Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 25

The World's Oldest Civilizations

Mesopotamia
➢ Mesopotamia เป็นภาษากรีก หมายถึง “ระหว่างแม่น้า” เป็นส่วน
หนึ่งของดินแดนจันทร์เสียวอันสมบูรณ์ (Fertile Crescent)
➢ น้าจากแม่น้าไทกริสและยูเฟรติสจะพัดพาเอาโคลนตมมาทับถมที่ปาก
แม่น้า ท้าให้พืนดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ท้า
ให้ ผู้ ค นอพยพมาตั งหลั ก แหล่ ง ในบริ เ วณนี และได้ ส ร้ า งสรรค์
อารยธรรมอันยิ่งใหญ่ต่อมา
กลุ่มชนที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ได้แก่
▪ ชาวสุเมเรียน
▪ ชาวอัคคาเดียน
▪ ชาวอมอไรต์
▪ ชาวอัสซีเรียน
▪ ชาวคาลเดียน
➢ ราว 4000 BCE ชาวสุเมเรียนเข้ามาตังถิ่นฐานบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้า
ไทกริส-ยูเฟรติส ซึ่งต่อมาเรียกว่า ดินแดนซูเมอร์ Sumer และพัฒนาขึน
เป็นชุมชนเมือง มีลักษณะเป็นนครรัฐ (City State) ราว 3500-3000 BCE
แต่ละรัฐเป็นอิสระต่อกัน เมืองที่ส้าคัญของชาวสุเมเรียน ได้แก่ เมืองเออร์
(Ur) เมืองอิริดู (Eridu) เมืองอิเรค (Ereck) เมืองลากาช (Lagash) และ
เมืองนิปเปอร์ (Nippur)
➢ ชาวสุเมเรียนสามารถพัฒนาระบบชลประทานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการ
ประดิษฐ์คันไถและใช้วัวไถนา
➢ นอกจากนันยังมีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ รู้จักการคูณและการหาร
➢ มรดกทางวัฒนธรรมที่ส้าคัญที่สุดของชาวสุเมเรียน คือ อักษรคูนิฟอร์ม
มาจากภาษาละตินว่า คูนิอูส (cuneus) หมายถึง ลิ่ม มีวรรณกรรมส้าคัญ
คือ มหากาพย์กิลกาเมซ (Epic of Gilgamesh) ซึ่งกล่าวถึงต้านานน้า
ท่วมโลก
➢ ราว 2350 BCE ชาวอัคคาเดียนได้ยกทัพเข้ามารุกรานและยึดครองนคร
รัฐของชาวสุเมเรียน และสถาปนาอาณาจักรอัคคาเดียนขึน
➢ อาณาจักรอัคคาเดียนล่มสลายราว 2100 BCE เมื่อราชวงศ์แห่งเมืองเออร์
ฟื้นฟูอ้านาจขึนมาใหม่ได้ส้าเร็จ
➢ ช่วง 2000 BCE ชาวอมอไรต์อพยพจากทะเลทรายอารเบียเข้าพิชิตนครรัฐ
ของชาวสุเมเรียน และสถาปนาอาณาจักรบาบิโลเนียขึน โดยมีเมืองบาบิโลน
เป็นเมืองหลวงอยู่บนชายฝั่งแม่น้ายูเฟรติส
➢ กษัตริย์องค์ส้าคัญของบาบิโลเนีย คือ พระเจ้าฮัมมูราบี พระองค์สามารถน้า
ทัพปราบปรามพวกสุเมเรียนและอัคคาเดียนได้อย่างราบคาบ และยังตรา
ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีขึน (Code of Hammurabi) ถือเป็นประมวล
กฎหมายที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
➢ บาบิโลเนียเสื่อมลง และถูกพวกฮิตไตท์จากที่ราบสูงอนาโตเลียเข้ายึดครอง
