Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 8

แบบฝึ กหัดวิชาสั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส 31101)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554
....................................................
ให้ นักเรียนเขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้ าคำตอบที่ถูกต้ อง
1. ข้อใดไม่ ใช่ คุณค่าของจิตสาธารณะต่อตนเอง
ก. ฝึ กให้เป็ นคนเข้มแข็ง เฉลียวฉลาด
ข. ฝึ กให้เป็ นคนที่เสี ยสละ เป็ นผูใ้ ห้
ค. ฝึ กให้เป็ นคนมีสติคิดก่อนที่จะทำ
ง. ฝึ กให้เป็ นคนคิดดี ทำดี พูดดี
2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ส่งผลต่อสังคมอย่างไร
ก. ทำให้สงั คมมีความเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ คนในสังคมมีการแข่งขันแย่งชิง กันเอง
ข. ทำให้สงั คมเกิดการเปลี่ยนแปลง มีการก่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรมผลิตสิ นค้าต่าง ๆ ทำให้คนในสังคมมีรายได้
ค. ทำให้สงั คมมีการเปลี่ยนแปลงมากเกินไปทำให้สงั คมค่อย ๆ เสื่ อมโทรม คนใน สังคมขาดคุณภาพ
ง. ทำให้สงั คมมีการพัฒนามากขึ้น และผลิตสิ่ งต่าง ๆ ที่ทนั สมัย เพื่ออำนาย ความสะดวกให้กบั คนในสังคม
3. บุคคลในข้อใดคือบุคคลที่มีจิตสาธารณะ
ก. เมื่อเห็นเพื่อนชกต่อยกันจึงเข้าไปดู และไม่หา้ ม
ข. นักศึกษาทิ้งถุงน้ำไว้ริมถนน เพราะบริ เวณนั้นไม่มีถงั ขยะ
ค. นักเรี ยนร่ วมกันบริ จาคสิ่ งของเพื่อช่วยเพื่อนที่ยากไร้
ง. พี่ซ้ื อขนมมากินคนเดียวไม่แบ่งน้อง
4. ค่านิยมในข้อใดที่คนในสังคมไทยควรยึดถือมากที่สุด
ก. การปฏิบตั ิตามหน้าที่ของตนเอง
ข. การเคารพเทิดทูนพระมหากษัตริ ย ์
ค. ความขยันขันแข็ง อดทน
ง. การเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่
5. จิตสาธารณะมีความสำคัญต่อสังคมอย่างไร
ก. ทำให้สงั คมมีเทคโนโลยีที่ทนั สมัย ข. ทำให้สงั คมมีประชากรที่มีความสามารถ
ค. ทำให้สงั คมมีความเจริ ญ เป็ นมหาอำนาจ ง. ทำให้สงั คมมีคุณภาพเข้มแข็ง
6. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดระเบียบทางสังคม
ก. เพื่อให้สมาชิกในสังคมเติบโตอย่างมีคุณภาพ
ข. เพื่อป้ องกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม
ค. เพื่อให้คนในสังคมมีความสัมพันธ์กนั มากขึ้น
ง. เพื่อให้สงั คมมีความเจริ ญก้าวหน้า และมีการพัฒนา
7. สถาบันใดเป็ นพื้นฐานสำคัญของอำนาจรัฐ
ก. สถาบันการเมืองการปกครอง
ข. สถาบันเศรษฐกิจ
ค. สถาบันศาสนา
ง. สถาบันการศึกษา
8. ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ของสถาบันการศึกษาได้ถูกต้อง
ก. เป็ นสถาบันที่บุคคลจะต้องประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีให้กบั สมาชิกในสังคม
ข. เป็ นสถาบันที่คอยให้ความช่วยเหลือ และเป็ นธรรมแก่สมาชิกในสังคม
ค. เป็ นสถาบันที่จะต้องสร้างสรรค์สมาชิกใหม่ที่มีคุณภาพให้สังคม
