Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

การศึกษาพฤติกรรมการเดินทางกับ

การเปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดล้อมก่อนและ
ระหว่างการแพร่ระบาดของ Covid-19
ในกรุงเทพมหานคร

นายกฤษณ์ เจ็ดวรรณะ
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและกายภาพ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ที่มาและความสาคัญ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ เมื่อการระบาดแพร่เป็นวงกว้าง รัฐบาล ทาให้เกิดการลดของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และการคมนาคม จึงส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงคุณภาพทางอากาศ
เข้ า มาในประเทศไทย ตั้ ง แต่ วั น ที่ 13 ห้ามการใช้เส้นทางคมนาคม หรือ ปริมาณมลพิษทางอากาศ CO จากรถยนต์
มกราคม 2563 โดยประเทศไทยเป็ น ยานพาหนะ เดินทางข้ามจังหวัด ลดลงนั่น หากสามารถนามาคิดเป็นค่าใช้จ่าย
ประเทศแรกที่พบผู้ป่วยยืนยันโควิด-19 ห้ามให้บุคคลใดออกนอกเคหสถาน ที่ต้องสูญเสียไป ก็สามารถนาไปสนับสนุน
รายแรกนอกประเทศจีน ซึ่งพบครั้งแรก ภายในระยะเวลาที่กาหนด การจัดทาแผนทางด้านการคมนาคมขนส่งที่
ที่ อู่ ฮั่ น เมื อ งหลวงของมณฑลหู เ ป่ ย์ ห้ามให้มีการชุมนุม หรือมั่วสุมกัน ยั่งยืนต่อไป รวมถึงการจัดการด้าสาธารณสุข
ประเทศจีน ต่อมาองค์การอนามัยโลกได้ ปิดโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการระบาด จากการวิเคราะห์คุณภาพทางอากาศ ผู้วิจัย
ประกาศให้ ก ารระบาดนี้ เ ป็ น ภาวะ มาตรการการเว้นระยะห่างทางสังคม จึงมีความสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ เน้นการทางานที่บ้าน เดินทาง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการปล่อยก๊าซ
ในวั น ที่ 30 มกราคม 2563 และได้ คาร์บอนมอนอกไซด์ที่ส่งผลต่อการ
ประกาศให้เ ป็ นโรคระบาดทั่ว ในวันที่ เปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดล้อม ก่อนและ
11 มีนาคม 2563 ระหว่างการแพร่ระบาดของ Covid-19 ใน
พื้นที่กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์
ศึกษาพฤติกรรมการเดินทาง
กับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ
ศึกษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมก่อน สิ่งแวดล้อมก่อนและระหว่าง
และระหว่างการแพร่ระบาด การแพร่ระบาดของ Covid-19
ของ Covid-19 ในพื้นที่ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ศึกษาพฤติกรรมการเดินทาง กรุงเทพมหานคร 3
ก่อนและระหว่างการแพร่
ระบาดของ Covid-19 2
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
1
ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาพฤติกรรมการเดินทาง
เก็บข้อมูลบริเวณความถี่ยานพาหนะสูงสุด, ปานกลาง, ต่าสุด พิจารณาจากพื้นที่เขตธุรกิจ,
ขอบเขตการศึกษา
มหาวิทยาลัย, ย่านการค้า, อ้างอิงข้อมูลปริมาณจราจรบนทางหลวงในเขตกรุงเทพมหานคร สานักอานวยความ
ปลอดภัย กรมทางหลวง
ศึกษาข้อมูลคุณภาพแวดล้อม CO, NO2, SO2, PM10, PM2.5
เก็บรวบรวมข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพสิง่ แวดล้อมจานวน 30 สถานี จากสถานีตรวจวัดทัง้ หมด 77
สถานี ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากข้อมูลความถี่ยานพาหนะสูงสุดเป็นข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี วันและ
เวลาเดียวกันกับช่วงทีม่ ีการระบาดของโควิด-19 และช่วงที่มีการประกาศมาตรการล็อกดาวน์, ปิดสถานที่ทางาน,
การเว้นระยะห่าง ช่วงเวลาเดือน มีนาคม 2564 – สิงหาคม 2564 และข้อมูลย้อนหลังปี 2563, 2562, 2561
วิธีการดาเนินงาน
เก็บข้อมูลความถี่ยานพาหนะสูงสุด, ปานกลาง, ต่าสุด เพื่อนามาวิเคราะห์
หาปริมาณ CO ที่ปล่อยออกมา
1
รวบรวมจาก 2 แหล่งข้อมูล ข้อมูลทุติยภูมิค่า VKT จากรายงานของกรมทางหลวง รวบรวมข้อมูล
ย้อนหลัง 3 ปี ข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อนามาคานวณปริมาณ CO จากนั้นนาไปคานวณหา
วิธีการ มูลค่า CO ที่ปล่อยออกมา
ดาเนินงาน
เก็บข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม CO, NO2, SO2, O, PM10, PM2.5
2 รวบรวมข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมจานวน 30 สถานี เป็นข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี วันและ
เวลาเดียวกันกับช่วงที่มีการระบาดของโควิด-19 นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม SAS เพื่อดูแนวโน้ม
ค่าสิ่งแวดล้อมที่ได้จากการตรวจวัด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ได้ทราบพฤติกรรมการเดินทางต่อปริมาณการปล่อย CO ได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดล้อมช่วงก่อนการ
จากข้อมูลก่อนการระบาดของไวรัสโควิด-19 และระหว่าง ระบาดของไวรัสโควิด-19 และระหว่างการระบาด
การระบาด

สามารถนางานวิจัยนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการกาหนดกิจกรรมทางธุรกิจ กิจกรรมทางอุตสาหกรรม กาหนดรูปแบบการทางาน


ซึ่งอาจจะสามารถทางานจากที่อื่น ๆ ได้ เพื่อลดปัญหาความแอร์อัดจากการเดินทาง ลดมลพิษซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดโลกร้อน
ปรับเปลี่ยนรูป แบบการเดินทาง สนับ สนุนการใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็ นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อมแทนการใช้น้ามันเชื้อเพลิงซึ่ งเป็นพิษ ต่อ
สิ่งแวดล้อม และลดต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อมจากการปล่อย CO การประกาศมาตรการเพื่อรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
ทาให้เราได้ศึกษาถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปหลายด้าน ซึ่งเราอาจไม่เคยได้รับรู้ข้อมูลดังกล่าว งานวิจัยนี้สามารถนาข้อมูลจากการวิจัยไ ป
สนับสนุนการวางแผนเพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนต่อไป
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Effect of COVID-19 pandemic on ambient air quality and excess risk
of particulate matter in Turkey
ผลกระทบของการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ส่งผลต่อคุณภาพอากาศและความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นของ
ปริมาณฝุ่นละอองในประเทศตุรกี

Analysis of air pollutants in Covid 19 pandemic lockdown- a case


study of Bareilly, UP, India
การวิเคราะห์มลพิษทางอากาศ ในช่วงการล็อกดาวน์การแพร่ระบาดของโควิด-19 กรณีศึกษา
เมือง Bareilly ประเทศอินเดีย

Changes in air pollution levels after COVID-19 outbreak in Korea


การเปลี่ยนแปลงของระดับมลพิษทางอากาศหลังจากการระบาดของ COVID-19 ในเกาหลี
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Effect of COVID-19 pandemic on ambient air quality and excess risk of particulate matter in Turkey
งานวิจัยนี้กล่าวถึง ผลกระทบของการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ส่งผลต่อคุณภาพอากาศและความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นของปริมาณฝุ่นละออง
ในประเทศตุรกีโดยการรวบรวมข้อมูลและอ้างอิงจากฐานข้อมูลการตรวจสอบคุณภาอากาศของกระทรวงพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อมใน
ตุรกี จานวน 51 สถานี 11 เมือง รวบรวมค่ามัธยฐาน ค่าต่าสุด ค่าสูงสุดทั้งหมดมาใช้ในการประเมินจากการศึกษาพบว่า

ผลกระทบของมาตรการเคอร์ฟิวแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของมลพิษทางอากาศ ดังนี้
NOx
PM2.5 NO, NO2 CO
PM10
ปริมาณความเข้มข้นของ Nox, NO2 และ NO
ลดลงอย่ า งมี น ย
ั ส าคั ญ ส าหรั บ เมื อ งที ไ
่ ม่ ใ ช่ เ มื อ ง ปริมาณความเข้มข้นของ CO2 ในเมือง
ปริมาณความเข้มข้ฟนิวแสดงให้
ผลกระทบของมาตรการเคอร์ ของ เPM
ห็นว่าไม่ไม่
มี ผลกระทบของมาตรการเคอร์ ฟ ว
ิ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ไม่ ม ค
ี วาม
ใหญ่ เพิ่มขึ้น แต่ในเมืฟิวอแสดงให้
ผลกระทบของมาตรการเคอร์ งอื่นๆเห็นลดลง
ว่าไม่มีความปร
ความ
มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ อุ ต สาหกรรมโดย NO2 ลดลง 40.90%
และเมืองอุตสาหกรรมลดลงต่าสุด 6.83% เนื่องจากกิจกรรมทางอุตสาหกรรมลดลง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Effect of COVID-19 pandemic on ambient air quality and excess risk of particulate matter in Turkey
การสารวจและรวบรวมข้อมูล
ศึกษาพื้นที่และตัวแปรของคุณภาพอากาศ รวบรวมปริมาณความเข้มของตัวแปร
คุณภาพอากาศ (PM2.5, PM10, SO2, NO2, NOX) จากฐานข้อมูลของกระทรวงพัฒนาสังคม
และสิ่งแวดล้อม จานวน 11 เมือง ข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง โดยเมืองที่ศึกษาทั้งหมด คิดเป็น
42.8% ของประชากรในประเทศตุรกี
ศึกษาความเสี่ยงด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยรวบรวมข้อมูลของสภาพอากาศจาก
ปริมาณความเข้มของ (PM2.5, PM10, SO2, NO2, NOx) ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม - 21
เมษายน 2019 และ 2020 คานวณโดยสมการ ER และ RR
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Effect of COVID-19 pandemic on ambient air quality and excess risk of particulate matter in Turkey

