Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

เอกสารประกอบการสอน

วิชาปฏิบัติการจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณภัย
(5033337)

อาจารย์อจิรา เทีย่ งตรง


อาจารย์ นาวาเอก สมมาตร์ เนียมนิล

สาขาวิชาการจัดการสาธารณภัย
ภาควิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์สาธารณภัย
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ
มหาวิทยาลัยนวมิทนทราธิราช
2565
1
ปฏิบัติการที่ 6
เรื่อง การสืบค้นข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย (Selecting features by location and attributes)
1. การสืบค้นข้อมูลเชิงบรรยาย
• นักศึกษาดาวโหลดข้อมูล Lab 6 ที่อยู่ใน Google classroom
• ให้นาเข้าข้อมูลเวคเตอร์ ดังนี้
• สถานศึกษา_01
• ถนนสายหลัก_Polyline
• ถนนสายรอง_Polyline
• River
• BMA_DISCTRIC
• เปิดชั้นข้อมูลทั้งหมดทาการปรับเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผลรวมถึงสีสันให้สื่อความหมาย ได้ตามรูป

2
1.1 ใช้การสอบถามหรือสืบค้นอย่างง่ายโดยใช้ไอคอน Identify

1.2 การสืบค้นโดยใช้คาสั่ง Find เพื่อค้นหาสิ่งที่สนใจจากข้อมูล Attribute ทาได้ดังนี้


• ที่แถบ Feature ในช่อง Find สามารถพิมพ์ชื่อของสิ่งที่สนใจเพื่อทาการค้นหา
• ในช่อง In ให้เลือกชั้นข้อมูลที่จะทาการค้นหา
• ให้เลือก Find features that are similar to or contain the search string if the string เพื่อ
กาหนดให้โปรแกรมทาการค้นหาคาที่ตรงตามกาหนดเท่านั้น
• สามารถเลือกแบบ All fields หากไม่ทราบที่เก็บข้อมูล หรือ In field ในกรณีที่ทราบว่าข้อมูลเก็บอยู่
ที่ field ไหน เพื่อช่วยลดระยะเวลาในการสืบค้น

3
1.2.1 ให้ทดลองพิมพ์คาว่า “อนุบาล”

1.2.2 คลิกขวาที่ข้อมูลที่ต้องการและเลือก Flash เพื่อซูมไปยังเป้าหมาย

1.2.3 เลือก Zoom to, Pan to, Select หรือ Unselect ได้ ตามต้องการ
Flash – กระพริบที่ตาแหน่งที่ถูกเลือก
Zoom To – ขยายไปที่ตาแหน่งที่ถกู เลือกทันทีโดยมาตราส่วนใหญ่ขึ้น
Pan To – จะเคลื่อนไปยังตาแหน่งที่ถูกเลือกทันที โดยรักษามาตราส่วนเดิมไว้
Create Bookmark – การบันทึกขอบเขตพื้นที่ (Extents) ที่ถูกเลือกเพื่อง่ายต่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป
Identify – การแสดงรายละเอียดเชิงบรรยายทั้งหมดของตาแหน่งที่ถูกเลือก

4
1.2.4 ให้ทดลองพิมพ์คาว่า “โรงเรียน” / สถานศึกษา
1.2.5 ให้ทดลองพิมพ์คาว่า “ซอย” / ถนนสายรอง
1.2.6 ให้ทดลองพิมพ์คาว่า “สะพาน” / ถนนสายหลัก
1.3 การสืบค้นโดยใช้เครื่องมือ Select By Graphics ในรูปแบบต่าง ๆ

• สามารถกดแป้น Shift ค้างไว้เพื่อเป็นการเพิ่มการค้นหาไปเรื่อย ๆ ได้


1.4 การสืบค้นข้อมูลเชิงบรรยายโดยใช้คาสั่ง Select by Attribute

5
1.4.1 เลือก Selection ที่เมนูหลัก > Select by Attribute…
1.4.2 จะได้หน้าต่าง Select by Attribute เพื่อให้เราสามารถกาหนดเงื่อนไขในการค้นหา

• เลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการสืบค้นที่ Layer drop-down arrow เลือกชั้นข้อมูล


• เลือกวิธีการสืบค้นที่ Method drop-down arrow ให้เลือก Create a new selection
• Double-click ที่ชื่อ field ที่ต้องการสืบค้น จากนั้นชื่อ field ที่เลือกจะปรากฏในกล่องกาหนดเงื่อนไข
การค้นหา (expression box)
• เมื่อได้ field ที่ต้องการค้นหาแล้วให้กาหนด operator ช่วยในการค้นหา โดยให้เลือกเครื่องหมาย =
• ทาการเลือกค่าที่อยู่ภายใน field โดยเลือก Get Unique Values จากนั้น Double-click เพื่อเลือก
ค่าที่ต้องการเพิ่มลงใน Expression box สามารถใส่ค่าที่ต้องการค้นหาใน field ที่กาหนดเพื่อช่วยให้โปรแกรม
ค้นหาค่าที่ต้องการได้เร็วยิ่งขึ้น โดยใส่ค่าที่ช่อง Go to
• จากนั้น Click ที่ปุ่ม Verify เพื่อตรวจสอบดูว่าประโยคที่ใช้ในการสืบค้นถูกต้องหรือไม่
• ใช้ปุ่ม Clear หากต้องการแก้ไขประโยคสืบค้นนอกจากนี้สามารถใช้ปุ่ม Save และ Load เพื่อบันทึก
ประโยคที่ใช้ในการสืบค้นและเรียกใช้งานได้

