Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 163

การจัดการปั ญหานําท่ วมและการมีส่วนร่ วมของชุมชน: กรณีศึกษา

หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร

ศิรพัชร วัชรภาสกร

วิทยานิพนธ์ นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสูตร


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิงแวดล้ อม)
คณะพัฒนาสังคมและสิงแวดล้ อม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์
2556
บทคัดย่ อ

ชือวิทยานิพนธ์ การจัดการปัญหานําท่วมและการมีสว่ นร่วมของชุมชน: กรณีศกึ ษา


หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร
ชือผู้เขียน นายศิรพัชร วัชรภาสกร
ชือปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิงแวดล้ อม)
ปี การศึกษา 2556

การศึกษานีมีวตั ถุประสงค์เพือการศึกษาผลกระทบจากปั ญหานําท่วม ศึกษาปั จจัยที มี


ความสัมพันธ์กบั ความพร้ อมรับมือ และการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการรับมือและแก้ ไขปั ญหา
นําท่วม และศึกษาการจัดการปั ญหานําท่วมของหน่วยงานราชการ และคณะกรรมการชุมชน กลุ่ม
ตัว อย่ างที ใช้ ใ นการศึก ษาคื อ ประชาชนในชุม ชนหมู่บ้ านนัก กี ฬ าแหลมทอง เขตสะพานสูง
กรุงเทพมหานคร จํานวน 360 คน จําแนกตามประเภททีอยู่อาศัย 4 ประเภท ได้ แก่ ทีอยู่อาศัยชัน
เดียว ทีอยู่อาศัย 2 ชันขึนไป อาคารชุด/ห้ องพัก และอาคารพาณิชย์ทีใช้ ประกอบกิจการ ประเภท
ละ 90 ตัวอย่าง ทําการสุม่ แบบบังเอิญตัวแทนครัวเรื อน เก็บข้ อมูลโดยการใช้ แบบสอบถาม และ
การศึก ษาเอกสารที เกียวข้ อง สถิ ติทีใช้ ในการวิเคราะห์ ข้ อมูลคือ สถิ ติพรรณนา ได้ แก่ ร้ อยละ
ความถี ค่าเฉลีย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้ แก่ การทดสอบ t-Test, F-Test และ
Pearson Correlation ทีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05
จากการสํารวจพบว่า กลุม่ ตัวอย่างเกินกว่ากึงหนึงเป็ นเพศหญิง กลุม่ ตัวอย่างจํานวนมาก
ทีสุดมีอายุระหว่าง 31-45 ปี และมีวฒ ุ ิการศึกษาในระดับปริญญาตรี กลุม่ ตัวอย่างมากกว่ากึงหนึง
สมรสแล้ ว มีสถานะเป็ นลูกบ้ านหรื อผู้อยู่อาศัย กึงหนึงมีทีอยู่อาศัยเป็ นของตัวเอง กลุ่มตัวอย่าง
จํานวนมากทีสุดประกอบอาชีพธุรกิจเอกชน และมีรายได้ เฉลียอยู่ที 15,001-25,000 บาทต่อเดือน
กลุม่ ตัวอย่างมีคา่ เฉลียความรู้และการรับทราบสภาพปั ญหานําท่วมอยู่ในระดับสูง ปั จจัย
ทีมีผลต่อความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนคือ อายุ ระดับการศึกษา
อาชีพ และการรับข้ อมูลข่าวสาร อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ในขณะทีปั จจัยทีมีผลต่อ
ก าร รั บ ข้ อมู ล ข่ าว ส าร เ กี ย ว กั บ ปั ญ ห านํ าท่ ว ม ภ าย ใ น ชุ ม ช น คื อ อ ายุ แ ล ะ อ าชี พ
(4)

อย่ า งมี นัย สํ า คัญ ทางสถิ ติ ที ระดับ 0.05 โดยช่อ งทางการกระจายข่า วสารภายในชุมชนที มี
ประสิทธิภาพมากทีสุดคือ การกระจายข่าวสารโดยการบอกเล่าต่อ ๆ กัน แบบปากต่อปาก และ
ช่องทางการกระจายข่าวสารทีเผยแพร่โดยหน่วยงานราชการ (สํานักงานเขต สํานักงานระบายนํา
กทม.) ทีมีประสิทธิภาพมากทีสุดคือ การแจ้ งข่าวสารผ่านทางสือต่างๆ (โทรทัศน์ วิทยุ) โดยข้ อมูล
ทีประชาชนได้ รับคือ ข้ อมูลการเตรี ยมตัวรับมือปั ญหานําท่วม ทังจากคณะกรรมการชุมชน และ
หน่วยงานราชการ
กลุ่มตัวอย่างได้ รับผลกระทบจากปั ญ หานําท่วมในระดับ ปานกลาง ซึงมีผลกระทบต่อ
ประชาชนในด้ านการคมนาคมมากทีสุด โดยระดับของผลกระทบจากปั ญหานําท่วมภายในชุมชน
ขึนอยู่กบั ลักษณะของทีอยู่อาศัยและอาชีพ และปั จจัยทีมีผลต่อการเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม
คือ ลักษณะของทีอยู่อาศัย อาชีพ และรายได้ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 กลุม่ ตัวอย่าง
มีการเตรี ยมความพร้ อมในการรับมือปั ญหานําท่วม ในระดับปานกลาง
ระดับ ของการมีส่วนร่วมในการจัดการปั ญหานํ าท่วมของกลุ่มตัวอย่างอยู่ใ นระดับ ตํา
ปั จ จัย ที มีผลต่อการมีส่วนร่ วมในการแก้ ปั ญ หานําท่วมของประชาชนในชุมชนคือ อายุ ระดับ
การศึกษา การประกอบอาชีพ รายได้ และการรับข้ อมูลข่าวสาร อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ
0.05 ประชาชนมีส่วนร่ วมในการรับมือปั ญหานํ าท่วมในชุมชน โดยการบริ จาคเงิน เพือซือทราย
กระสอบทราย และช่วยในการบรรจุกระสอบทรายเพือนําไปป้องกันนําท่วม
กลุม่ ตัวอย่างมีความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานราชการ โดยรวมอยู่ในระดับ
ตํา โดย กลุม่ ตัวอย่างมีความพึงพอใจในการติดตังเครื องสูบนําภายในชุมชนมากทีสุด ในขณะที
กลุม่ ตัวอย่างมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุมชน โดยรวมอยู่ในระดับสูง
โดย กลุม่ ตัวอย่างมีความพึงพอใจในการสร้ างแนวกันนําตามแนวลําคลองทีติดกับชุมชน มากทีสุด
แนวทางการแก้ ปัญหานําท่วมภายในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองสามารถดําเนินการ
ได้ โดยการใช้ นโยบายด้ านการก่อสร้ าง ได้ แก่ การปรับปรุงเส้ นทางการคมนาคม การปรับปรุงทาง
ระบายนํ า และการติดตังเครื องสูบ นํ าภายในชุ มชน การสร้ างแนวป้ องกัน นํ ารอบชุมชน และ
นโยบายด้ านการจัดการ ได้ แก่ การให้ ความรู้ในการป้องกันทีอยู่อาศัยและทรัพย์สิน เพือหลีกเลียง
หรือบรรเทาผลกระทบจากปั ญหานําท่วม การขุดลอกท่อระบายนําเพือกําจัดสิงอุดตัน การพร่อง
นําในท่อระบายนําในช่วงฤดูฝนเพือเตรี ยมรับปริ มาณนําฝน การจัดหาพาหนะขนส่งประชาชน
ในขณะเกิดนําท่วม การใช้ พาหนะร่วมทางกันของประชาชนในชุมชน
ABSTRACT

Title of Thesis Flood Management and Community’s Participation: A Case Study


of Nukkeelalamtong Village, Saphansoong District, Bangkok.
Author Mr. Sirapat Watcharapasakorn
Degree Master of Science (Environmental Management)
Year 2013

The objectives of this study were to study effects from flood problems and to
study factors related to the community’s preparation and participation during flood
problem in Nukkeelalamtong Village, Saphansoong District, Bangkok and study the
flood management of government and village committees. Questionnaires were
distributed to 360 villagers, classified by the type of their habitats as a single storey
house, a multi-storey house, a condominium or dorm, and a commercial building. Data
was analyzed by using descriptive statistics e.g. frequency, percentage and mean. The
hypotheses were tested using t-Test, F-Test and Pearson’s correlation at the significant
level of 0.05.
The study revealed that more than half of the samples are female. Most of the
samples are between 31-45 years old and obtained bachelor degree. More than half of
the samples are married, member of their family and have their own residents. Most of
the samples are business employee and have income between 15,001 to 25,000 baht
per month.
The study revealed that perception and knowledge on flood situation of the
samples are high and their affecting factors involve age, education level, occupation
and involve perception on news and information at the significant level of 0.05. Factors
(6)

affecting perception on news and information are age and occupation at the significant
level 0.05. The study also revealed that the most efficiency means in communities to
publicize information is social association and for the government are television and
radio.
In addition, impacts from flood problems to the village are at a medium level. The
flood problem was found to have effects on public’s transportation the most. Impact
levels depend on the types of habitat and occupation. Factors affecting flood
preparations are at a medium level which depends on type of habitat, occupation and
income of the villagers. The community’s participation on flood management is at a low
level. Factors affecting community’s participation on flood management of the villagers
are age, education, occupation and income at the significant level of 0.05. The most
participating activities are donation for sandbag.
The community satisfactions on the government management are at low level.
The samples favored in receiving water pump from government the most. The
community satisfactions on the community committees are at high level-the most is the
use of sandbag as a defending line along side of the cannels around the village.
The solutions for solving flood problems in Nukkeelalamtong Village include construction
and non-construction methods. The construct methods are transport’s route
improvement, drainage improvement, water pump station and construct water barrage.
The non-construction methods include providing the flood management information,
drainage cleaning, provide the extra public’s transportation during the flood situation.
กิตติกรรมประกาศ

วิท ยานิ พนธ์ เรื อง การจัดการปั ญ หานํ าท่วมและการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณี ศึก ษา


หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร สําเร็จได้ ด้วยความช่วยเหลือจากผู้มี
พระคุณหลายท่าน ทีให้ ความช่วยเหลือในการให้ ข้อมูล คําปรึกษาและคําชีแนะ รวมถึงเจ้ าของ
วรรณกรรมและงานวิจยั ทีปรากฏอยู่ในวิทยานิพนธ์ฉบับนีทุกท่าน
ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. วิสาขา ภูจ่ ินดา รองศาสตราจารย์ ดร. จําลอง โพธิ
บุญ สถาบัน บัณฑิ ตพัฒนบริ ห ารศาสตร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กนก เลิศพานิช สถาบัน
เทคโนโลยีพระจมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ทีกรุณาให้ คําปรึกษา ข้ อเสนอแนะ การพิจารณา
ตรวจสอบข้ อ ผิด พลาดต่างๆ ของวิ ท ยานิ พ นธ์ ฉบับ นี รวมทังคณาจารย์ ห ลัก สูต รการจัด การ
สิงแวดล้ อมทุกท่านที ได้ อบรม สังสอน ถ่ายทอดความรู้ รวมถึงเจ้ าหน้ าที หลัก สูตรการจัดการ
สิงแวดล้ อมและผู้เกียวข้ องทุกท่าน ทีได้ ให้ ความช่วยเหลือในการติดต่อประสานงานเป็ นอย่างดี
ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุขุมาภรณ์ ขัน ธ์ ศรี ที คอยให้ ความช่วยเหลือในการ
ดําเนิน งานวิจัย ทุก ขันตอน คุณเบญจวรรณ คมกฤส และสมาชิ กคณะกรรมการชุมชนหมู่บ้าน
นัก กี ฬ าแหลมทองทุก ท่า น ที ให้ ความช่ วยเหลื อในการให้ ข้ อ มูล และการเก็บ แบบสอบถาม
ขอขอบคุณ เจ้ าหน้ าที สํานัก งานเขตสะพานสูง ฝ่ ายโยธา ฝ่ ายเทศกิ จ ฝ่ ายพัฒนาชุมชน และ
เจ้ าหน้ าทีสํานักการระบายนํา ทีได้ ให้ ความช่วยเหลือในการให้ ข้อมูลการจัดการปั ญหานําท่วมของ
หน่วยงานราชการ
สุดท้ ายนีขอขอบพระคุณ คุณแม่ และสมาชิกในครอบครัวผู้วิจัย ทีได้ คอยให้ กําลังใจและ
ให้ การสนับ สนุนมาโดยตลอด รวมถึงผู้มีพระคุณทุกท่านทีไม่ได้ ก ล่าวนามไว้ ณ ที นี ทีมีส่วนให้
วิทยานิพนธ์ฉบับนีสําเร็จลงด้ วยดี

ศิรพัชร วัชรภาสกร
12 ตุลาคม 2556
สารบัญ

หน้ า

บทคัดย่ อ (3)
ABSTRACT (5)
กิตติกรรมประกาศ (7)
สารบัญ (8)
สารบัญตาราง (12)
สารบัญภาพ (15)

บทที 1 บทนํา 1
1.1 ความเป็ นมาและความสําคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3
1.3 ขอบเขตของการศึกษา 3
1.4 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้ รับ 3
1.5 นิยามศัพท์ 3
บทที 2 ทบทวนวรรณกรรม 5
2.1 ข้ อมูลพืนฐานของชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง 5
2.2 อุทกภัย (Flood) 9
2.3 สาเหตุของปั ญหานําท่วม 11
2.4 ทฤษฎีการมีสว่ นร่วม 16
2.5 ทฤษฎีการรับข่าวสาร 20
2.6 แนวทางและวิธีการแก้ ไขปั ญหานําท่วม 21
2.7 สภาพปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง 26
2.8 งานวิจยั ทีเกียวข้ อง 30
(9)

บทที 3 วิธีการศึกษา 33
3.1 บริบทของการศึกษา 33
3.2 วิธีการดําเนินการวิจยั และสถานทีทําการเก็บข้ อมูล 34
3.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา 36
3.4 สมมติฐาน 37
3.5 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 38
3.6 เครืองมือทีใช้ ในการวิจยั 39
3.7 การทดสอบเครืองมือในการศึกษา 41
3.8 การเก็บรวบรวมข้ อมูล 43
3.9 การวิเคราะห์ข้อมูล 44
บทที 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 45
4.1 ผลการเก็บรวบรวมข้ อมูลแบบสอบถาม 46
4.1.1 ข้ อมูลพืนฐาน (ลักษณะส่วนบุคคล) 46
4.1.2 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วม 50
4.1.3 ช่องทางการรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 53
4.1.4 ผลกระทบทีได้ รับจากปัญหานําท่วมในชุมชน 56
4.1.5 การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหา 58
4.1.6 การมีสว่ นร่วมในการรับมือปัญหานําท่วมในชุมชน 60
4.1.7 ความพึงพอใจต่อการทํางานของหน่วยงานทีเกียวข้อง 62
4.2 ผลการทดสอบสมมติฐาน 66
4.3 ผลการศึกษาเชิงนโยบาย และการจัดการ 101
บทที 5 สรุป อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ 106
5.1 ผลการศึกษาสภาพปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง 106
5.2 การศึกษาการเก็บข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม 107
5.2.1 ลักษณะส่วนบุคคล 107
5.2.2 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชน 107
หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
5.2.3 ช่องทางการรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 108
5.2.4 ผลกระทบทีได้ รับจากปัญหานําท่วมในชุมชน 109
(10)

5.2.5 การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหา 109


5.2.6 การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ปัญหาของประชาชน 109
5.2.7 ความพึงพอใจต่อการทํางานของหน่วยงานทีเกียวข้อง 109
5.3 อภิปรายผลการศึกษา 110
5.3.1 ปั จจัยส่วนบุคคลกับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไป 110
ของปั ญหานําท่วมในชุมชน
5.3.2 ปั จจัยส่วนบุคคลทีมีความสัมพันธ์กบั การเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสาร 111
ของปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
5.3.3 ปั จจัยส่วนบุคคลกับผลกระทบจากปั ญหานําท่วมทีเกิดขึน 112
5.3.4 ปั จจัยส่วนบุคคลกับการเตรียมความพร้ อมรับมือปัญหานําท่วม 112
5.3.5 ปั จจัยส่วนบุคคลกับการมีสว่ นร่วมในการรับมือและ 113
แก้ ไขปั ญหานําท่วม
5.3.6 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไป 114
ของปั ญหานําท่วม กับการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับ
ปั ญหานําท่วมในชุมชน
5.3.7 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไป 114
ของปั ญหานําท่วม กับ การเตรียมพร้ อมรับมือปัญหานําท่วม
ในชุมชน
5.3.8 ความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับ 114
ปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ การมีสว่ นร่วมในการรับมือและ
แก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน
5.3.9 ความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับ 115
ปั ญหานําท่วมในชุมชน กับความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงาน
ของหน่วยงานราชการระหว่างการเกิดปั ญหานําท่วมในชุมชน
5.3.10 ความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับ 115
ปั ญหานําท่วมในชุมชน กับความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงาน
ของคณะกรรมการชุมชน ระหว่างการเกิดปัญหานําท่วมในชุมชน
5.3.11 ความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน 115
กับการเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
(11)

5.3.12 ความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วม 116


ในชุมชนกับการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข
ปั ญหานําท่วมในชุมชน
5.3.13 ความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วม 116
ในชุมชน กับความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของ
หน่วยงานราชการระหว่างการเกิดปั ญหานําท่วมในชุมชน
5.3.14 ความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน 116
กับความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการชุมชน
ระหว่างการเกิดปั ญหานําท่วมในชุมชน
5.3.15 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของ 116
ปั ญหานําท่วม กับการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข
ปั ญหานําท่วม
5.4 ข้ อเสนอแนะ 117
5.4.1 ข้ อเสนอแนะจากผลการวิจยั 117
5.4.2 ข้ อเสนอแนะต่อหน่วยงานทีมีสว่ นเกียวข้ อง 118
5.4.3 ข้ อเสนอแนะสําหรับการศึกษาวิจยั ในครังต่อไป 119

บรรณานุกรม 120
ภาคผนวก 124
ภาคผนวก ก แบบสอบถามสําหรับการศึกษาวิจยั 125
ภาคผนวก ข แบบประเมินความตรงด้ านเนือหาของแบบสอบถาม 132
การหาค่าดัชนีความสอดคล้ องของวัตถุประสงค์
(Index of Item Objective Congruence: IOC)
ภาคผนวก ค เอกสารจัดทําโดยคณะกรรมการชุมชน 142
ประวัติผ้ เู ขียน 148
สารบัญตาราง

ตารางที หน้ า

2.1 วิธีการวางแผนเพือการแก้ ไขปั ญหานําท่วม (Kates, 1962) 23


4.1 ข้ อมูลส่วนบุคคล 47
4.2 ระดับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปัญหานําท่วม 50
ในชุมชนหมูบ่ ้ านักกีฬาแหลมทอง
4.3 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วม 51
ในชุมชนหมูบ่ ้ านักกีฬาแหลมทอง
4.4 การรับทราบข่าวสารเกียวกับปัญหานําท่วมในชุมชน 54
4.5 ข่าวสารทีได้ รับ 55
4.6 ระดับคะแนนการรับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชน 55
4.7 ผลกระทบจากปัญหานําท่วม 57
4.8 การเตรียมความพร้ อมในการรับมือกับสภาวะนําท่วม 59
4.9 การมีสว่ นร่วมในการแก้ ปัญหานําท่วมในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง 61
4.10 ความพึงพอใจในการแก้ ปัญหานําท่วมในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง 63
4.11 ความพึงพอใจในการแก้ ปัญหานําท่วมในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง 65
4.12 การทดสอบสมมติฐานระหว่างเพศกับความรู้และการรับทราบ 66
สภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
4.13 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอายุกบั ความรู้และการรับทราบ 67
สภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
4.14 ความแตกต่างรายคู่ 68
4.15 การทดสอบสมมติฐานระหว่างระดับการศึกษากับความรู้ 69
และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชน
หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
(13)

4.16 ความแตกต่างรายคู่ 70
4.17 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับความรู้และการรับทราบ 71
สภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
4.18 ความแตกต่างรายคู่ 72
4.19 การทดสอบสมมติฐานระหว่างเพศกับการรับทราบข้อมูลข่าวสาร 73
เกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
4.20 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอายุกบั การรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 74
เกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
4.21 ความแตกต่างรายคู่ 75
4.22 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับการรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 76
เกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
4.23 ความแตกต่างรายคู่ 77
4.24 การทดสอบสมมติฐานระหว่างลักษณะของทีอยู่อาศัยกับผลกระทบ 78
จากปั ญหานําท่วม
4.25 ความแตกต่างรายคู่ 79
4.26 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับผลกระทบจากปั ญหานําท่วม 80
4.27 ความแตกต่างรายคู่ 81
4.28 การทดสอบสมมติฐานระหว่างลักษณะทีอยู่อาศัย 82
กับการเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วม
4.29 ความแตกต่างรายคู่ 83
4.30 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับการเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม 84
4.31 ความแตกต่างรายคู่ 85
4.32 การทดสอบสมมติฐานระหว่างรายได้ กบั การเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม 86
4.33 ความแตกต่างรายคู่ 87
4.34 การทดสอบสมมติฐานระหว่างเพศกับการมีสว่ นร่วม 88
ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
4.35 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอายุกบั การมีสว่ นร่วม 89
ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
4.36 ความแตกต่างรายคู่ 90
(14)

4.37 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับการมีสว่ นร่วม 91


ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
4.38 ความแตกต่างรายคู่ 92
4.39 การทดสอบสมมติฐานระหว่างการศึกษากับการมีสว่ นร่วม 93
ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
4.40 ความแตกต่างรายคู่ 94
4.41 การทดสอบสมมติฐานระหว่างรายได้ กบั การมีสว่ นร่วม 95
ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
4.42 ความแตกต่างรายคู่ 96
4.43 สรุปผลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 100
5.1 แสดงจํานวนของกลุม่ ตัวอย่างในแต่ละช่วงอายุ ทีมีการศึกษาในระดับต่างๆ 111
สารบัญภาพ

ภาพที หน้ า

2.1 แผนทีเขตสะพานสูง 7
2.2 แผนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง 8
2.3 สภาพนําท่วมทีเกิดจากนําฝนท่วมขังในเขตชุมชน 11
2.4 แสดงสภาพนําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง 27
ทีส่งผลกระทบต่อประชาชน
2.5 เส้ นทางการไหลของนําจากคลองแสนแสบสูค่ ลองรอบชุมชน 28
หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
2.6 การทรุดตัวของพืนดินซึงเป็ นเหตุในทางระบายนําชํารุด 29
2.7 สภาพของช่องรับนําหน้ าคันหินทีมีขนาดเล็ก และเกิดการอุดตัน 29
3.1 แผนภาพวิธีการศึกษา 35
3.2 แผนภาพกรอบแนวคิดในการศึกษา 37
4.1 แสดงแนวท่อระบายนําทีปรับปรุงใหม่ 102
4.2 แสดงตําแหน่งของเครืองสูบนําในจุดต่างๆ 103
4.3 การตังจุดประชาสัมพันธ์ปัญหานําท่วมในบริเวณหน้ าลานอเนกประสงค์ 104
ของคณะกรรมการชุมชน
4.4 การบรรจุทรายลงกระสอบ 105
4.5 การลําเลียงกระสอบทรายไปวางตามจุดเสียงต่างๆ ในชุมชน 105
บทที 1

บทนํา

1.1 ความเป็ นมาและความสําคัญ

ชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองเป็ นชุมชนหนึงในเขตสะพานสูงของกรุงเทพมหานคร เป็ น


ชุมชนเก่าแก่ที อยู่ช ายขอบของกรุ งเทพมหานคร ถูกจัดประเภทเป็ นพืนที กสิกรรม มีการสัญจร
ดังเดิมทางนํา มีคลองเชือมต่อระหว่างคลองทับช้ างล่างและคลองทับช้ างบน ติดต่อคลองแสนแสบ
และคลองประเวศบุรีรมย์ในเขตพระโขนงและเขตลาดกระบัง หมูบ่ ้ านนีเดิมทีอยู่ในความรับผิดชอบ
ของการเคหะแห่งชาติ ทีสร้ างขึนเพือเป็ นทีพักนักกีฬาในการแข่งขันกีฬาแหลมทอง และเมือเสร็จ
สินการแข่งขันได้ จดั เป็ นหมูบ่ ้ านการเคหะแห่งชาติเปิ ดให้ ประชาชนได้ มีโอกาสเช่าซือ และได้ ขยาย
พืนทีออกไปทังสิน 3-4 โครงการ เมือจัดสรรได้ เต็มโครงการการเคหะแห่งชาติได้ ถอนตัวออกไป ให้
อยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ขึนอยู่กบั การปกครองของเขตทีรับผิดชอบตามการแบ่งส่วน
ราชการ ในปั จจุบัน อยู่ใ นความดูแลของเขตสะพานสูงนอกจากนี ยังมีพืนที ที เป็ นที จัดสรรของ
หมู่บ้านเอกชนอีก สองโครงการทีแทรกอยู่ใ นพื นที ของหมู่บ้ านนัก กีฬาแหลมทอง จึงกลายเป็ น
ชุมชนหมู่บ้ านนักกี ฬาแหลมทอง โดยมีคณะกรรมการชุมชน ดําเนิน การเกี ยวกับ กิจ กรรมของ
หมูบ่ ้ านในด้ านต่าง ๆ ทีจะอํานวยความสะดวกให้ คนชุมชน และเนืองจากหมู่บ้านนักกีฬาแหลม
ทอง อยู่ในพืนทีชานกรุงเทพมหานครทีจะเป็ นด่านทีป้องกันหรือการระบายนําเพือไม่ให้ เกิดสภาพ
ปั ญหานําท่วมกับกรุงเทพแหลมทองชันใน หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง จึงเป็ นพืนทีทีกันไว้ สําหรับ
การรองรับนํา และการระบายนํา เมือฤดูฝนมีนําหลากและระบายไม่ทัน ประชาชนผู้อยู่อาศัยใน
หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง นี จึงเป็ นผู้ประสบปั ญหาเสียเอง แต่ก็เป็ นความพยายามแก้ ปัญหาที
ภาครัฐ โดยเขตหรือ กทม.ทีรับผิดชอบได้ ดําเนินการอยู่ในทุกยุคทุกสมัยแต่ไม่มีความเป็ นรูปธรรม
ภาคประชาชนในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองคือ คณะกรรมการหมูบ่ ้ านและประชาชนผู้อยู่อาศัย จึง
ได้ มีแนวคิดในการร่วมมือกันทีจะช่วยภาครัฐแก้ ปัญหานี โดยร่วมมือกันศึกษาแนวทางการแก้ ไข
ปั ญหาสภาวะนําท่วมของหมู่บ้านนัก กีฬาแหลมทองในระยะยาวและอย่างยังยื น แต่เ นืองด้ วย
2

ปั จจัยหลายอย่าง เช่น ด้ านงบประมาณ ด้ านการประสานงาน การเปลียนแปลงผู้รับผิดชอบทังเขต


สะพานสูง การเคหะแห่งชาติและความไม่ตอ่ เนืองในการปฎิบตั ิงานคณะกรรมการชุมชนในแต่ละ
วาระทําให้ ปัญหานําท่วมภายในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองยังคงเกิดขึนและส่งผลกระทบต่อ
ชุมชนเรือยมาจนปั จจุบนั
ปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองเป็ นปั ญหาทีพบได้ ทุกปี โดยมักจะเกิด
ในช่วงฤดูฝน และปั ญ หาจะยิงทวีความรุน แรงเมือเกิ ดฝนตกในปริ มาณมากและต่อเนื องเป็ น
เวลานาน รวมทังการประสบปั ญหานําหลากในหน้ านําของทุกปี จะมีนําท่วมขังเป็ นระยะเวลานาน
การระบายนําทําได้ ยาก เพราะพืนทีถูกล้ อมรอบด้ วยลําธารนํา ทัง 2 ฝั งของหมู่บ้าน การเกิดนํา
ท่วมแต่ละครังทําให้ คนทีอาศัยอยู่ในชุมชน ประมาณ 3,174 ครัวเรือน เดือดร้ อน การดํารงชีวิตใน
สภาวะนําท่วมไม่ปกติ การสัญจรติดขัดหรือไม่สามารถใช้ ถนนได้ สร้ างความเสียหายต่อทรัพย์สิน
และส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจในชุมชน นอกจากนียังส่งผลเสียต่อสุขภาพและอนามัยของคนในชุมชน
ทังทางด้ านร่างกายและจิตใจสภาวะนําท่วมขังเป็ นระยะเวลานาน ๆ เป็ นสาเหตุให้ เกิดโรคจากนํา
เชือโรคจากนํา รวมถึงการพัดพาขยะและสิงปฏิกูลตามทีต่างๆให้ แพร่กระจายออกไป ซึงปั ญหา
เหล่านีได้ มีความพยายามแก้ ไขอยู่ทกุ ปี ทังจากภาครัฐทีเกียวข้ องและจากชุมชนเอง แต่ปัญหานํา
ท่วมก็ยงั คงเกิดขึนอย่างต่อเนืองทุกปี การจัดการปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
เพือแก้ ไขและรับมือกับปั ญหานําท่วมทีเป็ นทียอมรับจากทุกฝ่ ายจึงมีความสําคัญอย่างยิง
ในฐานะผู้วิจยั ทีได้ มีส่วนร่วมในการเป็ นผู้อยู่อาศัย มีส่วนร่วมเป็ นคณะกรรมการชุมชน
หมู่บ้านนัก กีฬาแหลมทอง และกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน จึงต้ องการให้ ชุมชนของตนเองมีการ
บริหารจัดการทีดี เนืองจากปั ญหานําท่วมเป็ นปั จจัยทีเป็ นอุปสรรคในการยับยังความเจริ ญของ
หมูบ่ ้ าน และเป็ นปั ญหาเรือรังทีน่าจะได้ มีการแก้ ไขในระยะยาวอย่างเร่งด่วน จึงได้ ให้ ความสนใจที
จะศึกษาการจัดการแก้ ปัญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองอย่างยังยืน เพือบรรเทา
ทุกข์ของชุมชน และมองว่าการแก้ ปัญหานําท่วมเป็ นเรืองใหญ่ทีต้ องอาศัยความร่วมมือจากทุกคน
ในหมูบ่ ้ าน และต้ องการให้ ทกุ คนได้ มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ด้ วยการระดมความคิด กระตุ้นให้
ทุกคนได้ ตระหนักและมีสว่ นร่วมในการแก้ ปัญหานําท่วมในชุมชนนีด้ วยกัน
3

1.2 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา

1.2.1 เพือศึกษาถึงผลกระทบ การเตรียมตัวรับมือ และการมีสว่ นร่วมในการแก้ ไขปั ญหา


นําท่วมของประชาชน ในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
1.2.2 เพือศึกษาปั จจัยทีมีความสัมพันธ์กับความพร้ อมในการรับมือปั ญหานําท่วม และ
กับการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการแก้ ไขปั ญหานําท่วม

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

ศึก ษาการจัดการปั ญ หานําท่วมในชุมชน และการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้ าน


นักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร โดยมีระยะเวลาการศึกษาเป็ นเวลา 1 ปี ตังแต่
พฤษภาคม 2554 – เมษายน 2555

1.4 ประโยชน์ ทคาดว่


ี าจะได้ รับ

1.4.1 ทําให้ ทราบถึงสภาพปั ญหานําท่วม และปั จจัยทีก่อให้ เกิดปั ญหานําท่วมในชุมชน


หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
1.4.2 ทํ าให้ ท ราบถึงผลกระทบของปั ญ หานําท่วมที มีต่อประชาชนในชุมชนหมู่บ้าน
นักกีฬาแหลมทอง
1.4.3 ทําให้ ทราบถึงการเตรียมความพร้ อมในการรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
1.4.4 ทําให้ ทราบถึงปั จจัยทีมีความสัมพันธ์ตอ่ การเตรียมความพร้ อมในการรับมือปั ญหา
นําท่วม และการมีสว่ นร่วมของประชาชน ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้าน
นักกีฬาแหลมทอง

1.5 นิยามศัพท์

คณะกรรมการชุมชน คือ ประชาชนทีอาศัยอยู่ในชุมชนและได้ รับการลงคะแนนเลือกให้ มา


ทําหน้ าทีเป็ นผู้แทนของประชาชนในหมูบ่ ้ าน เป็ นผู้ดแู ลความเรี ยบ ร้ อย ประสานงานในกิจกรรม
ด้ านต่าง ๆ การบริหารจัดการในสิงอํานวยความสะดวกพืนฐาน ความต้ อง การของชุมชน รวมถึง
4

มีสว่ นร่วมในการติดต่อประสานงาน การรับนโยบายจากภาครัฐมาแจ้ งให้ ประชาคมในหมู่บ้านได้


ทราบกรรมการชุมชนมีวาระในการทํางาน 2 ปี
ช่องรับนําหน้ าคันหิน คือ ช่องสําหรับระบายนําจากถนนลงสูท่ างระบายนํา ซึงช่องรับนํานี
อยู่บริเวณสันขอบของบาทวิถี หันหน้ าเข้ าสูถ่ นน
ความเตรี ยมความพร้ อมในการรับ มือปั ญหานําท่วม คือ การประเมิน ถึงความเสีย หาย
และผลกระทบทีจะเกิดจากปั ญหานําท่วม จากนันจึงทําการหลีกเลียง หรื อลดทอนความเสียหาย
นันๆ ตามศักยภาพ และโอกาสอํานวย
การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม คือ การทีบุคคล หรื อกลุ่มบุคคล เข้ า
มามีสว่ นในกิจกรรมทีเกียวข้ องกับการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
บทที 2

ทบทวนวรรณกรรม

การศึก ษาการจัดการปั ญหานํ าท่วมและการมีส่วนร่ วมของชุมชน กรณี ศึก ษา หมู่บ้าน


นักกีฬาแหลมทอง แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร ผู้ศึกษาได้ ทําการทบทวนวรรณกรรม
และงานวิจยั ทีเกียวข้ อง ดังนี
2.1 ข้ อมูลพืนฐานของชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
2.2 นําท่วม/อุทกภัย
2.3 สาเหตุของปั ญหานําท่วม
2.4 ทฤษฎีการมีสว่ นร่วม
2.5 ทฤษฎีการรับข่าวสาร
2.6 แนวทางและวิธีการแก้ ไขปั ญหานําท่วม
2.7 สภาพปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
2.8 งานวิจยั ทีเกียวข้ อง

2.1 ข้ อมูลพืนฐานของชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง

หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองเริ มก่อสร้ างเมือวันที 3 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ในเนือที 192 ไร่


เพือให้ เป็ นทีพักของนักกีฬา ในการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครังที 8 (พ.ศ. 2518) ประกอบด้ วยบ้ าน
ทีอยู่อาศัยจํานวน 576 หน่วย อาคารพาณิชย์ 12 หน่วย โรงอาหาร 3 หลัง สวนมิตรภาพ และ
สนามฝึ กซ้ อม เมือสินสุด การแข่งขัน กี ฬาแหลมทองในปี พ.ศ. 2518 การเคหะแห่งชาติได้ รับ
นโยบายให้ รับผิดชอบโครงการให้ ทําการเปิ ดขายบ้ านพักนักกีฬา และอาคารพาณิ ชย์ ดงั กล่าว
ให้ แก่ประชาชนทัวไป โดยใช้ ชือว่าโครงการเคหะชุมชนหัวหมากระยะที 1 (แอดมินิสเตเตอร์ , 2554:
ย่อหน้ าที 1)
6

ปี พ.ศ. 2523 การเคหะแห่งชาติ ได้ สร้ างโครงการเคหะชุมชนหัวหมากระยะที 2 เพิมขึนอีก


จํานวน 1,736 หน่วย และได้ กําหนดบรรจุผ้ อู ยู่อาศัยในปี พ.ศ. 2524
ปี พ.ศ. 2534 การเคหะแห่งชาติเริ มก่อสร้ างโครงการหัวหมากระยะ 2 ผัง ข มีการสร้ าง
อาคารเพิมอีกจํานวน 850 หน่วย กําหนดบรรจุผ้ อู ยู่อาศัยในปี พ.ศ. 2535
ปี พ.ศ. 2545 การเคหะแห่งชาติได้ สร้ างโครงการบ้ านศรีพฤฒา เพิมอีกจํานวน 151 หน่วย
กําหนดบรรจุผ้ อู ยู่อาศัยในปี พ.ศ. 2546
ตังอยู่ บ ริ เ วณกิ โ ลเมตรที 6 ถนนกรุ ง เทพกรี ฑ า แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง
กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10250 ดังภาพที 2.1 – 2.2
มีทีดินทีได้ รับโอนมาจากธนาคารอาคารสงเคราะห์จํานวน 450 ไร่ 3 งาน 82 ตารางวา
และมีการซือทีดินเพิมอีก จนถึงปั จจุบันมีทีดินรวมทังสิน 540 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา มีจํานวน
ครัวเรื อน 3,174 หน่วย ซึงข้ อมูลนีไม่นับรวมประชากรแฝง ที ไม่ได้ ขึนทะเบีย นโยกย้ ายกับทาง
หน่วยงานราชการ และชุมชนแฝง ทีสร้ างขึนภายในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
ชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองอยู่ติดกับแหล่งนําธรรมชาติ ได้ แก่ คลองทับช้ างบน ซึงอยู่
ทางทิศตะวันออก และ คลองทับช้ างล่าง ทีอยู่ทิศตะวันตก โดยทางนําทัง 2 สายนี ได้ รับนําโดยตรง
จาก คลองแสนแสบ ทีอยู่ทางทิศเหนือของเขตสะพานสูง
7

ภาพที 2.1 แผนทีเขตสะพานสูง


8

ภาพที 2.2 แผนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง


9

2.2 อุทกภัย (Flood)

