Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 54

2012 แนวโน้มพลังงานโลก – ภาพรวมถึงปี 2040

สารบัญ
พื้นฐานสำ�คัญของโลก 4
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 10
ภาคการขนส่ง 16
ภาคอุตสาหกรรม 22
การผลิตกระแสไฟฟ้า 26
การปล่อยก๊าซ 32
การจัดหาพลังงานและเทคโนโลยี 36
บทสรุป 48
อภิธานศัพท์ 49

รายงานฉบับนี้เป็นการคาดการณ์ ซึ่งเงื่อนไขจริงในอนาคตนั้น (ทั้งในด้านสภาพเศรษฐกิจ,


ความต้องการและการจัดหาพลังงาน) อาจแตกต่างไปตามความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
การพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ สถานการณ์การเมือง จำ�นวนประชากร และองค์ประกอบอื่นๆ
ที่ได้อ้างไว้ภายใต้หัวข้อ “Factor Affecting Future Results” ซึ่งอยู่ในส่วน Investor Section
ของเว็บไซต์ของเราที่ www.exxonmobil.com ข้อมูลที่แสดงในรายงานประกอบด้วยการ
ประเมินและการพยากรณ์โดยอาศัยข้อมูลภายในและการวิเคราะห์ของ ExxonMobil รวมทั้ง
ข้อมูลที่เผยแพร่จากแหล่งอื่น เช่น องค์กรพลังงานระหว่างประเทศ (The International Energy
Agency) เอกสารฉบับนี้ได้รับการสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำ�ไปใช้หรือพิมพ์ซํ้าโดยมิได้รับอนุญาต
จาก Exxon Mobil Corporation

exxonmobil.com/energyoutlook
2012 แนวโน้มพลังงานโลก : ภาพรวมถึงปี 2040
ขอต้อนรับสู่ แนวโน้มพลังงานโลก รายงานการคาดการณ์อนาคตพลังงานโลกในระยะยาวของเอ็กซอนโมบิล ในฉบับนี้เราได้ขยายมุมมอง
ภาพรวมไปจนถึงปี 2040 เป็นครั้งแรก

เรามองเห็นอะไรในอีก 30 ปีข้างหน้า? คำ�ตอบที่ได้รับนั้นย่อมแตกต่างกันไปตามภูมิภาค สะท้อนถึงความหลากหลายของแนวโน้มทางเศรษฐกิจ