6
1.4.3 ทดลองค้นหาโรงเรียนจากชั้นข้อมูลสถานศึกษา

1.4.4 วิธีในการสืบค้นสามารถแบ่งได้ ดังนี้


• Create a new selection - ใช้วิธีนี้เมื่อต้องการสืบค้นข้อมูลใหม่โดยไม่สนใจข้อมูลที่เคย
สืบค้นไว้แล้ว
• Add to current selection – ใช้วิธีนี้เมื่อต้องการรักษาผลการสืบค้นข้อมูลเดิมไว้และ
ต้องการผลการสืบค้นใหม่รวมกับผลข้อมูลเดิม
• Remove from current selection - ใช้วิธีนี้เมื่อต้องการลบผลการสืบค้นออกจากข้อมูลที่
ถูกเลือก
• Select from current selection - ใช้วิธีเมื่อต้องการสืบค้นข้อมูลจากผลการสืบค้นเดิม
1.4.5 ให้ทดลองทาการสืบค้นด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
1. การค้นหาตามตัวอักษร (Strings Searching strings) ตัวอักษรที่ต้องการค้นหาต้องอยู่
ภายใน เครื่องหมาย Single quotes โดยใช้คาสั่ง = เช่น
- ที่ชั้นข้อมูล สถานศึกษา ให้ค้นหา "NAME" = 'กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย'

7
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "NAME0" = 'วังทองหลาง'

2. ใช้ตัวดาเนินการ LIKE แทนเครื่องหมาย = เพื่อช่วยในการค้นหาคาที่ทราบเพียงบางส่วน


เช่น ต้องการค้นหาชื่อที่ขึ้นต้นด้วย วัด...(??) หรือลงท้ายด้วย (??)…คม และใช้ % เพื่อแทน
จานวน ตัวอักษรที่ไม่ทราบจานวนที่แน่นอนได้ เช่น

8
- ที่ชั้นข้อมูล สถานศึกษา_01 ให้ค้นหา "NAME" LIKE 'วัด%'

- หรือ "NAME" LIKE '%คม'


- "NAME" LIKE 'โรงเรียน%คม'

9
3. ใช้ตัวดาเนินการ OR เพื่อการสืบค้นข้อมูลมากกว่าหนึ่งชุดคาตอบ เช่น
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "NAME0" = 'จตุจักร' OR "NAME0" =

'จอมทอง' (กรณีที่อยู่ใน Field เดียวกัน)

- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "NAME0" = 'บึงกุ่ม' OR "คนต่างด้าว" = 677


(กรณีข้าม Field ) กรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริง

10
4. ใช้ตัวดาเนินการ And เพื่อการสืบค้นข้อมูลมากกว่าหนึ่งคาตอบ เช่น
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "NAME0" = 'จตุจักร' AND "คนต่างด้าว" > 200

ทั้งสองเงื่อนไขต้องเป็นจริง

- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "NAME0" = 'บางคอแหลม' AND "ทาวน์เฮ้าส" >


20

11
5. ใช้ตัวดาเนินการ Not เพื่อการสืบค้นคาตอบ (ยกเว้นตัวเงื่อนไขเอง) เช่น
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา NOT "NAME0" = 'ธนบุรี'

12
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "KHET_GROUP" = 'กรุงธนใต้' AND NOT
"NAME0" = 'ทุ่งครุ'

6. การใช้เครื่องหมาย มากกว่า (>) น้อยกว่า (=) น้อยกว่าหรือเท่ากับ (<=) และเครื่องหมาย


ไม่เท่ากับ (<>) (Not) ในการค้นหาตัวอักษร เช่น
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "คนต่างด้าว" >1000

13
- ที่ชั้นข้อมูล สถานศึกษา_01 ให้ค้นหา "NAME" >= 'ส%'

7. การใช้ตัวดาเนินการต่างๆ ร่วมกัน เช่น


- ที่ชั้นข้อมูล สถานศึกษา_01 ให้ค้นหา "NAME" = 'เกษมสันต์บริหารธุรกิจ' OR ( "TYPE"

=4)

14
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ให้ค้นหา "NAME0" in ( 'คลองสามวา' , 'จตุจักร',
'บางเขน' )

8. การใช้ + - * /
- ที่ชั้นข้อมูล BMA_DISCTRIC ทาการเปิดตาราง Attribute จากนั้นให้คลิกขวาที่

Column ที่ต้องการ คานวณ เลือก Field Calculator เช่น

15
2. การสืบค้นข้อมูลเชิงพื้นที่
ให้นาเข้าข้อมูลเวคเตอร์ ดังนี้
• สถานศึกษา_01
• ถนนสายหลัก_Polyline
• ถนนสายรอง_Polyline
• River
• BMA_DISCTRIC

