Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 47

SOLIDIFICATION, CRYSTALLINE IMPERFECTIONS,

AND DIFFUSION IN SOLIDS

การแข็งตัวของโลหะ ความไม่ สมบูรณ์ ของผลึก และ


กระบวนการแพร่ ภายในของแข็ง

Asst.Prof. Dr. Sasikan Suwanprateep 1


IV.SOLIDIFICATION, CRYSTALLINE IMPERFECTIONS,
AND DIFFUSION IN SOLIDS
1. Solidification of Metals
2. Solidification of Single of Crystal
3. Metallic Solid Solutions
4. Crystalline Imperfections
5. Experimental Techniques for
Identification of Microstructure
and Defects
6. Rates Processes in Solids
7. Atomic Diffusion in Solids
8. Industrial Application of
Diffusion Processes
9. Effect of Temperature on
Diffusion in Solids

2
วัตถุประสงค์
1. อธิบายความแตกต่ างการแข็งตัวของโลหะแบบเอกพันธ์ และแบบวิวธิ พันธ์
2. อธิบายความแตกต่ างระหว่างวัสดุผลึกเดี่ยวกับวัสดุหลายผลึกได้ อย่ างถูกต้ อง
3. อธิบายความแตกต่ างระหว่างสารละลายของแข็งกับโลหะผสมได้ อย่ างถูกต้ อง
4. อธิบายความไม่ สมบูรณ์ ของผลึกได้ อย่ างถูกต้ อง
5. อธิบายการใช้ เทคนิคต่ างๆตรวจสอบโครงสร้ างของโลหะได้ อย่ างถูกต้ อง
6. อธิบายการเคลื่อนที่ของอะตอมตามความสัมพันธ์
ของ Boltzmann ได้ อย่ างถูกต้ อง
7. อธิบายอัตราการแพร่ ของ Arrhenius ได้ อย่ างถูกต้ อง
8. อธิบายกฎของ Fick ได้ อย่ างถูกต้ อง
9. อธิบายการแพร่ ของอะตอมที่นาไปใช้ ในอุตสาหกรรมได้ อย่ างถูกต้ อง

3
1.SOLIDIFICATION OF METALS
การแข็งตัวของโลหะผสมมี 2 ขั้นตอน
1. การเกิดนิวเคลียส
2. การโตของนิวเคลียส

แท่ งอะลูมเิ นียมผสมขนาดใหญ่ ทีไ่ ด้ จากการหล่ อแบบ


กึง่ ต่ อเนื่องซึ่งจะนาไปแปรรูปต่ อไป
เกรนของโลหะผสมไทเทเนียม
4
1.1 การเกิดนิวเคลียสในโลหะเหลว
1. การเกิดนิวเคลียสแบบเอกพันธ์ (Homogeneous Nucleation)
2. การเกิดนิวเคลียสแบบวิวิธพันธ์ (Heterogeneous Nucleation)

การเกิดนิวเคลียสแบบเอกพันธ์ (Homogeneous Nucleation)


โลหะที่กาลังหลอม เอ็มบริโอเล็กกว่ ารัศมีวกิ ฤติ

ผลึก นิวเคลียสขนาดใหญ่ กว่ ารัศมีวกิ ฤติ


พลังงานทีเ่ กีย่ วข้ องมี 2 ชนิด
• พลังงานอิสระเชิงปริมาตร (bulk free energy;∆Gv) พลังงานส่วนนีจ้ ะให้ออกมาเมือ่ มีการ
แข็งตัวของโลหะทีห่ ลอมเหลว มีค่าเป็ นลบ
• พลังงานอิสระเชิงพืน้ ผิว (surface free energy;∆Gs) พลังงานทีต่ อ้ งการเพือ่ ทาให้เกิดผิว
ของของแข็งใหม่ของอนุภาคของแข็งนิวคลีไอ มีค่าเป็ นบวก 5
HOMOGENEOUS NUCLEATION

กลไกการเกิดนิวคลีไอแบบเอกพันธ์ จะเกิดขึ้นในกระบวนการการแข็งตัวของโลหะบริ สุทธิ์ที่มี


