Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 198

ส่วนที่ 3

ระบบต้นทุนช่วงพร้อมการบันทึกบัญชี

อ้างอิง : พรรณนิภา รอดวรรณะ การบัญชีต้นทุน : หลักและกระบวนการ พิมพ์


ครั้งที่ 2 สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2560 บทที่ 10-13,15

1
เนื้อหา
1. ข้อแตกต่างระหว่างระบบต้นทุนช่วงและต้นทุนงาน
2. ขัน้ ตอนของระบบต้นทุนช่วง
3. การคานวณต้นทุนการผลิตและต้นทุนต่อหน่วย
• หน่วยเทียบเท่าทางการผลิต
• รายงานต้นทุนการผลิต
4. การบันทึกบัญชีต้นทุนการผลิตของแผนกต่อไป
5. ระบบต้นทุนช่วง – กรณีมีหน่วยสูญเสียและหน่วย
เพิ่มขึ้นจากการผลิต
6. ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
7. การบัญชีต้นทุนทางการเกษตร
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
2
1. ข้อแตกต่างระหว่างระบบต้นทุนช่วงและต้นทุนงาน
ที่ 1

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
3
2. ขั้นตอนของระบบต้นทุนช่วง
• ระบบต้นทุนงานช่วง เป็นการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ต้องผ่านกระบวนการผลิตแผนกเดียวหรือหลาย
แผนกผลิต เช่น
• กระบวนการผลิตเสื้อสาเร็จรูป

การสร้างแบบ  ตัดผ้า  เย็บส่วนประกอบของเสื้อ  เย็บรวมเป็นตัวเสื้อ


 ติดกระดุม รีด พับ ใส่ถุง ใส่กล่อง  ผลิตเสร็จนาเก็บเข้าคลังรอขาย

• สินค้ามีลักษณะเหมือนกันและผลิตเป็นจานวนมาก
• ต้นทุนที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็น
– ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง
– ถ้าเป็นโรงงานที่ใช้เครื่องจักร ค่าแรงทางตรงอาจมีจานวนไม่มาก
– บางกิจการอาจเรียกต้นทุนในการผลิตนอกเหนือจากวัตถุดบิ ทางตรงเป็นต้นทุนในการแปรหรือแปลง
ภาพสินค้า (Conversion costs) ซึ่งประกอบด้วย
• ค่าแรงทางตรง
• ค่าใช้จ่ายการผลิต เช่นค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร ค่าซ่อมแซมบารุงรักษา และค่าใช้จ่ายการผลิต
อื่นๆ เป็นต้น
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
4
ตัวอย่างของระบบต้นทุนช่วง

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
5
ขั้นตอนการผลิต
ขั้นตอนของระบบต้นทุนช่วงแบ่งเป็น 5 ขั้นตอนใหญ่ๆ คือ
1. เมื่อเบิกวัตถุดิบ และ/หรือ รับโอนงานงานระหว่างทาจากแผนกอื่น
2. เมื่อจ่ายค่าแรง
3. เมื่อจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าการผลิต
4. เมื่อโอนงานระหว่างทาที่ผลิตเสร็จให้แผนกอื่นผลิตต่อ หรือโอนเข้าต้นทุนสินค้า
สาเร็จรูป
5. เมื่อขายสินค้าและบันทึกต้นทุนขาย

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
6
เอกสารที่ใช้
 ใบเบิกวัตถุดิบ
 บัตรลงเวลา
 รายงานการผลิต

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
7
รายงานการผลิต (Production Report)
รายงานการผลิต คือ การที่แผนกการผลิตหนึ่งเมื่อผลิตในส่วน
ของตนเสร็จและส่งต่อให้แผนกต่อไปเพื่อทาการผลิตตามวงจรการผลิต
การควบคุมการผลิตของแต่ละแผนกต้องมีเอกสารรายงานในส่วนที่ตน
รับผิดชอบซึ่งหัวหน้าแผนกเป็นผู้ให้มรี ายงานดังกล่าว ข้อมูลในรายงาน
ของแต่ละแผนกแต่ละเดือนควรมีข้อมูลต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย
1. จานวนหน่วยที่เริ่มการผลิต
2. จานวนหน่วยที่แผนกผลิตเสร็จแล้วโอนให้แผนกต่อไป
3. จานวนหน่วยของสินค้าระหว่างผลิตที่ยังผลิตไม่เสร็จ
4. สัดส่วนของงานที่ยังทาไม่เสร็จ

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
8
รายงานการผลิตรายเดือน
(Monthly Production Report)
ของแผนกที่ 1 แผนกตัดสาหรับเดือน ธันวาคม 25X2 แสดงดังนี้

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
9
รายงานต้นทุนการผลิต
(Cost of Production Report)
• เป็นเอกสารบันทึกต้นทุนทั้งหมด
• แต่ละแผนกจะมีรายงานการผลิตในแผนกของตนโดยบันทึกวัตถุดิบทางตรงใช้ไป
• ส่วนวัตถุดิบทางอ้อมใช้ไป จะบันทึกลงในบัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต
(Manufacturing Overhead Control) ซึ่งเป็นบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุนทางอ้อมอื่นๆ
ด้วยเช่น ค่าแรงทางอ้อม ค่าเสื่อมราคาโรงงานและเครื่องจักร ค่า
สาธารณูปโภคโรงงาน วัสดุสิ้นเปลืองโรงงาน เงินเดือนผู้จัดการโรงงานและ
ค่าใช้จ่ายโรงงานอื่นๆ เป็นต้น
• บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตเป็นบัญชีที่ต้องมีการจัดสรรแบ่งเข้าแต่ละแผนกผลิตตาม
สัดส่วน (Prorated Overhead Costs)
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
10
11
ตัวอย่างผังทางเดินข้อมูลในระบบบัญชีต้นทุนช่วง

12
ทางเดินของบัญชีต้นทุนช่วง
ในแต่ละขั้นตอนชื่อบัญชีสาคัญที่ต้องใช้บันทึก คือ
1) บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ
2) บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง
3) บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต
4) บัญชีงานระหว่างทาของแต่ละแผนกผลิต
5) บัญชีสินค้าสาเร็จรูป และ
6) บัญชีต้นทุนขาย
ผังบัญชีหลักไม่แตกต่างไปจากผังบัญชีเดิม ส่วนที่แตกต่างคือ บัญชีงาน
ระหว่างทา จะแยกบัญชีเรียงตามลาดับการผลิต เช่น ตาม slide ที่ 5 ที่มีการผลิต
ต่อเนื่องกัน 3 แผนก
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
13
ตัวอย่างผังทางเดินข้อมูลในระบบบัญชีต้นทุนช่วง

14
รายละเอียดขั้นตอนของระบบต้นทุนช่วง

1) เมื่อเบิกวัตถุดิบ
2) เมือ่ บันทึกเงินเดือนและค่าแรง
3) เมือ่ จัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าแผนก
4) เมือ่ โอนงานระหว่างทาที่ผลิตเสร็จให้แผนก
อื่นผลิตต่อ หรือโอนเข้าต้นทุนสินค้าสาเร็จรูป
5) เมื่อขายสินค้า

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
15
1) เมื่อเบิกวัตถุดิบ

16
2) เมื่อบันทึกเงินเดือนและค่าแรง

17
3) เมื่อจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าแผนก

ค่าใช้จ่ายการผลิต

ค่าใช้จ่ายการผลิต

ค่าใช้จ่ายการผลิต

18
4) เมื่อโอนงานระหว่างทาที่ผลิตเสร็จให้แผนกอื่นผลิตต่อหรือโอน
เข้าต้นทุนสินค้าสาเร็จรูป

19
5) เมื่อขายสินค้า

20
ตัวอย่างที่ 5 สมมติบริษัทยิ้มการ์เมนท์ จากัดผลิตหมวกเป็นจานวนมาก
(Mass Production) ไม่ได้ผลิตตามสั่งอย่างแต่ก่อน

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
21
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
22
2) เมื่อบันทึกเงินเดือนและค่าแรง

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
23
2) เมื่อบันทึกเงินเดือนและค่าแรง

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
24
3) เมื่อจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าแผนก

25
3) เมื่อจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าแผนก

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
26
3) เมื่อจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าแผนก (คานวณ)

27
3) เมื่อจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าแผนก

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
28
3) เมื่อจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าแผนก
บัญชีงานระหว่างทา

บัญชีงานระหว่างทา

บัญชีงานระหว่างทา

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
29
4) เมื่อโอนงานระหว่างทาที่ผลิตเสร็จให้แผนกอื่นผลิตต่อ
หรือโอนเข้าต้นทุนสินค้าสาเร็จรูป
ต้นทุนที่บันทึกเพื่อ
งานระหว่างทายกไป (Costs Accounted
รายงานต้นทุนการผลิต For)
ต้นทุนที่ต้องบันทึก แผนก ก.
(Costs to Be
Accounted For)

รายงานต้นทุนการผลิต
แผนก ข.

รายงานต้นทุนการผลิต
แผนก ค.

30
4) เมื่อโอนงานระหว่างทาที่ผลิตเสร็จให้แผนกอื่นผลิตต่อ
หรือโอนเข้าต้นทุนสินค้าสาเร็จรูป
งานระหว่างทายกไป

รายงานต้นทุนการผลิต
แผนก ก.

ต้นทุนที่ต้องบันทึก
งานระหว่างทายกไป ต้นทุนที่บันทึกเพื่อ
(Costs to Be
Accounted For) (Costs Accounted
For)

รายงานต้นทุนการผลิต
แผนก ข.

