Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 68

ส่วนที่ 1

แนวคิดเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

1
เนื้อหา
1. ความหมายของการบัญชีต้นทุน
2. วัตถุประสงค์ของการบัญชีตน้ ทุน
3. การจาแนกประเภทต้นทุน
3.1 เพื่อการจัดทางบการเงิน
3.2 เพื่อการจัดการ
4. ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุนการผลิตหรือต้นทุนของผลิตภัณฑ์
5. วงจรต้นทุนและการจัดทางบการเงิน

2
1. ความหมายของการบัญชีต้นทุน
• การบัญชีต้นทุน ( Cost Accounting )
เป็นกระบวนการการบันทึกบัญชีสาหรับกิจการที่ดาเนินงาน
ผลิตสินค้าและบริการ การบัญชีต้นทุนถือเป็นส่วนหนึ่งของการ
บัญชีการเงินที่เกี่ยวข้องกับการรายงานทางการเงินเพื่อนาเสนอ
แก่บุคคลภายนอก และในขณะเดียวกัน การบัญชีต้นทุนยังถือเป็น
ส่ ว นหนึ่ ง ของการบั ญ ชี เ พื่ อ การจั ด การหรื อ การบั ญ ชี บ ริ ห ารที่
เกี่ยวข้องกับการวางแผนและตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
3
2. วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน
1) การวัด ผลกาไรขาดทุนประจางวด งบกาไรขาดทุ นเป็นงบแสดงผลการดาเนินงานประจางวด
สาหรับกิจการที่ผลิตสินค้าและให้บริการ
2) การคานวณต้นทุนการผลิต สินค้า การคานวณต้นทุนการผลิตสินค้านอกจากจะแสดงในงบกาไร
ขาดทุ นประจ างวดแล้ ว การบัญชี ต้นทุ นต้อ งให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ข้ อ มู ล ที่ ช่ว ยให้ ผู้ บ ริ ห ารหรื อ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
สามารถคานวณต้นทุนการผลิต
3) การวางแผนและควบคุ ม การวางแผน ได้ แ ก่ การวางแผนทางการตลาด เช่ น การก าหนด
ผลิตภัณฑ์ ปริมาณ ราคาของสินค้าและบริการ
4) การกาหนดราคาขายของสินค้าและบริการ ผู้บริหารจาเป็นต้องทราบรายละเอียดของต้นทุนของ
สินค้าและบริการเพื่อใช้ในการกาหนดราคาขายที่เหมาะสมกับสภาวะทางการตลาด
5) การเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ การตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ ทุกขั้นตอน จาเป็นต้องนา
ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนเป็นเครื่องมือประกอบการตัดสินใจ
6) การประเมินผลการดาเนินงาน การประเมินผลการดาเนินงานขึ้นอยู่กับลักษณะของการกระจาย
อ านาจหรื อ การรวมอ านาจการตั ด สิ น ใจ และระดั บ ของการตั ด สิ น ใจ ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ก ารวั ด ผลการ
ดาเนินงาน เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของระดับหน่วยงาน หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย
และความรับผิดชอบ

4
3. การจาแนกประเภทต้นทุน
3.1 เพื่อการจัดทางบการเงิน
• ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุนการผลิต และต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการผลิต
• ต้นทุนผลิตภัณฑ์ หรือ ต้นทุนสินค้า แยกตามลักษณะกิจการ ได้แก่
– ต้นทุนสินค้าของกิจการซื้อขายสินค้า
สมการต้นทุนสินค้าขายของกิจการซือ้ ขายสินค้าอาจแสดงดังนี้
สินค้าคงเหลือต้นงวด + ซื้อสุทธิ = ต้นทุนสินค้าขาย + สินค้าคงเหลือปลายงวด
– ต้นทุนสินค้าของกิจการผลิตสินค้า
• 1) วัตถุดิบทางตรง ( Direct Material ) ต้นทุนเบื้องต้น (Prime Costs)
• 2) ค่าแรงงานทางตรง( Direct Labor )
• 3) ค่าใช้จ่ายการผลิต ต้นทุนในการแปลงสภาพ
สินค้า (Conversion
( Manufacturing Overhead )
Costs)
5
ตัวอย่าง ต้นทุนการผลิต
Production Costs

