz ซึ่งไม่
โทรศัพท์มือถือ
เพียงพอในการส่งคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Microcontroller ที่ใช้ในการควบคุมการส่ ง
ESP 8266
สัญญาณ

6.2. ปัญหาที่พบและแนวทางการแก้ไข
6.2.1. สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีองค์ประกอบ PQ ที่ไม่ชดั เจน
จากการทดสอบการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจกับเสื้ อที่มีส่วนผสมของผ้าต่างชนิดกันจานวน
3 ชนิด โดยทาการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิ ดละ 3 ครั้ง ซึ่ งผลการทดสอบรู ปของ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้จากผ้าทั้ง 3 ชนิดพบว่า มีองค์ประกอบ RST ตามลักษณะของ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ชดั เจน แต่องค์ประกอบ PQ ที่ไม่ชดั เจน คาดว่าอาจเป็ นผลมาจากวงจร
Twin-T Notch Filter ที่ถูกใช้ตดั ความถี่ที่ 50 Hz ออก เพื่อลดสัญญาณรบกวน 50 Hz แต่จาก
Frequency response ที่ได้ จะเห็นว่าการตัดความถี่ที่ 50 Hz ไม่ได้เป็ นไปตามอุดมคติที่ตดั
ความถี่ที่ 50 Hz เท่านั้น แต่มีการตัดความถี่ในช่วง 30 Hz – 60 Hz ออกไปด้วย อาจส่งผลใน
องค์ประกอบ PQ นั้นถูกกรองทิ้งไป ทาให้สัญญาณที่วดั ได้ปรากฏองค์ประกอบ PQ ที่ไม่
ชัดเจน
แนวทางการการแก้ไข คือ อาจทาการทดลองถอดวงจร Twin-T Notch Filter ออก
แล้วทดสอบผลดูอีกครั้งว่าสัญญาณที่ได้เป็ นอย่างไร และการถอดวงจรตัดความถี่ที่ 50 Hz ออก
สัญญาณรบกวนที่ 50 Hz มีการรบกวนมากน้อยขนาดไหน หรื อทาการทาให้วงจรตัดความถี่มี
คุณสมบัติที่เป็ นอุดมคติมากยิ่งขึ้น เช่น การปรับเปลี่ยนวงจรให้มีจานวน order ที่สูงขึ้น เพื่อให้
วงจรตัดความถี่ได้ในความถี่เฉพาะจุดและมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
67

6.2.2. การหน่วงเวลาในการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
จากการทดสอบการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจกับเสื้ อที่มีส่วนผสมของผ้าต่างชนิดกันจานวน
3 ชนิด โดยทาการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิ ดละ 3 ครั้ง ซึ่ งผลการทดสอบรู ปของ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้จากผ้าทั้ง 3 ชนิดพบว่า ในช่วงเริ่ มต้นตั้งแต่ผทู ้ ดสอบลงนัง่ บนเก้าอี้ใน
การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ผลของกราฟในช่วงเริ่ มจะมีการแกว่งของสัญญาณเป็ นอย่างมาก โดย
กราฟที่ได้ในช่วงแรกจะไม่เหมือนในลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ คาดว่าเกิดจากการที่วงจรยัง
ไม่เข้าสู่ช่วง Steady State โดย Steady State คือ สภาวะคงตัว ซึ่งผลลัพธ์จะไม่เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น เมื่อผ่านช่วงแรกไปเข้าสู่ ช่วง Steady State แล้ว สัญญาณที่ได้ก็จะ
ปรากฎเป็ นคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่มีผลดังที่กล่าวไปในข้างต้น
แนวทางการแก้ไข คือ การทาให้วงจรเข้าสู่ Steady State เร็วที่สุด ซึ่งการออกแบบจะ
เกี่ยวข้องกับวงจรที่มี C เป็ นองค์ประกอบ เช่น วงจร Passive High Pass Filter ในค่าของ
Time Constant ดังนั้นในการออกแบบเพื่อแก้ปัญหาการหน่วงเวลาในการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
อาจต้องเลือกใช้ค่า C กับ R ที่ทาให้วงจรเข้าสู่ Steady State เร็ วขึ้น