และประชากร รวมทั้งวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีใหม่และนโยบายรัฐบาล
ในที่ต่างๆ เราได้เห็นการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และการ “ในทศวรรษหน้า โลกจะแสวงหาพลังงานใน
ค้นหาพลังงานที่หลากหลาย ขณะที่มีการค้นพบเทคโนโลยีใหม่และแหล่ง วิถีทางที่ประหยัด ปลอดภัย ราคาเหมาะสม และ
พลังงานใหม่เพิ่มขึ้น หัวข้อที่สำ�คัญอื่นๆ ของรายงานนี้ครอบคลุมถึง รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม นับเป็นความท้าทาย
ที่ยิ่งใหญ่และต้องการการบูรณาการ
■ ความต้องการพลังงานทั่วโลกในปี 2040 จะเพิ่มขึ้นประมาณ 30% เมื่อ ทั้งเชิงวิธีการและตอบสนองทุกทางเลือก
เทียบกับปี 2010 ในขณะเดียวกันเศรษฐกิจจะเติบโตเป็นสองเท่าและความ
เจริญมัง่ คัง่ จะกระจายไปทัว่ โลกด้วยประชากรเกือบ 9 พันล้านคน การเติบโต ในเชิงเศรษฐศาสตร์”
ของความต้องการพลังงานจะช้าลง ในขณะที่การเติบโตทางเศรษฐกิจคงที่ Rex W.Tillerson, ประธานและผู้บริหารสูงสุด เอ็กซอนโมบิล
ความมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ และจำ�นวนประชากรเพิม่ ขึน้ ในระดับปานกลาง
■ ประเทศที่อยู่ในองค์กรความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development-OECD)
รวมถึงประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรปนั้นจะมีการใช้พลังงานอย่างคงที่ แม้ว่าประเทศเหล่านี้จะมีอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจ
ที่ดีและประชาชนมีการดำ�รงชีวิตที่เรียกได้ว่าสูงกว่ามาตรฐาน ในทางกลับกัน ประเทศ Non OECD จะต้องการพลังงานสูงขึ้นถึง 60% จีนจะ
ต้องการพลังงานสูงขึ้นต่อเนื่องในช่วงสองทศวรรษหน้าและจะค่อยๆ ลดลงเมื่อเศรษฐกิจและจำ�นวนประชากรเติบโตสูงสุด สำ�หรับในประเทศ
อืน่ ๆ นัน้ ประชากรหลายพันล้านคนจะยังคงหาทางเพิม่ มาตรฐานการดำ�รงชีวติ ของตน ซึง่ หมายถึงต้องการใช้พลังงานมากขึน้
■ ความต้องการพลังงานเพื่อนำ�ไปผลิตกระแสไฟฟ้ายังคงเป็นอันดับหนึ่ง โดยในปี 2040 การผลิตกระแสไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นกว่า 40% เพื่อสนอง
ความต้องการบริโภคไฟฟ้าของโลก
■ ความต้องการถ่านหินจะเข้าสู่จุดสูงสุดและเริ่มลดลงอย่างช้าๆ เนื่องจากมีการออกนโยบายเพื่อหาทางลดการปล่อยก๊าซโดยกำ�หนดโทษค่าปรับ
สำ�หรับเชื้อเพลิงที่ปล่อยคาร์บอนปริมาณสูง ส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนและพลังงานนิวเคลียร์จะเติบโตอย่างมีนัยสำ�คัญ
■ นํ้ามัน ก๊าซ และถ่านหินยังคงเป็นเชื้อเพลิงที่ถูกนำ�มาใช้อย่างแพร่หลาย และยังมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของทั้งโลก ทั้งนี้คิดเป็น 80%
ของการบริโภคพลังงานในปี 2040
■ ก๊าซธรรมชาติจะเติบโตอย่างรวดเร็วขึ้นและมาแทนที่ถ่านหินจนเป็นอันดับสองรองจากนํ้ามัน ความต้องการก๊าซธรรมชาติจะสูงขึ้นเป็น 60%
เมื่อถึงปี 2040 สำ�หรับทั้งนํ้ามันและก๊าซธรรมชาตินั้น อัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นในด้านการจัดหาแหล่งพลังงานจะมาจากแหล่งที่แตกต่างไปจากเดิม
เช่น การขุดเจาะจากชั้นหินนํ้ามัน
■ ประโยชน์ที่ได้รับจากความมีประสิทธิผลของการประหยัดพลังงานทั้งในทางปฏิบัติและเทคโนโลยี – เช่น รถไฮบริด และโรงงานผลิต
ก๊าซธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพสูง – จะมีผลต่อความต้องการและการปล่อยก๊าซ
■ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากพลังงานโลกจะเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ และจะคงที่ในช่วงปี 2030 ในสหรัฐอเมริกาและยุโรปนั้นการปล่อย
ก๊าซจะลดลงจนถึงปี 2040 ซึง่ ปัจจุบนั ได้เริม่ เปลีย่ นจากการใช้ถา่ นหินมาเป็นเชือ้ เพลิงทีม่ สี ว่ นผสมของคาร์บอนน้อยลง เช่น ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น
เอ็กซอนโมบิลใช้รายงานแนวโน้มพลังงานเป็นแนวทางในการตัดสินใจการลงทุนทั่วโลก เนื่องจากเราตระหนักดีว่าอนาคตของพลังงานโลกจะเติบโต
อย่างไรนั้นต้องอาศัยผลการตัดสินใจที่มิใช่เกิดจากเพียงบริษัทต่างๆ เช่นเรา แต่หมายรวมถึงทั้งบรรดาผู้วางนโยบายและผู้บริโภค เราเปิดเผย
รายงานฉบับนี้ต่อสาธารณชนเพื่อกระตุ้นให้เกิดความเข้าใจอย่างกว้างขวางในเรื่องพลังงานซึ่งมีผลกระทบกับเราทุกคน