ค่าใช้จ่ายการผลิต
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง Manufacturing
Direct Material Costs Direct Labor Costs Overhead Costs

ค่าวัตถุดิบทางอ้อม Indirect Materials


ต้นทุนเบื้องต้น ค่าแรงทางอ้อม Indirect Labor
Prime Costs ค่าเช่า Rent Expense
ค่าประกันสังคม Social Assurant Expense
สาธารณูปโภค Utility Expenses
ภาษีโรงเรือน Property Tax Expenses
ค่าเสื่อมราคา Depreciation Expense
ค่าซ่อมแซม Maintenance Expenses
ค่าเบี้ยประกันภัย Insurance Expense

ต้นทุนแปลงสภาพ Conversion Costs)

6
ตัวอย่าง
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

ค่าใช้จ่ายแผนกจัดส่ง ค่าใช้จ่ายแผนกขาย

ค่าโฆษณา
เงินเดือนพนักงานสานักงาน
ค่าขนส่งเมื่อขาย เงินเดือนพนักงานขาย
เงินเดือนผู้บริหาร
ค่าเสื่อมราคา ค่าตัวอย่างสินค้า
ค่าเช่า
ค่าน้ามันรถ ค่าใช้จ่ายเดินทาง
ค่าเสื่อมราคา
ค่าซ่อมแซมรถ ค่าเสื่อมราคา
ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
เงินเดือนพนักงานจัดส่ง ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
ค่าใช้จ่ายเดินทาง
ค่าใช้จ่ายคลังสินค้า ค่าวัสดุการขาย
ภาษีโรงเรือน
ค่าประกันภัย ภาษีโรงเรือน
ค่าประกันสังคม
ค่าประกันสังคม
ค่าเบี้ยประกันภัย
ค่าเบี้ยประกันภัย

7
งบแสดงฐานะการเงิน(งบดุล) หมายเหตุประกอบงบการเงิน

8
การจัดทางบการเงินเกี่ยวกับต้นทุนและค่าใช้จ่าย

9
การจัดทางบการเงินเกี่ยวกับต้นทุนและค่าใช้จ่าย

10
3.2 การจัดประเภทต้นทุน
เพื่อการจัดการ
• 3.2.1 การจัดประเภทต้นทุนเพื่อการวิเคราะห์และพยากรณ์
พฤติกรรมต้นทุน
• 3.2.2 การจัดประเภทต้นทุนเพื่อการรวบรวมและการจัดสรรต้นทุน
• 3.2.3 การจัดประเภทต้นทุนเพื่อใช้ในการตัดสินใจ

11
3.2.1 การจัดประเภทต้นทุน
เพื่อการวิเคราะห์และพยากรณ์พฤติกรรมต้นทุน
• พฤติกรรมต้นทุน (Cost Behavior) คือ แนวทางหรือลักษณะของการที่
ต้นทุนตอบสนองต่อระดับของปริมาณกิจกรรมในธุรกิจ การเพิ่มหรือลด
ปริมาณกิจกรรมอาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนบางประเภท การทราบ
พฤติกรรมของต้นทุนทาให้ผู้บริหารสามารถทราบการเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ของต้นทุนที่มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณกิจกรรมหรือผลผลิต
เพื่อใช้ในการวางแผนการผลิต
ต้นทุนมี 2 ประเภท คือ
1) ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) และ
2) ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs)

12
ต้นทุนผันแปร
คือ ต้นทุนที่ผันแปรไปตามระดับกิจกรรมหรือตามหน่วยที่ผลิต

รูปที่ 1.1 พฤติกรรมของต้ นทุนผันแปร


ต้ นทุนคอมเพรสเซอร์ (บำท)

3000 ต้ นทุนรวมของคอมเพรสเซอร์
2000 (บาท)
1000 ต้ นทุนคอมเพรสเซอร์ ตอ่ ตู้เย็น
0 1 เครื่อง(บาท)
0 เครื่อง 1 เครื่อง 2เครื่อง 3เครื่อง