งานระหว่างทายกไป

รายงานต้นทุนการผลิต
แผนก ค.

31
4) เมื่อโอนงานระหว่างทาที่ผลิตเสร็จให้แผนกอื่นผลิตต่อ
หรือโอนเข้าต้นทุนสินค้าสาเร็จรูป
งานระหว่างทายกไป

รายงานต้นทุนการ
ผลิต แผนก ก.

งานระหว่างทายกไป

รายงานต้นทุนการ
ผลิต แผนก ข.

ต้นทุนที่ต้องบันทึก
(Costs to Be ต้นทุนที่บันทึกเพื่อ
งานระหว่างทายกไป
Accounted For) (Costs
รายงานต้นทุนการ Accounted For)
ผลิต แผนก ค.

32
3. การคานวณต้นทุนการผลิต
และต้นทุนต่อหน่วย
 3.1) หน่วยเทียบเท่าทางการผลิต
(Equivalent Units of Production)
 3.2) รายงานต้นทุนการผลิต
(Cost of Production Report)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
33
3.1) หน่วยเทียบเท่าทางการผลิต (Equivalent Units of Production)

เป็นการวัดส่วนสามัญ (Common Denominator) ของงานระหว่างทาเพื่อคานวณค้น


ทุนต่อหน่วย นักบัญชีต้นทุนเป็นผู้คานวณโดยการประมาณจากร้อยละของงานที่ทาเสร็จตามขั้นตอน

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
34
3.1) หน่วยเทียบเท่าทางการผลิต (Equivalent Units of Production)

วัตถุดิบทางตรงใช้ไป ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต

WIP WIP WIP


FG FG FG
1,180 1,180 1,180
2,520 2,520 2,520
100% 60% 50%

3,700 3,700 3,700

FG WIP FG FG
WIP WIP
2,520 1,180 2,520 2,520
708 590
รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
3,700 3,228 3,110
35
3.1) หน่วยเทียบเท่าทางการผลิต (Equivalent Units of Production)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
36
3.2) รายงานต้นทุนการผลิต (Cost of Production Report)

รายงานต้นทุนการผลิตแยกเป็น 2 ส่วนใหญ่และ 4 ส่วนย่อย คือ

• รายการจานวนหน่วย (QUANTITY SCHDULE)


1) จานวนหน่วยที่ต้องบันทึก (Quantity to Be Accounted For)
2) จานวนหน่วยที่บันทึกเพื่อ (Quantity Accounted For)
• รายการต้นทุน (COST SCHEDULE)
3) ต้นทุนที่ต้องบันทึก (Costs to Be Accounted For)
4) ต้นทุนที่บันทึกเพื่อ (Costs Accounted For)

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ
37
38
แผนกตัด

39
40
41
42
43
44
593,519.98 235.5238

105,456.47 89.3699
26,936.02
38.0452
63,784.12
108.1087
196,176.62

45
593,519.98 235.5238

105,456.47 89.3699
26,936.02
38.0452
63,784.12
108.1087
196,176.62

46
593,519.98 235.5238

105,456.47 89.3699
26,936.02
38.0452
63,784.12
108.1087
196,176.62

47
4. ระบบต้นทุน
ช่วงกรณีมีงานระหว่างทาต้นงวด

48
4. การคานวณหน่วยเทียบเท่ากรณีมีงานระหว่างทาต้นงวด
4.1 วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ย (Average Costing Method) วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ย เป็นวิธี
ที่รวมต้นทุนยอดยกมาของงานระหว่างทานามารวมกับต้นทุนที่เกิดขึ้นในงวด
ปัจจุบัน ไม่มีการแยกต้นทุนเหมือนวิธีเข้าก่อนออกก่อน วิธีนี้ต้นทุนแต่ละ
ประเภท ได้แก่ วัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายในการผลิตรวมทั้งต้นทุนที่รับ
โอนมาจากแผนกก่อนจะนามารวมกับต้นทุนแต่ละประเภทที่เกิดขึ้นในงวด
ปัจจุบัน ต้นทุนต่อหน่วยเป็นต้นทุนสะสมต่อหน่วยเทียบเท่าที่คานวณใหม่เป็น
ตัวเลขเดียวที่ใช้คานวณต้นทุนหน่วยที่โอนให้แผนกต่อไปหรือสินค้าสาเร็จรูป

4.2 วิธีเข้าก่อนออกก่อน (First In, First Out Costing Method - FIFO)


วิธีเข้าก่อนออกก่อน ต้นทุนงานระหว่างทาต้นงวดจะแยกคานวณกับต้นทุนที่
เกิดขึ้นระหว่างงวด และเมื่องานระหว่างทาต้นงวดเสร็จจะรวมต้นทุน ที่แยก
เป็น ต้นทุนที่ยกมางวดก่อนๆและต้นทุนที่เกิดขึ้นในงวดสุดท้าย

49
ตัวอย่าง

50
ขั้นตอนยังคงเหมือนเดิม
1. การทารายงานการผลิต
2. การคานวณหน่วยเทียบเท่า
3. การทารายงานต้นทุนการผลิต
4. การบันทึกบัญชีโอนต้นทุน

AVERAGE

51
แผนกตัด
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
AVERAGE วัตถุ ดิบ หน่ วย
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 3,780
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x 100%) 1,600
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 5,380
จานวนหน่ วย หน่ วย ค่ าแรง
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 3,780
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200 งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x 70%) 1,120
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 4,900
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100% หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 3,780
(1,600 x 60%)
ค่ าแรง 60% 70% งานระหว่ างทาปลายงวด 960
ค่ าใช้ จ่ายในการผลิ ต 50% 60% หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายใน 4,740

52
แผนกตัด TO BE ACCOUNTED FOR ACCOUNTED FOR

4,200 un. 1,600 un.


AVERAGE
1,180 un. WIP-ระหว่ างงวด
WIP-ต้นงวด + + DM DL + MOH WIP-ปลายงวด
196,176.62 426,500+143,000+360,500 = =?
DM=105,456.47 3,780 + un.
DL=26,936.02 ผลิตเสร็จโอนไป
MOH=63,784.12 =?

53
แผนกตัด TO BE ACCOUNTED FOR ACCOUNTED FOR

4,200 un. 1,600 un.


AVERAGE
1,180 un. WIP-ระหว่ างงวด
WIP-ต้นงวด + + DM DL + MOH WIP-ปลายงวด
196,176.62 426,500+143,000+360,500 = =?
DM=105,456.47 3,780 + un.
DL=26,936.02 ผลิตเสร็จโอนไป
MOH=63,784.12 =?

EQU

WIP ต้นงวด
4,200 un.
DM 1,180x100% 1,180x100%
=1,180 =1,180
ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด
54 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด TO BE ACCOUNTED FOR ACCOUNTED FOR

4,200 un. 1,600 un.


AVERAGE
1,180 un. WIP-ระหว่ างงวด
WIP-ต้นงวด + + DM DL + MOH WIP-ปลายงวด
196,176.62 426,500+143,000+360,500 = =?
DM=105,456.47 3,780 + un.
DL=26,936.02 ผลิตเสร็จโอนไป
MOH=63,784.12 =?

EQU

WIP ต้นงวด

DM 1,180x100% 1,180x100%
=1,180 =1,180
ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด
55 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด TO BE ACCOUNTED FOR ACCOUNTED FOR

4,200 un. 1,600 un.


AVERAGE
1,180 un. WIP-ระหว่ างงวด
WIP-ต้นงวด + + DM DL + MOH WIP-ปลายงวด
196,176.62 426,500+143,000+360,500 = =?
DM=105,456.47 3,780 + un.
DL=26,936.02 ผลิตเสร็จโอนไป
MOH=63,784.12 =3,780x223.07 =

EQU

WIP ต้นงวด

DM 1,180x100% 1,180x100%
=1,180 =1,180
ผลิตเสร็จโอนออก
56 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด TO BE ACCOUNTED FOR ACCOUNTED FOR

4,200 un. 1,600 un.


AVERAGE
1,180 un. WIP-ระหว่ างงวด
WIP-ต้นงวด + + DM DL + MOH WIP-ปลายงวด
196,176.62 426,500+143,000+360,500 = =? DM=
DL=
MOH=
+
DM=105,456.47 3,780 un.
DL=26,936.02 ผลิตเสร็จโอนไป
MOH=63,784.12 =3,780x223.07 =
EQU

WIP ต้นงวด

DM 1,180x100% 1,180x100%
=1,180 =1,180
ผลิตเสร็จโอนออก
57 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด TO BE ACCOUNTED FOR ACCOUNTED FOR

4,200 un. 1,600 un.


