Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

Chapter 24

Gauss’ Law

กฎของเกาส์

ร.อ.ภูวเดช สูติปัญญา กองวิชาฟิสิกส์ รร.จปร.

Chulachomklao Royal Military Academy


โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (เยอรมัน: Johann Carl Friedrich Gauss)

นั ก คณิ ตศาสตร์ ช าวเยอรมัน (พ.ศ. 2302 - 2398) เป็ นหนึ งในตํ า นานนั ก
คณิ ตศาสตร์ผ้ ยู ิ งใหญ่ ที สุด ในประวัติ ศ าสตร์ ได้ ร บั ฉายาว่ า "เจ้ า ชายแห่ ง
คณิตศาสตร์" เนื องจากเขาได้ อุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านทางคณิตศาสตร์ไว้
มากมาย นอกจากนี เกาส์ยงั มี ผลงานสําคัญทางด้ านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้ า น
ดาราศาสตร์อีกด้วย

ในปี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) เกาส์ได้ร่วมงานกับ วิลเฮล์ม เวเบอร์ ซึงเป็ นนักฟิสิกส์ วิจยั เกียวกับแม่เหล็ก สร้างสหพันธ์แม่เหล็ก
(Magnetic Union) โดยร่วมมือกับประเทศต่างๆ ทัวโลก เพือศึกษาเกียวกับแม่เหล็กโลก งานเกียวกับแม่เหล็กของเกาส์และเวเบอร์
ได้ถกู นําไปพัฒนาเป็ นเครืองโทรเลขในยุคแรกๆ นอกจากนี ยังค้นพบ กฎของเกาส์ ในสนามไฟฟ้ า ซึงนําไปสู่ กฎของเคอชอฟฟ์ ที
เป็ นหนึ งในกฎพืนฐานทีสุดของวงจรไฟฟ้ า

รัฐบาลของเยอรมนี ได้ให้เกียรติพิมพ์รปู ของ


เกาส์บนแบงค์ 10 ดอยช์มาร์ก(200 บาท) ในปี
พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993)
Flux ของของไหล

คําว่าฟลักซ์ (Flux) มีรากศัพท์มาจากคําว่า “Fluere(ฟลัว)” เป็ นภาษาลาตินแปลว่า “การไหล


(Flow)” ในทางฟิสิกส์ ฟลักซ์ (สัญลักษณ์ : ) เป็ นคุณสมบัติของสนามเวกเตอร์ โดยฟลักซ์
ไฟฟ้ านันเกียวข้องกับสนามไฟฟ้ า

a b c
ภาพแสดงฟลักซ์ของมวลของของไหล ซึงไหลผ่านพืนผิว 3 แบบ โดยความเร็วของของไหล
มีค่าคงทีตลอดเวลา(การไหลแบบคงตัว : Stationary Uniform Flow) ฟลักซ์ของของไหล
จะวัดด้วยเส้นสายนํา (Streamline) ทีตัดผ่านพืนผิวดังกล่าว
Flux ของของไหล

a b c
ภาพ a แสดงระนาบของพืนผิวสมมุติ มีพืนทีหน้ าตัด A พืนผิวตังฉากกับความเร็วของของไหล ดังนันอัตราการไหล
ของมวลของของไหลทีเคลือนทีผ่านพืนทีนี ต่อหน่ วยเวลา ซึงเรียกว่า ฟลักซ์ของมวลทีพุ่งผ่านพืนผิว(หน่ วย kg/s) มี
ค่า

ความหนาแนนของของไหล : 𝒌𝒈/𝒎𝟑 ฟลักซเปนปริมาณสเกลาร

ภาพ b แสดงระนาบของพืนผิวสมมุติทีทํามุม กับเส้นสายนํา มีพืนทีหน้ าตัด A เมือแตกระนาบพืนผิวให้ตงั