2.2.1 นิยามและความหมาย
อุทกภัยคือ ภัยและอันตรายทีเกิดจากสภาวะนําท่วมหรือนําท่วมฉับพลัน มีสาเหตุมาจาก
การเกิดฝนตกหนักหรื อฝนตกต่อเนืองเป็ นเวลานาน เนืองมาจากหย่อมความกดอากาศตํา พายุ
หมุนเขตร้ อนร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศตําลมมรสุม ซึงลักษณะของอุทกภัยมีความรุนแรง
และรูปแบบต่าง ๆ กัน ขึนอยู่กบั ลักษณะภูมิประเทศ และสิงแวดล้ อมของแต่ละพืนที
สมิทธ ธรรมสโรช (2533) ได้ ให้ ความหมายของอุทกภัยว่าเป็ นอันตรายทีเกิดจากระดับนํา
ในทะเลและแม่นําสูงมากจนท่วมล้ นฝั งและตลิงไหลท่วมบ้ านเรือนด้ วยความรุนแรงของกระแสนํา
ทําความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ทําให้ การคมนาคมหยุดชะงักและก่อให้ เกิดโรคระบาดได้
ประเสริฐ มิลินทางกูร (2533) ให้ ความหมายว่าอุทกภัยหมายถึงภัยทีเกิดจากนําท่วมเป็ น
สภาวะทีมีระดับนําไหลในลําธารไหลบ่ามาสูงกว่าระดับฝั งลําธารผิดปกติในช่วงใดช่วงหนึงในลํา
ธารธรรมชาติห รื อที มนุษ ย์ สร้ างขึน ภัย ดังกล่าวจะมีความหนัก เบามากน้ อยประการใดขึนกับ
สภาวะและขนาดของนําท่วมนันๆ กล่าวคือ ถ้ าอุทกภัยเล็กน้ อยก็จะทําให้ เกิดความรํ าคาญในการ
เดินทางทรัพย์ สินเสียหายไม่มากนัก ถ้ าขนาดของอุทกภัยใหญ่โตกว้ างขวางหรื อเกิดขึนรวดเร็ ว
ฉับพลันก็จะทําให้ เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินและอาคารบ้ านเรือนเป็ นจํานวนมากรวมไปถึงการ
สูญเสียชีวิตของผู้คน
วิชา นิยม (2535) กล่าวถึงความหมายของ อุทกภัยว่า หมายถึง สภาวะทีมีนําในลําธาร
ไหลบ่าสูงขึนผิดปกติทําให้ เกิดนําท่วมพืนทีต่างๆ เช่น พืนทีการเกษตรกรรม ถนนหนทาง ตัวเมือง
ฯลฯ ทําให้ เกิดการสูญเสียทรัพย์สินไปทังทางตรงและทางอ้ อมเสมอ
กล่าวโดยสรุป อุทกภัยคือ สภาวะทีนําในแหล่งนําขึนสูงกวาระดับปกติจนเอ่อล้ นออกมาสู่
พืนทีโดยรอบ ส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน ชิวิต รวมถึงการดําเนินชีวิตในพืนทีนันๆ

2.2.2 ลักษณะของอุทกภัย
เชิง ผิวประกายเพชร (2553) ได้ กล่าวถึงลักษณะของการเกิดอุทกภัยออกเป็ น 2 ลักษณะ
คือ 1) ลักษณะของอุทกภัยทีเกิดจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ 2) ลักษณะของอุทกภัยทีเกิดจาก
การกระทําของมนุษย์
10

2.2.2.1 ลักษณะของอุทกภัยทีเกิดจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ
1) นําท่วมฉับพลันหรือนําป่ า (Flash Floods)
เป็ นสภาวะนําท่วมทีเกิดขึนและลดอย่างฉับพลันเนืองจากฝนตกหนักใน
พืนทีซึงมีความชันมากและมีคณ ุ สมบัติในการกักเก็บนํา
2) นําท่วมขัง (Drainage Floods)
เป็ นสภาวะนําท่วมทีเกิดขึนเนืองจากระบบระบายนําไม่มีประสิทธิภาพ
มักเกิดบริเวณทีราบลุม่ แม่นําและบริเวณชุมชนเมืองใหญ่ๆ มีลกั ษณะค่อยเป็ นค่อยไปซึงเกิดจาก
ฝนตกหนักณบริเวณนันๆ ติดต่อกันเป็ นเวลาหลายวันหรือเกิดจากสภาวะนําล้ นตลิง
3) ลักษณะนําบ่าไหลหลากอย่างช้ าๆ (Steady Floods)
เป็ นสภาวะนําท่วมทีเกิดขึนเนืองจากการเคลือนทีของปริมาณนําจํานวน
มากจากทีสูงลงสูท่ ีตําซึงมักเกิดขึนหลังจากฝนตกไม่หนักมากแต่ตอ่ เนืองเป็ นเวลานานนําทีไหลบ่า
ลงมารวมตัวกันบริเวณทีราบเชิงเขาและทีราบระหว่างเนินลอนลาดนําบ่าไหลหลากจะไม่มีความ
รุนแรงเนืองจากสภาพภูมิประเทศไม่ลาดชันมาก
4) นําท่วมบริเวณปากแม่นํา (River Floods)
เป็ นสภาพนําท่วมตามปกติของแม่นําต่างๆ บริ เวณปากแม่นําสภาพนํา
ท่วมลักษณะนีเกิดจากในระยะนํานองของแม่นําปริมาณนําของแม่นําทีไหลหลากลงมาถูกนําทะเล
หนุนทําให้ เกิดนําล้ นตลิงบริเวณทีตําของแม่นํา
2.2.2.2 ลักษณะอุทกภัยทีเกิดจากการกระทําของมนุษย์
1) อุทกภัยเนืองจากการพังทลายของเขือนกันนํา
สภาพนําท่วมลักษณะนีจะเกิดความเสียหายอย่างรุนแรงและรวดเร็วโดย
กระแสนํ าทีทะลัก ออกจากเขือนและไหลลงสู่ด้านท้ ายนํ าอย่างรุ น แรงพัดพาบ้ านเรื อนทีตังอยู่
บริเวณทังสองลํานําท้ ายเขือนพังทลายลงอาจมีประชาชนเสียชีวิตตลอดจนสัตว์เลียงล้ มตายเป็ น
จํานวนมาก
2) อุทกภัยทีเกิดจากการก่อสร้ างถนนกีดขวางทางนํา
การก่อสร้ างถนนขวางทางนํ าโดยออกแบบสะพานและท่อระบายนํ า
หลากไม่เพียงพอจะทําให้ เกิดการกีดขวางการไหลของนําทําให้ ถนนขาดหรื อนําล้ นข้ ามถนนเป็ น
ช่วงๆ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อถนนการคมนาคมบ้ านเรือนราษฎรและพื นทีเกษตรกรรมทังสอง
ฝั งถนน
11

3) สภาพนําท่วมทีเกิดจากนําฝนท่วมขังในเขตชุมชนและในเขตเมือง
เมือเกิดฝนตกหนักติดต่อกันพืนทีรับนําตามธรรมชาติเช่นทีลุ่มบ่อบึงมี
สภาพนําเต็มเมือเกิดฝนตกหนักในบริ เวณนันอีกจะเกิดนําฝนท่วมขัง เนืองจากทางระบายนําไม่
พอเพียงโดยการขยายตัวของเมืองเร็วกว่าการก่อสร้ างระบบระบายนําได้ ทนั ดังรูปภาพที 2.3

ภาพที 2.3 สภาพนําท่วมทีเกิดจากนําฝนท่วมขังในเขตชุมชน

2.3 สาเหตุของปั ญหานําท่ วม

ปั ญหานําท่วมในกรุงเทพมหานคร
สืบเนืองมาจากความเจริ ญของกรุงเทพมหานครได้ เติบ โตขึนอย่างรวดเร็วเกินกว่าทีผัง
เมืองการใช้ ทีดินและสาธารณูปโภครวมถึงมาตรการในการระบายนําและป้องกันนําท่วมทีวางไว้
จะรับได้ ผนวกกับปั ญหาแผ่นดินทรุด จึงทําให้ ปัญหานําท่วมทวีความรุนแรงขึน (สํานักการระบาย
นํา, 2547)
สาเหตุของนําท่วมในเขตกรุงเทพมหานคร
สํานักการระบายนํา (2547) ได้ จําแนกสาเหตุของนําท่วมในเขตกรุงเทพมหานครอกกเป็ น
2 สาเหตุ ได้ แก่ สาเหตุจากธรรมชาติ และ สาเหตุทางกายภาพ
12

2.3.1 สาเหตุจากธรรมชาติ
ร่องมรสุม (Monsoon Trough) หรือร่องความกดอากาศตํา (Low Pressure Trough) เกิด
จากลมสินค้ าตะวันออกเฉียงเหนือ ของทางซีกโลกเหนือ พัดเข้ าหา ลมสินค้ าตะวันตกเฉียงใต้ ของ
ทางซีกโลกใต้ ในแนวตรงบริเวณเส้ นศูนย์สตู ร
ฤดูฝนเริมในเดือนพฤษภาคม สินสุดในเดือนตุลาคม มีปริ มาณและความถีของฝนสูงสุดระหว่าง
กลางเดือนสิงหาคมถึงกลางเดือนตุลาคม (สํานักการระบายนํา, 2547) ซึงในช่วงนีมีโอกาสที
กรุงเทพมหานครจะได้ รับผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้ อนทีเคลือนตัวเข้ ามาในประเทศไทย
ลักษณของฝนทีตกลงมา (Precipitation Characteristics) ส่งผลต่อการเกิ ดอุทกภัยใน
พืนทีต่างๆ ซึงแตกต่างกันดังนี
1) การกระจายของฝน (Rainfall Distribution) การกระจายตัวของนําฝนทีตก
ครอบคลุมพืนทีขนาดเล็ก อาจมีผลให้ เกิดอุทกภัยครอบคลุมพืนทีไม่มาก ในกรณีเดียวกัน หากฝน
ตกครอบคลุมพืนทีเป็ นบริเวณกว้ าง อาจทําให้ เกิดอุทกภัยทีรุนแรงได้
2) ความหนาแน่นของฝน ( Rainfall Intensity) คือปริ มาณนําฝนทีตกในหน่วย
เวลา (มิลลิเมตรต่อชัวโมง) ซึงเกิดแตกต่างกันไป หากฝนมีความหนาแน่นสูงหรื อทีเรี ยกกันว่าฝน
ตกหนัก นําฝนซึมลงผิวดินไม่ทนั ปริมาณนําฝนทีตกลงมา ทําให้ เกิดนําไหลบ่าหน้ าดิน
3) ระยะเวลาของฝนทีตก (Rainfall Duration)
4) ปริ มาณนํ าฝน (Amount of Rainfall) ปริ มาณนํ าฝนทังหมด สามารถใช้
จําแนกชนิดภูมิอากาศ หรือเขตความชืน

2.3.2 สาเหตุจากมนุษย์
ลักษณะการตังทีอยู่อาศัยของมนุษย์ ทีต้ องตังถินฐานใกล้ กับแหล่งนําซึงบางครังก็อยู่ใน
เขตพืนทีเสียงต่อการเกิดอุทกภัยนอกจากนีการเปลียนสภาพการใช้ พืนที (Change in Land Use
Condition)ก็มีส่วนทํ าให้ เ กิ ดอุท กภัย ได้ ก ล่า วคือเมือฝนตกลงมาทํ าให้ เ กิ ดนํ าท่าไหลบนพื นที
ระบายนําถ้ าพืนทีระบายนํามีแอ่งนําหนองนําหรื อเป็ นพืนทีเกษตรกรรมนําส่วนหนึงจะถูกพักไว้
(Retention Capacity)ทําให้ สามารถลดอัตราการไหลนําท่าลงได้ แต่ในทางตรงกันข้ ามถ้ าพืนที
ดังกล่าวถูกนํามารองรับการขยายตัวของมหานครก็จะต้ องมีการปรับปรุงทีดินกล่าวคือมีการถม
และปรั บ พื นที ทํ าให้ ความสามารถพัก นํ าของพื นที เสี ย ไปและจะก่ อให้ เกิ ดความเสีย หายขึน
(สุพิชฌาย์ ธนารุณ, 2553)
13

ปั ญหาแผ่นดินทรุดในเขตกรุงเทพมหานคร
ปั ญหาของแผ่นดินทรุดในเขตกรุงเทพมหานครทีเห็นได้ ชัดก็คือ หากเกิดฝนตกในพืนทีที
แผ่นดินทรุด จะมีนําท่วมขังนานกว่าพืนทีอืนๆปั จจัยทีก่อให้ เกิดการทรุดตัวของชันดินมีสาเหตุจาก
3 กรณีดงั ต่อไปนี
1) การเอาของแข็งออกจากพืนดิน เช่น การทําเหมืองแร่ ทีเอาดินออกจํานวน
มากจนทําให้ ข้างในเป็ นโพรงซึงลักษณะนีแผ่นดินจะทรุดเป็ นกลุม่
เนืองจากกรุงเทพมหานครไม่มีการทําเหมืองแร่ ปั จจัยข้ อนีจึงไม่ถือเป็ นสาเหตุ
ของปรากฏการณ์แผ่นดินทรุดในเขตกรุงเทพมหานคร
2) การเอาของเหลวออกจากพืนดิน เช่น การสูบนําบาดาลเป็ นปริ มาณมาก ซึง
จะส่งผลกระทบไปหลายตารางกิ โลเมตร และลักษณะนี จะทําให้ แผ่น ดิน ทรุ ดตัวแบบเป็ นแอ่ง
กระทะ ไม่สามารถมองเห็นด้ วยตาเปล่า แต่ร้ ูได้ ด้วยการวัดระดับผิวดิน
กรุงเทพมหานครตังอยู่ในบริเวณทีราบลุม่ แม่นําเจ้ าพระยาตอนใต้ ลึกลงไปในพืนดินของ
เมืองกรุงเทพจะมีแหล่งเม็ดกรวดและทราย ซึงจะมีขนาดใหญ่และกลมมน จึงสามารถกักเก็บนํา
บาดาลไว้ ได้ มากเราเรียกชันเม็ดกรวดทรายว่า ชันนําบาดาล ชันนําบาดาลนี จะวางตัวสลับอยู่กับ
ชันของดินเหนียว จึงทําให้ มีชนนํ
ั าบาดาลหลายชัน แต่ละชันแยกจากกัน เพราะมีชันดินเหนียวคัน
อยู่ ชันนําดังกล่าวแผ่ขยายไปทางทิศเหนือ ถึงจังหวัดชัยนาท และกระจายไปทางทิศตะวันตกและ
ตะวันออกของกรุงเทพ จรดขอบแอ่งเจ้ าพระยา แผ่ไปทางใต้ จรดอ่าวไทย ดังนันกรุงเทพมหานคร
จึงมีแหล่งนําบาดาลขนาดใหญ่และมีปริมาณมากทีสุด
ผลการเจาะสํารวจปิ โตรเลียมพบว่าบริเวณท้ องทีอําเภอภาษี เจริญมีชนกรวดทรายสลั
ั บชัน
ดินเหนียวหนาถึง 1,830 เมตร คือเกือบ 2 เมตร และชันนําบาดาลจากผิวดินลึกลงไป 600 เมตร
แบ่งได้ 8 ชัน ส่วนทีลึกลงไปกว่านันก็ยงั มีชนบาดาลอยู
ั ่อีก แต่ยงั ไม่มีการใช้ ชันนํา 8 ชันดังกล่าวมี
ดังนี
ชันที 1 ชันนํากรุงเทพฯ ความลึก 50 เมตร เป็ นชันนําบนสุดและส่วนบนของชันนําปกคลุม
ด้ วยดินเหนียว ชันนํากรุงเทพฯมีปริมาณนํามาก แต่คณ ุ ภาพไม่เหมาะสม กับการบริโภคเพราะเป็ น
นําเค็ม ยกเว้ นด้ านใต้ และตะวันตกเฉียงใต้ ของกรุงเทพทีเป็ นนํากร่อยพอจะใช้ ได้ แทรกอยู่ในระดับ
50-60 เมตร
ชันที 2 ชันนําพระปะแดง ความลึก 100 เมตร เป็ นชันนํ าที อยู่ถัดจากชันนํ ากรุ งเทพฯ
ปริมาณนําในชันนํานีมีมากเหมือนกัน แต่คณ ุ ภาพจะเป็ นนํากร่อย หรื อไม่ก็ค่อนข้ างเค็มเป็ นส่วน
ใหญ่ จะมีทีเป็ นนําจืดก็คือบริเวณอําเภอพระปะแดง อําเภอเมืองสมุทรปราการ และฝั งธนบุรีตอน
14

ใต้ ซึงปั จจุบนั เปลียนไปเป็ นนํากร่อย และบางแห่งเปลียนไปเป็ นนําเค็มไปแล้ ว เนืองจากมีการสูบ


นําขึนมาใช้ เป็ นจํานวนมาก
ชันที 3 ชันนํานครหลวง ความลึก 150 เมตร เป็ นชันนําทีอยู่ถดั จากชันนําพระปะแดงลงไป
ประกอบด้ วยกรวดทรายทีแผ่ขยายไปถึง จังหวัด ชัยนาท และไปทางตะวันออกและตะวันตก เป็ น
ชันนําทีมีการสูบนํามาใช้ กนั มากทีสุด เนืองจากเป็ นนําดีทงปริ
ั มาณและคุณภาพ ยกเว้ นบริ เวณฝั ง
ธน และตอนใต้ ของกรุงเทพฯ ทีเป็ นนํากร่อยถึงเค็ม บ่อทีเจาะลึกถึงชันนํานครหลวงสามารถสูบนํา
ได้ อตั รา 100-300 ลูกบาศก์เมตรต่อชัวโมง
ชันที 4 ชันนํ านนทบุรี ความลึก 200 เมตร ชันนํ านี วางตัวขนานกับชันนํานครหลวง มี
คุณ สมบัติท างอุท กธรณี วิท ยา คล้ ายคลึงกับ สภาพนํ าบาดาลในชันนํ านครหลวง ปริ มาณนํ า
สามารถสูบได้ ถึง 150-300 ลูกบาศก์เมตรต่อชังโมง ซึงในชันเดิมทีก่อนปี 2518 ไม่ค่อยได้ มีการ
เจาะลึกลงมาสถึงเพราะอยู่ลกึ มากทําให้ คา่ ใช้ จ่ายสูง แต่เมือชันนํานครหลวงเริ มเกิดวิกฤตการณ์
นําบาดาลขึน คุณภาพทีดีเริมเปลียนไป ในปั จจุบนั บ่อนําบาดาลขนาดใหญ่ๆ ของการประปานคร
หลวง และโรงงานอุต สาหกรรมขนาดใหญ่ ได้ เ จาะลึ ก ถึ ง ชันนํ านนทบุรี แ ล้ ว จึ ง ทํ า ให้ เกิ ด
วิกฤตการณ์นําบาดาลในบางบริเวณขึนแล้ วขณะนี
ชันที 5 ชันนําสามโคก ความลึก 300 เมตร ชันนํานีวางตัวอยู่ใต้ ชีนนนทบุรี บ่อนําบาดาล
ส่วนใหญ่ทีเจาะอยู่ในชันนีจะอยู่บริเวณเหนือ จ.นนทบุรี จนถึงตัว จ.ปทุมธานี คุณภาพนําไกล้ เคียง
กับชันนํานนทบุรี แต่มีปริมาณนําน้ อยกว่า
ชันที 6 ชันนําพญาไท ความลึก 350 เมตร ชันนําพญาไทนีมีลกั ษณะทางอุทกธรณีวิทยา
และสภาพนําบาดาลเหมือนกับชันนําสามโคก โดยมีแหล่งนําจืดเฉพาะด้ านเหนือ ตะวันออก และ
ตะวันตกเฉียงใต้ ของกรุงเทพมหานคร ส่วนทางใต้ และเขตธนบุรีจะเป็ น นําเค็ม
ชันที 7 ชันนําธนบุรี ความลึก 450 เมตร ชันนําธนบุรีนีจะอยู่ใต้ ชันนําพญาไท นําบาดาล
ในชันนีส่วนใหญ่จะเป็ นนําจืดและค่อนข้ างจืด ยกเว้ นบริเวณฝั งตะวันตกเฉียงใต้ ของธนบุรี จะเป็ น
นํากร่อยจึงเค็ม
ชันที 8 ชันนําปากนํา ความลึก 500 เมตร เป็ นชันนําบาดาลทีลึกทีสุดทีให้ นําจืดทุกบริเวณ
ในปั จ จุบัน ได้ มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เจาะบ่อและสูบ นําจากชันนํ านี โดยเฉพาะใน
บริ เ วณที ชันนํ าระดับ ตืนกว่าเป็ นนํ าเค็ม เช่น บริ เ วณอําเภอพระปะแดง จ.สมุท รปราการ บ่อ
สามารถสูบได้ มากกว่า 45 ลูกบาศก์เมตรต่อชังโมง และชันนํานีให้ ความร้ อนอุณหภูมิสงู ถึง 48
องศาเซลเซียส เพราะฉะนันนําทีสูบขึนมาจะเป็ นนําร้ อน
15

ในปี พ.ศ. 2521 – 2524 พบว่าบริ เวณที มีก ารทรุ ดตัวมากที สุดคือ ด้ านตะวัน ออกของ
กรุงเทพมหานคร ได้ แก่ บริเวณเขต ลาดพร้ าว หัวหมาก พระโขนง บางนา และสมุทรปราการด้ าน
ตะวันออก ซึงมีการทรุดตัวปี ละมากกว่า 10 เซนติเมตร (สมคิด บัวเพ็ง, 2543)
หลังจากได้ มีการใช้ มาตรการควบคุมการสูบนําบาดาลในปี พ.ศ. 2526 เป็ นต้ นมา ระดับ
นําบาดาลได้ เพิมขึนในบริเวณใจกลางกรุงเทพมหานคร และบางส่วนในชานเมืองด้ านตะวันออก
เป็ นผลทําให้ อตั ราการทรุดตัวของพืนดินลดลง โดยในปี พ.ศ. 2531 – 2532 อัตราการทรุดตัวของ
พืนดินในฝั งตะวันออกของกรุงเทพมหานครอยู่ที 3 – 5 ซม. ต่อปี อย่างไรก็ดีในช่วง 10 ปี ระหว่าง
พ.ศ. 2521 – 2530 แผ่นดินได้ ทรุดลงไปมากกว่า 70 ซม.
ในปี พ.ศ. 2540 อัตราการทรุดตัวเขตใจกลางกรุงเทพมหานครลดลงไปอยู่ที 1 – 2
ซม. ในขณะทีเขตรอบนอกของกรุงเทพมหานคร มีการทรุดตัวทีแผ่ขยายออกไป โดยในเขตบางพลี-
บางบ่อ มีอตั ราการทรุดตัวมากกว่า 3 – 5 ซม. ในเขตลาดกระบัง มีนบุรี ลําลูกกา มีอตั รการทรุดตัว
ประมาณปี ละ 3 ซม. และบริเวณอําเภอเมืองสมุทรสาคร 3 ซม. พบว่าการสูบนําบาดาลในบริ เวณ
ใด อัตราการทรุดตัวของแผ่นดินในบริเวณนันก็จะสูงตามไปด้ วย
3) แผ่นดินทรุดเนืองจากนําหนักกดทับ เช่น สร้ างตึกขนาดใหญ่ ซึงลักษณะนีจะ
มีการทรุดตัวเฉพาะพืนที

2.3.3 นําท่ วมเนืองจากปั ญหาของทางระบายนํา


ปั จจุบนั กรุงเทพมหานครมีระบบระบายนําแยก (Separated System) น้ อยมากเมือเทียบ
กับความยาวของท่อระบายนําทีมีอยูใ่ นพืนทีกรุงเทพมหานคร ท่อระบายนําต่างๆส่วนใหญ่ทีใช้ ได้
ออกแบบไว้ สําหรับระบบรวม (Combined System) คือท่อทีออกแบบไว้ สําหรับรองรับปริมาณรวม
ของการระบายนําฝนและการระบายนําทิงจากบ้ านเรือน
ปั ญหาท่อระบายนําไม่เพียงพอต่อชุมชนทีขยายตัวขึน เป็ นปั ญหาด้ านการจัดการและการ
วางผังเมืองทีสามารถพบเห็นได้ ในชุมชนเก่าแก่ทีมีการเพิมจํานวนของประชากร จํานวนบ้ านและ
โครงการทีอยู่อาศัยทีเพิมขึน แต่กลับต้ องพึงพาระบบระบายนําดังเดิมของชุมชน ซึงปริ มาณนําทิง
โดยเฉลียของประชาชนกรุงเทพมหานครคือ 150 ลิตรต่อคนต่อวัน ซึงระบบระบายนําแทบจะไม่
สามารถระบายได้ หมด เมือเกิดฝนตกลงมาทําให้ ไม่สามารถระบายนําได้ ทัน ก่อให้ เกิดนําท่วมใน
ชุมชนได้
16

ปั ญหาขยะอุดตันท่อระบายนํา ทําให้ การระบายนําไม่เต็มประสิทธิภาพหรื ออาจทําให้ นํา


เสียเอ่อล้ นขึนมาได้ โดยสิงทีสามารถอุดตันท่อระบายนําเป็ นได้ ตงแต่
ั เศษดิน หิน ซากพืชซากสัตว์
จนไปถึงขยะมูลฝอยและถุงพลาสติก

2.4 ทฤษฎีการมีส่วนร่ วม

2.4.1 นิยามและความหมาย
Keith (1962 อ้ างถึงใน สุนนั ต์ เสาโสภณ, 2554) ได้ ให้ ความหมายของการมีสว่ นร่วมไว้ ว่า
“หมายถึง การเกียวข้ องทางด้ านจิตใจและอารมณ์ของบุคคลหนึงในสถานการณ์กลุ่ม ซึงผลของ
การเกียวข้ องดังกล่าว เป็ นเหตุเร้ าใจให้ ก ระทํ าการบรรลุจุดมุ่งหมายของกลุ่มนัน กับทังให้ เกิ ด
ความรู้สกึ ร่วมรับผิดชอบกับกลุม่ ดังกล่าวด้ วย” การมีสว่ นร่วมเกิดมาจากแนวคิดสําคัญ 3 ประการ
คือ 1) ความสนใจและความห่วงกังวลร่วมกัน 2) ความเดือดร้ อนและความไม่พึงพอใจร่วมกัน และ
3) การตกลงใจร่วมกันทีจะเปลียนแปลงกลุม่ หรือชุมชนไปในทิศทางทีต้ องการ
Fairchaild and others (1964 อ้ างถึงใน สุนนั ต์ เสาโสภณ, 2554) ได้ ให้ ความหมายของ
การมีส่วนร่วมไว้ ว่า “หมายถึง การเข้ ามามีส่วนร่วมในกิจ กรรมกัน หรื อการเข้ ามามีส่วนติดต่อ
สัมพันธ์กนั และอาจหมายถึงสถานการณ์ทางสังคมด้ วยก็ได้ ”
United Nation (1981 อ้ างถึงใน ชนะบูรณ์ อินทรพันธุ์, 2551) ได้ ให้ ความหมายของการมี
ส่วนร่วมไว้ ว่า หมายถึง การทีสมาชิกทุกคนในชุมชนสามารถมีโอกาสเข้ าร่วมดําเนินการและมี
อิทธิพลในกิจกรรมและกระบวนการพัฒนาทังยังได้ รับผลแห่งการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันด้ วย
ทังนีการมีส่วนร่ วมสามารถมีได้ หลากหลายรูปแบบ โดยครอบคลุมไปถึงการแลกเปลียนข้ อมูล
ข่าวสาร การให้ คําปรึกษา การสร้ างกลไกเพือเสริมสร้ างพลังอํานาจให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายเข้ ามา
ร่วมมือ
ทวีทอง หงษ์ วิวตั น์ (2527 อ้ างถึงใน กฤษณ์ พงศ์ สมถวิล, 2543) ให้ คําจํากัดความของ
การมีสว่ นร่วมของประชาชนว่า การมีสว่ นร่วมของประชาชนคือ การทีประชาชนหรื อชุมชนพัฒนา
ขีดความสามารถของคน ในการจัดการ ควบคุมการใช้ และกระจายทรัพยากรและปั จจัยการผลิตที
มีอยู่ในสังคม เพือประโยชน์ต่อการดํารงค์ชีวิตทางเศรษฐกิจ และสังคม ตามความจําเป็ นอย่าง
สมศักดิ ศรีในฐานะสมาชิกของสังคม
ถวิลวดี บุรีกุล (2551) ให้ ความหมายของการมีส่วนร่วมไว้ ว่า หมายถึง กระบวนการซึง
ประชาชน หรือผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียได้ มีโอกาสแสดงทัศนะ และเข้ าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทีมีผลต่อ
17

ชีวิตความเป็ นอยู่ของประชาชน รวมทังมีการนํ าความคิดเห็นดังกล่าวไปประกอบการพิจารณา


กําหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ
จึงสรุปได้ วา่ การมีสว่ นร่วม หมายถึงการทีคนหรื อกลุ่มคนใดๆ ในสังคม เข้ ามามีบทบาท
ในกิจกรรมของสังคมนันๆ โดยตัวกิจกรรมอาจมีอยู่ก่อน หรือเกิดขึนภายหลังการเข้ ามามีบทบาทก็
ได้

2.4.2 ลักษณะและรู ปแบบของการมีส่วนร่ วม

Cohen (1979 อ้ างถึงใน สุนนั ต์ เสาโสภณ, 2554) ได้ แบ่งลักษณะของการมีส่วนร่วมเป็ น


3 รูปแบบ คือ
1) การมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ ซึงอาจเป็ นการตัดสินใจตังแต่แรก ในระยะเริ ม
การตัดสินใจ ในช่วงของกิจกรรม ซึงอาจเป็ นรูปของการเข้ าร่วม โดยให้ การสนับสนุนด้ านทรัพยากร
การบริหารการร่วมมือ รวมทังการร่วมแรงร่วมใจ
2) การมีสว่ นร่วมในการรับผลประโยชน์ ซึงอาจเป็ นผลประโยชน์วตั ถุ สังคม หรื อ
โดยส่วนตัว
3) การมีสว่ นร่วมในการประเมินผล ซึงนับเป็ นการควบคุมและการตรวจสอบการ
ดําเนินกิจกรรมทังหมด และเป็ นการแสดงถึงการปรับตัวในการมีสว่ นร่วมต่อไป
Pears and Stiefel (1980 อ้ างถึงใน สุนนั ต์ เสาโสภณ, 2554) ได้ กล่าวถึงลักษณะของการ
มีสว่ นร่วมไว้ 4 ประการคือ
1) การมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ
2) การมีสว่ นร่วมในขันปฎิบตั ิการ
3) การมีสว่ นร่วมในการรับผลประโยชน์
4) การมีสว่ นร่วมในการประเมินผล
ศรีสดุ า เตียวโป้ (2545) ได้ อ้างอิงถึงรูปแบบของการมีส่วนร่วมของ Cary (1976) ซึงมี 5
รูปแบบได้ แก่
1) เป็ นสมาชิก (Membership)
2) เป็ นผู้เข้ าประชุม (Attendance at Meeting)
3) เป็ นผู้บริจาค (Financial Contribution)
4) เป็ นกรรมการ (Membership on Committees)
18

5) เป็ นประธาน (Leader)


นอกจากนียังได้ กล่าวถึงรูปแบบของการมีสว่ นร่วมของ กรรณิกา ชมดี (2524) ดังนี
1) การมีสว่ นร่วมประชุม
2) การมีสว่ นร่วมออกเงิน
3) การมีสว่ นร่วมเป็ นกรรมการ
4) การมีสว่ นร่วมเป็ นผู้นํา
5) การมีสว่ นร่วมสัมภาษณ์
6) การมีสว่ นร่วมเป็ นผู้ชกั ชวน
7) การมีสว่ นร่วมเป็ นผู้บริโภค
8) การมีสว่ นร่วมเป็ นผู้ริเริม
9) การมีสว่ นร่วมเป็ นผู้ใช้ แรงงาน หรืเป็ นลูกจ้ าง
10) การมีสว่ นร่วมออกวัสดุอปุ กรณ์
สุพตั รา ถนอมวงศ์ (2550) ได้ กล่าวถึงลําดับการมีสว่ นร่วมของประชาชน เป็ น 6 ขันตังแต่
การไม่มีส่วนร่วมใดๆ จนถึง การมีส่วนร่ วมในระดับ อุดมคติ และ แบ่งลัก ษณะการมีส่วนร่ วมที
พิจารณาจากความต่อเนือง ออกเป็ น 9 ชนิด
ลําดับการมีสว่ นร่วม
1) การไม่มีสว่ นร่วมอย่างสินเชิง (No Participation at All)
2) การมีสว่ นร่วมเพียงในนาม (Nominal Participation)
3) การมีสว่ นร่วมเพียงเล็กน้ อย (Minimal Participation)
4) การมีสว่ นร่วมอย่างเหมาะสม (Optimal Participation)
5) การมีสว่ นร่วมมาก (Maximal Participation)
6) การมีสว่ นร่วมในระดับอุดมคติ (Ideal Participation)
ลักษณะของการมีสว่ นร่วม
1) บังคับร่วม (Join of Else)
2) มีสว่ นร่วมโดยการผลักดัน (Push Cart Participation)
3) มีส่วนร่ วมโดยการมีเ งื อนงํ า หรื อกลอุบ าย (Participation by Trick or
Gimmickry)
4) การพูดข้ างเดียว (Monologue)
5) ถามเอง ตัดสินใจเอง (I Ask, I Decide)
19

6) การนําไปสูค่ วามสงบ (Peace Pipe)


7) การจับมือกัน (Handclasp)
8) เสียงประชาชน (Voxpopuli)
9) เสียงประชาชนคือ กฎหมาย (Voxpopuli Est Lex)
International Association for Public Participation (อ้ างถึงใน สํานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข, 2549) ได้ แบ่งระดับของการสร้ างการมีสว่ นร่วมของประชาชนเป็ น 5 ระดับ ดังนี
1) การให้ ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็ นการมีสว่ นร่วมของประชาชนในระดับตําทีสุด แต่
เป็ นระดับทีสําคัญทีสุด เพราะเป็ นก้ าวแรกของการทีภาคราชการจะเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้ าสู่
กระบวนการมีสว่ นร่วมในเรืองต่างๆ วิธีการให้ ข้อมูลสามารถใช้ ช่องทางต่างๆ เช่น เอกสารสิงพิมพ์
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเสือต่างๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว
การติดประกาศ และการให้ ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็ นต้ น
2) การรับฟั งความคิดเห็น เป็ นกระบวนการทีเปิ ดให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการ
ให้ ข้อมูลข้ อเท็จจริงและความคิดเห็นเพือประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้ วยวิธีต่างๆ
เช่น การรับฟั งความคิดเห็น การสํารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็น
ผ่านเว็บไซต์ เป็ นต้ น
3) การเกียวข้ อง เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ป ระชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน
หรื อร่วมเสนอแนะทางที นําไปสู่การตัดสิน ใจ เพื อสร้ างความมันใจให้ ประชาชนว่าข้ อมูลความ
คิดเห็นและความต้ องการของประชาชนจะถูกนําไปพิจารณาเป็ นทางเลือกในการบริ หารงานของ
ภาครัฐ เช่น การประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพือพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ์ การ
จัดตังคณะทํางานเพือเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็ นต้ น
4) ความร่วมมือ เป็ นการให้ กลุ่มประชาชนผู้แทนภาคสาธารณะมีส่วนร่วม โดย
เป็ นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุก ขันตอนของการตัดสินใจ และมีก ารดําเนิ นกิ จ กรรมร่ วมกัน อย่าง
ต่อเนือง เช่น คณะกรรมการทีมีฝ่ายประชาชนร่วมเป็ นกรรมการ เป็ นต้ น
5) การเสริ มอํ า นาจแก่ ป ระชาชน เป็ นขันทีให้ บ ทบาทประชาชนในระดับสูง ที สุด โดยให้
ประชาชนเป็ นผู้ตดั สินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นสาธารณะต่างๆ โครงการกองทุนหมู่บ้านทีมอบอํานาจ
ให้ ประชาชนเป็ นผู้ตดั สินใจทังหมด เป็ นต้ น
20

2.5 ทฤษฎีการรับข่ าวสาร

สนัน ปั ทมะทิน (2529 อ้ างถึงใน สมนึก พรอนุวงศ์ 2555) ได้ กล่าวว่า การรับรู้ข่าวสาร
หมายถึง ขอบเขตที ประชาชนทัวไปเปิ ดรั บ สีอมวลชนประเภทต่างๆ ได้ แก่ การดูโทรทัศน์ ดู
ภาพยนตร์ ฟั งวิทยุ อ่านหนังสือพิมพ์ นิตยสาร
Atkin (1973 อ้ างถึงใน ยุพดี สุพรรณพงศ์ และคณะ, 2547) ได้ อธิบายถึงทฤษฎีการรับ
ข่าวสารไว้ วา่

บุคคลจะแสวงหาข้ อมูลข่าวสาร (Information Seeking) ต่อเมือข้ อมูลนันมีค่า


มากกว่า การลงแรงแสวงหา ในทางกลับ กัน บุ ค คลจะเพิ ก เฉยต่อ ข่า วสาร
(Information Ignoring) หากผลประโยชน์ ทีได้ จากข่าวสารนันมีค่าน้ อยกว่าการ
ลงทุนลงแรง และ บุคคลจะหลีกเลียงต่อข่าวสารนัน (Information Avoiding) ใน
กรณีทีเห็นว่า ข่าวสารนันจะก่อให้ เกิดพันธะผูกพัน เช่น ทําให้ ไม่สบายใจ ไม่พอใจ
หรื อสับสน แต่ถ้ าการพยายามหลีกเลียงข่าวสารนันต้ องอาศัยการลงทุนลงแรง
มากกว่าการยมรับข่าวสารนัน บุคคลจะข่าวสารด้ วยความไม่เต็มใจ (Information
Yielding)

พรวิศิษฏ์ วรวรรณ (2535 อ้ างถึงใน สมนึก พรอนุวงศ์, 2555) กล่าวว่า “แหล่งความรู้ที


บุคคลสามารถรับรู้ข่าวสารนันมี 2 ทาง คือ การติดต่อโดยตรง ผ่านการพบปะทางสังคม (Social
Interaction) กับคนอืนๆ และการติดต่อทางอ้ อม จากสือต่าง”ๆ
ปรมะ สตะเวทิน (2539 อ้ างถึงใน สมนึก พรอนุวงศ์, 2555) กล่าวว่า “ผู้รับสารจะมีการ
เลื อ กรั บ สารโดยการเลื อ กนี เรี ย กว่า กระบวนการเลื อ ก (Selective Process)” ซึ งมี อ ยู่ 4
กระบวนการดังนี
1) การเลือกเปิ ดรับ (Selective Exposure) เป็ นการเลือกทีจะเปิ ดรับข่าวสารจาก
แหล่ง หรือผู้สง่ สาร ทีมีอยู่มากมายในปั จจุบนั ในการเลือกแหล่งของข่าวสาร ประชาชนจะเลือกผู้
ส่งสารตามความต้ องการส่วนบุคคล และสอดคล้ องกับทัศนคติสว่ นตัวด้ วย
2) การเลือกให้ ความสนใจ (Selective Attention) คือ การให้ ความสนใจกับ
เนือหา โดยปกติประชาชนจะให้ ความสนใจในข่าวสารทีสอดคล้ องกับทัศนคติ ความคิด และความ
เชือของตน
21

3) การเลือกรับรู้ หรื อเลือกตีความหมาย (Selective Perception or Selective


Interpretation) กล่าวคือ ผู้รับข่าวสารจะเลือกตีความหมายของสิงทีตนได้ รับ ตามความรู้ ทัศนคติ
และความรู้สกึ ของตน ดังนัน จึงมีหลายครังทีเนือหาของข้ อมูลถูกบิดเบือนไปโดยไม่ร้ ูตวั
4) การเลือกจดจํา (Selective Retention) ผู้รับสารจะเลือกจดจําเฉพาะเนือหาที
สอดคล้ องกับ รสนิ ยม ทัศนคติ ความชอบ ความเชือ ตลอดจนค่านิ ยมของตน ดังนันการเลือก
เนือหาข่าวสาร จึงเท่ากับการส่งเสริมทัศนคติ หรือความเชือเดิมของผู้รับสารให้ มีความมันคงและ
ยิงเปลียนแปลงได้ ยากยิงขึน