AVERAGE
1,180 un. WIP-ระหว่ างงวด
WIP-ต้นงวด + + DM DL + MOH WIP-ปลายงวด
196,176.62 426,500+143,000+360,500 = =? DM=
DL=
MOH=
1,126,176.62 +
DM=105,456.47 3,780 un.
DL=26,936.02 ผลิตเสร็จโอนไป
MOH=63,784.12 =3,780x223.07 =
EQU 1,126,176.62

WIP ต้นงวด

DM 1,180x100% 1,180x100%
=1,180 =1,180
ผลิตเสร็จโอนออก
58 1,180+2,600=3,780 un.
59
AVERAGE
แผนกเย็บ
รายงานการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
จานวนหน่ วย หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 320
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,780
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถัดไป 3,560
งานระหว่ างทาปลายงวด 540
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
ต้ นทุนรับโอนมา 100% 100%
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 70% 80%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 60% 70%

60
(300 x 100%)

(300 x 100%)

(300 x 90%)

(300 x 80%)

61
• FIFO

62
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด
4,200 un.
DL 1,180x100% 1,180x100%
=1,180 =1,180
ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด
63 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด
4,200 un.
1,180x100% 1,180x100% EQU=2600+1600=4,200 un.
DL 2,600 un.
=1,180 =1,180 1,600x100%

ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด


64 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un. แผนกตัด
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH = การคานวณหน่วยเทียบเท่าทางการผลิต
426,500+143,000+360,500 = บ?งวดเดือนมกราคม 25X3
สาหรั
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
วัตถุดิบ หน่วย

สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตตเสร็


หน่วยผลิ เสร็จโอนไปแผนกต่
จโอนไป อไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =? างทาต้นงวดต่อให้เสร็จ
การทางานระหว่ 0
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180 (1,180 x 0%)
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่วยที่เริ่มผลิตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600 งานระหว่างทาปลายงวด (1,600 x100%) 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
หน่วยเทียบเท่าทางการผลิตสาหรับวัตถุดิบ 4,200
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด
4,200 un.
1,180x100% 1,180x100% EQU=2600+1600=4,200 un.
DL 2,600 un.
=1,180 =1,180 1,600x100%

ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด


65 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด DM=426,500/4,200=101.5

4,200 un.
1,180x100% 1,180x100% EQU=2600+1600=4,200 un.
DL 2,600 un.
=1,180 =1,180 1,600x100%

ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด


66 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด
4,200 un.
1,180x60% 1,180x60%
2,600 un. 1,600x100%
DL =708 =708

ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด


67 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด
4,200 un.
1,180x60% 1,180x60% EQU=472+2,600+1,120= 4,192 un.
2,600 un. 1,600x70%=1,120
DL =708 =708
1,180x40%=472
ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด
68 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด แผนกตัด
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
วัตถุ ดิบ หน่ วย
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
การทางานระหว่ างทาต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(1,180 x 0%) 0
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x100%)
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ
1,600
4,200
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ค่ าแรง ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180 งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 40%) 472
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200 หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780 งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x 70%) 1,120
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 4,192
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
วัตถุ ดิบ 100% 100%
งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 50%) 590
ค่ าแรง 60% 70% เริ่มผลิ ตงวดนีแ้ ละเสร็จ 2,600
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60% งานระหว่ างทาปลายงวด(1,600 x 60%) 960
WIP ต้นงวด หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายในการผลิ ต 4,150

4,200 un.
1,180x60% 1,180x60% EQU=472+2,600+1,120= 4,192 un.
2,600 un. 1,600x70%=1,120
DL =708 =708
1,180x40%=472
ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด
69 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด DL=143,000/4,192=34.11

4,200 un.
1,180x60% 1,180x60% EQU=472+2,600+1,120= 4,192 un.
2,600 un. 1,600x70%=1,120
DL =708 =708
1,180x40%=472
ผลิตเสร็จโอนออก
DL=472x34.11=16,101 WIP ปลายงวด
70 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด
4,200 un.
1,180x50% 1,180x50%
MOH =590 =590 2,600 un. 1,600x60%=960

ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด


71 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด แผนกตัด
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
วัตถุ ดิบ หน่ วย
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
การทางานระหว่ างทาต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(1,180 x 0%) 0
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x100%)
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ
1,600
4,200
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ค่ าแรง
ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180 งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 40%) 472
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200 หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780 งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x 70%) 1,120
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600 หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 4,192
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
วัตถุ ดิบ 100% 100%
งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 50%) 590
ค่ าแรง 60% 70%
เริ่มผลิ ตงวดนีแ้ ละเสร็จ 2,600
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60% งานระหว่ างทาปลายงวด(1,600 x 60%) 960
WIP ต้นงวด หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายในการผลิ ต 4,150

4,200 un.
1,180x50% 1,180x50% EQU=590+2,600+960= 4,150 un.
MOH =590 =590 2,600 un. 1,600x60%=960
1,180x50%=590
ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด
72 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด FIFO
1,180 un. 4,200 un. 1,600 un.
WIP-ต้นงวด WIP-ระหว่างงวด WIP-ปลายงวด
196,176.62 + DM
+ DL + MOH =
426,500+143,000+360,500 =?
แผนกตัด
รายงานการผลิ ต
3,780 + un.
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ผลิตเสร็จโอนไป
จานวนหน่ วย หน่ วย =?
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
WIP ต้นงวด MOH=360,500 /4,150=86.87

4,200 un.
1,180x50% 1,180x50% EQU=590+2,600+960= 4,150 un.
MOH =590 =590 2,600 un. 1,600x60%=960
1,180x50%=590
ผลิตเสร็จโอนออก
MOH=590x86.87=51,252 WIP ปลายงวด
73 1,180+2,600=3,780 un.
แผนกตัด DM=426,500/4,200=101.5
WIP ต้นงวด 4,200 un.
EQU=2600+1600=4,200 un.
DM 1,180x100% 1,180x100%
=1,180 =1,180 2,600 un. 1,600x100%

ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด

DL=143,000/4,192=34.11
WIP ต้นงวด 4,200 un.

DL
1,180x60% 1,180x60% EQU=472+2,600+1,120= 4,192 un.
=708 =708
2,600 un. 1,600x70%=1,120
1,180x40%=472

DL=472x34.11=16,101 WIP ปลายงวด

MOH=360,500 /4,150=86.87
WIP ต้นงวด 4,200 un.
1,180x50% 1,180x50% EQU=590+2,600+960= 4,150 un.
MOH
=590 =590
2,600 un. 1,600x60%=960
1,180x50%=590

MOH=590x86.87=51,252 WIP ปลายงวด

74
แผนกตัด รายการต้ นทุน (COST SCHEDULE) ต้ นทุน หน่ วยเทียบเท่า ต้ นทุนต่ อ
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต 3 ต้ นทุนทีต่ ้ องบันทึก(Costs to Be Accounted For) หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 196,177
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
ต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในงวดปัจจุบนั
วัตถุ ดิบ หน่ วย ต้ นทุนทีร่ ับโอนมาจากแผนกก่ อน 0 0
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป ต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในแผนก
101.55
การทางานระหว่ างทาต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(1,180 x 0%) 0 วัตถุ ดิบ 426,500 ÷ 4,200 =
ค่ าแรง 143,000 ÷ 4,192 = 34.11
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 360,500 ÷ 4,150 = 86.87
งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x100%) 1,600
รวมต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในแผนก 930,000 222.53
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 4,200 222.53
รวมต้ นทุนทีต่ ้ องบันทึก 1,126,177
ค่ าแรง 4 ต้ นทุนทีบ่ นั ทึกเพือ่ (Costs Accounted For)
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป โอนไปแผนกถั ดไป
งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 40%) 472 จากงานระหว่ างทาต้ นงวด
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600 งานระหว่ างทาต้ นงวด 196,177
วัตถุ ดิบทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 0 = 0 x 101.55
งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x 70%) 1,120
ค่ าแรงทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 16,101 = 472 x 34.11
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 4,192 ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ตทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 51,252 = 590 x 86.87
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต ต้ นทุนรวมของสิ นค้ าทีผ่ ลิ ตเสร็จจากงาน 263,530 ÷ 1,180 223.33
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป ต้ นทุนของสิ นค้ าทีเ่ ริ่มผลิ ตและผลิ ตเสร็จใน 578,572 = 2,600 x 222.53
งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 50%) 590 รวมต้ นทุนสิ นค้ าทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 842,102 3,780
เริ่มผลิ ตงวดนีแ้ ละเสร็จ 2,600 งานระหว่ างทาปลายงวด
ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่ อน 0 0 0
งานระหว่ างทาปลายงวด(1,600 x 60%) 960
ต้ นทุนทีเ่ กิดในแผนก
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายในการผลิ ต 4,150 วัตถุ ดิบ 162,476 = 1,600 x 101.55
ค่ าแรง 38,206 = 1,120 x 34.11
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 83,393 = 960 x 86.87
รวมงานระหว่ างทา 284,075
75 รวมต้ นทุนทีบ่ นั ทึก 1,126,177
75
76
แผนกเย็บ แผนกเย็บ แผนกเย็บ
รายงานการผลิ ต การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
จานวนหน่ วย หน่ วย รับโอนจากแผนกก่ อน หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 320 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320x 0%) 0
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,780
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
งานระหว่ างทาปลายงวด(540 x 100%) 540
จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 320
หน่ วยเทียบเท่าเพือ่ โอนเข้ าต้ นทุนแผนกก่ อน 3,780
จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 3,240 วัตถุ ดิบ
รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป 3,560 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
งานระหว่ างทาปลายงวด 540 การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 0%) 0
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่อน 100% 100% งานระหว่ างทาปลายงวด(540 x 100%) 540
วัตถุ ดิบ 100% 100% หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 3,780
ค่ าแรง 70% 80% ค่ าแรง
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 60% 70% หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 30%) 96
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
BG-WIP CURRENT งานระหว่ างทาปลายงวด 432
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 3,768
320 3,780 ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:
FINISHED END- WIP การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 40%) 128
3,560 540 หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
งานระหว่ างทาปลายงวด (540x 70%) 378
77 หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายในการผลิ ต 3,746
แผนกเย็บ รับโอนผ.ก่อน=842,101.55/3,780=222.78 DM=67,000/3,780=17.72
WIP ต้นงวด 3,780 un.
ต้นทุนที่รับโอน
จากแผนกก่อน EQU=3,240+540=3,780 un.
& DM
320x100% 320x100%
=320 =320 3,240 un. 540x100%
WIP ต้นงวด
DM=………….. ผลิตเสร็จโอนออก WIP ปลายงวด
DL=…………..
MOH=…………
126,113 DL=250,9000/3,768=66.59
WIP ต้นงวด 3,780 un.
320x70% 320x70% EQU=96+3,240+432=3,768 un.
DL
=224 =224
3,240 un. 540x80%
320x30%=96