จำนวนตู้เย็นที่ผลิต

13
ต้นทุนคงที่
คือ ต้นทุนโดยรวมที่เกิดขึ้นอย่างคงที่ไม่ผันแปรไปตามกิจกรรมหรือตามจานวน
สินค้าที่ผลิต เช่น ค่าเสื่อมราคาโรงงานและเครื่องจักร

รู ปที 1.2 พฤติกรรมของต้ นทุนคงที่


ค่ ำยำมรั กษำกำรณ์ (บำท)

8000
6000 ค่ายามรั กษาการณ์ (บาท)
4000
2000
0
ค่ายามรั กษาการณ์ เฉลี่ย
0 เครื่ อง 1 เครื่ อง 2เครื่ อง 3เครื่ อง ต่อตู้ย็น 1 เครื่ อง(บาท)

จำนวนตู้เย็นที่ผลิต

14
3.2.2 การจัดประเภทต้นทุน
เพื่อการรวบรวมและการจัดสรรต้นทุน
• ต้นทุนทางตรง ( Direct cost ) คือ ต้นทุนที่เป็นส่วนสาคัญโดยตรงของสินค้าที่ผลิต
ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิตทางตรงอื่นๆ ส่วน ต้นทุน
ทางตรงมักจะผันแปรไปตามปริมาณการผลิตสินค้าหรือกิจกรรมการผลิตอย่างมี
สาระสาคัญ
• ต้นทุนทางอ้อม ( Indirect cost ) คือ ต้นทุนที่ไม่ถือเป็นส่วนสาคัญของสินค้าที่ผลิต
ได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงทางอ้อม และค่าใช้จ่ายการผลิตทางอ้อมอื่นๆ ส่วน ต้นทุน
ทางอ้อมจะไม่ผันแปรไปตามปริมาณการผลิตสินค้า หรือกิจกรรมการผลิตอย่างมี
สาระสาคัญ
• การจัดสรรต้นทุน ต้นทุนทางตรงสามารถคานวณต้นทุนต่อหน่วยได้ง่ายเพราะมีลักษณะ
ที่ผันแปรไปตามหน่วยที่ผลิต แต่ต้นทุนทางอ้อมไม่ผันแปรไปตามหน่วยสินค้าที่ผลิต เช่น
เงินเดือนผู้จัดการโรงงาน เงินเดือนพนักงานประจาโรงงาน เป็นต้น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องนา
ต้นทุนทางอ้อมนามาจัดสรรให้เป็นต้นทุนต่อหน่วยโดยการนาต้นทุนทางอ้อมดังกล่าวหาร
ด้วยหน่วยที่ผลิตในแต่ละเดือน ผลที่ได้อาจไม่เท่ากันทุกเดือนเพราะขึ้นอยู่กับจานวนสินค้าที่
ผลิต แต่สามารถเป็นข้อมูลที่ช่วยผู้บริหารในการตั้งราคาขายสินค้าได้

15
3.2.3 การจัดประเภทต้นทุน
เพื่อใช้ในการตัดสินใจ
• ต้นทุนส่วนแตกต่างหรือต้นทุนทีเ่ พิ่มขึ้น และรายได้ส่วนแตกต่าง
หรือรายได้ที่เพิ่มขึ้น
1

16
3.2.3 การจัดประเภทต้นทุนเพื่อใช้ในการตัดสินใจ(ต่อ)

• ต้นทุนเสียโอกาส (Opportunity cost) คือ ผลประโยชน์ที่เสีย


ไปจากการไม่เลือกทางเลือกนั้น
จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าผู้บริหารเลือกทางเลือกการขายปลีก
ต้นทุนเสียโอกาสจะเท่ากับ 300,000 บาท คือต้นทุนที่เกิดจากการเสีย
โอกาสที่จะได้กาไรจากการขายส่งทีเ่ ป็นทางเลือกที่ไม่ได้เลือก

17
3.2.3 การจัดประเภทต้นทุนเพื่อใช้ในการตัดสินใจ(ต่อ)