ฉากกับเส้นสายนําจะได้ ดังนันฟลักซ์ของมวล มีค่า
Flux ของของไหล

a b c
ภาพ c แสดงพืนผิวสมมุติทีเรียกว่าผิวปิด (Closed Surface)(a และ b เรียกพืนผิวเปิด) พบว่าฟลักซ์ของมวลทีผ่าน
พืนผิวนี มีค่าเป็ นศูนย์(อัตราการไหลเข้าและออกของของไหลมีค่าเป็ นศูนย์) หรือกล่าวได้ว่า มวลของของ
ไหลต่อหน่ วยเวลาทีเคลือนทีเข้าทางซ้ายของพืนผิว มีค่าเท่ากับมวลของของไหลทีเคลือนทีออกจากพืนผิวทางขวา

ภาพ c เป็ นเพียงกรณี เฉพาะเท่านันทีค่าฟลักซ์เป็ นศูนย์ แต่กรณี ทวไปพบว่


ั าฟลักซ์ทีผ่าน
พืนผิวปิดอาจไม่เท่ากับศูนย์ เช่น ถ้ามีแหล่งกําเนิดของของไหลอยู่ภายในผิวปิด กรณี นี
Flux ฟลักซ์ไฟฟ้ า

ในกรณี ของสนามไฟฟ้ า ฟลักซ์ไฟฟ้ า( ) จะวัดด้วยจํานวนของเส้น


แรงไฟฟ้ าทีตัดผ่านพืนผิวนัน สําหรับพืนผิวปิด พบว่า

มีค่าเป็ นบวกถ้าเส้นแรงไฟฟ้ าพุ่งออกจากผิวทุก ๆ จุด

มีค่าเป็ นลบถ้าเส้นแรงไฟฟ้ าพุ่งเข้าจากผิวทุก ๆ จุด

จากภาพ แสดงประจุบวกและประจุลบ มีเส้นแรงไฟฟ้ าที


พุ่งจากประจุทงสอง
ั และมีพืนผิวปิดทีสมมุติขึนสีส่วน

พอสรุปได้ว่า บน 𝟏 มีค่าเป็ นบวก และ บน 𝟐 มีค่าเป็ นลบ


Flux ฟลักซ์ไฟฟ้ า จากภาพแสดงพืนผิวปิดสมมุติอนั หนึ ง ซึงอยู่ภายในสนามไฟฟ้ า เมือแบ่ง
พืนผิวนี เป็ นตารางย่อย ๆ ซึงมีขนาดเล็กมากจนถือว่าเป็ นระนาบ
สีเหลียมจัตรุ สั ทิศทางของเวกเตอร์ จะพุ่งออกและตังฉากกับพืนผิว
ดังภาพ

สามารถเขียนเวกเตอร์ของสนามไฟฟ้ า( ) ได้ทุก ๆ จุดบนพืนผิว


เนื องจาก มีค่าคงทีในทุก ๆ จุดในตารางของพืนทีผิวแต่ละอัน

ภาพย่อย 1 พุง่ เข้า มุมระหว่าง และ ( )มีค่ามากกว่า


ภาพย่อย 2 พุ่งขนานผิว
ภาพย่อย 3 พุ่งออก

นิยามของฟลักซ์ไฟฟ้ าคือ ผลรวมของสนามไฟฟ้ าทีกระทําบนพืนผิว


ทังหมด เขียนเป็ นสมการได้ว่า

หน่ วย : 𝟐
Flux ฟลักซ์ไฟฟ้ า

ถ้า มีค่าเข้าใกล้ศนู ย์ เขียนสมการได้ว่า

สามารถแทนผลรวมได้ด้วยการอินทริกรัลตลอดทัวพืนผิวปิด จึงได้สมการฟ
ลักซ์ไฟฟ้ าบนพืนผิวปิด ดังนี

จะต้องเป็ นพืนผิว
ปิด
หน่ วย :
𝟐
Electric flux through a Gaussian surface
Exercis
e
จากภาพเป็ นรูปทรงกระบอกสมมุติ วางอยู่ในสนามไฟฟ้ าทีมีค่าคงที แกนของทรงกระบอกขนานกับสนามไฟฟ้ า จงหา
ว่า ฟลักซ์ไฟฟ้ ามีค่าเท่าไรในพืนทีผิวปิดนี

วิธีทาํ
เป็ นผลรวมของพืนผิวทัง 3 ด้าน คือ ค่าทีได้จากการกินทิเกรตตามพืนผิว a, b และ c

Ans.