DL=96x66.59=6,392.36 WIP ปลายงวด

MOH=298,900 /3,746=79.79
WIP ต้นงวด
3,780 un.
320x60% 320x60% EQU=128+3,240+378=3,746 un.
MOH
=192 =192
320x40%=128 3,240 un. 540x70%

MOH=128x79.79=10,213.35 WIP ปลายงวด

78
รายการต้ นทุน (COST SCHEDULE) ต้ นทุน หน่ วยเทียบเท่า ต้ นทุนต่ อ
แผนกเย็บ 3 ต้ นทุนทีต่ ้ องบันทึก(Costs to Be Accounted For) หน่ วย
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต งานระหว่ างทาต้ นงวด 126,113
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในงวดปัจจุบนั
รับโอนจากแผนกก่ อน หน่ วย ต้ นทุนทีร่ ับโอนมาจากแผนกก่ อน 842,102 ÷ 3,780 = 222.78
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป: ต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในแผนก
วัตถุ ดิบ 67,000 ÷ 3,780 = 17.72
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320x 0%) 0
ค่ าแรง 250,900 ÷ 3,768 = 66.59
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 298,900 ÷ 3,746 = 79.79
งานระหว่ างทาปลายงวด(540 x 100%) 540
รวมต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในแผนก 616,800 164.10
หน่ วยเทียบเท่าเพือ่ โอนเข้ าต้ นทุนแผนกก่ อน 3,780
รวมต้ นทุนในงวดเดือนนี้ 1,458,902 386.88
วัตถุ ดิบ
รวมต้ นทุนทีต่ ้ องบันทึก 1,585,014
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
4 ต้ นทุนทีบ่ นั ทึกเพือ่ (Costs Accounted For)
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 0%) 0
โอนไปแผนกถั ดไป
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
จากงานระหว่ างทาต้ นงวด
งานระหว่ างทาปลายงวด(540 x 100%) 540
งานระหว่ างทาต้ นงวด 126,113
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 3,780
วัตถุ ดิบทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 0 = 0 x 17.72
ค่ าแรง ค่ าแรงทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 6,392 = 96 x 66.59
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป: ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ตทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 10,213 = 128 x 79.79
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 30%) 96 ต้ นทุนรวมของสิ นค้ าทีผ่ ลิ ตเสร็จจากงานระหว่ าง 142,719 ÷ 320 = 446.00
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240 ต้ นทุนของสิ นค้ าทีเ่ ริ่มผลิ ตและผลิ ตเสร็จในงวดนี้ 1,253,497 = 3,240 x 386.88
งานระหว่ างทาปลายงวด 432 รวมต้ นทุนสิ นค้ าทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 1,396,216 ÷ 3,560 = 392.20
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 3,768 งานระหว่ างทาปลายงวด
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่ อน 120,300 = 540 x 222.78
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป: ต้ นทุนทีเ่ กิดในแผนก
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 40%) 128 วัตถุ ดิบ 9,571 = 540 x 17.72
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240 ค่ าแรง 28,766 = 432 x 66.59
งานระหว่ างทาปลายงวด (540x 70%) 378 ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 30,161 = 378 x 79.79
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายการผลิ ต 3,746 รวมงานระหว่ างทา 188,799
79 รวมต้ นทุนทีบ่ นั ทึก 1,585,014
80
แผนกแต่งสาเร็จ แผนกแต่ งสาเร็จ
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
แผนกแต่ งสาเร็จ
รับโอนจากแผนกก่ อน หน่ วย
รายงานการผลิ ต
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 0%) 0
จานวนหน่ วย หน่ วย
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
งานระหว่ างทาต้ นงวด 200
งานระหว่ างทาปลายงวด(300 x 100%) 300
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,560
หน่ วยเทียบเท่าเพือ่ โอนเข้ าต้ นทุนแผนกก่ อน 3,560
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
วัตถุ ดิบ
จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 200
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 3,260 การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 0%) 0
รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปคลั งสาเร็จรูป 3,460 หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
งานระหว่ างทาปลายงวด 300 งานระหว่ างทาปลายงวด(300 x 100%) 300
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ นงวด ปลายงวด หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 3,560
ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่อน 100% 100% ค่ าแรง
วัตถุ ดิบ 100% 100% หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:
ค่ าแรง 80% 90% การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200x 20%) 40
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 90% 80% หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
งานระหว่ างทาปลายงวด (300X90%) 270
BG-WIP CURRENT หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
3,570

200 3,560 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:


การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 10%) 20
END- WIP
FINISHED 3,460 หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
300 งานระหว่ างทาปลายงวด (300 x 80%)
81
240
81 หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายการผลิ ต 3,520
รายการต้ นทุน (COST SCHEDULE) ต้ นทุน หน่ วยเทียบเท่า ต้ นทุนต่ อ
แผนกแต่ งสาเร็จ
3 ต้ นทุนทีต่ ้ องบันทึก(Costs to Be Accounted For) หน่ วย
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต งานระหว่ างทาต้ นงวด 139,885
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 ต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในงวดปัจจุบนั
รับโอนจากแผนกก่ อน หน่ วย ต้ นทุนทีร่ ับโอนมาจากแผนกก่ อน 1,396,216 ÷ 3,560 = 392.20
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป: ต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในแผนก
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 0%) 0 วัตถุ ดิบ 162,500 ÷ 3,560 = 45.65
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260 ค่ าแรง 178,000 ÷ 3,570 = 49.86
งานระหว่ างทาปลายงวด(300 x 100%) 300 ค่ าใช้ จ่ายในการผลิ ต 326,000 ÷ 3,520 = 92.61
หน่ วยเทียบเท่าเพือ่ โอนเข้ าต้ นทุนแผนกก่ อน 3,560 รวมต้ นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในแผนก 666,500 188.12
รวมต้ นทุนในงวดเดือนนี้ 2,062,716 580.32
วัตถุ ดิบ
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป: รวมต้ นทุนทีต่ ้ องบันทึก 2,202,601
4 ต้ นทุนทีบ่ นั ทึกเพือ่ (Costs Accounted For)
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 0%) 0
โอนไปแผนกต่ อไป
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
จากงานระหว่ างทาต้ นงวด
งานระหว่ างทาปลายงวด(300 x 100%) 300
งานระหว่ างทาต้ นงวด 139,885
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 3,560
วัตถุ ดิบทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 0 = 0 x 45.65
ค่ าแรง ค่ าแรงทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 1,994 = 40 x 49.86
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป: ค่ าใช้ จ่ายในการผลิ ตทีเ่ พิม่ ในงวดนี้ 1,852 = 20 x 92.61
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200x 20%) 40 ต้ นทุนรวมของสิ นค้ าทีผ่ ลิ ตเสร็จจากงานระหว่ าง 143,732 ÷ 200 = 718.66
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260 ต้ นทุนของสิ นค้ าทีเ่ ริ่มผลิ ตและผลิ ตเสร็จในงวดนี้ 1,891,827 = 3,260 x 580.32
งานระหว่ างทาปลายงวด (300X90%) 270 รวมต้ นทุนสิ นค้ าทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 2,035,559 ÷ 3,460 = 588.31
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 3,570 งานระหว่ างทาปลายงวด
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่ อน 117,659 = 300 x 392.20
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป: ต้ นทุนทีเ่ กิดในแผนก
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 10%) 20 วัตถุ ดิบ 13,694 = 300 x 45.65
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260 ค่ าแรง 13,462 = 270 x 49.86
ค่ าใช้ จ่ายในการผลิ ต 22,227 = 240 x 92.61
งานระหว่ างทาปลายงวด (300 x 80%) 240
รวมงานระหว่ างทา 167,042
82 หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายการผลิ ต 3,520
รวมต้ นทุนทีบ่ นั ทึก 2,202,601
83
การเปรียบเทียบวิธถ
ี วั เฉลีย

และวิธเี ขาก
้ อนออกก
่ อน

84
AVERAGE แผนกตัด แผนกเย็บ แผนกแต่ งสาเร็จ
รายงานการผลิ ต รายงานการผลิ ต รายงานการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
จานวนหน่ วย หน่ วย จานวนหน่ วย หน่ วย จานวนหน่ วย หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 320 งานระหว่ างทาต้ นงวด 200
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,800 จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,752
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถัดไป 3,560 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปคลั งสิ นค้ าสาเร็จรูป 3,460
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,560 งานระหว่ างทาปลายงวด 1,492
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600 สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย ต้ นทุนรับโอนมา 100% 100% ต้ นทุนรับโอนมา 100% 100%
วัตถุ ดิบ 100% 100% วัตถุ ดิบ 100% 100% วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70% ค่ าแรง 70% 80% ค่ าแรง 80% 90%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60% ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 60% 70% ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 90% 80%