ราว 1600 BCE และครองอ้านาจอยู่ราว 500 ปี พวกอัสซีเรียก็เข้ามายึด
ครอง
➢ ชาวอัสซีเรียตังถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของลุ่มแม่น้าไทกริส ต่อมาได้ขยาย
อ้านาจลงมาเรื่อยๆ จนมีอ้านาจเหนือลุ่มแม่น้าไทกริส -ยูเฟรติสทังหมด และ
สถาปนาอาณาจักรอัสซีเรียราว 1300 BCE
➢ อาณาจักรอัสซีเรียครองอ้านาจยาวนานร่วมหกร้อยปี เนื่องจากมีกองทัพและ
อาวุ ธ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง แต่ สุ ด ท้ า ยก็ ล่ ม สลายเมื่ อ พ่ า ยแพ้ ต่ อ ชาวคาลเดี ย นใน
ช่วงเวลาประมาณ 612 BCE
➢ ชาวคาลเดี ย นสถาปนากรุ ง บาบิ โ ลนขึ นเป็ น เมื อ งหลวงอี ก ครั ง
อาณาจั ก รของพวกคาลเดี ย นจึ ง เรี ย กว่ า บาบิ โ ลเนี ย ใหม่ (Neo-
Babylonian Empire)
➢ อาณาจักรบาบิโลเนียใหม่ยั่งยืนอยู่ได้ไม่ถึงร้อยปี ประมาณ 549 BCE
ก็ถูกพระเจ้าไซรัส กษัตริย์แห่งเปอร์เซียยกทัพเข้ามารุกราน และยึด
บาบิโลนได้ส้าเร็จ ท้าให้ดินแดนเมโสโปเตเมียถูกผนวกกลายเป็นส่วน
หนึ่งของอาณาจักรเปอร์เซียในที่สุด
Economy and Society
➢ ชาวสุ เ มเรี ย นสามารถพั ฒ นาระบบชลประทานได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ เช่น เขื่อนกันน้า อ่างเก็บน้า และขุดคลองส่งน้า
ท้าให้สามารถส่งน้าจากแหล่งน้าหลักไปยังพืนที่ห่างไกลได้
➢ การประดิษฐ์คันไถและใช้แรงงานวัวในการไถนาท้าให้ขยาย
พืนที่การเพาะปลูกได้มากขึน พบว่ามีการปลูกข้าวบาเลย์ ข้าว
สาลี หัวหอม องุ่น หัวผักกาด แอปเปิ้ล อินทผลัม
➢ อุตสาหกรรมที่ส้าคัญคือ เครื่องปั้นดินเผา ทอผ้าขนสัตว์ ช่าง
โลหะ
➢ ช่วงนครรัฐเกิดการแบ่งชนชันในสังคมแล้ว แต่ยังไม่ซับซ้อนมากนัก โดยชน
ชันสูง ได้ แ ก่ นัก บวชและนั กรบ ส่ว นชนชันสามั ญชนประกอบด้ว ยชาวนา
ช่างฝีมือ และทาส
➢ ในสมัย อาณาจักร เศรษฐกิจยังคงอยู่ ที่การเกษตร แต่โครงสร้างสังคมเริ่ ม
ซับซ้อนขึน เนื่องจากมีการปกครองระบบกษัตริย์ ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี
บ่งบอกว่าสังคมสมัยบาบิโลเนียประกอบด้วย 3 ชนชัน – ชนชันสูง ได้แก่
กษัตริย์ นักบวช และขุนนาง / ชนชันกลาง ได้แก่ ช่างฝีมือและพ่อค้า / ชน
ชันต่้า ได้แก่ ชาวนาและทาส
➢ มีการติดต่อค้าขายกับต่างแดน ได้แก่ อียิปต์และชุมชนในอารยธรรมฮารัปปา
Mesopotamian religion
➢ ศาสนาของชาวอารยธรรมเมโสโปเตเมียเป็นศาสนาแบบพหุ
เทวนิยม และเป็นเสมือนศูนย์กลางของวิถีชีวิตของประชาชน
➢ ชาวอารยธรรมเมโสโปเตเมียเชื่อว่าเทพเจ้าเป็นอมตะและสูงส่ง