ง. เป็ นสถาบันที่ให้ความรู้ และอบรมสมาชิกให้เป็ นคนดี
9. ตัวแทนของการขัดเกลาทางสังคมข้อใดที่มีอิทธิผลต่อเด็กวัยรุ่ นมากที่สุด
ก. กลุ่มเพื่อน
ข. สื่ อมวลชน
ค. ครอบครัว
ง. ครู อาจารย์
10. เหตุการณ์ในข้อใดเป็ นการขัดเกลาทางสังคมทางตรง
ก. พ่อชอบแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าวการเมืองให้แม่ฟัง
ข. ครู ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบคำถามได้ถูกต้อง
ค. ดูละครแล้วแสดงพฤติกรรมตามอย่างละครที่ชอบ
ง. น้องเห็นพี่ชกต่อยเพื่อน น้องจึงไปชกต่อยเพื่อนบ้าง เพื่อช่วยพี่
11. ประเพณี ใดที่มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมของศาสนาพราหมณ์ในอินเดีย
ก. ประเพณี ยเี่ ป็ ง
ข. ประเพณี แห่ผตี าโขน
ค. ประเพณี กินเจ
ง. ประเพณี การทำบุญขึ้นบ้านใหม่
12. วัฒนธรรมด้านใดที่สะท้อนถึงภูมิปัญญา ความเป็ นมาทางประวัติศาสตร์และความเป็ นตัวตนของแต่ละชาติ
ก. วัฒนธรรมด้านศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว
ข. วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย
ค. วัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดง
ง. วัฒนธรรมด้านที่อยูอ่ าศัย
13. ข้อใดเป็ นอาหารของประเทศเกาหลีท้ งั หมด
ก. คูจอลพัน ซัมเกทัง อุดง กิมจิ
ข. มิโซะ พิบิมพัพ เน็งเมียน โนริ
ค. กิมจิ คาลบิ นิงิริซูชิ ชาบุ
ง. กิมจิ พุลโกกิ พิบิมพัพ ซัมเกทัง
14. เพราะเหตุใดอาหารของตะวันตกจึงเน้นอาหารที่สร้างไขมันมากกว่าอาหารของตะวันออก
ก. เพราะต้องการให้ผบู้ ริ โภคได้รับคุณค่าทางอาหารมากกว่าอาหารประเภทอื่น ๆ
ข. เพราะต้องสร้างความอบอุ่นให้ร่างกายเนื่องจากมีอากาศหนาวเย็น
ค. เพราะคนในแถบตะวันตกไม่นิยมอาหารที่มีรสจัด
ง. เพราะทำให้พฒั นาสติปัญญาได้ดีกว่าอาหารตะวันออก
15. วัฒนธรรมไทยข้อใดที่แสดงถึงความกตัญญูต่อผูม้ ีพระคุณ
ก. การรับประทานอาหารร่ วมกันของคนในครอบครัว
ข. การร่ วมกันทำบุญตักบาตรในวันสำคัญทางศาสนา
ค. การซื้ อของให้ในงานเทศกาล
ง. การบรรพชา
16. กูซู คือ ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวประจำชาติใด
ก. จีน ข. มาเลเซีย
ค. เกาหลี ง. ญี่ปนุ่
17. เมื่ออยูใ่ นโรงเรี ยนนักเรี ยนไม่ ควรปฏิบตั ิตนอย่างไร
ก. รักษาความสะอาดบริ เวณรอบโรงเรี ยน
ข. พูดจาสุ ภาพกับเพื่อนและครู อาจารย์
ค. ตั้งกลุ่มกับเพื่อน เพื่อเป็ นผูน้ ำของโรงเรี ยน
ง. แต่งกายถูกระเบียบ สุ ภาพ เรี ยบร้อย
18. ข้อใดไม่ เป็ น การส่ งเสริ มวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
ก. คิดค้นยารักษาโรคที่ท ำจากสมุนไพรไทย
ข. ใช้ของอุปโภคบริ โภคที่น ำเข้าจากต่างประเทศ
ค. ศึกษา และค้นคว้าเกี่ยวกับวัฒนธรรมพื้นบ้านของไทย
ง. ชมการแสดงลิเกในงานปิ ดทองฝังลูกนิมิตที่วดั แถวบ้าน
19. วัฒนธรรมมีความเกี่ยวข้องกับคนในสังคมอย่างไร