FIFO แผนกตัด แผนกเย็บ แผนกแต่ งสาเร็จ


รายงานการผลิ ต รายงานการผลิ ต รายงานการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
จานวนหน่ วย หน่ วย จานวนหน่ วย หน่ วย จานวนหน่ วย หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180 งานระหว่ างทาต้ นงวด 320 งานระหว่ างทาต้ นงวด 200
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,780 จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,560
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 320 จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 200
จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 3,240 จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 3,260
จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 2,600
รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป 3,560 รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปคลั งสาเร็จรูป 3,460
รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป 3,780 งานระหว่ างทาปลายงวด 540 งานระหว่ างทาปลายงวด 300
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600 สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่อน 100% 100% ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่อน 100% 100%
วัตถุ ดิบ 100% 100% วัตถุ ดิบ 100% 100% วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70% ค่ าแรง 70% 80% ค่ าแรง 80% 90%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
85 50% 60% ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 60% 70% ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 90%85 80%
AVERAGE FIFO

แผนกตัด แผนกตัด
รายงานการผลิ ต รายงานการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
จานวนหน่ วย หน่ วย จานวนหน่ วย หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180 งานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200 จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 4,200
หน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกเย็บ 3,780 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600 จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 1,180
จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 2,600
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป 3,780
วัตถุ ดิบ 100% 100%
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600
ค่ าแรง 60% 70%
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 60% 70%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 50% 60%

86
AVERAGE FIFO
แผนกตัด
แผนกตัด การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต
การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 วัตถุ ดิบ หน่ วย
วัตถุ ดิบ หน่ วย หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 3,780 การทางานระหว่ างทาต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ (1,180 x 0%) 0
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,600 หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 5,380 งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x100%) 1,600
ค่ าแรง หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 4,200
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 3,780 ค่ าแรง
งานระหว่ างทาปลายงวด 1,120 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 4,900 งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 40%) 472
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 2,600
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป 3,780 งานระหว่ างทาปลายงวด (1,600 x 70%) 1,120
งานระหว่ างทาปลายงวด 960 หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 4,192
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายใน 4,740 ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
งานระหว่ างทาต้ นงวด(1,180 x 50%) 590
เริ่มผลิ ตงวดนีแ้ ละเสร็จ 2,600
งานระหว่ างทาปลายงวด(1,600 x 60%) 960
87 หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายในการผลิ ต 4,150
AVERAGE FIFO

แผนกเย็บ แผนกเย็บ
รายงานการผลิ ต รายงานการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
จานวนหน่ วย หน่ วย จานวนหน่ วย หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 320
งานระหว่ างทาต้ นงวด 320
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,780
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,780
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถัดไป 3,560
งานระหว่ างทาปลายงวด 540 หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 320
ต้ นทุนรับโอนมา 100% 100% จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 3,240
วัตถุ ดิบ 100% 100% รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป 3,560
ค่ าแรง 70% 80% งานระหว่ างทาปลายงวด 540
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 60% 70% สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ น ปลาย
ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่อน 100% 100%
วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 70% 80%
88 ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 60% 70%
แผนกเย็บ
AVERAGE การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต FIFO
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
รับโอนจากแผนกก่ อน หน่ วย
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320x 0%) 0
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
งานระหว่ างทาปลายงวด(540 x 100%) 540
หน่ วยเทียบเท่าเพือ่ โอนเข้ าต้ นทุนแผนกก่ อน 3,780
วัตถุ ดิบ
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 0%) 0
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
งานระหว่ างทาปลายงวด(540 x 100%) 540
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 3,780
ค่ าแรง
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 30%) 96
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
งานระหว่ างทาปลายงวด 432
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 3,768
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(320 x 40%) 128
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,240
งานระหว่ างทาปลายงวด (540x 70%) 378
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายในการผลิ ต 3,746

89
AVERAGE FIFO

แผนกแต่ งสาเร็จ แผนกแต่ งสาเร็จ


รายงานการผลิ ต รายงานการผลิ ต
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3 สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
จานวนหน่ วย หน่ วย จานวนหน่ วย หน่ วย
งานระหว่ างทาต้ นงวด 200 งานระหว่ างทาต้ นงวด 200
จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,560 จานวนหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตในเดือนปัจจุบนั 3,560
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปคลั งสิ นค้ าสาเร็จรูป 3,460
จากงานระหว่ างทาต้ นงวด 200
งานระหว่ างทาปลายงวด 300
จากหน่ วยทีเ่ ริม่ ผลิ ตงวดนี้ 3,260
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ นงวด ปลาย
รวมหน่ วยทีผ่ ลิ ตเสร็จโอนไปคลั งสาเร็จรูป 3,460
ต้ นทุนรับโอนมา 100% 100%
งานระหว่ างทาปลายงวด 300
วัตถุ ดิบ 100% 100%
สั ดส่ วนความสาเร็จของงานระหว่ างทา ต้ นงวด ปลายงวด
ค่ าแรง 80% 90% ต้ นทุนทีร่ ับโอนจากแผนกก่อน 100% 100%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 90% 80% วัตถุ ดิบ 100% 100%
ค่ าแรง 80% 90%
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต 90% 80%

90
แผนกแต่ งสาเร็จ
AVERAGE การคานวณหน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ต FIFO
สาหรับงวดเดือนมกราคม 25X3
รับโอนจากแผนกก่ อน หน่ วย
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 0%) 0
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
งานระหว่ างทาปลายงวด(300 x 100%) 300
หน่ วยเทียบเท่าเพือ่ โอนเข้ าต้ นทุนแผนกก่ อน 3,560
วัตถุ ดิบ
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกต่ อไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 0%) 0
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
งานระหว่ างทาปลายงวด(300 x 100%) 300
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับวัตถุ ดิบ 3,560
ค่ าแรง
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200x 20%) 40
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
งานระหว่ างทาปลายงวด (300X90%) 270
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าแรง 3,570
ค่ าใช้ จ่ายการผลิ ต
หน่ วยผลิ ตเสร็จโอนไปแผนกถั ดไป:
การทางานระหว่ างต้ นงวดต่ อให้ เสร็จ(200 x 10%) 20
หน่ วยทีเ่ ริ่มผลิ ตและเสร็จในงวดนี้ 3,260
งานระหว่ างทาปลายงวด (300 x 80%) 240
หน่ วยเทียบเท่าทางการผลิ ตสาหรับค่ าใช่ จ่ายการผลิ ต 3,520

91 91
5. ระบบต้นทุนช่วง – กรณีมีหน่วยสูญเสีย
และหน่วยเพิ่มขึ้นจากการผลิต

92
หน่วยสูญเสีย-หน่วยเพิ่ม
• หลักหน่วยสูญเสีย
• หน่วยสูญเสียปกติ normal spoilage
– ต้นทุนทั้งหมดเป็นของสินค้าดี
• หน่วยสูญเสียไม่ปกติ abnormal spoilage
– แยกต้นทุนและบันทึกขาดทุน
• หน่วยเพิ่ม
– ต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยให้หน่วยที่ผลิตได้ทั้งหมด
• จากตัวอย่างในบทที่ 12 ใช้วิธี average กรณีมีงานระหว่างทาต้นงวด

93
หลักหน่วยสูญเสีย (Spoiled units)
• การสูญเสียปกติ (Normal spoilage) เป็นการสูญเสียที่เป็นปกติวิสัยในกระบวนการ
ผลิต อาจมีสาเหตุมาจากอุณหภูมิ ความชื้น หรือมีการผลิตเป็นจานวนมาก เช่น การ
ผลิตยา หรือสารเคมีที่อาจระเหย หรือเปลี่ยนขนาดเมื่ออุณหภูมิ การผลิตเปลี่ยน เป็น
ต้น การสูญเสียลักษณะนี้ฝ่ายผลิตต้องมีการวางแผนเพราะสามารถคาดการณ์ได้
ล่วงหน้า แต่เมื่อมีการสูญเสียดังกล่าว ต้นทุนที่เสียไปจะนาไปเฉลี่ยเป็นต้นทุนสินค้าดีที่
ผลิตได้ กรณีนี้ต้นทุนโดยเฉลี่ยจะสูงขึ้น
• การสูญเสียไม่ปกติ (Abnormal spoilage) ตรงกันข้ามกับการสูญเสียปกติ การผลิตที่
มีผลมาจากสิ่งที่ไม่สมควรหรือไม่คาดคิดหรือไม่เกิดขึ้นตามปกติ เช่น การขาดพลังงาน
อัคคีภัย น้าท่วม เป็นต้น ลักษณะนี้ ผู้บริหารต้องทราบต้นทุนที่เสียไป เพื่อประเมิน
ความเสียหาย สินค้าที่สูญเสียไม่ปกติจึงแยกคานวณต้นทุนและบันทึกเป็นผลขาดทุน
จากหน่วยที่เสีย และผลขาดทุนดังกล่าวจะไม่นาไปเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยที่ดี

94
หน่วยที่เพิ่ม (Increased units)
• มีความเป็นไปได้ที่ผลผลิตอาจมีจานวนหน่วยที่เพิม่ ขึ้น สาเหตุ
อาจมาจาก
– การใช้วัตถุดิบของแต่ละแผนก ทาให้สามารถผลิตสินค้าได้เพิ่มขึ้น
– การปรับเปลี่ยนหน่วยวัด เช่น กรณีการผลิตอาหารสาเร็จรูป มาตร
วัดส่วนประกอบของอาหารเดิมเคยวัดเป็นประมาตร เช่น ลิตร
แกลลอน แต่มาเปลี่ยนเป็นน้าหนักเช่น ปอนด์ กิโลกรัม เป็นต้น
จานวนหน่วยที่เพิ่มขึ้นโดยลักษณะนี้ต้องไม่ทาให้คุณภาพของสินค้า
ด้อยค่าไปจากเดิม
• ผลดีที่ได้คือ ได้จานวนสินค้ามากขึ้น และต้นทุนต่อหน่วยลดลง

