Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน

100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษา


โรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
development of computer-assisted instruction Mathematics Addition of
numbers with a positive result not exceeding 100 and subtracting a number
with a number not exceeding 100 for primary school students: a case study of
Wat Sutthawat School and Wat Wirotchanaram School, Chaiya District, Surat
Thani Province.

ภัทราภรณ์ ขุนจันทร์ 1, กาญจญาภรณ์ กาญจโนภาส 2, อุไรวรรณ เอกประยูร 3


Phatraporn Khunchan , Kanchanyaporn Kanchanopas , Uraiwan Ekprayoon

บทคัดย่อ

การพัฒ นาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย น การวิจัยครั้ งนี้มีวัต ถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้า ง


บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่
ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนา
ราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน วิชา คณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยการศึกษาในครั้งนี้ผู้
ศึกษาได้มีการออกแบบและพัฒนาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เป็นเครื่องมือหลักในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 2 โรงเรียนในอาเภอไชยา และ
แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนวัดสุทธาวาสและโรงเรียนวัดวิโรจนา
ราม จานวน 60 คน และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินผู้เชียวชาญด้านเครื่องมือวิจัยและด้านเนื้อหารวมจานวน 6
คน ใช้โปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห์สถิติ และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาสื่อบทเรียนช่วยสอนได้แก่ โปรแกรม
Adobe Photoshop CS6 และโปรแกรม Adobe Captivate 8
ผลการศึกษาพบว่า ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวน
ที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนรู้ผ่านสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กล่าวคือก่อนเรียนรู้ผ่านสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของนักเรียนมีคะแนน
เฉลี่ย 6.37 คะแนน หลังจากเรียนรู้ผ่านสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 12.52 คะแนน
ซึ่งพบว่านักเรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้นหลังจากเรียนรู้ผ่านสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนน
เพิ่มขึ้น 6.15 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 61 แสดงให้เห็นว่าหลังจากเรียนรู้ผ่านสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วสอน
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน
100 มากยิ่งขึ้น ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด = 4.79 และ S.D. =0.40
คาสาคัญ : สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน , คณิตศาสตร์ , ผลสัมฤทธิ์

1
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยตาปี
2
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยตาปี
3
อาจารย์ประจาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยตาปี
2

ABSTRACT

Concentration and intellectual achievement, research, meditation to (1) challenge the


teaching wisdom, challenge mathematics, counter... Experiment 1 Experiment at Wat Sutthawat
School and Wat Wirotchanaram School, Chaiya, Suratthani. (2) To compare the learning
achievement with computer-assisted instruction in Mathematics on addition of numbers with a
sum of not more than 100 and subtraction of numbers with a set number of not more than 100
for Prathomsuksa 1 students, a case study of Wat Sutthawat School. and Wat Wirotchanaram
School, Chaiya District, Surat Thani Province (3) To study the students' satisfaction towards CAI
lessons. In this study, the students designed and developed computer-assisted instructional
media. by using the pre- and post-study test It was the main tool for collecting data from a group
of primary school students in 2 schools in Chaiya District. and the satisfaction questionnaire of
the sample students including 60 students of Wat Sutthawat School and Wat Wirotchanaram
School, and 6 experts in research tool and content expert assessment form. SPSS was used for
statistical analysis. And the tools used to develop teaching aids are Adobe Photoshop CS6 and
Adobe Captivate 8.
The results of the study found that Knowledge of adding numbers with a positive result
not exceeding 100 and subtracting a number that does not exceed 100, the average score before
learning through CAI lesson materials. After school was significantly higher than before school at
the 0.05 level. That is to say, before learning through computer-assisted instruction media,
students had an average score of 6.37. After learning through CAI, students had an average score
of 12.52. It was found that students had an increase in scores after learning through CAI
instructional media. teach with an average score increase of 6.15 points, or 61%. showed that
after learning through computer-assisted instructional media Students have an understanding of
Regarding addition of numbers with a positive result up to 100 and even more subtraction of
numbers up to 100, satisfaction was at the highest level, x = 4.79 and S.D. = 0.40.
KEYWORDS: Computer-assisted teaching materials, mathematics, achievements