อุหภูมิของจุดเยือแข็งสมดุล ของโลหะนั้นมากๆ คือต้องการปริ มาณ under cooling สู งๆ
6
4 3 รู ปแสดงพลังงานอิสระที่เปลี่ยนแปลง เทียบกับรัศมีของเอมบริ โอหรื อ
ΔG T = πr ΔG v + 4 πr 2 γ นิวเคลียสที่เกิดขึ้นจากการแข็งตัวของโลหะบริ สุทธิ์ ถ้ารัศมีของอนุภาค
3
โตกว่า r* แล้ว นิวเคลียสจะโตต่อไป
7
ความสั มพันธ์ ระหว่ าง r , G s , GV หาจากการ diff. สมการ (1)
d d 4 3 2 
(GT ) =   r GV + 4 r  
dr dr  3 
12 2
=  r GV + 8 r
3
* d
ที่ r = r , ( GT ) = 0
dr 12
0 =  ( r * ) 2 GV + 8 r *
3
* 2 (2)
r =−
GV
 = Specific surface free energy
8
2
r =−
*

Gv

T มาก GV จะมาก แต่ G S จะไม่เปลี่ ยนแปลง


การหา r * ต้องพิจารณ าจาก GV
T น้อย (ใกล้ Freezing Temp. )
r * =  โดยที่ T  0
T เพิม่ ขึน้ r * จะลดลง

2 γTm
r *
=
ΔH s ΔT
9
Ex.1 ก) ให้ หารัศมีวกิ ฤติของนิวเคลียสจากการแข็งตัวแบบเอกพันธ์ ของทองแดงบริสุทธิ์
กาหนดให้ ∆T = 0.2 Tm
ข) จานวนอะตอมในนิวเคลียสทีม่ ขี นาดรัศมีวิกฤติ
( )
T = 0.2Tm = 0.2 1083  C + 273 = 271 K

2Tm 2(177 10−7 J / cm2 )(1356K )


r =
*

H f T
=
(1826J / cm )(271K )
3
= 9.70  10 −8
cm

10
Ex.1 ข) จานวนอะตอมในนิวเคลียสทีม
่ ขี นาดรัศมีวิกฤติ
4 4
( )
Volume = r *3 =  9.70 10−8 cm = 3.82 10−21 cm3
3 3
3

Vol.ofUnitCell = a 3 = (0.361nm ) = 4.70 10 −23 cm 3


3

4.70 10−23 cm3


Volume / atoms = = 1.175 10−23 cm3
4


VolumeofNucleus 3.8210−21 cm3
= 1.17510−23 cm3 = 325atoms
Volume / atom

11
HETEROGENEOUS NUCLEATION

* เกิดบริเวณผิวภาชนะที่บรรจุของเหลว หรื อ บริเวณซึ่งสารมลทิน


ไม่ ละลาย
* เป็ นบริเวณที่ต้องการพลังงานอิสระวิกฤติต่าในการเกิดนิวเคลียส
* T อยู่ระหว่ าง 0.1 - 10 องศา ไม่ สูงมาก

HOMOGENEOUS NUCLEATION 12
2) GROWTH OF CRYSTAL IN LIQUID METAL AND FORMATION OF A GRAIN
STRUCTURE

a) โครงสร้ างการแข็งตัวของเกรน b) ภาคตัดขวางของอินกอท


จากน้าโลหะเหลว aluminum alloy 1100 (99.0%Al)

GROWTH OF CRYSTAL IN LIQUID METAL AND FORMATION ……... 13


GROWTH OF CRYSTAL IN LIQUID METAL AND
FORMATION OF A GRAIN STRUCTURE

GROWTH OF CRYSTAL IN LIQUID METAL AND FORMATION ……... 14


GRAIN STRUCTURE OF INDUSTRIAL CASTING

GRAIN STRUCTION OF INDUSTRIAL CASTING 15


GRAIN STRUCTURE OF INDUSTRIAL CASTING

GRAIN STRUCTION OF INDUSTRIAL CASTING 16


GRAIN STRUCTURE OF INDUSTRIAL CASTING

a) ไม่เติม grain refiner b) เติม grain refiner พวก Ti, B, Zr


ภาพ ภาคตัดขวางของอินกอท อะลูมิเนียมผสม 6063 (0.7%Mg, 0.4%Si
17
2.SOLIDIFICATION OF SINGLE CRYSTALS