95
ในส่วนนี้เป็น การบัญชีต้นทุนถัวเฉลี่ยกรณีที่มีหน่วยสูญเสียปกติ
หน่วยสูญเสียไม่ปกติ และหน่วยที่เพิ่มขึ้นเท่านั้น โดยพิจารณาดังนี้

• กรณีที่มีหน่วยสูญเสียปกติ
– ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจะนาไปเฉลี่ยหน่วยดีที่ผลิตได้ทั้งหมดทาให้ต้นทุนต่อหน่วยดีสูงขึ้น
• กรณีหน่วยสูญเสียไม่ปกติ
– จะแยกคานวณต้นทุนของหน่วยที่สูญเสียแยกจากหน่วยดีและ
– ตัดเป็นขาดทุนจากหน่วยสูญเสียที่ไม่ปกติ
– กรณีนี้ต้นทุนของหน่วยที่ดีไม่กระทบกระเทือน
• กรณีที่มีหน่วยเพิ่มขึ้น
– จะนาต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยหน่วยที่ผลิตได้ทั้งหมดที่รวมส่วนที่เพิ่มขึ้นด้วย
– ต้นทุนต่อหน่วยจะลดลงเนื่องจากมีหน่วยที่ผลิตได้เพิ่มขึ้น

96
• กรณีตัวอย่างที่ใช้ทั้ง 3 กรณี จะใช้ตัวอย่างต่อเนื่องจากบทที่ 11
และเพิ่มแต่ละกรณีตามตัวอย่างต่อไปนี้

– การบัญชีต้นทุนสาหรับหน่วยสูญเสียปกติ
ตัวอย่างที่ 12.1 และตัวอย่างที่ 12.2
– การบัญชีต้นทุนสาหรับหน่วยสูญเสียไม่ปกติ
ตัวอย่างที่ 12.3 ต่อจากตัวอย่างที่ 12.2
– การบัญชีต้นทุนสาหรับหน่วยเพิ่มขึ้น
ตัวอย่างที่ 12.4 ต่อจากตัวอย่างที่ 12.2

97
ตัวอย่าง

98
ตัวอย่าง

99
ตัวอย่าง

100
ทางด้านการบัญชีต้นทุน โดยวิธีถัวเฉลี่ยจากบทก่อน ขั้นตอน
การคานวณต้นทุนการผลิตต่อหน่วยเป็นไปตามขั้นตอนเดิม คือ

• การทารายงานการผลิต
• การคานวณหน่วยเทียบเท่า
• การทารายงานต้นทุนการผลิต
• การบันทึกบัญชีโอนต้นทุนการผลิตของแผนก

101
ตัวอย่างเดิม

102
ตัวอย่าง 12.1

103
หลักการ

• กรณีที่มีหน่วยสูญเสียปกติ
– ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจะนาไปเฉลี่ยหน่วยดีที่ผลิตได้
ทั้งหมดทาให้ต้นทุนต่อหน่วยดีสูงขึ้น

104
ตัวอย่างที่ 12.1

105
ตัวอย่างเดิม

106
107
รายงานต้นทุนการผลิต(ต่อ)

108
รายงานต้นทุนการผลิต(ต่อ)

109
ตัวอย่างเดิม

110
111
ตัวอย่างที่ 12.2 แผนกเย็บ (สูญเสียปกติ)

112
รายงานต้นทุนการผลิต(ต่อ)

113
รายงานต้นทุนการผลิต(ต่อ)

114
115
การบัญชีต้นทุนสาหรับหน่วยสูญเสียไม่ปกติ
(ตัวอย่างที่ 12.3 ต่อจากตัวอย่างที่ 12. 2)
หลักการ
• การผลิตที่มีผลมาจากสิ่งที่ไม่สมควรหรือไม่คาดคิดหรือไม่เกิดขึ้นตามปกติ เช่น การขาดพลังงาน
อัคคีภัย น้าท่วม เป็นต้น ลักษณะนี้ ผู้บริหารต้องทราบต้นทุนที่เสียไป เพื่อประเมินความเสียหาย
สินค้าที่สูญเสียไม่ปกติจึงแยกคานวณต้นทุนและบันทึกเป็นผลขาดทุนจากหน่วยที่เสีย และผล
ขาดทุนดังกล่าวจะไม่นาไปเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยที่ดี
• กรณีหน่วยสูญเสียไม่ปกติ
– จะแยกคานวณต้นทุนของหน่วยที่สูญเสียแยกจากหน่วยดีและ
– บันทึกเป็นขาดทุนจากหน่วยสูญเสียที่ไม่ปกติ
– กรณีนี้ต้นทุนของหน่วยที่ดีไม่กระทบกระเทือน

116
12.3

117
118
รายงานต้นทุนการผลิต(ต่อ)

119
รายงานต้นทุนการผลิต(ต่อ)

120
ใบสาคัญรายวันทั่วไป

Loss from
Abnormally Spoiled
Goods Account

121
การบัญชีต้นทุนสาหรับหน่วยเพิ่มขึ้น
ตัวอย่างที่ 11.4 ต่อจากตัวอย่างที่
12.2
หลักการ
• กรณีที่มีหน่วยเพิ่มขึ้น
– จะนาต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยหน่วยที่ผลิตได้ทั้งหมดที่รวมส่วนที่เพิ่มขึ้นด้วย
– ต้นทุนต่อหน่วยจะลดลงเนื่องจากมีหน่วยที่ผลิตได้เพิ่มขึ้น

122
ตัวอย่างที่ 12.4 ต่อจากตัวอย่างที่ 12.2 กรณีมีหน่วย
เพิ่มขึ้น(ไม่เกี่ยวข้องกับตัวอย่างที่ 12.3)

123
124
125
รายงานต้นทุนการผลิต (ตอ)

126
รายงานตนทุ
้ นการผลิต (ตอ)

127
128
ระบบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับระบบต้นทุนช่วง

129
6. ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้

130
6. ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
MULTIPLE – PRODUCT PROCESSING

ผลิตภัณฑ์พลอยได้ By-products ผลิตภัณฑ์ร่วม Joint products

1. common physical unit basis


1. ขาย-ไม่ผลิตต่อ 2. ผลิตต่อ-ขาย
2. relative sales value basis

1.1 รายได้เบ็ดเตล็ด 2.1 ไม่ถือว่ามีต้นทุนโอนมา 3. adjusted relative sales value basis

4. assigned weights basis


1.2 สินค้าผลพลอยได้ 2.2 มีต้นทุนปกติ(สามัญ)โอนมา
5. Sales Value at Split-off Point basis

2.2.1 normal net profit method 2.2.2 fair market value method

131
ผลิตภัณฑ์ร่วม
• Joint products
• Joint costs allocation

132
ผลิตภัณฑ์ร่วม Joint products

133
ผลิตภัณฑ์ร่วม Joint products
Joint costs allocation
1. common physical unit basis Raw milk

2. relative sales value basis


Separation
3. adjusted relative sales value basis departmen
t
4. assigned weights basis

5. Sales Value at milk Cheese


Split-off Point basis production production
Ice cream
production
134
135
136
137
1. จัดสรรตามหน่วยทางกายภาพ (Physical Units Method)

138
2. จัดสรรตามมูลค่าที่เกี่ยวข้อง (Relative Sales Value Method)
ข้อมูลเพิ่มเติม ราคาขายต่อหน่วยกิโลกรัม นม 30 บาท ไอศกรีม 100 บาท เนย
แข็ง 350 บาท การคานวนการจัดสรรตามมูลค่าขายรายงานต้นทุนการผลิต แสดงดังนี้

139
3. จัดสรรตามมูลค่าขายที่ปรับปรุง (Adjusted Sales Value Method)
หรือประมาณมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ(Esttimated Net Realizable Value -NRV
Method) ข้อมูลเพิ่มเติม ราคาขายและต้นทุนที่ผลิตต่อจนเสร็จหลังจากจุดแยก มีดังนี้

140
4. จัดสรรตามการทาให้ค่าน้าหนัก (Assigned Weights Method)
วิธีนี้มีการสารวขคุณค่าของไขมันในนมที่แยก จากตัวอย่างสมมติให้น้าหนักของแต่ละ
ผลิตภัณฑ์ ดังนี้

141
5. จัดสรรมูลค่าขาย ณ จุดแยกตัว (Sales Value at Split-off Point Method)
วิธีนี้เป็นวิธีที่ดีที่สุด แต่มีข้อจากัดที่ราคาขาย ณ จุดแยกอาจหายากเพราะสินค้ายังผลิตไม่
เสร็จ ทางแก้อาจใช้วิธีที่ 3 NRV แทนได้ ตัวอย่างที่ 12.6 จากตัวอย่างเดิมสมมติ ณ จุดแยกตัวมี
โรงงานอื่นมารับซื้อเพื่อไปผลิตต่อในราคาต่อไปนี้