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ในปัจจุบันการเรียนคณิตศาสตร์มีความสาคัญมากกับนักเรียนในระดับประถมศึกษาเพราะเป็นพื้นฐานใน
การเรียนรู้ในขั้นสูง การมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับเด็กเพราะนักเรียนส่วนใหญ่คิดว่า
คณิตศาสตร์ยากและน่าเบื่อทั้งๆที่คณิตศาสตร์มีหลักเกณฑ์ที่ตายตัวที่ต้องอาศัยความเข้าใจและการหมั่นฝึกฝนด้วย
ดังนั้นจึงจาเป็นต้องสร้างเจตคติที่ดีให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนไม่รู้สึกว่าการเรียนคณิตศาสตร์เป็นเรื่องที่น่าเบื่อ
ให้ นั ก เรี ย นรู้ สึ ก อยากเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ เพราะเป้ า หมายสู งสุ ด ของการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ คื อ การน าไปใ ช้ ใ น
ชีวิตประจาวัน และการนาไปใช้เป็นพื้นฐานการเรียนรู้วิชาอื่น ๆดังนั้นได้มีการจัดสื่อการเรียนการสอนการพัฒนา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการสอนที่จะทาให้เด็กประสบผลสาเร็จในการเรียน เรียนอย่างมีความสุข สนุกกับการ
เรียน และสามารถเชื่องโยงให้เด็กเรียนรู้การใช้ชีวิตที่ถูกต้องเองได้
คณิ ต ศาสตร์ มี ค วามส าคั ญ ต่ อ การพั ฒ นาความคิ ด ของมนุ ษ ย์ เ ป็ น อย่ า งมาก ท าให้ ม นุ ษ ย์ มี ค วามคิ ด
สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุมีผล เป็นระบบ มีระเบียบ มีแบบแผน สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่าง
ถี่ถ้วนรอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม คณิตศาสตร์เป็น
เครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อ
3

การดารงชีวิต และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต (กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนและประเมินผล สานักวิชาการและ


มาตรฐานการศึกษา. 2548:1) นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังช่วยพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งทาง
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ สามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุข ในเวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบ
สาหรับสาขาด้านอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์ ก่อนหน้านั้น , ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียง
เรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ). โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่
เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่. อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบ
เรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทาให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงาน
ชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้นการพยายามจะทาให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการ
อุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์ . เดวิด
ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่น ๆ ได้พยายาม
อธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทาให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความ
ยุ่งยากนี้ทาให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะ
ทาให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้
ปัจจุบันนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้จัดให้มีการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่องการบวกจานวนที่มี
ผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตั วตั้งไม่เกิน 100 จากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยได้วิเคราะห์ปัญหาและหา
หนทางแก้ไขปัญหา จึงคิดจะทาสื่อการเรียนรู้เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่
เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 เพื่อเป็นสื่อในการสอนสาหรับนักเรียน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่
1 ซึ่งสามารถทาให้ผู้เรียนใช้เวลาศึกษาได้อย่างรวดเร็วและง่ายต่อการทาความเข้าใจและสามารถเรียนรู้ได้ด้วน
ตนเอง เพราะการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งเป็นสื่อการสอนที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากนั้น สามารถ
แสดง รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิก ได้พร้อมๆกัน สามารถเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เป็น
อย่างดี
จากเหตุผลข้างต้น คณะผู้วิจัยจึงจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100
และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 โดยสื่อที่มีความสนใจมากยิ่งขึ้นและง่ายต่อการทาความเข้าใจ โดยบทเรียน
นี้สร้างขึ้นโดยกาหนดเนื้อหาตามองค์ความรู้ของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในอาเภอไชยา จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100
และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ
โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1.เพื่อการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน
100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส
และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการ
บวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการ
บวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
4

ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยทาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาหรับนักศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์
ธานี
ด้านประชากร
1. ในการศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนวิชา คณิตศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษา โดยศึกษาจาก
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม จานวน 60 คน
2. ในการศึกษาพฤติกรรมความสนใจของนักเรียนต่อการใช้สื่อบทเรียนช่วย วิชาคณิตศาสตร์ ในระดับชั้น
ประถมศึกษา โดยศึกษาจากนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม
อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยการศึกษาจากครูผู้สอนจานวน 3 ท่าน
ด้านเนื้อหา
เนื้อหาที่ใช้ในการสร้างสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คณิตศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วยเนื้อหากลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 ผู้วิจัยได้
จัดทาสื่อวิทยาการคานวณ ซึ่งในหน่วยที่ 12,13 แบ่งออกเป็น 2 เรื่อง เรื่องที่ 1 การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน
100 และเรื่องที่ 2 เป็นเรื่อง การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัด
สุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้แก่
1.ผู้เชียวชาญด้านการพัฒนาระบบ จานวน 3 ท่าน และผู้เชียวชาญด้านการวิจัย จานวน 3 ท่าน ได้จาก
การเลือกแบบเจาะจง
2.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม
อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จานวน 60 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่
ตัวแปรต้น คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชา วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน
100 และการลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100
ตัวแปรตาม ได้แก่
1. ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนา
ราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
2. ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยผู้ใช้งาน(นักเรียน)

วิธดี าเนินการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้ง คือ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเพื่อสร้างสื่อบทเรียนช่วยสอน วิชา
คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และการลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 ได้มาจากการเลือก
แบบเจาะจง จากนักเรียนที่กาลังศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม
อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งมีจานวนประชากรคือ กลุ่มโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษาจานวน 2 โรงเรียน ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงประชากรของนักเรียนระดับประถมศึกษา
ลาดับ โรงเรียน ระดับการศึกษา จานวนนักเรียน(คน)
1. โรงเรียนวัดสุทธาวาส ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 30
5

2. โรงเรียนวัดวิโรจนาราม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 30
รวมจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 60
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดสุทธาวาส จานวน 30
คน และโรงเรียนวัดวิโรจนาราม จานวน 30 คน รวมจานวนทั้งสิ้น 60 คน ในการเก็บข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผู้วิจัยได้ทาการคานวณกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, อ้างถึง ใน สุทธนู ศรีไสย์ ,
2551) ได้จานวน 79 คน เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือของข้อมูล และจานวนกลุ่มตัวอย่างไม่เยอะ จึงทาการเก็บข้อมูล
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 60 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัย เรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มผี ลบวก
ไม่เกิน 100 และ การลบจานวนทีต่ ัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัด
สุทธาวาส และโรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ดังนี้
1. แบบสัมภาษณ์เพื่อหาความต้องการของผู้ใช้ (แบบสัมภาษณ์เบื้องต้น)
2. เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์
3. แบบสัมภาษณ์ เพื่อใช้สอบถามผู้เชียวชาญ จานวน 6 ท่าน คือ ผู้เชียวชาญด้านการวิจัย จานวน 3 ท่าน
และด้านการพัฒนาระบบ จานวน 3 ท่าน
4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปทดลองใช้กับ กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัตเิ ดียวกันกับกลุม่
ทดลองจานวน 60 คน
4.1 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เป็นข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ
4.2 แบบทอสอบหลังเรียน (Post-test) เป็นข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ
5. แบบสอบถามความพึงพอใจ ในการดาเนินการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจเป็น
เครื่องมือ ในการวิจัย ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ที่มีการให้คะแนน แบบ
เดียวกันทุกข้อโดยกาหนดในแต่ละข้อมีคะแนนเป็น 1 2 3 4 5 ตามลักษณะการตอบระดับ ความพึงพอใจ มี 5
ระดับ ได้แก่ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด ผู้วิจัยได้จัดทาเป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมี
วิธีการสร้างและตรวจสอบคุณภาพ
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการดาเนินงานวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย
6.1 การวิเคราะห์หาคุณภาพ ของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้วิจัยนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญ
จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม โดยหาคาเฉลี่ย ( X ) และหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
6.2 การวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบโดยการหาดัชนีความสอดคล้องของ ข้อคาถาม
IOC ค่าความยากง่าย (P) ค่าอานาจจาแนก (D) และหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบใช้ วิธีการของ คูเดอร์-ริ
ชาร์ดสัน KR-20 (มนต์ชัย เทียนทอง, 2545)
6.3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจโดยหาคาเฉลี่ย (X) และหาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) (บุญ
ธรรม กิจปรีดาบริสุที,ธ์ 2543)
6.4 การวิเคราะห์เปรียบเทียบคาความแตกตางคะแนนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ด้วยค่า
ทางสถิติ t-test ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05