กว่ามนุษย์ ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเกิดขึนภายใต้อ้านาจของเทพเจ้า
และทุกหนทุกแห่งมีเทพเจ้าสถิตย์อยู่
➢ เทพเจ้าที่ส้าคัญ 3 อันดับแรก คือ อนูหรืออัน (Anu/An) - เทพ
เจ้าแห่งท้องฟ้า / กี (Ki) - เทพีแห่งผืนดิน / เอนกิ (Enki) –
เทพเจ้าแห่งน้าและสายฝน
➢ ชาวอารยธรรมเมโสโปเตเมียเชื่อว่ามนุษย์เกิดมาเพื่อปฏิบัติภารกิจที่เทพเจ้ามี
พระประสงค์ โดยเทพเจ้าจะส่งข้อความผ่านนักบวชและกษัตริย์ผ่านพิธีกรรม
ต่างๆ เช่น บูชายัญสัตว์ ดูดวงดาว ท้านายฝัน เป็นต้น
➢ นักบวชจะเป็นผู้ดูแลทรัพย์สมบัติของเทพเจ้า วัดจึงร่้ารวยและมีอ้านาจมาก
โดยเฉพาะวัดหลวง
Ancient Egypt
➢ อียิปต์เป็นดินแดนแห้งแล้ง แต่ได้รับการหล่อ
เลี ยงจากแม่ น้ า ไนล์ ซึ่ ง ไหลมาจากภู เ ขาใน
อบิสซิเนีย ความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้าไนล์
มาจากตะกอนโคลนที่มาทับถมกัน
➢ สภาพทางภู มิ ศ าสตร์ ที่ ล้ อ มด้ ว ยทะเลทราย
และยังมีแม่น้าไนล์ที่เปรียบเหมือนเส้นเลือด
หล่ อ เลี ยงชาวอิ ยิ ป ต์ และยั ง เป็ น เส้ น ทาง
คมนาคมส้าคัญ ท้าให้หมู่บ้านแถบลุ่มแม่น้า
ไนล์ ข ยายตั ว เป็ น ชุ ม ชนใหญ่ เกิ ด เป็ น เมื อ ง
ขึนมา และรวมตัวเป็นอาณาจักรในที่สุด
➢ แรกเริ่มอียิปต์แบ่งเป็น 2 อาณาจักร ได้แก่ อียิปต์บน (อยู่ทางใต้ของลุ่มน้า
ไนล์) และอียิปต์ล่าง (อยู่ทางเหนือของสามเหลี่ยมปากแม่น้าไนล์)
➢ ราว 3100 BCE กษัตริย์เมนิส (Menes) แห่งอียิปต์บนจึงรวมสองอาณาจักร
ได้ส้าเร็จ และสถาปนาตนเป็น “ฟาโรห์”
➢ นักประวัติศาสตร์แบ่งยุคอียิปต์โบราณเป็น 3 ยุค – สมัยอาณาจักรเก่า (the
Old Kingdom), สมัยอาณาจักรกลาง (the Middle Kingdom), และสมัย
อาณาจักรใหม่หรือสมัยจักรวรรดิ (the New Kingdom/Empire)
➢ อาณาจักรอียิปต์ด้ารงอยู่ต่อมาเป็นเวลาร่วมสามพันปี แม้จะมีบางช่วงถูกชน
กลุ่มอื่นรุกราน แต่ชาวอียิปต์ก็ยึดอาณาจักรคืนมาได้และตังราชวงศ์ใหม่
ปกครองต่อ
➢ อาณาจักรอียิปต์เริ่มเสื่อมหลังสมัยฟาโรห์รามเมเซสที่ 3 (1186–1155 BCE)
ช่วงหลัง 945 BCE อียิปต์ถูกอาณาจักรอื่นยึดครองบ่อยครัง
➢ 332 BCE อเล็กซานเดอร์ มหาราชท้าสงครามแผ่ขยายอ้านาจมาถึงอียิปต์
และสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์อียิปต์ และก่อตังเมืองอเล็กซานเดรียขึนที่ปาก
แม่น้าไนล์
➢ หลังสินพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ปโตเลมี แม่ทัพของอเล็กซานเดอร์ก็ปกครอง
อียิปต์ต่อมาในนามราชวงศ์ปโตเลมี ซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายแห่งอาณาจักร