• ต้นทุนจม (Sunk cost) คือ ต้นทุนที่เกิดขึ้นแล้วและไม่สามารถ


หลีกเลี่ยงหรือเปลี่ยนแปลงได้ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจที่จะ
เปลี่ยนแปลงทั้งในปัจจุบนั หรืออนาคต
จากตัวอย่างที่ 1 ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น
ค่าใช้จ่ายอื่นๆมีลักษณะคงที่และไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือเปลีย่ นแปลงได้
แม้ว่าจะเลือกทางเลือกอื่น ค่าใช้จ่ายดังกล่าวยังคงต้องจ่ายในจานวน
เท่ากัน เป็นต้น

18
4. ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุน
การผลิตหรือต้นทุนของผลิตภัณฑ์

4.1 ประเภทของธุรกิจ
4.2 ลักษณะทั่วไปของธุรกิจผลิตสินค้า
4.3 ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุนการผลิต

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

19
4.1 ประเภทของธุรกิจ
• ธุรกิจให้บริการ
• ธุรกิจซื้อขายสินค้า
– ธุรกิจค้าส่ง
– ธุรกิจค้าปลีก
• ธุรกิจการผลิตสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

20
4.2 ลักษณะทั่วไปของธุรกิจผลิตสินค้า
• ผังการจัดองค์กร (Organization Chart)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

21
วงจรธุรกิจ (Business cycle)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

22
4.3 ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุนการผลิต
หรือต้นทุนของผลิตภัณฑ์
1. วัตถุดิบ (Materials) คือ วัตถุดิบที่นามาใช้เป็นส่วนประกอบทีส่ าคัญในการ
ทาให้ผลิตภัณฑ์นั้นสาเร็จรูป ต้นทุนวัตถุดิบแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.1 วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) หมายถึง วัตถุดิบที่นาไปใช้เป็นสาคัญในการ
ผลิตสินค้าหรือบริการโดยตรง สามารถคานวณได้ง่ายว่าต้นทุนวัตถุดิบที่รวมอยู่ในการผลิต
สินค้าหนึ่งหน่วยเป็นเท่าใด เช่น ไม้ที่นามาใช้เป็นเฟอร์นิเจอร์ ผ้าที่นามาตัดเป็นเสื้อ เป็นต้น
1.2 วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Materials) หมายถึง วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้านั้น
แต่ใช้เป็นจานวนน้อย เป็นการยากที่จะทราบได้ว่าจะต้องใช้วัตถุดิบเหล่านี้ในการผลิตสินค้า
หนึ่งหน่วยเท่ากับเท่าใด เช่น กาว ตะปู ด้าย เป็นต้น

23
2. ค่าแรง (Labor) คือ จานวนเงินที่กิจการจ่ายเป็นค่าตอบแทนแรงงานในการ
ผลิตสินค้าหรือบริการ การจ่ายค่าแรงงานอาจจะอยู่ในรูปต่างๆ เช่น ในรูปของ
เงินเดือน ค่าแรงรายชั่วโมง เป็นต้น ค่าแรงแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ค่าแรงทางตรง (Direct Labor) หมายถึง ค่าแรงที่ต้องเกิดขึ้นเพื่อเปลี่ยนสภาพ
วัตถุดิบให้เป็นสินค้าสาเร็จรูป หรือเป็นค่าแรงที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้านั้นๆโดยตรง และ
สามารถคานวณต้นทุนค่าแรงที่ใช้ในการผลิตสินค้าแต่ละหน่วยได้โดยง่าย เช่น ค่าแรงของ
ช่างตัดเสื้อในกิจการผลิตเสื้อสาเร็จรูป เป็นต้น
2.2 ค่าแรงทางอ้อม (Indirect Labor) หมายถึง ค่าแรงที่ไม่ได้ใช้ หรือไม่ได้เกี่ยวข้อง
กับการผลิตโดยตรง เช่น ค่าแรงหัวหน้าผู้ควบคุมงาน เงินเดือนของยาม เงินเดือนของ
ผู้จัดการโรงงาน เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากบุคคลเหล่านี้ไม่ได้เป็นผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ทั้งยังเป็น
การยากที่จะติดตามรายการดังกล่าวเข้าในหน่วยที่ผลิต ทาให้ไม่สามารถคานวณต้นทุน
ค่าแรงในการผลิตสินค้าได้