การวิเคราะห์ข้อมูล
งานวิจัย สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100
และการลบจานวนที่ตัวตั้ง ไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 2 โรงเรียนวัดสุทธาวาสและ
โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวิธีดาเนินการวิจัย ดังนี้
6

1. วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
การศึกษาความต้องการของผู้ใช้เป็นเรื่องที่จาเป็นมาก เพราะการพัฒนาสื่อบทเรียนช่วยสอนนั้นต้อง
ค านึ ง ถึ ง ความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ เ ป็ น ส าคั ญ หากไม่ มี ก ารสอบถามความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ ใ ห้ ชั ด เจน บทเรี ย น
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็ไม่สามารถเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ได้
จากการตอบแบบสัมภาษณ์เบื้องต้นของครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 2 โรงเรียนวัด
สุทธาวาสและโรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1.1 ต้องการให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิชา คณิตศาสตร์
2.2 สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการทาแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
3.3 รูปแบบของสื่อบทเรียนช่วยสอนต้องมีความง่ายต่อการใช้งาน
2. การออกแบบระบบ

ภาพที่ 1 การออกแบบหน้าแรกของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ภาพที่ 2 การออกแบบหน้าบทเรียนของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน

ผลการวิจัย
การวิจัยด้วยสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชา คณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100
และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ
โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี สามารถสรุปผลการวิจัยของสื่อบทเรียนที่สร้างขึ้นมาตาม
วัตถุประสงค์ได้ดังต่อไปนี้
1. เพื่อสร้างสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิช าคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน
100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส
และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่าหลังเรียน
นักเรียนมีผลการเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คะแนนเฉลี่ยโดยรวมจากการวัด
7

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย = 12.52, S.D. = 1.36 และก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย = 6.37, S.D. =


1.36 ค่าที่ใช้ในการพิจารณาใน t – distribution = 18.28
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการ
บวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามแสดงความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย
= 4.79 และ S.D. = 0.40 อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านสามารถอธิบายได้ดังนี้ ด้านเนื้อหาและ
การดาเนินเรื่อง มีค่าเฉลี่ย = 4.83 และ S.D.= 0.37 อยู่ในระดับมากที่สุด , ด้านรูปภาพ ตัวอักษร ภาษาและ
เทคนิคการนาเสนอ มีค่าเฉลี่ย = 4.64 และ S.D.= 0.46 อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านการจัดการบทเรียน มี
ค่าเฉลี่ย = 4.79 และ S.D. = 0.37 อยู่ในระดับมากที่สุด
การวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ
การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ
โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยผู้วิจัยนาเอาตัวเลขที่ไม่เกิน 100 เป็นตัวเลขที่ใช้อยู่
บ่อยๆ สามารถทาให้ผู้เรียนใช้เวลาศึกษาได้อย่างรวดเร็วและง่ายต่อการทาความเข้าใจและสามารถเรียนรู้ได้ด้ว ย
ตนเอง เพราะการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งเป็นสื่อการสอนที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากนั้น สามารถ
แสดง รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิก ได้พร้อมๆกัน สามารถเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เป็น
อย่างดี พร้อมกับคาบรรยาย เพื่อให้นักเรียนได้มีความสนใจการเรียนมากยิ่งขึ้น มีความสวยงาม ดังภาพต่อไปนี้

