Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

คําชี้แจงการใชคูมือครู

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)ไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหจัดการ


เรียนการสอนคณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กําหนดไว
ในหลักสูตรครบถวนทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และ
ดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครู ซึ่งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนไวโดยละเอียด เพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ดังนั้นครูควรศึกษาคูมือครูใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการ
สอนกอนเขาสอนทุกบทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและ
วิธีจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ
คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้
1. ชื่อบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบทไวโดยประมาณ ครูอาจ
ยืดหยุนไดตามที่เห็นสมควร
2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู ในแตละบทเรียนจะบรรจุสาระและมาตรฐานการเรียนรู
ตามที่ปรากฏอยูในหนังสือตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 เพื่อความสะดวกของครูในการตรวจสอบ
ความสอดคลองและครอบคลุมของหลักสูตรสถานศึกษา
3. ตัวชี้วดั ในแตละบทเรียนจะระบุตัวชีว้ ดั ของแตละมาตรฐานการเรียนรู ครูตองคํานึงถึงเสมอ
วาจะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนไดเรียนรูตามที่ตัวชี้วัดกําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง
จบการเรียนการสอน
4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอเรื่องของบทเรียนประกอบดวยหัวขอดัง
ตอไปนี้
1) จุดประสงค จุดประสงคของการสอนในแตละหัวขอนีจ้ ัดเปนตัวชีว้ ัดของแตละ
หัวขอระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนมี
ความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่งจะตองเกิดขึ้นระหวาง
เรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตามจุดประสงคและใชวิธีการ
ประเมินผลที่หลากหลายเพือ่ ใหมีผลบรรลุมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วดั
การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา
แบบฝกหัด การทําใบกิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา
นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนัน้ มาสอนซอม
เสริมใหม

2) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู
ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูก ับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน
5. เฉลยแบบฝกหัดและกิจกรรม แบบฝกหัดและคําถามในกิจกรรมทีม่ ีลักษณะเปนปญหาชวนคิด
ในหนังสือเรียนทุกขอมีคําตอบให บางขอมีเฉลยแนวคิดเพิ่มเติมไวใหเพื่อเปนแนวทางหนึ่งในการหา
คําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตใหไวเปนตัวอยางเพียงหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะแบบฝกหัดที่ใหนกั เรียน
ทํา ไดสอดแทรกปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนคิดอยางหลากหลาย การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของ
นักเรียนอาจแตกตางจากทีเ่ ฉลยไว ในการตรวจแบบฝกหัดครูควรพิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบ
ที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปไดทแี่ ตกตางไปจากทีเ่ ฉลยไวใหนี้
6. กิจกรรมเสนอแนะ มีหลายลักษณะอาจเปนกิจกรรมเพือ่ นําเขาสูเนือ้ หาสาระ เสริมเนื้อหา
สาระ หรือกิจกรรมพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครู
อาจปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับเวลาและความสามารถของนักเรียน
กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิดความ
เขาใจและมองเห็นแงมมุ ตาง ๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชี้นําแนวคิด ขณะทํา
กิจกรรมครูตองสงเสริมใหนกั เรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นทีห่ ลากหลาย ตลอดจนฝกฝนให
นักเรียนรูจักวิเคราะห ตัดสินใจและหาขอสรุป
7. แบบฝกหัดเพิ่มเติม ในบางบทเรียนไดเตรียมแบบฝกหัดเพิ่มเติมไวใหครูเลือกหรือปรับใช

คําแนะนําการใชหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร ประกอบดวย
1. เนื้อหาสาระ ในการนําเสนอเนื้อหาสาระของแตละบทเรียน ไดคํานึงถึงการเชื่อมโยงความรูใหม
กับความรูพื้นฐานเดิมของนักเรียน โดยพยายามใชตัวอยางจากชีวิตจริงและความรูจากศาสตรอื่น
ประกอบการอธิบายเพื่อใหไดขอสรุปเปนความรูใหมตอไป
2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช
3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดทีน่ ําเสนอไวมหี ลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ
แกโจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ
4. ปญหาชวนคิดหรือเรื่องนารู เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่
เรียนมาเพือ่ แกปญหาหรือหาขอสรุปใหม

เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู
ใหเขาใจอยางถองแท
2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมทีส่ ุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย
3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา
4. ในการสอนเนือ้ หาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม
หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนกั เรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได
5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิม่ เติมจากสิ่งทีอ่ ยูใกลตวั หรือ
ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนกั เรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู
ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป

กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ
รายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง

1 พื้นที่ผิวและปริมาตร 16

2 กราฟ 15

3 ระบบสมการเชิงเสน 14

4 ความคลาย 15

รวม 60
สารบัญ
หนา
ประกาศกระทรวงฯ
คํานํา
คําชี้แจง
คําชี้แจงการใชคูมือครู ก
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง
บทที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร 1
สาระและมาตรฐานการเรียนรู 1
ตัวชี้วดั 1
แนวทางในการจัดการเรียนรู 3
1.1 รูปเรขาคณิตสามมิติ 3
จุดประสงค 3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3
1.2 ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก 4
จุดประสงค 4
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 4
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4
1.3 ปริมาตรของพีระมิดและกรวย 7
จุดประสงค 7
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 7
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 7
1.4 ปริมาตรของทรงกลม 10
จุดประสงค 10
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 10
1.5 พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก 11
จุดประสงค 11
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 11
เฉลยแบบฝกหัดและกิจกรรม 12
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 55
บทที่ 2 กราฟ 61
สาระและมาตรฐานการเรียนรู 61
ตัวชี้วดั 61
แนวทางในการจัดการเรียนรู 63
2.1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน 63
จุดประสงค 63
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 63
2.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร 64
จุดประสงค 64
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 64
2.3 กราฟกับการนําไปใช 65
จุดประสงค 65
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 65
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 65
เฉลยแบบฝกหัดและกิจกรรม 67
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 92
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเสน 96
สาระและมาตรฐานการเรียนรู 96
ตัวชี้วดั 96
แนวทางในการจัดการเรียนรู 98
3.1 ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร 98
จุดประสงค 98
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 98
3.2 การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟ 99
จุดประสงค 99
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 99
3.3 โจทยสมการเชิงเสนสองตัวแปร 99
จุดประสงค 99
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 99
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 99
เฉลยแบบฝกหัดและกิจกรรม 100
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 139
บทที่ 4 ความคลาย 142
สาระและมาตรฐานการเรียนรู 142
ตัวชี้วดั 142
แนวทางในการจัดการเรียนรู 143
4.1 รูปเรขาคณิตที่คลายกัน 143
จุดประสงค 143
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 143
4.2 รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน 144
จุดประสงค 144
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 144
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 144
4.3 การนําไปใช 146
จุดประสงค 146
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 146
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 146
เฉลยแบบฝกหัดและกิจกรรม 147
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 167
คณะกรรมการจัดทําคูมือครูสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 174

You might also like