142
ผลิตภัณฑ์พลอยได้

ภาพประกอบ 1 โรงสีข้าวในโครงการส่ วนพระองค์ สวนจิตรลดา

143
ภาพประกอบ 2 ข้ าวเปลือก แกลบ และข้ าวสาร

144
ผลผลิตหลัก (main product) ผลพลอยได้ (by-product)
1 แผนกทาความสะอาด Cleaning

2 แผนกกระเทาะข้ าวเปลือก Husking

ผลิตต่ อ
แกลบ แผนกแยก separate

3 แผนกขัด Milling ขาย ขาย

4 แผนกบรรจุ Bagging

145
ผลพลอยได้ By-products

1. ขาย-ไม่ผลิตต่อ
1.1 รายได้เบ็ดเตล็ด

1.2 สินค้าผลพลอยได้

หมายเหตุ กรณีที่ผลพลอยได้มีสาระสาคัญ สามารถคานวณต้นทุน


ผลพลอยได้แยกออกมาและลดต้นทุนผลิตภัณฑ์หลักได้
146
147
ผลพลอยได้ By-products 2. ผลิตต่อ-ขาย
2.1 ไม่ถือว่ามีต้นทุนโอนมา

ไม่สนใจต้นทุนที่เกิดก่อนแยกตัว วิธีนี้
จะบันทึกต้นทุนที่เกิดขึ้นเพิ่มเติมจากการนาไปผลิต
ต่ อ ไม่ น าต้ น ทุ น ก่ อ นจุ ด แยกหรื อ ต้ น ทุ น สามั ญ
(Common costs) มารวมคานวณ หรืออาจอธิบาย
ดังสมการนี้

บันทึกต้นทุนที่เกิดจากการ
ผลิตต่อเป็นต้นทุนของผล
พลอยได้เท่านั้น

148
ผลพลอยได้ By-products 2. ผลิตต่อ-ขาย
2.2 มีต้นทุนปกติโอนมา(common costs)

วิธีหา 2.2.1 normal net profit method or


common costs reversal cost method
มี 2 วิธี 2.2.2 fair market value method

แผนกแกลบอัด
แท่ง

149
ผลพลอยได้ By-products
2. ผลิตต่อ-ขาย
2.2 มีต้นทุนปกติโอนมา
(common costs)
2.2.1 normal net profit method
or reversal cost method

150
ผลพลอยได้ By-products
2. ผลิตต่อ-ขาย
2.2 มีต้นทุนปกติโอนมา
(common costs)
2.2.1 normal net profit method
or reversal cost method

151
ผลพลอยได้ By-products
2. ผลิตต่อ-ขาย
2.2 มีต้นทุนปกติโอนมา
(common costs)
2.2.2 fair market value method

กรณีที่ 3 วิธีมูลค่าตลาดยุติธรรม ณ จุดแยกตัว


(Fair Market Value at Split off point) สมมติว่าราคา
ยุติธรรมหรือราคาตลาด ณ จุดแยกตัวของแกลบเท่ากับ 53,333
บาท รายงานต้นทุนการผลิตได้นามูลค่าของแกลบ 53,333 บาท
นาไปหัก จากต้นทุ นการผลิ ตผลิ ตภัณฑ์หลั ก คื อ ข้ าวกล้องทาให้
ต้นทุน ที่จะโอนไปแผนกขัดสี ลดลงเหลื อกิโลกรัม ละ 10.97 บาท
เป็นเงิน 1,741,747 บาท ดังรายงานต้นทุนการผลิตดังนี้

152
บทฝึกหัด
บริษัท สามย่านอุตสาหกรรม จากัด ผลิตสินค้าเพื่อขายในประเทศ กระบวนการผลิตสินค้าของบริษัท ในเดือน
มกราคม 25X1 ประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดิบ 282,000 บาท ค่าแรงทางตรง 150,000 บาท และค่าใช้จ่ายการผลิต 74,000
บาท เมื่อผ่านกระบวนการผลิตไปจนถึงขั้นตอนหนึ่ง จะได้ผลิตภัณฑ์ 3 ชนิด คือ A B และ C
ผลิตภัณฑ์ A ไม่ใช่สินค้าหลักที่บริษัทต้องการผลิตเพื่อขาย จึงถือเป็น ผลิตภัณฑ์พลอยได้ (By-Product)
ผลิตภัณฑ์ B และ C เป็นผลิตภัณฑ์หลักและเป็นผลิตภัณฑ์ร่วม (Joint Products)
ปริมาณการผลิต ณ จุดแยกตัวออกจากกัน (Split-off Point) เป็นดังนี้
A 6,000 กิโลกรัม B 10,000 กิโลกรัม C 20,000 กิโลกรัม
- ผลิตภัณฑ์ A คาดว่าจะขายได้กิโลกรัมละ 1 บาท
- ผลิตภัณฑ์ B สามารถขาย ณ จุดแยกตัวในราคากิโลกรัมละ 25 บาท
- ผลิตภัณฑ์ C สามารถขาย ณ จุดแยกตัวในราคากิโลกรัมละ 50 บาท แต่สามารถนาไป
ผลิตต่อโดยเพิ่มต้นทุนวัตถุดิบ 20,000 บาท ค่าแรงทางตรง 15,000 บาท และค่าใช้จ่ายการ
ผลิต 5,000 บาทแล้ว จะขายได้ในราคากิโลกรัมละ 55 บาท
ให้ทา : 1) บันทึกบัญชีเมื่อเกิดและขายผลิตภัณฑ์พลอยได้ และปรากฏว่าราคาขายได้จริงเป็น กิโลกรัมละ 1.20 บาท
2) แสดงการคานวณเพื่อแบ่งสรร (Allocate) ต้นทุนร่วม (Joint Costs) ให้กับผลิตภัณฑ์ B และ C โดยวิธี
Relative Sales Value at Split-off Point และ Adjusted Relative Sales Value

153
154
155
156
157
158
159
ภาคผนวก
สรุปข้อพิจารณาในการเลือกวิธีการจัดสรร
ต้นทุนร่วมและต้นทุนผลิตผลพลอยได้

160
7. การบัญชีต้นทุนทางการเกษตร

161
7. การบัญชีต้นทุนทางการเกษตร

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุนเกษตรกรรม
1.1 คาจากัดความ
1.2 การรับรู้สินทรัพย์ชีวภาพและผลิตผลทางการเกษตร
1.3 กรณีที่ไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ
1.4 ผู้ประกอบธุรกิจการเกษตร
2. ประเภทของผลิตผลทางการเกษตร
2.1 ผลิตผลที่มาจากการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร
2.2 ผลิตผลที่มาจากการเกษตรโดยตรง
3. ประเภทของสินทรัพย์ชีวภาพกับวงจรกิจกรรมทางการเกษตร
3.1 ตัวอย่างวงจรกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรโดยตรงระยะสั้น
3.2 ตัวอย่างวงจรกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรโดยตรงระยะยาว

162
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุนการเกษตร

1.1 คาจากัดความ
มาตรฐานการบัญชีการเกษตร ร่างมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41(ปรับปรุง
2552) เรื่องเกษตรกรรม
• สินทรัพย์ชีวภาพ หมายถึง สัตว์ที่มีชีวิตหรือพืช เช่น แกะ ต้นไม้ในป่าปลูก ต้นพืช โค
นม สุกร ไม้ใบ เถาองุ่น ไม้ผล ไม้ดอก เป็นต้น เนื่องจากสินทรัพย์ชีวภาพเป็นสิ่งมีชีวิต
• การแปรรูปเชิงชีวภาพ หมายถึง กระบวนการซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิง
คุณภาพหรือประมาณของสินทรัพย์ชีวภาพ ได้แก่ การเจริญเติบโต การเสื่อมถอย การ
ให้ผลผลิต และการขยายพันธุ์ และมีกระบวนการเก็บเกี่ยวซึ่งหมายถึง การแยกผลิตผล
ออกจากสินทรัพย์ชีวภาพ หรือการยุติกระบวนการดารงชีวิตของสินทรัพย์ชีวภาพ
• มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จานวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันใน
ขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน และสามารถต่อรองราคา
กันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน

163
1.2 การรับรู้สินทรัพย์ชีวภาพหรือผลิตผลทางการเกษตรเมื่อมีคุณสมบัติทุกข้อดังนี้
• สามารถควบคุมสินทรัพย์นั้นซึ่งเป็นผลจากเหตุการณ์ในอดีต .
• มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กิจการจะได้รับผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์นั้น
• สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมหรือต้นทุนของสินทรัพย์ได้อย่างน่าเชื่อถือ

1.3 กรณีที่ไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ
 สินทรัพย์ชีวภาพต้องวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อ
การด้อยค่า และต้องเปิดเผย
1. รายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพย์ชีวภาพ
2. คาอธิบายถึงสาเหตุที่ไม่สามารถวัดค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ
3. หากเป็นไปได้ให้เปิดช่วงของมูลค่าโดยประมาณของมูลค่ายุติธรรมที่จะมีความเป็นไปได้มากที่จะตก
อยู่ในช่วงนั้น
4. วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา
5. อายุการใช้งานหรืออัตราค่าเสื่อมราคาที่ใช้
6. ราคาทุนและค่าเสื่อมราคาสะสม(ซึ่งได้รวมค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม) ณ วันต้นงวดและปลายงวด

164
1.4 ผู้ประกอบธุรกิจการเกษตร

1. บริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล จัดทาบัญชีตามที่กฏหมายกาหนดและถ้ามาตรฐานการ
บัญชีดังกล่าวมีผลบังคับใช้ จึงจาเป็นต้องปฏิบัติตาม

2. เกษตรกรที่เป็นบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคล บันทึกและรับรู้รายการโดยใช้หลักการ
บัญชีต้นทุนขั้นต้นและบัญชีครัวเรือนทั้งนี้เพื่อช่วยในการบันทึกรายการให้ทราบต้นทุน
การผลิตและเป็นเกษตรกรที่ชาญฉลาด(Smart farmers)ในการดาเนินธุรกิจ