ภาพที3่ หน้าแรกของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ภาพที4่ หน้าเมนูเนื้อหาวิชาที่เรียนการบวกและลบตัวเลขไม่เกิน 100


8

ภาพที5่ หน้าเนื้อหาแนวคิดการบวกและลบตัวเลขไม่เกิน 100

ภาพที6่ หน้าชี้แจงแบบทดสอบหลังเรียนการบวกและลบตัวเลขไม่เกิน 100

ภาพทึ่7 หน้าแบบทดสอบหลังเรียนการบวกและลบตัวเลขไม่เกิน 100


9

การอภิปรายผล
จากการดาเนินการวิจัยพบว่า 1) ผลการทดลองระบบจากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 คน เพื่อหาค่าดัชนีความ
สอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ของสื่อบทเรียนช่วยสอนที่เสร็จสิ้นแล้ว (IOC) เท่ากับ 0.76 ซึ่งแสดงให้
เห็นว่าการทางานของสื่อบทเรียนช่วยสอนสอดคล้องกับขอบเขตงานที่ออกแบบไว้ สามารถนาไปใช้งานได้ 2) ผลการ
ประเมินดัชนีความสอดคล้องเชิงเนื้อหาและวัตถุประสงค์ โดยผู้เชียวชาญ 3 คน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
ข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ (IOC) เท่ากับ 0.74 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าข้อคาถามในแบบทดสอบสาหรับการประเมินความ
พึงพอใจต่อการทางานของระบบ มีความสอดคล้องกับวัตถุ ประสงค์ของการประเมินระบบ สามารถใช้สาหรับ
ประเมินระบบได้
เมื่อทาการพัฒนาสื่อบทเรียนช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ
การลบจานวนทีต่ ัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ
โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี แล้วเสร็จ จึงนาระบบไปประเมินความพึงพอใจต่อการใช้
งานของสื่อบทเรียนช่วยสอนโดยผูเ้ ชียวชาญและนักเรียน มีผลการประเมินเฉลีย่ โดยรวมจากแต่ละกลุม่ ผู้ประเมิน ดัง
ตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจการใช้งานของสื่อบทเรียนช่วยสอน
ผลประเมินประสิทธิภาพ
รายการประเมิน จานวน
X S.D แปรผล
ค่าประเมินโดยรวมทุกด้านของ
3 0.76 .00 ดีมาก
ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบด้านเนื้อหา
ค่าประเมินโดยรวมทุกด้านของ
3 0.74 .00 ดีมาก
ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบด้านเครื่องมือวิจัย
ค่าประเมินโดยรวมทุกด้านของนักเรียน 60 4.79 0.30 ดีมาก

การพัฒนาสื่อบทเรียนช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 และ การลบ


จานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัด
วิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี สามารถสรุปผลการวิจัยของสื่อที่พัฒนาขึ้นตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
1. เพื่อสร้างสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน
100 และ การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน 100 สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนวัดสุทธาวาส
และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
2. จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของ
นักเรียนที่เรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้สามารถอภิปรายได้ว่า ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนที่เกิดขึ้น เกิดจากการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งสอดคล้องกับ (ทัศนีย์ หาญชุก,
2561 : 75) กล่าวว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประกอบด้วยภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง ที่ดึงดูดความสนใจของ
ผู้เรียน การให้ผลป้อนกลับ (feedback) ถือเป็นการเสริมแรงทา ให้ผู้เรียนทราบความรู้ความเข้าใจของตนเอง
หลังจากทาแบบทดสอบ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนได้ เป็นอย่างดีส่งผล ให้ผู้เรียนอยากทากิจกรรมต่อไป
การได้รับเสริมแรงทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุดได้สร้างและ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน กลุ่ม สาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ สาหรับนั กเรี ยนชั้ นมัธ ยมศึก ษาปี ที่ 3 มี ค่าเท่ากั บ
87.41/82.78 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ที่ตั้งไว้ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียนอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
10

3. จากการสารวจความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า ผู้เรียนมี


