Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

บรรยาย โดย

พ.อ. ธารา ไหมทอง


รอง ผอ.กคด.สธน.ทบ.
 ปริญญาตรี นิติศาสตร์ ประวัติ
 นักกฎหมายภาครัฐ รุ่นที่ ๑
 ปลัดกระทรวงกลาโหม
- กองอัตราและการจัดสานักงานนโยบาย และแผนกระทรวงกลาโหม
- อัยการฝึกหัดสานักอัยการทหาร กรมพระธรรมนูญ
- นายทหารพระธรรมนูญ ศูนย์อานวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
- หัวหน้าแผนก สงค์เคราะห์ทางกฎหมายกรมพระธรรมนูญ
 กองทัพไทย
- นายทหารพระธรรมนูญกรมยุทธบริการทหาร
- นายทหารพระธรรมนูญ ศูนย์รักษาความปลอดภัย
- นายทหารพระธรรมนูญ กรมการทหารสือ่ สารทหาร
 กองทัพบก
- นายทหารพระธรรมนูญ กรมทหารราบที่ ๓
- นายทหารพระธรรมนูญ ศูนย์ทหารราบ
- นายทหารพระธรรมนูญ โรงเรียนนายสิบทหารบก
- นายทหารพระธรรมนูญ สานักงานพระธรรมนูญทหารบก
- ฝ่ายกฎหมาย ศูนย์การปฏิบัติการที่ ๕ กองอานวยการทหารบก รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
- นายทหารพระธรรมนูญ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
- นายทหารพระธรรมนูญ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
 ปัจจุบัน รอง ผู้อานวยการกองคดี สานักงานพระธรรมนูญทหารบก
กาเนิดที่มาของกฎหมาย มาจาก ๖ ประการ
1 หัวหน้าเผ่า
2 ขนบธรรมเนียมประเพณี
3 ความเชื่อทางศาสนา
4 ความยุติธรรม
5 ความเห็นของนักปราชญ์และนักวิชาการด้านกฎหมาย
6 คาพิพากษาของศาล
การแบ่งแยกของกฎหมาย
แหล่งที่มาของกฎหมายมีอยู่มากมายหลายทาง และมีการวิวัฒนาการหรือเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด เพราะเมื่อมี
สั ง คมหรื อ กลุ่ ม ชนก็ ย่ อ มต้ อ งมี ก ฎหมาย ดั ง นั้ น เราพอจะแบ่ ง ที่ ม าของกฎหมายได้ โ ดยลั ก ษณะทั่ ว ไป ๙ แหล่ ง
ด้วยกันคือ
- ขนบธรรมเนียมประเพณี
- การออกแบบกฎหมายของสภานิติบัญญัติ
- คาสั่งและกฤษฎีกาที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
- คาพิพากษาของศาล
- บทความทางวิชาการกฎหมาย
- รัฐธรรมนูญ
- สนธิสัญญาต่าง ๆ
- ประมวลกฎหมาย
- ประชามติ
วิวฒั นาการระบบกฎหมาย
๑. วิวัฒนาการระบบกฎหมาย
1. กฎหมายนั้นได้วิวัฒนาการมาจากระเบียบ ความประพฤติ ศีลธรรม จารีตประเพณี ศาสนา แล้วกลายเป็นมีสภาพบังคับได้
2. ระบบกฎหมายไทยได้วิวัฒนาการมาเป็นขั้นตอนตามสภาพความเป็นเอกราชตลอดมา
3. ในการพัฒนาระบบกฎหมายไทยให้ถึงเป้าหมายนั้น ย่อมมีปัญหาและอุปสรรคหลายประการ
๒. วิวัฒนาการของระบบกฎหมายที่สาคัญของโลก
1. ในสมัยดั้งเดิมนั้นยังไม่มีภาษาเขียน จึงต้องใช้คําสั่งของหัวหน้า ประเพณี ศีลธรรม ศาสนา และความเป็นธรรมตามความรู้สึกของมนุษย์ ให้มีสภาพบังคับตามนามธรรม
เป็นกฎหมายได้
2. เมื่อมนุษย์รู้จักภาษาเขียน ก็ได้เขียนบันทึกสิ่งที่บังคับตามนามธรรมขึ้นใช้ และต่อมาก็ได้พัฒนาขึ้นให้เป็นกฎหมายลายลักษณ์อกั ษรหรือประมวลกฎหมาย
3. ในบางประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ ยังคงยึดจารีตประเพณีที่ปฏิบัติมา เป็นหลักกฎหมายและ อาศัยคําพิพากษาของศาลที่พิพากษาวางหลักใช้เป็นกฎหมายในระบบ
กฎหมายคอมมอนลอว์
4. กฎหมายในระบบอื่น เช่น กฎหมายสังคมนิยม กฎหมายอิสลาม ย่อมจัดอยู่ในระบบประมวลกฎหมาย
5. เมื่อหลักกฎหมายของประเทศต่างๆ คล้ายคลึงกัน ย่อมใช้กฎหมายฉบับเดียวกันได้ นักกฎหมายก็สามารถใช้กฎหมายฉบับเดียวกันได้ทั่วโลก กลายเป็นหลักสากลขึ้น
 กฎหมายในสังคมบรรพกาล
คําสั่งหัวหน้าเผ่าเป็ นกฎหมายได้อย่างไร
เมื่อมีกรณี พิพาทหรื อโต้แย้งเกิดขึ้น ผูท้ ี่เป็ นหัวหน้าเผ่าจะต้องเป็ นผูช้ ้ ีขาด ซึ่ งต้องอาศัยความถูกต้องตามกฎเกณฑ์
การชีขาดดังกล่าวบังคับแก่คู่กรณี ได้ โดยจะต้องปฏิบตั ิตามและเชื่อฟังคําชี้ขาดและกฎเกณฑ์เช่นนั้นจึงเป็ นกฎหมาย
จารี ตประเพณี เป็ นกฎหมายได้อย่างไร
จารี ตประเพณี เกิดจากพฤติกรรมการเลียนแบบของมนุษย์ตามความเคยชินที่คนในสังคมนั้นจะกระทําตามคนส่ วนใหญ่
เมื่อพฤติกรรมเหล่านั้นได้มีการปฏิบตั ิต่อเนื่ องกันมาเลื่อยๆ เป็ นระยะเวลาอันยาวนานหากผูใ้ ดฝ่ าฝื นไม่ยอมประพฤติ
หรื อ ปฏิ บ ัติ ต ามก็จ ะได้รั บ การตํา หนิ อ ย่า งรุ น แรงจากสั ง คม ในบางครั้ งก็จ ะมี ส ภาพเป็ นการลงโทษ ในที่ สุ ด ก็จ ะ
กลายเป็ นหลักบังคับใช้กบั ประชาชนในถิ่นนั้นๆ และเป็ นกฎหมายจารี ตประเพณี โดยไม่รู้ตวั
วิวฒั นาการของระบบประมวลกฎหมาย
• ระบบประมวลกฎหมายนั้นจะมีลกั ษณะอย่ างไร จะมีลกั ษณะเป็ นรูปร่ างของกฎหมาย ๓ ประการคือ
๑. เป็ นระบบกฎหมายที่มาจากกฎหมายโรมันและใช้กนั อยูท่ วั่ ไปในยุโรป ซึ่ งแตกต่างไปจากกฎหมายจารี ตประเพณี
๒. เป็ นการตั้งหลักเกณฑ์ที่ใช้บงั คับถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่ งแตกต่างไปจากกฎหมายมหาชนโดยเฉพาะ
อย่างยิง่ จะแตกต่างไปจากกฎหมายอาญา
๓. เป็ นกฎหมายที่มีสภาพบังคับซึ่ งตรงข้ามกับกฎหมายพระหรื อศาสนจักร
แนวโน้มวิวฒั นาการของระบบกฎหมายโลกปัจจุบนั
แนวโน้ มของการวิวัฒนาการของระบบกฎหมายในโลกปัจจุบันนีจ้ ะเป็ นอย่างไร
แนวโน้มในการวิวฒั นาการของระบบกฎหมายในโลกปั จจุบนั นี้ จะเป็ นการใช้ระบบกฎหมายซี วิลลอว์ท้ งั หมด
โดยสามารถจะจัดรู ปแบบและพัฒนาได้โดยฝ่ ายนิ ติบญั ญัติ โดยนักนิติศาสตร์ ของประเทศต่างๆก็จะนําความคิดเห็นที่
เป็ นธรรมซึ่ งมีอยูโ่ ดยทัว่ ไป ไปบัญญัติใช้ในกฎหมายในประเทศของตนเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกัน ต่อไปนานเข้า
หลักเกณฑ์ต่างๆของกฎหมายก็จะคล้ายคลึงกันทุกประเทศในโลกเกือบจะเรี ยกว่าใช้กฎหมายฉบับเดียวกันกัน ซึ่ งนัก
กฎหมายก็จะสามารถใช้กฎหมายเรื่ องเดียวกันได้ทวั่ โลก ถือว่าเป็ นหลักสากล
วิวฒั นาการของระบบกฎหมายไทย
• ระบบกฎหมายไทยก่อนที่ยงั ไม่มีภาษาเขียนเป็ นหนังสื อ ซึ่ งเริ่ มใช้ในสมัยพ่อขุนรามคําแหงมหาราช ในสมัยสุ โขทัย
ตอนปลาย และสมัยกรุ งศรี อยุธยาจึงมีกฎหมายเป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึ้น
• ในสมัยต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ได้มีการจัดทํากฎหมาย ในรู ปของประมวลกฎหมายไทยสําเร็ จ เรี ยกว่า
กฎหมายตราสามดวง
• ในปั จจุบนั นี้ในประเทศไทยได้มีกฎหมายในรู ปของประมวลกฎหมายครบถ้วน
ที่มา ประเภท และศักดิ์ของกฎหมาย
๑. ที่ มาของกฎหมาย ในระบบกฎหมายลายลักษณ์ อกั ษร ระบบกฎหมายไม่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ระบบกฎหมายสังคม
นิ ยมนั้น ย่อมแตกต่างกัน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั พื้นฐานของระบบกฎหมายแต่ละระบบ