ก. วัฒนธรรมทำให้คนในสังคมสามารถดำเนินชีวิตได้ถูกต้องทันยุคทันสมัย
ข. วัฒนธรรมเป็ นแบบแผนของคนในสังคมที่จะใช้เป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพ
ค. วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาทำให้คนในสังคมเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ทนั วัฒนธรรมใหม่ ๆ
ง. วัฒนธรรมเป็ นสิ่ งที่สร้างความเจริ ญงอกงาม และสะท้อนถึงวิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ องคนในสังคม
20. การฉ้อราษฎร์บงั หลวงส่ งผลต่อประเทศชาติอย่างไร
ก. ประเทศชาติมีความเจริ ญขึ้น มีสิ่งอำนวยความสะดวกขึ้น
ข. ประเทศชาติไม่เจริ ญก้าวหน้า เกิดสงครามกลางเมือง
ค. ประเทศชาติไม่พฒั นา คนในประเทศขาดศีลธรรมจริ ยธรรม
ง. ประเทศชาติมีการพัฒนาขึ้น เป็ นประเทศมหาอำนาจประเทศหนึ่ง
21. ข้อใดมีความหมายตรงกับลักษณะของกฎหมายที่วา่ ด้วยกฎหมายใช้ได้เสมอไป
ก. กฎหมายนอนหลับแต่ไม่ตาย
ข. กฎหมายประกาศใช้แล้วสามารถบังคับใช้กบั ทุกคน ทุกสถานที่เท่าเทียมกัน
ค. กฎหมายสามารถใช้บงั คับได้จนกว่าจะมีกฎหมายใหม่
ง. กฎหมายจะนำมาใช้เพื่อไม่ขดั หรื อแย้งกับกฎหมายเก่า
22. “กฎหมายสู งสุ ด กฎหมายอื่นจะขัดแย้งไม่ได้” เป็ นการกล่าวถึงข้อใด
ก. รัฐธรรมนูญ
ข. ประมวลกฎหมาย
ค. พระราชบัญญัติ
ง. พระราชกำหนด
23. สังคมจะสงบสุ ขถ้าสมาชิกในสังคมปฏิบตั ิตนอย่างไร
ก. ปฏิบตั ิตนตามความพึงพอใจ
ข. ใช้ก ำลังตัดสิ นปัญหา
ค. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
ง. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว
24. การปกครองระบอบประชาธิปไตย มีหลักการสำคัญที่สุดคือ
ก. หลักความเสมอภาค
ข. หลักนิติธรรม
ค. หลักอำนาจอธิปไตย
ง. หลักสิ ทธิ และเสรี ภาพ
25. บุคคลใดปฏิบตั ิตามหลักสิ ทธิและเสรี ภาพไม่ ถูกต้อง
ก. คิมหันต์ชุมนุมประท้วงโดยมีอาวุธปื น
ข. พรรษาเป็ นสมาชิกพรรคการเมือง
ค. วสันต์ไปเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา
ง. นริ นทร์ทรมานตนด้วยการอดอาหารประท้วง
26. ข้อใดเป็ นการใช้สิทธิของประชาชน
ก. การไม่ผดิ กฎหมาย
ข. การขอทำบัตรประชาชน
ค. การเคารพธงชาติ
ง. การรวมกลุ่มประท้วงรัฐบาล
27. ข้อใดเป็ นปั ญหาด้านสิ่ งแวดล้อมที่ก ำลังเป็ นปัญหาสำคัญที่สุดของโลก
ก. การสู ญพันธุ์ของพืชและสัตว์
ข. การใช้สารเคมีในการเกษตรและอุตสาหกรรม
ค. ภาวะโลกร้อน
ง. ประชากรโลกเพิ่มจำนวนมากขึ้น
28. นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตนอย่างไรในการมีส่วนร่ วมรณรงค์ต่อต้านสารเสพติด
ก. คบค้าสมาคมเป็ นอาจิณกับผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับสารเสพติด
ข. ควบคุม สอดส่ องดูแลประชาชนในชุมชนของตนไม่ให้เกี่ยวข้องกับสารเสพติด
ค. อบรมประชาชนให้มีความเข้าใจในการป้ องกันสารเสพติด
ง. ไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติดทุกชนิด
29. นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตนอย่างไรในการมีส่วนร่ วมรณรงค์เพื่อป้ องกันโรคเอดส์
ก. บริ จาคทรัพย์สินเพื่อช่วยเหลือผูป้ ่ วยโรคเอดส์
ข. ไม่ยอมรับและอยูร่ ่ วมกับผูป้ ่ วยหรื อผูต้ ิดเชื้ อเอดส์
ค. ส่ งผูป้ ่ วยหรื อผูต้ ิดเชื้ อเอดส์เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่เกี่ยวกับโรคเอดส์
ง. ให้ความรู ้ ให้ก ำลังใจ และเห็นใจผูป้ ่ วยหรื อผูต้ ิดเชื้ อเอดส์
30. การยึดหลักคุณธรรมจริ ยธรรมข้อใดมีส่วนช่วยพัฒนาสังคมมากที่สุด
ก. ความละอายต่อความชัว่
ข. ความกตัญญูกตเวที
ค. การซื่ อสัตย์สุตริ ต
ง. การทำจิตใจให้บริ สุทธิ์
31. “เด็กหญิง ก. อาศัยอยูก่ บั แม่และน้าชาย เด็กหญิง ก. เป็ นเด็กพิการทางสายตา อยูม่ าวันหนึ่ง
น้าชายได้ข่มขืนเด็กหญิง ก. และถูกน้าชายข่มขู่วา่ ห้ามบอกใคร มิเช่นนั้นจะถูกฆ่า” จากเหตุการณ์
ดังกล่าวเป็ นปัญหาสิ ทธิมนุษยชนด้านใด
ก. ปั ญหาการละเมิดสิ ทธิกลุ่มชาติพนั ธุ์
ข. ปั ญหาการละเมิดสิ ทธิเด็ก
ค. ปั ญหาการละเมิดสิ ทธิสตรี
ง. ปั ญหาการเลือกปฏิบตั ิต่อผูพ้ ิการ
32. การคุม้ ครองสิ ทธิ มนุษยชนเกี่ยวกับน้ำมีประโยชน์อย่างไร
ก. ทำให้ประชาชนมีน ้ำใช้เพื่ออุปโภค และประกอบอาชีพอย่างพอเพียง
ข. ทำให้เกิดองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิ มนุษยชนมากขึ้น
ค. ทำให้รัฐมีงบประมาณในการจัดสร้างเขื่อน ฝายต่าง ๆ
ง. ทำให้ประชาชนมีน ้ำใช้ได้อย่างไม่จ ำกัด
33. หน่วยงานใดมีหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีที่เป็ นกรณี พิพาทระหว่างเอกชนกับหน่วยงานราชการ
ก. คณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ข. สำนักผูต้ รวจการแผ่นดิน
ค. ศาลปกครอง
ง. ศาลรัฐธรรมนูญ
34. บุคคลใดที่เป็ นผูแ้ ต่งตั้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและศาลรัฐธรรมนูญ
ก. คณะรัฐมนตรี ข. นายกรัฐมนตรี
ค. วุฒิสภา ง. พระมหากษัตริ ย ์
35. ข้อใดเป็ นแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสิ ทธิมนุษยชนที่ท ำได้ดว้ ยตนเอง
ก. แจ้งเบาะแสเกี่ยวกับปัญหาการละเมิดสิ ทธิ ที่พบเห็นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และ
ดำเนินการแก้ไข
ข. เข้าร่ วมฟังการประชุมด้านสังคมและสิ ทธิ มนุษยชนกับประเทศต่าง ๆ
ค. เผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับสิ ทธิมนุษยชนทางโทรทัศน์ วิทยุ
ง. จัดตั้งหน่วยงานเพื่อร้องเรี ยนเกี่ยวกับปัญหาของคนในชุมชน
36. UNICEF เป็ นองค์กรที่มีหน้าที่ใด
ก. ส่ งเสริ มความคุม้ ครองทางสังคมในแรงงานทุกกลุ่ม
ข. ปกป้ องคุม้ ครองเด็กจากการถูกทำร้าย และล่วงละเมิด
ค. ป้ องกันและยุติการทำร้ายสิ ทธิมนุษยชน
ง. ต่อต้านการค้าหญิง
37. สิ ทธิ ในการรับการศึกษา คือสิ ทธิดา้ นใด
ก. สิ ทธิ ส่วนบุคคล
ข. สิ ทธิ การเมืองการปกครองและสาธารณะ
ค. สิ ทธิ ในการรวมกลุ่มและในชุมชน