• การสืบค้นโดยใช้คาสั่งเชิงพื้นที่ หรือ Select By Location


2.1 ให้ทาการเลือกเขตใดเขตหนึ่งของกรุงเทพ ฯ และหาจานวนโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตนั้น ๆ
การใช้คาสั่ง Intersect
1) ทาการ Select เฉพาะเขตที่ต้องการ
2) Selection methods เลือก Select feature from
3) Target layer เลือก สถานศึกษา_01
4) Source layer เลือก BMA_DISCTRIC (คลิกถูกที่ Use selected features)
5) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature intersect the Source layer feature

Features BMA

16
2.2 ให้ทาการค้นหาถนนสายรองที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯ
การใช้คาสั่ง Are within
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก ถนนสายรอง_Polyline
3) Source layer เลือก BMA_DISCTRIC
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Are within a distance of the
source layer feature

17
2.3 ให้ทาการค้นหาโรงเรียนแต่ละเขตในกรุงเทพฯ ที่มีตาแหน่งที่ตั้งห่างจากแนวขอบเขตการปกครองของ
ตนเองเข้ามาด้านใน ในระยะตั้งแต่ 2 กิโลเมตรขึ้นไป
การใช้คาสั่ง Are within
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก สถานศึกษา_01
3) Source layer เลือก BMA_DISCTRIC
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Are within a distance of the
source layer feature
5) Apply a search distance กรอกค่า -2 กม.

18
2.4 ให้ทาการค้นหาโรงเรียนที่มีตาแหน่งที่ตั้งห่างจากถนนสายรองในระยะไม่เกิน 200 เมตร
การใช้คาสั่ง Are within
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก สถานศึกษา_01
3) Source layer เลือก ถนนสายรอง
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Are within a distance of the
source layer feature
5) Apply a search distance กรอกค่า 200 เมตร

19
2.5 ให้ทาการค้นหาโรงเรียนที่ได้ทาการคัดเลือกไว้ (Select by graphic) ว่าอยู่ในเขตใดบ้างของ
กรุงเทพฯ
การใช้คาสั่ง Contain
1) ทาการสุ่มเลือกโรงเรียนตามที่ต้องการ (Select by graphic โดยลากบนหน้าจอ)
2) Selection methods เลือก Select feature from
3) Target layer เลือก BMA_DISCTRIC
4) Source layer เลือก สถานศึกษา_01 (คลิกถูกที่ Use selected features)
5) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Contain the Source layer feature

20
2.6 ให้ทาการค้นหาว่ามีถนนสายรองเส้นใดบ้าง ที่มีการใช้เส้นทางเส้นเดียวกันกับถนนสายหลัก
การใช้คาสั่ง Share a line segment with
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก ถนนสายรอง_Polyline
3) Source layer เลือก ถนนสายหลัก_Polyline
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Share a line segment with the
Source layer feature

21
2.7 ให้ทาการค้นหาว่ามีถนนสายรองเส้นใดบ้าง ที่เส้นทางมีการตัดกับถนนสายหลัก
การใช้คาสั่ง Are crossed by the outline of
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก ถนนสายรอง_Polyline
3) Source layer เลือก ถนนสายหลัก_Polyline
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Are crossed by the outline Of the
Source layer feature

22
2.8 ให้ทาการค้นหาว่ามีถนนสายหลักเส้นใดบ้าง ที่เส้นทางมีการตัดกับถนนสายรอง
การใช้คาสั่ง Are crossed by the outline of
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก ถนนสายหลัก_Polyline
3) Source layer เลือก ถนนสายรอง_Polyline
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Are crossed by the outline Of
the Source layer feature

23
2.9 ให้ทาการค้นหาว่ามีถนนสายรองเส้นใดบ้าง ที่เส้นทางมีการตัดผ่านเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพ ฯ
มากกว่า 1 เขตขึ้นไป
การใช้คาสั่ง Are crossed by the outline of
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก ถนนสายรอง_Polyline
3) Source layer เลือก BMA_DISCTRIC
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Are crossed by the outline Of
the Source layer feature

24
2.10 ให้ทาการค้นหาว่ามีถนนสายหลักเส้นใดบ้าง ที่เส้นทางมีการตัดผ่านเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพ ฯ
มากกว่า 1 เขตขึ้นไป
การใช้คาสั่ง Are crossed by the outline of
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก ถนนสายหลัก_Polyline
3) Source layer เลือก BMA_DISCTRIC
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Are crossed by the outline Of the
Source layer feature

25
2.11 ให้ทาการค้นหาว่า แขวงต่าง ๆ ของกรุงเทพฯ มีแขวงใดบ้างที่ขอบเขตไม่ถูกต้องตามเขตของ
กรุงเทพฯ
การใช้คาสั่ง Touch the boundary of
1) Selection methods เลือก Select feature from
2) Target layer เลือก SUB_DISTRIC
3) Source layer เลือก BMA_DISCTRIC
4) Spatial selection method เลือก Target layer (s) feature Touch the boundary of the
Source layer feature

26

You might also like