๒. การแบ่งประเภทของกฎหมาย อาจแบ่งออกได้เป็ นหลายลักษณะ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ว่าจะยึดอะไรเป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง
๓. กฎหมายที่ ออกมาใช้ในสังคมนั้น เกิ ดจากองค์กรที่ มีอาํ นาจในการออกกฎหมายต่างกัน จึ งมี ลาํ ดับความสําคัญไม่เท่า
เทียมกัน
๔. กฎหมายที่ มีศกั ดิ์ สู งกว่าหรื อมี ศกั ดิ์ เท่ากันกับกฎหมายอี กฉบับหนึ่ ง ย่อมแก้ไขเพิ่มเติ มหรื อยกเลิกกฎหมายฉบับหลัง
นั้นได้
ทีม่ าของกฎหมาย
๑. ที่มาของกฎหมายย่อมมีความหมายแตกต่างกันไปตามระบบกฎหมาย
๒. ที่มาของกฎหมายในระบบลายลักษณ์อกั ษรนั้น ได้แก่ กฎหมายลายลักษณ์อกั ษร จารี ตประเพณี และหลักกฎหมายทัว่ ไป
๓. ที่มาของกฎหมายในระบบกฎหมายไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่ จารี ตประเพณี คําพิพากษาของศาล กฎหมายลาย
ลักษณ์อกั ษร ความเห็นของนักนิติศาสตร์ และหลักความยุติธรรม
๔. ที่มาของกฎหมายในระบบกฎหมายสังคมนิยม คือ กฎหมายลายลักษณ์อกั ษร
ที ่ ม า ประเภท
ทีม่ าของกฎหมายในระบบกฎหมายลายลักษณ์ อกั ษร
และศั
ก ์
ดิ ข องกฎหมาย
ลองบอกชื่อกฎหมายลายลักษณ์อกั ษร รู ้จกั รู ปแบบของกฎหมายดังต่อไปนี้
๑. รัฐธรรมนูญ เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๑๗
๒. ประมวลกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมายที่ดิน ประมวลรัษฎากร
๓. พระราชบัญญัติ เช่น พระราชบัญญัติคุม้ ครองสัตว์ป่าสงวนแห่ งชาติ พระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชน พระราชบัญญัติ
ส่งเสริมพาณิ ชย์นาวี
๔.พระราชกฤษฎีกา เช่น พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตควบคุมศุลกากร เป็ นต้น
• จารี ตประเพณี ที่กลายมาเป็ นกฎหมาย
ตัวอย่างของจารี ตประเพณี ที่กลายมาเป็ นกฎหมาย คือ การที่บุตรต้องอุปการะเลี่ยงดูบิดามารดาซึ่ งได้นาํ ไปบัญญัติใน
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๓
การให้สินสอดที่ฝ่ายชายให้แก่ฝ่ายหญิงนั้นเป็ นจารี ตประเพณี หรื อไม่ และฝ่ ายหญิงจะเรี ยกร้องจากฝ่ ายชายได้เสมอไป
หรื อไม่
การให้สินสอดเป็ นจารี ตประเพณี เพราะเข้าตามหลักเกณฑ์ท้ งั ๔ ประการ แต่กม็ ิใช่เป็ นเรื่ องที่ฝ่ายหญิงจะบังคับเอากับฝ่ าย
ชายได้ เพราะเป็ นเรื่ องที่ฝ่ายชายต้องสมัครใจให้แก่ฝ่ายหญิงเพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรสด้วย
(ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๓๗)
ลองสํารวจดูสุภาษิตกฎหมายที่เคยทราบมาแล้ว
• สุ ภาษิตกฎหมายที่เคยทราบมาแล้ว เช่ น
เป็ นหน้าที่ของศาลที่จะต้องให้ความยุติธรรมแก่คนที่เข้ามาหาศาล (ข้อ ๑๓)
ผูพ้ ิพากษาที่ดียอ่ มวินิจฉัยคดีตามหลักความยุติธรรมและความถูกต้อง และถือความยุติธรรมสําคัญกว่ากฎหมาย (ข้อ ๒๔)
ความทุจริ ตกับความยุติธรรมอยูด่ ว้ ยกันไม่ได้ (ข้อ ๕๙)
• ทีม่ าของกฎหมายในระบบกฎหมายไม่ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
จารี ตประเพณี มีความสัมพันธ์ต่อระบบกฎหมายไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรอย่างไร จารี ตประเพณี เป็ นต้นตอของกฎหมายไม่เป็ น
ลายลักษณ์อกั ษร เมื่อสมัยเริ่ มแรกของระบบกฎหมายนี้ ศาลใช้จารี ตประเพณี เป็ นกฎหมายในการตัดสิ นคดีจารี ตประเพณี จึง
เป็ นที่มาพื้นฐาน ของระบบกฎหมายไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
ลองสํารวจดูสุภาษิตกฎหมายที่เคยทราบมาแล้ว
เหตุผลสนับสนุนคํากล่าวที่วา่ “กฎหมายที่มาจากคาพิพากษาของศาลเป็ นหลักเกณฑ์ ทมี่ ั่นคง เช่ นเดียว กับหลักที่เกิดจากจารีต
ประเพณี”
• คําพิพากษาของศาลในระบบกฎหมายไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรเป็ นหลักเกณฑ์ที่มนั่ คง เนื่องจากศาลในระบบกฎหมายนี้
ยึดถือหลักแนวบรรทัดฐานคําพิพากษาของศาล จึงทําให้คดีที่มีขอ้ เท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญอย่างเดียวกันได้รับการตัดสิ น
ให้มีผลอย่างเดียวกัน เมื่อเวลาผ่านไปหลักเกณฑ์ที่ศาลวางไว้ในการตัดสิ นคดียอ่ มได้รับการยอมรับมากยิง่ ขึ้น และกลายเป็ น
หลักกฎหมายที่มนั่ คงในเวลาต่อมา
• ในปั จจุบนั กฎหมายลายลักษณ์อกั ษรกลับมีบทบาทสําคัญต่อระบบกฎหมายไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรไม่นอ้ ยกว่ากฎหมายที่
เกิดจากจารี ตประเพณี และคําพิพากษาของศาลนั้นเป็ นความจริ งเพียงใด
• ในสมัยที่โลกมีความเจริ ญก้าวหน้า การที่จะรอให้กฎหมายเกิดขึ้นจากจารี ตประเพณี หรื อคําพิพากษาของศาลในคดีที่ข้ ึนสู่
ศาลนั้นย่อมจะไม่ทนั ต่อความต้องการ จึงต้องออกกฎหมายล่วงหน้าเพื่อวางระเบียบและกฎเกณฑ์ในสังคม หากจะรอให้
กฎหมายเกิดขึ้นเองจะไม่ทนั ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหรื อเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว
นิยามศัพท์
 หมายถึงภาษาหรือถ้อยคําที่ผู้ร่างกฎหมายมีความประสงค์จะให้มีความหมายเฉพาะที่แตกต่างจากภาษาธรรมดาทั่ว ๆ
ไป หรือต้องการให้มีความหมายพิเศษ ในประเด็นนี้ ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ์ ได้ยกตัวอย่างในรายงานการวิจัยฯ อีกเช่นกันว่า
“ป่า” ตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔ หมายถึง “ที่ดินที่ยังไม่ได้มีบุคคลได้มาตามกฎหมาย” ดังนั้นเมื่อพูด
ถึง “ป่า” คนธรรมดาสามัญย่อมนึกถึงภูเขา ต้นไม้ ฯลฯ ฉะนั้น “ป่า” ตามกฎหมายฉบับนี้อาจจะไม่มีต้นไม้แม้แต่ต้นเดียว
เลยก็ได้
สรุป ภาษาที่ใช้ในกฎหมายไม่ว่าจะเป็นภาษาคนธรรมดา ภาษาทางเทคนิคหรือนิยามศัพท์ ก็ตามแต่ หากจะมีการ
ตีความแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการตีความตามลายลักษณ์อักษรหรือตามเจตนารมณ์ก็ตามจะต้องเป็นการตีความเพื่อให้ปฏิบัติ
ได้ มิใช่ตีความแล้ว ก่อให้เกิดผลประหลาด ปฏิบัติไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตีความกฎหมายมหาชนที่มุ่งประโยชน์
สาธารณะ ต้องคานึงถึงเหตุผลและความจาเป็นกับผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นตามมาด้วย
ที่สาคัญก็คือ เมื่อถ้อยคาใดมีความชัดเจนแล้วก็ไม่จาเป็นต้องตีความอีก (in Claris non fit interpretation) เพราะที่
ยุ่งๆ กันอยู่ที่วันนี้ก็เพราะเรามีการตีความกันมากเกินไป และที่สาคัญคือการตีความแบบศรี ธนญชัย หรือตะแบงเอา
สีข้างเข้าถู จนวุ่นวานไปกันหมดทั้งบ้านทั้งเมือง
ความรับผิดชอบทางกฎหมาย