2.6 แนวทางการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่ วม

ผลกระทบและความเสียหายจากสภาวะนําท่วมมีมากมายทังทางตรงและทางอ้ อม มีทงที ั
สามารถประเมินเป็ นมูลค่าได้ และทีไม่สามารถประเมินเป็ นมูลค่าได้ ซึงในปั จจุบันการประเมิน
ความเสียหายนันทําได้ เฉพาะกับความเสียหายทางตรงอย่างเช่น ทรัพย์สิน บ้ านเรื อน ค่าใช้ จ่ายที
ใช้ ใ นการใช้ ป้ องกัน บ้ านเรื อน รวมถึงค่าซ่อมแซม เป็ นต้ น แต่ความเสีย หายที ไม่เ ป็ นรู ป ธรรม
อย่างเช่น ผลกระทบด้ านอารมณ์ ความคิด การผิดนัดผิดสัญญา และอืนๆ นันไม่สามารถประเมิน
ค่าออกมาได้ ดังนันระบบการป้ องกัน แก้ ไข และจัดการนําท่วมอย่างมีประสิท ธิภาพ โดยเป็ นที
ยอมรับและได้ รับความร่วมมือจากประชาชน จึงมีความสําคัญเป็ นอย่างยิง
ปั ญหานําท่วมไม่ใช่ปัญหาใหม่หรือเป็ นปั ญหาเฉพาะเจาะจงของพืนที แต่เป็ นปั ญหาทีมี
มายาวนานและพบเจอได้ ทัวโลก หลายประเทศได้ มีการศึกษาเพือหานโยบายการป้องกันและ
แก้ ไขเพื อให้ ห น่วยงานที เกี ยวข้ องสามารถนํ าไปประยุก ต์ใ ช้ ได้ อย่างมีป ระสิท ธิ ภาพมากที สุด
ตามแต่สภาพพืนทีและวัตถุประสงค์
แผนการป้องกันและแก้ ไขปั ญหานําท่วมทีแพร่หลายและมีผ้ นู ําไปดัดแปลงเพือใช้ ได้ อย่าง
มีประโยชน์ ได้ แก่ การวางแผนของ Kates การวางแผนงานของ Arey และ Bauman การวางแผน
ของ The U.S. Water Resource Council (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . สถาบัน วิจัย สภาวะ
สิงแวดล้ อม, 2541)

2.6.1 การวางแผนของ Kates


Kates (1962 อ้ างถึง ใน จุฬาลงกรณ์มหาวิท ยาลัย . สถาบันวิจัย สภาวะสิงแวดล้ อม.
2541) ได้ จัดแบ่งแผนการเพือลดความเสียหายจากปั ญหานําท่วม โดยแบ่งให้ มีผ้ รู ับผิดชอบคือ
22

ประชาชน หน่วยงานท้ องถิน และรัฐบาล การจัดการวางแผนเป็ นการผสมผสานความร่วมมือของ


ทัง 3 ฝ่ าย
การวางแผนของ Kates นันไม่ได้ ครอบคลุมถึงวิธีก ารป้ องกัน การศึก ษาทางด้ านอุท ก
วิท ยา และการศึก ษาลัก ษณะลุ่มนํ าเหนื อพืนที นําท่วม การวางแผนนี มีป ระโยชน์ ใ นการเชื อม
ความสัมพัน ธ์ ร ะหว่า งเทคโนโลยี กับ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ เมื อพิ จ ารณาถึง การนํ า ไปใช้ แล้ ว
จําเป็ นต้ องมีก ารดัดแปลงและแก้ ไขเพื อให้ เ หมาะกับ สภาพภูมิป ระเทศและความเป็ นอยู่ของ
ประชาชน
สถาบันวิจยั สภาวะสิงแวดล้ อม ได้ ทําการดัดแปลงการวางแผนของ Kates ไว้ ดงั นี (ตาราง
ที 2.1)
ตารางที 2.1 วิธีการวางแผนเพือการแก้ ไขปั ญหานําท่วม

ข้ อปฎิบตั ิของหน่วยงานทีรับผิดชอบ
ข้ อเสนอเพือเลือกปฎิบตั ิ ข้ อปฎิบตั ิสําหรับประชาชน
หน่วยงานท้ องถิน รัฐบาล
การยอมรับความเสียหาย 1) ยอมรับความเสียหายทีคาดไม่ถึง 1) ประชาสัมพันธ์ถึงความรุ นแรงของ 1) ประชาสัมพันธ์ถึงความรุ นแรงของปั ญหาทีจะเกิด
2) ยอมรับความเสียหายทีคาดไว้ แล้ ว ปั ญหาทีจะเกิด 2) การช่วยเหลือเฉพาะหน้ าเพือบรรเทาความเสียหาย
3) เตรี ยมการรับมือความเสียหายในอนาคต 2) การช่วยเหลือเฉพาะหน้ าเพือบรรเทา
ความเสีหาย

แผนแก้ ไขปั ญหานําท่วมฉุกเฉิน 1) เตรี ยมพร้ อมเพือรับมือกับเหตุการนําท่วม 1) จัดสรรอุปกรณ์ เช่น ถุงทราย 1) ให้ ความช่วยเหลือหน่วยงานท้ องถิน
2) ย้ ายทรัพย์ สนิ และสิงของขึนทีสูง 2) จัดกลุม่ งานพิเศษเพือช่วยเหลือ 2) จัดตังคณะทํางานวางแผนเพือช่วยเหลือประชาชนใน

23
3) เตรี ยมพร้ อมย้ ายทีอยู่ชวคราวในกรณี
ั เกิดนําท่วม ประชาชนในการเตรี ยมตัวและแก้ ไขปั ญหา ท้ องทีเกิดเหตุ
รุ นแรง

เปลียนแปลงการออกแบบ 1) ดัดแปลงสิงก่อสร้ างเพือให้ เกิดความเสียหายน้ อย 1) ดัดแปลงและแก้ ไขกฏหมายควบคุม 1) กําหนดและแจ้ งประชาชนให้ ทราบถึงเขตวิกฤตนําท่วม


สิงก่อสร้ าง / การถมทีดิน ทีสุด สิงก่อสร้ าง และการถมทีดิน อย่างแน่นอน
2) ถมทีดินให้ สงู ขึนจากระดับนําท่วม 2) ดัดแปลงและแก้ ไขกฏหมายควบคุมการ 2) ศึกษาและแก้ ไขกฏหมายควบคุมสิงก่อสร้ าง การถม
ลุกลําลําคลองสาธารณะ รวมทังการทิงขยะ ทีดินและการเจาะนําบาดาล
และสิงปฏิกูลลงในท่อระบายนําและคู 3) ช่วยเหลือผู้ได้ รับความเสียหายในลักษณะของเงินกู้เพือ
คลอง ดัดแปลงทีอยู่อาศัยในอัตรดอกเบียตํา
ตารางที 2.1 (ต่อ)

ข้ อปฎิบตั ิของหน่วยงานทีรับผิดชอบ
ข้ อเสนอเพือเลือกปฎิบตั ิ ข้ อปฎิบตั ิสําหรับประชาชน
หน่วยงานท้ องถิน รัฐบาล
จัดการและแก้ ไขปั ญหาการใช้ ทีดิน 1) สร้ างอาคารและทีอยู่อาศัยในบริเวณทีจะเกิดความ 1) วางแผนการใช้ ทีดินให้ มีความเหมาะสม 1) ยอมรับและแก้ ไขปั ญหาเฉพาะเขตเพือ
เสียหายน้ อยทีสุด 2) บริหารจัดการพืนทีทีเกิดปั ญหา การดัดแปลงและกไขกฏหมายการใช้ ทีดิน
2) หลีกเลียงการสร้ างทีอยู่อาศัยในบริเวณทีมีปัญหา 3) ดัดแปลงแก้ ไขกฏหมายการใช้ ทีดินใน
นําท่วมหนัก พืนทีทีเกิดนําท่วม

จัดการและป้องกันนําท่วม 1) สร้ างทํานบ ปรับปรุ งคูคลองสาธารณะ 1) จัดการวางแผนโครงการเพือลดปั ญหานํา 1) ยอมรับแผนการป้องกันและปรับปรุ งแก้ ไข


2) สร้ างพืนทีกักเก็บนําเพือชะลอนําฝน ท่วม โดยจําแนกตามพืนทีทีเกิดปั ญหา ข้ อเสนอจากหน่วยงานท้ องถิน
3) ติดต่อ ปรึกษา หน่วยงานทีเกียวข้ องเพือให้ ทราบ 2) ประเมินประสิทธิภาพของโครงการแก้ ไข 2) เป็ นคนกลางประสานงานของหน่วยงาน

24
ถึงแผนงานทีชัดเจน ปั ญหานําท่วม ต่างๆ เพือให้ ดครงการป้องกันนําท่วมเกิดผล
3) จัดการโครงการขนาดใหญ่ทีเกินขีดจํากัด
ของหน่วยงานส่วนท้ องถิน

แหล่ งทีมา: Kates, 1962 อ้ างถึงใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจยั สภาวะสิงแวดล้ อม, 2541.
25

2.6.2 การวางแผนงานของ Arey และ Bauman


Arey และ Bauman (1971 อ้ างถึงใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะ
สิงแวดล้ อม, 2541) ได้ ทําการศึกษาโดยวิเคราะห์การวางแผนงานและนโยบายของรัฐบาล การ
วิเคราะห์เป็ นไปอย่างกว้ างๆ โดยมองถึงการปรับปรุงแผนงานทังทางตรงและทางอ้ อม การศึกษา
ของ Arey และ Bauman ได้ เน้ นถึงปั ญหาสภาวะแวดล้ อมทีมีผลกระทบโดยตรงต่อประชาชน
2.6.2.1 แผนงานการปรับปรุงทางอ้ อม
เป็ นนโยบายทีมีไว้ เพือรับมือกับปั ญหานําท่วมทีได้ เกิดขึนและมีผ้ ไู ด้ รับผลกระทบ
ได้ แก่
1) การกระจายความเสี ย หาย เป็ นแผนงานการช่ ว ยเหลื อ บรรเทา
ผู้ประสบภัยนําท่วมแบบฉุกเฉิน
2) การวางแผนรับความเสียหายเพือคาดคะเนถึงระดับความเสียหาย
และเตรียมความพร้ อมในการช่วยเหลือ
3) การแจ้ งเตือนถึงระดับความรุนแรงล่วงหน้ าเพือให้ ประชาชนยอมรับ
ความเสียหายทีจะเกิดได้
2.6.2.2 แผนงานการปรับปรุงทางตรง
เป็ นนโยบายเพือป้องกัน และลดความรุนแรงของปั ญ หานําท่วมทีจะเกิ ดขึนใน
อนาคต ได้ แก่
1) การปรับปรุงเพือการลดปริ มาณนําโดยการใช้ กฏหมายควบคุมทีดิน
และอาคารสิงก่อสร้ าง
2) การปรับปรุงระบบระบายนํา
(1) การขุดลอกคูคลอง และการขุดลอกท่อระบายนํา เพือเพิม
ปริมาณการไหลของนํา
(2) การสร้ างสถานทีกักเก็บนําเพือลดปริมาณการไหลของนําใน
ท่อระบายนําและคูคลอง
3) การปรับปรุงเพือลดความเสียหาย
(1) การแจ้ งเตือนประชาชนในเขตพืนทีเสียงภัยนําท่วม
(2) การป้องกัน ทําสิงกีดขวางนําของแต่ละครัวเรือน
(3) การดัดแปลงการใช้ ทีดิน
26

2.6.3 การวางแผนของ The U.S. Water Resource Council


The U.S. Water Resource Council (1981 อ้ างถึงใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
สถาบันวิจยั สภาวะสิงแวดล้ อม, 2541) ได้ ศึกษามาตรการเพือการลดความเสียหายจากนําท่วม
โดยแบ่งเป็ นมาตรการทีไม่ใช้ สิงก่อสร้ าง (Nonstructural Measures) และมาตรการใช้ สิงก่อสร้ าง
(Structural Measures)
เนืองจากในอดีต รัฐบาลได้ ศกึ ษาและวางแผนรับมือนําท่วมโดยใช้ สิงก่อสร้ างเป็ นหลัก ซึง
มีการใช้ เงินทุนและทรัพยากรมหาศาล นอกจากนีการสร้ างสิงก่อสร้ างยังส่งผลต่อสภาพแวดล้ อม
และสังคมโดยรอบ ซึงในบางกรณีการใช้ มาตรการไม่ใช้ สิงก่อสร้ างในการรับมือนําท่วมสามารถให้
ผลได้ ไม่แตกต่างกับมาตรการแบบใช้ สิงก่อสร้ างและยังประหยัดงบประมาณในการก่อสร้ างอีก
ด้ วย
ดังนันเพือให้ แผนการรับมือปั ญหานําท่วมเป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพจึงต้ องมีการศึกษา
การใช้ มาตรการทังการใช้ สิงก่อสร้ างและมาตรการไม่ใช้ สิงก่อสร้ าง ให้ เหมาะสมกับ พืนทีและ
สภาพชุมชนในบริเวณนัน

2.7 สภาพปั ญหานําท่ วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง

เพือทําความเข้ าใจในสภาพปั ญหานําท่วมทีเกิดขึนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง


ผู้วิจยั ได้ ทําการสํารวจ และเก็บข้ อมูลในขณะเกิดปั ญหานําท่วมเพือนํามาศึกษา โดยแบ่งเนือหาได้
ดังนี

2.7.1 ความสําคัญของปั ญหา


1) ปั ญหานํ าท่วมภายในชุมชนหมู่บ้านนักกี ฬาแหลมทองเป็ นปั ญหาที เกิดขึน
อย่างต่อเนืองทุกปี
2) สร้ างความเสียหายต่อทีอยู่อาศัย และทรัพย์สิน ของประชาชน
3) ส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของประชาชนในชุมชน
4) ก่อให้ เกิดปั ญหาด้ านสุขอนามัย ขณะเกิดปั ญหานําท่วม
5) ก่อให้ เกิดปั ญหาด้ านความสะอาด และสภาพภูมิทศั น์ ภายหลังปั ญหานําท่วม
27

ภาพที 2.4 แสดงสภาพนําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง ทีส่งผลกระทบต่อ


ประชาชน

2.7.2 สาเหตุของปั ญหานําท่ วม


2.7.2.1 สาเหตุจากปั จจัยทางธรรมชาติ
1) ชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองอยู่ติดกับแหล่ง นําธรรมชาติ ได้ แก่
คลองทับช้ างบน ซึงอยู่ทางทิศตะวันออก และ คลองทับช้ างล่าง ทีอยู่ทิศตะวันตก โดยทางนําทัง 2
สายนี ได้ รับนําโดยตรงจาก คลองแสนแสบ ทีอยู่ทางทิศเหนือของเขตสะพานสูง ดังนัน ระดับนําใน
คลองทับช้ างบนและคลองทับช้ างล่าง มีความสัมพันธ์กบั ระดับนําในคลองแสนแสบ ดังภาพที 2.5
28

หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง

ทิศเหนือ

ภาพที 2.5 เส้ นทางการไหลของนําจากคลองแสนแสบสูค่ ลองรอบชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬา


แหลมทอง (แสดงโดยลูกศรสีดําทึบ)

2) สภาพพื นที ภายในชุม ชนหมู่บ้ านนั ก กี ฬ าแหลมทองอยู่ตํ ากว่ า


ระดับนําทะเล
2.7.2.2 สาเหตุจากมนุษย์
1) ปั ญหาแผ่นดินทรุด
ปั ญหาแผ่นดินทรุดเนืองจากนําหนักกดทับ เช่น สร้ างตึกขนาดใหญ่ ซึง
ลักษณะนีจะมีการทรุดตัวเฉพาะพืนที
ปั ญหาแผ่นดินทรุดเนืองจากการเอาของเหลวออกจากพืนดิน เช่น การ
สูบนําบาดาลเป็ นปริมาณมาก ซึงจะส่งผลกระทบไปหลายตารางกิโลเมตร และลักษณะนี จะทําให้
แผ่นดินทรุดตัวแบบเป็ นแอ่งกระทะ
2) ปั ญหาจากทางระบายนํา
ทางระบายนําชํารุด เนืองจากอายุของทางระบายนํา รวมถึงการทรุดตัวของพืนดินทีไปกดทับทาง
ระบายนํา ดังภาพที 2.6
29

ภาพที 2.6 การทรุดตัวของพืนดินซึงเป็ นเหตุในทางระบายนําชํารุด

ทางระบายนําอุดตัน เนืองมาจากเศษขยะ ใบไม้ รวมถึงเศษวัสดุก่อสร้ าง


ทําให้ การระบายนําทําได้ ไม่เต็มความสามารถ ดังภาพที 2.7
ทางระบายนําไม่เพียงพอ ต่อการระบายนํา เนืองมาจากการทีประชากร
ในชุมชนมีจํานวนมากขึน จํานวนทีอยู่อาศัยเพิมมากขึน แต่ไม่มีการปรับปรุงทางระบายนําตาม
การใช้ งานทีเพิมมากขึน
นอกจากนีโครงสร้ างของช่องรับนําหน้ าคันหินของหมู่บ้านนักกีฬาฯ มี
ขนาดเพียง 0.4 เมตร ซึงไม่เพียงพอต่อการระบายนําจากถนนให้ มีประสิทธิภาพ ดังภาพที 2.7

40 cm.

ภาพที 2.7 สภาพของช่องรับนําหน้ าคันหินทีมีขนาดเล็ก และเกิดการอุดตัน


30

2.8 งานวิจยั ทีเกียวข้ อง

จุฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลัย . สถาบัน วิ จัย สภาวะสิงแวดล้ อม (2541) ได้ ทํ าการเขี ย น
โปรแกรมเพือใช้ คํานวณหาพืนทีเพือใช้ ในการชะลอนําหรือกักเก็บนําก่อนปล่อยลงสูท่ างระบายนํา
สาธารณะและแหล่งนําตามธรรมชาติ พร้ อมทังคู่มือการใช้ งาน วัตถุประสงค์เ พือให้ เอกชนและ
ประชาชนทัวไป นอกเหนือจากหน่วยงานราชการ สามารถเลือกใช้ วิธีการชะลอนําทีเหมาะสมกับ
สภาพพืนทีได้ หลักการสําหรับประชาชนทัวไป คือ การใช้ พืนทีบางส่วนของทีอยู่อาศัยเป็ นพืนที
เก็บกักนําก่อนปล่อยลงสู่ทางระบายนําสาธารณะ ซึงช่วยลดการเกิดนําท่วมในชุมชน ในขณะที
โครงการพืนทีชะลอนําขนาดใหญ่มีความจําเป็ นต้ องใช้ พืนทีเป็ นบริเวณกว้ าง
สํานัก ระบายนํ า (2547) ได้ ดําเนิน โครงการขึนทะเบี ย นบึง สระ และแอ่งนํ า ของส่วน
ข้ าราชการและรัฐวิสาหกิจ เพือสงวนไว้ เป็ นทีรองรับและกักเก็บนําชัวคราวเพือป้องกันนําท่วม ตาม
มติคณะรัฐมนตรีเมือวันที 29 สิงหาคม พ.ศ. 2532 ซึงเรี ยกมาตรการนีว่าการบริ หารพืนทีนําท่วม
(Flood Plain Management) ประกอบด้ วยการชะลอการไหลของนําโดยใช้ แหล่งนําธรรมชาติใน
การกักเก็บนําฝน และการบริหารพืนทีนําท่วมโดยการกําหนดเงือนไขการใช้ ทีดิน ระบบคาดหมาย
นําท่วมและการเตือนภัย มาตรการแก้ ไขนําท่วมฉุกเฉิน การประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกียวกับปั ญหา
นําท่วม และการส่งเสริมให้ ประชาชนแต่ละครัวเรือนมีมาตรการป้องกันนําท่วม
สมคิด บัวเพ็ง (2543) ได้ รวบรวมข้ อมูลที เป็ นสาเหตุของวิกฤตการณ์ นําบาดาล และ
แผ่นดินทรุดในบริเวณกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ซึงมีสาเหตุมาจากการสูบนําบาดาลในเขต
กรุงเทพและปริมณฑลมาใช้ เป็ นจํานวนมาก ตังแต่ปีพ.ศ. 2518 ทีมีการบันทึกไว้ ว่ามีอตั ราการใช้
นําบาดาลถึง 700,000 ลูกบาศก์เมตร ปี พ.ศ. 2525 มีถึงประมาณวันละ 1.4 ล้ านลูกบาศก์เมตร ซึง
เป็ นเหตุใ ห้ เกิ ดปรากฎการณ์ แผ่นดินทรุ ดตัว ระหว่างปี พ.ศ. 2521-2530 พบว่ามีการทรุดตัวไป
มากกว่า 70 เซนติเมตร ในเขตกรุงเทพฝั งตะวันออกซึงเป็ นสาเหตุให้ เกินปั ญหานําท่วมตามมา
ศรีสดุ า เตียวโป้ (2545) ได้ ศกึ ษาการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้ องถิน
โดยพิจารณาจากปั จจัยต่างๆ ได้ แก่ เพศ อายุ การศึกษา รายได้ อาชีพ กลุ่มทางสังคม การรับรู้
ข่าวสารในการปกครองส่วนท้ องถินในรูปแบบ อบต. และ ความรู้ความเข้ าใจในการปกครองส่วน
ท้ องถินในรูปแบบ อบต. พบว่า ปั จจัยทีส่งผลต่อการมีสว่ นร่วมของประชาชน คือ การเป็ นสมาชิก
กลุม่ ทางสังคม และ การรับรู้ขา่ วสาร
สุนัน ต์ เสาโสภณ (2554) ได้ ศึก ษาการมีส่วนร่ วมของคณะกรรมการชุมชน เทศบาล
เมืองเบตง จังหวัดยะลา ในการพัฒนาชุมชน โดยได้ แบ่งลําดับขันในการมีสว่ นร่วมเป็ น การมีส่วน
31

ร่วมในขันตอนการวางแผน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ และการ


ติดตามและประเมิน ผล ปั จจัย ต่างๆทีใช้ ในการศึก ษา ได้ แก่ เพศ อายุ ระดับการศึก ษา อาชี พ
รายได้ สถานภาพสมรส การได้ รับข้ อมูลข่าวสาร สมาชิกกลุ่มทางสังคม สมาชิกกลุ่มอาชีพ พบว่า
ปั จจัยทีมีผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชน คือ ระดับการศึกษา
อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส การได้ รับข้ อมูลข่าวสาร และสมาชิกกลุม่ ทางสังคม
พฤกษพงศ์ วิสทุ ธิ ดวงดุษดี(2550) ได้ ศึกษาปั จจัยทีมีผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยของ
เทศบาลตําบลแม่สาย โดยปั จจัยทีมีผลต่อการจัดการขยะมูลฝอย ประกอบด้ วย สมรรถนะองค์การ
ด้ านการจัดการขยะ สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจและสังคม กรมีสว่ นร่วมของธุรกิจซือขายของเก่า
ในท้ องถิ น การมีส่วนร่ วมของผู้นํ าชุมชน การมีส่วนร่ วมขององค์ก รเอกชน การมีส่ว นร่วมของ
องค์กรปกครองส่วนท้ องถินใกล้ เคียง การมีส่วนร่วมของประชาชน พฤติกรรมการจัดการขยะมูล
ฝอยในครัวเรื อน นโยบายการจัดการขยะของประเทศไทย กฎหมายทีเกียวข้ อง พบว่า เทศบาล
ตําบลแม่ส าย ไม่ส ามารถดํ าเนิ น การเก็บ รวบรวม ขนย้ าย และกํ า จัด ขยะมูลฝอยได้ อย่ างมี
ประสิทธิภาพ อีกทังชุมชนยังขาดการจัดการขยะ ณ แหล่งกําเนิด นอกจากนียังขาดการมีส่วนร่วม
จากภาคประชาสังคม
ชุติมา ตุ๊นาราง (2553) ได้ ศึกษาปั จ จัย ทีมีผลต่อการมีส่วนร่ วมของประชาชน ในการ
จัดการมูลฝอยชุมชนในเขตเทศบาลนครสมุทรปราการ ประชากรส่วนใหญ่มีสว่ นร่วมในการจัดการ
มูลฝอยชุมชนอยู่ในระดับกลาง เนืองมาจากข้ อจํากัดด้ านการดําเนินชีวิต และการขาดความสนใจ
ในการคัดแยกมูลฝอย ปั จจัยทีไม่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการแยกมูลฝอย คือ เพศ อายุ จํานวน
สมาชิกในครัวเรือน ความเป็ นเจ้ าของในทีอยู่อาศัย ส่วนปั จจัยทีมีผลต่อการมีส่วนร่วมในการแยก
มูลฝอย คือ สถานภาพในครัวเรื อน ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ต่อเดือน จํานวนปี ทีอยู่อาศัย
ความรู้ความเข้ าใจเกียวกับมูลฝอย ทัศนคติ และความยินดีเข้ าร่วม
สํานักการระบายนํา (2547) ได้ กําหนด แผนปฏิบัติการการป้องกันและแก้ ไขปั ญหานํ า
ท่วมกรุงเทพมหานคร ประจําปี 2547 โดยมีช่วงปฏิบัติงาน 3 ช่วง คือ ช่วงต้ นฤดูฝน ตังแต่เดือน
พฤษภาคม ถึง เดือนกรกฎาคม ทีมีปริ มาณนํ าฝนทัวไปไม่สูงนัก ช่วง ปลายฤดูฝน ตังแต่เดือน
สิงหาคม ถึง เดือนตุลาคม ทีมีปริ มาณนําฝนสูง (35-90 ม.ม. ต่อวัน) และมีนําทุ่งจากภาคเหนือ
และตะวัน ออก ไหลเข้ าพื นที สุดท้ าย คือ ช่วงนําเหนือไหลบ่าและนําทะเลหนุน สูง ตังแต่เ ดือน
ตุลาคม ถึง เดือนธันวาคม หรือมกราคม ทีมีปริมาณนําฝนสูงในเดือนตุลาคม นําทุ่งจากภาคเหนือ
และตะวันออก ไหลเข้ าพืนที และระดับนําในแม่นําเจ้ าพระยาสูงสุด (ประมาณ +2.00 ถึง +2.27
เมตร) แผนการป้องกันนําท่วมจากฝนตก โดยกําหนดพืนทีปิ ดล้ อม (Polder System) ในเขตชุมชน
32

หนาแน่น กํ าหนดการเตรี ย มการเพื อป้ องกัน นํ าท่วมจากฝนตก ได้ แก่ ซ่อมบํ ารุ งเครื องสูบ นํ า
ประตูนํา ท่อระบายนํา จัดเตรียมอุปกรณ์และเจ้ าหน้ าที เป็ นต้ น แผนการป้องกันนําท่วมเนืองจาก
นําหนุน ได้ แก่ การจัดทําแนวคันกันนํา ปิ ดท่อระบายนํา ทํานบกันนํา รวมถึงการประสานความ
ร่วมมือจากส่วนราชการอืนๆ เป็ นต้ น
คัมภีร์ คร้ ามพิมพ์ (2544) ได้ ศึกษาการจัดการปั ญหานําท่วมในพืนทีกรุงเทพมหานคร
พบว่าปั ญ หานํ าท่ว มเกิ ด จากการขาดการจัดการปั ญ หาที ดี ซึงการจั ด การปั ญ หานํ าท่ว มไม่
สอดคล้ องกับการขยายตัวของชุมชนเมือง รวมทังการจัดการปั ญหานําท่วมในแต่ละพืนทีปกครอง
ทําให้ เกิ ดปั ญ หากับพื นทีข้ างเคีย งจนเกิดเป็ นความขัดแย้ ง ดังนัน จึงเสนอแนวทางการจัดการ
ปั ญ หานํ าท่วมในลัก ษณะของลุ่มนํ า แทนลัก ษณะเขตการปกครอง นอกจากนี ยังได้ เสนอให้
ประชาชนเข้ า มามี ส่วนร่ วมในการบริ ห ารจัด การ เพื อให้ ตรงกับ ความต้ อ งการที แท้ จ ริ งของ
ประชาชน โดยมีกฎหมายรองรับและกําหนดอํานาจปฏิบตั ิงานให้ ชัดเจน นอกจากนียังได้ เสนอให้
นโยบายทีเกียวข้ องกับปั ญหานําท่วม ควรเน้ นไปทีการบรรเทามากกว่าการป้องกันเต็มรูปแบบ ซึง
รูปแบบนีส่งผลกระทบต่อสิงแวดล้ อมน้ อยกว่า มาตรการการใช้ สิงก่อสร้ างเพือป้องกันปั ญหานํา
ท่วม
บุญจง ขาวสิทธิวงษ์ (2539) ได้ วิเคราะห์สาเหตุและปั ญหาการจัดการวิกฤติการณ์นําของ
สังคมไทย โดยมีหวั ข้ อสําคัญคือ วิกฤติการณ์นําเน่าเสีย นําแล้ งหรือขาดแคลน และวิกฤติการณ์นํา
ท่วม โดยสาเหตุของนําท่วมนัน มาจากการขาดแคลนพืนทีเก็บกักนํา รวมถึงป่ าไม้ ทีเปรี ยบเสมือน
เขือนตามธรรมชาติ สําหรับกรุงเทพมหานคร ซึงเป็ นพืนทีลุม่ เจ้ าพระยาตอนล่าง อยู่ในเขตอิทธิพล
ของนํ าทะเล จึงทํ าให้ ป ระสบทังปั ญ หานําทะเลหนุน และนํ าเหนื อไหลบ่ า เมือรวมกับ ปั ญ หา
แผ่นดินทรุด ยิงทําให้ กรุงเทพมหานคร มีโอกาสประสบกับปั ญหานําท่วมทีถีขึน และรุนแรงมาก
ยิงขึน ซึงการป้องกันสามารถทําได้ โดย การพัฒนาแหล่งนํา เพือให้ รองรับนํา การผันนําและระบาย
นํา โดยการสูบนําจากเขตกรุงเทพฯชันใน ออกไปยังเขตกรุงเทพฯชันนอก ได้ แก่ มีนบุรี หนองจอก
ลาดกระบัง ซึงทําให้ เกิดความขัดแย้ งกันมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ทรงชีแนะแนวทางการ
แก้ ปัญหานําท่วมกรุงเทพมหานครในระยะยาวไว้ ดังนี ขุดคลองลัดโพธิ เพือให้ นําไหลบ่าในแม่นํา
เจ้ าพระยาไหลลงอ่าวไทยได้ เร็วขึน, โครงการแก้ มลิง โดยจัดหาพืนทีรับนําขนาดใหญ่เพือรองรับนํา
และกักเก็บไว้ ใช้ ในฤดูแล้ ง, การป้องกันแผ่นดินทรุด, การสร้ างเขือนสองฝั งแม่นํา เพือป้องกันนํา
จากแม่นําไหลเข้ าท่วมพืนที และการเพิมพืนทีป่ าไม้
บทที 3

วิธีการศึกษา

งานวิจยั เรืองการจัดการปั ญหานําท่วมและการมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษา หมู่บ้าน


นักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร เป็ นงานวิจัยทีศึกษาถึงสภาพของปั ญหานํา
ท่วมภายในชุมชนขนาดใหญ่ ปั จจัยทีมีผลต่อการจัดการปั ญ หานําท่วม ผลกระทบทีเกิ ดขึนกับ
ประชาชนในชุมชน การรับมือและการบริหารจัดการปั ญหานําท่วม และแนวทางการแก้ ปัญหาทัง
จากหน่วยงานราชการ รวมไปถึงการจัดการทีดําเนินการโดยประชาชนในชุมชนเองโดยได้ ใช้ วิธี
การศึกษาเอกสาร และการใช้ แบบสอบถาม โดยมีลําดับของการศึกษา ดังนี
1) ศึกษาประวัติความเป็ นมาของชุมชนและสภาพทัวไป สภาพการเกิดปั ญหาและสาเหตุ
ของปั ญหานําท่วม
2) ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยทีมีความเกียงโยงกับปั ญหา และบริ บทของสิงทีต้ องการ
ศึกษา
3) ศึกษาแนวทางการแก้ ปัญหานําท่วมโดยภาครัฐ ฯ (หน่วยงานราชการ) ศึกษาวิธีการ
แก้ ปั ญ หานํ าท่วมโดยคณะกรรมการหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทอง และการมีส่วนร่ วมของชุมชน
หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
4) ศึกษาปั จจัยทีมีผลต่อการเตรียมความพร้ อมในการรับมือปั ญหานําท่วม และการมี
ส่วนร่วมของชุมชน

3.1 บริบทของการศึกษา

การศึกษาการจัดการปั ญหานําท่วมและการมีสว่ นร่วมของชุมชน ได้ ทําการศึกษาในพืนที


หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง จังหวัดกรุงเทพมหานคร กับประชาชนในหมู่บ้านและ
คณะกรรมการ โดยมีระยะเวลาการศึกษาเป็ นเวลา 1 ปี
34

โดยทําการศึกษาแนวทางการแก้ ปัญหาของหน่วยงานราชการทีเกียวข้ อง ได้ แก่ สํานักงาน


เขตสะพานสูง สํ า นัก การโยธา และสํ า นัก การระบายนํ า ศึก ษาแนวทางการแก้ ปั ญ หาของ
คณะกรรมการชุมชน และศึกษานโยบายความร่วมมือของหน่วยงานราชการ กับคณะกรรมการ
ชุมชน และเก็บข้ อมูลกลุ่มตัวอย่างภายในชุมชนเพือนํามาวิเคราะห์ถึงปั ญหาทีเกิดขึนกับชุมชน
ความรู้ในปั ญหาของชุมชน และปั จจัยทีทําให้ เกิดการมีสว่ นร่วมในการแก้ ไขปั ญหานําท่วมภายใน
ชุมชน

3.2 วิธีการดําเนินการวิจยั และสถานทีทําการเก็บข้ อมูล

3.2.1 รวบรวมข้ อมูลพืนฐานต่าง ๆ สภาพบริ บททางกายภาพของหมู่บ้านนักกีฬาแหลม


ทอง ศึกษาเอกสาร ข้ อมูลเดิมของชุมชน การสอบถามผู้ทีสามารถให้ ข้อมูลภายในชุมชนได้
3.3.2 ศึกษาเอกสาร และงานวิจยั ทีเกียวข้ อง
3.3.3 ศึกษากระบวนการในการแก้ ปัญหานําท่วมโดยชุมชนและหน่วยงานราชการ, ศึกษา
แนวทางการจัดการปั ญหาของคณะกรรมการชุมชน
3.3.4 เก็บข้ อมูลโดยการสอบถามกลุ่มตัวอย่างประชาชนในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง
(ใช้ แบบสอบถามทีผู้วิจยั สร้ างขึน) บันทึกข้ อมูลต่าง ๆ ทีได้ จากการดําเนินงาน และการแลกเปลียน
เรียนรู้มาจัดระบบ แยกแยะ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการแก้ ปัญหานําท่วมใน
หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
3.3.5 สรุปรวบรวม เรียบเรียง บันทึกเอกสารงานวิจยั
35

ศึกษาปั ญหา ศึกษาแนวทางการจัดการปั ญหาจาก


และสาเหตุทีก่อให้ เกิดปั ญหา งานวิจยั ทีเกียวข้ อง

ศึกษาแนวทางแก้ ปัญหาของภาครัฐฯ
(หน่วยงานราชการ)
และ
ศึกษาแผนการจัดการปั ญหาของ
คณะกรรมการหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง

ศึกษาการมีสว่ นร่ วมในการรับมือปั ญหา


นําท่วม และปั จจัยทีมีผลต่อการมีสว่ น
ร่วมของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้
แบบสอบถาม

จัดเรียงข้ อมูล และทําการวิเคราะห์ ตาม


หลักสถิติ

สรุปผลการศึกษา

ภาพที 3.1 แผนภาพวิธีการศึกษา


36

3.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา

ในการศึกษาครังนีได้ กําหนดตัวแปรในการศึกษาปั จจัยทีมีผลต่อการเตรี ยมความพร้ อม


รับมือปั ญหานําท่วม และการมีสว่ นร่วมในการรับมือปั ญหานําท่วม ดังนี
3.3.1 ปั จจัยส่ วนบุคคล
3.3.1.1 เพศ
3.3.1.2 อายุ
3.3.1.3 สถานภาพสมรส
3.3.1.4 สภาพทีอยู่อาศัย
3.3.1.5 จํานวนสมาชิกภายในครอบครัว
3.3.1.6 ระดับการศึกษา
3.3.1.7 อาชีพ
3.3.1.8 รายได้ เฉลียต่อเดือน
3.3.2 ช่ องทางการรับรู้ข่าวสาร
3.3.2.1 การติดตามข่าวสาร
3.3.2.2 ช่องทางการรับข่าวสาร
3.3.2.3 ประโยชน์ของข่าวสาร
3.3.3 ความรู้ และการรับทราบถึงปั ญหานําท่ วมภายในชุมชน
3.3.3.1 สภาพของปั ญหา
3.3.3.2 สภาพของชุมชน
3.3.3.3 การจัดการทีมีอยู่
3.3.4 ผลกระทบจากปั ญหานําท่ วม
3.3.5 ความพร้ อมในการรับมือภัยนําท่ วม
3.3.6 การมีส่วนร่ วมในการจัดการปั ญหานําท่ วมในชุมชน
3.3.7 ความพึงพอใจต่ อการทํางานของผู้เกียวข้ อง
3.3.7.1 ความพึงพอใจต่อการทํางานของหน่วยงานราชการทีเกียวข้ อง
3.3.7.2 ความพึงพอใจต่อการทํางานของกรรมการชุมชน
37

ปั จจัยส่ วนบุคคล

การรับข้ อมูล
ข่ าวสาร
การมีส่วนร่ วมใน
การรับมือและ
แก้ ไขปั ญหานํา
ความรู้ และการ ท่ วมในชุมชน
รับทราบถึง
ปั ญหานําท่ วม

ผลกระทบจาก
ปั ญหานําท่ วม

ความพร้ อมใน
การรับมือนําท่ วม

ภาพที 3.2 แผนภาพกรอบแนวคิดในการศึกษา

3.4 สมมติฐาน

3.4.1 ประชาชนที มี ปั จ จัย ส่วนบุคคล ได้ แก่ เพศ อายุ ระดับ การศึก ษา และอาชี พ ที
แตกต่างกันกันมีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่าง
3.4.2 ประชาชนที มี ปั จ จัย ส่วนบุคคล ได้ แก่ เพศ อายุ ระดับ การศึก ษา และอาชี พ ที
แตกต่างกันมีการรับทราบข้ อมูลข่าวสารทีแตกต่างกัน
3.4.3 ประชาชนทีมีปัจจัยส่วนบุคคล ได้ แก่ ลักษณะของทีอยู่อาศัย และอาชีพทีแตกต่าง
กันได้ รับผลกระทบจากปั ญหานําท่วมทีได้ รับแตกต่างกัน
38

3.4.4 ประชาชนทีมีปัจจัยส่วนบุคคล ได้ แก่ ลักษณะของทีอยู่อาศัย อาชีพ และรายได้ ที


แตกต่างกัน มีการเตรียมความพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกัน
3.4.5 ประชาชนทีมีปัจจัยส่วนบุคคล ได้ แก่เพศ อายุ และอาชีพทีแตกต่างกัน มีส่วนร่วม
ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมแตกต่างกัน
3.4.6 ความรู้ และการรับ ทราบสภาพทัวไปของปั ญหานํ าท่วมมีความสัมพันธ์กับ การมี
ส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
3.4.7 การรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมมีความสัมพันธ์กบั การมีส่วนร่วม
ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
3.4.8 ความรู้ และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญ หานําท่วมมีความสัมพันธ์ กับ การ
รับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม
3.4.9 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาปั ญหานําท่วมมีความสัมพันธ์กับ
การเตรียมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
3.4.10 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาปั ญหานําท่วมมีความสัมพันธ์กับ
ความพึงพอใจต่อการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานราชการ และความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของ
คณะกรรมการชุมชน