ความพึ งพอใจอยู่ ในเกณฑ์ ระดับ มากที่สุ ด ซึ่ งสามารถอภิป รายได้ ว่ า บทเรีย นคอมพิ ว เตอร์ช่วยสอน สามารถ
ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้ มัล ติมีเดียสาหรับการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน และเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยลดข้อ จากัดด้านเวลาและ
สถานที่ ซึ่งสอดคล้องกับสลาย ปลั่งกลาง (2552 : 83) พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะประกอบการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI เรื่อง การบวกและการลบจานวนที่มีผลลัพธ์
และตัวตั้งไม่เกิน 20 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ! อยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับผลการศึกษาค้นคว้าของ ลัดดาวัลย์
พรหมสาขา ณ สกลนคร (2548 : 75-76) พบว่าผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ นักเรียนทุกคน สนุกกับการทา
กิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่มช่วยส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนและช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางกาวเรียนสูงขึ้น และจิรากรณ์
นามเชียงได้ (2549 : 87)พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้
1.1 การนาสื่อการเรียนออนไลน์ไปใช้ประกอบการเรียนการสอนควรมีการเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์
สถานที่ให้ครบถ้วน
2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น มีการเพิ่มเทคนิคต่าง ๆ เพื่อสร้างความ
คงทนและการมีส่วนร่วมระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนมากยิ่งขึ้น
2.2 ควรศึกษาโปรแกรมที่หลากหลายเพื่อการนาเสนอเนื้อหาบทเรียนในรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อให้มีความ
น่าสนใจมากยิ่งขึ้น

กิตติกรรมประกาศ
ขอกราบขอบพระคุณคุณครูโรงเรียนวัดสุทธาวาส และ โรงเรียนวัดวิโรจนาราม ที่ให้ความร่วมมือในการทา
วิจัยครั้งนี้จนกระทั้งสามารถสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
งานวิจัยเรื่องนี้สาเร็จได้ด้วยความกรุณาอย่างดี จากผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้ให้คาแนะนาตรวจสอบแก้ไขเครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย และประเมินงานวิจัยในครั้งนี้
ขอขอบพระคุณอาจารย์ในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ได้ให้คาแนะนา
ในเรื่องการศึกษาและการทาวิจัยเป็นอย่างดี
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยตาปี ที่ไห้การสนับสนุนในการทาวิจัยครั้งนี้

เอกสารอ้างอิง

ฉวีวรรณ กีรติกร. (2537). เอกสารประกอบการอบรมพัฒนาการคิดคานวณของนักเรียนระดับ ประถมศึกษา.


กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . สืบค้นมาจาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/AbstractPdf/2561-3-
1_1547272202_39.5914622039.pdf
ปราณี จิณฤทธิ์. (2552). ผลการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และเจตคติ ทางการ
เรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน เคหะประชาสามัคคี จังหวัดนครราชสีมา.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต , สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .
สืบค้นมาจาก https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/239626
11

วีระชัย เสริมพงศ์ (2554) ที่ได้พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่องการคูณ และการ


หาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งพบว่าการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ประกอบแบบฝึกทักษะ เรื่องการคูณและการหาร .
สืบค้นมาจาก http://uc.thailis.or.th/Catalog/BibItem.aspx?BibID=b01426492
วนิ ด า ผลานิ ส งค์ . (2550).ผลการใช้แ บบฝึ กทั ก ษะคณิ ตศาสตร์ เรื่อ ง การบวกการลบจานวนที่ มี
ผลลัพธ์ และตัวตั้งไม่เกิน 1,000 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปี ที2่
โรงเรียนบ้านบ้างแก้ว ุ จังหวัดหนองบัวลาพู.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช(2550) สืบค้นมาจาก. http://www.edu-journal.ru.ac.th/AbstractPdf/2561-
3-1_1525839924_5914620051.pdf
สมศรี อภัย. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกและการลบจานวน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะ. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สืบค้นมา
จาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/AbstractPdf/2561-3-1_1557110635_5914622059.pdf

You might also like