𝒂 𝒃 𝒄
Exercise สนามไฟฟ้ าทีมีค่า พุ่งผ่านผิวปิดทรงลูกบาศก์ทีวางอยู่บนระนาบ xyz ตาม
ภาพ (𝑬 มีหนวยเปน N/C และ ตัวแปร x, z มีหนวยเปนเมตร)
y
ผิว จงหาค่าฟลักซ์ไฟฟ้ าทีผ่านผิวด้านขวา
y= 3.0m ด้านหลัง
และด้านหลังของลูกบาศก์ว่ามีค่าเท่าใด

x
z= 1.0m ผิว
ด้านขวา
วิzธีทํา X= 2.0m X= 5.0m
พิจารณาฟลักซ์ไฟฟ้ าทีผิวด้านขวา ( 𝒓) พิจารณาฟลักซ์ไฟฟ้ าทีผิวด้านหลัง ( 𝒃)

เวกเตอร์ 𝑨 พุ่งออกทาง +x ทําให้ 𝒅𝑨 = 𝒅𝑨 ̂ เวกเตอร์ 𝑨 พุ่งออกทาง -z ทําให้ 𝒅𝑨 = −𝒅𝑨𝒌


𝚽𝒓 = 𝑬 𝒅𝑨 = (𝟐𝒙 ̂ + 𝟒𝒛𝒌) 𝒅𝑨 ̂ 𝒃

𝟐 Ans. 𝟐 Ans.
𝒓 𝒓
Gauss’ Law กฎของเกาส์

 กฎของเกาส์ใช้กบั พืนผิวปิด มีชือเรียกว่า “ผิวแบบเกาส์ (Gaussian Surface)”


 กฎของเกาส์จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สุทธิทีผ่านพืนผิวปิด
กับประจุไฟฟ้ าภายในพืนผิวปิดนัน

จากสมการจะได้ว่า

𝚽= 𝑬 𝒅𝑨 = 𝑬 𝒅𝑨

𝒌𝒒
𝚽 = 𝑬𝑨 = 𝟒𝝅𝒓𝟐 = 𝟒𝝅𝒌𝒒
𝒓𝟐
𝟏 𝒒 𝒆𝒏𝒄 เป็ นประจุไฟฟ้ าสุทธิ อาจจะมีค่าเป็ น +, - หรือ 0 ได้
𝚽 = 𝟒𝝅 𝒒=
𝟒𝝅𝜺𝟎 𝜺𝟎 ขึนอยู่กบั การกําหนดพืนผิวแบบเกาส์ทีเราพิจารณา
และขึนอยู่กบั ค่าของฟลักซ์ไฟฟ้ าบนพืนผิวแบบเกาส์ด้วย( 𝒆𝒏𝒄 )
𝟎 𝒆𝒏𝒄
Example
ฟลักซ์ไฟฟ้ าสุทธิทีผ่านพืนผิวปิด
และ

คํานึ งถึงเครืองหมายของประจุ
ด้วย
Gauss’ Law and Coulomb’s Law

 กฎของคูลอมบ์( 𝒌𝒒𝟏 𝒒𝟐
𝒓𝟐
) สามารถพิสูจน์ ได้โดยกฎของเกาส์ ประกอบกับการ
พิจารณาสภาพสมมาตร
จากการพิจารณาสมมาตรจะพบว่า E (สนามไฟฟ้ า) มีทิศตังฉากกับผิวแบบเกาส์
ซึงก็คือ พืนผิวของทรงกลม