เป็นหน้าที่พลเมืองที่ประชาชนจาเป็นต้องมีต่อรัฐ หรือต่อประเทศชาติของตน เพื่อให้


สังคมสามารถดารงอยู่ได้อย่างสงบสุขและเท่าเทียมกัน ความรับผิดชอบต่อกฎหมายนี้
รวมถึงการปฏิบัติตามระเบียบ ประกาศหรือคาสั่งใด ๆ ซึ่งมีผลบังคับใช้ ต่อองค์กรหรือ
ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ ผู้บริหารหรือองค์กร

Your Text Here


นิยามศัพท์ของกฎหมายอาญา
• นิยามศัพท์ของกฎหมายอาญา คือบรรดากฎหมายทั้งหลาย ที่บัญญัติถึงความผิดและกําหนดโทษไว้
จากความหมายของกฎหมายอาญานีแ้ ยกความสําคัญได้ 2 ประการคือ
1) กฎหมายที่บัญญัติถึงความผิด และ
2) จะต้องกําหนดโทษไว้ด้วย
• มาตรา ๕๙ บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญา
• ก็ต่อเมื่อได้กระทําโดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทําโดยประมาทในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิด
เมื่อได้กระทําโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้
กระทําโดยไม่มีเจตนา
การกระทาโดยเจตนา/โดยประมาท
กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่รวมเอาลักษณะความผิดต่างๆ และกําหนดบทลงโทษขึ้นด้วย ซึ่งมีวัตถุประสงค์จะรักษาความสงบ
เรียบร้อยภายในสังคม การกระทําที่มีผล กระทบกระเทือนต่อสังคม หรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ ถือว่าเป็นความผิดทางอาญา
หากปล่อยให้มีการแก้แค้นกันเอง หรือปล่อยให้ผู้กระทําผิดแล้วไม่มีการลงโทษ จะทําให้มีการกระทําความผิดทางอาญามากขึ้น สังคม
ก็จะขาดความสงบสุข
ความรับผิดในทางอาญาหรือการกระทําความผิดทางอาญาซึ่งจะเกิดผลร้ายทําให้ถูกลงโทษ นอกจากจะต้องเป็นการกระทําที่มีกฎหมาย
บัญญัติว่า เป็นความผิดแล้ว ผู้กระทําผิดยังต้องกระทําโดยเจตนาด้วย ยกเว้นการกระทําบางชนิดที่มีกฎหมายกําหนดไว้ชัดเจนว่า แม้กระทํา
โดยไม่เจตนาหรือกระทําโดยประมาทก็ต้องรับผิดเจตนา คือ การกระทําผิดทางอาญาที่ผู้กระทํารู้อยู่แล้วว่าสิ่งที่ตนทํานั้นเป็นความผิด แล้วยัง
ทําลงไปทั้ง ๆ ที่รู้สํานึกในการที่กระทําประมาท คือ การกระทําที่ผู้กระทํามิได้ตั้งใจให้เกิดผลร้ายแก่ใคร แต่เนื่องจากกระทําโดยไม่ระมัดระวัง
หรือระมัดระวังไม่เพียงพอ ทําให้เกิดผลร้ายแก่ผู้อื่นไม่เจตนา คือ การกระทําที่ผู้กระทําตั้งใจทําเพื่อให้เกิดผลอย่างหนึ่ง แต่ผลเกิดขึ้นมากกว่าที่
ตั้งใจไว้พยายามกระทําความผิด คือ ผู้กระทําความผิดได้ลงมือกระทําความผิด แต่กระทําไปไม่ตลอด หรือกระทําไปตลอดแล้ว แต่การกระทํา
นั้นไม่บรรลุผลตัวการ คือ กรณีที่ความผิดได้เกิดขึ้นโดยการกระทําของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระทําความผิดด้วยกันนั้นเป็น
ตัวการผู้สนับสนุน คือ ผู้ที่กระทําด้วยประการใดๆ อันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อื่นกระทําความผิดก่อนหรือขณะกระทํา
ความผิดความผิดต่อแผ่นดิน คือ ความผิดในทางอาญาในเรื่องนั้นเป็นเรื่องที่นอกจากจะมีผลต่อตัวผู้รับผลร้ายแล้ว ยังมีผลกระทบต่อสังคม
Your Text Here
เสียหายอีกด้วย และยอมความไม่ได้ความผิดต่อส่วนตัว คือ ความผิดในทางอาญาซึ่งไม่ได้มีผลร้ายกระทบต่อสังคมโดยตรง หากตัวผู้รับผลร้าย
ไม่ติดใจเอาความแล้ว รัฐก็ไม่อาจยื่นมือเข้าไปดําเนินคดีกับผู้กระทําผิดได้ และแม้จะได้ดําเนินคดีไปบ้างแล้ว เมื่อตัวผู้เสียหายพอใจยุ ติคดี
เพียงใด ก็ย่อมทําได้ด้วยการถอนคําร้องทุกข์ ถอนฟ้องหรือยอมความได้
ความผิดต่อเจ้าพนักงาน
ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 145 ผู้ใดแสดงตนเป็นเจ้าพนักงาน และกระทําการเป็น
เจ้า พนักงาน โดยตนเองมิได้เป็นเจ้าพนักงานที่มีอํานาจกระทําการนั้น ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับ
ไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้ง ปรับ
ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ มาตรา ๑๕๐๔ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน กระทําการหรือไม่กระทําการอย่างใดใน
ตําแหน่งโดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้า
พนักงานในตําแหน่งนั้น ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจําคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาท
ถึงสี่แสนบาท
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ทรัพย์และสินทรัพย์
ทรัพย์ และ ทรัพย์สิน คําสองคํานี้ที่ได้ยินกันอย่างคุ้นเคย คุณรู้หรือไม่ว่าในทางกฎหมายคําสองคํานี้มีความ
แตกต่างกันอย่างไร
ทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา137 หมายความว่า วัตถุมีรูปร่าง เช่น บ้าน รถยนต์
แหวน ทองคําแท่ง
ทรัพย์สิน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา138 หมายความรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจ
มีราคาและถือเอาได้ เช่น รถยนต์ แก๊ส ลิขสิทธิ์ สิทธิเรียกร้อง หุ้นจากความหมายข้างต้นจะเห็นได้ว่า "ทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของ
ทรัพย์สิน" ดังนั้นจึงจะต้องถือว่าทรัพย์นั้นต้อง "อาจมีราคาและอาจถือเอาได้ด้วย" (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
137 ต้องพิจารณาประกอบกันกับ มาตรา138 ด้วยเสมอ)ทรัพย์ หมายถึง วัตถุ หรือสิ่งที่มีรูปร่าง ทรัพย์สิน หมายถึง ทรัพย์
และวัตถุที่ไม่มีรูปร่าง เช่น ลิขสิทธิ์ (ทรัพย์สินทางปัญญา) ประเภทของทรัพย์สิน 1. อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ทรัพย์สินที่ไม่
สามารถเคลื่อนที่ได้
นิติกรรมและสัญญา
นิติกรรม คือ การกระทําของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายและมุ่งต่อผลในกฎหมาย ที่จะเกิดขึ้นเพื่อการก่อสิทธิ เปลี่ยนแปลง
สิทธิ โอนสิทธิ สงวนสิทธิ สงวนสิทธิ และระงับซึ่งสิทธิ เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้เงิน สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาให้และพินัยกรรม
เป็นต้น
นิติกรรมฝ่ายเดียว ได้แก่ นิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียวและมีผลตามกฎหมาย ซึ่งบาง
กรณีก็ทําให้ผู้ทํานิติกรรมเสียสิทธิได้ เช่น การก่อตั้งมูลนิธิ คํามั่นโฆษณาจะให้รางวัล การรับสภาพหนี้ การผ่อนเวลาชําระหนี้ให้ลูกหนี้
คํามั่นจะซื้อหรือจะขาย การทําพินัยกรรม การบอกกล่าวบังคับจํานอง การทําคําเสนอ การบอกเลิกสัญญา เป็นต้น
นิติกรรมสองฝ่าย (นิติกรรมหลายฝ่าย) ได้แก่ นิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปและ
ทุกฝ่ายต่างต้องตกลงยินยอมระหว่างกัน กล่าวคือ ฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาทําเป็นคําเสนอ แล้วอีกฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาเป็นคําสนอง
เมื่อคําเสนอและคําสนองถูกต้องตรงกันจึงเกิดมีนิติกรรมสองฝ่ายขึ้น หรือเรียกกันว่า สัญญา เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืม สัญญา
แลกเปลี่ยน สัญญาขายฝาก จํานอง จํานํา เป็นต้น
ในกฎหมายแพ่ง มีความสัมพันธ์อยู่รูปแบบหนึ่งเรียกว่า หนี้ เป็นสภาพที่บุคคลฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า "ลูกหนี"้ ต้องทําหรือไม่ทํา
การอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์ของบุคคลอีกฝ่ายซึ่งเรียกว่า "เจ้าหนี"้ เช่น พวงทองแท้ขอซื้อที่ดินย่านรัชดาภิเษกจากพิณทองชุบ
และพิณทองชุบตกลงขาย พวงทองแท้กับพิณทองชุบจึงเป็นหนี้ต่อกัน กล่าวคือ พวงทองแท้มีหนี้ต้องชําระราคาที่ดิน ส่วนพิณทองชุบมี
หนี้ต้องส่งมอบที่ดิน หนีด้ ังกล่าวนี้เกิดขึ้นได้จากเหตุสองประการ คือ นิติกรรม และนิติเหตุ เหตุทั้งสองนี้เรียกว่า "มูลหนี้“
นิติเหตุ คือ เหตุการณ์ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องกลายเป็นหนี้เพราะกฎหมายกําหนดไว้ ไม่ว่าเขาจะสมัครใจเป็นหนี้หรือไม่ก็ตาม เช่น
นางสาวแพปลาใช้โทรจิตขณะขับรถยนต์อยู่บนทางด่วน จึงชนรถตู้โดยสารสาธารณะเข้าอย่างจัง และเป็นเหตุให้เก้าชีวิตต้องตาย ผู้คน
อีกหกรายต้องบาดเจ็บ นางสาวแพปลาจึงมีหนี้ที่จะต้องใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย เพราะกฎหมายถือว่า เธอทําละเมิดต่อผู้เสียหาย
ในไม่ใช่เพราะเธอสมัครใจจะเป็นหนี้
ส่วนนิติกรรม นั้นอธิบายคร่าว ๆ ก่อนว่า ต่างจากนิติเหตุตรงที่เกิดจากความสมัครใจของผู้เกี่ยวข้อง ดังตัวอย่างพวงทองแท้
กับพิณทองชุบข้างต้น คู่กรณีในนิติกรรมจะมีกี่ฝ่ายก็ได้ ถ้ามีตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป นิติกรรมนั้นเรียก สัญญา (contract)
การแบ่งแยกระหว่างนิติกรรมกับสัญญาเป็นแนวคิดซึ่งพัฒนาขึ้นในวงการนิติศาสตร์เยอรมัน และแพร่หลายมาถึงประเทศที่ใช้กฎหมาย
เยอรมันเป็นแม่แบบกฎหมายของตัว เช่น ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย ขณะที่บางท้องที่ในโลก เช่น ประเทศฝรั่งเศส แม้ใช้กฎหมาย
ระบบซีวิลลอว์ (civil law) เหมือนประเทศเยอรมัน แต่ก็ไม่รู้จักนิติกรรม ท้องที่เหล่านี้เรียกความผูกพันทํานองนิติกรรมว่า "สัญญา"
ทั้งสิ้น ไม่แบ่งแยกเป็นนิติกรรมและสัญญา รายละเอียดเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญานั้นจะได้ว่ากันต่อไปภายหน้า
สําหรับประเทศไทย กฎหมายนิติกรรมและสัญญา ปรากฏอยู่ใน ป.พ.พ. เป็นหลัก ส่วนในสถาบันอุดมศึกษาไทยโดยทั่วไปนั้น
ศึกษากฎหมายนิติกรรมและสัญญากันในปีแรก ถัดจากวิชาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมายและวิชากฎหมายบุคคล
Your Text Here
ลักษณะทั่วไปของนิติธรรม
 นิตกิ รรม คือ การกระทําโดยชอบด้วยกฎหมาย ด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรง ต่อการผูก
นิติกรรมสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคล นิติกรรมมี ๒ ประเภท คือ นิติ กรรมฝ่ ายเดียว กับ
นิติกรรมหลายฝ่ าย นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์อาจเกิดเป็ นโมฆะ หรื อโมฆียกรรม
"หนี"้ คือความผูกพันในทางกฎหมายระหว่างบุคคลสองฝ่ าย ฝ่ ายหนึ่งเรี ยกว่า
เจ้าหนี้มีความชอบธรรมที่จะบังคับบุคคลอีกฝ่ ายหนึ่งเรี ยกว่าลูกหนี้ ให้จาํ ต้องส่ งมอบ
ทรัพย์สิน กระทําการหรื องดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้
 การไม่ ชาระหนี้ คือ ลูกหนี้น้ นั หมายถึง การไม่ชาํ ระหนี้เลย หรื อชําระหนี้ขาดตก
บกพร่ อง ไม่ตอ้ งตามความประสงค์ของมูลหนี้ คือชําระหนี้ล่าช้าผิดเวลา ผิดสถานที่
หรื อผิดทรัพย์ซ่ ึ งเป็ นวัตถุแห่งหนี้ การผิดนัด มีได้ท้ งั ฝ่ ายลูกหนี้และเจ้าหนี้
ความระงับหนี้
 ความระงับหนี้ หมายถึง การสิ้ นสุ ดแห่ งความผูกพันที่เป็ นหนี้ กนั อยูต่ ่างจากกรณี ที่หนี้ ยงั ไม่
เกิดขึ้นเพราะความบกพร่ องไม่สมบูรณ์บางอย่าง ซึ่งไม่มีความผูกพันใดเกิดขึ้นแต่ตน้ ความระงับ
แห่งหนี้ มีดว้ ยกัน ๕ วิธี คือ
(๑) การชําระหนี้
(๒) การปลดหนี้
(๓) หักกลบลบหนี้
(๔) แปลงหนี้ใหม่ และ
(๕) หนี้เกลื่อนกลืนกัน
สินสมรสคืออะไร...ครอบคลุมถึงอะไรบ้าง....
- ก่อนแต่งงาน มารู้จักกับ สินสมรส กันดีกว่า
- ชีวิตคู่ มีอะไรมากมายกว่าที่คิด และไม่ได้จบลงที่การเก็บเงิน แต่งงาน สร้างครอบครัว แต่ยังมีเรื่องน่ารู้อีกมากมาย โดยเฉพาะสิทธิ์ตา่ งๆ เมื่อจดทะเบียนสมรส
เป็นสามีภรรยากันแล้ว จะมีเรื่องสินสมรสเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
-“สินสมรส” คือ ทรัพย์สินที่มีความเป็นเจ้าของร่วมกัน ระหว่างสามีและภรรยาที่จดทะเบียนสมรสอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และบุคคลทั้งสอง จะมีสิทธิ์ในการเป็น
เจ้าของทรัพย์สินต่างๆ ร่วมกัน เช่น บ้าน, คอนโด รถยนต์ หรือแม้แต่ เงินเดือน รวมไปถึงเงินโบนัส เป็นต้น
- โดยส่วนมาก ทรัพย์สินต่างๆ ที่ได้รับมาหลังจากการสมรส จะถูกนับเป็นสินสมรสทันที ไม่สามารถแยกออกจากกันให้กลายเป็นสินส่วนตัวได้ และในกรณีที่ต้อง
หย่าร้างกันในภายหลัง ทรัพย์สินที่เป็นสินสมรส จะถูกแบ่งคนละครึ่ง
- อย่างไรก็ตาม สามี ภรรยา สามารถแยกกันจัดการสินสมรสได้ และเมื่อมีการแยกสินสมรสออกจากกันแล้ว ทรัพย์สินนั้นๆ ที่แยกออกมา จะถือเป็นสินส่วนตัวของ
แต่ละฝ่าย ซึ่งแบ่งได้ 4 กรณี ดังนี้
- เมื่อคู่สมรสตกลงแยกกันจัดการสินสมรส โดยการทาสัญญาก่อนสมรสไว้ก่อน
- เมื่อคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตกเป็นคนไร้ความสามารถ อีกฝ่ายมีสิทธิ์ร้องขอให้ศาลแยกสินสมรสได้
- เมื่อคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย จะมีผลให้สินสมรสแยกกันตามกฎหมาย
- เมื่อมีการร้องขอต่อศาลให้แยกสินสมรส ตามแต่สาเหตุ เช่น อีกฝ่ายทาความเสียหายแก่สินสมรส, ไม่อุปการะ เลี้ยงดู, เป็นหนี้สินมากมาย หรือขัดขวางการจัดการ
สินสมรสโดยไม่มีเหตุอันควร
สินสมรสคืออะไร...ครอบคลุมถึงอะไรบ้าง....
 มาตรา ๑๔๗๐ ทรัพย์สินระหว่างสามีภริ ยา นอกจากที่ได้แยกไว้เป็ นสิ นส่ วนตัวย่อมเป็ นสิ นสมรส
 มาตรา ๑๔๗๑ สิ นส่ วนตัวได้แก่ทรัพย์สิน
(๑) ที่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอยูก่ ่อนสมรส
(๒) ที่เป็ นเครื่ องใช้สอยส่ วนตัว เครื่ องแต่งกาย หรื อเครื่ องประดับกายตามควรแก่ฐานะ หรื อ
เครื่ องมือเครื่ องใช้ ที่จาํ เป็ นในการประกอบอาชีพหรื อวิชาชีพของคู่สมรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
(๓) ที่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดกหรื อโดยการให้โดยเสน่หา
(๔) ที่เป็ นของหมั้น
มาตรา ๑๔๗๒ สิ นส่ วนตัวนั้น ถ้าได้แลกเปลี่ยนเป็ นทรัพย์สินอื่นก็ดี ซื้อทรัพย์สินอื่นมาก็ดี หรื อขาย
ได้เป็ นเงินมาก็ดี ทรัพย์สินอื่นหรื อเงินที่ได้มานั้นเป็ นสิ นส่ วนตัวสิ นส่ วนตัวที่ถูกทําลายไปทั้งหมดหรื อ
แต่บางส่ วน แต่ได้ทรัพย์สินอื่นหรื อเงินมาทดแทน ทรัพย์สินอื่นหรื อเงินที่ได้มานั้นเป็ นสิ นส่ วนตัว
การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก

 การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ได้บญั ญัติไว้สรุ ปได้


ดังนี้ เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท และเมื่อบุคคลใดต้องถือว่าถึงแก่
ความตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท ความหมายของคําว่า "ตาย" ในที่น้ ี จะต้องเป็ น
กรณี ที่บุคคลใดตายโดยธรรมชาติหรื อตายโดยกฎหมายสมมติที่เราเรี ยกว่า "การสาบสู ญ"
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสายงานการเงิน
พรบ.เงินตรา โดยสรุป
๑. หลักการและเหตุผล เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์สาํ หรับการจัดการเกี่ยวกับการจัดทําและการใช้เงินตราของประเทศให้
เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน
๒ สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติ เงินตรา ได้แก่ เหรียญกษาปณ์ และธนบัตร ซึ่งต่างก็มีผู้ทําหน้าที่ในการจัดทําและนํา
ออกใช้ อันได้แก่ กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย โดยหน่วยของเงินตรา คือ บาท กําหนดให้หนึ่งบาทมีหนึ่ง
ร้อยสตางค์
• เหรียญกษาปณ์ กระทรวงการคลังมีหน้าที่ในการจัดทําเหรียญกษาปณ์และนําออกใช้ โดยแต่ละชนิด ราคา ที่นําออกใช้ให้มี
ได้ขนาดเดียวและจะมีขนาดเท่ากับเหรียญกษาปณ์ชนิด ราคาอื่นไม่ได้ กล่าวคือ เหรียญฯ จะมีขนาดและชนิดเดียวกันกับ
เหรียญในราคาที่ต่างกันไม่ได้ แต่ในกรณีที่เป็นการจัดทําและนําออกใช้ซึ่งเหรียญกษาปณ์นั้นเพื่อเป็นที่ระลึก หรือเป็นกรณีที่
เป็นการผลิตขึ้นใหม่เพื่อใช้แทนเหรียญฯ เดิมที่มีการยกเลิกการใช้แล้วย่อมทําได้ (มาตรา ๑๐) กฎหมายกําหนดห้ามมิให้ผใู้ ด
ทํา จําหน่าย ใช้ หรือนําออกใช้ซึ่งวัตถุหรือเครื่องหมายใดแทนเงินตรา โดยกําหนดโทษจําคุกไม่เกิน ๓ ปี ปรับไม่เกิน
๕๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา ๙ และมาตรา ๓๕) นอกจากนี้ยังเป็นความผิดฐานปลอมหรือแปลงเงินตรา
ตามกฎหมายอาญา
เหรียญกษาปณ์เป็นเงินที่ชาระหนี้ได้ตามกฎหมาย แต่ทั้งนี้ต้องไม่เป็นเหรียญชํารุด
พรบ.เงินตรา โดยสรุป
ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทยมีอํานาจจัดทําและนําออกใช้ซึ่งธนบัตรของรัฐบาลได้ โดยธนบัตรเป็นเงินที่ชําระหนี้
ได้ตามกฎหมาย ในกรณีธนบัตรชํารุดจะไม่สามารถใช้ชําระหนี้ได้ตามกฎหมาย ซึ่งธนบัตรที่ลักษณะต่อไปนี้ถือว่าเป็น
ธนบัตรชํารุด (มาตรา ๑๘)
๑. ธนบัตรครึ่งฉบับ คือครึ่งหนึ่งของธนบัตรซึ่งถูกแบ่งเป็นสองส่วนในแนวตั้ง
๒. ธนบัตรต่อท่อนผิด คือธนบัตรที่มีส่วนของธนบัตรฉบับอื่นมาต่อเข้าเป็นฉบับเดียวกัน
๓. ธนบั ต รขาดหรื อ ลบเลื อ น คื อ ธนบั ต รซึ่ ง ส่ ว นหนึ่ ง ขาดหายหรื อ มี เ หตุ ที่ ทํ า ให้ อ่ า นข้ อ ความหรื อ ตั ว เลข
ไม่ได้ความ
ซึ่งธนบัตรที่ชํารุดสามารถแลกเปลี่ยนเป็นธนบัตรได้กับธนาคารแห่งประเทศไทย หากผู้ใดประสงค์จะขอแลก
ธนบัตรชํารุดให้ทําคําร้องเป็นหนังสือตามแบบยื่นต่อธนาคารแห่งประเทศไทยหรือเจ้าหน้าที่ซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทย
มอบหมายโดยแนบธนบัตรชํารุดไปกับคําร้องด้วย และในกรณีที่มีการประกาศยกเลิกการใช้ธนบัตรชนิด และราคาใด
(การถอนคืน) ธนบัตรที่ประกาศถอนคืนก็จะไม่เป็นเงินที่ชําระหนี้ได้ตามกฎหมายเช่นกัน แต่สามารถขอแลกเปลี่ยนกับ
ธนบัตรอื่นได้ภายในสองปีนับแต่วันที่ธนบัตรถอนคืนตกเป็นเงินที่ชําระหนี้ไม่ได้ตามกฎหมาย (มาตรา ๒๑)
พรบ.เงินตรา โดยสรุป
ทุนสารองเงินตรา เพื่อดํารงไว้ซ่ ึงเสถียรภาพของเงินตรา และความมัน่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหน้าที่
ต้องรักษาทุนสํารองเงินตราไว้ (มาตรา ๒๖) ทุนสํารองเงินตราประกอบไปด้วยทรัพย์สินดังต่อไปนี้
๑. ทองคํา
๒. เงินตราต่างประเทศที่อยูใ่ นรู ปเงินฝากในธนาคารนอกราชอาณาจักรหรื อในสถาบันการเงินระหว่างประเทศ
๓. หลักทรัพย์ต่างประเทศที่จะมีการชําระหนี้เป็ นเงินตราต่างประเทศ
๔. ทองคํา สิ นทรัพย์ต่างประเทศ และสิ ทธิพิเศษถอนเงินที่นาํ ส่ งสมทบกองทุนการเงิน
๕. ใบสําคัญสิ ทธิซ้ื อส่ วนสํารอง
๖. ใบสําคัญสิ ทธิพิเศษถอนเงิน
๗. หลักทรัพย์รัฐบาลไทยที่จะมีการชําระหนี้เป็ นเงินตราต่างประเทศหรื อเป็ นบาท
๘. ตัว๋ เงินในประเทศที่ธนาคารแห่งประเทศไทยพึงซื้อหรื อรับช่วงซื้ อลดได้ แต่ตอ้ งมีค่ารวมกันไม่เกินร้อยละยีส่ ิ บจองจํานวน
ธนบัตรออกใช้ (มาตรา ๓๐)
ควบคุมการแลกเปลี่ยนในประเทศไทย
 กฎระเบียบ พื้นฐานทางกฎหมายสําหรับการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินในประเทศไทยที่ได้มาจากการควบคุม
ตลาดหลักทรัพย์ (พ.ศ. 2485) และกฎกระทรวงฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม
การแลกเปลี่ยน กฎหมายเหล่านี้กําหนดหลักการของการควบคุมตามที่ประกาศของกระทรวงการคลังและประกาศ
ของพนักงานเจ้าหน้าที่จะออก
ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รบั ความไว้วางใจจากกระทรวงการคลังที่มีความรับผิดชอบในการบริหารอัตรา
แลกเปลี่ยน ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยแต่งตั้งเจ้าหน้าทีข่ องธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะที่เป็น
พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยน (พ.ศ. 2485) ทั้งหมดทําธุรกรรมแลกเปลี่ยน
เงินตราต่างประเทศจะได้รับการดําเนินการผ่านธนาคารพาณิชย์และผ่านธนาคารไม่ได้รับอนุญาตคือผู้มี
อํานาจแลกเงินรับอนุญาตตัวแทนการโอนเงินและ บริษัท ที่ได้รับอนุญาตที่ได้รับใบอนุญาตการแลกเปลี่ยน
เงินตราต่างประเทศโดยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง การทําธุรกรรมใด ๆ ที่ไม่ดําเนินการผ่านการได้รับ
ใบอนุญาตดังกล่าวข้างต้นต้องได้รับอนุมัติจากพนักงานเจ้าหน้าที่ในกรณีโดยกรณีพนื้ ฐาน
ระเบียบสกุลเงิน
เงินตราต่างประเทศ
ระบบการชาระเงิน
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบการชําระเงิน” หมายความว่า ระบบหรื อกระบวนการจัดการอื่นใดเพื่อการโอนเงิน การหักบัญชี หรื อการชําระดุล
“การหักบัญชี ” หมายความว่า การรั บส่ ง ตรวจสอบ และยืนยันข้อมูลตามคําสั่งการชําระเงิ นสําหรั บนําไปคํานวณหา
ยอดเงินแสดงความเป็ นเจ้าหนี้ หรื อลูกหนี้เพื่อใช้ขอ้ มูลดังกล่าวไปทําการชําระดุลระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้
“การชําระดุล” หมายความว่า การชําระเงินที่มีการตกลงกันไว้ล่วงหน้าเพื่อปรับฐานะความเป็ นเจ้าหนี้ หรื อลูกหนี้ ดว้ ย
การปรับบัญชีเงินฝากโดยใช้ขอ้ มูลที่ได้จากการหักบัญชีเพื่อให้หนี้ท้ งั หมดหรื อบางส่ วนระงับไป
“ระบบการชําระเงินที่มีความสําคัญ ” หมายความว่า ระบบการชําระเงิ นที่ มีความสําคัญต่อความมัน่ คงหรื อเสถียรภาพ
ของระบบการชําระเงิน ระบบสถาบันการเงิน หรื อระบบการเงินของประเทศ
“ระบบการชําระเงินภายใต้การกํากับ” หมายความว่า ระบบการชําระเงินที่จะต้องได้รับอนุ ญาตจากรัฐมนตรี หรื อได้รับ
การขึ้นทะเบียนจาก ธปท. แล้วแต่กรณี
“บริ การการชําระเงิน” หมายความว่า การให้บริ การสื่ อการชําระเงิ น หรื อช่องทางการชําระเงิ นใด ๆ ไม่ว่าจะมีรูปร่ าง
หรื อไม่มีรูปร่ าง เพื่อชําระค่าสิ นค้าหรื อค่าบริ การ หรื อใช้เพื่อการโอนเงินหรื อการทําธุรกรรมทางการเงินอื่น ๆ
ระบบการชาระเงิน
“บริการการชาระเงินภายใต้การกากับ ” หมายความว่า บริการการชําระเงินที่จะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีหรือได้รับการขึ้น ทะเบียน
จาก ธปท. แล้วแต่กรณี
“บัตรอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า บัตรอิเล็กทรอนิกส์ตามประมวลกฎหมายอาญา
“เงินอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ประกอบธุรกิจออกให้แก่ผู้ใช้บริการซึ่งจะระบุชื่อหรือไม่ก็ตาม โดยมีการชําระเงิน
ให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจไว้ล่วงหน้าเพื่อนําไปใช้ชําระค่าสินค้า ค่าบริการ หรือค่าอื่นใดแทนการชําระด้วยเงินสด และได้มีการบันทึกมูลค่า หรือ
จํานวนเงินที่ชําระไว้ล่วงหน้า
“เงินรับล่วงหน้า” หมายความว่า เงินที่ผู้ประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินภายใต้การกํากับได้รับไว้ล่วงหน้าจากผู้ใช้บริการ ซึ่งประกอบด้วย
ยอดคงค้างที่ผู้ใช้บริการได้ให้เงินไว้ล่วงหน้าแก่ผู้ประกอบธุรกิจ และเงินที่ผู้ประกอบธุรกิจโอนเงินที่ได้รับมาล่วงหน้าจากผู้ใช้บริการ
“สมาชิก” หมายความว่า ผู้ใช้บริการที่ยินยอมผูกพันตามหลักเกณฑ์ในการใช้บริการระบบการชําระเงินที่มีความสําคัญ
“ผู้ประกอบธุรกิจ” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับอนุญาตหรือขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้
“ธปท.” หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทย
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
พรบ.ธุรกิจสถาบันการเงิน
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถาบันการเงินมีความสามารถในการบริหารความเสี่ยง มีความระมัดระวังไม่ทําให้
เกิ ด ความเสี ย หายแก่ เ งิ น ฝากของประชาชน มี เ กณฑ์ ก ารกํ า กั บ เกี่ ย วกั บ ธรรมาภิ บ าลของกรรมการ
ผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และสร้างความเชื่อมั่นให้ประชาชน และ
ผู้ ฝ ากเงิ น ตามนั ย มาตรา 4 แห่ ง พรบ.ธุ ร กิ จ สถาบั น การเงิ น พ.ศ. 2551 ธุ ร กิ จ สถาบั น
การเงิน หมายความถึง ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ และหมายรวมถึง การ
ประกอบธุรกิจของสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒

๑. หลักการและเหตุผล เนื่องจากในปัจจุบันผู้ประกอบอาชญากรรมซึ่งกระทําความผิดกฎหมายบางประเภท ได้นําเงิน


หรือทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดนั้นมากระทําการในรูปแบบต่าง ๆ อันเป็นการฟอกเงิน เพื่อนําเงินหรือ
ทรัพย์สินนั้นไปใช้เป็นประโยชน์ในการกระทําความผิดต่อไปได้อีก ทําให้ยากแก่การปราบปรามการกระทําความผิด
กฎหมายเหล่านั้น และโดยที่กฎหมายที่มีอยู่ก็ไม่สามารถปราบปรามการฟอกเงินหรือดําเนินการกับเงินหรือทรัพย์สิน
นั้น ได้เท่า ที่ค วร ดัง นั้น เพื่อเป็นการตัดวงจรการประกอบอาชญากรรมดัง กล่าว สมควรกํา หนดมาตรการต่า ง ๆ
ให้สามารถดําเนินการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒
(๑) ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทํา ความผิด
เกี่ยวกับยาเสพติด
(๒) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะที่เกี่ยวกับการเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการอนาจารหญิงและเด็ก เพื่อสนองความใคร่
ของผู้อื่นและความผิดฐานพรากเด็กและผู้เยาว์ ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก หรือ ความผิด
ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี เฉพาะที่เกี่ยวกับการเป็นธุระจัดหา ล่อไปหรือชักพาไปเพื่อให้บุคคลนั้นกระทํา การ
ค้าประเวณี หรือความผิดเกี่ยวกับการเป็นเจ้าของกิจการการค้าประเวณี ผู้ดูแลหรือผู้จัดการกิจการค้าประเวณี หรือสถานการค้าประเวณี หรือ เป็น
ผู้ควบคุมผู้กระทําการค้าประเวณีในสถานการค้าประเวณี
(๓) ความผิดเกี่ยวกับการฉ้อโกงประชาชนตามประมวลกฎหมายอาญาหรือความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน
(๔) ความผิดเกี่ยวกับการยักยอกหรือฉ้อโกงหรือประทุษร้ายต่อทรัพย์หรือกระทําโดยทุจริตตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ กฎหมายว่าด้วย การ
ประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ หรือกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งกระทําโดย กรรมการ
ผู้จัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบหรือมีประโยชน์เกี่ยวข้องในการดําเนินงานของสถาบันการเงิน นั้น
(๕) ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วย ความผิด
ของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่หรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกฎหมายอื่น
(๖) ความผิดเกี่ยวกับการกรรโชก หรือรีดเอาทรัพย์ที่กระทําโดยอ้างอํานาจอั้งยี่ หรือซ่องโจรตามประมวลกฎหมายอาญา
(๗) ความผิดเกี่ยวกับการลักลอบหนีศุลกากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร
(๘) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒

ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทาความผิด หมายความว่า
(๑) เงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทําซึ่งเป็นความผิดมูลฐานหรือจากการสนับสนุนหรือช่วยเหลือการกระทําซึ่งเป็นความผิดมูลฐาน
(๒) เงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการจําหน่าย จ่าย โอนด้วยประการใด ๆ ซึ่งเงินหรือทรัพย์สินตาม (๑) หรือ
(๓) ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินตาม (๑) หรือ (๒)
ทั้งนี้ ไม่ว่าทรัพย์สินตาม (๑) (๒) หรือ (๓) จะมีการจําหน่าย จ่าย โอน หรือเปลี่ยนสภาพไปกี่ครั้งและไม่ว่าจะอยู่ในความครอบครอง
ของบุคคลใด โอนไปเป็นของบุคคลใด หรือปรากฏหลักฐานทางทะเบียนว่าเป็นของบุคคลใด
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒
ลักษณะการกระทาความผิดฐานฟอกเงิน
ผู้ที่โอน รับโอน หรือเปลี่ยนสภาพทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดมูลฐานเพื่อซุกซ่อนหรือปกปิดแหล่งที่มาของทรัพย์สิน หรือเพื่อ
ช่วยเหลือผู้อื่นไม่ว่าก่อน ขณะหรือหลังการกระทําความผิดมิให้ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลง หรือกระทําการใด ๆ เพื่อปกปิดหรืออําพรางลักษณะที่
แท้จริงการได้มาแหล่งที่ตั้ง การจําหน่าย การโอน การได้สิทธิใด ๆ ซึ่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด ผู้นั้นกระทําความผิดฐานฟอก
เงิน (มาตรา ๕)
ผู้ที่กระทําความผิดฐานฟอกเงินแม้ทําความผิดนอกราชอาณาจักรผู้นั้นก็ต้องรับโทษในราชอาณาจักร ถ้าผู้กระทําความผิดหรือผู้ร่วมกระทํา
ความผิดคนใดคนหนึ่งเป็นคนไทยหรือมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย หรือผู้กระทําความผิดเป็นคนต่างด้าว และได้กระทําโดยประสงค์ให้ความผิดเกิดขึ้นใน
ราชอาณาจักร หรือรัฐบาลไทยเป็นผู้เสียหาย หรือ ผู้กระทําความผิดเป็นคนต่างด้าว และการกระทํานั้นเป็นความผิดตามกฎหมายของรัฐที่การกระทํา
เกิดขึ้นในเขตอํานาจของรัฐนั้น หากผู้นั้นได้ปรากฏตัวอยู่ในราชอาณาจักรและมิได้มีการส่งตัวผู้นั้นออกไปตามกฎหมายว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้าม
แดน (มาตรา ๖)
ผู้ที่สนับสนุนหรือช่วยเหลือผู้กระทําความผิดก่อนหรือขณะกระทําความผิด หรือจัดหาหรือให้เงินหรือทรัพย์สิน ยานพาหนะ สถานที่ หรือวัตถุใด ๆ
หรือกระทําการใด ๆ เพื่อช่วยให้ผู้กระทําความผิดหลบหนีหรือเพื่อมิให้ผู้กระทําความผิดถูกลงโทษ หรือเพื่อให้ได้รับประโยชน์ในการกระทํา
ความผิด ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการในความผิดนั้น (มาตรา ๗)
ผู้ที่พยายามกระทําความผิดฐานฟอกเงิน ต้องระวางโทษตามที่กําหนดไว้สําหรับความผิดนั้นเช่นเดียวกับผู้กระทําความผิดสําเร็จ (มาตรา ๘)
ผูท้ ี่ตกลงกันตั้งแต่สองคนขึ้นไปเพื่อกระทําความผิดฐานฟอกเงิน ต้องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่กําหนดไว้สําหรับความผิดนั้น (มาตรา ๙)
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒
สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ให้มีการตั้งสํานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินขึ้นในสํานักนายกรัฐมนตรี มีอํานาจ
ดําเนินการให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการและคณะกรรมการธุรกรรมและปฏิบัติงานธุรการอื่น รับรายงานการทําธุรกรรมและแจ้งตอบการรับ
รายงาน เก็บรวบรวม ติดตาม ตรวจสอบ ศึกษา และวิเคราะห์รายงานและข้อมูลต่าง ๆเกี่ยวกับการทําธุรกรรม เก็บรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อ
ดําเนินคดีกับผู้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา ๔๐)
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินคณะหนึ่ง เพื่อทําหน้าที่
เสนอมาตรการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินต่อคณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และ
ประกาศ วางระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษา การนําทรัพย์สินออกขายทอดตลาดการนําทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ และการประเมินค่าเสียหายและ
ค่าเสื่อมสภาพกรณีปรากฏภายหลังขายทอดตลาดว่ามิใช่ทรัพย์ที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด ส่งเสริมความร่วมมือของประชาชนเกี่ยวกับการให้
ข้อมูลข่าวสารเพื่อป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕)
คณะกรรมการธุรกรรม ให้มีการตั้งคณะกรรมการธุรกรรมคณะหนึ่ง เพื่อทําหน้าที่ตรวจสอบธุรกรรมหรือทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทํา
ความผิด สั่งยับยั้งการทําธุรกรรมกรณีมีเหตุอันควรสงสัยหรือมีหลักฐานเชื่อได้ว่าเป็นธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกระทําความผิดฐานฟอกเงิน และ
มีอํานาจสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินชั่วคราวกรณีมีเหตุเชื่อได้ว่าอาจมีการโอน จําหน่าย ยักย้าย ปกปิด หรือซ่อนเร้นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทํา
ความผิด (มาตรา ๓๒ และมาตรา ๓๔)
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒
ขั้นตอนการดาเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทาผิด
เมื่อตรวจสอบรายงานและข้อมูลเกี่ยวกับการทําธุรกรรม หากมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการโอน จําหน่าย ยักย้าย ปกปิด หรือซ่อนเร้น
ทรัพย์สินใดที่เป็นทรัพย์สินทีเกี่ยวกับการกระทําความผิด ให้คณะกรรมการธุรกรรมมีอํานาจสั่งยึดทรัพย์สินไว้ชั่วคราวมีกําหนดไม่เกินเก้าสิบ วัน
(มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง) กรณีปรากฏหลักฐานเป็นที่เชื่อได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด ให้เลขาธิการส่งเรื่องให้พนักงานอัยการ
พิจารณาเพื่อยืนคําร้องขอให้ศาลมีคําสั่งให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินโดยเร็ว (มาตรา ๔๙)
เมื่อศาลรับคําร้องแล้ว ให้ศาลสั่งให้ปิดประกาศไว้ที่ศาลนั้น และประกาศอย่างน้อยสองวันติดต่อกันในหนังสือพิมพ์ที่มีจําหน่าย
แพร่หลายในท้องถิ่นเพื่อให้ผู้ซึ่งอาจอ้างว่าเป็นเจ้าของหรือมีส่วนได้เสียในทรัพย์สินมายื่นคําร้องขอก่อนศาลมีคําสั่ง (มาตรา ๔๙ วรรคห้า)
ผู้ซึ่งอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินอาจยื่นคําร้องก่อนศาลมีคําสั่งตามโดยแสดงให้ศาลเห็นว่าตนเป็นเจ้าของที่แท้จริง และทรัพย์สินนั้น
ไม่ใช่ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด หรือตนเป็นผู้รับโอนโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน หรือได้มาโดยสุจริตและตามสมควรในทางศีลธรรม
อันดีหรือในทางกุศลสาธารณะ แต่หากผู้อ้างว่าเป็นเจ้าของหรือผู้รับโอนทรัพย์สินเป็นผู้ซึ่งเกี่ยวข้องหรือเคยเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้กระทําความผิด
มูลฐานหรือความผิดฐานฟอกเงินมาก่อน ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าบรรดาทรัพย์สินดังกล่าว เป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดหรือได้ รับ
โอนมาโดยไม่สุจริต (มาตรา ๕๐และมาตรา๕๑ วรรคสอง)
เมื่อศาลทําการไต่สวนคําร้องของพนักงานอัยการแล้ว หากศาลเชื่อว่าทรัพย์สินตามคําร้องเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด
และคําร้องของผู้ซึ่งอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือผู้รับโอนทรัพย์สินที่ไม่เกี่ยวกับการกระทําความผิดฟังไม่ขึ้น ให้ศาลมีคําสั่งให้ ทรัพย์สินนั้นตก
เป็นของแผ่นดิน
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.๒๕๓๔