ความเสี่ยงด้านสุขภาพ นาข้อมูลของสภาพ
ข้อมูลที่ได้จะเป็นตารางสถิติของ อากาศจากปริมาณความเข้มของ (PM2.5,
ค่าคุณภาพอากาศ ค่าที่ได้มีการกระจาย PM10, SO2, NO2, NOx) คานวณโดยสมการ
ตัว จึงนาค่าต่าสุดและค่าสูงสุดมาประเมิน ER และ RR
หาค่าเฉลี่ย และเปรียบเทียบเชิงสถิติของ
ความแตกต่างปริมาณความเข้มของ วิธีการดาเนินงาน
คุณภาพอากาศ ช่วงก่อนและระหว่างการ
ประกาศใช้มาตรการเคอร์ฟิว Your Text
เมื่อ Ci คือ ค่าความเข้มของสารปนเปื้อน
Here

Ct คือ เกณฑ์ความเข้มข้น
Your Text
beta คือ ค่าสัมประสิทธิ์ที่ได้จากการอ้างอิงงานวิจัยอื่น
Here ถ้า Ci เท่ากับหรือน้อยกว่า Ct ไม่มีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Effect of COVID-19 pandemic on ambient air quality and excess risk of particulate matter in Turkey
วิธีการดาเนินงาน

รูปแสดง ความเสี่ยงส่วนเกินที่เกี่ยวข้องกับ PM2.5 รูปแสดง ความเสี่ยงส่วนเกินที่เกี่ยวข้องกับ PM2.5


งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Analysis of air pollutants in Covid 19 pandemic lockdown- a case study of Bareilly, UP, India

งานวิจัยนี้กล่าวถึง การติดตามตรวจสอบมลพิษทางอากาศ PM10, PM2.5, SO2, NO2 ที่เขต Bareilly ของ


Uttar Pradesh ประเทศอินเดีย และวิเคราะห์ข้อมูลในช่วงระยะเวลาล็อกดาวน์ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสถานี
ตรวจวัดคุณภาพสิง่ แวดล้อม 3 สถานี สัปดาห์แรกของการปิดเมือง ที่มีความถี่ของยานพาหนะสูงสุด 70-80 คัน/5 นาที
ความถี่ยานพาหนะปานกลาง 50-60 คัน/5 นาที ความถี่ยานพาหนะต่า
20-30 คัน/5 นาที นาตัวอย่างที่ได้ไปทดสอบในห้องปฏิบัตกิ าร จากการศึกษาพบว่า ความเข้มของมลพิษทางอากาศ
ลดลงอย่างมาก ในช่วงล็อกดาวน์ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทีละน้อยเมือ่ เข้าสู่ช่วงปลอดล็อก
Your Text
Here

Your Text
Here
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Analysis of air pollutants in Covid 19 pandemic lockdown- a case study of Bareilly, UP, India
การสารวจและรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลจากสถานีตรวจสอบอากาศ 3 สถานี จากความถี่การจราจร ที่มีความถี่ของยานพาหนะแตกต่างกัน
- ความถี่ยานพาหนะสูงสุด 70-80 คัน / 5 นาที
- ความถี่ยานพาหนะปานกลาง 50-60 คัน / 5 นาที
- ความถี่ยานพาหนะต่า 20-30 คัน / 5 นาที
เก็บตัวอย่างฝุ่นละออง (PM10 และ PM 2.5) เป็นเวลา 8 ชั่วโมง และตัวอย่างสารมลพิษในก๊าซ (SO2 และ NO2) เป็นเวลา 4
ชั่วโมง อ้างอิงวิธีการของคณะกรรมการควบคุมมลพิษกลางอินเดีย