165
2. ประเภทของผลิตผลทางการเกษตร
2.1 ผลิตผลที่มาจากการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร
• การแปรรูปผลิตผลเพื่อการบริโภค
• การแปรรูปผลิตผลเพื่อการอุปโภค

2.2 ผลิตผลที่มาจากการเกษตรโดยตรง

166
3. ประเภทของสินทรัพย์ชีวภาพกับวงจรกิจกรรมทาง
วงจรกิจกรรมทางการเกษตรระยะสั้ นการเกษตร

167
วงจรกิจกรรมทางการเกษตรระยะยาว

ตัวอย่างที่ 3 ฟาร์มกล้วยไม้พันธุ์หวาย

ตัวอย่างที่ 4 ฟาร์มโคนม

168
ความรู้เพิ่มเติม

1. ต้นทุนทางการเกษตร
ต้นทุนทางการเกษตรมี 2 ประเภทที่สาคัญ คือ
1.1 ต้นทุนจากการลงทุน คือ ต้นทุนที่เกิดจากการลงทุนระยะยาว
ทางการเกษตรและสินทรัพย์ถาวรต่าง ๆ เช่น ต้นทุนในการลงทุน
เริ่มแรก
1.2 ต้นทุนจากการดาเนินงาน คือ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการ
ดาเนินงานประจาวันซึ่งถือว่าเป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินงานตามปกติ

169
2. วิเคราะห์ต้นทุนทางการเกษตร
2.1 ต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม
2.2 ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่

170
2.1 ต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม

• ต้นทุนทางตรง (Direct Cost) หมายถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นในการผลิตผลิตผลทางการเกษตร


ผู้คานวณต้นทุนสามารถจาแนกและคานวณต้นทุนประเภทนี้เข้าเป็นต้นทุนได้โดยตรงและ
โดยง่าย ตัวอย่างเช่น ค่าหญ้า ค่าฟาง ค่าอาหารสัตว์ ค่าวัคซีนยารักษาโรค ค่าจ้างแรงงาน
ในการเลี้ยงปศุสัตว์ ฯลฯ หากพิจารณาว่าฟาร์มปศุสัตว์เป็นโรงงานผลิตสินค้า รายการนี้
ก็คือ ค่าวัตถุดิบทางตรง (Direct materials) และค่าแรงงานทางตรง (Direct labor)
• ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost) หมายถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นในฟาร์มโคนมที่ไม่สามารถ
จาแนกและคานวณต้นทุนนี้เข้าเป็นต้นทุนในการผลิตน้านมดิบได้โดยตรงและโดยง่าย
ตัวอย่างเช่น ค่าเสื่อมราคาโรงเรือน คอก และรั้ว ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรอุปกรณ์ เช่น
เครื่องรีดนมวัว เครื่องบดปั่นอาหาร ฯลฯ ค่าซ่อมบารุงโรงเรือนและเครื่องจักร ค่า
สาธารณูปโภค ฯลฯ ตามหลักการบัญชีต้นทุนของธุรกิจอุตสาหกรรมจะนาต้นทุนทางอ้อม
ทุกรายการมารวมกันและเรียกชื่อเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต หรือค่าโสหุ้ยการผลิต (Overhead)

171
2.2 ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่

• ต้นทุนผันแปร (Variable cost) หมายถึงต้นทุนการผลิตที่ผันแปรไป


ตามการเปลีย่ นแปลงของผลผลิตหรือปัจจัยการผลิตอื่น เช่น ตาม
จานวนหน่วยที่ผลิต ตามจานวนชั่วโมงการผลิต เป็นต้น

• ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) หมายถึงต้นทุนการผลิตที่มีลกั ษณะไม่


เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของผลผลิต หรือปัจจัยการผลิต
อื่น ตัวอย่างของต้นทุนคงที่เช่น ค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ ค่า
สาธารณูปโภค เป็นต้น

172
3. การแปรรูปเชิงชีวภาพ

1. การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ โดย
1. การเจริญเติบโต การมีปริมาณเพิ่มขึ้นหรือการปรับปรุงคุณภาพ ของสัตว์หรือพืช
2. การเสื่อมถอย การมีปริมาณลดลงหรือคุณภาพของพืชและสัตว์เสื่อมถอยลง หรือ
3. การขยายพันธุ์ การเพิ่มจานวนของสัตว์ที่มีชีวิตหรือพืช หรือ
2. การผลิตผลผลิตทางการเกษตร เช่น น้ายางพารา ใบชา ขนสัตว์ และ
น้านม เป็นต้น

173
ตัวอย่าง
ระยะสั้น
• ทุ่งนาขวัญเรียม
• สุกรขุน
ระยะยาว
 ฟาร์มกล้วยไม้
 ฟาร์มโคนม

174
1. ทุ่งนาขวัญเรียม

175
176
177
178
179
2. สุกรขุน

180
181
182
3. ฟาร์มกล้วยไม้

183
3. ฟาร์มกล้วยไม้

184
185
ผลการศึกษา (ต่อ)
2.ระบบการผลิตและการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้หวาย (ต่อ)
สรุป ผลการวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุน ณ หน้าฟาร์ม

186
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ต้นแบบ (ต่อ)

ภาพรวมของระบบ
(Data Flow Diagram Level 0 : Context Diagram)

187
ค่าเฉลี่ย รายเดือน รายปี
ฟาร์มขนาดกลางค่อนข้างเล็ก 11-40 ไร่ มูลค่า : พันบาท มูลค่า : พันบาท มูลค่า : พันบาท
รายเดือน รายปี ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด
รายได้
รายได้-ช่อดอกขนาดสั้น 39.40 472.79 23.38 85.00 280.50 1,020.00
รายได้-ช่อดอกขนาดกลาง 221.33 2,655.94 130.90 470.40 1,570.80 5,644.80
รายได้-ช่อดอกขนาดยาว 805.35 9,664.23 486.20 1,664.00 5,834.40 19,968.00
รายได้-ช่อดอกขนาดยาวพิเศษ 1,305.51 15,666.15 779.17 2,666.67 9,350.00 32,000.00
รายได้อื่น 4.99 25.98 1.00 125.00 12.00 125.00
รวมรายได้ 2,376.58 28,485.10 1,421.14 4,861.17 17,053.70 58,334.00
ต้นทุนผลิต
ค่าพันธุ์หวาย 1.35 16.25 - 10.42 - 125.00
ค่าเครื่องปลูก 10.75 129.05 6.23 28.33 74.80 306.00
ค่าแรงงาน 5.79 69.50 - 15.00 - 180.00
ค่าปุ๋ยระยะไม่เกิน 6 เดือน 1.03 6.20 0.24 6.67 1.44 40.00
ค่าปุ๋ยระยะออกดอกและตัดดอก 3.20 19.17 0.54 10.67 3.25 64.00
ค่ายา-โรคเน่าดา 2.09 25.06 1.06 4.33 12.75 52.00
ค่ายา-โรคดอกสนิม 1.85 22.20 - 4.33 - 52.00
ค่ายา-โรคใบจุด 0.88 10.58 - 3.90 - 46.75
ค่ายา-โรคใบปื้นเหลือง 1.02 12.27 0.57 2.08 6.88 25.00
ค่ายา-เพลี้ยไฟ 0.70 8.34 0.39 1.42 4.68 17.00
ค่ายา-หนอนกระทู้หอม 0.53 6.38 0.30 1.08 3.58 13.00
ค่ายา-หอยทาก 0.37 4.42 0.21 0.75 2.48 9.00
ค่าภาษีที่ดิน 1.96 23.55 1.10 4.00 13.20 48.00
ค่าเช่าที่ดิน 0.23 2.70 - 12.00 - 144.00
ค่าไฟฟ้า 0.22 2.62 0.20 1.00 2.40 12.00
ค่าเครื่องมือเบ็ดเตล็ด 1.96 23.55 1.10 4.00 13.20 48.00
ค่าน้ามันเครื่องยนต์ 3.93 47.10 2.20 8.00 26.40 96.00
ค่าซ่อมแซม 1.96 23.55 1.10 4.00 13.20 48.00
ค่าเสื่อมราคา-โรงเรือน 13.64 163.72 7.33 41.67 88.00 500.00
ค่าเสื่อมราคา-ระบบน้า 2.63 31.59 1.38 8.33 16.50 100.00
ค่าเสื่อมราคา-ระบบปุ๋ยและยา 5.72 68.69 3.21 11.67 38.50 140.00
รวมต้นทุนผลิต 61.82 716.46 30.62 154.33 360.01 1,747.90
กาไร (ขาดทุน) สุทธิ 2,314.76 27,768.63 1,390.52 4,740.50 16,693.70 56,920.80
จัดสรรต้นทุนผลิต มูลค่า : บาท มูลค่า : บาท มูลค่า : บาท
ต้นทุนต่อช่อดอก 0.18 0.01 0.14 0.22 0.01 0.01
ต้นทุนต่อต้น 0.19 2.19 0.15 0.24 1.73 2.76
188 ต้นทุนต่อไร่ 3,049.25 35,444.72 2,498.06 4,349.88 29,326.67 49,648.53
4. ฟาร์มโคนม

189
4. ฟาร์มโคนม

190
ตัวอย่างการคานวณต้นทุนการผลิตน้านมดิบระดับฟาร์ม

191
192
193
194
รูปที่ 4.2 โครงสร้างต้นทุนการผลิตของฟาร์มขนาดกลางและขนาดใหญ่
195
ผลงานวิจัย เมษายน 2550

196
197
Q&A
198

You might also like