ผลึกเดี่ยวใช้กบั พวก
อิเล็กทรอนิกส์เยอะ
เพราะขอบเกรนจะ
ขัดขวางการไหล
ของอิเล็กตรอน

การเกิดผลึกเดี่ยวของซิลคิ อน โดยกระบวนการ Czochralski


SOLIDIFICATION OF SINGLE CRYSTALS 18
โครงสร้ างทีแ่ ตกต่ างกันของใบพัดกังหันแก๊ ส

c) ต้ านทานการคืบทีอ่ ุณหภูมิสูง

a) Polycrystal equiaxed b) Polycrystal columnar c) single crystal 19


3.METALLIC SOLID SOLUTION
● โลหะทีใ่ ช้งานในสภาพบริสุทธิ์ หรือเกือบบริสุทธิ์
มี 2-3 ชนิด ได้แก่
* โลหะทองแดง (99.99 %) ใช้ ทาลวดไฟฟ้ า
* โลหะอะลูมิเนียม (99.99 %) ใช้ ในงานตกแต่ ง
● ในงานอุตสาหกรรม อย่างน้อย 2 ธาตุขนึ้ ไป
เช่น ทองเหลือง ( 70%Cu+ 30%Zn )

20
Solid Solution โดยทั่วไปแล้วมี 2 แบบ ได้แก่
1) สารละลายของแข็งแบบแทนที่ (Substitutional Solid Solution)
2) สารละลายของแข็งแบบเข้าไปแทรก (Interstitial Solid Solution)

21
SUBSTITUTIONAL SOLID SOLUTION

สารละลายของแข็งแบบแทนที่ บนระนาบ (111)


ของโครงสร้ างแบบ FC

22
SUBSTITUTIONAL SOLID SOLUTION

สภาพที่เหมาะสม
* ความแตกต่ างของเส้ นผ่ านศูนย์ กลางของอะตอม < 15 %
* โครงสร้ างผลึกของธาตุท้งั 2 เป็ นชนิดเดียวกัน
* ค่า Electronegativity ต่ างกันไม่ มาก
* Valance Electron เท่ ากัน

23
INTERSTITIAL SOLID SOLUTION

คาร์ บอนในเหล็กแกรมม่ า ซึ่งมีโครงสร้ าง FCC


บนระนาบ (100) ทีอ่ ุณหภูมิเหนือ 921 องศาเซลเซียส 24
4.CRYSTALLINE IMPERFECTIONS

* ผลึกไม่ สมบูรณ์ ส่งผลถึงสมบัติทางไฟฟ้ า ทางกลและอื่น ๆ


* การแบ่ งโครงสร้ างผลึกทีไ่ ม่ สมบูรณ์ ตามลักษณะรู ปทรงเรขาคณิต
1) ความบกพร่ องแบบจุด (Vacancies)
2) ความบกพร่ องแบบเส้ น (Dislocation)
3) ความบกพร่ องบนระนาบ (Grain Boundaries)

25
ความบกพร่ องแบบจุด (Point Defects,Vacancies)

a) เกิดช่ องว่างโดยอะตอมหนึ่งได้ หายไป b) เกิดจากอะตอมอื่นเข้ าไปแทรก


เกิดขึ้นในระหว่ างการเย็นตัว ( self-interstitial
หรื อการแปรรูป หรื อ interstitialcy )
26
ความไม่ สมบูรณ์ ของผลึกไอออนนิก
● เมื่อทั้งไอออนบวกและไอออนลบหลุดจากโครงสร้ าง เพื่อรักษาสภาพความเป็ นกลาง

ไอออนบวก

● เมื่อไอออนบวกทีม่ ีขนาดเล็กกว่ าไม่ ได้ หลุดจากโครงสร้ าง แต่ เข้ าไปแทรก


ทาให้ เกิดช่ องว่ างของประจุบวกขึน้ มา 27
ความบกพร่ องแบบเส้น (DISLOCATION)
* เกิดขณะผลึกเกิดการแข็งตัว หรื อเกิดจากการแปรรู ป
* มี 2 ชนิด คือ Edge Dislocation กับ Screw Dislocation