𝑬 และ 𝒅𝑨 ทีทุก ๆ จุดบนพืนผิวทรงกลม มีทิศพุ่งออกตังฉากกับพืนผิว

สร้างผิวแบบเกาส์ขึนเป็ นรูปทรงกลมรัศมี r ถ้าวางประจุไฟฟ้ า 𝒒𝟎 ลงบนตําแหน่ งทีทราบ


𝟎
มีจดุ ศูนย์กลางอยู่ทีประจุไฟฟ้ า q ค่า 𝐄
ขนาดของแรงไฟฟ้ าคือ 𝑭 = 𝒒𝟎 𝑬
𝟎

กฎของเกาส์เป็ นสมการหนึ งในสมการ 𝜺𝟎 𝑬(𝟒𝝅𝒓𝟐 ) = 𝒒


พืนฐานของวิชาแม่เหล็กไฟฟ้ า กฎของคู
𝟎
(หนึ งในสีสมการของสมการแมกซ์เวลล์) 𝟐
𝟐
ลอมบ์
𝟎
𝟎
A Charged Isolated Conductor ประจุบนตัวนําโดดเดียว

 เมือใส่ประจุเข้าไปในตัวนํา ประจุจะพยายามกระจายตัวให้อยู่ห่างกันมากทีสุด
 ประจุส่วนเกินทีอยู่บนตัวนํ าโดดเดียว จะกระจายอยู่เฉพาะบนผิวของตัวนําเท่านัน เนื องจากในภาวะ
สมดุล(สถิตย์) สนามไฟฟ้ าภายในตัวนําจะมีค่าเป็ นศูนย์เสมอ ถ้าเราสร้างผิวแบบเกาส์ทีอยู่ใต้ผิวของตัวนํ า
ประจุสทุ ธิภายในผิวแบบเกาส์นีมีค่าเป็ นศูนย์

+
+
+

+
A Charged Isolated Conductor ประจุบนตัวนําโดดเดียว

 สําหรับตัวนํ าทีเป็ นโพรง ประจุส่วนเกินทีอยู่บนตัวนํ าโดดเดียวจะกระจายอยู่บนผิวด้านนอกและผิวด้าน


ใน และมีขนาดประจุ(ทีผิวด้านนอกและด้านใน)เท่ากัน
 ในส่วนภายในโพรงจะไม่มีประจุ ทําให้ประจุและสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
 เมือสร้างผิวแบบเกาส์ล้อมรอบโพรง(ตามภาพ) จะเกิดสนามไฟฟ้ าตังแต่ผิวด้านในโพรง สนามไฟฟ้ าทีผิว
แบบเกาส์จะมีทิศตังฉากกับผิวด้านใน

มี สําหรับขนาดคํานวณจาก
𝟎
+ +

+
+ ++ +

+
A Charged Isolated Conductor ประจุบนตัวนําโดดเดียว

 จากภาพข้างล่าง เป็ นแผ่นประจุไฟฟ้ า (A Sheet of Charge) ขนาดอนันต์ แสดงให้เห็นส่วนของแผ่นทีมี


ประจุกระจายตัวอย่างสมําเสมอ โดยมีความหนาแน่ นผิวของประจุคงทีเท่ากับ (จํานวนประจุไฟฟ้ าต่ อหนึ ง
𝒅𝒒
หน่ วยพืนที : )
𝒅𝑨
 สนามไฟฟ้ าจะมีค่าเท่ากันทุก ๆ จุดสองด้านของแผ่นประจุไฟฟ้ า

ผิวแบบเกาส์ทีเหมาะสําหรับกรณี นีจะมีลกั ษณะทรงกระบอกทีมีแกนตังฉาก


กับแผ่นประจุ มีพืนทีหน้ าตัด A และยาว 2r

แผ่นประจุทีคันด้วยฉนวน ภายในแผ่น
E=0
+
+
+
+
+
E ไม่ผ่านผิวโค้ง +
+
A Charged Isolated Conductor ประจุบนตัวนําโดดเดียว