6.2.3. ความคลาดเคลื่อนของอัตราการเต้นของหัวใจ
จากการทดสอบการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจกับเสื้ อที่มีส่วนผสมของผ้าต่างชนิดกันจานวน
3 ชนิด โดยทาการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิดละ 3 ครั้ง พบว่าในแต่ละครั้งจะให้ผลอัตรา
การเต้นของหัวใจไม่เท่ากัน คาดว่า เกิดจากวิธีการวัดที่ไม่เหมาะสม โดยในการวัดอัตราการเต้น
ของหัวใจ จะใช้ Cursor วัดระยะเวลาความแตกต่างของคลื่นองค์ประกอบคลื่น R คือค่า R – R
interval ที่ความแตกต่างของคลื่นองค์ประกอบ R เพียง 2 ลูกคลื่น ซึ่งจากผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่
ได้ จะเห็นว่าในทุกๆค่า R – R interval ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะมีค่าที่แตกต่างกันอยูแ่ ล้ว ดังนั้น
เมื่อทาการวัดอัตราการเต้นของหัวใจจากค่า R – R interval ของเพียงแค่ 2 ลูกคลื่น ทาให้ผล
ของอัตราการเต้นของหัวใจเกิดความคลาดเคลื่อนไปในแต่ละครั้งที่ทาการวัด และในแต่ผา้ แต่
ละชนิด
แนวทางการแก้ไข คือ ควรใช้ค่า R – R interval มากกว่า 2 ลูกคลื่น กล่าวคือ ทาการ
วัดค่า R – R interval จากสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็ นชุด จากนั้นค่อยมาหารด้วยจานวนลูก
คลื่นในชุดนั้นออก เพื่อที่จะได้ค่า R – R interval เฉลี่ยในการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจในแต่ละครั้ง
คาดว่าอาจทาให้ค่าอัตราการเต้นของหัวใจมีความคลาดเคลื่อนน้อยลง
68

6.2.4. การแกว่งไปมาของสัญญาณ
จากการทดสอบการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจกับเสื้ อที่มีส่วนผสมของผ้าต่างชนิดกัน
จานวน 3 ชนิด โดยทาการทดสอบวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิดละ 3 ครั้ง ซึ่งผลการทดสอบรู ป
ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้จากผ้าทั้ง 3 ชนิดพบว่า พบว่าบางจังหวะสัญญาณคลื่นไฟฟ้า
หัวใจที่วดั ได้มีการแกว่งไปมา ไม่สม่าเสมอ
การแก้ไขปัญหาการแกว่งไปมาของสัญญาณทาได้โดยการจัดท่านัง่ ให้อิเล็กโทรด
ทั้งสองข้างเกิดความสมดุลในการรับสัญญาณ และไม่ขยับร่ างกายทุกส่ วน ขณะทาการวัด
สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ หรื ออาจทาการปรับเปลี่ยนรู ปแบบการติดตั้ง เพื่อลดการขยับ
ร่ างกายและรับสัญญาณได้ดีมากยิง่ ขึ้น เช่น การทารู ปแบบเป็ นเสื้ อที่แนบติดกับตัวผูว้ ดั

6.2.5. การเกิดออกซิเดชัน่ ต่อแผ่นทองแดงที่ใช้เป็ นอิเล็กโทรด


จากการทดสอบการใช้งาน พบว่าเมื่อปล่อยแผ่นทองไว้นาน จะเกิดคราบออกไซด์มา
เกาะบริ เวณผิวของแผ่นทองแดงทาให้ประสิ ทธิภาพการรับสัญญาณของแผ่นทองแดงต่าลง
การแก้ไขปัญหาการออกซิเดชัน่ ต่อแผ่นทองแดง คือ ก่อนการทดสอบต้องทาการขัด
บริ เวณผิวสัมผัสเพื่อกาจัดคราบออกไซด์ หรื อใช้วิธีการเคลือบผิวที่แผ่นทองแดงเพื่อลดการเกิด
ออกซิเดชัน่

6.2.6. ปัญหาในการแสดงผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจในโทรศัพท์มือถือ
จากการทดสอบจริ ง พบว่าสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ส่งไปแสดงในโทรศัพท์มือถือ
ได้สัญญาณที่ได้ไม่เป็ นตามลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เนื่องจากมีการหน่วงเวลาของการนา
ข้อมูลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ผา่ นการ ADC Converter ไปแสดงผลเป็ นกราฟบน HTTP server
แนวทางการแก้ปัญหา คือ ต้องทาการลดการหน่วงเวลาในการนาข้อมูลคลื่นไฟฟ้า
หัวใจไปแสดงผลบน HTTP server ซึ่งอาจจะต้องเปลี่ยนวิธีในการนาข้อมูลที่ได้มาแสดงเป็ น
กราฟที่มีความหน่วงที่นอ้ ยลงกว่านี้ เช่น การทาแอพลิเคชัน่ บนโทรศัพท์มือถือ แล้วใช้รูปแบบ
การเชื่อมต่อแบบ Bluetooth โดยตรงระหว่าง micro controller และโทรศัพท์ หรื อการสร้าง
รู ปแบบการนาข้อมูลมาแสดงผลเป็ นกราฟเอง เพื่อที่จะสามารถกาหนดค่า Sampling rate ที่
เพิ่มขึ้นได้
69