24
3. ค่าใช้จ่ายการผลิต หรือโสหุ้ยการผลิต (Factory Overhead หรือ
Manufacturing Overhead) คือ ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการผลิตสินค้าหรือ
บริการ ซึ่งนอกเหนือจากรายการวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงทางตรง โดยปกติ
รายการต้นทุนที่รวบรวมไว้ในรายการค่าใช้จ่ายในการผลิต ได้แก่
3.1 วัตถุดิบทางอ้อม
3.2 ค่าแรงทางอ้อม
3.3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้สาธารณูปโภค เช่น ค่าน้า ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์
3.4 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้อาคารสถานที่ เช่น ค่าเช่า ค่าเบี้ยประกันภัย
3.5 ต้นทุนค่าเครื่องมือเครื่องใช้เล็กๆน้อยๆที่ใช้ในโรงงาน
3.6 ค่าเสื่อมราคาโรงงาน อาคาร เครื่องจักร และอุปกรณ์ต่างๆในโรงงาน
3.7 ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษาสินทรัพย์ในโรงงาน
3.8 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ในโรงงาน
25 **แต่ทั้งนี้ การแยกประเภทดังกล่าวอาจจะแตกต่างกันไปตามลักษณะของกิจการ**
26
4.3 ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุนการผลิตผังบัญชี (บางส่วน)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

27
ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุนการผลิตผังบัญชี (บางส่วน)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

28
ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุนการผลิตผังบัญชี (บางส่วน)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

29
ส่วนประกอบของบัญชีต้นทุนการผลิตผังบัญชี (บางส่วน)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

30
5. วงจรต้นทุนและการจัดทางบการเงิน

5.1 กระบวนการทางบัญชี
5.2 วงจรบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า
5.3 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า

31
5.1 กระบวนการทางบัญชี
• การบันทึกรายการในสมุดรายวัน
• ผ่านรายการเข้าบัญชีแยกประเภท
• เมื่อสิ้นเดือนสรุปยอดทางบทดลอง มีการปรับปรุง ปิดบัญชี และ
• จัดทางบการเงิน
– กิจการที่ดีควรจัดทางบการเงินรายเดือนทุกเดือนเพื่อเป็นข้อมูลเพื่อให้ผู้ประกอบการ
ทราบผลการดาเนินงานและฐานะทางการเงิน และ
– เมื่อสิ้นปี จึงจัดทางบการเงินรายปีเพื่อนาส่งหน่วยราชการตามกฎหมายของลักษณะของ
กิจการ เช่น กรมสรรพากรแห่งกระทรวงการคลัง กรมพัฒนาธุรกิจการค้าแห่ง
กระทรวงพาณิชย์ และตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น
– มีผังบัญชี ซึ่งเป็นรายชื่อบัญชีแยกประเภท ระบุชื่อและรหัส
– นักวิชาชีพผู้ทาบัญชีที่มีความรู้และมีใบอนุญาตประกอบอาชีพนักบัญชี เพื่อบันทึกรายการ
ที่ถูกต้องตามหลักการบัญชี
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

32
5.2 วงจรบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า

33
5.2 วงจรบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

34
การบันทึกบัญชี
1) เมื่อลงทุนจัดตั้ง
ตัวอย่างที่ 1 บริษัทตัวอย่าง จากัด จดทะเบียนและเรียกชาระหุ้น
สามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท เป็นเงิน 1,000,000, บาท บันทึก
บัญชีในสมุดรายวันทั่วไปดังนี้

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

35
การบันทึกบัญชี

2) เมื่อเช่าสถานที่ประกอบการ

25X1 บัญชีค่าเช่าจ่าย-โรงงาน 6,000 -


……. บัญชีค่าเช่าจ่าย-สานักงาน 4,000 - -
บัญชีเงินฝากธนาคาร 10,000
จ่ายค่าเช่ารายเดือน

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

36
การบันทึกบัญชี

3) เมื่อซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์
• 3.1) เมื่อซื้ออุปกรณ์