 คํานวณหาสนามไฟฟ้ าของแผ่นประจุขนาดอนันต์(ทีคันด้วยฉนวน)ทีระยะห่าง r
ภายในแผ่น

ด้านซ้ายของแผ่น ด้านขวาของแผ่น

 คํานวณหาสนามไฟฟ้ าทีผิวของแผ่นประจุ

ผิวแบบเกาส์ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นทรงกระบอก แต่จะเป็ นรูปอะไรก็ได้


+
+
+ ผิวของแผ่น ภายในแผ่น
+
+
E=0 + E ทีผิว มีค่าเป็ น 2 เท่าของ E
+ ทีระยะใด ๆ
𝟎
Two Conducting Plates แผ่นตัวนําสองแผ่น

𝟏
𝟏
+ + 𝟏 𝟏
- - 𝟏 + -
+ + - - + -
+ + - - + -
+ + - - + -
+ + - - + -
+ + - - + -
+ + - - + -

 จากภาพ แสดงภาคตัดขวางของแผ่นตัวนําขนาดอนันต์ ซึงประจุจะกระจายตัวอยู่บนผิวอย่างสมําเสมอ


 ภาพ (a) แสดงประจุบวกกระจายตัวอยู่บนผิวทังสองด้าน มีความหนาแน่ นผิวของประจุ 𝝈𝟏 สนามไฟฟ้ าจะมีทิศพุ่งออกจาก
𝝈𝟏
ประจุบวก(ทิศทางตามภาพ) ซึงมีขนาดสนามไฟฟ้ าทีผิว 𝜺𝟎
 ภาพ (b) แสดงประจุลบกระจายตัวอยู่บนผิวทังสองด้าน มีความหนาแน่ นผิวของประจุ 𝝈𝟏 สนามไฟฟ้ าจะมีทิศพุ่งเข้าจากหา
𝝈𝟏
ประจุลบ(ทิศทางตามภาพ) ซึงมีขนาดสนามไฟฟ้ าทีผิว 𝜺𝟎
 ภาพ (c) เมือนําแผ่นตัวนําทีมีประจุต่างกันวางใกล้กนั ประจุของแต่ละแผ่นตัวนําจะเคลือนทีใกล้ชิดกันทีบริเวณผิวระหว่างแผ่น
𝟐𝝈𝟏
𝜺
ส่วนบริเวณผิวด้านนอกจะไม่มีประจุ ทําให้สนามไฟฟ้ ามีค่าเป็ นศูนย์
𝟎
Exercis จากภาพ เป็ นแผ่นฉนวนขนานขนาดใหญ่ แต่ละแผ่นมีประจุกระจายอย่างสมําเสมอ มี
ความหนาแน่ นของประจุบนแผ่นบวกเป็ น ( ) 𝟐
และความหนาแน่ น

+ e
ของประจุบนแผ่นลบเป็ น ( ) 𝟐
จงหาสนามไฟฟ้ า
-  ด้านซ้ายของแผ่นประจุ
( )
+ - ( )
 ระหว่างแผ่นประจุทงสอง

+ -  ด้านขวาของแผ่นประจุ
+ -
+ -
+ -
+ -

วิธีทาํ
สามารถเขียนสนามไฟฟ้ าทีเกิดขึน
กับแผ่นฉนวนทังสองได้ดงั ภาพ
+ -
( ) ( )
+ - ( )

+ - ( )
𝟔
𝟔
+ - ( )
𝟎
𝟏𝟐
+ - 𝟔
+ - ( )
( ) 𝟔
( ) ( )
+ ( )
- 𝟎
𝟏𝟐

ใช้ สมการหาสนามไฟฟ้ าของแผ่นประจุขนาดอนันต์(ทีคันด้วยฉนวน)ทีระยะห่าง r


Exercis
e ++
( ) ( )
-
- ( )
ด้านซ้ายของแผ่นประจุ 𝑳 ( )