6.3. แนวทางการพัฒนาต่อ
6.3.1. การพัฒนาวงจรวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
จากปัญหาที่พบเจอ พบว่า วงจรในบางส่วนยังมีประสิ ทธิภาพไม่เพียงพอ ทาให้
สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วดั ได้มีองค์ประกอบไม่ครบตามลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งใน
แนวทางการพัฒนาต่อ อาจจะทาการพัฒนาวงจรในส่วนการกรองความถี่ค่าต่างๆให้เป็ นไปตาม
อุดมคติมากขึ้น หรื อการพัฒนาวงจรรวมสัญญาณให้มีค่า CMRR ที่สูงมากขึ้น เพื่อทาให้
สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น

6.3.2. การพัฒนาด้านการแสดงผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ตามที่ในโครงงานนี้ แสดงการส่ งสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวที่วดั ได้จากวงจรที่ออกแบบ
ไปยังโทรศัพท์หรื อคอมพิวเตอร์ พบว่ายังมีปัญหาในการแสดงผลอยู่ ในแนวทางพัฒนาอาจทา
แอพลิเคชัน่ ที่แสดงผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่แสดงผลได้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น รวมถึงมีการบันทึก
ข้อมูลคลื่นไฟฟ้าหัวใจและอัตราการเต้นของหัวใจลง database เพื่อเก็บผลของการวัดไว้ได้

6.3.3. การพัฒนาคุณภาพของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
จากทฤษฎีที่กล่าวในบทที่ 2 ในหัวข้อ รู ปแบบการติดเครื่ องมือวัด EKG/ECG ซึ่งจะ
แสดงให้เห็นการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่สมบูรณ์จะต้องประกอบด้วย 12 Lead แนวทางพัฒนา
อาจทาอุปกรณ์ที่มีจานวน lead ที่เพิ่มขึ้นเพื่อให้ได้สัญญาณที่สมบูรณ์มากยิง่ ขึ้น

6.3.4. การพัฒนารู ปแบบการติดตั้ง


ในโครงงานนี้ได้ทาการติดตั้งวงจรสาเร็ จและแผ่นรับสัญญาณที่สามรารถวัด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านเสื้ อได้บนเก้าอี้ ในแนวทางการพัฒนาอาจปรับเปลี่ยนรู ปแบบการติดตั้ง
เป็ นรู ปแบบอื่นเพื่อพัฒนาการใช้งานที่หลากหลายยิง่ ขึ้น เช่น การติตตั้งวงจรสาเร็ จและแผ่น
อิเล็กโทรดบนเตียงนอน ให้ผปู ้ ่ วยติดเตียงที่ตอ้ งการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจสามารถวัดคลื่นไฟฟ้า
หัวใจได้ในขณะที่นอนอยูบ่ นเตียง
70

บรรณานุกรม

[1] R. Donovan, “Everything You Need to Know About Heart Disease”, 2020.
[online] Healthline. Available at: <https://www.healthline.com/health/heart-
disease#types-of-heart-disease> [Accessed: 11- Nov- 2020].

[2] “สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจ Coronary Artery Disease (CAD) ปี พ.ศ. 2562”,


2019. [online] ddc.moph.go.th. Available at:
< https://ddc.moph.go.th/uploads/files/1081120191227084415.pdf> [Accessed:
11- Nov- 2020].
[3] M. Cadogan, “ECG Lead positioning”, 2020. [online] litfl. Available at:
<https://litfl.com/ecg-lead-positioning/> [Accessed: 12- Nov- 2020].
[4] A. Searle and L. Kirkup, “A direct comparison of wet, dry and insulating
bioelectric recording electrodes”, 2000. [online] researchgate. Available at:
<https://www.researchgate.net/publication/12471586_A_direct_comparison_of_
wet_dry_and_insulating_bioelectric_recording_electrodes> [Accessed: 13- Nov-
2020].
[5] “Electrocardiogram (ECG)”, 2018. [online] Nhs.uk. Available at:
<https://www.nhs.uk/conditions/electrocardiogram/> [Accessed: 13- Nov-
2020].
[6] Peng, S., Xu, K., & Chen, W, “Comparison of Active Electrode Materials for Non-
Contact ECG Measurement”, 2019. [online] ncbi.nlm.nih.gov. Available at:
<https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6720752/?fbclid=IwAR3PtOk
8XIa39oHroPPOYtj2DZehzavF_23bzhr6QfkR79CYdp5IHm4Emok>
[Accessed: 15- Nov- 2020].
[7] Leepaisarn, T., Juntavong, C., & Sakornkum, N, “Non–Gel Electrode”
Individual study, Bachelor of Engineering (Electrical Communication
Engineering), Mahidol University, Nakhon Pathom, Thailand, 2019.
71

[8] Y. Sun and X. B. Yu, “Capacitive Biopotential Measurement for


Electrophysiological Signal Acquisition: A Review”, 2016. [online] ieeexplore.
Available at: <https://ieeexplore.ieee.org/document/7386562/metrics#metrics>
[Accessed: 15- Nov- 2020].
72

ภาคผนวก
73

ภาคผนวก ก
(datasheet)
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100

You might also like