ขั้นตอนการดาเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทาผิด
หลักการและเหตุผล โดยที่พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๔๙๗ ใช้บังคับ
มานานแล้ว บทบัญญัติที่มีอยู่ไม่เหมาะสมหลายประการ สมควรปรับปรุงให้มีบทบัญญัติชัดแจ้งว่า การออกเช็คที่
จะมีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้จะต้องเป็นการออกเช็คเพื่อให้มีผลผูกพันและบังคับชําระหนี้ได้ตามกฎหมาย
เท่านั้น และกําหนดให้มีระวางโทษปรับเพียงไม่เกินหกหมื่นบาทเพื่อให้คดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้อยู่ใน
อํ า นาจพิ จ ารณาพิ พ ากษาของศาลแขวง ทั้ ง ให้ ก ารปล่ อ ยชั่ ว คราวผู้ ต้ อ งหาหรื อ จํ า เลยจะกระทํ า โดยไม่ มี
หลั ก ประกั น ก็ ไ ด้ แต่ จ ะให้ มี ห ลั ก ประกั น หลั ก ประกั น นั้ น จะต้ อ งไม่เ กิ น หนึ่ง ในสามของจํ า นวนเงิ นตามเช็ ค
นอกจากนี้สมควรกําหนดให้การฟ้องคดีแพ่งตามเช็คที่มีจํานวนเงินไม่เกินอํานาจพิจารณาของผู้พิพากษาคนเดียว
สามารถฟ้องรวมไปกับคดีส่วนอาญาได้ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒
สาระสาคัญของพระราชบัญญัติ
ในปัจจุบัน การชําระหนี้เงินโดยการออกเช็คเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยการสั่งจ่ายเช็คที่จะเป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องเป็นการ
ออกเช็คเพื่อชําระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย หรือจะกล่าวอีกอย่างคือเป็นการออกเช็คโดยมีเจตนาที่จะชําระหนี้กันจริง และต้องมี
ลักษณะหรือมีการกระทําอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
(๑) เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น
(๒) ในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้
(๓) ให้ใช้เงินมีจํานวนสูงกว่าจํานวนเงินที่มีอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น
(๔) ถอนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินตามเช็คจนจํานวนเงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คนั้นได้
(๕) ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนั้นโดยเจตนาทุจริต (มาตรา ๔ วรรคหนึ่ง)
ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คตามพระราชบัญญัตินี้จะเป็นความผิดก็ต่อเมื่อ ได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมาย และ
ธนาคารได้ปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น โดยความผิดดังกล่าวมีโทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งจําทั้งปรับ
(มาตรา ๔ วรรคสอง) ความผิดดังกล่าวเป็นความผิดที่ยอมความกันได้ ไม่ว่าจะอยู่ในชั้นการสอบสวนของพนักสอบสวนหรือในชั้นการพิจารณาของ
ศาล (มาตรา ๕)
สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญัติความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.๒๕๓๙
ความเบื้องต้ น
เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ คือ เพื่อสร้างหลักความรับผิดของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปอย่าง
เป็นเหตุเป็นผล (rational)กล่าวคือ ภาระหน้าที่ เงินเดือน และความรับผิดของเจ้าหน้าที่นั้น รัฐต้องกําหนดให้ได้สัดส่วน
กันอันจะสร้างความเป็นธรรมให้แก่เจ้าหน้าที่และเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของรัฐ
พระราชบัญญัติฉบับนี้เป็นกฎหมายที่กําหนดหลักการใหม่เกี่ยวกับ ความรับผิดทางละเมิดแตกต่างไปจากที่บัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ หากการละเมิดนั้นเจ้าหน้าที่ได้กระทําขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่
การละเมิดตามหลักเกณฑ์ใหม่นี้เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น หน่วยงานของรัฐจะรับภาระชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ได้รับความเสียหายไปก่อน
แต่หน่วยงานของรัฐจะมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับเจ้าหน้าที่หรือไม่ และเพียงใด จําต้องพิจารณาว่าละเมิดนั้นได้เกิดขึ้นจากการ
กระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของเจ้าหน้าที่ผู้นั้นหรือไม่ และแม้ว่าจะมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับเจ้าหน้าที่ก็อาจจะไล่เบี้ยได้ไม่เต็ม
จํานวน และในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคนก็จะใช้หลักกฎหมายเรื่องลูกหนี้ร่วมตามกฎหมายแพ่งมาใช้บังคับไม่ได้
สําหรับในกรณีที่การละเมิดมิได้เกิดขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิดอันเนื่องมาจากการละเมิดยังเป็นไปตามที่บัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์
การกระทาละเมิดในพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็ นไปตามมาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ซ่ ึงบัญญัติวา่ "ผู้ใดจงใจหรื อประมาทเลินเล่ อทาต่ อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้ เขาเสี ยหายถึงแก่ ชีวติ ก็ดี
แก่ ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์ สินหรื อสิ ทธิอย่ างหนึ่งอย่ างใดก็ดี ท่ านว่ าผู้น้ ันทาละเมิดจาต้ องใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนเพื่อการนั้น"
ความเสียหายจะต้องเกิดจากผลโดยตรงของผู้กระทาด้วย
โดยเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่
การกระทําละเมิดตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ต้องเป็นการกระทําของเจ้าหน้าที่ในการ
ปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งการพิจารณาว่าเป็นการกระทําในการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ มีองค์ประกอบ ๒ ประการดังนี้
(๑) กระทาการในฐานะเจ้าหน้าที่ มาตรา ๔ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ นิยาม
"เจ้าหน้าที่" หมายความว่าข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการหรือ
ฐานะอื่นใด ซึ่งมีความหมายโดยสรุปว่า บุคคลทุกประเภทที่ทํางานให้กับหน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างประจํา ลูกจ้างชั่วคราว กรรมการ
หรือบุคคลที่กฎหมายกําหนดให้เป็นเจ้าหน้าที่ เช่น บุคคลที่ต้องช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายต่าง ๆ เป็นต้นเป็นเจ้าหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้
และเจ้าหน้าที่นี้ได้กระทําการตามที่กฎหมายให้อํานาจไว้
นอกจากจะมีอํานาจหน้าที่ตามกฎหมายแล้ว การกระทําในทางธุรการทั่วไป อาจจะไม่มีกฎหมายกําหนดให้อํานาจไว้เป็นการชัดเจน
แต่หน้าที่ดังกล่าวก็อาจเกิดจากระเบียบหรือข้อบังคับหรือคําสั่งของผู้บังคับบัญชาที่ชอบด้วยกฎหมายก็ได้
การกระทําหรือละเว้นการกระทําในหน้าที่ดังกล่าวมาข้ างต้นหากเกิด ความเสียหายก็เป็ นการกระทําละเมิดในการปฏิบั ติหน้าที่ เช่น
นายอําเภอขับรถราชการเพื่อไปปฏิบัติหน้าที่ระหว่างทางเกิดอุบัติเหตุทําให้บุคคลอื่นได้รับความเสียหาย หรือเป็นเจ้าหน้าที่มีหน้าที่
ดูแลรับผิดชอบทรัพย์สินของทางราชการปล่อยปละละเลยไม่ดูแลรักษาให้ดี เป็นเหตุให้ทรัพย์สินดังกล่าวสูญหายหรือเสียหาย หรือผู้บังคับบัญชามี
หน้าที่ดูแลให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ไม่ดูแลให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติ
หน้าที่ตามระเบียบเป็นเหตุให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริตยักยอกเงินของหน่วยงาน พฤติกรรมเหล่านี้เป็นการกระทําละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่
ความเสียหายจะต้องเกิดจากผลโดยตรงของผู้กระทาด้วย

เจ้ าหน้ าทีน่ ้ ันเป็ นเจ้ าหน้ าทีข่ องหน่ วยงานของรัฐ นอกจากผูก้ ระทําละเมิดจะต้องอยูใ่ นฐานะเจ้าหน้าที่แล้วผูน้ ้ นั จําต้องเป็ นเจ้าหน้าที่ของ
หน่วยงานของรัฐตามที่มาตรา ๔ วรรคสาม ให้ความหมายไว้วา่ "หน่ วยงานของรัฐ" หมายความว่ า กระทรวง ทบวง กรม หรื อส่ วนราชการ
ทีเ่ รียกชื่ ออย่ างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ราชการส่ วนภูมภิ าค ราชการส่ วนท้ องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ต้งั ขึน้ โดยพระราชบัญญัติหรื อพระราช
กฤษฎีกา และให้ หมายรวมถึงหน่ วยงานอื่นของรัฐทีม่ พี ระราชกฤษฎีกากาหนดให้ เป็ นหน่ วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินีด้ ้ วย“
ความรับผิดเพื่อการละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
เมื่อเกิดความเสี ยหายจากการกระทําละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิหน้าที่หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่เยียวยาความเสี ยหายจากการ
กระทําละเมิดนั้นต่อบุคคลภายนอกตามหลักเกณฑ์ที่พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติไว้ซ่ ึงตาม
หลักเกณฑ์น้ ีผเู ้ สี ยหายมีสิทธิที่จะเรี ยกให้หน่วยงานของรัฐดังกล่าวชดใช้ได้ ๒ วิธี คือ
- โดยฟ้องคดีต่อศาล
- โดยขอให้ หน่ วยงานของรัฐชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

กรณีทเี่ จ้ าหน้ าทีก่ ระทาละเมิดต่ อหน่ วยงานของรัฐ จะเป็ นหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั สังกัดอยูห่ รื อหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น หรื อไป
กระทําละเมิดต่อบุคคลภายนอกและหน่วยงานของรัฐได้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนไปแล้ว เจ้าหน้าที่ผกู ้ ระทําละเมิดจะต้องรับผิด
ในมูลละเมิดหรื อไม่เพียงใด เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ดงั นี้
๑. กระทาละเมิดนอกเหนือการปฏิบตั ิหน้ าที่
กรณี ที่เจ้าหน้าที่กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐซึ่ งไม่ใช่การกระทําในการปฏิบตั ิหน้าที่ เช่น เจตนาทุจริ ตยักยอกทรัพย์ของทาง
ราชการ หรื อเอารถของทางราชการไปใช้ประโยชน์ส่วนตัวระหว่างนั้นเกิดอุบตั ิเหตุเป็ นเหตุให้รถยนต์เสี ยหาย หรื อกระทําการใดๆให้
ทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐเสี ยหายอันไม่ได้เกิดจากการปฏิบตั ิหน้าที่ ความรับผิดของเจ้าหน้าที่จะต้องเป็ นไปตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์เช่นเดียวกับเอกชนกระทําละเมิด
๒. กระทาละเมิดในการปฏิบตั ิหน้ าที่
กรณี ที่เจ้าหน้าที่กระทําละเมิดในการปฏิบตั ิหน้าที่ต่อบุคคลภายนอก และหน่วยงานของรัฐได้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่
บุคคลภายนอกไปแล้ว หน่วยงานของรัฐจะมีสิทธิไล่เบี้ยหรื อเรี ยกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนได้เฉพาะกรณี ที่การกระทําละเมิดนั้น
"การกระทาโดยจงใจหรื อประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง" (มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง)
กรณี เจ้าหน้าที่กระทําละเมิดในการปฏิบตั ิหน้าที่ซ่ ึงก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐ สิ ทธิไล่เบี้ยของหน่วยงานของรัฐ
เอากับเจ้าหน้าที่ของตนก็เป็ นเช่นเดียวกันกับกรณี เจ้าหน้าที่กระทําละเมิดต่อบุคคลภายนอกตามที่กล่าวมาข้างต้น (มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง)
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

๓.จานวนค่ าสิ นไหมทดแทนทีห่ น่ วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกจากเจ้ าหน้ าที่