ง. สิ ทธิ ในความเสมอภาคและการส่ งเสริ มของรัฐ
38. ข้อใดไม่ ใช่ อ ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ก. เสนอแนะนโยบายต่อคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการส่ งเสริ มและคุม้ ครองสิ ทธิ มนุษยชน
ข. ส่ งเสริ มความร่ วมมือและประสานงานระหว่างหน่วยราชการและองค์กรอื่นในด้าน
สิ ทธิ มนุษยชน
ค. ตัดสิ นและลงโทษผูท้ ี่กระทำผิดเกี่ยวกับการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชน
ง. ตรวจสอบและรายงานเกี่ยวกับการกระทำที่เป็ นการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชน
39. ข้อใดเป็ นการคุม้ ครองด้านเสรี ภาพ
ก. การได้รับสัญชาติและเป็ นพลเมืองของประเทศใดประเทศหนึ่ง
ข. การพักผ่อนจากการทำงาน
ค. การรักษาพยาบาล
ง. การนับถือศาสนา
40. ข้อใดไม่ ใช่ หลักการของสิ ทธิมนุษยชน
ก. บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิตอยูอ่ ย่างมีเสรี ภาพ
ข. บุคคลมีสิทธิที่จะได้รับการพักผ่อนจากการทำงาน
ค. บุคคลมีสิทธิที่จะบังคับผูอ้ ื่นได้
ง. บุคคลมีสิทธิในการถือสัญชาติ
41. ข้อใดเป็ นความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ
ก. บริ ษทั ข. มูลนิธิ
ค. นายจ้างกับลูกจ้าง ง. พ่อแม่และลูก
42. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการจัดระเบียบสังคม
ก. เพื่อให้สมาชิกในสังคมมีความเป็ นอิสระ
ข. เพื่อให้การติดต่อสัมพันธ์กนั ทางสังคมเป็ นไปอย่างเรี ยบร้อย
ค. เพื่อป้ องกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม
ง. ช่วยให้สมาชิกในสังคมดำรงอยูอ่ ย่างสงบสุ ขและมัน่ คง
43. ข้อใดเป็ นบทบาทหน้าที่ของสถาบันศาสนา
ก. รักษาความมัน่ คงและความสงบเรี ยบร้อยในสังคม
ข. ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างสมาชิก ทำให้เกิดความสัมพันธ์กนั
อย่างใกล้ชิด
ค. ให้ความรักและความอบอุ่นด้วยความบริ สุทธิ์ ใจ
ง. อบรมสมาชิกให้มีคุณธรรม จริ ยธรรม และเป็ นคนดีของสังคม
44. วิธีการขัดเกลาทางสังคมทางตรง ได้แก่ขอ้ ใด
ก. การอ่านหนังสื อพิมพ์
ข. การดูขา่ วสารทางโทรทัศน์
ค. การอบรมสัง่ สอน
ง. การประพฤติตนเลียนแบบเพื่อน
45. เครื่ องปั้ นดินเผาบ้านเชียง จ.อุดรธานี จัดเป็ นวัฒนธรรมประเภทใด
ก. คติธรรม
ข. สหธรรม
ค. เนติธรรม
ง. วัตถุธรรม
46. วัฒนธรรมในข้อใดที่เป็ นเอกลักษณ์ทางภาษาของไทย
ก. ไตรภูมิพระร่ วง ข. ลำตัด
ค. รำกระบี่กระบอง ง. นิราศภูเขาทอง
47. การปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการทำงานของคนไทย ควรจะปฏิบตั ิตามข้อใด
ก. ทำงานที่ได้ค่าตอบแทนสูง
ข. ทำงานที่ไม่ตอ้ งใช้แรงมาก
ค. ทำงานด้วยความขยันและอดทน
ง. ทำงานตามอารมณ์ของตน
48. ภูมิปัญญาส่ วนใหญ่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมในด้านใด
ก. วิถีการดำเนินชีวิต ข. การประกอบอาชีพ
ค. การแต่งกาย ง. ศิลปะการแสดง