+ - ( )
+ -
+ -
( )
+ - ( )
+ ( )
-
ระหว่างแผ่นประจุทงสอง
ั 𝑩 ( )

( )

+ -
+ -
+ - ด้านขวาของแผ่นประจุ 𝑹 ( ) ( )
+ -
+ -
+ -
+ -
ขนาดเท่ากับ 𝑳 แต่ทิศทางตรงกันข้าม
Cylindrical Symmetry รูปทรงกระบอกสมมาตร

 จากภาพ เป็ นแท่งประจุตวั นําทีมีความยาวอนันต์ มีความหนาแน่ น


𝒅𝒒
ประจุเชิงเส้นเป็ น (ค่าประจุไฟฟ้ าต่ อหนึ งหน่ วยความยาว : วัดเป็ น
𝒅𝒉
𝑪 )
𝒎
 ในการสร้างผิวแบบเกาส์เพือคํานวณหาสนามไฟฟ้ า ต้องคํานึ งถึง
หลักสมมาตรของวัตถุทีเป็ นตัวนํา เพือให้ง่ายในการแก้ปัญหา สําหรับ
แท่งประจุตวั นํา ผิวแบบเกาส์ทีเหมาะสมคือ ทรงกระบอก (สร้างผิวแบบ
เกาส์รอบแท่งประจุตามภาพ)

แท่งประจุจะตันหรือเป็ นโพรง เราวัดรัศมี


ตังแต่ จดุ ศูนย์กลางเสมอ

E มีทิศทางออกจากแท่งประจุไฟฟ้ า
บวกตามแนวรัศมี
จากภาพ เป็ นภาพตัดขวางของหลอดโลหะกลวงยาวสมําเสมอ รัศมี R มีความ
Exercis หนาแน่ นผิวของประจุไฟฟ้ าเท่ากับ จงคํานวณหาสนามไฟฟ้ า ณ ตําแหน่ งรัศมี r
ตามทีกําหนดดังนี
e  เมือ
 เมือ
 เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้ ากับรัศมีของหลอดโลหะ
(ระยะ ) กําหนดให้ 𝟖
และ

วิธีทํา ในการคํานวณหาสนามไฟฟ้ าจากภาพ ผิวแบบเกาส์ทีเหมาะสมคือ ทรงกระบอก


 เมือ สามารถคํานวณจากสมการการหาสนามไฟฟ้ าของแท่งประจุได้เลย(หลักการเดียวกัน)

𝟎 𝒆𝒏𝒄 𝟎
𝟎

 เมือ ไม่มีประจุภายในผิวแบบเกาส์(ประจุเริมกระจายตัวทีรัศมี R) ทําให้ไม่เกิดสนามไฟฟ้ า

𝒆𝒏𝒄
จากภาพ เป็ นภาพตัดขวางของหลอดโลหะกลวงยาวสมําเสมอ รัศมี R มีความ
Exercis หนาแน่ นผิวของประจุไฟฟ้ าเท่ากับ จงคํานวณหาสนามไฟฟ้ า ณ ตําแหน่ งรัศมี r
ตามทีกําหนดดังนี
e  เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้ ากับรัศมีของหลอดโลหะ
(ระยะ ) กําหนดให้ 𝟖
และ

วิธีทาํ คํานวณหาสนามไฟฟ้ าสูงสุด ( 𝒎𝒂𝒙 ) ณ ตําแหน่ ง R= 3.0 cm เพือนําไปเขียนกราฟ

𝟖
𝟒
𝒎𝒂𝒙 𝟏𝟐
𝟎
E(N/C)

10000 𝟏
𝑬∝
𝒓

R=0.03

r(m)
0
0.02 0.04 0.06
Spherical Symmetry รูปทรงกลมสมมาตร

 ในการหาสนามไฟฟ้ า(E) ทีเกิดจากกลุ่มประจุไฟฟ้ าชนิดที


เป็ นจุดกระจายกันอยู่แบบทรงกลม สามารถใช้ผิวแบบเกาส์ ใน
รูปทรงกลมสมมาตร คํานวณหาได้