CRYSTALLINE IMPERFECTIONS (DISLOCATION) 28


บริเวณโดยรอบของพืน้ ที่ได้ รับความเครียด
(a) เอจดิสโลเคชั่น (b) สกรู ดสิ โลเคชั่น
CRYSTALLINE IMPERFECTIONS (DISLOCATION) 29
SCREW DISLOCATION

SCREW DISLOCATION 30
MIXED DISLOCATION IN A CRYSTAL

MIXED DISLOCATION IN CRYSTAL 31


GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS)

GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS) 32


5. Experimental Techniques for Identification of Microstructure and
Defects

33
โครงสร้ างของวัสดุ
●โครงสร้างระดับมหภาค (macrostructure)
●โครงสร้างระดับจุลภาค (microstructure)
●โครงสร้างระดับอะตอม (atom)

34
GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS)

GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS) 35


GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS)

GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS) 36


GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS)

a) X 100 Low carbon steels b) X 225

GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS) 37


GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS)

2 2
a) no. 7 (64 grains/in
no. 7 ) b) no. 8 (128 grains/in
no. 8 ) c) no. 9 (256 no. 9 2)
grains/in

GRAIN BOUNDARIES (PLANAR DEFECTS) 38


Nominal number of grains
Grain-size no. Per sq mm at 1X Per sq in at 100X
1 15.5 1.0
2 31.0 2.0
3 62.0 4.0
4 124 8.0
5 248 16.0
n −1
6 N =2
496 32.0
7 992 64.0
N = จานวนเกรนต่อตารางนิว้
8 1980 128
n = grain-size number
9 3970 256
10 7940 512 39
ตัวอย่างที่ 4.4 เมือ่ ใช้กล้องจุลทรรศน์ ตรวจสอบโครงสร้างจุลภาคของโลหะ โดย
ใช้กาลังขยาย 100 เท่า นับจานวนเกรนได้ 64 เกรน/ตารางนิว้ ให้หาขนาดของ
เกรนตามมาตรฐาน ASTM

n −1
N =2
n −1
64 = 2
log 64 = (n − 1) log 2
n=7 ◄

40
ตัวอย่ างที่ 4.5 จากการตรวจสอบโครงสร้ างจุลภาคของโลหะ ชนิดหนึ่ง
โดยใช้ กาลังขยาย 200 เท่ า นับจานวนเกรนได้ 60 เกรน/ตารางนิว้ ให้ หา
ขนาดของเกรนตามมาตรฐาน ASTM

N =
 200 
 60 (
grains / in 2
)
= 240
 100 
n −1
240 = 2
log 240 = (n − 1) log 2
n = 8.91 ◄
41
TRANSMISSION ELECTRON MICROSCOPE (TEM) 42
TRANSMISSION ELECTRON MICROSCOPE 43
SCANNING ELECTRON MICROSCOPE (SEM) 44
SCANNING ELECTRON MICROSCOPE (SEM) 45
SCANNING ELECTRON MICROSCOPE (SEM)
ภาพการแตกหักแบบ
Intergranular Corrosion
บริเวณรอยเชื่ อมของท่ อที่ทา
จากเหล็กกล้ าไร้ สนิม เกรด
304 (180 x)

SCANNING ELECTRON MICROSCOPE (SEM) 46


โจทย์
1. จงบอกความแตกต่างระหว่าง equiaxed และ columnar grains ในโครงสร้าง
โลหะที่แข็งตัว
2. สภาวะใดทาให้โลหะชนิดหนึ่ งมีความสามารถละลายในโลหะอีกชนิดหนึ่ ง
ได้อย่างสมบูรณ์
3.จงอธิบายความไม่สมบูณร์ที่มีอยู่ในโครงผลึกไอออนแบบ 1.)Frenkel imperfection
2.)Scottky imperfection
4.จงอธิบาย dislocation แบบ edge และ screw
5. ถ้ามีจานวน 400 เกรนต่อตารางนิ้ว ปรากฎในภาพ photomicrograph ของ
วัสดุเซรามิกชนิดหนึ่ งที่กาลังขยาย 200 เท่า จงหา ASTM grain-size number
ของวัสดุชนิดนี้

47

You might also like