49. กระบวนการใดทำให้วฒั นธรรมเป็ นมรดกทางสังคม
ก. การเลือกสรรทางสังคม
ข. การผสมผสานทางวัฒนธรรม
ค. การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม
ง. การขัดเกลาทางสังคม
50. อาหารไทย แสดงให้เห็นถึงลักษณะใดที่ชดั เจนที่สุด
ก. ศิลปกรรม
ข. ภูมิปัญญา
ค. วัฒนธรรม
ง. ประเพณี
51. ข้อใดเป็ นอาหารประจำชาติญี่ปนทั ุ่ ้ งหมด
ก. ชาบุ ชาบุ ซาซิมิ
ข. ซูชิ กิมจิ
ค. พุลโกกิ ซูชิ
ง. ซัมเกทัง กิมจิ
52. องค์กรระหว่างประเทศที่ท ำหน้าที่ในการคุม้ ครองสิ ทธิ มนุษยชนคือองค์กรใด
ก. UNICEF ข. UN
ค. APEC ง. WTO
53. องค์กรระหว่างประเทศที่ให้ความร่ วมมือในการปกป้ องคุม้ ครองเด็กในประเทศที่ก ำลังพัฒนา
คือองค์กรใด
ก. UNICEF ข. UN
ค. WTO ง. GAATW
54. ลักษณะของความเป็ นประชาธิปไตย ตรงตามข้อใด
ก. อำนาจอธิ ปไตยมีฐานะสูงสุ ด
ข. ประชาชนเป็ นใหญ่ในแผ่นดิน
ค. ประชาชนมีส่วนร่ วมทางการเมือง
ง. อำนาจอธิ ปไตยเป็ นอิสระ
55. หลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตรงตามข้อใด
ก. หลักอำนาจอธิปไตย
ข. หลักนิติธรรม
ค. หลักความเสมอภาค
ง. หลักสิ ทธิ และเสรี ภาพ
56. ฐานะของพระมหากษัตริ ยไ์ ทยภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์แตกต่างจากภายใต้ระบอบ
ประชาธิ ปไตยอย่างไร
ก. ความเป็ นธรรมราช ข. ความเป็ นเทวราชา
ค. ความเป็ นศูนย์รวมใจของคนในชาติ ง. ความเป็ นผูน้ ำการพัฒนาประเทศ
57. หน้าที่ของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยและเผด็จการแตกต่างกันในเรื่ องใดมากที่สุด
ก. การปฏิบตั ิตามกฎหมายของรัฐ
ข. การเสี ยภาษีอากรให้กบั รัฐ
ค. การตรวจสอบการใช้อ ำนาจรัฐ
ง. การคุม้ ครองป้ องกันความมัน่ คงของรัฐ
58. การเป็ นลูกที่ดีควรปฏิบตั ิตนต่อบิดามารดาอย่างไร
ก. ตอบแทนบุญคุณท่านด้วยสิ่ งของที่มีค่าสูง
ข. จ้างพยาบาลหรื อพี่เลี้ยงคอยดูแลท่านทุกวัน
ค. ไม่ประพฤติตนให้ท่านเสี ยใจ
ง. ส่ งท่านไปอยูก่ บั เพื่อน ๆ ที่บา้ นพักคนชรา
59. องค์การสหประชาชาติ ได้ก ำหนดวันใดเป็ น “วันสิ่ งแวดล้อมโลก”
ก. วันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี
ข. วันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปี
ค. วันที่ 1 มิถุนายนของทุกปี
ง. วันที่ 5 มิถุนายนของทุกปี
60. นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตนตามข้อใด เพื่อช่วยลดปัญหาสารเสพติด
ก. อาสาสมัครเป็ นเจ้าพนักงานป้ องกันและปราบปรามสารเสพติด
ข. นำผูต้ ิดสารเสพติดเข้ารับการบำบัดรักษาที่สถานพยาบาลด้านสารเสพติด
ค. ควบคุมสอดส่ องดูแลเยาวชนที่อยูใ่ นชุมชนแออัดไม่ให้เกี่ยวข้องกับสารเสพติด
ง. ประพฤติตนโดยการไม่เสพหรื อเกี่ยวข้องกับสารเสพติด
61. ในปั จจุบนั สังคมไทยควรยึดหลักคุณธรรมจริ ยธรรมในข้อใดมากที่สุด
ก. ความสามัคคี
ข. ความนอบน้อมถ่อมตน
ค. ความมีน ้ำใจ
ง. ความซื่ อสัตย์

You might also like