รัศมีวดั จากจุด
ศูนย์กลาง
จากภาพ สมมุติผิวแบบเกาส์ 2 แบบ คือ
ภายนอกกลุ่มประจุไฟฟ้ า ( 𝟐 โดยที ) และ ภายในกลุ่มประจุไฟฟ้ า ( 𝟏 โดยที
)
สนามไฟฟ้ าภายนอกกลุ่มประจุไฟฟ้ า ( 𝟐 โดยที ภายในกลุ่มประจุไฟฟ้ า ( 𝟏 โดยที )
)
𝟐 เนื องจากผิวแบบเกาส์
𝟎 𝒆𝒏𝒄 𝟎
ไม่มีประจุกระจายตัวอยู่
ภายใน ทําให้ไม่มีสนามไฟฟ้ า
𝟎
รอบ ๆ
𝟎
Spherical Symmetry รูปทรงกลมสมมาตร

 จากภาพ แสดงให้เห็นว่าเมือประจุไฟฟ้ ากระจายกันอยู่


แบบทรงกลม รัศมี R จะมีมีความหนาแน่ นของประจุไฟฟ้ า
(ปริมาณประจุไฟฟ้ าต่อหนึ งหน่ วยปริมาตร : 𝟑)
 ประจุทีกระจายกันเป็ นทรงกลมนัน จะต้องไม่มีวสั ดุที
เป็ นตัวนํามาเกียวข้อง เพราะถ้าหากมีตวั นํา ประจุย่อม
กระจายตัวอยู่ทีผิวนอกของตัวนํา (ไม่ก่อให้เกิดเป็ นหมอก
ประจุรปู ทรงกลมตามภาพ)

สนามไฟฟ้ ารอบผวแบบเกาส์ในกรณี ที คํานวณได้จาก
สมการ สมการเดียวกับการหาสนามไฟฟ้ าภายนอกกลุ่มประจุไฟฟ้ า ( 𝟐 โดยที
)
เมือ คือประจุไฟฟ้ าทังหมด อัดกันแน่ นอยูท่ ีจุดศูนย์กลาง
มีลกั ษณะเหมือนกับทรงกลมมวล m ทําให้เกิดแรงดึงดูดต่อจุดภายนอก
ความคล้ายคลึงนี แสดงให้เห็นว่า
กฎของคูลอมบ์และกฎของแรงโน้ มถ่วงเป็ นกฎผกผันกําลังสองทังคู่
Spherical Symmetry รูปทรงกลมสมมาตร

 จากภาพ ผิวแบบเกาส์รศั มี r อยู่ภายในกลุ่มประจุไฟฟ้ าที


กระจายอยู่แบบทรงกลม
 เราพิจารณาให้ (ประจุทีอยู่ภายในผิวแบบเกาส์) เป็ น
ส่วนหนึ งของ (ประจุทงหมด)

 หาสนามไฟฟ้ าเฉพาะกรณี ทีความหนาแน่ นของประจุ
ไฟฟ้ า ( )คงทีสําหรับทุก ๆ จุดภายในทรงกลมรัศมี
R
ประจุทงหมดมี
ั ค่า
ทําให้ประจุ สนามไฟฟ้ าภายในผิวแบบเกาส์คือ
เมือเปรียบเทียบประจุไฟฟ้ า
จะได้
Exercis จากภาพ เป็ นแท่งตัวนํารูปทรงกระบอกความยาว L จํานวน 2 แท่งซ้อนกันอยู่
โดยทรงกระบอกภายในมีประจุสทุ ธิ กระจายรอบผิวตลอดทังความยาว
e
ทรงกระบอกภายใน และเช่นเดียวกัน ทรงกระบอกภายนอกมีประจุสท
หา
ุ ธิ กระจายรอบผิว จง
ทรงกระบอกภายนอก
 สนามไฟฟ้ า ณ ตําแหน่ งภายนอกแท่งตัวนําทัง
สอง
 ลักษณะการกระจายตัวของประจุบริเวณผิวของ
2 แท่งตัวนํา
 สนามไฟฟ้ าระหว่างแท่งตัวนําทังสอง และ
สนามไฟฟ้ าทีผิวของแต่ละแท่งตัวนํา