อียิปต์ก่อนที่จะถูกจักรวรรดิโรมันยึดครองเมื่อ 30 BCE
➢ อี ยิ ป ต์ มี วิ ท ยาการที่ รุ่ ง เรื อ งมาก ชาวอี ยิ ป ต์ ป ระดิ ษ ฐ์ ตั ว อั ก ษรได้ ตั งแต่
ประมาณ 4000 BCE มีลักษณะเป็นอักษรภาพ เรียกว่า อักษรเฮียโรกลิฟฟิก
นอกจากนันมีความก้าวหน้าด้านวิทยาการอย่างสูง โดยเฉพาะด้านศิลปกรรม
และสถาปั ต ยกรรม ซึ่ ง หลั ก ฐานความเจริ ญ ในด้ า นวิ ศ วกรรมและ
สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นที่สุด ได้แก่ ปิรามิด
Economy and Society
➢ อียิปต์มีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าดินแดนเมโสโปเตเมีย ชาว
อียิปต์สามารพัฒนาระบบการชลประทานจนมีประสิทธิภาพสูง
จนผลิ ต พื ช ผลได้ ม าก นอกจากผลผลิ ต ทางการเกษตร ยั ง มี
อุ ต สาหกรรมอี ก หลายอย่ า งด้ ว ย เช่ น ผ้ า ลิ นิ น เครื่ อ งแก้ ว
กระดาษปาปิรุส
➢ มีการท้าการค้ากับต่างแดน สินค้าที่ส้าคัญคือ ลูกปัดแก้วและ
เครื่องประดับหินสีต่างๆ
➢ อียิปต์มีการแบ่งชนชันที่ชัดเจน โดยมีกษัตริย์หรือฟาโรห์ เป็นผู้น้าสูงสุด ค้าสั่ง
ของฟาโรห์ถือเป็นกฎหมาย รองลงมาคือนักบวชและขุนนาง ล้าดับที่สามคือ
กลุ่มพ่อค้าและช่างฝีมือ ส่วนชนชันล่างสุดคือ ชาวนาและทาส
➢ สถานะของฟาโรห์เกี่ยวข้องกับศาสนาอย่างมาก ชาวอียิปต์เชื่อว่าฟาโรห์สืบ
เชือสายจากเทพเจ้า มีความเป็นอมตภาวะ แม้แต่นักบวชก็ไม่สามารถบรรลุ
อมตภาวะได้ ต้องอาศัยพลังและความโปรดปรานของฟาโรห์ โดยการอุทิศตน
รับใช้ฟาโรห์อย่างเต็มที่ ดังจะเห็นว่านักบวชและขุนนางมักสร้ างสุสานไว้
ใกล้ๆ ปิรามิดของฟาโรห์ กล่าวได้ว่า กษัตริย์ใช้ความเชื่อทางศาสนาเป็น
เครื่องมือในการปกครอง
Ancient Egyptian religion
➢ ชี วิ ต ของชาวอี ยิ ป ต์ ผู ก พั น กั บ ศาสนาอย่ า งมาก ศาสนาเป็ น
พืนฐานของการเมือง เศรษฐกิจ ศิลปะและวิทยาการต่างๆ
➢ ศาสนาของชาวอียิปต์เป็นศาสนาพหุเทวนิยม เทพเจ้าที่ส้าคัญ
ได้แก่ รา (Ra) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ผู้ให้ก้าเนิดทุก
สรรพสิ่ง เป็นราชาแห่งเทพ ฟาโรห์ล้วนสืบเชือสายมากจาก
เทพเจ้ารา
➢ มีการบูชาสัตว์ห ลายชนิด เช่น จระเข้ แมว เหยี่ยว วัว สุนัข
เป็นต้น เนื่องจากเชื่อว่าเทพเจ้าแสดงตนเป็นสัตว์เหล่านี
➢ ชาวอียิปต์เชื่อเรื่องความคงอยู่หลังความตาย จึงมีพิธีกรรมท้ามัมมี
เพื่อรักษาร่าง การสร้างสุสาน
➢ ฟาโรห์มีสถานะเป็นเทพเจ้า ค้าสั่งของฟาโรห์เปรียบเหมือนค้าสั่งของ
เทพเจ้า ฟาโรห์ปกครองอียิปต์มาตังแต่ก้าเนิดจักรวาล การต่อต้าน
ฟาโรห์คือการละเมิดอ้านาจของเทพเจ้า และจะได้รับโทษ

You might also like