3.5 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง

การศึกษา การจัดการปั ญหานําท่วมในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ในครังนี ประชากรที


ศึกษาคือ ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง ซึงมีจํานวนประชากร 15,870 คน เป็ นชาย
7,904 คน และเป็ นหญิ ง 7,966 คน คิ ด เป็ น 3,174 ครั ว เรื อ น (สํ า นัก งานเขตสะพานสูง
กรุงเทพมหานคร, 2548) โดยพิจารณาการหาขนาดของกลุม่ ตัวอย่าง ณ ระดับความเชือมันทีร้ อย
ละ 95 เมือยอมให้ ความคลาดเคลือนของค่าการประมาณค่าสัดส่วนเกิดขึนได้ ในระดับร้ อยละ ±5
ตามสูตรของ Yamane (Yamane, 1976 อ้ างถึงใน วิสาขา ภู่จินดา, 2552: 97) สามารถหาขนาด
ตัวอย่างสําหรับการประมาณค่าสัดส่วนของประชากรจากสูตรต่อไปนี
39

n = N
1 + Ne2
n = 3,174
1 + (3,174)(0.05) 2
n = 355.2322

เมือ n = ขนาดของกลุม่ ตัวอย่าง


N = จํานวนประชากร
e = ค่าความคลาดเคลือน ร้ อยละ 5 หรือ 0.05

ดังนันจึงเลือกใช้ จํานวนตัวอย่างเท่ากับ 360 ครัวเรือน การเก็บข้ อมูลกลุม่ ตัวอย่างโดยการ


เลือกตัวอย่างแบบโควตา และแบบบังเอิญ โดยทํ าการกํ าหนดจํ านวนของกลุ่มตัวอย่างตาม
ลักษณะทีอยู่อาศัยได้ แก่ ทีอยู่อาศัยบ้ านเดียว/บ้ านแฝดชันเดียว บ้ านเดียว/บ้ านแฝด 2 ชันขึนไป
คอนโดมิเนียม (อาคารชุด)/อพาร์ทเม้ นท์ (อาคารพักอาศัยเพือเช่า) อาคารพาณิชย์ ประเภทละ 90
คน จากนันจึงทําการเก็บข้ อมูลในกลุม่ ตัวอย่างด้ วยการให้ ทําแบบสอบถามซึงใช้ การเลือกตัวอย่าง
แบบบังเอิญ

3.6 เครืองมือทีใช้ ในการวิจยั

การศึกษาครังนีได้ ทําการเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม ซึงมีรายละเอียด ดังนี


3.6.1 คําถามข้ อมูลส่วนบุคคลเพือรวมรวมข้ อมูลพืนฐานของกลุ่มตัวอย่าง ได้ แก่ เพศ
อายุ สถานภาพสมรส ลักษณะทีอยู่อาศัย จํ านวนสมาชิก ในครอบครัว ระดับ การศึก ษา อาชี พ
รายได้ ตอ่ เดือน
3.6.2 คําถามเพือวัดความรู้ ในสภาพปั ญ หานําท่วมในชุมชน ได้ แก่ สภาพของปั ญหา
สภาพของชุมชน การจัดการทีมีอยู่
3.6.3 คําถามเพือรวบรวมข้ อมูลการรับข้ อมูลข่าวสารของกลุม่ ตัวอย่าง
3.6.4 คําถามเพือวัดผลกระทบและความเสียหายทีได้ รับ
3.6.5 คําถามเพือการรวบรวมข้ อมูลการเตรี ยมตัวรับ มือปั ญหานําท่วม มาตรการทีใช้
รับมือ
40

3.6.6 คําถามเพือวัด ระดับ การมีส่วนร่ วมในการช่วยรั บมือ และแก้ ปั ญหานํ าท่วมของ


ประชาชนในชุมชน
3.6.7 คําถามเพือวัดระดับความพึงพอใจในการดําเนิ นงานของหน่วยงานที เกี ยวข้ อง
ได้ แก่ หน่วยงานข้ าราชการ(หน่วยงานภาครัฐฯ) และ คณะกรรมการชุมชน
โดยแบบสอบถามแบ่งเป็ น 5 ส่วนดังนี
ส่วนที 1 คําถามข้ อมูลทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้ วย เพศ อายุ สถานภาพ
สมรส ลักษณะทีอยู่อาศัย จํานวนสมาชิกในครอบครัว ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ตอ่ เดือน
ส่วนที 2 คําถามด้ านความรู้ ความเข้ าใจทัวไปในปั ญ หานํ าท่วมภายในชุมชน โดยให้
คะแนนในข้ อที ตอบว่าใช่ เป็ น 1 คะแนน และไม่ใช่ เป็ น 0 คะแนน ซึงมีคะแนนเต็ม 14 คะแนน
แปรผลโดยการแบ่งชันคะแนน เป็ น 3 ระดับ คือ
0-4 คะแนน มีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาอยู่ในระดับตํา
5-9 คะแนน มีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาอยู่ในระดับกลาง
10-14 คะแนน มีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาอยู่ในระดับสูง
ส่ว นที 3 คํา ถามด้ า นการรั บ รู้ ข้ อ มูล โดยมี คํ าถามด้ า นการรับ ข่า วสาร หากผู้ต อบ
แบบสอบถามไม่ได้ มีการติดตามข่าวสาร ให้ ข้ามส่วนนีไปทังหมด
คําถามในแบบสอบถามด้ านการรับ รู้ ข้ อมูล ประกอบด้ วย คํ าถามถึงช่อ งทางที ได้ รั บ
ข่าวสาร 9 ข้ อ ประกอบด้ วย ช่องทางจากคณะกรรมการชุมชน 5 ข้ อ และจากหน่วยงานราชการ 4
ข้ อ แบบสอบถามถึงข้ อมูลทีได้ รับ 8 ข้ อ ประกอบด้ วยจากคณะกรรมการชุมชน 4 ข้ อ และจาก
หน่วยงานราชการ 4 ข้ อ
ส่วนที 4 คําถามด้ านผลกระทบทีได้ รับจากปั ญหานําท่วม จํานวน 8 ข้ อ แบบสอบถามด้ าน
ความพร้ อมในการรับมือ จํานวน 8 ข้ อ
ส่ว นที 5 คํ า ถามการมี ส่ว นร่ วมในการรั บ มื อและแก้ ไขปั ญ หานํ าท่ ว ม จํ า นวน 7 ข้ อ
แบบสอบถามด้ านความพึงพอใจต่อการดําเนินงานของหน่วยงานราชการ จํานวน 7 ข้ อ และความ
พึงพอใจต่อการดําเนินงานของกรรมการชุมชน จํานวน 8 ข้ อ
41

3.7 การทดสอบเครืองมือในการศึกษา

3.7.1 ความตรง (Validity)


เพือประเมินว่าเครื องมือที เขียนขึนสอดคล้ องหรื อเป็ นไปตามวัตถุป ระสงค์หรื อไม่ การ
ประเมิน ความสอดคล้ อง อาจจะใช้ แบบประเมิน ความสอดคล้ องระหว่า งแบบสอบถามกับ
วัต ถุป ระสงค์ โ ดยให้ อาจารย์ ที ปรึ ก ษา และ ผู้เ ชี ยวชาญตรวจสอบข้ อ คํ าถาม ประกอบด้ ว ย
ผู้เชียวชาญด้ านเนือหา ด้ านวัดผลประเมินผลหรือด้ านวิจยั การพิจารณาประเมินโดยผู้เชียวชาญ
อย่างน้ อย 3 คน (วิสาขา ภูจ่ ินดา, 2552: 182)
โดยการประเมินเครืองมือทีใช้ ในการศึกษา จะเป็ นลักษณะการพิจารณาใน 3 ประเด็น คือ
เหมาะสม ไม่เหมาะสม และไม่แน่ใจ โดยพิจารณาแบบสอบถาม ว่าวัดได้ ตรงหรื อสอดคล้ องกับ
เนือหาและวัตถุประสงค์หรือไม่ ใช้ วิธีการกําหนดเป็ นคะแนน ถ้ าเหมาะสม ให้ คา่ = 1, ไม่เหมาะสม
ให้ คา่ = -1 และ ไม่แน่ใจ ให้ คา่ = 0

คํานวณหาค่าความสอดคล้ อง IOC (Item Objective Congruence Index)


IOC = ผลรวมของคะแนนผู้เชียวชาญ
จํานวนผู้เชียวชาญทังหมด

ค่าของ IOC ทีได้ มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 แสดงว่าคําถามสามารถนําไปใช้ ได้


หากผลลัพธ์ทีได้ มีคา่ น้ อยกว่า 0.5 ควรมีการปรับปรุงหรือแก้ ไขคําถามนัน
หากผลลัพธ์ทีได้ มีคา่ เป็ น 0 หรือติดลบ ควรตัดข้ อคําถามนันทิง
ซึงผลการทดสอบความสอดคล้ องของคําถามทุกข้ อมีคา่ มากกว่า 0.5 ดังนัน คําถามทุกข้ อ
สามารถนําไปใช้ ในการเก็บข้ อมูลการศึกษาได้ รายละเอียดดังภาคผนวก

3.7.2 ความเทียง (Reliability)


ความเที ยง (Reliability) หรื อความเชือมัน หมายถึง ความคงที ความมันคงหรื อความ
สมําเสมอของผลการวัดค่าของความเชือมันแสดงเป็ นตัวเลขทีมีค่าไม่เกิน 1.00 หรื อ 100% ซึง
เรียกว่าสัมประสิทธิ (Coefficient) ถ้ าแบบทดสอบมีคา่ สัมประสิทธิ สูงก็แสดงว่ามีความเชือมันสูง
3.7.2.1 คูเ ดอร์ –ริ ช าร์ ดสัน Kuder – Richardson (ค.ศ. 1937) (พิ มพ์ ท อง
สังสุทธิพงศ์ และวรวัติ กิติวงค์, 2552: 24)
42

การหาความเชือมันโดยการ ใช้ เครืองมือ 1 ชุด ใช้ ทดสอบเพียงครังเดียว และไม่


ต้ องแบ่ งครึ งแบบทดสอบ โดยมีส มมติ ฐ านที ว่าข้ อคํ า ถามในเครื องมือ ชุด เดี ย วกัน จะวัดใน
องค์ประกอบเดียวกัน นันคือ เนือหาข้ อคําถามแต่ละข้ อภายในฉบับจะต้ องมีความเป็ นเอกพันธ์
ดังนัน การหาค่าความเชือมันโดยวิธีก ารนี จึงเป็ นการวัดความสอดคล้ องภายในของเครื องมือ
(Internal Consistency)
การค่า KR - 20

เมือ k หมายถึง จํานวนข้ อ


p หมายถึงสัดส่วนของคนทีทาถูกแต่ละข้ อ
q หมายถึงสัดส่วนของคนทีทาผิดในแต่ละข้ อ = 1- p
St2 หมายถึงความแปรปรวนของคะแนนทังฉบับ
ข้ อจํากัดทีสําคัญคือข้ อคําถามจะต้ องมีระบบการให้ คะแนนเป็ นแบบ 0 หรือ 1 กล่าวคือข้ อ
ทีตอบถูกให้ 1 คะแนนตอบผิดให้ 0 คะแนนเท่านัน
ผู้วิจยั ได้ หาความเชือมันของชุดคําถาม ด้ านความรู้และการรับทราบสภาพของปั ญหานํา
ท่วมในชุมชน ด้ านการรับข้ อมูลข่าวสาร และข้ อมูลทีได้ รับ ซึงเป็ นคําถามทีมีการให้ คะแนนแบบ 0
และ 1 พบว่าค่าความเชือมันของคําถาม เท่ากับ 0.9447 ซึงอยู่ในเกณฑ์ ความเชือมันสูง ดังนัน
คําถามชุดนีจึงสามารถนําไปใช้ เพือรวบรวมข้ อมูลในการศึกษาได้
3.7.2.2 การหาค่าสัมประสิทธิ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach 1951 อ้ างถึง
ใน พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์ และวรวัติ กิติวงค์, 2552)
สามารถหาสัมประสิทธิ ของความเทียงของแบบทดสอบทีมีระบบการให้ คะแนน
แบบอืนทีไม่ใช่ 0 กับ 1 หรื อแบบ 0 / 1 ก็ได้ ซึงเป็ นการวัดทีให้ ข้อมูลในลักษณะต่อเนืองได้ แก่
แบบทดสอบอัตนัย แบบเรี ย งความ (essay type tests) แบบวัดทัศนคติแบบประเมิน ผล
สมรรถภาพด้ านต่างๆทีต้ องประเมินตามสเกลและแบบสอบถามชนิดประมาณค่า (rating scale)
จึงให้ ชือว่าค่าสัมประสิทธิแอลฟา (Coefficient α) โดยมีสตู รการคํานวณดังนี
43

โดย α คือ ค่าความเชือมัน


k คือ จํานวนข้ อ
Si2 คือ ค่าความแปรปรวนของคะแนนของบข้ อสอบแต่ละข้ อ
St2 คือ ค่าความแปรปรวนของคะแนนของข้ อสอบทังฉบับ

ผู้วิจยั ได้ หาความเชือมันของชุดคําถาม ด้ านผลกระทบจากปั ญหานําท่วม ด้ านการเตรี ยม


ความพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วม ด้ านการมีสว่ นร่วมในการจัดการปั ญหานําท่วม และด้ านความพึง
พอใจต่อการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานทีเกียวข้ อง ซึงเป็ นคําถามทีมีการให้ คะแนน 1 ถึง 5 พบว่าค่า
ความเชือมันของคําถาม เท่ากับ 0.933 ซึงอยู่ในเกณฑ์ ความเชือมันสูง ดังนัน คําถามชุดนีจึง
สามารถนําไปใช้ เพือรวบรวมข้ อมูลในการศึกษาได้
ค่าความเชือมันของแบบทดสอบโดยอาศัยค่าความแปรปรวนของคะแนนเป็ นหลัก ได้ แก่
การหาค่าความเชือมันโดยวิธีของคูเดอร์ ริ ชาร์ ดสัน (Kuder-Richardson) การหาค่าความเชือมัน
โดยใช้ ค่าสัมประสิทธิ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach; The Coefficient of Alpha) มีค่าความ
เชือมันของเครืองมืออยู่ระหว่าง 0.00 – 1.00 เมือค่าความเชือมันยิงเข้ าใกล้ 1.00 ยิงมีความเชือมัน
สูง (อ้ างถึงใน พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์, วรวัติ กิติวงค์ 2552) เกณฑ์การแปลผลความเชือมันมีดงั นี
0.00 - 0.20 ความเชือมันตํามาก/ไม่มีเลย
0.21 - 0.40 ความเชือมันตํา
0.41 - 0.70 ความเชือมันปานกลาง
0.71 - 1.00 ความเชือมันสูง

3.8 การเก็บรวบรวมข้ อมูล

การเก็บรวบรวมข้ อมูลตามแหล่งทีมา 2 ส่วนคือ


ข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) โดยการใช้ แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้ อมูลของ
ประชากรกลุม่ ตัวอย่าง
44

ข้ อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ได้ จ ากการศึก ษาเอกสาร รายงาน บทความ ทาง


วิชาการ และวิทยานิพนธ์ทีเกียวข้ องกับปั ญหานําท่วม รวมถึงทฤษฎีเกียวกับการจัดการปั ญหา

3.9 การวิเคราะห์ ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิทีได้ จากการตอบแบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่างจํานวน 360


ตัวอย่าง มาวิเ คราะห์โดยการใช้ โปรแกรมสําเร็ จ รู ป สําหรับ การวิจัย ทางสังคมศาสตร์ (SPSS:
Statistics Package for Social Sciences) โดยแบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี
วิ เ คราะห์ ลัก ษณะทั วไปของกลุ่ม ตัว อย่ า ง โดยใช้ สถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา (Descriptive
Statistics) ได้ แก่ การแจกแจงความถี ร้ อยละ เพื อแสดงภาพรวมของกลุ่ม ตัว อย่ า ง และ
เปรียบเทียบข้ อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลปั จจัยส่วนบุคคลของกลุม่ ตัวอย่าง ซึงประกอบด้ วยปั จจัยส่วนบุคคล ได้ แก่
เพศ อายุ สถานภาพสมรส จํานวนสมาชิกภายในครอบครัว ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ เฉลียต่อ
เดือน กับปั จ จัยในการรับรู้ข้อมูล การเตรี ย มตัว การให้ ความร่ วมมือและการมีส่วนร่วม รวมถึง
ความมีประสิทธิภาพในการให้ ความรู้ความเข้ าใจของกรรมการชุมชน และหน่วยงานราชการ
วิเคราะห์ สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ได้ แก่ t-test, F-test ทีระดับนัยสําคัญ
ทางสถิ ติ 0.05 ในการหาปั จ จัย ที เกี ยวมีความเกี ยวข้ อง ระหว่างปั จจัย พืนฐานกับตัวแปร และ
Pearson Correlation ทีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ในการวิเคราะห์หาสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร
โดยใช้ สถิติ LSD ในการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่
บทที 4

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลในการศึกษา “การจัดการปั ญหานําท่วมและการมีส่วนร่ วมของ


ชุมชน: กรณีศกึ ษา หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร”
4.1 ผลการเก็บรวบรวมข้ อมูลแบบสอบถาม
4.1.1 ข้ อมูลพืนฐาน (ลักษณะส่วนบุคคล)
4.1.2 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วม
4.1.3 ช่องทางการรับทราบข้ อมูลข่าวสาร
4.1.4 ผลกระทบทีได้ รับจากปั ญหานําท่วมในชุมชน
4.1.5 การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหา
4.1.6 การมีสว่ นร่วมในการรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
4.1.7 ความพึงพอใจต่อการทํางานของหน่วยงานทีเกียวข้ อง
4.2 ผลการทดสอบสมมติฐาน
4.3 ผลการศึกษาเชิงนโยบาย และการจัดการ
46

4.1 ผลการเก็บรวบรวมข้ อมูลแบบสอบถาม

4.1.1 ข้ อมูลพืนฐานส่ วนบุคคล


จากการศึกษากลุม่ ตัวอย่างประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง จํานวน 360 คน
ผลการศึกษามีดงั นี (ตารางที 4.1)
กลุม่ ตัวอย่างเป็ นผู้หญิง จํานวน 203 คน คิดเป็ นร้ อยละ 56.4 และเป็ นผู้ชายจํานวน 157
คน คิดเป็ นร้ อยละ 43.6
กลุม่ ตัวอย่างทีมีอายุไม่เกิน 15 ปี จํานวน 17 คน คิดเป็ นร้ อยละ 4.7 อายุระหว่าง 16-30
ปี จํานวน 98 คน คิดเป็ นร้ อยละ 27.2 อายุ 31-45 ปี จํานวน 104 คน คิดเป็ นร้ อยละ 28.9 อายุ
46-60 ปี จํานวน 92 คน คิดเป็ นร้ อยละ 25.6 และอายุมากกว่า 60 ปี ขึนไป จํานวน 49 คน คิดเป็ น
ร้ อยละ 13.6
กลุม่ ตัวอย่างนับถือศาสนาพุทธเป็ นส่วนใหญ่โดยมีจํานวน 307 คน คิดเป็ นร้ อยละ 85.3
นับถือศาสนาอิสลาม จํานวน 51 คน คิดเป็ นร้ อยละ 14.2 และศาสนาคริสต์ จํานวน 1 คน คิดเป็ น
ร้ อยละ 0.3 นอกจากนีมีผ้ ไู ม่ตอบคําถามนี 1 คน คิดเป็ นร้ อยละ 0.3
กลุม่ ตัวอย่างมีวฒุ ิการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี มีจํานวนมากทีสุด จํานวน 173 คน คิด
เป็ นร้ อยละ 48.1 อนุปริญญา ปวส./ปวช. จํานวน 80 คน คิดเป็ นร้ อยละ 22.2 ระดับมัธยมศึกษา
จํานวน 71 คน คิดเป็ นร้ อยละ 19.7 วุฒิการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี จํานวน 24 คน คิดเป็ นร้ อยละ
6.7 และระดับการศึกษาชันประถมหรื อตํากว่ามี 11 คน คิดเป็ นร้ อยละ 3.1 นอกจากนีมีผ้ ไู ม่ตอบ
คําถาม 1 คน คิดเป็ นร้ อยละ 0.3
กลุ่ม ตัวอย่ างเกิ น กว่ากึ งหนึงสมรสแล้ วมี จํ า นวน 222 คน คิ ด เป็ นร้ อยละ 61.7 กลุ่ม
ตัวอย่างทีเป็ นโสด 123 คน คิดเป็ นร้ อยละ 34.2 หย่าร้ าง 1 คน คิดเป็ นร้ อยละ 0.3 และตอบอืนๆ
12 คน คิดเป็ นร้ อยละ 3.3 โดยใน 12 คนนีระบุวา่ คูส่ มรสเสียชีวิตแล้ ว 10 คน และมี 2 คนทีไม่ระบุ
นอกจากนียังมีผ้ ทู ีไม่ตอบคําถามข้ อนี 2 คน
กลุม่ ตัวอย่างทีตอบแบบสอบถามระบุจํานวนสมาชิกในครอบครัวน้ อยทีสุดคือ 1 คน และ
มากทีสุดคือ 10 คน โดยเฉลียแล้ วกลุม่ ตัวอย่างมีสมาชิกในครอบครัว ครอบครัวละ 4 คน
กลุม่ ตัวอย่างทีตอบแบบสอบถามระบุเวลาทีอาศัยอยู่ในชุมชนน้ อยทีสุดคือ 2 ปี และมาก
ทีสุดคือ 39 ปี เฉลียแล้ วกลุม่ ตัวอย่างอาศัยในชุมชนมานาน 19 ปี
กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ มีสถานภาพเป็ นผู้อยู่อาศัย จํานวน 246 คน คิดเป็ นร้ อยละ 68.3
และกลุม่ ตัวอย่างทีเป็ นหัวหน้ าครอบครัว จํานวน 114 คน คิดเป็ นร้ อยละ 31.7
47

กรรมสิท ธิ ในการถื อครองที อยู่อาศัย ของกลุ่ม ตัวอย่าง เกิ น กว่ากึงหนึงเป็ นผู้อยู่อาศัย


จํานวน 204 คน คิดเป็ นร้ อยละ 56.7 เป็ นเจ้ าของทีอยู่อาศัย จํานวน 138 คน คิดเป็ นร้ อยละ 38.3
และเป็ นผู้เช่าอาศัย จํานวน 15 คน คิดเป็ นร้ อยละ 4.2 นอกจากนียังมีผ้ ไู ม่ตอบคําถาม 3 คน คิด
เป็ นร้ อยละ 0.8
กลุม่ ตัวอย่างจํานวนมากทีสุดประกอบอาชีพธุรกิจเอกชนมีจํานวน 102 คน คิดเป็ นร้ อยละ
28.3 รับจ้ าง จํานวน 72 คน คิดเป็ นร้ อยละ 20 นักเรี ยน/นักศึกษา จํานวน 51 คน คิดเป็ นร้ อยละ
14.2 และค้ าขาย จํานวน 44 คน คิดเป็ นร้ อยละ 12.2
กลุ่มตัวอย่างจํานวนมากทีสุดมีรายได้ ระหว่าง 15,001 - 25,000 บาท/ เดือน มีจํานวน
111 คน คิดเป็ นร้ อยละ 30.8 รองลงมามีรายได้ 5,001 - 15,000 บาท/ เดือน จํานวน 93 คน คิด
เป็ นร้ อยละ 25.8 ไม่มีรายได้ 72 คน คิดเป็ นร้ อยละ 20 รายได้ 35,001 - 45,000 บาท/ เดือน มี
จํานวน 46 คน คิดเป็ นร้ อยละ 5.6 น้ อยกว่า 5,000 บาท/ เดือน จํานวน 9 คน คิดเป็ นร้ อยละ 2.5
และกลุ่ม ที มี ร ายได้ ตังแต่ 55,001 บาท/ เดื อ น ขึนไป มี จํ า นวน 3 คน คิ ด เป็ นร้ อยละ 0.9
รายละเอียดดังตารางที 4.1

ตารางที 4.1 ข้ อมูลส่วนบุคคล

ข้ อมูลส่วนบุคคล จํานวน(คน) ร้ อยละ


เพศ
ชาย 157 43.6
หญิง 203 56.4
อายุ
ไม่เกิน 15 ปี 17 4.7
16 ถึง 30 ปี 98 27.2
31 ถึง 45 ปี 104 28.9
46 ถึง 60ปี 92 25.6
มากกว่า 60 ปี 49 13.6
ศาสนา
พุทธ 307 85.3
คริ ส 1 0.3
อิสลาม 51 14.2
48

ตารางที 4.1 (ต่อ)

ข้ อมูลส่วนบุคคล จํานวน(คน) ร้ อยละ


การศึกษา
ประถมศึกษาหรือตํากว่า 11 3.1
มัธยมศึกษา 71 19.7
อนุปริญญา ปวส./ ปวช. 80 22.2
ปริญญาตรี 173 48.1
สูงกว่าปริ ญญาตรี 24 6.7
สถานภาพสมรส
โสด 123 34.2
สมรส 222 61.7
หย่า 1 0.3
หม้ าย(คู่สมรสเสียชีวิต) 10 2.8
สถานภาพในครอบครัว
หัวหน้ าครอบครัว 114 31.7
ผู้อยู่อาศัย (ลูกบ้ าน) 246 68.3
ลักษณะทีอยู่อาศัย
บ้ านชันเดียว 90 25
บ้ าน 2 ชันขึนไป 90 25
อาคารชุด/ห้ องพัก
90 25
(คอนโดมิเนียม,อาพาทเม้ นท์)
อาคารพานิชย์ 90 25
กรรมสิทธิ ในทีอยู่อาศัย
เจ้ าของบ้ าน 138 38.3
ผู้เช่าอาศัย 15 4.2
ผู้อยู่อาศัย 204 56.7
49

ตารางที 4.1 (ต่อ)

ข้ อมูลส่วนบุคคล จํานวน(คน) ร้ อยละ


อาชีพ
รับราชการ 17 4.7
รัฐวิสาหกิจ 11 3.1
ธุรกิจเอกชน 102 28.3
รับจ้ าง 72 20
ค้ าขาย 44 12.2
นักเรียน / นักศึกษา 51 14.2
อืนๆ ได้ แก่
ข้ าราชการการเมือง 1 0.3
ข้ าราชการบํานาญ 25 6.9
ทีปรึกษาด้ านกฎหมาย 1 0.3
แม่บ้าน 27 7.5
ไม่มี 5 1.4
รายได้ เฉลียต่อเดือน
น้ อยกว่า 5,000 บาท 9 2.5
5,001 – 15,000 บาท 93 25.8
15,001 – 25,000 บาท 111 30.8
25,001 – 35,000 บาท 46 12.8
35,001 – 45,000 บาท 20 5.6
45,001 – 55,000 บาท 3 0.8
มากกว่า 55,001 บาท 3 0.9
ไม่มรี ายได้ 72 20
50

4.1.2 ความรู้และการรั บทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วมในหมู่บ้านนักกีฬา


แหลมทอง
ระดับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนของกลุ่มตัวอย่าง
พบว่ากลุม่ ตัวอย่างในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองเกินกว่ากึงหนึงมีความรู้เกียวกับปั ญหานํา
ท่วมในระดับสูง คือ 208 คน คิดเป็ นร้ อยละ 57.8 รองลงมาคือ ระดับปานกลาง จํานวน 86 คน คิด
เป็ นร้ อยละ 23.9 และน้ อยทีสุดคือระดับตํา จํานวน 66 คน คิดเป็ นร้ อยละ 18.3 ดังตารางที 4.2

ตารางที 4.2 ระดับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ าน


นักกีฬาแหลมทอง

ระดับความรู้ ช่วงของค่าเฉลีย จํานวน(คน) ร้ อยละ


สูง 0.67 - 1.00 208 57.8
ปานกลาง 0.34 - 0.66 86 23.9
ตํา 0.00 - 0.33 66 18.3
360 100
51

ตารางที 4.3 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

คําถาม คําตอบ ค่าเฉลียความรู้ *


การรั บทราบปั ญหานําท่ วมภายในชุมชน ใช่ ไม่ ใช่
1. ปั ญหานําท่วมชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาฯ เป็ นปั ญหาทีเกิดขึนทุกปี 338 (93.9%) 21 (5.8%) 0.94
2. สภาพปั ญหานําท่วมแต่ละครังมีผลต่อการดํารงชีวติ ของสมาชิกใน 329 (91.4%) 31 (8.6%) 0.91
ชุมชนอย่างมาก
3. ปั ญหานําท่วมแต่ละปี ได้ สร้ างความเสียหายต่อทรัพย์สินและสภาพ 319 (88.6%) 39 (10.8%) 0.89
เศรษฐกิจภายในชุมชน
4. การแก้ ปัญหานําท่วมแต่ละครังเป็ นความร่วมมือของคณะกรรมการ 164 (45.6%) 192 (53.9%) 0.46
ชุมชนและเขตสะพานสูง
5. ท่านทราบสถานทีหรื อหมายเลขโทรศัพท์ทีจะติดต่อเพือขอความ 187 (51.9) 165 (45.8%) 0.52
ช่วยเหลือในกรณีฉกุ เฉิน
คะแนนเฉลียการรับทราบปั ญหานําท่วมภายในชุมชน 0.74
ความรู้ เกียวกับสภาพภูมิศาสตร์ หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ทราบ ไม่ ทราบ
1. หมู่บ้านนักกีฬาฯ มีลําคลองขนาบทัง 2 ด้ านคือทิศตะวันตกและ 283 (78.6%) 76 (21.2%) 0.79
ตะวันออก
2. พืนทีภายในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองมีลกั ษณะเป็ นแอ่งกระทะ 281 (78.1%) 77 (21.4%) 0.78

3. จุดทีตําทีสุดในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองอยู่ตํากว่าระดับนําทะเล 227 (63.1%) 130 (36.1) 0.63


4. จุดทีเสียงต่อการทะลักของนําจากคลองทัง 2 อยู่บริเวณท้ ายซอยที 271 (75.3%) 87 (24.2%) 0.75
ติดกับคลอง 0.74
คะแนนเฉลียความรู้ เกียวกับสภาพภูมิศาสตร์ หมู่บ้านนักกี ฬาแหลม
ทอง
ความรู้ ด้านข้ อมูลการจัดการปั ญหานําท่ วมภายในชุมชน ทราบ ไม่ ทราบ
1. สํานักงานระบายนํา กทม.ได้ ติดตังเครื องสูบนําให้ หมู่บ้านอย่าง 251 (69.7%) 108 (30%) 0.69
ถาวร
2. มีเจ้ าหน้ าทีประจําการอยู่ ณ เครื องสูบนําตลอดเวลา 24 ชม. 199 (55.3%) 159 (44.2%) 0.55
3. เครื องสูบนําทังหมดประกอบด้ วย เครื องพลังงานไฟฟ้า และใช้ 202 (56.1%) 157 (43.6%) 0.56
นํามันดีเซล
4. เครื องสูบนําดีเซลทียังสามารถทํางานได้ ในกรณีเกิดไฟฟ้าดับ 202 (56.1%) 157 (43.6%) 0.56
5. กรณีฉกุ เฉินสามารถขอความช่วยเหลือเบืองต้ นจากกรรมการชุมชน 188 (52.2%) 169 (46.9%) 0.52
และอาสาสมัครประจําซอยได้
คะแนนเฉลียความรู้ ด้านข้ อมูลการจัดการปั ญหานําท่วมภายในชุมชน 0.58
ค่ าเฉลีย 0.68

หมายเหตุ: *ระดับค่าเฉลียความรู้ ดูในตารางที 4.2


52

4.1.2.1 การรับทราบปั ญหานําท่วมภายในชุมชน


ในการรับทราบปั ญหานําท่วมภายในชุมชน ประชาชนในชุมชนมีการรับทราบใน
เรื อง “ปั ญหานําท่วมชุมชนหมู่บ้านนัก กีฬาฯ เป็ นปั ญหาที เกิดขึนทุกปี ” มากทีสุด โดยมีคะแนน
การรับ ทราบปั ญ หานํ าท่วม ของกลุ่มตัวอย่าง เฉลียเท่ากับ 0.94 คะแนน รองลงมา คือ การ
รับทราบในเรื อง “ปั ญหานํ าท่วมมีผลต่อการดํารงชีวิตของสมาชิ กในชุมชน” โดยมีคะแนนการ
รับทราบเฉลีย ของกลุม่ ตัวอย่าง เท่ากับ 0.91 คะแนน และมีการรับทราบในเรือง “การแก้ ปัญหานํา
ท่วมเป็ นความร่วมมือของคณะกรรมการชุมชนและเขตสะพานสูง ” น้ อยทีสุดคือ มีคะแนนการ
รับทราบเฉลีย ของกลุม่ ตัวอย่าง เท่ากับ 0.46 คะแนน และมีคะแนนเฉลียการรับทราบปั ญหานํา
ท่วมภายในชุมชน เท่ากับ 0.74 ซึงจัดอยู่ในระดับสูง ดังตารางที 4.3
4.1.2.2 ความรู้เกียวกับสภาพภูมิศาสตร์หมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
ความรู้ ในด้ า นสภาพภูมิศ าสตร์ ของชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬ าแหลมทอง พบว่า
ประชาชนมีความรู้ใ นเรื อง “หมู่บ้ านนัก กีฬาฯ ถูก ลําคลองขนาบทัง 2 ด้ านคือทิ ศตะวัน ตกและ
ตะวันออก” มากทีสุด โดยมีคะแนนความรู้เฉลีย ของกลุม่ ตัวอย่าง เท่ากับ 0.79 คะแนน รองลงมา
คือเรือง ”พืนทีภายในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองมีลกั ษณะเป็ นแอ่งกระทะ” โดยมีคะแนนความรู้
เฉลีย ของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 0.78 คะแนน และ มีความรู้ ในเรื อง “จุดที ตําที สุดในหมู่บ้ าน
นักกีฬาแหลมทองอยู่ตํากว่าระดับนําทะเล” น้ อยทีสุด คือ มีคะแนนความรู้เฉลีย ของกลุ่มตัวอย่าง
เท่ากับ 0.63 คะแนน และมีคะแนนเฉลียความรู้เกียวกับสภาพภูมิศาสตร์ หมู่บ้านนักกีฬาแหลม
ทอง เท่ากับ 0.74 ซึงจัดอยู่ในระดับสูง ดังตารางที 4.3
4.1.2.3 ความรู้ด้านข้ อมูลการจัดการปั ญหานําท่วมภายในชุมชน
ความรู้ในด้ านการจัดการปั ญหานําท่วมของประชาชนในหมูบ่ ้ านนักกีฬาฯ พบว่า
ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรือง ”การติดตังเครืองสูบนําภายในชุมชน โดย สํานักงานระบายนํา
กทม.” มากทีสุด โดยมีคะแนนความรู้เฉลีย ของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 0.69 คะแนน รองลงมาคือ
เรือง “เครืองสูบนําทังหมดประกอบด้ วย เครืองพลังงานไฟฟ้า และใช้ นํามันดีเซล” และเรือง “เครือง
สูบ นํ าดีเซลที ยังสามารถทํางานได้ ใ นกรณี เกิ ดไฟฟ้าดับ ” โดยมีคะแนนความรู้ เฉลีย ของกลุ่ม
ตัวอย่าง เท่ากับ 0.56 คะแนน ทัง 2 เรื อง และ ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื อง “การขอความ
ช่วยเหลือจากกรรมการชุมชนและอาสาสมัครประจําซอย ในกรณีฉกุ เฉิน” น้ อยทีสุด คือ มีคะแนน
ความรู้เ ฉลีย ของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 0.52 คะแนน และมี คะแนนเฉลียความรู้ด้านข้ อมูลการ
จัดการปั ญหานําท่วมภายในชุมชน เท่ากับ 0.58 ซึงจัดอยู่ในระดับปานกลาง ดังตารางที 4.3
53

สรุ ปคะแนนความรู้และการรับ ทราบสภาพทัวไปของปั ญ หานําท่วมในหมู่บ้านนักกี ฬา


แหลมทอง โดย แบ่งชันค่าเฉลีย คะแนนความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมใน
ชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาฯ เป็ น 3 ระดับ คือ 0.00 - 0.33, 0.34 - 0.66 และ 0.67 – 1.00 พบว่ากลุ่ม
ตัวอย่างมีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาอยู่ในระดับสูง คือ มีคา่ เฉลีย ระดับ 0.68
ดังทีแสดงในตารางที 4.3

4.1.3 ช่ องทางการรับทราบข้ อมูลข่ าวสาร


การรับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชน มีกลุ่มตัวอย่างทีได้ รับทราบข้ อมูล
ข่าวสารจํานวน 284 คน คิดเป็ นร้ อยละ 78.9 และไม่ได้ รับทราบข้ อมูลข่าวสาร 74 คน คิดเป็ นร้ อย
ละ 20.6 ดังตารางที 4.4
4.1.3.1 ช่องทางข่าวสารทีเผยแพร่โดยคณะกรรมการชุมชนและคนในชุมชน
ช่องทางการกระจายข่าวสารของคณะกรรมการชุมชน ทีประชาชนในชุมชนได้ รับ
มากทีสุด คือ “การบอกเล่าต่อ ๆ กัน” มีจํานวน 278 คน คิดเป็ นร้ อยละ 77.2 รองลงมาคือ ทาง ”
สิงพิมพ์ตา่ งๆ (แผ่นพับ ใบประกาศ กระดานข้ อความ คัดเอ้ าท์ ไวล์นิล ฯลฯ)” มีจํานวน 249 คน
คิดเป็ นร้ อยละ 69.2 และ ช่องทางทีมีผ้ รู ับน้ อยทีสุดคือ “เวปไซต์ของชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลม
ทอง” จํานวน 107 คน คิดเป็ นร้ อยละ 29.7 ดังตารางที 4.4
4.1.3.2 ช่ อ งทางข่า วสารที เผยแพร่ โ ดยหน่ ว ยงานราชการ (สํ านัก งานเขต
สํานักงานระบายนํา กทม.)
ช่องทางการกระจายข่าวสารของหน่วยงานราชการ ทีประชาชนในชุมชนได้ รับ
มากทีสุด คือ ทางสือต่างๆ (โทรทัศน์ วิทยุ) มีจํานวน 264 คน คิดเป็ นร้ อยละ 73.3 รองลงมาคือ
สิงพิมพ์ต่างๆมีจํานวน 242 คน คิดเป็ นร้ อยละ 67.2 และทีน้ อยทีสุดคือ การประชาสัมพันธ์นอก
สถานทีของหน่วยงานราชการ จํานวน 75 คน คิดเป็ นร้ อยละ 20.8 ดังตารางที 4.4
54