เมื่อหน่วยงานของรัฐมีสิทธิไล่เบี้ย (มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง) หรื อมีสิทธิ เรี ยกค่าสิ นไหมทดแทน (ตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) แล้ว ก็มิได้
หมายความว่าหน่ วยงานของรัฐจะมีสิทธิ ได้รับเงินคืนเต็มจํานวนความเสี ยหาย เพราะการกําหนดจํานวนเงินหรื อความรับผิดนั้น มาตรา ๘
วรรคสอง และวรรคสามบัญญัติไว้ว่า สิ ทธิ เรี ยกให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนตามวรรคหนึ่ งจะมีได้เพียงใดให้คาํ นึ งถึงระดับความร้ายแรงแห่ ง
การกระทําและความเป็ นธรรมในแต่ละกรณี เป็ นเกณฑ์ โดยมิต้องให้ ใช้ เต็มจานวนของความเสี ยหายก็ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจาก
ความผิดหรื อความบกพร่ องของหน่วยงานของรัฐ หรื อระบบการดําเนินงานส่ วนรวม หรื อหากเห็นว่าความเสี ยหายดังกล่าวหน่วยงานของรัฐมี
ส่ วนบกพร่ องอยูด่ ว้ ย ให้หกั ส่ วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย เช่น รถที่เจ้าหน้าที่นาํ ไปใช้ในการปฏิบตั ิหน้าที่อยูใ่ นสภาพที่ไม่เหมาะสม
และมีการแจ้งซ่ อมหลายครั้งแล้วแต่หน่วยงานของรัฐไม่มีงบประมาณจัดซ่ อม ต่อมาเกิดอุบตั ิเหตุอนั เนื่ องจากการกระทําโดยประมาทเลินเล่อ
อย่า งร้ า ยแรงของเจ้า หน้า ที่ ซึ่ ง ถ้า หากรถยนต์ดัง กล่ า วอยู่ใ นสภาพที่ ส มบู ร ณ์ ค วามเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น คงไม่ เ สี ย หายร้ า ยแรงดัง ที่ เ กิ ด ขึ้ น
ความเสี ยหายที่เจ้าหน้าที่ผกู ้ ระทําละเมิดจะต้องรับผิดนั้น หน่วยงานของรัฐที่เสี ยหายจะต้องกําหนดโดยนําความบกพร่ องของตนมาหักออกจาก
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ดว้ ย ๑๐ วรรคหนึ่ง)
ความละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน

มูลละเมิดเกิดจากเจ้ าหน้ าทีห่ ลายคน


มาตรา ๘ วรรคสี่ บัญญัติวา่ "ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้ าหน้ าที่หลาย คนมิให้ นาหลักเรื่ องลูกหนีร้ ่ วมมาใช้ บังคับและเจ้ าหน้ าที่แต่
ละคนต้ องรับผิดใช้ ค่า สิ นไหมทดแทนเฉพาะส่ วนของตนเท่ านั้น" บทบัญญัติน้ ี เป็ นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหลักความรับผิดอย่างลูกหนี้ ร่วม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ซึ่ งเป็ นหลักการที่ไม่สมเหตุสมผล(rational) เพราะอาจเกิดกรณี ที่เจ้าหน้าที่บางคนจะต้องรับผิด
ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนสู งเกินกว่าส่ วนของการกระทําของตนได้ เช่น ในกรณี ที่ไม่สามารถเรี ยกให้เจ้าหน้าที่คนหนึ่งคนใด
รับผิดได้ ภาระการชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนก็จะตกอยูแ่ ก่เจ้าหน้าที่ที่เหลือ ดังนั้นพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.
๒๕๓๙ จึงได้กาํ หนดให้หน่วยงานของรัฐที่ได้รับความเสี ยหายพิจารณากําหนดแบ่งความรับผิดของเจ้าหน้าที่แต่ละคน ว่าแต่ละคนควรจะต้อง
รับผิดชดใช้เป็ นเงิน เท่าใด เมื่ อเจ้ าหน้ าที่คนใดได้ ชดใช้ ส่วนของตนไปแล้ วก็ พ้นความรั บผิดสาหรั บหลักเกณฑ์ การพิจารณาว่ าเจ้ าหน้ าที่ที่
กระทาละเมิดนั้น กระทาละเมิดในการปฏิบตั ิหน้ าทีห่ รื อไม่ พฤติกรรมเป็ นการจงใจหรื อประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรงหรื อไม่ และหาก
ต้ องรั บผิดจะรั บผิดเป็ นจานวนเงินเท่ าใด หรื อหากต้ องรั บผิดในมูลละเมิดหลายคนนั้นเจ้ าหน้ าที่แต่ ละคนนั้นมีส่วนในความรั บผิดเท่ าใด
หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ เหล่ านีไ้ ด้ กาหนดไว้ ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การปฏิบตั ิเกีย่ วกับความรับผิด ทางละเมิด
ของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งจะได้ กล่ าวต่ อไป
ความละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน

อายุความ
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติอายุความ ในการไล่เบี้ยและใช้สิทธิ ฟ้องร้องต่อศาลไว้ใน
มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ เป็ นการเฉพาะแตกต่างจาก อายุความทัว่ ไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ดังนี้
อายุความไล่ เบีย้
มาตรา ๙ แห่ ง พระราชบัญ ญัติ ค วามรั บ ผิ ด ทางละเมิ ด ของเจ้า หน้า ที่ พ.ศ.๒๕๓๙ บัญ ญัติ อ ายุค วามในการใช้สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย ไว้ว่ า
"ถ้ าหน่ วยงานของรั ฐหรื อเจ้ าหน้ าที่ได้ ใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ ผ้ ูเสี ยหาย สิ ทธิ ที่จะเรี ยกให้ อีกฝ่ ายหนึ่งชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ ตน ให้ มี
กาหนดอายุความหนึ่งปี นับแต่ วันทีห่ น่ วยงานของรั ฐหรื อเจ้ าหน้ าทีไ่ ด้ ใช้ ค่าสินไหมทดแทนนั้นแก่ ผ้ เู สียหาย"
อายุความเรียกร้ องของหน่ วยงานของรัฐต่ อเจ้ าหน้ าที่
มาตรา ๑๐ บัญญัติอายุความในกรณี ที่หน่วยงานของรัฐจะใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาล เรี ยกให้เจ้าหน้าที่ที่กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
รับผิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนไม่วา่ การกระทําละเมิดดังกล่าวเจ้าหน้าที่กระทําในการปฏิบตั ิหน้าที่หรื อนอกการปฏิบตั ิหน้าที่กต็ าม โดยมี
หลักเกณฑ์ ดังนี้
ความละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน

(๑) อายุความ ๒ ปี
กรณี เกิ ดความเสี ยหายขึ้นและหน่ วยงานของรัฐได้ต้ งั กรรมการสอบข้อเท็จจริ งและหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐได้พิจารณารายงานของ
คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งแล้ว ได้วินิจฉัยว่า ความเสี ยหายที่เกิดขึ้นมีเจ้าหน้าที่รายหนึ่ งหรื อหลายรายจะต้องรับผิด กรณี น้ ี ก็ถือว่าในวัน
ดังกล่าว เป็ นวันที่หน่วยงานของรัฐรู ้ถึงการกระทําละเมิดและรู ้ตวั เจ้าหน้าที่ผูจ้ ะพึงต้องชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ซึ่ งสิ ทธิ ของหน่วยงานของรัฐ
จะเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ที่กระทําละเมิดที่มีกาํ หนดสองปี จะเริ่ มเดินสาเหตุที่กฎหมายได้กาํ หนดอายุความไว้ยาวกว่าอายุความ
ละเมิ ดทัว่ ไปก็เนื่ องจากหลังจากหน่ วยงานของรั ฐมี คาํ วินิจฉัยแล้วหน่ วยงานของรัฐจะต้องรายงานกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณาและมี
ความเห็นก่อนหน่วยงานของรัฐจะดําเนิ นการเรี ยกให้เจ้าหน้าที่ผกู ้ ระทําละเมิดชดใช้ทนั ทีไม่ได้ดว้ ยเหตุผลดังกล่าวจึงต้องกําหนดอายุความให้
ยาวกว่าอายุความละเมิดทัว่ ไป
(๒) อายุความ ๑ ปี
ถ้ากรณี ที่หวั หน้าหน่วยงานของรัฐได้วนิ ิจฉัยว่าการกระทําละเมิดของเจ้าหน้าที่วา่ เจ้าหน้าที่ไม่ตอ้ งรับผิดเนื่องจากไม่เป็ นการกระทําโดย
จงใจหรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง แต่ต่อมาได้รายงานไปยังกระทรวงการคลัง และกระทรวงการคลังกลับเห็นว่าเจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั จะต้องรับ
ผิดชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนในความเสี ยหายที่เกิ ดขึ้น อายุความที่หน่ วยงานของรัฐจะใช้สิทธิ ฟ้องต่อศาลเรี ยกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสิ นไหม
ทดแทนจะมีเพียงหนึ่งปี
กฎหมายเกี่ยวกับหนี้สิน

หนี้ ตาม ปพพ. มิได้มีความหมายเฉพาะการกูย้ มื เงิน แต่หมายถึง ความผูกพันที่สามารถใช้สิทธิเรี ยกร้องได้ตามกฎหมาย เช่น หนี้โดยการละเมิด
หนี้โดยกฎหมาย เช่น ภาษีอากร เป็ นต้น
องค์ ประกอบของหนี้
๑. การมีนิติสมั พันธ์ (ความผูกพันกันในกฎหมาย) หากกฎหมายไม่รองรับการนั้นก็ไม่เกิดหนี้ผกู พันด้วย
๒. การมีเจ้าหนี้และลูกหนี้ (เป็ นบุคคลสิ ทธิ)
๓. ต้องมีวตั ถุแห่งหนี้ ได้แก่
– หนี้กระทําการ เช่น ลูกจ้างต้องทํางานให้นายจ้าง
– หนี้งดเว้นกระทําการ เช่น ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่ วนต้องงดเว้นไม่ทาํ การค้าแข่งกับห้างหุน้ ส่ วน
– หนี้ส่งมอบทรัพย์สิน(หรื อโอนกรรมสิ ทธิ์) เช่น ผูใ้ ห้เช่าต้องส่ งมอบทรัพย์สินซึ่ งให้เช่า
บ่อเกิดแห่งหนี้

๑. หนี้เกิดโดย นิติกรรม-สัญญา ซึ่งเมื่อมีการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้น ก็ย่อมเกิดความเป็นเจ้าหนี้ -ลูกหนี้ขึ้น โดยปกติ เมื่อเกิดหนี้ ลูกหนี้จะ


หลุดพ้นจากเคราะห์แห่งหนี้ได้ด้วยการชําระหนี้ ซึ่งจะชําระหนี้อย่างไรนั้น ย่อมเป็นไปตามที่ตกลงในสัญญาที่ทําลง กฎหมายจะไม่ยุ่งเกี่ย ว แต่จะ
คอยควบคุมอยู่กว้าง ๆ มิให้ออกนอกกรอบที่กฎหมายระบุ เพราะนิติกรรมเป็นบรรดากรณีที่กฎหมายไม่อาจกล่าวได้ทั้งหมด เช่นการซื้อขายรถยนต์
ก า ร เ ช่ า ห มู เ ป็ น ต้ น ก า ร ต ก ล ง กั น ท า ง ธุ ร กิ จ ก ฎ ห ม า ย จึ ง ไ ม่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ด้ ว ย แ ต่ กํ า ห น ด ก ร อ บ มิ ใ ห้ ก ร ะ ทํ า ทุ จ ริ ต เ ท่ า นั้ น
บางทีมีการกระทํา(ซึ่งมีผลทางกฎหมาย) แต่มิได้มุ่งหมายผูกพันประการใด เช่น เราทําละเมิดตีหัวคนอื่นเขา แต่มิใช่เป็นเรื่องที่จะผูก
นิติสัมพันธ์ว่า เมื่อตีหัวเขาแล้วจะใช้ค่าสินไหมทดแทนให้เขา จึงปรับเข้าลักษณะนิติกรรมไม่ได้ [3] กระนั้น ผู้ทําผิดดังกรณีนี้เป็นละเมิด ไม่ต้องชดใช้
ค่าเสียหายกระนั้นหรือ? กฎหมายเองได้คุ้มครองกรณีนี้ไว้ เรียกว่า “นิติเหตุ”
๒. หนี้เกิดโดยนิติเหตุ คือ เหตุที่เกิดขึ้นโดยการกระทําซึ่งไม่มุ่งก่อให้เกิดผลตามกฎหมาย แต่กฎหมายจะเอาเรื่องว่า กระทําดั่งนี้ผิด
และต้องชดใช้ เช่น ละเมิด ลาภมิควรได้(ได้ทรัพย์สินเกินส่วนที่ควรจะได้) หรือ เป็นนิติเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ เช่น บุตรจําเป็นต้องอุปการะเลี้ยง
ดูบิดามารดา(กรณีนี้เป็นหนี้เนื่องจากสถานะของบุคคล)[4] เป็นต้น โดยผู้กระทําผิดตามหนี้ลักษณะนี้ ต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทน ซึ่งศาลจะเป็นผู้
วินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งเหตุ
บ่อเกิดแห่งหนี้