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

37
การบันทึกบัญชี

อุปกรณ์เป็นทรัพย์สินถาวรมีอายุการใช้งาน 1 ปี เมื่อสิ้นงวดเช่นทุก
เดือน ควรมีการตัด ค่าเสื่อมราคา ตามอายุใช้งาน เช่น 5 ปี 10 ปี หรือ 20
ปีแล้วแต่ชนิดของสินทรัพย์ โดยบันทึกบัญชีดังนี้

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

38
การบันทึกบัญชี

• 3.2) เมื่อซื้อวัตถุดิบ (เช่น วัตถุดิบทางตรง วัตถุดิบทางอ้อม ฯลฯ) และวัสดุ


สานักงาน (เช่น เครื่องเขียนแบบพิมพ์ ค่าน้าชา กาแฟสาหรับต้อนรับลูกค้า ฯลฯ)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

39
การบันทึกบัญชี

• 3.2) เมื่อซื้อวัตถุดิบ (เช่น วัตถุดิบทางตรง วัตถุดิบทางอ้อม ฯลฯ) และวัสดุ


สานักงาน (เช่น เครื่องเขียนแบบพิมพ์ ค่าน้าชา กาแฟสาหรับต้อนรับลูกค้า ฯลฯ)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

40
การบันทึกบัญชี
4) เมื่อว่าจ้างพนักงาน
การบันทึกบัญชีการจ่ายเงินเดือนและค่าแรงเป็นดังตัวอย่างต่อไปนี้

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

41
การบันทึกบัญชี
5) เมื่อจ่ายเงินชาระหนี้การค้าและค่าใช้จ่ายการผลิตอื่นๆ

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

42
การบันทึกบัญชี
6) เมื่อผลิต
• วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) คือ ต้นทุนทางตรงที่เป็นวัตถุดิบสาคัญ
ที่ใช้ในการผลิตสินค้า โดยถือเป็นต้นทุนสาคัญของสินค้า วัตถุดิบทางตรง
มักจะผันแปรไปตามปริมาณการผลิตสินค้า หรือกิจกรรมการผลิตอย่างมี
สาระสาคัญ

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

43
การบันทึกบัญชี
6) เมื่อผลิต
• วัตถุดิบทางอ้อม ( Indirect Material ) เป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการผลิต
คือ ต้นทุนทางอ้อมที่เป็นค่าวัตถุดิบที่ไม่ได้ใช้ในการผลิตสินค้าโดยตรง วัตถุดิบ
ทางอ้อมไม่ถือเป็นต้นทุนที่สาคัญของสินค้า และมักจะไม่ผันแปรไปตามปริมาณ
การผลิตสินค้าหรือกิจกรรมการผลิตอย่างมีสาระสาคัญ

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

44
การบันทึกบัญชี
6) เมื่อผลิต
• ค่าแรงทางตรง (Direct Labor) คือ ต้นทุนทางตรงที่เป็นค่าแรงงานในการผลิต
สินค้า โดยถือเป็นต้นทุนสาคัญของสินค้า ค่าแรงทางตรงมักจะผันแปรไปตาม
ปริมาณการผลิตสินค้าหรือกิจกรรมการผลิตอย่างมีสาระสาคัญ

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

45
การบันทึกบัญชี
6) เมื่อผลิต
• ค่าแรงทางอ้อม (Indirect Labor) เป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายการผลิต คือ ต้นทุน
ทางอ้อมที่เป็นค่าแรงงานที่ไม่ได้ใช้ในการผลิตสินค้าโดยตรง ค่าแรงทางอ้อมไม่ถือ
เป็นต้นทุนที่สาคัญของสินค้า และมักจะไม่ผันแปรไปตามปริมาณการผลิตสินค้า
หรือกิจกรรมการผลิตอย่างมีสาระสาคัญ

