Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

เอกสารประกอบการสอน

วิชาปฏิบัติการจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณภัย
(5033337)

อาจารย์อจิรา เที่ยงตรง
อาจารย์ นาวาเอก สมมาตร์ เนียมนิล

สาขาวิชาการจัดการสาธารณภัย
ภาควิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์สาธารณภัย
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ
มหาวิทยาลัยนวมิทนทราธิราช
2565
1
ปฏิบัติการที่ 1
เรื่อง การแนะนาการใช้โปรแกรม Arc Map
1. โปรแกรมปฏิบัติการ ArcMap

โปรแกรมจัดการกับแผนที่
ArcMap (แสดงผล สืบค้น ปรับแก้ข้อมูล)
โปรแกรมจัดการกับข้อมูล
ArcCatalog (แสดงตัวอย่างข้อมูล จัดการฐานข้อมูล)
โปรแกรมจัดการวิเคราะห์ข้อมูล
ArcToolbox
(วิเคราะห์และแปลงข้อมูล)

2. หน้าต่างโปรแกรม ArcMap
เมนูหลัก เครื่องมือมาตรฐาน
เครื่องมือพืน้ ฐาน

หน้าต่างการแสดง
ชั้นข้อมูล
หน้าต่างหลักการแสดงผล (Data view)

หน้าต่างแผนที่ (Layout view)

2
3. เครื่องมือสาหรับการวิเคราะห์ (Toolboxs)

4. เครื่องมือสาหรับการจัดการข้อมูล (Catalog)

3
5. การเตรียมการสาหรับการเรียนวิชาปฏิบัติการ
5.1 สร้าง Folder ใน Drive D: > ชื่อนักศึกษา
5.2 ในแต่ละปฏิบัติการให้สร้าง Folder ตามชื่อปฏิบัติการ เช่น ปฏิบัติการที่ 1
Drive D: > ชื่อนักศึกษา > Lab1
6. การจัดทาแผนที่พื้นที่ป่าสงวนในพื้นที่ภาคกลาง (โดยให้บอกจังหวัดที่มีพื้นที่ป่าสงวน)
6.1 ให้นักศึกษาดาวโหลดข้อมูลขอบเขตจังหวัดใน Lab Data > Lab 1

6.1.1 ให้คลิก Province ในกรอบสีแดง จะได้หน้าต่างตามด้านล่าง

4
6.1.2 คลิกที่ปุ่มสามจุดด้านมุมบนขวา และคาว่าเปิดในหน้าต่างใหม่

6.1.3 กดดาวโหลดข้อมูล

6.1.4 Copy ไฟล์ Zip มาวางไว้ใน Lab 1

5
6.1.5 Extract ข้อมูล โดยคลิกขวาที่ > Show more options >
Extract to “ชื่อไฟล์ zip”

6.1.6 ทาการเพิ่มชั้นข้อมูลจังหวัด โดยกด Add data > Lab1 > Province-20220818T010616Z-


001 > Province > TH_Province จะได้ดังภาพด้านล่าง

1 2

6
6.1.7 ให้เปิดตารางข้อมูลของจังหวัด โดยคลิกขวาที่ Layer TH_Province > Open Attribute
Table

6.1.8 ทาการเรียงอักษรในช่องของจังหวัดจากน้อยไปมาก โดยกด Sort Ascending จากน้อยไปมากที่


คอลัมน์ PROV_NAMT

7
6.1.9 ทาการเลือกจังหวัดในภาคกลาง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร กาแพงเพชร ชัยนาท นครนายก
นครปฐม นครสวรรค์ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ลพบุรี
สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี อ่างทอง อุทัยธานี
ไปที่ละแถว โดยกด ctrl ค้างแล้วเลือกจังหวัดทั้งหมดในภาคกลาง รวม 22 จังหวัด

6.1.10 ทาการ Export จังหวัดในภาคกลาง โดยคลิกขวาที่ Layer TH_Province > Data > Export
Data…

8
6.1.11 ตั้งชื่อไฟล์ที่จะ Export ว่า ภาคกลาง โดยกด Browse ไปที่ D:> Lab1 > ภาคกลาง

6.1.12 จะได้ข้อมูลภาคกลางดังรูป

9
6.2 ให้นักศึกษาดาวโหลดข้อมูลพื้นที่ป่าสงวนใน Lab Data > Lab 1

6.2.1 โดยให้ทาตามขั้นตอนตั้งแต่ข้อที่ 6.1.1 – 6.1.5 และทาการเพิ่มชั้นข้อมูลพื้นที่ป่าสงวน โดย


กด Add data > Lab1 > Reserved_Forest-20220818T011327Z-001 >
Reserved_Forest จะได้ดังรูป

6.2.2 ทาการตัดข้อมูลป่าสงวนที่อยู่เฉพาะใน Zone ภาคกลาง โดยการใช้เครื่องมือใน


ArcToolboxs โดยมีวิธีการดังนี้

- คลิก ArcToolboxs > Analysis Tools > Extract > Clip ดังรูป

10
- หรือเลือกจาก Search แล้วพิมพ์คาว่า Clip > Clip (Analysis)

- ให้ทาการ Clip ข้อมูล ดังนี้


Layer ที่ต้องการจะตัด

Layer ขนาดที่ต้องการ

จะ Save ไฟล์ไว้ที่ไหน และตั้งชื่อ

11
- ให้นักศึกษาตรวจสอบพื้นที่ป่าสงวนที่มีอยูใ่ นภาคกลางจาก Layer ที่ปรากฏ

6.2.3 ให้ทาแผนที่ป่าสงวนในพื้นที่ภาคกลาง
- คลิกที่ Layout view และให้เหลือเฉพาะ Layer ที่ต้องการเท่านั้น
- คลิกกรอบสีฟ้าให้ลงมาข้างล่าง เพื่อให้เหลือพื้นที่สาหรับเขียนชื่อแผนที่

12
- คลิกเครื่องมือการทาแผนที่เพิ่มโดยเลือก Customize > Toolbars > Draw

- คลิก เพื่อพิมพ์ชื่อแผนที่
- ปรับชนิดและขนาด Font โดยเลือก Change Symbol

13
- ปรับให้ภาพอยู่ตรงกลางโดยคลิกขวาที่ Layer ภาคกลาง > Zoom to layer

- ใส่คาอธิบายชั้นข้อมูล โดยเลือก Insert > Legend > Next > Next > Next > Next >
Finish

- 46iq46i
- Eruetu64
- 4qu46i

14
- คลิกขวาที่ Legend > Convert To Graphics

- คลิกขวาที่ Legend > Ungroup

- คลิกขวาที่คาว่า “Legend” เปลี่ยนเป็นคาว่า “คาอธิบาย”


- Export แผนที่โดยคลิก File > Export Map

15
- ตั้งชื่อไฟล์ และเลือกชนิดและขนาดไฟล์

6.2.4 จะได้แผนที่ดังรูป

16
7. การจัดทาแผนที่พื้นที่น้าท่วมในภาคกลางปี พ.ศ.2563, 2562, 2561, 2560 (โดยให้บอกจังหวัดได้รับ
ผลกระทบจากน้้าท่วมในแต่ละปี และจังหวัดใดควรมีการเฝ้าระวังเป็นพิเศษ)

17

You might also like