กาหนดการชาระหนี้
หากคู่กรณีมิได้กําหนดเวลาชําระหนี้ไว้แน่นอน กฎหมายให้ถือว่า หนี้นั้นต้องถึงกําหนดชําระโดยพลัน แต่ถ้าตกลงกันไว้แล้ว ก็ให้เป็นไป
ตามที่ตกลงไว้
การชําระดอกเบี้ย หากตกลงอัตราดอกเบี้ยกันไว้ กฎหมายให้คิดอัตราไม่เกินร้อยละ15ต่อปี
กรณีมิได้ตกลงอัตราดอกเบี้ยกันไว้ ให้คิดอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี
*หากฝ่าฝืน คิดดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกําหนด คือ เกินร้อยละ 15 ต่อปี กฎหมายให้ถือว่าดอกเบี้ยนั้น เป็นโมฆะ มิให้คิดดอกเบี้ย
เลย แต่เงินต้น(ที่เป็นหนี)้ นั้น ลูกหนี้ยังคงต้องชําระอยู่
สาระสาคัญธนาคารพาณิชย์
กํ า หนดว่ า ธนาคารพาณิ ช ย์ หมายถึ ง ธนาคารที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ ป ระกอบการธนาคารพาณิ ช ย์ แ ละสาขาของธนาคาร
ต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีให้ประกอบการธนาคารพาณิชย์ โดยธนาคารพาณิชย์ที่ไม่ใช่สาขาของธนาคารต่างประเทศจะต้อง
ตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนจํากัดเท่านั้นและบุคคลใดจะถือหุ้นธนาคารพาณิชย์ใดเกินร้อยละห้าของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ
ธนาคารพาณิชย์นั้นไม่ได้ เว้นแต่เป็นไปตามข้อยกเว้นที่ พ.ร.บ. นี้กําหนดไว้ นอกจากนี้ผู้ถือหุ้นในธนาคารพาณิชย์จํานวนไม่ต่ํากว่าสามใน
สี่ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดต้องเป็นผู้มีสัญชาติไทย และต้องมีกรรมการเป็นบุคคลสัญชาติไทยไม่ต่ํากว่าสามในสี่ของจํานวน
กรรมการทั้งหมด เมื่อธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้ตั้งสํานักงานใหญ่หรือสํานักงานสาขา ณ ที่ใดแล้ว จะย้ายสํานักงานนั้นไม่ได้ เว้น
แต่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย
สาระสาคัญธนาคารพาณิชย์
ให้ธนาคารพาณิชย์เท่านั้นประกอบการธนาคารพาณิชย์ อันได้แก่ การประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงิน และใช้ประโยชน์เงินนั้นในทาง
หนึ่งหรือหลายทาง เช่น การให้สินเชื่อ เป็นต้น และเมื่อได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยแล้วธนาคารพาณิชย์ก็อาจทําธุรกิจที่เกี่ยวกับหรือ
เนื่องจากการธนาคารพาณิชย์หรือธุรกิจอันเป็นประเพณีที่ธนาคารพาณิชย์พึงทําได้ เช่น การเรียกเก็บเงินตามตั๋วเงิน การค้ําประกัน เป็นต้น โดยใน
การดําเนินการธนาคารพาณิชย์ต้องดํารงเงินกองทุน, ดํารงเงินสดสํารอง และดํารงสินทรัพย์สภาพคล่องตามที่กําหนดไว้ และจะต้องไม่กระทําการ
ใดๆ ที่ พ.ร.บ. นี้กําหนดห้ามไว้ด้วย (มาตรา ๑๒, มาตรา ๑๒ จัตวา และมาตรา ๑๓) นอกจากนี้ ยังกําหนดให้ธนาคารแห่งประเทศไทยมีอํานาจ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขให้ธนาคารพาณิชย์ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการรับฝากเงิน การกู้ยืมเงิน หรือการซื้อ
ขายตั๋วแลกเงินหรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใดได้ รวมทั้งมีอํานาจกําหนดให้ธนาคารพาณิชย์ปฏิบัติในเรื่องอื่นๆ เช่น อัตราดอกเบี้ยได้อีกด้วย แต่ต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี และประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สรุปกฎหมายตราสารหนี้

ตราสารหนี้ หมายถึง ตราสารทางการเงินที่แสดงความเป็นหนี้ ซึ่งเป็นภาระผูกพันทางกฎหมายระหว่าง เจ้าหนี้ กับ ลูกหนี้ เจ้าหนี้คือผู้


ซื้อตราสารหนี้หรือผู้ลงทุน ส่วนลูกหนี้คือผู้ออกตราสารหนี้ โดยผู้ซื้อตราสารหนี้จะได้รับผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ยหรือส่วนลดจากราคาตรา
ตามอัตราและเวลาที่ตกลงกัน และมีสิทธิได้รับชําระหนี้ก่อนผู้ถือหุ้น
ตราสารหนี้โดยทั่วไปมีองค์ประกอบที่สําคัญ เช่น ชื่อผู้ออกตราสาร ต้นเงินหรือมูลค่าที่ตราไว้ วันครบกําหนดไถ่ถอน อัตราดอกเบี้ยหรือ
ผลประโยชน์ที่ผู้ซื้อจะได้รับ งวดการจ่ายดอกเบี้ยหรือวันที่จ่ายดอกเบี้ย ประเภทของตราสารหนี้ และข้อสัญญาหรือเงื่อนไขของตราสารหนี้ เป็นต้น
สรุปกฎหมายตราสารหนี้
การแบ่งประเภทตราสารหนี้อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ดังนี้
1. แบ่งตามอายุของตราสารหนี้ ได้แก่ ตราสารหนี้ที่มีอายุสั้น กลาง และยาว
2. แบ่งตามลักษณะของการจ่ายดอกเบี้ย เช่น ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่ ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราลอยตัวตราสารหนี้ที่
จ่ายดอกเบี้ยทบต้น หรือตราสารหนี้ที่ไม่จ่ายดอกเบี้ย เป็นต้น
3. แบ่งตามลักษณะการออกใบตราสาร ได้แก่
3.1 ชนิดมีใบตราสาร (Scrip) เป็นตราสารหนี้ที่มีการออกใบตราสารซึ่งระบุชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ไว้ให้ครอบครอง
3.2 ชนิดไร้ใบตราสาร (Scripless) เป็นตราสารหนี้ที่บันทึกกรรมสิทธิ์ไว้ในบัญชีของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์โดยไม่มีการออกใบตราสาร
4. แบ่งตามประเภทของผู้ออกตราสารหนี้ ได้แก่
4.1 ตราสารหนี้ภาคเอกชน หมายถึง ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน ซึ่งอยู่ในการควบคุมดูแลของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เช่น ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือหุ้นกู้ เป็นต้น
4.2 ตราสารหนี้ภาครัฐ หมายถึง ตราสารหนี้ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง หรือหน่วยงานภาครัฐ ออกจําหน่ายเพื่อระดมทุนในประเทศจาก
ประชาชนและสถาบันการเงิน
พรก.บริษัทบริหารสินทรัพย์
พรก.บริษัทบริหารสินทรัพย์ คือ พระราชกําหนดบริษัทบริหารสินทรัพย์ พ.ศ. 2541 ประกาศใช้เพื่อให้มี
กลไกการจดทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์ ซึ่งบริษัทดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางด้านค่าธรรมเนียมและได้รับ
ยกเว้นภาษีจากการซื้อขายหรือรับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ หรือหลักประกันของสินทรัพย์นั้นจากสถาบันการเงิน
นอกจากนี้ ธปท. มีอํานาจกํากับดูแลบริษัทบริหารสินทรัพย์
ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ คือ ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (“NPLs”) โดยการซื้อ NPLs จากธนาคารและ
สถาบันการเงินอื่น และนํามาบริหารจัดการด้วยการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้กับลูกหนี้เพื่อให้ได้ข้อตกลงที่เป็นที่พึง
พอใจของทุกฝ่ายเท่าที่เป็นไปได้ เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้และแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน และธุรกิจบริหารจัดการ
ทรัพย์สินรอการขาย
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545

สมาชิกทุกรายมีหน้าที่ส่งข้อมูลของลูกค้าสินเชื่อของตนให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิตตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามที่


คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลเครดิตประกาศกําหนดตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หาก
สมาชิกฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามจะต้องได้รับโทษตามกฎหมาย เช่น การไม่ส่งข้อมูลให้บริษัทข้อมูลเครดิต มีโทษปรับไม่เกิน 5 แสนบาทและมีค่าปรับ
รายวันอีกไม่เกินวันละ 1 หมื่นบาทจนกว่าจะปฏิบัติถูกต้อง หรือกรณีที่สมาชิกรู้ว่าข้อมูลที่ส่งให้บริษัทข้อมูลเครดิตมีความไม่ถูกต้องแต่สมาชิกมิได้
แก้ไขและส่งข้อมูลที่ถูกต้องให้บริษัทข้อมูลเครดิต อาจเข้าข่ายฝ่าฝืนกฎหมายที่กําหนดให้สมาชิกส่งข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัยอยู่เสมอ ซึ่งมีโทษ
ปรับไม่เกิน 3 แสนบาทและค่าปรับรายวันอีกไม่เกินวันละ 1 หมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545

กรณีที่ 2 การแจ้งให้ลูกค้าทราบการส่งข้อมูลให้บริษัทข้อมูลเครดิตเพิ่มเติมในครั้งต่อ ๆ ไป กฎหมายกําหนดว่าข้อมูลของลูกค้าในปี


บัญชีใดหรือปีปฏิทินใดที่สมาชิกส่งให้บริษัทข้อมูลเครดิต สมาชิกต้องแจ้งให้ลูกค้าทราบภายในปีบัญชีหรือปีปฏิทินนั้น หรือไม่เกินกว่ า 30 วันนับแต่
วันสิ้นปีบัญชีหรือวันสิ้นปีปฏิทินนั้น โดยอาจแจ้งทุกครั้งที่มีการส่งข้อมูลหรือรวบรวมแจ้งในคราวเดียวกันก็ได้ โดยสมาชิกจะขอขยายระยะเวลาอีก
ไม่ได้ และหากจะเปลี่ยนแปลงรอบการแจ้งการส่งข้อมูลดังกล่าวต้องแจ้งให้ลูกค้าทราบล่วงหน้าด้วย
กรณีที่สมาชิกไม่แจ้งให้ลูกค้าทราบหรือไม่แจ้งภายในระยะเวลาที่กล่าวข้างต้น สมาชิกจะต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่
เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
การเรียกดูข้อมูลของลูกค้าจากบริษัทข้อมูลเครดิต
สมาชิกสามารถเรียกดูข้อมูลของลูกค้าเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์สินเชื่อและการออกบัตรเครดิตได้ โดยลูกค้าต้องให้ความยินยอมแก่
บริษัทข้อมูลเครดิตในการเปิดเผยข้อมูลก่อนเสมอ ยกเว้นกรณีทบทวนสินเชื่อ หรือการต่ออายุสัญญาสินเชื่อและสัญญาบัตรเครดิต ซึ่งลูกค้า เคยให้
ความยินยอมไว้แล้ว สมาชิกสามารถเรียกดูข้อมูลของลูกค้าได้โดยไม่ต้องขอให้ลูกค้าให้ความยินยอมอีก
Thank You

You might also like