Your Text
Here

Your Text
Here
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Analysis of air pollutants in Covid 19 pandemic lockdown- a case study of Bareilly, UP, India
วิธีการดาเนินงาน

เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ฝุ่ น ละออง


จากสถานี ต รวจสอบอากาศ 3 สถานี
ข้อ มูล ของคณะกรรมการควบคุม มลพิ ษ
กลาง อินเดีย และความถี่การจราจร ที่มี
ความถี่ ข องยานพาหนะแตกต่ า งกั น 3
ระดับ นาข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ ด้วยวิธี
West Gaeke สมการเชิงเส้น Your Text
Here

Your Text
Here
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Changes in air pollution levels after COVID-19 outbreak in Korea

งานวิจัยนีก้ ล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงของมลพิษทางอากาศในช่วงการเว้นระยะห่างทางสังคมหลังการระบาดของ COVID-


19 ในเกาหลี โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลมลพิษทางอากาศช่วงระยะเวลา 4 ปีที่ผา่ นมารวบรวมจาก 446 สถานีตรวจวัดคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมในเกาหลี นามาเปรียบเทียบกับข้อมูลในปัจจุบัน และนาไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิตดิ าเนินการโดยใช้โปรแกรม SAS จาก
การศึกษาพบว่า มาตรการในการจัดการแพร่กระจายของ COVID-19 ส่งผลดีตอ่ ระดับมลพิษทางอากาศ จากกิจกรรมทีล่ ดลง โดย
การศึกษามุ่งเน้นไปที่ PM2.5, PM10, NO2, และ CO ซึ่งเป็นมลพิษทีส่ าคัญกับการใช้พลังงานในอุตสาหกรรม และปริมาณ
การจราจร ทัง้ หมดลดลงอย่างมากในช่วงระยะเวลาการเว้นระยะทางสังคม PM2.5 ลดลง 45.45%, PM10 ลดลง 35.56%, NO2
ลดลง 17.33%, และ CO ลดลง 17.33% ปริมาณการจราจรบนถนนและการขนส่งสาธารณะในโซลลดลง 7.2% และ 34.5%
แผนการฟื้นฟูจาก COVID-19 สามารถใช้วางรากฐานไปสู่การเปลี่ยนแปลงที Here่ยั่งยืนในด้านการลดการใช้เชื้อเพลิง และเสนอแนะ
Your Text

ปัญหาด้านสาธารณสุขอันเนื่องมาจากมลพิษทางอากศ
Your Text
Here
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Changes in air pollution levels after COVID-19 outbreak in Korea
การสารวจและรวบรวมข้อมูล
เก็บรวมรวมข้อมูลพื้นที่การแพร่ระบาด
ของโควิ ด -19 รวบรวมข้ อ มู ล การแจ้ ง เตื อ น
COVID-19 การเว้นระยะห่างทางสังคม

รวบรวมข้อมูลมลพิษทางอากาศระหว่างวันที่
1 ธันวาคม-30 เมษายน ของช่วงระยะเวลา 4 ปีทผี่ ่าน
มา รวบรวมจาก 446 สถานีตรวจวัด ของกระทรวง
สิ่งแวดล้อมเกาหลี รวบรวมข้อมูลระดับความเข้มข้น
ของมลพิษทางอากาศรายชั่วโมงของ PM2.5 PM10
Your Text
Here
NO2 และ CO จากนั้นคานวณค่าเฉลี่ยรายวันทั่ว
ประเทศและค่าเฉลี่ยภูมิภาค 17 แห่ง
Your Text
Here
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Changes in air pollution levels after COVID-19 outbreak in Korea
การสารวจและรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลระดับความเข้มข้นมลพิษทางอากาศ
แต่ชนิดและแต่ละช่วงเวลา ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม ถึง 30
เมษายน ของช่วงระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมาจนปีปัจจุบัน
โดยนามาวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่าง ก่อน
และหลังที่รัฐบาลประกาศใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม
และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรม SAS หา
ความสาคัญทางสถิติ และใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD)
Your Text
Here
เพื่ออธิบายความเข้มข้นของมลพิษทางอากาศ การ
ทดสอบแบบการจับคู่ t-test และใช้โปรแกรมQGIS (เวอร์ชัน
Your Text 3.8.2) แสดงผลเป็นแผนที่ทางภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงการ
Here
เปลี่ยนแปลงระดับมลพิษทางอากาศของแต่ละภูมิภาค
THANK YOU

You might also like