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

46
การบันทึกบัญชี
6) เมื่อผลิต

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

47
การบันทึกบัญชี
• 6) เมื่อผลิต

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

48
การบันทึกบัญชี
• 6) เมื่อผลิต

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

49
การบันทึกบัญชี
7) เมื่อเก็บสินค้า

• หัวหน้าแผนกคลังสินค้ามีหน้าที่ดูแลและบันทึกบัตรสินค้าแต่ละประเภท บันทึก
การหมุนเวียนจานวนสินค้าเข้า จานวนออกหรือขาย และจานวนคงเหลือ ควรมี
การกาหนดจานวนคงต่าสุดที่มีไว้และเมื่อสินค้าคงเหลือถึงจุดต่าสุดดังกล่าวต้อง
จัดทาใบขอซื้อส่งให้แผนกจัดซื้อดาเนินการซื้อวัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลือง

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

50
การบันทึกบัญชี
8) เมื่อขายสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

51
การบันทึกบัญชี
9) เมื่อรับเงิน

10) เมื่อนาเงินสดฝากธนาคาร
25X2 บัญชีเงินฝากธนาคาร 32,100 -
……. บัญชีเงินสด 32,100 -
นาเงินสดฝากธนาคาร

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

52
วงจรบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า
1. เตรียมการผลิต (Procurement) คือ
1. เมื่อซื้อวัตถุดิบ
2. เมื่อว่าจ้าง
3. เมื่อจ่ายเงินค่าจ้าง และค่าใช้จ่ายการผลิต
2. ผลิต (Production)
1. เมื่อผลิต
3. ผลิตเสร็จเก็บเข้าคลังสินค้า (Warehousing)
1. เมื่อเก็บสินค้า
4. ขาย (Selling)
1. เมื่อขาย

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

53
วงจรบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

54
ทางเลือกในการบันทึกบัญชี
• 1. ทางเลือกการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับของคงเหลือ
• 1.1 วิธีต่อเนื่อง ( Perpetual inventory method )
• 1.2 วิธีเมื่อสิ้นงวด ( Periodic inventory method )
• 2. ทางเลือกการบันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต
• 2.1 บันทึกบัญชีย่อยค่าใช้จ่ายผลิตเป็นบัญชีแยกประเภททั่วไปและปิดบัญชีย่อยค่าใช้จ่าย
การผลิตเข้าบัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายผลิต
• 2.2 ทุกรายการย่อยของบัญชีค่าใช้จ่ายผลิตจะบันทึกเข้าบัญชีคุมยอดบัญชีค่าใช้จ่ายผลิต
ซึ่งเป็นบัญชีแยกประเภททั่วไปเท่านั้น และถ้าต้องการทราบรายละเอียดของค่าใช้จ่ายการ
ผลิตอาจต้องมีการระบบการบันทึกบัญชีย่อยหรือใช้กระดาษทาการวิเคราะห์แยกบัญชี
ย่อยค่าใช้จ่ายการผลิต

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

55
1. ทางเลือกการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับของคงเหลือ

• ตารางที่ 4.2 (หน้าถัดไป) สรุปรายการเปรียบเทียบการบัญชีต้นทุนการผลิต


กรณีการบันทึกวัตถุดิบและสินค้าใช้วิธีต่อเนื่องและวิธีเมื่อสิ้นงวด (ไม่คานึงถึง
ภาษีและรายการหัก ณ ที่จ่าย)
• 1.1 วิธีต่อเนื่อง ( Perpetual inventory method )
• 1.2 วิธีเมื่อสิ้นงวด ( Periodic inventory method )

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

56
( มีต่อ )
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

57
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

58
2.1 บันทึกบัญชีย่อยค่าใช้จ่ายผลิตเป็นบัญชีแยกประเภททั่วไปและ
ปิดบัญชีย่อยค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าบัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายผลิต

(ตารางหน้าถัดไป)

59
คุมยอดวัตถุดิบ 1430 งานระหว่างทา WIP 1420 สินค้าสาเร็จรูป FG 1410 ต้นทุนขาย CGS 5000