ตารางที 4.4 การรับทราบข่าวสารเกียวกับปัญหานําท่วมในชุมชน

การรับข้ อมูลข่าวสาร จํานวน (คน) ร้ อยละ


ได้ รับ 284 78..9
ไม่ได้ รับ 74 20.6
คณะกรรมการชุมชน และคนในชุมชน
1. วิทยุชุมชน 126 35
2. รถประกาศจากคณะกรรมการชุมชน 170 47.2
3. การบอกเล่าต่อ ๆ กัน 278 77.2
4. เวปไซต์ของชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง 107 29.7
5. สิงพิมพ์ต่างๆ (แผ่นพับ ใบประกาศ กระดานข้ อความ คัดเอ้ าท์ ไวล์นิล ฯลฯ) 249 69.2
หน่วยงานราชการ (สํานักงานเขต สํานักงานระบายนํา กทม.)
1. สิงพิมพ์ต่างๆ 242 67.2
2. สือต่างๆ (โทรทัศน์ วิทยุ) 264 73.3
3. เวปไซต์ของหน่วยงานภาคราชการ ต่างๆ 107 29.7
4. การประชาสัมพันธ์นอกสถานที 75 20.8

4.1.3.3 ข้ อมูลทีได้ รับจากการกระจายข่าวสารของคณะกรรมการชุมชนและคน


ในชุมชน
สาระสําคัญของข้ อมูลข่าวสารทีเผยแพร่โดยคณะกรรมการชุมชน ทีกลุ่มตัวอย่าง
ได้ มีก ารรั บ ทราบ มากที สุด คือ การเตรี ย มตัวรับ มือ มีจํ า นวน 276 คน คิด เป็ นร้ อยละ 76.7
รองลงมาคือ การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า มี จํานวน 269 คน คิดเป็ นร้ อยละ 74.7 และทีน้ อยทีสุดคือ
ความรู้ทวไปเกี
ั ยวกับปั ญหานําท่วม มีจํานวน 243 คนคิดเป็ นร้ อยละ 67.5 ดังตารางที 4.5
4.1.3.4 ข้ อมูลทีได้ รับจากการกระจายข่าวสารของหน่วยงานราชการ
สาระสําคัญของข้ อมูลข่าวสารทีเผยแพร่โดยหน่วยงานราชการ ทีกลุ่มตัวอย่างได้
มีการรับทราบ มากทีสุด คือ การเตรียมตัวรับมือ มีจํานวน 278 คน คิดเป็ นร้ อยละ 77.2 รองลงมา
คือ ความรู้ทวไปเกี
ั ยวกับปั ญหานําท่วม มีจํานวน 260 คน คิดเป็ นร้ อยละ 72.2 และ ทีน้ อยทีสุดคือ
การขอความช่วยเหลือ มีจํานวน 162 คน คิดเป็ นร้ อยละ 45 ดังตารางที 4.5
55

ตารางที 4.5 ข่าวสารทีได้ รับ

จํานวน
สิงทีได้ รับจากการรับทราบข้ อมูลข่าวสาร ร้ อยละ
(คน)
คณะกรรมการชุมชน และคนในชุมชน
1. ความรู้ทวไปเกี
ั ยวกับปั ญหานําท่วม (เช่น ปั จจัยทีก่อให้ เกิดนําท่วม) 243 67.5
2. การเตรียมตัวรับมือ (เช่น การขนย้ ายข้ าวของขึนทีสูง) 276 76.7
3. การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า (เช่น การทําถุงนําทดแทนกระสอบทราย) 269 74.7
4. การขอความช่วยเหลือ 252 70
หน่วยงานราชการ (สํานักงานเขต สํานักงานระบายนํา กทม.)
1. ความรู้ทวไปเกี
ั ยวกับปั ญหานําท่วม (เช่น ปั จจัยทีก่อให้ เกิดนําท่วม) 260 72.2
2. การเตรียมตัวรับมือ (เช่น การขนย้ ายข้ าวของขึนทีสูง) 278 77.2
3. การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า (เช่น การทําถุงนําทดแทนกระสอบทราย) 248 68.9
4. การขอความช่วยเหลือ 162 45

สรุปคะแนนการรับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชน
คะแนนการรับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชน ซึงพิจารณาจากการได้ รับ
ข่าวสารผ่านช่องทางต่างๆ (ตารางที 4.4) ทีมีทังสิน 9 ช่องทาง จากทังคณะกรรมการชุมชน และ
หน่วยงานราชการ มีคะแนนเต็ม 9 คะแนน โดยแบ่งชันคะแนน เป็ น 3 ระดับ คือ 0-2 คะแนน 3-5
คะแนน และ 6-9 คะแนน พบว่ากลุ่มตัวอย่างจํานวนมากทีสุด จํานวน 155 คน คิดเป็ นร้ อยละ
43.1 มีคะแนนการรับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมอยู่ในระดับสูง รองลงมาคือระดับปาน
กลาง จํานวน 119 คน คิดเป็ นร้ อยละ 33.1 และน้ อยทีสุด คือ ระดับตํา มีจํานวน 86 คน คิดเป็ น
ร้ อยละ 23.8ดังในตารางที 4.6

ตารางที 4.6 ระดับคะแนนการรับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชน

ระดับการรับข่าวสาร ช่วงของค่าเฉลีย จํานวน(คน) ร้ อยละ


สูง 6-9 155 43.1
ปานกลาง 3-5 119 33.1
ตํา 0-2 86 23.8
360 100
56

4.1.4 ผลกระทบทีได้ รับจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน


จากการสํารวจผลกระทบจากปั ญหานํ าท่วมในกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ปั ญหานํ าท่วมใน
ชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง ส่งผลกระทบต่อ การคมนาคม มากทีสุด โดยมีคะแนนเฉลียของผู้
ทีได้ รับผลกระทบเท่ากับ 3.79 คะแนน รองลงมาคือ ผลกระทบต่อการประกอบอาชีพ/กิจการ มี
คะแนนเฉลียของผู้ทีได้ รับผลกระทบเท่ากับ 3.56 คะแนน และทีน้ อยทีสุดคือ ผลกระทบด้ านการ
ติดต่อสือสารหรือปฏิสมั พันธ์กบั ชุมชน โดยมีคะแนนเฉลียของผู้ทีได้ รับผลกระทบ 1.84 คะแนน ดัง
ในตารางที 4.7
สรุปคะแนนระดับผลกระทบจากปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง โดย
การแบ่งชันค่าเฉลียผลกระทบ เป็ น 3 ระดับ ได้ แก่ 1.00 - 2.33 ผลกระทบอยู่ในระดับตํา 2.34 -
3.67 ระดับปานกลาง และ 3.68 - 5.00 อยู่ในระดับ สูง พบว่า คะแนนเฉลียผลกระทบทังหมด
เท่ากับ 2.53 คะแนน ซึงจัดอยู่ในระดับปานกลาง ดังในตารางที 4.7
ตารางที 4.7 ผลกระทบจากปั ญหานําท่วม

ระดับผลกระทบทีได้ รับ
5 4 3 2 1
ผลกระทบ คะแนน
(ปรากฏ ระดับของผลกระทบ**
(ค่ อนข้ าง เฉลีย*
(มากทีสุด) (มาก) ผลกระทบ (น้ อยมาก)
น้ อย)
ชัดเจน)
1. ความเสียหายต่อทีอยู่อาศัย 34(9.4%) 40(11.1%) 44(12.2%) 76(21.1%) 163(45.3%) 2.16 ตํา

57
2. ความเสียหายต่อทรัพย์สินและ/หรื อของมีค่า 30(8.3%) 30(8.3%) 47(13.1%) 71(19.7%) 179(49.7%) 2.03 ตํา
3. ปั ญหาการคมนาคม 135(37.5%) 75(20.8%) 111(30.8%) 17(4.7%) 21(5.8%) 3.79 สูง
4. ปั ญหาต่อการประกอบอาชีพ/กิจการ 120(33.3%) 72(20%) 105(29.2%) 16(4.4%) 45(12.5%) 3.56 ปานกลาง
5. ปั ญหาด้ านจิตใจ 47(13.1%) 52(14.4%) 89(24.7%) 82(22.8%) 89(24.7%) 2.68 ปานกลาง
6. ปั ญหาด้ านสุขภาพ 33(9.2%) 30(8.3%) 32(8.9%) 84(23.3%) 178(49.4%) 2.02 ตํา
7. ปั ญหาต่อการอยู่อาศัย 42(11.7%) 27(7.5%) 32(8.9%) 104(28.9%) 151(41.9%) 2.15 ตํา
8. ปั ญหาด้ านการติดต่อสือสารหรื อปฏิสมั พันธ์กบั ชุมชน 29(8.1%) 25(6.9%) 27(7.5%) 63(17.5%) 212(58.9%) 1.84 ตํา
2.53 ปานกลาง

หมายเหตุ: * คะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนนตําสุดเท่ากับ 1


** ระดับของผลกระทบ 1.00 - 2.33 ระดับตํา, 2.34 - 3.67 ระดับปานกลาง, 3.68 - 5.00 ระดับสูง
58

4.1.5 การเตรียมความพร้ อมรับมือปั ญหา


จากการสํารวจการเตรี ยมตัวเพือรับ มือกับปั ญหานําท่วมของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า การ
เตรียมความพร้ อมทีมีผ้ ปู ฏิบตั ิมากทีสุดคือ การป้องกันทรัพย์สินและ/หรื อของมีค่า มีคะแนนเฉลีย
คือ 2.43 คะแนน รองลงมาคือ การป้ องกันทีอยู่อาศัย มีคะแนนเฉลียคือ 2.36 คะแนน และการ
เตรียมความพร้ อมทีมีผ้ ปู ฏิบตั ิน้อยทีสุดคือ การติดต่อสือสาร มีคะแนนเฉลียคือ 1.47 คะแนน ดัง
ตารางที 4.8
สรุปคะแนนการเตรี ยมตัวเพือรับมือกับปั ญหานําท่วมของกลุ่มตัวอย่าง โดยการแบ่งชัน
ค่าเฉลียการเตรียมตัวเพือรับมือกับปั ญหานําท่วม เป็ น 3 ระดับได้ แก่ 0.00 - 1.67 อยู่ในระดับตํา
1.68 - 3.35 ระดับปานกลาง และ 3.36 - 5.00 อยู่ในระดับสูง พบว่า คะแนนเฉลียการเตรี ยมตัว
เพือรับมือกับปั ญหานําท่วมทังหมดเท่ากับ 1.96 จัดว่าอยู่ในระดับปานกลาง ดังตารางที 4.8
ตารางที 4.8 การเตรียมความพร้ อมในการรับมือกับสภาวะนําท่วม

ระดับของการเตรี ยมความพร้ อม
การเตรี ยมความพร้ อม 5 4 3 2 1 คะแนน ระดับการเตรี ยมความ
ไม่ ได้ ทาํ
(มากทีสุด) (มาก) (ปานกลาง) (น้ อย) (น้ อยมาก) เฉลีย* พร้ อม**

1. การป้องกันอยู่อาศัย 52(14.4%) 32(8.9%) 83(23.1%) 38(10.6%) 136(37.8%) 16(4.4%) 2.36 ปานกลาง


2. การป้องกันทรัพย์ สนิ และ/หรื อของมีค่า 64(17.8%) 32(8.9%) 71(19.7%) 39(10.8%) 136(37.8%) 15(4.2%) 2.43 ปานกลาง
3. การเตรี ยมอาหารและนําดืม 42(11.7%) 13(3.6%) 65(18.1%) 39(10.8%) 182(50.6%) 16(4.4%) 1.99 ปานกลาง
4. การเตรี ยมยารักษาโรค 37(10.3%) 15(4.2%) 59(16.4%) 41(11.4%) 184(51.1%) 20(5.6%) 1.91 ปานกลาง

59
5. การเตรี ยมพร้ อมเครื องนุง่ ห่ม 22(6.1%) 19(5.3%) 45(12.5%) 26(7.2%) 210(58.3%) 35(9.7%) 1.62 ตํา
6. การคมนาคม 34(9.4%) 33(9.2%) 48(13.3%) 48(13.3%) 146(40.6%) 47(13.1%) 1.91 ปานกลาง
7. การติดต่อสือสาร 38(10.6%) 9(2.5%) 25(6.9%) 20(5.6%) 189(52.5%) 74(20.6%) 1.47 ตํา
1.96 ปานกลาง

หมายเหตุ: * คะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนนตําสุดเท่ากับ 0


** ระดับการเตรียมความพร้ อม 0.00 – 1.67 ระดับตํา, 1.68 – 3.35 ระดับปานกลาง, 3.36 – 5.00 ระดับสูง
60

4.1.6 การมีส่วนร่ วมในการรับมือและแก้ ปัญหาของประชาชนในชุมชน


จากการสํารวจการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ปัญหานําท่วม ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า
กลุม่ ตัวอย่างมีสว่ นร่วมในกิจกรรม การบริจาคสมทบทุนซือทราย และกระสอบบรรจุ มากทีสุด คือ
มีคะแนนเฉลียเท่ากับ 1.85 คะแนน รองลงมาคือ การช่วยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร มีคะแนนเฉลียคือ
1.42 คะแนน และกิจกรรมทีมีสว่ นร่วมน้ อยทีสุดคือ การร่วมเป็ นอาสาสมัครกู้ภยั มีคะแนนเฉลียคือ
0.24 คะแนน ดังตารางที 4.9
สรุปคะแนนการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ปัญหานําท่วม ของกลุ่มตัวอย่าง โดยการ
แบ่งชันค่าเฉลียการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ปัญหานําท่วม เป็ น 3 ระดับได้ แก่ 0.00 - 1.67
อยู่ในระดับตํา 1.68 - 3.35 ระดับปานกลาง และ 3.36 - 5.00 อยู่ในระดับสูง พบว่า คะแนนเฉลีย
การมีส่วนร่ วมในการรับ มือและแก้ ปั ญหานํ าท่วมทังหมดเท่ากับ 0.70 จัดว่าอยู่ใ นระดับ ตํา ดัง
ตารางที 4.9
ตารางที 4.9 การมีสว่ นร่วมในการแก้ ปัญหานําท่วมในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

การให้ ความสําคัญต่ อกิจกรรมทีท่ านได้มีส่วนร่ วม

5 4 3 2 1
การมีส่วนร่ วม ไม่ มีส่วนร่ วม คะแนน ระดับของการมี
ในกิจกรรม เฉลีย* ส่ วนร่ วม**
(มีส่วนร่ วมทุก (มีส่วนร่ วม (มีส่วนร่ วมเป็ น (มีส่วนร่ วม (มีส่วนร่ วม
ครั ง) เกือบทุกครั ง) บางครั ง) น้ อย) น้ อยมาก)
1. ช่วยเผยแพร่ข้อมูลภายในชุมชน 22(6.1%) 21(5.8%) 33(9.2%) 17(4.7%) 185(51.4%) 75(20.8%) 1.42 ตํา
2. บริจาคเงินซือกระสอบทราย 23(6.4%) 26(7.2%) 61(16.9%) 78(21.7%) 109(30.3%) 57(15.8%) 1.85 ปานกลาง
3. ช่วยบรรจุกระสอบทราย 9(2.5%) 13(3.6%) 15(4.2%) 2(0.6%) 9(2.5%) 304(84.4%) 0.43 ตํา
4. ช่วยขน/ ทําแนวกระสอบทรายกันนํา 10(2.8%) 10(2.8%) 12(3.3%) 1(0.3%) 8(2.2%) 311(86.4%) 0.38

61
ตํา
5. คอยแจ้ งเตือนระดับนําหรื อเหตุฉกุ เฉิน 13(3.6%) 5(1.4%) 10(2.8%) 3(0.8%) 8(2.2%) 314(87.2%) 0.36 ตํา
6. อาสาสมัครกู้ภยั 7(1.9%) 5(1.4%) 10(2.8%) 0(0%) 2(0.6%) 329(91.4%) 0.24 ตํา
7. อาสาสมัครเฝ้าระวังนํา 8(2.2%) 3(0.8%) 10(2.8%) 1(0.3%) 5(1.4%) 326(90.6%) 0.25 ตํา
0.70 ตํา

หมายเหตุ: * คะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนนตําสุดเท่ากับ 0


** ระดับของการมีสว่ นร่วม 0.00 – 1.67 ระดับตํา, 1.68 – 3.35 ระดับปานกลาง, 3.36 – 5.00 ระดับสูง
62

4.1.7 ความพึงพอใจต่ อการทํางานของหน่ วยงานทีเกียวข้ อง


4.1.7.1 ความพึงพอใจในการทํางานของหน่วยงานราชการ
จากการสํารวจความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่าง ในการปฏิบตั งิ านด้ านการจัดการ
ปั ญหานําท่วมในชุมชนของหน่วยงานราชการ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในด้ าน การ
ดําเนินการติดตังเครืองสูบนําภายในชุมชน มากทีสุด โดยคะแนนเฉลียคือ 2.99 คะแนน รองลงมา
คือ ด้ านการให้ ข้อมูลความรู้ด้านปั ญหานําท่วม โดยมีคะแนนเฉลียคือ 2.41 คะแนน และด้ านที
น้ อยที สุดคือ ด้ านนโยบายช่วยชดเชยค่าความเสียหาย ที เกิดจากปั ญ หานําท่วม โดยมี คะแนน
เฉลียคือ 1.29 คะแนน ดังตารางที 4.10
สรุปคะแนนความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง ในการปฏิบัติงานด้ านการจัดการ
ปั ญหานําท่วมในชุมชนของหน่วยงานราชการ โดยแบ่งคะแนน เป็ น 3 ระดับได้ แก่ 1.00 - 2.33 อยู่
ในระดับตํา 2.34 - 3.67 ระดับปานกลาง และ 3.68 - 5.00 อยู่ในระดับสูง พบว่า มีคะแนนเท่ากับ
1.89 ซึงจัดอยู่ในระดับตํา ดังตารางที 4.10
ตารางที 4.10 ความพึงพอใจในการแก้ ปัญหานําท่วมในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

ระดับของความพึงพอใจ
ความพึงพอใจในการทํางานของหน่ วยงานราชการ 5 4 3 2 1 ระดับความ
คะแนนเฉลีย*
(มากทีสุด) (มาก) (เฉยๆ) (น้ อย) (น้ อยมาก) พึงพอใจ**

1. การให้ ข้อมูลความด้ านปั ญหานําท่วม 41(11.4%) 28(7.8%) 83(23.1%) 104(28.9%) 94(26.1%) 2.41 ปานกลาง
2. การแจกกระสอบทราย 21(5.8%) 7(1.9%) 64(17.8%) 40(11.1%) 217(60.3%) 1.73 ตํา
3. เครื องสูบนํา 85(23.6%) 54(15.0%) 107(29.7%) 13(3.6%) 89(24.7%) 2.99 ปานกลาง
4. อาหารและนําดืม 8(2.2%) 8(2.2%) 39(10.8%) 16(4.4%) 277(76.9%) 1.38 ตํา
5. การอํานวยความสะดวกด้ านคมนาคม 36(10.0%) 42(11.7%) 47(13.1%) 28(7.8%) 197(54.7%) 2.06

63
ตํา
6. การอํานวยความสะดวกด้ านสาธารณสุข 6(1.7%) 10(2.8%) 30(8.3%) 23(6.4%) 279(77.5%) 1.35 ตํา
7. การชดเชยค่าเสียหาย 6(1.7%) 3(0.8%) 37(10.3%) 12(3.3%) 290(80.6%) 1.29 ตํา
1.89 ตํา

หมายเหตุ: * คะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนนตําสุดเท่ากับ 1


** ระดับความพึงพอใจ 1.00 - 2.33 ระดับตํา, 2.34 - 3.67 ระดับปานกลาง, 3.68 - 5.00 ระดับสูง
64

4.1.7.2 ความพึงพอใจในการทํางานของคณะกรรมการชุมชน
จากการสํารวจความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่าง ในการปฏิบตั ิงานด้ านการจัดการ
ปั ญหานําท่วมในชุมชนของคณะกรรมการชุมชน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในด้ านการ
สร้ างแนวกระสอบทรายตามแนวคลองติดชุมชนเพือป้องกันนําท่วม มากทีสุด โดยมีคะแนนเฉลีย
คือ 3.94 คะแนน รองลงมาคือ การจัดตังจุดประสานงานหน้ าลานเอนกประสงค์ของหมู่บ้าน โดย
คะแนนเฉลียคือ 3.93 คะแนน และมีความพึงพอใจในด้ านการรับอาสาสมัครเฝ้าระวังและรายงาน
สภาวะนําท่วม น้ อยทีสุด คือ มีคะแนนเฉลีย 3.46 คะแนน
ดังตารางที 4.11
สรุปคะแนนความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง ในการปฏิบัติงานด้ านการจัดการ
ปั ญหานําท่วมในชุมชนของคณะกรรมการชุมชน โดยแบ่งคะแนน เป็ น 3 ระดับได้ แก่ 1.00 - 2.33
อยู่ในระดับตํา 2.34 - 3.67 ระดับ ปานกลาง และ 3.68 - 5.00 อยู่ในระดับ สูง พบว่า มีคะแนน
เท่ากับ 3.71 ซึงอยู่ในระดับสูง ดังตารางที 4.11
ตารางที 4.11 ความพึงพอใจในการแก้ ปัญหานําท่วมในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

ระดับของความพึงพอใจ
ความพึงพอใจในการทํางานของคณะกรรมการชุมชน 5 4 3 2 1 ระดับความ
คะแนนเฉลีย*
(มากทีสุด) (มาก) (เฉยๆ) (น้ อย) (น้ อยมาก) พึงพอใจ**

1. การให้ ข้อมูลความรู้ ด้านปั ญหานําท่วม 209(58.1%) 46(12.8%) 35(9.7%) 7(1.9%) 52(14.4%) 3.89 สูง
2. การเปิ ดรับบริจาคเงิน/ วัสดุเพือการจัดทํากระสอบทราย 203(56.4%) 56(15.6%) 35(9.7%) 8(2.2%) 48(13.3%) 3.91 สูง
3. การสร้ างกระสอบทรายตามแนวคลอง 205(56.9%) 66(18.3%) 22(6.1%) 6(1.7%) 51(14.2%) 3.94 สูง
4. การจัดตังจุดประสานงานหน้ าลานเอนกประสงค์ 207(57.5%) 59(16.4%) 27(7.5%) 5(1.4%) 51(14.2%) 3.93 สูง
5. การจัดตังทีมอาสากู้ภยั 146(40.6%) 65(18.1%) 68(18.9%) 14(3.9%) 55(15.3%) 3.55 ปานกลาง

65
6. การตังทีมงานเฝ้าระวังและรายงานสภาวะนําท่วม 149(41.4%) 55(15.3%) 70(19.4%) 17(4.7%) 57(15.8%) 3.52 ปานกลาง
7. การรับอาสาสมัครเฝ้าระวังและรายงานสภาวะนําท่วม 144(40.0%) 58(16.1%) 64(17.8%) 21(5.8%) 60(16.7%) 3.46 ปานกลาง
8. อาสาสมัครสาธารณสุข 143(39.7%) 56(15.6%) 72(20.0%) 17(4.7%) 60(16.7%) 3.47 ปานกลาง
3.71 สูง

หมายเหตุ: * คะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนนตําสุดเท่ากับ 1


** ระดับความพึงพอใจ 1.00 - 2.33 ระดับตํา, 2.34 - 3.67 ระดับปานกลาง, 3.68 - 5.00 ระดับสูง
66

4.2 ผลการทดสอบสมมติฐาน

สมมติฐานที 1 ประชาชนทีมีปั จจัยส่วนบุคคลทีแตกต่างกัน มีความรู้และการรับทราบ


สภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
ปั จจัยส่วนบุคคลทีมีความสัมพันธ์กับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานํา
ท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง ได้ แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และลักษณะของอาชีพ ที
ระดับความเชือมันร้ อยละ 95 ผลการทดสอบสมมติฐาน มีรายละเอียดดังนี
สมมติฐานที 1.1 ประชาชนในชุมชนทีมีเพศแตกต่างกันมีความรู้และการรับทราบ
สภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐ าน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ าน
นักกี ฬาแหลมทองทีมีเพศทีต่างกันมี ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญ หานํ าท่วมใน
ชุมชนทีแตกต่างกัน พบว่าค่า Significant มากกว่า 0.05 แสดงว่า ประชาชนทีมีเพศทีต่างกัน มี
ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ
ทางสถิติทีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.12

ตารางที 4.12 การทดสอบสมมติฐานระหว่างเพศกับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของ


ปั ญหานําท่วมภายในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

ความรู้ และการรั บทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วม


(n=360)
เพศ t(df) P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ชาย 157 9.6178 4.04547
0.129 0.732
หญิง 203 9.5616 4.13389

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


t(df) คือ การทดสอบสมมติฐานแบบสองตัวแปรทีอิสระจากกัน (Independent
Sample t-test)
67

สมมติฐานที 1.2 ประชาชนในชุมชนทีมีอายุแตกต่างกันมีความรู้และการรับทราบ


สภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอายุแตกต่างกันมี ความรู้และการ
รับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ
0.05 ดังตารางที 4.13

ตารางที 4.13 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอายุกบั ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของ


ปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

ความรู้ และการรั บทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วม


(n=360)
อายุ F P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ไม่เกิน15ปี 17 3.3529 0.99632 35.009 0.000
16-30ปี 98 7.4184 4.0865
31-45ปี 104 11.1058 3.52775
46-60ปี 92 11.4891 2.90696
มากกว่า60ปี 49 9.2857 3.59398

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.14 ดังนี
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอายุไม่เกิน 15 ปี มีความรู้และ
การรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับ ประชาชนในช่วงอายุ 16 ถึง 30
ปี ประชาชนในช่วงอายุ 31 ถึง 45 ปี ประชาชนในช่วงอายุ 46 ถึง 60 ปี และประชาชนในช่วงอายุ
60 ปี ขึนไป
68

ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอายุ 16 ถึง 30 ปี มีความรู้และ


การรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนในช่วงอายุ 31 ถึง 45
ปี ประชาชนในช่วงอายุ 46 ถึง 60 ปี และประชาชนในช่วงอายุ 60 ปี ขึนไป
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอายุ 31 ถึง 45 ปี มีความรู้และ
การรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนในช่วงอายุ 60 ปี ขึนไป

ตารางที 4.14 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


ระดับอายุ (I) ระดับอายุ (J) P-Value*
(I-J) 1

ไม่เกิน15ปี 16-30ปี 4.06543 0.000


31-45ปี 7.75283 0.000
46-60ปี 8.13619 0.000
มากกว่า60ปี 5.93277 0.000
16-30ปี 31-45ปี 3.6874 0.000
46-60ปี 4.07076 0.000
มากกว่า60ปี 1.86735 0.002
31-45ปี มากกว่า60ปี 1.82005 0.003

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 1.3 ประชาชนที มีระดับ การศึก ษาทีแตกต่างกันมี ความรู้ และการ


รับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนักกี ฬาแหลมทองที มีระดับ การศึก ษาแตกต่างกัน มี
ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทาง
สถิติทีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.15
69

ตารางที 4.15 การทดสอบสมมติฐานระหว่างระดับการศึกษากับความรู้และการรับทราบสภาพ


ทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

ความรู้ และการรั บทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วม


(n=360)
ระดับการศึกษา F P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ประถมหรื อตํากว่า 11 7 4.79583 14.067 0.000
มัธยมศึกษา 71 6.8169 4.44107
อนุปริญญา ปวส./ปวช. 80 10.5 3.76526
ปริญญาตรี 173 10.3295 3.57984
สูงกว่าปริญญาตรี 24 10.8333 3.01686

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.16 ดังนี
ประชาชนในหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีระดับการศึกษาชันประถมศึกษาหรื อ
ตํากว่า มีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนที
มีการศึกษาในระดับอนุปริญญา ปวส./ปวช. ระดับการศึกษาปริ ญญาตรี และ ระดับการศึกษาสูง
กว่าปริญญาตรี
ประชาชนในหมู่บ้านนักกี ฬาแหลมทองทีมีระดับ การศึก ษาชันมัธยมศึกษา มี
ความรู้ และการรั บ ทราบสภาพทัวไปของปั ญ หานํ าท่ วมในชุมชนที แตกต่า งกับ ประชาชนที มี
การศึกษาในระดับอนุปริ ญญา ปวส./ปวช. ระดับการศึกษาปริ ญญาตรี และ ระดับการศึกษาสูง
กว่าปริญญาตรี
70

ตารางที 4.16 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


ระดับการศึกษา (I) ระดับการศึกษา (J) P-Value*
(I-J) 1
ประถมหรือตํากว่า อนุปริญญา ปวส./ปวช. 3.5000 0.005
ปริญญาตรี 3.3295 0.005
สูงกว่าปริ ญญาตรี 3.8333 0.006
มัธยม อนุปริญญา ปวส./ปวช. 3.6831 0.000
ปริญญาตรี 3.5126 0.000
สูงกว่าปริ ญญาตรี 4.0164 0.000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 1.4 ประชาชนทีมีอาชีพแตกต่างกันมีความรู้และการรับทราบสภาพ


ทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอาชีพแตกต่างกันมีความรู้และการ
รับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ
0.05 ดังตารางที 4.17
71

ตารางที 4.17 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของ


ปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

ความรู้ และการรั บทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วม


(n=360)
อาชีพ F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน(คน) ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

ราชการ 17 9.5882 3.98527 31.688 0.000


รัฐวิสาหกิจ 11 10.0000 2.72029
ธุรกิจเอกชน 102 10.6961 3.50894
รับจ้ าง 72 10.5417 3.8673
ค้ าขาย 44 11.5682 2.5645
นักเรียน/นักศึกษา 51 3.8039 1.78907
อืนๆ 61 10.1148 3.60138

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.18 ดังนี
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองที ประกอบอาชี พรับ ราชการ มี
ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนทีประกอบ
อาชีพค้ าขาย และ อาชีพนักเรียนนักศึกษา
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพรัฐวิสาหกิจ อาชีพ
ธุรกิจเอกชน และอาชีพรับจ้ าง มีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนที
แตกต่างกับประชาชนทีประกอบอาชีพนักเรียน/นักศึกษา
72

ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพค้ าขาย มี ความรู้


และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนทีประกอบอาชีพ
รับราชการ นักเรียน/นักศึกษา และอาชีพอืนๆ(ทีไม่ได้ ระบุไว้ ในตัวเลือก)
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีเป็ นนักเรี ยน/นักศึกษา มีความรู้
และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนทีประกอบอาชีพ
รับราชการ อาชีพรัฐวิสาหกิจ อาชีพธุรกิจเอกชน อาชีพรับจ้ าง อาชีพค้ าขาย และอาชีพอืนๆ(ทีไม่ได้
ระบุไว้ ในตัวเลือก)

ตารางที 4.18 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


อาชีพ (I) อาชีพ (J) P-Value*
(I-J) 1
ราชการ ค้ าขาย 1.97995 0.037
นักเรียน/นักศึกษา 5.78431 0.000
รัฐวิสาหกิจ นักเรียน/นักศึกษา 6.19608 0.000
ธุรกิจเอกชน นักเรียน/นักศึกษา 6.89216 0.000
รับจ้ าง นักเรียน/นักศึกษา 6.73775 0.000
ค้ าขาย นักเรียน/นักศึกษา 7.76426 0.000
อืนๆ 1.45343 0.027
นักเรียน/นักศึกษา อืนๆ 6.31083 0.000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 2 ปั จจัยส่วนบุคคลกับการรับทราบข้ อมูลข่าวสาร


ปั จ จัย ส่ว นบุค คลกับ การรับ ทราบข้ อมูล ข่าวสารของปั ญ หานํ าท่ว มในชุมชนหมู่บ้ า น
นักกีฬาแหลมทอง ได้ แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และลักษณะของอาชีพ ทีระดับความเชือมัน
ร้ อยละ 95 ผลการทดสอบสมมติฐาน มีรายละเอียดดังนี
สมมติฐ านที 2.1 ประชาชนที มีเพศแตกต่างกัน มีก ารรับ ทราบข้ อมูลข่าวสารที
แตกต่างกัน
73

จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant มากกว่า


0.05 แสดงว่า ประชาชนทีมีเพศทีแตกต่างกัน มีการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปัญหานําท่วม
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.19

ตารางที 4.19 การทดสอบสมมติฐานระหว่างเพศกับการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหา


นําท่วมในชุมชนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

การรั บทราบข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วม


(n=360)
เพศ t(df) P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ชาย 157 0.7707 0.42173 -0.742
0.141
หญิง 203 0.803 0.39875 (358)

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


t(df) คือ การทดสอบสมมติฐานแบบสองตัวแปรทีอิสระจากกัน (Independent
Sample t-test)

สมมติฐานที 2.2 ประชาชนที มีอายุแตกต่างกัน มีก ารรับทราบข้ อมูลข่าวสารที


แตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significantน้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอายุแตกต่างกัน มีการรับทราบ
ข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ
0.05 ดังตารางที 4.20
74

ตารางที 4.20 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอายุกบั การรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหา


นําท่วมในชุมชนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

การรั บทราบข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วม


(n=360)
อายุ F P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ไม่เกิน15ปี 17 0.000 0.000 32.193 0.000
16-30ปี 98 0.6531 0.47844
31-45ปี 104 0.9327 0.25177
46-60ปี 92 0.913 0.28332
มากกว่า60ปี 49 0.7959 0.7959

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.21 ดังนี
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอายุไม่เกิน 15 ปี มีการรับทราบ
ข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนแตกต่างกับประชาชนในช่วงอายุ 16 ถึง 30 ปี
ประชาชนในช่วงอายุ 31 ถึง 45 ปี ประชาชนในช่วงอายุ 46 ถึง 60 ปี และประชาชนในช่วงอายุ 60
ปี ขึนไป
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองในช่วงอายุ 16 ถึง 30 ปี มีก าร
รับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนแตกต่างกับประชาชนในช่วงอายุ 31
ถึง 45 ปี ประชาชนในช่วงอายุ 46 ถึง 60 ปี และประชาชนในช่วงอายุ 60 ปี ขึนไป
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองในช่วงอายุ 31 ถึง 45 ปี มีก าร
รับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนแตกต่างกับประชาชนในช่วงอายุ 60 ปี
ขึนไป
75

ตารางที 4.21 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


ระดับอายุ (I) ระดับอายุ (J) P-Value*
(I-J) 1

ไม่เกิน15ปี 16-30ปี 0.65306 0.000**


31-45ปี 0.93269 0.000**
46-60ปี 0.91304 0.000**
มากกว่า60ปี 0.79592 0.000**
16-30ปี 31-45ปี 0.27963 0.000**
46-60ปี 0.25998 0.000**
มากกว่า60ปี 0.14286 0.021**
31-45ปี มากกว่า60ปี 0.13677 0.026**

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 2.3 ประชาชนทีมีอาชีพแตกต่างกันมีการรับทราบข้ อมูลข่าวสารที


แตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีมีอาชีพแตกต่างกันมีการรับทราบ
ข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ
0.05 ดังตารางที 4.22
76

ตารางที 4.22 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับ


ปั ญหานําท่วมในชุมชนทีหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

การรั บทราบข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วมในชุมชน


(n=360)
อาชีพ F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน(คน) ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

ราชการ 17 0.7059 0.46967 36.412 0.000


รัฐวิสาหกิจ 11 0.9091 0.30151
ธุรกิจเอกชน 102 0.9118 0.28504
รับจ้ าง 72 0.9028 0.29834
ค้ าขาย 44 0.8864 0.32104
นักเรี ยน/นักศึกษา 51 0.1765 0.38501
อืนๆ 61 0.8852 0.32137

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.23 ดังนี
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพรับราชการ มีการ
รับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับ ปั ญ หานํ าท่ วมภายในชุมชนที แตกต่างกับประชาชนทีประกอบ
อาชีพธุรกิจเอกชน อาชีพรับจ้ าง อาชีพอาชีพนักเรี ยนนักศึกษา และอาชีพอืนๆ(ทีไม่ได้ ระบุไว้ ใน
ตัวเลือก)
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพรัฐวิสาหกิจ อาชีพ
ธุรกิจเอกชน อาชีพรับจ้ าง และอาชีพค้ าขาย มีการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม
ภายในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนทีเป็ นนักเรียน/นักศึกษา
77

ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองที เป็ นนัก เรี ย น/นัก ศึก ษา มีก าร


รับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนทีประกออาชีพ
อืนๆ(ทีไม่ได้ ระบุไว้ ในตัวเลือก)

ตารางที 4.23 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


อาชีพ (I) อาชีพ (J) P-Value*
(I-J) 1
ราชการ ธุรกิจเอกชน 0.20588 0.016
รับจ้ าง 0.1969 0.025
นักเรียน/นักศึกษา 0.52941 0.000
อืนๆ 0.17936 0.045
รัฐวิสาหกิจ นักเรียน/นักศึกษา 0.73262 0.000
ธุรกิจเอกชน นักเรียน/นักศึกษา 0.73529 0.000
รับจ้ าง นักเรียน/นักศึกษา 0.72631 0.000
ค้ าขาย นักเรียน/นักศึกษา 0.70989 0.000
นักเรียน/นักศึกษา อืนๆ 0.70878 0.000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 3 ปั จจัยส่วนบุคคลกับผลกระทบจากปั ญหานําท่วมทีได้ รับ


ปั จจัยส่วนบุคคลทีมีความสัมพันธ์กบั ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้าน
นักกีฬาแหลมทอง ได้ แก่ ลักษณะของทีอยู่อาศัย และลักษณะของการประกอบอาชีพ
สมมติฐานที 3.1 ลักษณะของทีอยู่อาศัยทีแตกต่างกัน ก่อให้ เกิดผลกระทบจาก
ปั ญหานําท่วมแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ลักษณะทีอยูอ่ าศัยในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีแตกต่างกันได้ รับผลกระทบ
จากปั ญหานําท่วมภายในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ดังตารางที
4.24
78

ตารางที 4.24 การทดสอบสมมติฐานระหว่างลักษณะของทีอยู่อาศัยกับผลกระทบจากปัญหา


นําท่วม

ผลกระทบทีได้ รับจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน


(n=360)
ทีอยู่อาศัย F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

บ้ านชันเดียว 90 23.9778 9.5764 24.392 0.000


บ้ าน 2 ชันขึนไป 90 21.5667 9.4537
อาคารชุด 90 14.6556 3.2052
อาคารพานิชย์ 90 20.6778 6.3562

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.25 ดังนี
บ้ านชันเดียวได้ รับผลกระทบแตกต่างกับทีอยู่อาศัยลักษณะอืนๆ ได้ แก่ บ้ าน 2
ชันขึนไป อาคารชุด/ห้ องพัก และอาคารพาณิ ชย์ ในขณะที บ้ านทีมี 2 ชันขึนไปได้ รับ ผลกระทบ
แตกต่างกับทีอยู่อาศัยที เป็ น อาคารชุด/ห้ องพัก และที อยู่อาศัย ทีเป็ น อาคารชุด/ห้ องพัก ได้ รับ
ผลกระทบแตกต่างจากอาคารพาณิชย์
79

ตารางที 4.25 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


อาชีพ (I) อาชีพ (J) P-Value*
(I-J) 1
บ้ านชันเดียว บ้ าน 2 ชันขึนไป 2.4111 0.0340
อาคารชุด 9.3222 0.0000
อาคารพาณิชย์ 3.3000 0.0004
บ้ าน 2 ชันขึนไป อาคารชุด 6.9111 0.0000
อาคารชุด อาคารพาณิชย์ 6.0222 0.0000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 3.2 ประชาชนทีมีอาชีพแตกต่างกันได้ รับผลกระทบจากปั ญหานํา


ท่วมแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีอาชีพแตกต่างกันได้ รับผลกระทบ
จากปั ญหานําท่วมภายในชุมชนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ดังตารางที
4.26
80