วิธีทาํ หาสนามไฟฟ้ า ณ ตําแหน่ งภายนอกแท่งตัวนําทังสอง สมมุติให้ผิวแบบเกาส์ปิดล้อมแท่ง


ตัวนําทังสองห่างออกไปรัศมี r (ค่ามากกว่ารัศมีของแท่งตัวนําทังสองมาก)

𝟎 𝒆𝒏𝒄 (กฎของเกาส์)

𝟎 ค่าสนามไฟฟ้ าเป็ นลบ ทิศทางของ


สนามไฟฟ้ า ณ ผิวแบบเกาส์(ทีสมมุติขึน)มี
Exercis จากภาพ เป็ นแท่งตัวนํารูปทรงกระบอกความยาว L จํานวน 2 แท่งซ้อนกันอยู่
โดยทรงกระบอกภายในมีประจุสทุ ธิ กระจายรอบผิวตลอดทังความยาว
e และเช่นเดียวกัน ทรงกระบอกภายนอกมีประจุสทุ ธิ
หา
กระจายรอบผิว จง
 ลักษณะการกระจายตัวของประจุบริเวณผิวของ 2 แท่ง
วิธีทาํ ตัวนํา จากกฎของเกาส์ ประจุทีกระจายตัวอยู่
บริเวณผิว ภายในผิวจะไม่มีประจุ(
) ทําให้

บริเวณผิวของทรงกระบอกภายใน
ประจุยงั คงกระจายตัวสมําเสมอ
ขนาด
เมือผิวด้านในของทรงกระบอกภายนอกเกิด
ประจุขนาด ทําให้ประจุทีเหลือ ทีว่างระหว่างแท่งตัวนําทัง
กระจายอยู่บริเวณผิวด้านนอกของ
สองไม่มีประจุ ( )
ทรงกระบอกภายนอก (ประจุสทุ ธิของ
เกิดขึน
ทรงกระบอกภายนอกเท่ากับ )
ผิวของทรงกระบอกภายในมีขนาดประจุ ทําให้เกิดประจุ
ขนาด กระจายอยู่โดยรอบของผิวด้านในของทรงกระบอก
ภายนอก
Exercis จากภาพ เป็ นแท่งตัวนํารูปทรงกระบอกความยาว L จํานวน 2 แท่งซ้อนกันอยู่
โดยทรงกระบอกภายในมีประจุสทุ ธิ กระจายรอบผิวตลอดทังความยาว
e และเช่นเดียวกัน ทรงกระบอกภายนอกมีประจุสทุ ธิ กระจายรอบผิว จง
หา สนามไฟฟ้ าระหว่างแท่งตัวนําทังสอง และสนามไฟฟ้ าทีผิวของแต่ละ
แท่งตัวนํา
วิธีทาํ
หาสนามไฟฟ้ าระหว่างแท่งตัวนําทังสอง
สมมุติให้ ผิวแบบเกาส์ปิดล้อม ณ พืนที
ระหว่างแท่งตัวนํา
𝟎 𝒆𝒏𝒄 (กฎของเกาส)

รัศมีจากจุดศูนย์กลาง ถึงผิวแบบเกาส์

ค่าสนามไฟฟ้ าเป็ นบวก ทําให้ทราบว่า ทิศทางของสนามไฟฟ้ า ณ ผิวแบบเกาส์มีทิศพุ่งออ


อยู่ ให้มีศกั ดิศรี
ดี ให้มีคณ ุ ค่า
บ้า ให้มีเหตุผล
ทน ให้มีเป้ าหมาย
และตาย ให้มีคนจํา … กวนอู

To be continued

You might also like