ย/ม 1.2 (4) ตรง 8.20 ย/ม 1.8 (8) FG 17.0 ย/ม 2.5 9.1 ขาย 15.0 (9.1) FG 15 (9.2)PL 15
(1) ซื้อ 100 (4) อ้อม .42 (4) DM 8.2 ย/ป 14.0 (8)WIP 17.0 ย/ป 4.5
ย/ป 92.58 (5) DL 8.0 19.5 19.5
101.2 101.2 (7) MOH 13.0
31.0 31.0
คุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 5030 สรุปรายได้ค่าใช้จ่าย PL 7000
(2) จ่าย 10 (5) ตรง 8.00 (หน่วย = 1,000 บาท) (9.2)CGS 15
(5)อ้อม 2.00 อธิบายรายการ
10 10.00 (1) เมื่อซื้อวัตถุดิบ
(2) เมื่อบันทึกเงินเดือนและค่าแรง
คุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิตMOH 5090 (3) เมื่อจ่ายค่าใช้จ่ายการผลิตและบันทึกค่าเสื่อมราคา
(6) MOH 13.00 (7) WIP 13.0 (4) เมื่อเมื่อเบิกวัตถุดิบทางตรงและทางอ้อม
(5) เมื่อโอนบัญชีค่าแรงและเงินเดือนเข้าบัญชีงานระหว่างทา
วัตถุดิบทางอ้อมใช้ไป 5091 (6) เมื่อโอนบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิต(ย่อย)เข้าบัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต
(4) .42 MOH .42 (6) (7) เมื่อโอนบัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าบัญชีงานระหว่างทา
(8) เมื่อโอนต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จเข้าบัญชีสินค้าสาเร็จรูป
ค่าแรงทางอ้อม 5092 (9.1) เมื่อเมื่อขาย
(5) 2.0 MOH 2.0 (6) (9.2) เมื่อบันทึกบัญชีต้นทุนขาย
(10) เมื่อปิดบัญชีตน้ ทุนขายเข้าบัญชีสรุปยอดรายได้และค่าใช้จ่าย(บัญชีกาไรขาดทุน)
ค่าประกันภัย อธิบายอักษรย่อ
5098
(3) จ่าย .12 MOH .12 (6) DM Direct Material วัตถุดิบทางตรง
ค่าเสิ่อมราคา-อุปกรณ์ 5096 DL Direct Labor ค่าแรงทางตรง
(3) คสส. 2.80 MOH 2.80 (6) MOH Manufacturing Overhead ค่าใช้จ่ายการผลิต
ค่าสาธารณูปโภค 5094 IDM Indirect Material วัตถุดิบทางอ้อม
(3) จ่าย 1.35 MOH 1.35 6) IDL Indirect Labor ค่าแรงทางอ้อม
ค่าภาษีโรงเรือน 5095 WIP Work in Process งานระหว่างทา
(3) จ่าย .16 MOH .16 (6) FG Finished Goods สินค้าสาเร็จรูป
เงินสมทบกองทุนประกันสังคม 5093. CGS Cost of Goods Sold ต้นทุนขาย
(3) จ่าย .15 MOH .15 (6) คสส ค่าเสื่อมราคาสะสม
ค่าเช่าจ่าย 5099
60
(3) จ่าย 10 MOH 6 (6)
รูปที่ 3.4 วงจรบัญชีต้นทุนในบัญชีแยกประเภทที่มีข้อมูล-วิธีบันทึกของคงเหลือต่อเนื่อง
วงจรบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

61
5.3 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า
บริษัทชอบผลิต จากัด
งบดุล(บางส่วน) ณ วันที่ 31 มกราคม25X2
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน (หน่วย = บาท)
เงินสดและเงินฝากธนาคาร XXX
ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ XXX
สินค้าคงเหลือ (หมายเหตุ 3) 111,080

บริษัทชอบผลิต จากัด
หมายเหตุประกอบงบการเงิน(บางส่วน)
สาหรับงวดเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 มกราคม 25X2
1…………..
2…………..

3. สินค้าคงเหลือ ประกอบด้วย (หน่วย = บาท)


วัตถุดิบ 92,580
งานระหว่างทา 14,000
สินค้าสาเร็จรูป 4,500
รวม 111,080

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

62
5.3 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

63
5.3 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

64
5.3 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า

หรืออาจแสดงในรูปแบบต่อไปนี้

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

65
5.3 งบการเงินของธุรกิจผลิตสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ

66
67
ถาม - ตอบ

Q&A
68

You might also like