ตารางที 4.26 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับผลกระทบจากปั ญหานําท่วม

ผลกระทบทีได้ รับจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน


(n=360)
อาชีพ F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน(คน) ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

ราชการ 17 20.2353 7.6936 4.054 0.001


รัฐวิสาหกิจ 11 21.3636 5.2777
ธุรกิจเอกชน 102 21.8431 8.3793
รับจ้ าง 72 19.2500 7.7799
ค้ าขาย 44 22.2955 7.9871
นักเรียน/นักศึกษา 51 15.7255 3.9753
อืนๆ 61 20.5902 10.5173

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.27 ดังนี
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพรับราชการ อาชีพ
รัฐวิสาหกิจ และอาชีพค้ าขาย ได้ รับผลกระทบจากปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลม
ทองแตกต่างจากประชาชนทีเป็ นนักเรียน/นักศึกษา
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพธุรกิจเอกชน ได้ รับ
ผลกระทบจากปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้ านนักกีฬาแหลมทองแตกต่างกับอาชีพรับ จ้ าง และ
นักเรียน/นักศึกษา
ประชาชนในชุม ชนหมู่บ้ า นนัก กี ฬ าแหลมทองที ประกอบอาชี พรั บ จ้ างได้ รั บ
ผลกระทบจากปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองแตกต่างกับ อาชีพค้ าขาย และ
นักเรียน/นักศึกษา
81

ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองที เป็ นนัก เรี ย น/นัก ศึก ษา ได้ รับ
ผลกระทบจากปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองแตกต่างกับ อาชีพอืนๆ(ทีไม่ได้
ระบุไว้ ในตัวเลือก)

ตารางที 4.27 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


อาชีพ (I) อาชีพ (J) P-Value*
(I-J) 1
ราชการ นักเรียน/นักศึกษา 4.5098 0.046
รัฐวิสาหกิจ นักเรียน/นักศึกษา 5.6382 0.036
ธุรกิจเอกชน รับจ้ าง 2.5931 0.037
นักเรียน/นักศึกษา 6.1177 0.000
รับจ้ าง ค้ าขาย 3.0455 0.049
นักเรียน/นักศึกษา 3.5245 0.017
ค้ าขาย นักเรียน/นักศึกษา 6.5699 0.000
นักเรียน/นักศึกษา อืนๆ 4.8647 0.002

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 4 ปั จจัยส่วนบุคคลกับการเตรียมความพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วม


ปั จจัยส่วนบุคคลทีมีความสัมพันธ์กบั การเตรียมความพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
หมู่บ้านนัก กีฬาแหลมทอง ได้ แก่ ลักษณะของทีอยู่อาศัย ลักษณะของการประกอบอาชีพ และ
รายได้ ของประชากรในชุมชน
สมมติฐานที 4.1 ลักษณะของทีอยู่อาศัยทีแตกต่างกันมีการเตรี ยมความพร้ อม
รับมือปั ญหานําท่วมแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่าลักษณะทีอยู่อาศัยของประชากรทีแตกต่างกัน มีผลให้ การเตรียมตัวรับมือปั ญหานํา
ท่วมแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.28
82

ตารางที 4.28 การทดสอบสมมติฐานระหว่างลักษณะทีอยู่อาศัยกับการเตรียมพร้ อมรับมือ


ปั ญหานําท่วม

การเตรี ยมพร้ อมรั บมือปั ญหานําท่ วมในชุมชน


(n=360)
ทีอยู่อาศัย F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

บ้ านชันเดียว 90 17.9000 10.1838 23.748 0.000


บ้ าน 2 ชันขึนไป 90 15.8222 9.5806
อาคารชุด 90 8.3222 4.3675
อาคารพาณิชย์ 90 12.7333 6.9408

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.29 ดังนี
ประชาชนที อาศัย อยู่ในบ้ านชันเดียว และบ้ าน 2 ชันขึนไป มีการเตรี ยมพร้ อม
รับมือปั ญหานําท่วมแตกต่างจากประชาชนทีอาศัยอยู่ในอาคารชุด/ห้ องพัก และประชาชนทีอาศัย
อยู่ในอาคารพาณิชย์
ประชาชนทีอาศัยอยู่ในอาคารชุด/ห้ องพัก มีการเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วม
แตกต่างจากประชาชนทีอาศัยอยู่ในอาคารพาณิชย์
83

ตารางที 4.29 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


ลักษณะทีอยู่ (I) ลักษณะทีอยู่ (J) P-Value*
(I-J) 1
บ้ านชันเดียว อาคารชุด 9.5778 0.0000
อาคารพานิชย์ 5.1667 0.0000
บ้ าน 2 ชันขึนไป อาคารชุด 7.5000 0.0000
อาคารพานิชย์ 3.0889 0.0110
อาคารชุด อาคารพานิชย์ 4.4111 0.0000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 4.2 ประชาชนทีมีอาชีพแตกต่างกัน มีการเตรี ยมความพร้ อมรับมือ


ปั ญหานําท่วมแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่าลักษณะการประกอบอาชีพของประชาชนทีแตกต่างกัน มีผลให้ การเตรี ยมตัวรับมือ
ปั ญหานําท่วมแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.30
84

ตารางที 4.30 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับการเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม

การเตรี ยมพร้ อมรั บมือปั ญหานําท่ วมในชุมชน


(n=360)
อาชีพ F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน(คน) ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

ราชการ 17 14.7647 8.4965 3.652 0.002


รัฐวิสาหกิจ 11 14.0909 7.0349
ธุรกิจเอกชน 102 15.0196 9.5066
รับจ้ าง 72 13.7639 8.7218
ค้ าขาย 44 13.7955 8.7831
นักเรียน/นักศึกษา 51 8.5882 6.1617
อืนๆ 61 15.0164 8.9675

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.31 ดังนี
ประชาชนทีประกอบอาชีพรับราชการ อาชีพธุรกิจเอกชน อาชีพรับจ้ าง และอาชีพ
ค้ าขาย มีการเตรี ยมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้า นนักกีฬาแหลมทองแตกต่างจาก
ประชาชนทีเป็ นนักเรียน/นักศึกษา
ประชาชนที เป็ นนัก เรี ย น/นักศึก ษา มีก ารเตรี ย มพร้ อมรับ มือปั ญหานําท่วมใน
ชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองแตกต่างจากประชาชนทีประกอบอาชีพอืนๆ (ทีไม่ได้ ระบุไว้ ใ น
ตัวเลือก)
85

ตารางที 4.31 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


อาชีพ (I) อาชีพ (J) P-Value*
(I-J) 1
ราชการ นักเรียน/นักศึกษา 6.1765 0.011
ธุรกิจเอกชน นักเรียน/นักศึกษา 6.4313 0.000
รับจ้ าง นักเรียน/นักศึกษา 5.1757 0.001
ค้ าขาย นักเรียน/นักศึกษา 5.2072 0.004
นักเรียน/นักศึกษา อืนๆ 6.4282 0.000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 4.3 ประชาชนทีมีรายได้ แตกต่างกันมีการเตรี ยมความพร้ อมรับมือ


ปั ญหานําท่วมแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่ารายได้ ข องประชาชนที แตกต่างกัน มีผลให้ ก ารเตรี ย มตัวรับ มือปั ญ หานํ าท่ว ม
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.32
86

ตารางที 4.32 การทดสอบสมมติฐานระหว่างรายได้ กบั การเตรียมตัวรับมือปัญหานําท่วม

การเตรี ยมพร้ อมรั บมือปั ญหานําท่ วมในชุมชน


(n=360)
รายได้ ต่อเดือน F P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน

5,000 บาทหรื อน้ อยกว่า 9 16.2222 11.8192 3.131 0.003


5,001 ถึง 15,000 บาท 93 15.0212 9.5166
15,001 ถึง 25,000 บาท 111 13.3604 8.8017
25,001 ถึง 35,000 บาท 46 15.1304 7.9515
35,001 ถึง 45,000 บาท 20 14.5000 6.9092
45,001 ถึง 55,000 บาท 3 24.3333 16.7730
มากกว่า 55,000บาทขึนไป 3 17.3333 8.9629
ไม่มีรายได้ 71 10.0986 7.1237

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.33 ดังนี
ประชาชนทีมีรายได้ ไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน ประชาชนทีมีรายได้ 5,001 ถึง
15,000 บาทต่อเดือน ประชาชนทีมีรายได้ 25,001 ถึง 35,000 บาทต่อเดือน ประชาชนทีมีรายได้
35,001 ถึง 45,000 บาทต่อเดือน และประชาชนทีมีรายได้ 45,001 ถึง 55,000 บาทต่อเดือน มีการ
เตรียมตัวรับมือกับปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกับประชาชนทีไม่มีรายได้
ประชาชนทีมีรายได้ 15,001 ถึง 25,000 บาทต่อเดือน มีการเตรี ยมตัวรับมือกับ
ปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกับประชาชนทีมีรายได้ 45,001 ถึง 55,000 บาทต่อเดือน และ
ประชาชนทีไม่มีรายได้
87

ตารางที 4.33 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


รายได้ (I) รายได้ (J) P-Value*
(I-J) 1
5,000 บาทหรือน้ อยกว่า ไม่มีรายได้ 6.1236 0.046
5,001 ถึง 15,000 บาท ไม่มีรายได้ 4.9229 0.000
15,001 ถึง 25,000 บาท 45,001 ถึง 55,000 บาท 10.9729 0.031
ไม่มีรายได้ 3.2618 0.013
25,001 ถึง 35,000 บาท ไม่มีรายได้ 5.0318 0.002
35,001 ถึง 45,000 บาท ไม่มีรายได้ 4.4014 0.045
45,001 ถึง 55,000 บาท ไม่มีรายได้ 14.2347 0.005

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 5 ปั จจัยส่วนบุคคลกับการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม


ปั จจัยส่วนบุคคลทีมีความสัมพันธ์กบั การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
ในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง ได้ แก่เพศ อายุ และอาชีพ
สมมติฐานที 5.1 ประชาชนทีมีเพศทีแตกต่างกันมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข
ปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant มากกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนทีมีเพศทีต่างกัน มีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.34
88

ตารางที 4.34 การทดสอบสมมติฐานระหว่างเพศกับการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหา


นําท่วม

การส่ วนร่ วมในการรั บมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่ วม


(n=360)
เพศ t(df) P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ชาย 157 4.4904 5.8404 1.153
0.087
หญิง 203 5.2709 6.7472 (358)

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


t(df) คือ การทดสอบสมมติฐานแบบสองตัวแปรทีอิสระจากกัน (Independent
Sample t-test)

สมมติฐานที 5.2 ประชาชนทีมีอายุทีแตกต่างกันมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข


ปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนทีมีอายุทีต่างกัน มีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.35
89

ตารางที 4.35 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอายุกบั การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข


ปั ญหานําท่วม

การส่ วนร่ วมในการรั บมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่ วม


(n=360)
อายุ F P-Value*
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ไม่เกิน15ปี 17 1.1765 1.9117 6.291 0.000
16-30ปี 98 3.5408 5.1617
31-45ปี 104 4.6731 5.7428
46-60ปี 92 7.3261 8.5846
มากกว่า60ปี 49 5.0612 4.2348

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.36 ดังนี
ประชาชนอายุไม่เ กิน 15 ปี มีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่วมใน
ชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนอายุ 31 ถึง 45 ปี ประชาชนอายุ 46 ถึง 60 ปี และประชาชนทีมีอายุ
มากกว่า 60 ปี ขึนไป
ประชาชนทีมีอายุ 16 ถึง 30 ปี และประชาชนทีมีอายุ 31 ถึง 45 ปี มีส่วนร่วมใน
การรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนอายุ 46 ถึง 60 ปี
ประชาชนทีมีอายุ 46 ถึง 60 ปี มีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมใน
ชุมชนทีแตกต่างกับประชาชนทีมีอายุมากกว่า 60 ปี ขึนไป
90

ตารางที 4.36 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


ระดับอายุ (I) ระดับอายุ (J) P-Value*
(I-J) 1

ไม่เกิน15ปี 31-45ปี 3.4966 0.032


46-60ปี 6.1496 0.000
มากกว่า60ปี 3.8848 0.026
16-30ปี 46-60ปี 3.7853 0.000
31-45ปี 46-60ปี 2.6530 0.003
46-60ปี มากกว่า60ปี 2.2649 0.039

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 5.3 ประชาชนทีมีอาชีพที แตกต่างกันมีส่วนร่ วมในการรับมือและ


แก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนที มีอาชีพที ต่างกัน มีส่วนร่ วมในการรับ มือและแก้ ไขปั ญ หานํ าท่วมใน
ชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.37
91

ตารางที 4.37 การทดสอบสมมติฐานระหว่างอาชีพกับการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข


ปั ญหานําท่วม

การส่ วนร่ วมในการรั บมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่ วม


(n=360)
อาชีพ F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน(คน) ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

ราชการ 17 4.9412 5.1777 3.158 0.005


รัฐวิสาหกิจ 11 6.8182 8.0227
ธุรกิจเอกชน 102 4.3333 5.2262
รับจ้ าง 72 5.4861 7.6287
ค้ าขาย 44 6.2045 7.4477
นักเรียน/นักศึกษา 51 1.9608 4.4134
อืนๆ 61 6.3607 6.3954

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.38 ดังนี
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพรัฐวิสาหกิจ รับจ้ าง
และค้ าขาย มีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันกับประชาชนที
เป็ นนักเรียน/นักศึกษา
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีประกอบอาชีพธุรกิจเอกชน มีสว่ น
ร่วมในการรับ มือและแก้ ไขปั ญ หานํ าท่ วมในชุมชนที แตกต่างกัน กับ ประชาชนที เป็ นนัก เรี ย น/
นักศึกษา และอาชีพอืนๆ (ทีไม่ได้ ระบุไว้ ในตัวเลือก)
92

ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีเป็ นนักเรียน/นักศึกษา มีส่วนร่วม


ในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันกับประชาชนทีประกอบอาชีพอืนๆ (ที
ไม่ได้ ระบุไว้ ในตัวเลือก)

ตารางที 4.38 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของค่ าเฉลีย


อาชีพ (I) อาชีพ (J) P-Value*
(I-J) 1
รัฐวิสาหกิจ นักเรียน/นักศึกษา 4.8574 0.020
ธุรกิจเอกชน นักเรียน/นักศึกษา 2.3726 0.028
อืนๆ 2.0273 0.046
รับจ้ าง นักเรียน/นักศึกษา 3.5253 0.046
ค้ าขาย นักเรียน/นักศึกษา 4.2438 0.001
นักเรียน/นักศึกษา อืนๆ 4.3999 0.000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 5.4 ประชาชนที มีระดับ การศึก ษาทีแตกต่างกันมีส่วนร่วมในการ


รับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนทีมีระดับการศึกษาทีต่างกัน มีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานํา
ท่วมในชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.39
93

ตารางที 4.39 การทดสอบสมมติฐานระหว่างการศึกษากับการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข


ปั ญหานําท่วม

การส่ วนร่ วมในการรั บมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่ วม


ระดับการศึกษา F P-Value*
(n=360)
จํานวน ค่ าเบียงเบน
ค่ าเฉลีย
(คน) มาตรฐาน
ประถมหรือตํากว่า 11 9.3636 9.6465 2.528 0.04
มัธยมศึกษา 71 3.3944 5.3009
อนุปริญญา ปวส./ปวช. 80 4.9250 7.3962
ปริญญาตรี 173 5.2428 6.0808
สูงกว่าปริ ญญาตรี 24 5.3333 5.0188

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.40 ดังนี
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีระดับการศึกษาชันประถมหรื อ
ตํากว่า มี ส่วนร่ วมในการรับ มือและแก้ ไขปั ญ หานํ าท่ วมแตกต่างกับ ประชาชนที มี ก ารศึก ษา
ระดับชันมัธยมศึกษา อนุปริญญา ปวส./ปวช. และชันปริญญาตรี
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองที มี ระดับ การศึก ษาระดับ ชัน
มัธยมศึกษา มีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมแตกต่างกับประชาชนทีมีการศึกษา
ระดับชันปริญญาตรี
94

ตารางที 4.40 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของ
ระดับการศึกษา (I) ระดับการศึกษา (J) P-Value*
ค่ าเฉลีย (I-J) 1
ประถมหรือตํากว่า มัธยม 5.9693 0.004
อนุปริญญา ปวส./ปวช. 4.4386 0.030
ปริญญาตรี 4.1209 0.037
มัธยม ปริญญาตรี 1.8484 0.039

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

สมมติฐานที 5.5 ประชาชนทีมีรายได้ ทีแตกต่างกัน มีส่วนร่วมในการรับมือและ


แก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกัน
จากการทดสอบสมติฐาน ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 พบว่าค่า Significant น้ อยกว่า
0.05 แสดงว่า ประชาชนทีมีรายได้ ทีต่างกัน มีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่วมใน
ชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05 ดังตารางที 4.41
95

ตารางที 4.41 การทดสอบสมมติฐานระหว่างรายได้ กบั การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข


ปั ญหานําท่วม

การส่ วนร่ วมในการรั บมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่ วม


(n=360)
รายได้ ต่อเดือน F P-Value*
ค่ าเบียงเบน
จํานวน(คน) ค่ าเฉลีย
มาตรฐาน

5,000 บาทหรือน้ อยกว่า 9 8.6667 8.8882 8.132 0.000


5,001 ถึง 15,000 บาท 93 4.6237 5.6893
15,001 ถึง 25,000 บาท 111 4.4865 5.3375
25,001 ถึง 35,000 บาท 46 6.1522 6.8051
35,001 ถึง 45,000 บาท 20 5.5000 5.5298
45,001 ถึง 55,000 บาท 3 7.6667 7.5055
มากกว่า 55,000บาทขึนไป 3 27.6667 7.5056
ไม่มีรายได้ 71 3.2817 6.0644

หมายเหตุ: * ทีระดับนัยสําคัญ 0.05


F คือ การทสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA)

ผู้ศกึ ษาจึงทําการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลียรายคู่ โดยใช้ สถิติ LSD ซึง


ได้ ผลตามตารางที 4.42 ดังนี
พบว่ากลุม่ ตัวอย่างทีมีรายได้ ตํากว่า 5,000 บาทต่อเดือน มีส่วนร่วมในการรับมือ
และแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกันกับกลุ่มตัวอย่างทีมีรายได้ 15,001 ถึง 25,000 บาท
กลุม่ ตัวอย่างทีมีรายได้ มากกว่า 55,000 บาทขึนไป และกลุม่ ทีไม่มีรายได้
กลุม่ ตัวอย่างทีมีรายได้ 5,001 ถึง 15,000 บาทต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างทีมีรายได้
15,001 ถึง 25,000 บาทต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างทีมีรายได้ 35,001 ถึง 45,000 บาทต่อเดือน และ
กลุม่ ตัวอย่างทีมีรายได้ 45,001 ถึง 55,000 บาทต่อเดือน มีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหา
นําท่วมในชุมชนแตกต่างกันกับกลุม่ ตัวอย่างทีมีรายได้ มากกว่า 55,000 บาทขึนไป
96

กลุ่มตัวอย่างที มีรายได้ 25,001 ถึง 35,000 บาท มีส่วนร่วมในการรับ มือและ


แก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกันกับ กลุ่มตัวอย่างทีมีรายได้ มากกว่า 55,000 บาทขึนไป
และกลุม่ ทีไม่มีรายได้
กลุม่ ตัวอย่างทีมีรายได้ มากกว่า 55,000 บาทต่อเดือนมีสว่ นร่วมในการรับมือและ
แก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกันกับกลุม่ ตัวอย่างทีไม่มีรายได้

ตารางที 4.42 ความแตกต่างรายคู่

ความแตกต่ างของ
รายได้ (I) รายได้ (J) P-Value*
ค่ าเฉลีย (I-J) 1
5,000 บาทหรือน้ อยกว่า 15,001 ถึง 25,000 บาท 4.1802 0.042
มากกว่า 55,001 บาทขึนไป 19.0000 0.000
ไม่มีรายได้ 5.3849 0.011
5,001 ถึง 15,000 บาท มากกว่า 55,001 บาทขึนไป 23.0430 0.000
15,001 ถึง 25,000 บาท มากกว่า 55,001 บาทขึนไป 23.1802 0.000
25,001 ถึง 35,000 บาท มากกว่า 55,001 บาทขึนไป 21.5145 0.000
ไม่มีรายได้ 2.8705 0.011
35,001 ถึง 45,000 บาท มากกว่า 55,001 บาทขึนไป 22.1667 0.000
45,001 ถึง 55,000 บาท มากกว่า 55,001 บาทขึนไป 20.0000 0.000
มากกว่า 55,001 บาทขึนไป ไม่มีรายได้ 24.3849 0.000

หมายเหตุ: ทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)


* ทีระดับนัยสําคัญ 0.05

ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
1) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหา
นําท่วม กับ การรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และการรับทราบสภาพทัวไปของ
ปั ญ หานําท่วม กับ การรับ ทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับ ปั ญ หานํ าท่วมในชุมชน โดยการใช้ ค่า
สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เพียร์สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ
97

99 พบว่า มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.664 และค่า Significant น้ อยกว่า 0.01 แสดงว่า
ความรู้ และการรับ ทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วม มีความสัมพัน ธ์กับ การรับ ทราบข้ อมูล
ข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
2) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหา
นําท่วม กับ การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และการรับทราบสภาพทัวไปของ
ปั ญ หานํ าท่วม กับ การเตรี ย มพร้ อมรับ มือปั ญ หานํ าท่วมในชุมชน โดยการใช้ ค่าสัมประสิท ธิ
สหสัมพันธ์เพียร์ สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ 99 พบว่า
มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.086และค่า Significant มากกว่า 0.01 แสดงว่าความรู้และ
การรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วม ไม่มีความสัมพันธ์กบั การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานํา
ท่วมในชุมชน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
3) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานํา
ท่วมในชุมชน กับ การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหา
นําท่วมในชุมชน กับ การมีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน โดยการใช้ ค่า
สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เพียร์สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ
99 พบว่า มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.215 และค่า Significant น้ อยกว่า 0.01แสดงว่า
การรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการรับมือ
และแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
4) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานํา
ท่วมในชุมชน กับความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐฯระหว่างการเกิดปั ญหานํา
ท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหา
นํ าท่ว มในชุมชน กับ ความพึ งพอใจในการปฏิ บัติงานของหน่วยงานภาครัฐ ฯ โดยการใช้ ค่า
สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เพียร์สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ
99 พบว่า มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.246 และค่า Significant น้ อยกว่า 0.01แสดงว่า
การรับ ทราบข้ อมูล ข่าวสารเกี ยวกับ ปั ญ หานํ าท่วม มีความสัมพัน ธ์ กับ ความพึงพอใจในการ
ปฏิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐฯ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
98

5) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานํา


ท่วมในชุมชน กับความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการชุมชนระหว่างการเกิดปั ญหา
นําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหา
นําท่วมในชุมชน กับ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุมชน โดยการใช้ ค่า
สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เพียร์สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ
99 พบว่า มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.527 และค่า Significant น้ อยกว่า 0.01แสดงว่า
การรับ ทราบข้ อมูล ข่าวสารเกี ยวกับ ปั ญ หานํ าท่วม มีความสัมพัน ธ์ กับ ความพึงพอใจในการ
ปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการชุมชน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
6) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพัน ธ์ ระหว่างผลกระทบที เกิ ดจากปั ญ หานํ าท่วมใน
ชุมชน กับ การเตรี ยมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน โดยการใช้ ค่าสัมประสิทธิ สหสัมพัน ธ์
เพี ย ร์ สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) ที ระดับ ความเชื อมันร้ อยละ 99 พบว่า มีค่า
สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ0.533 และค่า Significant น้ อยกว่า 0.01แสดงว่าผลกระทบทีเกิด
จากปั ญ หานําท่วมในชุมชน มีความสัมพันธ์ กับ การเตรี ย มพร้ อมรับมือปั ญหานํ าท่วมในชุมชน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
7) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพัน ธ์ ระหว่างผลกระทบที เกิ ดจากปั ญ หานํ าท่วมใน
ชุมชน กับ การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนโดยการใช้ ค่าสัมประสิทธิ
สหสัมพันธ์เพียร์ สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ 99 พบว่า
มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ0.169 และค่า Significant น้ อยกว่า 0.01แสดงว่าผลกระทบที
เกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน มีความสัมพันธ์กบั การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานํา
ท่วมในชุมชนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
8) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐฯระหว่างการเกิดปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพัน ธ์ ระหว่างผลกระทบที เกิ ดจากปั ญ หานํ าท่วมใน
ชุมชน กับ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ ฯโดยการใช้ ค่าสัมประสิท ธิ
99

สหสัมพันธ์เพียร์ สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชื อมันร้ อยละ 99 พบว่า


มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ0.203 และค่า Significant น้ อยกว่า 0.01แสดงว่าผลกระทบที
เกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน มีความสัมพันธ์กบั ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน
ภาครัฐฯ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01
9) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการชุมชนระหว่างการเกิดปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพัน ธ์ ระหว่างผลกระทบที เกิ ดจากปั ญ หานํ าท่วมใน
ชุมชน กับ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุมชน โดยการใช้ ค่าสัมประสิท ธิ
สหสัมพันธ์เพียร์ สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ 99 พบว่า
มีคา่ สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ-0.014 และค่า Significant มากกว่า 0.01 แสดงว่า ผลกระทบ
ทีเกิ ดจากปั ญ หานํ าท่วมในชุมชน ไม่มีความสัมพัน ธ์ กับ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ
คณะกรรมการชุมชน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01 ในทิศทางตรงกันข้ าม
10) ทดสอบความสัมพัน ธ์ ระหว่างความรู้ และการรับ ทราบสภาพทัวไปของ
ปั ญหาปั ญหานําท่วม กับ การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และการรับทราบสภาพทัวไปของ
ปั ญ หาปั ญ หานํ าท่ว ม กับ การมี ส่วนร่ ว มในการรั บ มื อและแก้ ไขปั ญ หานํ าท่ วมโดยการใช้ ค่า
สัมประสิทธิ สหสัมพันธ์เพียร์สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) ทีระดับความเชือมันร้ อยละ
99 พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.116 และค่า Significant มากกว่า 0.01 แต่ค่า
Significant น้ อยกว่า 0.05 แสดงว่า ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาปั ญหานําท่วม
มีความสัมพันธ์กบั การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วม อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที
ระดับ 0.05
100

ตารางที 4.43 สรุปผลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

ค่ า
ความ
ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ สัมประสิทธิ Sig.
สัมพันธ์
สหสัมพันธ์
1. ความรู้ และการรับทราบสภาพทัวไป การรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 0.664 0.000 
ของปั ญหานําท่วม

2. ความรู้ และการรับทราบสภาพทัวไป การเตรี ยมพร้ อมรับมือปั ญหา 0.086 0.103 


ของปั ญหานําท่วม

3. การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข การรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 0.215 0.000 


ปั ญหานําท่วม

4. ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของ การรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 0.246 0.000 


หน่วยงานภาครัฐฯ

5. ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของ การรับทราบข้ อมูลข่าวสาร 0.527 0.000 


คณะกรรมการชุมชน

6. ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วม การเตรี ยมพร้ อมรับมือปั ญหา 0.533 0.000 


7. การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วม 0.169 0.001 
ปั ญหานําท่วม ในชุมชน

8. ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของ ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วม 0.203 0.000 


หน่วยงานภาครัฐฯ ในชุมชน

9. ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของ ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วม -0.014 0.795 


คณะกรรมการชุมชน ในชุมชน

10. การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไข ความรู้ และการรับทราบสภาพ 0.116 0.028 *


ปั ญหานําท่วม ทัวไปของปั ญหานําท่วม

 มีความสัมพันธ์อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.01


 ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.01
* มีความสัมพันธ์อย่างมีนยั สําคัญทางสถิตทิ ีระดับ 0.05
101

4.3 ผลการศึกษาเชิงนโยบาย และการจัดการ

ผู้ศกึ ษาได้ ทําการศึกษานโยบาย การจัดการ และมาตรการต่างๆ ทีใช้ ในการแก้ ไขปั ญหา


นํ าท่ ว มในชุ ม ชนหมู่บ้ านนั ก กี ฬ าแหลมทอง ทั งจากหน่ ว ยงานราชการที เกี ยวข้ อง และ
คณะกรรมการชุมชน

4.3.1 การศึกษานโยบายและการจัดการของหน่ วยงานราชการ


หน่วยงานราชการทีเกียวข้ องกับปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ได้ แก่
สํานัก งานเขตสะพานสูง สํา นัก การระบายนํ าเขตกรุ งเทพมหานคร และสํา นัก การโยธาเขต
กรุงเทพมหานคร
ในปี พ.ศ. 2546 สํานัก การระบายนํากรุงเทพมหานคร ได้ แก้ ปัญ หาโดยทํ าการวางท่อ
ระบายนําพร้ อมวางเครืองสูบนํา ไว้ ตามจุดต่างๆ ดังนี
4.3.1.1 วางท่อระบายนําขนาดเส้ นผ่านศูนย์ กลาง 1.50 เมตร ที ถนนนัก กีฬา
แหลมทอง จากท้ ายหมู่บ้าน บริ เ วณซอยนักกี ฬาแหลมทอง 5 มาลงทีซอยนัก กีฬาแหลมทอง 5
ระบายลงคลองทับช้ างล่าง
4.3.1.2 วางท่อระบายนํ าขนาดเส้ น ผ่านศูน ย์ก ลาง1.20 เมตร จากปากซอย
นักกีฬาแหลมทอง 12 ถึงท้ ายซอยนักกีฬาแหลมทอง 12 ลงสูค่ ลองทับช้ างบน
4.3.1.3 สํานักงานเขตสะพานสูงได้ วางท่อระบายนําขนาดเส้ น ผ่านศูน ย์กลาง
1.00 เมตร จากปากซอยนักกีฬาแหลมทอง 48 เขาสูซ่ อยนักกีฬาแหลมทอง 40 แยก 1 ถึงนักกีฬา
แหลมทอง 40 แยก 1-4 ระบายลงคลองทับช้ างบน ตามรูปภาพที 4.1
102

ภาพที 4.1 แสดงแนวท่อระบายนําทีปรับปรุงใหม่

4.3.1.4 สํานักงานเขตสะพานสูงได้ ตงเครื


ั องสูบนํ าที บริ เวณท้ ายซอยนักกี ฬา
แหลมทอง 3 ระบายนํ าลงคลองทับ ช้ างล่าง โดยเครื องสูบ นํ าทัง 4 จุด อยู่ใ นความดูแลของ
สํานักงานเขตสะพานสูง มีเจ้ าหน้ าทีดูแลการระบายนํา ซึงพร้ อมปฏิบัติงานตลอด 24 ชัวโมง ดัง
รูปภาพที 4.2
103

ภาพที 4.2 แสดงตําแหน่งของเครืองสูบนําในจุดต่างๆ

นอกจากนี สํางานเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร ยังได้ วางมาตรการในการ


เตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วม ดังนี
1) มาตรการการลอกท่อระบายนํา กําจัดตะกอนและสิงปฏิกูลทีอุดตัน
ท่อระบายนําในชุมชนปี ละ 1 ครัง โดยการจ้ างเหมากรมราชทัณฑ์
2) มาตรการการพร่องนําในท่อระบายนําเพือเตรี ยมรับนําจากฤดูฝนใน
เดือนพฤษภาคม(สํานัก การระบายนํ า, 2547) โดยทํ าการสูบ นํ าจากบ่อพัก นํ าทิ งลงสู่ท างนํ า
ธรรมชาติ
3) มาตรการการแจกกระสอบทรายแก่ประชาชนในเขตสะพานสูง เพือ
นําไปป้องกันนําทีอาจท่วมสูท่ ีอยู่อาศัย
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 สํานักงานเขตสะพานสูงได้ ดําเนินแผนการปรับปรุงยกระดับ
ผิวการจราจร สูงขึนจากเดิม 0.35 เมตร ประกอบด้ วยหินคลุกหนา 0.15 เมตร และคอนกรี ตหนา
0.20 เมตร โดยเพิมความกว้ างของช่องการจราจรทังขาเข้ าและออกโดยทําการลดขนาดความ
กว้ างของเกาะกลางเดิมมีขนาด 2.00 ถึง 2.50 เมตร เหลือขนาดเพียง 1.00 เมตร และการสร้ าง
104

ช่องรับนําหน้ าคันหินมีขนาดความกว้ าง 0.80 เมตร นอกจากนียังมีโครงการสร้ างช่องรับนําหน้ าคัน


หินเพิมขึน 144 ช่องซึงสามารถรับนําเพือระบายลงสูท่ ่อระบายนําเร็วขึนเป็ น 2 เท่าของปั จจุบนั

4.3.2 การศึกษานโยบาย และการจัดการของคณะกรรมการชุมชน


จากการศึกษาแผนการจัดการปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้านนัก กีฬาแหลมทอง โดย
คณะกรรมการชุมชน(วาระเลือกตัง 2554) ได้ มีการเตรียมการดังนี
4.3.2.1 การเฝ้าระวังจุดเสียงทีนําสามารถไหลเข้ าท่วมพืนทีในชุมชน ได้ แก่ ซอย
นักกีฬาแหลมทอง 1/5/6/7/13/15 และ 38
4.3.2.2 การติดต่อขอให้ พืนทีโรงเรียนสมโภชกรุงอนุสรณ์ (200 ปี ) เพือเป็ นทีพัก
พิงฉุกเฉินแก่ผ้ ปู ระสบปั ญหานําท่วมทีอยู่อาศัย
4.3.2.3 การตังจุดประชาสัมพันธ์ปัญหานําท่วมในบริเวณหน้ าลานอเนกประสงค์
เพื อกระจายข่าวสาร รับ ลงทะเบี ย นผู้อพยพจากปั ญ หานํ าท่วมที อยู่อาศัย และเปิ ดรับบริ จ าค
สมทบทุนซือทรายและกระสอบทราย

ภาพที 4.3 การตังจุดประชาสัมพันธ์ปัญหานําท่วมในบริเวณหน้ าลานอเนกประสงค์ของ


คณะกรรมการชุมชน
105

4.3.2.4 การบรรจุกระสอบทราย การลําเลียงกระสอบทรายไปวางตามจุดเสียง


ต่างๆ ในชุมชน การแจกกระสอบทรายให้ ประชาชนนําไปป้องกันทีอยู่อาศัย ดังรูปภาพที 4.4 และ
รูปภาพที 4.5 ตามลําดับ และการจัดทําเอกสารเผยแพร่ ให้ ความรู้และการเตรียมการรับมือปัญหา
นําท่วมภายในชุมชน

ภาพที 4.4 การบรรจุทรายลงกระสอบ

ภาพที 4.5 การลําเลียงกระสอบทรายไปวางตามจุดเสียงต่างๆ ในชุมชน


บทที 5

สรุป อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ

การศึกษาครังนี มีจุดประสงค์เ พือศึก ษาสภาพปั ญ หานําท่ วมในชุมชนหมู่บ้ านนักกี ฬา


แหลมทอง เพื อศึกษาการรับ มือและการบริ หารจัดการปั ญ หานําท่วมในชุมชนหมู่บ้ านนัก กีฬา
แหลมทอง และเพือศึกษาปั จจัยทีมีผลต่อการจัดการปั ญหานําท่วมในชุมชน และการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการจัดการปั ญหา
กลุม่ ตัวอย่างทีใช้ ในการศึกษา ได้ แก่ ประชาชนทีอาศัยอยู่ในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลม
ทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร จํานวน 360 คน รวมทังการศึกษาแผนการดําเนินงานเพือ
รับมือนําท่วมของกรรมการชุมชน (กรรมการชุมชนทีได้ จากการเลือกตังของคนในชุมชนหมู่บ้าน
นักกีฬาแหลมทอง) เครืองมือทีใช้ ในการเก็บข้ อมูลคือ แบบสอบถามทีผู้วิจยั ได้ ออกแบบขึน สถิติที
ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้ แก่ สถิ ติพรรณนาประกอบด้ วยค่าร้ อยละ ค่าความถี ค่าเฉลีย ส่วน
เบียงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ประกอบด้ วย การทดอบ t-Test, F-Test และ Pearson
Correlation เพือทดสอบสมมติฐาน

5.1 ผลการศึกษาสภาพปั ญหานําท่ วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง

จากการศึกษาพบว่าปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง มีสาเหตุมาจาก

5.1.1 สภาพภูมิประเทศ
หมู่บ้ านนัก กีฬาแหลมทอง อยู่ตํากว่าระดับนํ าทะเล พื นทีในชุมชนมีลัก ษณะเป็ นแอ่ง
กระทะ และถูกล้ อมรอบด้ วยคลอง 2 เส้ นทังด้ านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ทําให้ มีความเสียง
ในการเกิ ด นํ าท่ ว มสูง หากเกิ ด ฝนตกหนัก และปริ ม าณนํ าในลํ า คลองเพิ มปริ ม าณขึ นสูง
107

5.1.2 สภาพสิงก่ อสร้ างในชุมชน


ในกรณีเกิดปั ญหานําท่วมในชุมชน เส้ นทางคมนาคมหลักในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลม
ทองมักถูกนําท่วมสูง ทําให้ เกิดปั ญหาในการสัญจรของประชาชนในชุมชน นอกจากนีทางระบาย
นําภาพในชุมชน ประสบปั ญ หาชํารุ ด อุดตัน และไม่สามารถรองรับ ปริ มาณการระบายนํ าใน
ปั จจุบนั ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

5.2 ผลการศึกษาการเก็บข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม

5.2.1 ลักษณะส่ วนบุคคล


จากการศึก ษาพบว่า กลุ่มตัว อย่ างเกิ น กว่ากึงหนึ งเป็ นเพศหญิ ง ร้ อยละ 56.4 กลุ่ม
ตัวอย่างจํานวนมากทีสุดมีอายุระหว่าง 31-45 ปี ร้ อยละ 28.9 ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ร้ อยละ
85.3 กลุม่ ตัวอย่างจํานวนมากทีสุดมีวฒุ ิการศึกษา ในระดับปริญญาตรี ร้ อยละ 48.1 กลุม่ ตัวอย่าง
มากกว่ากึงหนึงสมรสแล้ ว คิดเป็ นร้ อยละ 61.7 กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็ นลูกบ้ านหรื อผู้อยู่อาศัย
ร้ อยละ 68.3 กลุม่ ตัวอย่างมากกว่ากึงหนึงมีลกั ษณะการครอบครองทีอยู่อาศัยเป็ นของตัวเองร้ อย
ละ 56.7 กลุ่มตัวอย่างจํานวนมากทีสุด ประกอบอาชีพ ธุรกิจเอกชน ร้ อยละ 28.3 กลุ่มตัวอย่าง
จํานวนมากทีสุดมีรายได้ เฉลียอยู่ที 15,001-25,000 บาทต่อเดือน ร้ อยละ 30.8
กลุม่ ตัวอย่างทีตอบแบบสอบถามระบุจํานวนสมาชิกในครอบครัวน้ อยทีสุดคือ 1 คน และ
มากทีสุดคือ 10 คน โดยเฉลียแล้ วกลุม่ ตัวอย่างมีสมาชิกในครอบครัว ครอบครัวละ 4 คน

5.2.2 ความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วมในหมู่บ้านนักกีฬา


แหลมทอง
5.2.2.1 การรับทราบปั ญหานําท่วมภายในชุมชน
ข้ อมูลเกียวกับปั ญหาในชุมชนที มีผ้ รู ับ ทราบมากทีสุดคือ ปั ญหานําท่วมชุมชน
หมู่บ้านนัก กีฬาฯ เป็ นปั ญหาที เกิดขึนทุกปี มี คะแนนเฉลียคือ 0.94 คะแนน และข้ อมูลเกี ยวกับ
ปั ญหาในชุมชนทีมีผ้ รู ับทราบน้ อยทีสุด คือ การแก้ ปัญหานําท่วมแต่ละครังเป็ นความร่วมมือของ
คณะกรรมการชุมชนและเขตสะพานสูงมีคะแนนเฉลียคือ 0.46 คะแนน
5.2.2.2 ความรู้เกียวกับสภาพภูมิศาสตร์ของหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
ข้ อมูลเกียวกับสภาพภูมิศาสตร์ของหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีมีผ้ รู ับทราบมาก
ที สุด คือ บริ เ วณที ตังของหมู่บ้ า นนัก กี ฬาฯ ถูก ลํา คลองขนาบทัง 2 ด้ านคือ ทิ ศ ตะวัน ตกและ
108

ตะวันออกมีคะแนนเฉลียคือ 0.79 คะแนน และทีมีผ้ ทู ีทราบน้ อยทีสุดคือ จุดทีตําทีสุดในหมู่บ้าน


นักกีฬาแหลมทองอยู่ตํากว่าระดับนําทะเล มีคะแนนเฉลียคือ 0.63 คะแนน
5.2.2.3 ความรู้ด้านข้ อมูลการจัดการปั ญหานําท่วมภายในชุมชน
ข้ อมูล เกี ยวกับ การจัดการปั ญ หานํ าท่วมในชุมชนที มีผ้ ูรับ ทราบมากที สุดคื อ
สํานัก งานระบายนํา กทม.ได้ ติดตังเครื องสูบ นําให้ หมู่บ้านอย่างถาวร มี คะแนนเฉลียคือ 0.69
คะแนน ข้ อมูลเกียวกับการจัดการปั ญหานําท่วมในชุมชนทีมีผ้ รู ับทราบน้ อยทีสุดคือ การขอความ
ช่วยเหลือเบืองต้ นจากกรรมการชุมชนและอาสาสมัครประจําซอยได้ ในกรณีฉกุ เฉินมีคะแนนเฉลีย
คือ 0.52 คะแนน

5.2.3 ช่ องทางการรับทราบข้ อมูลข่ าวสาร


การรับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชนผู้ทีได้ รับทราบข้ อมูลข่าวสารมีจํานวน
284 คน คิดเป็ นร้ อยละ 78.9 และไม่ได้ รับข้ อมูลข่าวสาร 74 คน คิดเป็ นร้ อยละ 20.6
ช่องทางการกระจายข่าวสารทีเผยแพร่โดยคณะกรรมการชุมชน ทีมีผ้ รู ับมากทีสุดคือ การ
กระจายข่าวสารโดยการบอกเล่าต่อ ๆ กันมีจํานวน 278 คน คิดเป็ นร้ อยละ 77.2 รองลงมาคือ การ
กระจายข่าวสารผ่านทางสิงพิ มพ์ ต่า งๆ ตัว อย่างเช่น แผ่น พับ ใบประกาศ กระดานข้ อความ
คัดเอ้ าท์ ไวล์นิล ฯลฯ มีจํานวน 249 คน คิดเป็ นร้ อยละ 69.2 และช่องทางการกระจายข่าวสารทีมี
ผู้รับน้ อยทีสุด คือ การแจ้ งข่าวสารผ่านทางเวปไซต์ของชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองซึงมีผ้ รู ับ
จํานวน 107 คน คิดเป็ นร้ อยละ 29.7และผู้ทีได้ รับทราบข้ อมูล
ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภายในชุมชนโดยการบอกเล่า พูดคุยเป็ นหัวข้ อในการ
สนทนา เป็ นการกระจายข่าวสารทีดีทีสุด โดยผู้ให้ และผู้รับข่าวสารจะอยู่ในระดับเดียวกัน (Peer-
to-Peer) ซึงในทีนีหมายถึงการเป็ นผู้อยู่อาศัยในชุมชนเช่นเดียวกัน โดยผู้รับข่าวสารอาจได้ รับโดย
ความสมัครใจ หรือผู้รับแสวงหาข่าวสารนัน (Information Seeking) เพราะเป็ นประโยชน์แก่ตวั เอง
หรื อ อาจเป็ นการรับข่าวสารด้ วยความไม่เต็มใจ (Information Yielding) ซึงเกิดขึนเพราะผู้รับอาจ
มีความเกรงใจไม่กล้ าปฏิเสธหัวข้ อสนทนา หรือเป็ นการบอกเล่าซํากันของคนหลายคนจนผู้รับไม่
อาจหลีกเลียงข่าวสารได้ (Information Avoidance)
ช่องทางการกระจายข่าวสารทีเผยแพร่โดยหน่วยงานราชการ (สํานักงานเขต สํานักงาน
ระบายนํา กทม.) ทีมีผ้ รู ับมากทีสุดคือ การแจ้ งข่าวสารผ่านทางสือต่างๆ (โทรทัศน์ วิทยุ) จํานวน
264 คน คิดเป็ นร้ อยละ 73.3 รองลงมาคือ การเผยแพร่ขา่ วสารผ่านทางสิงพิมพ์ต่างๆ จํานวน 242
109

คน คิดเป็ นร้ อยละ 67.2 และช่องทางการเผยแพร่ทีมีผ้ รู ับน้ อยทีสุด คือ การประชาสัมพันธ์นอก


สถานของทางหน่วยงานภาครัฐทีเกียวข้ อง มีจํานวน 75 คน คิดเป็ นร้ อยละ 20.8
กลุ่มตัวอย่างเห็น ว่า ข้ อมูล การเตรี ย มตัว รับ มือ ปั ญ หานํ าท่วมเป็ นประโยชน์ มากที สุด
รองลงมาคือการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า และกลุม่ ตัวอย่างเห็นว่าข้ อมูลความรู้ทัวไปของปั ญหาการ
เกิดนําท่วม เป็ นประโยชน์น้อยทีสุด
กลุม่ ตัวอย่างเห็นว่า ข้ อมูลการเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม ทีได้ จากหน่วยงานราชการ
นันเป็ นประโยชน์ มากที สุดรองลงมาคือความรู้ ทัวไปเกี ยวกับ ปั ญ หานํ าท่วมและการขอความ
ช่วยเหลือมีประโยชน์น้อยทีสุด

5.2.4 ผลกระทบทีได้ รับจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน


ผลกระทบทีมีผ้ ไู ด้ รับมากที สุดจากปั ญหานําท่วมคือ ปั ญหาด้ านการคมนาคม คะแนน
เฉลียคือ 3.79 คะแนน รองลงมาคือผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและกิจการ คะแนนเฉลียคือ
3.56 คะแนน และผลกระทบทีส่งผลน้ อยทีสุด คือผลกระทบด้ านการติดต่อสือสารหรื อปฏิสมั พันธ์
กับชุมชนคะแนนเฉลียคือ 1.84 คะแนน

5.2.5 การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหา


การเตรียมความพร้ อมทีมีผ้ ปู ฎิบตั ิมากทีสุดคือ การป้องกันทรัพย์สินและของมีค่า คะแนน
เฉลียคือ 2.43 คะแนนรองลงมาคือการป้องกัน อยู่อาศัยคะแนนเฉลียคือ 2.36 คะแนน และการ
เตรียมพร้ อมทีมีผ้ ปู ฏิบตั ิน้อยทีสุดคือ ด้ านการติดต่อสือสารคะแนนเฉลียคือ 1.47 คะแนน

5.2.6 การมีส่วนร่ วมในการรับมือและแก้ ปัญหาของประชาชน


กิจกรรมทีมีผ้ มู ีสว่ นร่วมมากทีสุดคือ การบริจาคเงินสมทบทุนซือทราย และกระสอบบรรจุ
คะแนนเฉลียคือ 1.85 คะแนน รองลงมาคือการช่วยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารปั ญหานําท่วมในชุมชน
คะแนนเฉลียคือ 1.42 คะแนน กิจกรรมทีมีผ้ มู ีสว่ นร่วมน้ อยทีสุดคือ อาสาสมัครกู้ภยั คะแนนเฉลีย
คือ 0.24 คะแนน

5.2.7 ความพึงพอใจต่ อการทํางานของหน่ วยงานทีเกียวข้ อง


การปฏิบัติงานของหน่วยงานราชการ ทีมีผ้ พู ึงพอใจมากที สุดคือ การดําเนินการติดตัง
เครืองสูบนําภายในชุมชนคะแนนเฉลียคือ 2.99 คะแนนรองลงมาคือ การให้ ข้อมูลด้ านปั ญหานํา
110

ท่วม คะแนนเฉลียคือ 2.41 คะแนน และการปฎิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐ ทีมีผ้ พู อใจน้ อยทีสุด


คือ การชดเชยค่าเสียหาย คะแนนเฉลียคือ 1.29 คะแนน
การปฎิบตั ิงานของคณะกรรมการชุมชน ทีมีผ้ พู ึงพอใจมากทีสุดคือการวาง/ เรี ยงกระสอบ
ทรายตามแนวคลองติดชุมชนป้องกันนําท่วมคะแนนเฉลียคือ 3.94 คะแนนรองลงมาคือ การจัดตัง
จุดประสานงานหน้ าลานเอนกประสงค์ของหมูบ่ ้ านคะแนนเฉลียคือ 3.93 และ การปฎิบัติงานของ
คณะกรรมการชุมชน ทีมีผ้ พู อใจน้ อยที สุดคือการรับอาสาสมัครเฝ้าระวังและรายงานสภาวะนํ า
ท่วมให้ ทราบคะแนนเฉลียคือ 3.46 คะแนน

5.3 อภิปรายผลการศึกษา

5.3.1 ปั จจัยส่ วนบุคคลกับความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วม


ในชุมชน
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ า นนัก กี ฬ าแหลมทองที มี อ ายุแ ตกต่า งกัน มี ค วามรู้ และการ
รับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ
0.05 พบว่ากลุ่มตัวอย่างทีมีค่าเฉลียความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญ หานํ าท่วมใน
ชุมชน มากทีสุด อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 46 – 60 ปี รองลงมาคือ ช่วงอายุระหว่าง 31 – 45 ปี ซึงทัง
2 กลุม่ นัน อยู่ในวัยทํางาน และมีการปฏิสมั พันธ์กบั ผู้คนมากมาย ทําให้ มีโอกาสได้ รับข้ อมูลความรู้
มากกว่าช่วงอายุอืนๆ
ประชาชนในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีมีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความรู้และ
การรับ ทราบสภาพทัวไปของปั ญหานํ าท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัย สําคัญ ทางสถิติที
ระดับ 0.05 พบว่า ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองที ได้ ก ารศึก ษาตังแต่ระดับ
อนุปริญญาขึนไป จะมีความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนมาก เพราะ
มีโอกาสได้ รับข้ อมูลความรู้มากกว่าระดับชันมัธยมศึกษา ในขณะที ตัวอย่างในกลุ่มทีมีการศึกษา
ระดับประถมหรื อตํากว่านัน เกินกว่าครึงเป็ นผู้ใหญ่ทีมีอายุตังแต่ 31 ปี ขึนไป ซึงมีความรู้ในสิง
รอบตัวมากกว่า กลุ่มอายุตํากว่า 30 ทํ าให้ ค่าเฉลียในกลุ่มนีสูงกว่า กลุ่มมัธยมศึกษา ที มีก ลุ่ม
ตัว อย่ า ง ที อายุตํากว่า 30 ปี มากกว่า ครึ งหนึง ดัง ที แสดงในตารางที 5.1 ซึ งสอดคล้ องกับ
สมมติฐ านข้ างต้ น ที พบว่า กลุ่มตัวอย่างที มีค่าเฉลียความรู้ และการรับ ทราบสภาพทัวไปของ
ปั ญหานําท่วมในชุมชน มากทีสุด อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 46 – 60 ปี และมีช่วงอายุระหว่าง 31 –
45 ปี รองลงมา
111

ตารางที 5.1 แสดงจํานวนของกลุม่ ตัวอย่างในแต่ละช่วงอายุ ทีมีการศึกษาในระดับต่างๆ

การศึกษา
ประถม Total
สูงกว่ า
หรื อตํา มัธยมศึกษา อนุปริญญา ปริญญาตรี
ปริญญาตรี
กว่ า
อายุ ไม่เกิน 15 ปี 3 14 0 0 0 17
16-30 ปี 0 27 19 50 2 98
31-45 ปี 1 8 30 57 8 104
46-60 ปี 3 13 24 42 10 92
มากกว่า 60 ปี 4 9 7 24 4 48
Total 11 71 80 173 24 359

ประชาชนในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬาแหลมทองที มีอาชี พแตกต่างกัน มี ความรู้ และการ


รับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ
0.05 พบว่าตัวอย่างทีเป็ นนักเรียน/นักศึกษา มีความรู้และการรับทราบสภาพปั ญหานําท่วมน้ อย
ทีสุด ทังนี อาจเป็ นเพราะกลุ่มตัวอย่าง นักเรี ยน/นักศึกษา มีความสนใจในด้ านอืนมากกว่า เช่น
การเล่นกีฬา การเข้ ากลุม่ กิจกรรมกับเพือนฝูง และความสนใจในด้ านความบันเทิง เป็ นต้ น

5.3.2 ปั จจัยส่ วนบุคคลทีมีความสัมพันธ์ กับการรับทราบข้ อมูลข่ าวสารของปั ญหา


นําท่ วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีมีอายุแตกต่างกัน มีการรับทราบข้ อมูล
ข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05
พบว่า กลุม่ ตัวอย่างในช่วงอายุ 31 – 45 ปี มีการรับข่าวสารมากทีสุด รองลงมาคือ ช่วงอายุ 46 –
60 ปี ซึงทัง 2 กลุม่ นัน อยู่ในวัยทํางาน และมีการปฏิสมั พันธ์กบั ผู้คนมากมาย ทําให้ มีโอกาสได้ รับ
ข้ อมูลความรู้มากกว่าช่วงอายุอืนๆ
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีมีอาชีพแตกต่างกันมีการรับทราบข้ อมูล
ข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมภายในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05
พบว่าตัวอย่างทีเป็ นนักเรี ยน/นักศึกษา มีการข่าวสารน้ อยทีสุด และมีค่าเฉลียแตกต่างจากกลุ่ม
อาชีพอืน อย่างเห็นได้ ชดั อาจเป็ นเพราะกลุม่ ตัวอย่าง นักเรียน/นักศึกษา มีความสนใจในด้ านอืน
112

มากกว่า เช่น การเล่นกีฬา การเข้ ากลุม่ กิจกรรมกับเพือนฝูง และความสนใจในด้ านความบันเทิง


เป็ นต้ น
.
5.3.3 ปั จจัยส่ วนบุคคลกับผลกระทบจากปั ญหานําท่ วมทีเกิดขึน
ลักษณะทีอยู่อาศัยในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองทีแตกต่างกันได้ รับผลกระทบจาก
ปั ญหานําท่วมภายในชุมชนทีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 โดยทีอยู่อาศัย
ประเภทอาคารชุดหรือห้ องพักบนตึกหลายชันได้ รับผลกระทบโดยรวมน้ อยทีสุด เนืองจากอยู่บนที
สูงนํ าท่วมไม่ถึงทําให้ ความเสียงด้ านความเสีย หายต่อที อยู่และทรัพย์สิน มีน้อย ในขณะที ทีอยู่
อาศัยประเภทบ้ านชันเดียวได้ รับผลกระทบจากปั ญหานําท่วมมากทีสุด เพราะมีข้อจํากัดในการ
เตรียมขนย้ ายสิงของเพือหลีกเลียงความเสียหายจากนําท่วมโดยทีอยู่อาศัยประเภทบ้ าน 2 ชันขึน
ไป ได้ รับผลกระทบรองลงมา ตามด้ วยทีอยู่อาศัยประเภทอาคารพานิชย์
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองทีมีอาชีพแตกต่างกันได้ รับผลกระทบจาก
ปั ญหานําท่วมภายในชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 โดยประชาชนที
ประกอบอาชีพค้ าขายได้ รับผลกระทบมากทีสุด รองลงมาคืออาชีพธุรกิจเอกชน ส่วนประชาชนที
เป็ นนักเรียน/นักศึกษาทีอยู่ในชุมชน ได้ รับผลกระทบน้ อยทีสุด
.
5.3.4 ปั จจัยส่ วนบุคคลกับการเตรียมความพร้ อมรับมือปั ญหานําท่ วม
ลักษณะทีอยู่อาศัยของประชาชนทีแตกต่างกัน มีผลให้ การเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม
แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที ระดับ 0.05 โดยที อยู่อาศัย ประเภทบ้ านชันเดีย วมีการ
เตรี ย มตัวรับ มือมากที สุด รองลงมาคืออยู่อาศัย ประเภทบ้ าน 2 ชันขึนไป และอาคารพานิ ช ย์
ตามลําดับ ในขณะทีทีอยู่อาศัยประเภทอาคารชุดมีการเตรียมตัวน้ อยทีสุด
ลักษณะการประกอบอาชีพของประชาชนทีแตกต่างกัน มีผลให้ การเตรียมตัวรับมือปั ญหา
นําท่วมแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 โดยอาชีพทีมีการเตรียมตัวมากทีสุดคือ
ธุรกิจเอกชน และอาชีพอืนๆ(ทีไม่ได้ ระบุไว้ ในตัวเลือก) รองลงมา ส่วนประชาชนทีเป็ นนักเรี ยน/
นักศึกษา มีการเตรียมตัวน้ อยทีสุด
รายได้ ของประชาชนทีแตกต่างกัน มีผลให้ การเตรี ยมตัวรับมือปั ญหานําท่วมแตกต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 โดยประชาชนทีมีรายได้ 25,001 ถึง 35,000 บาทต่อเดือน
มีการเตรี ยมตัวรับ มือกับปั ญ หานํ าท่ วมมากทีสุด รองลงมาคือประชาชนทีมีรายได้ 15,001 ถึง
25,000 บาทต่อเดือน ในขณะทีประชาชนทีมีรายได้ มากกว่า 55,000บาทต่อเดือน และประชาชนที
ไม่มีรายได้ มีการเตรียมตัวรับมือกับปั ญหานําท่วมน้ อยมาก
113

5.3.5 ปั จจัยส่ วนบุคคลกับการมีส่วนร่ วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่ วม


ประชาชนทีมีเพศทีต่างกัน มีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนไม่
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ซึงสอดคล้ องกับงานวิจัยของ ศรี สดุ า เตียวโป้
(2545) ในการศึกษา ปั จจัยทีส่งผลต่อการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้ องถินใน
รูปแบบองค์การบริหารส่วนตําบล: ศึกษากรณีองค์การบริ หารส่วนตําบล ดอนชมพู อําเภอโนนสูง
จังหวัดนครราชสีมา ซึงพบว่าปั จจัยเรืองเพศ ไม่มีความสัมพันธ์กบั การมีสว่ นร่วมของกลุม่ ตัวอย่าง
ประชาชนที มีอายุที ต่างกัน มีส่วนร่ วมในการรับ มือและแก้ ไขปั ญ หานํ าท่วมในชุมชน
แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 แสดงว่าประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬา
แหลมทองมีอายุมากขึน จะมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนมากขึน แต่ไม่
สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ ศรี สดุ า เตียวโป้ (2545) ในการศึกษา ปั จจัยทีส่งผลต่อการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการปกครองส่วนท้ องถินในรูปแบบองค์การบริหารส่วนตําบล: ศึกษากรณีองค์การ
บริหารส่วนตําบล ดอนชมพู อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ซึงพบว่าอายุไม่มีความสัมพันธ์กับ
การมีส่วนร่ ว มของกลุ่มตัวอย่า ง เนื องมาจากอายุน้ อยที สุดในการวิจัย คือ 18 ปี ในขณะที
การศึกษาการจัดการปั ญ หานํ าท่วมและการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษา หมู่บ้ านนักกีฬา
แหลมทอง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร ในครังนี มีตวั อย่างทีอายุน้อยทีสุดคือ ไม่เกิน 15 ปี
แต่เมือพิจารณาการมีส่วนร่วม เฉพาะกลุ่มตัวอย่างทีมีอายุตงแต่ ั 31 ปี ขึนไปพบว่าไม่มี
ความแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญ ซึงล้ วนแต่สอดคล้ องกับการศึกษาของ ศรีสดุ า เตียวโป้ (2545)
และการศึกษาของ สุนนั ต์ เสาโสภณ (2554) ทีไม่มีกลุม่ ตัวอย่างอายุ 15 ปี หรือตํากว่าทังสิน
ประชาชนทีมีอาชี พที ต่างกัน มีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่วมในชุมชน
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 โดยประชาชนในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลม
ทองทีประกอบอาชีพรัฐวิสาหกิจมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนมากทีสุด
รองลงมาคืออาชีพอืนๆ (ทีไม่ได้ ระบุไว้ ในตัวเลือก) และประชาชนทีเป็ นนักเรี ยน/นักศึกษามีส่วน
ร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมน้ อยทีสุด ซึงสอดคล้ องกับงานวิจัยของ ชุติมา ตุ๊นาราง
(2553)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ประชาชนทีมีระดับการศึกษาทีแตกต่างกัน มีส่วนร่วมใน
การรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ซึง
สอดคล้ องกับการศึกษาของ สุนนั ต์ เสาโสภณ (2554)
114

จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ประชาชนทีมีรายได้ ทีต่างกัน มีส่วนร่วมในการรับมือและ


แก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ซึงสอดคล้ องกับ
การศึกษาของ สุนนั ต์ เสาโสภณ (2554)

5.3.6 ความสัมพันธ์ ระหว่ างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานํา


ท่ วม กับ การรับทราบข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานํา
ท่วม กับ การรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชนพบว่าความรู้และการรับทราบ
สภาพทัวไปของปั ญหานําท่วม สัมพันธ์กับการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมใน
ชุมชน ซึงสอดคล้ องกับ การศึกษาของ ยุพดี สุพรรณพงศ์ (2547)

5.3.7 ความสัมพันธ์ ระหว่ างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานํา


ท่ วม กับ การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานํา
ท่วม กับ การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน พบว่าความรู้และการรับทราบสภาพทัวไป
ของปั ญหานําท่วม ไม่มีความสัมพันธ์กบั การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน

5.3.8 ความสัมพันธ์ ระหว่ างการรับทราบข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วมใน


ชุมชน กับ การมีส่วนร่ วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม
ในชุมชน กับ การมีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่วมในชุมชน พบว่า การรับทราบ
ข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานํ าท่วม มีความสัมพัน ธ์กับการมีส่วนร่วมในการรับ มือและแก้ ไข
ปั ญหานําท่วมในชุมชน ซึงสอดคล้ องกับการศึกษาของ ศรี สดุ า เตียวโป้ (2545) ทีได้ ระบุว่า การ
รับรู้ขา่ วสารส่งผลต่อการมีสว่ นร่วมของประชาชน
จากการศึก ษาข้ อมูลที รวบรวมจากแบบสอบถามทําให้ ทราบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่
(ร้ อยละ 78.9) มีการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม และปั จจัยนียังมีความสัมพันธ์
กับความรู้และการรับทราบสภาพของปั ญหานําท่วมในชุมชน จึงทําให้ การรับทราบข้ อมูลข่าวสาร
เป็ นปั จจัยทีมีความสัมพันธ์กบั การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมอย่างเด่นชัด
115

5.3.9 ความสัมพันธ์ ระหว่ างการรับทราบข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วมใน


ชุมชน กับความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของหน่ วยงานราชการระหว่ าง
การเกิดปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม
ในชุมชน กับ ความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐฯ พบว่า การรับทราบข้ อมูล
ข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม มีความสัมพันธ์กบั ความพึงพอใจในการปฎิบตั ิงานของหน่วยงาน
ภาครัฐฯ

5.3.10 ความสัมพันธ์ ระหว่ างการรับทราบข้ อมูลข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วมใน


ชุมชน กับความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของคณะกรรมการชุมชน
ระหว่ างการเกิดปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับทราบข้ อมูลข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วม
ในชุมชน กับ ความพึงพอใจในการปฎิบตั ิงานของคณะกรรมการชุมชน พบว่า การรับทราบข้ อมูล
ข่า วสารเกี ยวกับ ปั ญ หานํ าท่ ว ม มี ค วามสัม พั น ธ์ กั บ ความพึ ง พอใจในการปฎิ บั ติ ง านของ
คณะกรรมการชุมชน

5.3.11 ความสัมพันธ์ ระหว่ างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน กับ การ


เตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิ ดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน พบว่า ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน
มีความสัมพันธ์กบั การเตรียมพร้ อมรับมือปั ญหานําท่วมในชุมชน
จากการศึก ษา พบว่า ผลกระทบจากปั ญ หานํ าท่วม มีความสัมพัน ธ์ต่อ การเตรี ยมตัว
รับมือปั ญหานําท่วม เมือพิจารณาผลกระทบจากปั ญหานํ าท่วมทีมีต่อทีอยู่อาศัยประเภทต่างๆ
พบว่า มีความสอดคล้ องกับ ระดับการของเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม โดย ในกลุม่ บ้ านชันเดียว
ทีได้ รับผลกระทบมากทีสุด มีการเตรียมความตัวมากทีสุด รองลงมาคือ บ้ าน 2 ชัน อาคารพานิชย์
และอาคารชุดตามลําดับ
จึงสรุปได้ วา่ ระดับของการเตรียมตัวรับมือปั ญหานําท่วม เกิดจากการมีประสพการณ์ ที
ได้ รับผลกระทบจากปั ญหานําท่ว
116

5.3.12 ความสัมพันธ์ ระหว่ างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน กับ การ


มีส่วนร่ วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิ ดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชนพบว่า ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานํา
ท่วมในชุมชน มีความสัมพันธ์กบั การมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมในชุมชน

5.3.13 ความสัมพันธ์ ระหว่ างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน กับ


ความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของหน่ วยงานภาครัฐฯระหว่ างการเกิด
ปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิ ดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
ความพึงพอใจในการปฎิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐฯพบว่า ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่วม
ในชุมชน มีความสัมพันธ์กบั ความพึงพอใจในการปฎิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐฯ

5.3.14 ความสัมพันธ์ ระหว่ างผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานําท่ วมในชุมชน กับ


ความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของคณะกรรมการชุมชนระหว่ างการเกิด
ปั ญหานําท่ วมในชุมชน
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบทีเกิ ดจากปั ญหานําท่วมในชุมชน กับ
ความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของคณะกรรมการชุมชน พบว่า ผลกระทบทีเกิดจากปั ญหานํา
ท่วมในชุมชน ไม่มีความสัมพันธ์กบั ความพึงพอใจในการปฎิบตั ิงานของคณะกรรมการชุมชน

5.3.15 ความสัมพันธ์ ระหว่ างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหา


ปั ญหานําท่ วม กับ การมีส่วนร่ วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่ วม
จากการทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้และการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญ หา
ปั ญหานําท่วม กับ การมีส่วนร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานํ าท่วม พบว่า ความรู้และการ
รับทราบสภาพทัวไปของปั ญหาปั ญหานําท่วมมีความสัมพันธ์กับ การมีส่วนร่วมในการรับมือและ
แก้ ไขปั ญหานําท่วม
117

5.4 ข้ อเสนอแนะ

5.4.1 ข้ อเสนอแนะจากผลการวิจัย
1) ระดับของการเตรี ยมตัวรับมือปั ญหานําท่วม เกิดจากการมีป ระสพการณ์ ที
ได้ รับผลกระทบจากปั ญหานําท่วม ซึงประชาชนทีอาศัยบ้ านชันเดียวทีได้ รับผลกระทบจากปั ญหา
นําท่วมมากทีสุด มีการเตรียมความตัวรับมือมากทีสุด แสดงให้ เห็นว่าการให้ ความช่วยเหลือจาก
หน่วยงานต่างๆ ควรให้ ความสําคัญกับประชาชนทีอาศัยบ้ านชันเดียวเป็ นอันดับแรก ยกเว้ นกรณี
เหตุเร่งด่วนฉุกเฉิน
2) จากการจัดระดับคะแนนการมีสว่ นร่วมในการรับมือและแก้ ไขปั ญหานําท่วมใน
ชุมชน ทีพบว่าคะแนนรวมอยู่ในระดับตํา อาจเป็ นเพราะชุมชนมีขนาดใหญ่สง่ ผลให้ การร่วมมือกัน
เป็ นไปได้ ยาก ประกอบกับสภาวการณ์ในช่วงคับขัน ประชาชนจะให้ ความสําคัญกับการจัดการ
ปั ญหาส่วนบุคคลเป็ นอันดับแรก หากต้ องการเพิมระดับของการมีสว่ นร่วมของชุมชน ควรพิจารณา
ปั จ จัย ที มีความเกี ยวข้ อง ได้ แก่ อายุ อาชี พ การศึก ษา รายได้ และการรับ ทราบข่าวสารของ
ประชาชนในชุมชน
3) การรับข้ อมูลข่าวสารโดยการบอกเล่าปากต่อปาก เป็ นวิธีการทีใช้ กันมากทีสุด
ถึงร้ อยละ 77.2 จากกลุม่ ตัวอย่าง ซึงมีข้อได้ เปรียบคือสามารถกระจาย หรือเข้ าถึงชุมชนได้ ง่าย แต่
ในทางกลับกัน ข้ อมูลปากต่อปากนี มีโอกาสคลาดเคลือนได้ ง่าย และทังยังไม่มีความน่าเชือถือใน
เชิงวิชาการ ซึงข้ อเสียนีสามารถแก้ ไขได้ จากการช่วยเหลือจากทางหน่วยงานราชการ โดยการให้
ข้ อมูลข่าวสารทีมีความน่าเชือถือ ผ่านทางสือโทรทัศน์ และวิทยุ ซึงกลุ่มตัวอย่างมีการรับข่าวสาร
ผ่านช่องทางนีถึงร้ อยละ 73.3 และการใช้ สือสิงพิมพ์ตา่ งๆ ควบคูไ่ ปด้ วย เพือให้ เกิดความเข้ าใจใน
ปั ญหานํ าท่วม นอกจากนี การเผยแพร่ สิงพิมพ์ของคณะกรรมการชุมชนก็มีส่วนช่วยในการให้
ข้ อมูลแก่ประชาชนในชุมชนเป็ นอย่างมาก
4) จากการศึก ษา ทํ าให้ ท ราบว่าการคมนาคม ภายในชุมชนหมู่บ้ านนัก กี ฬา
แหลมทอง ได้ รับผลกระทบจากปั ญหานําท่วมมากทีสุด ซึงปั ญหานีก็ได้ รับการพิจารณาเป็ นอย่าง
มาก จากหน่วยงานหลายๆฝ่ าย การแก้ ปัญหาโดยการยกระดับพืนผิวการจราจร บนเส้ นทางเดินรถ
สายหลักภายในชุมชน ดูจะเป็ นการแก้ ไขปั ญหาทีดีทีสุด แต่ในทางกลับกัน เมือถนนสายหลักถูก
ยกสูงขึน นําทีท่วมถนนหลักจะไหลลงมาอยู่ทีถนนย่อย เช่นในตรอก หรื อซอยทีมีคนอยู่อาศัย สิง
สําคัญในการแก้ ไขปั ญหานีคือ การระบายนําออกจากพืนทีอยู่อาศัยก่อนทีจะมีปริ มาณสูงจนไหล
เข้ าสูท่ ีอยู่อาศัย ท่อระบายนําทีมีขนาดทีเพียงพอต่อการระบายนํา จึงเป็ นสิงทีจําเป็ นอย่างมาก
118

ดังนัน ในการแก้ ปัญหาการจราจรอันเนืองมาจากสภาวะนําท่วมในชุมชน จึงควรมีการปรับปรุง


เส้ นทางระบายนําควบคูไ่ ปกับการปรับปรุงถนน

5.4.2 ข้ อเสนอแนะต่ อหน่ วยงานทีมีส่วนเกียวข้ อง


5.4.2.1 หน่วยงานราชการ
เมือพิ จ ารณาข้ อได้ เ ปรี ย บของหน่ว ยงานราชการ (สํานัก งานเขต, สํานัก การ
ระบายนํา, สํานักการโยธา) ในการจัดการปั ญหานําท่วมในชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง คือ มี
กําลังในการขับเคลือนนโยบายทีมีความซับซ้ อน หรื อมีขนาดใหญ่ ได้ แก่ การดําเนินการปรับปรุง
และก่อ สร้ างระบบสาธารณูป โภค นอกจากนี ยัง มีส ามารถอํา นวยข้ อมูลที มี ความจํ า เป็ นแก่
ประชาชน ในการรับมือปั ญ หานํ าท่วม ซึงเป็ นข้ อมูลที มีความน่าเชื อถื อสูง และสามารถนําไป
อ้ างอิงได้
ตัวอย่างโครงการทีดําเนินการโดยหน่วยงานราชการ
1) นโยบายการปรับปรุงยกระดับพืนผิวการจราจรภายในชุมชนหมู่บ้าน
นักกีฬาแหลมทอง ของสํานักงานเขตสะพานสูง ในปี งบประมาณ พ.ศ.2554 เป็ นโครงการทีส่งผล
กระทบต่อสภาพแวดล้ อม และวิถีชีวิตของคนในชุมชน จึงจําเป็ นต้ องการศึกษาการประเมินผล
กระทบต่อสิงแวดล้ อมเบืองต้ น (Initial Environmental Examination: IEE)
2) สํานักงานเขตสะพานสูงได้ เปิ ดเวทีประชาพิจารณ์ในเดือนสิงหาคม
พ.ศ.2554 ซึงการประชุมนันได้ รับ ความสนใจจากประชาชนในชุมชนน้ อยมาก โดยมีผ้ เู ข้ าร่วม
ประชุมนอกเหนือจากบุคลากรจากทางหน่วยงานราชการ และคณะกรรมการชุมชน ประมาณ 20
คน ซึงอาจเป็ นผลมาจากการขาดความเข้ าใจในกระบวนการการมีส่วนร่วม และการเผยแพร่
ข่าวสารทีมีจํากัด ดังนันการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และการสร้ างความตระหนักถึงผลกระทบจาก
การดําเนินโครงการต่างๆภายในชุมชน จึงมีความสําคัญเป็ นอย่างมาก
3) นโยบายอืนๆทีสามารถนํามาใช้ ใ นการจัดการปั ญ หาการคมนาคม
ขณะเกิดนําท่วม ได้ แก่
(1) การจัดหาพาหนะอํานวยคามสะดวกแก่ป ระชาชนในชุมชน
ในขณะเกิ ดนํ าท่วม โดยการจัดหาพาหนะทีสามารถลําเลียงผู้โดยสารได้ เ ป็ นจํ านวนมาก และ
สามารถสัญจรผ่านบริเวณทีเกิดปั ญหานําท่วมได้
(2) การรณรงค์ให้ พาหนะร่วมกันของประชาชนในชุมชน เช่น การ
อาศัยพาหนะของประชาชน ทีสามารถสัญจรผ่านบริเวณทีเกิดนําท่วมได้ ร่วมทางเดียวกัน
119

5.4.2.2 คณะกรรมการชุมชน
ข้ อได้ เปรี ย บของคณะกรรมการชุมชน คือ มีความใกล้ ชิ ดกับประชาชน และมี
ความเข้ าใจในปั ญหาทีกําลังเผชิญมากกว่าหน่วยงานราชการ นอกจากนีคณะกรรมการชุมชนมี
ความยืดหยุ่นในการดําเนินนโยบายขนาดเล็ก หรือกําหนดแนวทางการจัดการปั ญหาเฉพาะหน้ า
ดังนันบทบาทและหน้ าทีของคณะกรรมการชุมชน คือ การเป็ นตัวกลางในการติดต่อประสานงาน
กับหน่วยงานราชการในท้ องถิน และการเป็ นตัวแทนของประชาชนในชุมชน ในการตัดสินใจจัดการ
เหตุการณ์ทีเกิดขึนภายในชุมชน ดังนัน นโยบายในการจัดการปั ญหานําท่วมภายในชุมชน ของ
กรรมการชุมชน ควรกําหนดให้ ชดั เจนและเป็ นแบบแผน เพือความยังยืนในการรับมือและจัดการ
ปั ญหานําท่วมในชุมชน ไม่วา่ ผู้ทีนําไปใช้ จะเป็ นกรรมการชุมชนในวาระใดก็ตาม
ตัวอย่างโครงการทีดําเนินการโดยคณะกรรมการชุมชน
1) การตังจุดประชาสัมพันธ์ เพือให้ ข้อมูลปั ญหานําท่วมในชุมชน และ
การเปิ ดรับบริจาคเงิน เพือจัดหากระสอบทราย
2) การติดต่อประสานงานกับ สถานศึกษาในชุมชน เพือขอยืมอาคาร
เรียนมาใช้ เป็ นศูนย์พกั พิงชัวคราว ในกรณีเกิดเหตุนําท่วมสูง
3) การเปิ ดรั บ อาสาสมัค รจากประชาชนในชุมชน ในการช่ ว ยดูแ ล
สอดส่องปั ญหาต่างๆทีจะเกิดขึนในขณะเกิดเหตุนําท่วม

5.4.3 ข้ อเสนอแนะสําหรั บการศึกษาวิจัยในครังต่ อไป


5.4.3.1 ในการเก็บข้ อมูลแบบสอบถามนัน จํานวนข้ อคําถามไม่ควรมีปริมาณมาก
เกินไป เพราะจะทําให้ ผ้ ทู ําแบบสอบถามเกิดความรํ าคาญ หรื อเบือหน่ายในการตอบคําถาม ซึง
ส่งผลต่อการให้ ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามได้ เช่น การตอบแบบสอบถามไม่ครบ และการให้
ข้ อมูลทีคลาดเคลือนจากความเป็ นจริง นอกจากนี ยังทําให้ การจัดเรียงข้ อมูลเพือนําไปวิเคราะห์มี
ความซับซ้ อน ก่อให้ เกิดความผิดพลาดได้ ง่าย
5.4.3.2 ในการศึกษาแผนการปฏิบัติงาน และนโยบายในการจัดการนําท่วมของ
หน่วยงานราชการ ควรมีก ารสัมภาษณ์ เจ้ าหน้ าที หรื อผู้ท รงคุณวุฒิทีมีส่วนเกี ยวข้ องโดยตรง
เพื อให้ ท ราบถึ งแนวคิด และขอบเขตของการปฏิ บัติ งานอย่า งชัดเจน รวมถึ งการสัม ภาษณ์
หน่วยงานอืนๆ ทีมีสว่ นเกียวข้ องกับปั ญหานําท่วม ทีต้ องการศึกษา
บรรณานุกรม

กรมสุขภาพจิต. 2554. “ผนึกกําลัง ร่ วมใจ สู้ภัยนําท่ วม” การเตรียมตัวเตรียมใจก่ อนภัยนํา


ท่ วม ฉบับประชาชน. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต.
กรรณิกา ชมดี. 2524. การมีส่วนร่ วมของประชาชนทีมีผลต่ อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ:
ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการสารภี ตําบลท่ าช้าง อําเภอวารินชําราบ จังหวัด
อุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กฤตศิริ กีทวีโภคกุล. 2555. ความคิดเห็นต่ อมาตรการป้องกันนําท่ วมกรุงเทพมหานครใน
อนาคตของรัฐบาล. ภาคนิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิงแวดล้ อม สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
กฤษณ์พงศ์ สมถวิล. 2543. การรับรู้ของประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลาต่ อปั ญหา
ขยะ: ศึกษากรณีชมุ ชนกําปงบาโงยและชุมชนบ้ านหัวสะพานสะเตง. ภาค
นิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิงแวดล้ อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
คัมภีร์ คร้ ามพิมพ์. 2544. การจัดการปั ญหานําท่ วมในพืนทีกรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์
สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจยั สภาวะแวดล้ อม. 2541. คู่มือและโปรแกรมคํานวณ
ขนาดพืนทีชะลอนํา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจยั สภาวะแวดล้ อม.
จุฬาพร ปานชัย. 2555. การมีส่วนร่ วมของผู้นําชุมชนต่ อระบบเตือนภัยล่ วงหน้ า สําหรับ
พืนทีเสียงอุทกภัย-ดินถล่ ม: กรณีศกึ ษาเฉพาะ หมู่บ้านทีติดตังสถานีเตือนภัย
ในพืนทีจังหวัดแม่ ฮ่องสอน ปี งบประมาณ 2555. ภาคนิพนธ์คณะพัฒนาสังคม
และสิงแวดล้ อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
ชนะบูรณ์ อินทรพันธุ์. 2552. การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการจัดการลุม่ นํา: ศึกษากรณีการ
จัดการลุม่ นําห้ วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารการจัดการภาครัฐและ
ภาคเอกชน. 16(มกราคม–มิถนุ ายน): 77–99.
ชมนาด ตันติเสรี . 2546. ศักยภาพของชุมชนท้ องถินในการพัฒนาการท่ องเทียวเชิง
อนุรักษ์ : กรณีศกึ ษา ชุมชนเกาะเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
121

ชุติมา ตุ๊นาราง. 2553. ปั จจัยทีมีผลต่ อการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย


ชุมชนในเขตเทศบาลนครสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
เชิง ผิวประกายเพชร. 2553. การวิเคราะห์ หาพืนทีเสียงนําท่ วมในพืนทีลุ่มนําย่ อยลําพระ
เพลิงด้ วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ . ภาคนิพนธ์ คณะพัฒนาสังคมและ
สิงแวดล้ อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ถวิลวดี บุรีกลุ . 2551. การมีส่วนร่ วม : แนวคิด ทฤษฏีและกระบวนการ. กรุงเทพฯ: สถาบัน
พระปกเกล้ า.
บุญจง ขาวสิทธิวงษ์ . 2539. การจัดการวิกฤติการณ์ นาของสั ํ งคมไทย. เอกสารวิจยั เสนอต่อ
คณะกรรมการส่งเสริมงานวิจยั สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ประเสริฐ มิลินทางกูร. 2553. อุทกภัย. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประจําปี 2533
เรืองภัยธรรมชาติในประเทศไทย วันที 12-14 พฤศจิกายน 2533 กรุงเทพฯ:
สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. หน้ า 25-29
ปั ทมา สูบกําปั ง. 2552. การมีสว่ นร่วมของประชาชนชาวไทยในรอบทศวรรษทีผ่านมา: สถาพ
ปั ญหาและความท้ าทายในอนาคต. วารสารสถาบันพระปกเกล้ า. 7(พฤษภาคม-
สิงหาคม): 42-59.
พฤกษพงศ์ วิสทุ ธิ ดวงดุษดี. 2550. ปั จจัยทีมีผลต่ อการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล
ตําบลแม่ สาย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร
ศาสตร์.
พิมพ์ทอง สังสุทธิ พงศ์ และวรวัติ กิติวงค์. 2552. ความเชือมันของเครืองมือวิจยั
(Reliability). ค้ นวันที 30 สิงหาคม 2556 จาก http://www.rtafa.ac.th/index.php?
option=com_docman&task=doc_download&gid=324&Itemid=101.
ยุพดี สุพรรณพงศ์. 2547. การศึกษาการเปิ ดรับข่าวสารกับการมีส่วนร่ วมทางการเมือง
ของผู้มีสิทธิเลือกตังผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547. ภาคนิพนธ์คณะ
รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
ยุพิน รุ่นประพันธ์. 2549. การรับรู้พฤติกรรมการสือสารของผู้นํากับความผูกพันต่ อ
องค์ การของบุคลากร: ศึกษาเฉพาะกรณีสาํ นักงาน ส่ วนกลาง กรมสุขภาพจิต
กระทรวงสาธารณสุข. ภาคนิพนธ์โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
122

วิชา นิยม. 2535. อุทกวิทยาป่ าไม้ . กรุงเทพฯ: คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .


วิสาขา ภูจ่ ินดา. 2552. ระเบียบวิธีวจิ ยั ด้ านการจัดการสิงแวดล้ อม. กรุงเทพฯ: คณะพัฒนา
สังคมและสิงแวดล้ อม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุธีรา สิทธิพงศ์. 2541. ทัศนคติของประชาชนต่ อการแยกประเภทขยะมูลฝอย ศึกษา
เฉพาะกรณีผ้ อู ยู่อาศัยในการเคหะชุมชนนวมินทร์ เขตบึงกุ่ม
กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ
หารศาสตร์.
สุนนั ต์ เสาโสภณ. 2554. การมีส่วนร่ วมของคณะกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชน:
กรณีศกึ ษาเทศบาลเมืองเบตง อําเภอเบตง จังหวัดยะลา. ภาคนิพนธ์คณะ
พัฒนาสังคมและสิงแวดล้ อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
สุพิชฌาย์ ธนารุณ. 2553. การประยุกต์ ใช้ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการกําหนดพืนที
เสียงอุทกภัย จังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
สุพตั รา ถนอมวงศ์. 2550. ความตระหนักต่ อการจัดการขยะของผู้อยู่อาศัยบริเวณริม
คลองรังสิตประยูรศักดิ ศึกษากรณี ตําบลบึงยีโถ อําเภอธัญบุรี จังหวัด
ปทุมธานี. ภาคนิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิงแวดล้ อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ
หารศาสตร์.
สุภา มโนภิญโญภิญญะ, พัชรวรรณ ชูเวทย์ และณภัสร์ศนันต์ โภสาสัย. 2548. การศึกษา
เกียวกับการรับรู้และความคิดเห็นของประชาชนทีมีต่อการส่ งเสริมการ
ท่ องเทียวตามโครงการ “เทียวทีไหนไม่ สุขใจเท่ าบ้ านเรา (Happiness)”.
รายงานการวิจยั คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สมคิด บัวเพ็ง. 2543. วิกฤตการณ์ นําบาดาลและแผ่ นดินทรุดในบริเวณกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล. ค้ นวันที 30 สิงหาคม 2556 จาก
http://library.dmr.go.th/library/DMR_Technical_Reports/2543/2555.pdf
สมิทธ ธรรมสโรธ. 2533. ภัยธรรมชาติ. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประจําปี
2533 เรืองภัยธรรมชาติในประเทศไทย วันที 12.14 พฤศจิกายน 2533.
กรุงเทพฯ: สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. หน้ า 7-11.
สมนึก พรอนุวงศ์. 2555. การมีส่วนร่ วมของ อรบ.ในการรักษาความปลอดภัยของ
หมู่บ้าน: ศึกษาเฉพาะกรณีกองร้ อย อรบ.รือเสาะ จังหวัดนราธิวาส. ภาค
นิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิงแวดล้ อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
123

สุเทพ จันทร์เขียว. 2546. พืนทีเสียงภัยการเกิดนําท่ วมฉับพลันและแผ่ นดินถล่ มในจังหวัด


ภูเก็ตโดยใช้ ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .
สํานักการระบายนํา. 2547. แผนปฏิบัตกิ ารการป้องกันและแก้ ไขปั ญหานําท่ วม
กรุงเทพมหานคร ประจําปี 2547 ในส่ วนรับผิดชอบของ สํานักการระบายนํา
กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สํานักการระบายนํา.
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2549 การมีส่วนร่ วมของประชาชน. ค้ นวันที
30 สิงหาคม 2556 จาก http://www.moph.go.th/opdc/docs/การมีสว่ นร่วมของ
ประชาชน.doc
ศรีสดุ า เตียวโป้. 2545. ปั จจัยทีส่ งผลต่ อการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการปกครองส่ วน
ท้ องถินในรู ปแบบองค์ การบริหารส่ วนตําบล: ศึกษากรณีองค์ การบริหารส่ วน
ตําบล ดอนชมพู อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา. ภาคนิพนธ์คณะพัฒนา
สังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
Tucci, Carlos E.M. .2007. Urban Flood Management. Retrieved September 1, 2013
from http://www.gwp.org/Global/GWP-SAm_Files/Publicaciones/Gesti%C3%
B3n%20de%20Inundaciones/Gestion-de-inundaciones-urbanas-ing.pdf
Dhar, O. N. and Nandargi Shobha. 2003. Hydrometeorological Aspects of Floods in
India. Natural Hazards. 28(January): 1-33.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก.
แบบสอบถามสําหรับการศึกษาวิจัย
126

แบบสอบถามงานวิจัยเรือง แนวทางการการจัดการปั ญหานําท่ วมและการมีส่วนร่ วมของ


ชุมชน กรณีศึกษา หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง แขวง/ เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร
……………………………………………………………………
แบบสอบถามนีเป็ นส่วนหนึงของงานวิจยั ทีจะรวบรวมผลการวิจยั ไปเป็ นแนวคิดเพือการนําเสนอในการ
บริหารจัดการปั ญหานําท่วมของชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ซึงประสบอยู่เป็ นประจํา ระหว่างผู้เกียวข้ องคือ
ประชาชนในหมู่บ้านฯ คณะกรรมการหมู่บ้านฯ และกทม.หรื อเขตฯ ทีมี ส่วนเกียวข้ องในการแก้ ปัญหานําท่ว ม
หมู่ บ้ านนั ก กี ฬ าแหลมทองร่ ว มกั น ได้ ร่ ว มกั น พิ จ ารณาการแก้ ปั ญหานํ าท่ ว มในระยะยาวอย่ า งยั งยื น
(แบบสอบถามมีทงสิ ั น 5 ตอน)
……………………………………………......................................................................................…………
…………
ตอนที 1 ข้ อมูลพืนฐานทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ ชาย หญิง
2. อายุ
15 ปี หรือตํากว่า 16 – 30 ปี 31 – 45 ปี
46 – 60 ปี สูงกว่า 60 ปี
3. นับถือศาสนา พุทธ คริ สต์ อิสลาม อืนๆระบุ
....................
4. ระดับการศึกษา
ประถมศึกษาหรือตํากว่า มัธยมศึกษา อนุปริญญา
ปวส./ปวช.
ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี อืนๆระบุ
......................
5. สถานภาพสมรส
โสด สมรส หย่า อืนๆระบุ
......................
6. จํานวนสมาชิกในครอบครัว................................................................................ คน
7. ระยะเวลาทีอาศัยอยู่ในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ............................................... ปี
8. สถานะในครัวเรือนของผู้ตอบแบบสอบถาม
หัวหน้ าครอบครัว ผู้อาศัย อืน ๆ ระบุ .................................
9. ลักษณะทีอยู่อาศัย
บ้ านชันเดียว บ้ าน 2 ชันขึนไป อาคารชุด ตึกแถว/ห้ องแถว
10. กรรมสิทธิ การถือครองทีอยู่อาศัย
เป็ นของตนเอง เช่า เป็ นผู้อาศัย อืน ๆ ระบุ
127

11. อาชีพ
รับราชการ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจเอกชน
รับจ้ าง ค้ าขาย นักเรียน / นิสติ / นักศึกษา
อืนๆระบุ..................................................
12. รายได้ ต่อเดือน (โดยประมาณ)
5,000 บาทหรือตํากว่า 5,001 – 15,000 บาท 15,001 – 25,000 บาท
25,001 – 35,000 บาท 35,001 – 45,000 บาท 45,001 – 55,000 บาท
55,001 – 65,000 บาท 65,001 – 75,000 บาท 75,001 – 85,000 บาท
85,001 – 100,000 บาท มากกว่า 100,001 บาท อืนๆระบุ....................

ตอนที 2 ความรู้ ความเข้ าใจและการรับทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่วมหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง (ให้ กา


เครืองหมาย ถูก () ลงในช่องทีท่านเลือกตอบทุกข้ อ)

ความรู้ ความเข้ าใจและการรั บทราบสภาพทัวไปของปั ญหานําท่ วมในหมู่บ้านฯ คําตอบ


2.1 การรั บทราบปั ญหานําท่ วมภายในชุมชน ใช่ ไม่ ใช่
1. ปั ญหานําท่วมชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาฯ เป็ นปั ญหาทีเกิดขึนทุกปี
2. สภาพปั ญหานําท่วมแต่ละครังมีผลต่อการดํารงชีวติ ของสมาชิกในชุมชนอย่างมาก
3. ปั ญหานําท่วมแต่ละปี ได้ สร้ างความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และสภาพเศรษฐกิจภายในชุมชน
4. การแก้ ปัญหานําท่วมแต่ละครังเป็ นความร่วมมือของคณะกรรมการชุมชนและเขตสะพานสูง
5. ท่านทราบสถานทีหรื อหมายเลขโทรศัพท์ทีจะติดต่อเพือขอความช่วยเหลือในกรณีฉกุ เฉิน
2.2 ความรู้ เกียวกับสภาพภูมิศาสตร์ หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ทราบ ไม่ ทราบ
1. หมู่บ้านนักกีฬาฯ มีลําคลองขนาบทัง 2 ด้ านคือทิศตะวันตกและตะวันออก
2. พืนทีภายในหมู่บ้านนักกี ฬาแหลมทองมีลกั ษณะเป็ นแอ่งกะทะ
3. จุดทีตําทีสุดในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองอยู่ตํากว่าระดับนําทะเล
4. จุดทีเสียงต่อการทะลักของนําจากคลองทัง 2 อยู่บริเวณท้ ายซอยทีติดกับคลอง
2.3 ความรู้ ด้านข้ อมูลการจัดการปั ญหานําท่ วมภายในชุมชน ทราบ ไม่ ทราบ
1. สํานักงานระบายนํา กทม.ได้ ติดตังเครื องสูบนําให้ หมู่บ้านอย่างถาวร
2. มีเจ้ าหน้ าทีประจํ าการอยู่ ณ เครื องสูบนําตลอดเวลา 24 ชม.
3. เครื องสูบนําทังหมดประกอบด้ วย เครื องพลังงานไฟฟ้า และใช้ นํามันดีเซล
4. เครื องสูบนําดีเซลทียังสามารถทํางานได้ ในกรณีเกิดไฟฟ้าดับ
5. กรณี ฉกุ เฉินสามารถขอความช่วยเหลือเบืองต้ นจากกรรมการชุมชนและอาสาสมัครประจําซอยได้
128

ตอนที 3 ช่องทางทีได้ รับทราบข่าวสารเกียวกับปั ญหานําท่วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง (ให้ กา


เครืองหมาย ถูก () ลงในช่องทีท่านเลือกตอบทุกข้ อ)
การรั บทราบข่ าวสารปั ญหานําท่ วมภายในชุมชน ได้ รับข้ อมูลข่ าวสาร ไม่ ได้ รับรั บข้ อมูลข่ าวสาร
(ข้ ามไปทําตอนที 4)
ท่ านรั บทราบข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาฯ จากแหล่ งใดและสือใดบ้ าง ใช่ ไม่ ใช่
คณะกรรมการชุมชน และคนในชุมชน
1. วิทยุชุมชน
2. รถประกาศจากคณะกรรมการชุมชน
3. การบอกเล่าต่อ ๆ กัน
4. เวปไซต์ของชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง
5. สิงพิมพ์ต่างๆ (แผ่นพับ ใบประกาศ กระดานข้ อความ คัดเอ้ าท์ ไวล์นิล ฯลฯ)
6. อืน ๆ ระบุ ..............................................................................................................
สิงทีท่ านได้ รับจากการกระจายข่ าวสารของคณะกรรมการชุมชน และคนในชุมชน ใช่ ไม่ ใ
ช่
1. ความรู้ ทวไปเกี
ั ยวกับปั ญหานําท่วม (เช่น ปั จจัยทีก่อให้ เกิดนําท่วม)
2. การเตรี ยมตัวรับมือ (เช่น การขนย้ ายข้ าวของขึนทีสูง)
3. การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า (เช่น การทําถุงนําทดแทนกระสอบทราย)
4. การขอความช่วยเหลือ
5. อืน ๆ ระบุ ..............................................................................................................
ท่ านรั บทราบข่ าวสารเกียวกับปั ญหานําท่ วมในชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาฯ จากแหล่ งใดบ้ าง ใช่ ไม่ ใช่
หน่ วยงานราชการ (สํานักงานเขต สํานักงานระบายนํา กทม.)
1. สิงพิมพ์ต่างๆ
2. สือต่างๆ (โทรทัศน์ วิทยุ)
3. เวปไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ ต่างๆ
4. การประชาสัมพันธ์นอกสถานที
5. อืน ๆ ระบุ ..............................................................................................................
สิงทีท่ านได้ รับจากการกระจายข่ าวสารของหน่ วยงานราชการ ใช่ ไม่ ใ
ช่
1. ความรู้ ทวไปเกี
ั ยวกับปั ญหานําท่วม (เช่น ปั จจัยทีก่อให้ เกิดนําท่วม)
2. การเตรี ยมตัวรับมือ (เช่น การขนย้ ายข้ าวของขึนทีสูง)
3. การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า (เช่น การทําถุงนําทดแทนกระสอบทราย)
4. การขอความช่วยเหลือ
5. อืน ๆ ระบุ ..............................................................................................................
แหล่ งอืน ๆ นอกเหนือจากกรรมการชุมชน คนในชุมชน และหน่ วยงานราชการ ระบุ ........................
129

ตอนที 4 ผลกระทบ การเตรียมการและวิธีการป้องกันทีท่านได้ ดําเนินการในส่วนทีได้ รับผลกระทบจากสภาวะ


นําท่วมในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง (ให้ กาเครืองหมาย ถูก () ลงในช่องทีท่านเลือก ตอบทุกข้ อ)
ความหมายของค่าตัวเลข 1 – 5 คือ ได้ รับผลกระทบน้ อยมาก (1) ไปจนถึง หนักมากทีสุด (5)
ระดับผลกระทบทีได้ รับ
ประเภทของผลกระทบ การเตรี ยมความพร้ อม วิธีการ
มาก 5 4 3 2 1 น้ อย
4.1 ประเภทของผลกระทบ
1. ความเสียหายต่อทีอยู่อาศัย มาก น้ อย
2. ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และ/หรื อของมีค่า มาก น้ อย
3. ปั ญหาการคมนาคม มาก น้ อย
4. ปั ญหาต่อการประกอบอาชีพ/กิจการ มาก น้ อย
5. ปั ญหาด้ านจิตใจ มาก น้ อย
6. ปั ญหาด้ านสุขภาพ มาก น้ อย
7. ปั ญหาต่อการอยู่อาศัย มาก น้ อย
8. ปั ญหาด้ านการติดต่อสือสารหรื อปฏิสมั พันธ์กับชุมชน มาก น้ อย
9. อืนๆระบุ ................................................................ มาก น้ อย

หากท่านได้ เตรียมตัวในด้ านใดๆ ให้ กาเครืองหมาย ถูก () ลงในช่อง (ทํา) หากไม่ ให้ กาเครืองหมายในช่อง
(ไม่ทํา) และข้ ามไปข้ อถัดไป
ความหมายของค่าตัวเลข 1 – 5 คือ ได้ เตรียมความพร้ อม น้ อยมาก (1) ไปจนถึง หนักมากทีสุด (5)
ระดับของการเตรี ยมความพร้ อม
4.2 การเตรี ยมความพร้ อมในการรั บมือกับสภาวะนําท่ วม
มาก 5 4 3 2 1 น้ อย
1. การป้องกันอยู่อาศัย ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
2. การป้องกันทรัพย์สินของมีค่า ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
3. การเตรี ยมอาหารและนําดืม ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
4. การเตรี ยมยารักษาโรค ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
5. การเตรี ยมพร้ อมเครื องนุง่ ห่ม ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
6. การคมนาคม ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
7. การติดต่อสือสาร ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
8. อืนๆระบุ ............................................................... มาก น้ อย
130

ตอนที 5 การให้ ความสําคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านฯ และวัดความพึงพอใจในการแก้ ปัญหา


นําท่วมของผู้ทีเกียวข้ อง
หากท่านมีสว่ นร่วมในกิจกรรมนันๆให้ กาเครืองหมาย ถูก () ลงในช่อง (ทํา) หากไม่ ให้ กาเครืองหมายในช่อง
(ไม่ทํา) และข้ ามไปข้ อถัดไป
ความหมายของค่าตัวเลข 1 - 5 คือ ท่านได้ ให้ ความสําคัญต่อกิจกรรมนัน น้ อยมาก (1) ไปจนถึง มากทีสุด (5)

การมีส่วนร่ วมในการแก้ ปัญหานํ าท่ วม การให้ ความสําคัญการมีส่วนร่ วม


ในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง มาก 5 4 3 2 1 น้ อย
5.1 กิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการรั บมือและแก้ ปัญหานําท่ วม
1. ช่วยเผยแพร่ข้อมูลภายในชุมชน ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
2. บริจาคเงินซือกระสอบทราย ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
3. ช่วยบรรจุกระสอบทราย ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
4. ช่วยขน/ ทําแนวกระสอบทรายกันนํา ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
5. คอยแจ้ งเตือนระดับนําหรื อเหตุฉกุ เฉิน ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
6. อาสาสมัครกู้ภยั ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย
7. อาสาสมัครเฝ้าระวังนํา ทํา ไม่ทํา มาก น้ อย

ความหมายของค่าตัวเลข 1 - 5 คือ พอใจ น้ อยมาก (1) ไปจนถึง พอใจ มากทีสุด (5)


ความพึงพอใจในการแก้ ปัญหานําท่ วมในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง
ระดับของความพึงพอใจ
5.2 ท่ านพึงพอใจในการทํางานของหน่ วยงานราชการ
มาก 5 4 3 2 1 น้ อย
1. การให้ ข้อมูลความด้ านปั ญหานําท่วม มาก น้ อย
2. ความช่วยเหลือทีได้ รับจากภาครัฐฯ เขตและสํานักระบายนํา กทม.
- การแจกกระสอบทราย มาก น้ อย
- เครืองสูบนํา มาก น้ อย
- อาหารและนําดืม มาก น้ อย
- การอํานวยความสะดวกด้ านคมนาคม มาก น้ อย
- การอํานวยความสะดวกด้ านสาธารณสุข มาก น้ อย
- การชดเชยค่าเสียหาย มาก น้ อย
3. อืน ๆ ระบุ ...................................................... มาก น้ อย
131

ระดับของความพึงพอใจ
5.3 ท่ านพึงพอใจในการทํางานของคณะกรรมการชุมชน มาก 5 4 3 2 1 น้ อย
1. การให้ ข้อมูลความรู้ ด้านปั ญหานําท่วม มาก น้ อย
2. การเปิ ดรับบริจาคเงิน/ วัสดุเพือการจัดทํากระสอบทราย มาก น้ อย
3. การวางกระสอบทรายตามแนวคลองติดชุมชนป้องกันนําท่วม มาก น้ อย
4. การจัดตังจุดประสานงานหน้ าลานเอนกประสงค์ของหมู่บ้าน มาก น้ อย
5. ทีมอาสากู้ภยั ทีช่วยดําเนินการและประสานงานในด้ านต่าง ๆ มาก น้ อย
6. ทีมงานเฝ้าระวังและรายงานสภาวะนําท่วมให้ ทราบ มาก น้ อย
7. อาสาสมัครเฝ้าระวังและรายงานสภาวะนําท่วมให้ ทราบ มาก น้ อย
8. อาสาสมัครสาธารณสุข ดูแลผู้ป่วย คนชรา มาก น้ อย
9. อืน ๆ ระบุ .................................................................. มาก น้ อย

ตอนที 6 ข้ อเสนอแนะ ความคิดเห็นต่อแนวทางการแก้ ไขปั ญหานําท่วมในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง


.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................

ขอบพระคุณทุกท่านทีกรุณาตอบ
แบบสอบถาม
ภาคผนวก ข.
แบบประเมินความตรงด้ านเนือหาของแบบสอบถาม
การหาค่ าดัชนีความสอดคล้ องของวัตถุประสงค์
(Index of Item Objective Congruence: IOC)
133
134
135
136
137
138
139

การหาค่าดัชนความสอดคล้ องของวัตถุประสงค์
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ ทีให้ ความอนุเคราะห์ในการประเมินความเทียงตรงเชิงเนือหา
รศ.ดร.จําลอง โพธิ บุญ
รศ.ดร.บุญจง ขาวสิทธิวงศ์
ดร.รติพร ถึงฝั ง
ค่าดัชนีความสอดคล้ องของวัตถุประสงค์
คะแนนของผู้เชียวชาญ ผลรวม
ข้ อที IOC ผลการพิจารณา
ท่ านที 1 ท่ านที 2 ท่ านที 3 คะแนน
1 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
2 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
3 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
4 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
5 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
6 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
7 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
8 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
9 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
10 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
11 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
12 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
13 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
14 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
15 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
16 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
17 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
18 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
19 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
20 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
21 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
22 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
140

คะแนนของผู้เชียวชาญ ผลรวม
ข้ อที IOC ผลการพิจารณา
ท่ านที 1 ท่ านที 2 ท่ านที 3 คะแนน
23 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
24 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
25 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
26 1 0 1 2 0.67 สามารถนําไปใช้ ได้
27 1 0 1 2 0.67 สามารถนําไปใช้ ได้
28 1 0 1 2 0.67 สามารถนําไปใช้ ได้
29 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
30 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
31 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
32 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
33 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
34 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
35 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
36 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
37 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
38 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
39 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
40 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
41 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
42 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
43 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
44 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
45 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
46 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
47 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
48 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
49 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
50 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
141

คะแนนของผู้เชียวชาญ ผลรวม
ข้ อที IOC ผลการพิจารณา
ท่ านที 1 ท่ านที 2 ท่ านที 3 คะแนน
51 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
52 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
53 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
54 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
55 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
56 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
57 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
58 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
59 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
60 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
61 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
62 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
63 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
64 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
65 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
66 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
67 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
68 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
69 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
70 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
71 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
72 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
73 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
74 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
75 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
76 1 1 1 3 1.00 สามารถนําไปใช้ ได้
ภาคผนวก ค.
เอกสารจัดทําโดยคณะกรรมการชุมชน
143

แถลงการณ์ฉบับที 1
เรือง " การเตรียมความพร้ อมรับมือภัยพิบตั ิ ชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง "

ตามที เกิดเหตุภยั พิบตั ินําท่วมในหลายจังหวัด ทังเหตุมีพายุ ฝนตกหนัก นําล้ นเขือนและ


นําทะเลหนุน สูงนัน แม้ กรุ งเทพมหานครจะพยายามในการป้ องกัน อย่างเต็มทีแต่นําอาจท่วม
กรุงเทพมหานครหลายจุดซึงยังไม่สามารถคาดการระดับนําได้ ชดั เจน
รวมทัง ภัยพิบตั ินําท่วมเกิดขึนอย่างกว้ างขวางจากสภาพการ การคาดหวังและรอความ
ช่วยเหลือจากภายนอกจึกเป็ นเรื องยาก การเตรี ยมความพร้ อมรับมือ ภัยพิบัตินําท่วม โดยความ
ร่วมมือของทุกคนในชุมชนจึงเป็ นเรืองสําคัญยิง คณะกรรมชุมชน ฯ จึงขอเรียนให้ ทกุ ท่านทราบว่า
1. หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทองเป็ นหมู่บ้านขนาดใหญ่ มีบ้านเรื อนจํานวน 3,325 หลังคา
เรือน ประชากรประมาณ 17,870 คน
2. จากการประชุมร่วมกัน และการสํารวจพบว่าจุดทีนําไหลเข้ าหมู่บ้าน จากคลองทับช้ าง
บน และคลองทับช้ างล้ าง ช่วงท้ ายซอยใน 7 ซอยคือ ซอยนักกีฬาแหลมทอง 1, 5, 6, 7, 13, 15
และ ซอย 38
3. คณะกรรมการ ฯ ได้ ตงโต๊ ั ะรับเงินสมทบทุนเพือนําไปป้องกันปั ญหาระดับนําทีจะไหล
เข้ าหมู่บ้าน ได้ แล้ วเบื องต้ นจํานวน 18,000 บาท ( ณ วันที 13 ต.ค. 54 ) จะนําไปซือทรายและ
กระสอบทังนีของให้ จิตอาสาทุกท่านได้ ช่วยกันร่วมแรงกรอกทราย ณ บริเวณด้ านหน้ าตลาด ( โดย
จะแจ้ งให้ ทราบอีกครังนึง เนืองจากทรายขาดตลาดจึงไม่อาจกําหนดเวลาได้ ชดั เจน )
4. ขอให้ ทกุ ท่านช่วยกันติดต่อ / ประสานญาติมิตร เพือนฝูง ฯลฯ ทีมีทรายหรื อวัสดุอืน ๆ
ได้ ช่วยกันนํามาป้องกัน ณ จุดทีมีปัญหาข้ างต้ น
5. ขอให้ สามาชิกแต่ละซอยได้ มีการปรึกษาหารื อกัน หาคณะทํางานหรื อทีมอาสาสมัคร
ประจําซอย เพือสํารวจจุนํารัว และร่วมกันแก้ ไขปั ญหา ช่วยกันเฝ้าระวังปั ญหาขยะปากท่อ ช่วยกัน
สํารวจจํานวนคนพิการ ผู้สงู อายุ เด็กเล็ก รวมทังหาวิธีอพยพหากเกิดเหตุฉกุ เฉิน
6. กรณีนําท่วมสูงขึนเลือย ๆ อาจต้ องตัดไฟฟ้าเพือนความปลอดภัย การเข้ ามาช่วยเหลือ
จากภายนอก หากกระจายในพืนทีกว้ างจะยากลําบาก คณะกรรมการ ฯ ได้ เตรี ยมจุดอพยพไว้ ณ
โรงเรียนสมโภชกรุงอนุสรณ์ (200 ปี ) ขอให้ ทกุ ท่านได้ เตรียมอุปกรณ์ยงั ชีพ อาทิเช่น อาหาร นํา นม
ผ้ าห่ม มุ้ง ยา ไฟฉาย ฯลฯ อนึงควรย้ ายมาจุดอพยพก่อนทีระดับนําจะสูงมากเกิ นไปและพืนที
ดังกล่าวเน้ นรองรับผู้หญิง เด็ก คนชรา ผู้พิการ ผู้ป่วย เป็ นลําดับแรก
144

7. หมูบ่ ้ านนักกีฬา ฯ มีเครื องสูบนําของกรุงเทพมหานครกระจายตามซอยต่าง ๆ 11 ตัว


ดังนี ซอย 38 (22 ง. เดิม) 4 ตัว (ไฟฟ้า 2 ดีเซล 2) ซอย 8 จํานวน 2 ตัว (ไฟฟ้า) ซอย 7 จํานวน 1
ตัว (ไฟฟ้า) ซอย 6 จํานวน 4 ตัว (ไฟฟ้า 2 ดีเซล 2) ขอให้ ท่านทีอาศัยอยู่แต่ละซอยได้ ร่วมดูแล / ให้
กําลังในเจ้ าหน้ าที ฯ รวมทังช่วยแก้ ไขปั ญหาในกรณีต่าง ๆ ทังนีเพือนให้ เครื องสูบนํา ได้ ทํางาน
อย่างเต็มที

แถลงการณ์ฉบับที 2
เรืองการเตรียมอพยพประชาชน

ด้ วยวิกฤตินําท่วมกรุงเทพทีกําลังเกิดขึนเวลานี คณะกรรมการชุมชนฯร่วมกับคณะทํางาน
สู้วิกฤติภยั นําท่วมได้ ประชุมวางแผนการเพือเตรี ยมรับมือกับภัยนําท่วมทีอาจเกิดขึนกับหมู่บ้าน
นักกีฬาฯอีกครังหนึงเมือวันที 21 ตุลาคม 2554
และขอประกาศแจ้ งมายังพีน้ องชาวชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทองดังนี
1. แผนการเตรียมความพร้ อมประชาชน เพือเคลือนย้ ายไปยังจุดทีปลอดภัย ในกรณีเกิด
วิกฤติภยั นําท่วม โดยจุดทีเป็ นทีพักพิงชัวคราวคือ โรงเรียนสมโภชกรุงอนุสรณ์ (200 ปี )สามารถรับ
ได้ 800 คน มีจดุ รับลงทะเบียนทีหน้ าตลาดลานเอนกประสงค์ของชุมชน เริ มลงทะเบียน วันที 22
ตุลาคม 2554 หากเกินจํานวนทีรับได้ จะประสานไปยังโรงเรียนศรีพฤฒา เพือขอให้ พืนทีเป็ นจุด
พักพิงชัวคราวอีกจุดหนึง
2. การเตรี ยมสัญญาณแจ้ งเหตุและวิธีการแจ้ ง โดยการยิงพลุสญ ั ญาณ เป็ น 3 ระดับ
ดังนี
- ระดับที 1 เมือนําขึนสูง ระดับ ตาตุม่
- ระดับที 2 เมือนําขึนสูงระดับ หัวเข่า
- ระดับที 3 เมือนําขึนสูงในระดับเอว
วิธีการยิงพลุ สัญญาณ จะยิง เป็ นชุดๆละ 8 นัด จํานวน 4 ชุด ใน 4 จุดต่อไปนี คือ
- จุดที 1 บริเวณ ซอย 1
- จุดที 2 บริเวณหน้ าตลาด
- จุดที 3 ซอย 5 หลังโรงเรียนศรีพฤฒา
- จุดที 4 บริเวณ ซอย 23 (เก่า) ทางออกมอเตอร์เวย์
145

3. การรองรับการการรักษาพยาบาลและการส่งต่อผู้ป่วย ที มงานอสส. ร่ วมกับ หน่ วย


เคลือนทีศูนย์สาธารณสุข 68 สามารถรองรับผู้ป่วยปฐมภูมิ และส่งต่อไปยังโรงพยาบาล จุดทีใกล้
ทีสุด เช่น รพ.นพรัตน์ และสรุปข้ อมูลผู้ป่วย, ผู้พิการ, ผู้สงู อายุ, เด็กและหญิ งมีครรภ์ เพือให้ การ
ช่วยเหลือก่อน
4. การเตรี ยมทีมอาสาสมัครกู้ภยั ในเบื องต้ น มีรถกะบะสูง 2 คัน , เรื อหางยาว 2 ลํา
เตรียมพร้ อมสําหรับการขนย้ าย
5. การเตรี ยมการเฝ้าระวัง เตรี ยมกระสอบทรายสํารองไว้ เพือเสริ มจุดทีนําสามารถไหล
ทะลักเข้ ามาได้
6. การกระจายข้ อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ในทุกๆช่องทาง ทังสืออินเตอร์ เน็ต การนํารถ
ออกวิงกระจายเสียงตามซอยต่างๆ การออกสือ วิทยุชุมชน และการออกใบปลิว ทังนี มีรายชือผู้
ประสานงานดังต่อไปนี

ลําดับที ภารกิจ ผู้ประสานงาน หมายเลขโทรศัพท์ หมายเหตุ


1 อาสาสมัครกู้ภัย นายภิญโญ จันทร์ ปาน 087-9913543 โครงการบ้ านปราง
ทิพย์
2 อาสาสมัครสาธารณสุข นางสุมิตรา วัชรภาสกร 086-5658239 รองประธาน
3 อาสาสมัครเฝ้าระวัง นายสมเกียรติ โชคชัยมา 080-9109844 รองประธาน
ดล
4 อาสาสมัครศูนย์พกั พิง นางเบญวรรณ คมกฤส 080-5914083 ประธาน

เพือเป็ นการเตรียมตัวได้ ทนั ก่อนเกิดเหตุการณ์ฉกุ เฉิน ขอให้ พีน้ องชาวชุมชนหมูบ่ ้ าน


นักกีฬาแหลมทองทุกท่าน โปรดติดตามข่าวทุกระยะ และร่วมกันเฝ้าระวังและแจ้ งข่าวแก่กนั และ
เตรียมตัวให้ พร้ อมสําหรับการอพยพขนย้ าย

ด้ วยความเชือมันในพลังชุมชน
คณะกรรมการชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง
146

เอกสารจัดทําโดยคณะกรรมการชุมชนหมูบ่ ้ านนักกีฬาแหลมทอง

DIY อุปกรณ์กนั นําท่วมทําเอง “ถุงกันนําท่วม” ใช้ แทนกระสอบทราย

ถุง นํ า ใช้ กันนํ าท่ ว มบ้ านแทนกระสอบทราย ผมทดลองทํ า ดูแ ล้ ว และเห็ น ว่า มัน มี
ประสิทธิภาพพอๆกับกระสอบทราย ประหยัดกว่า และใช้ นําแทนทราย โดยอาศัยหลักการเดียวกัน
กับกระสอบทราย กล่าวคือ
ทรายเป็ นมวลสารที มีนํ าหนัก กระสอบเป็ นภาชนะที บัง คับ ให้ ท รายอยู่ใ นรู ป ทรงของ
กระสอบ จึงทําให้ กระสอบทรายมีนําหนักมากพอทีจะต้ านทานแรงดันของนําได้ ยิงวางซ้ อนกัน
หลายชันและหลายแถวก็จะยิงต้ านทานแรงดันของนําได้ มากขึนตามลําดับ
ทีนี นําก็เป็ นมวลสารทีเมือรวมตัวกันมากๆ ก็จะมีนําหนักมากเช่นกัน ถุง จึงเป็ นภาชนะที
บังคับให้ นําอยู่ใ นรูป ทรงของถุง จึงทําให้ ถุงนํ ามีนํ าหนักมากพอทีจะต้ านทานแรงดันของนํ าได้
เช่นเดียวกับกระสอบทราย ยิงวางซ้ อนกันหลายชันก็จะยิงทําให้ ต้านทานแรงดันของนําได้ มากขึน
เช่นกัน ซึงการวางซ้ อนกันหลายชันนันก็ต้องเพิมแถวการวางถุงนําลงไปด้ วยเพือเป็ นการถ่ายเท
นําหนักของถุงนําให้ กระจายออกไปทําให้ ถงุ ไม่แตกง่าย
147

วิธีอดุ ท่อระบายนําในบ้ านเวลาเกิดนําท่วม


ประวัติผ้ ูเขียน

ชือ ชือสกุล นายศิรพัชร วัชรภาสกร

ประวัตกิ ารศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต


สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร
ลาดกระบัง
ปี ทีสําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2549

ประสบการณ์ ทาํ งาน พ.ศ. 2550 – 2552


นักวิชาการ บริษัท ธนันต์อินทราโก จํากัด
599 พัฒนาการ 53 สวนหลวง กทม. 10250

You might also like