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 1


พลังงาน
ในชีวิตประจำ�วัน
จากรถยนต์ ไปยังโทรศัพท์มือถือ เวชภัณฑ์ยา
พลาสติก และเครื่องปรับอากาศไปจนถึงการทำ�
นํ้าอุ่น พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตผู้คนมากกว่า
ที่เคยเป็น

แต่ประโยชน์ของพลังงานนั้นมากไปกว่าการใช้งาน
ส่วนบุคคลภายในบ้าน ที่ทำ�งาน และบนท้องถนน
กิจกรรมที่จำ�เป็นหลายๆ อย่าง – รวมถึง
เกษตรกรรม การใช้คอมพิวเตอร์ อุตสาหกรรม
การก่อสร้าง บริการทางสุขภาพและสังคม
ล้วนขึ้นอยู่กับการเข้าถึงพลังงานยุคใหม่

นอกจากนี้องค์ประกอบในชีวิตยุคใหม่ที่เราคุ้นเคย
ก็จะไม่เกิดขึ้นหากปราศจากพลาสติก เคมีภัณฑ์
และปุ๋ยซึ่งผลิตขึ้นจากนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ

22 exxonmobil.com/energyoutlook
exxonmobil.com/energyoutlook
2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 3
พื้นฐาน
สำ�คัญของโลก
ลองพิจารณาว่าพลังงานยุคใหม่เพิ่มคุณค่าให้
ชีวิตคุณอย่างไร แล้วพิจารณาดูว่ามีผู้คนอื่นๆ อีก
7 พันล้านคนบนโลกนี้เช่นกันที่ใช้พลังงานในการ
เพิม่ คุณค่าให้ชวี ติ ตนเองดีขน้ึ มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้
ปลอดภัยมากขึน้ และมีสขุ ภาพทีด่ ขี น้ึ คุณจะเห็นได้วา่
อะไรคือตัวขับเคลื่อนความต้องการพลังงานที่
ยิง่ ใหญ่ทส่ี ดุ : นัน่ ก็คอื ความพยายามของมนุษยชาติ
ที่จะพัฒนาความเป็นอยู่ของเราให้ดีขึ้น รวมถึง
ครอบครัวของเราและสังคมของเรา นับจนกระทั่งปี
2040 การเติบโตของจำ�นวนประชากรและ
เศรษฐกิจจะขับเคลื่อนความต้องการพลังงานให้
สูงขึ้น แต่โลกจะใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น
และก้าวสู่การใช้เชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่า

44 exxonmobil.com/energyoutlook
exxonmobil.com/energyoutlook
ประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นกว่า 25% ในช่วง
2010 ถึง 2040 กล่าวคือ เกือบ 9 พันล้านคน
การเติบโตของจำ�นวนประชากรและเศรษฐกิจ
เป็นปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้ความต้องการพลังงาน
เพิ่มขึ้น

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 5


การขยายตัวของจำ�นวนประชากรและเศรษฐกิจ
ขับเคลื่อนความต้องการพลังงาน
ประเทศ Non OECD จะมีจำ�นวนประชากรเพิ่มสูงขึ้น แต่สัดส่วน ขณะทีจ่ �ำ นวนประชากรเป็นกุญแจสำ�คัญทีก่ �ำ หนดความต้องการพลังงานนัน้
ประชากรยังคงเป็นตัวกำ�หนดความต้องการพลังงาน สัดส่วนประชากรก็มีส่วนเช่นกัน โดยให้ความสำ�คัญไปที่ประชากร
ในวัยทำ�งานของประเทศ – โดยเฉพาะผูท้ อ่ี ายุระหว่าง 15 ถึง 64 ปี –
การเติบโตของจำ�นวนประชากรคือเหตุผลหนึ่งที่เอ็กซอนโมบิลคาดว่า เนือ่ งจากประชากรกลุ่มนี้คือกลไกขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความต้องการพลังงานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นกว่า 30% ในช่วงระหว่าง และความต้องการพลังงาน
ปี 2010-2040 เพราะในปี 2040 นั้นประชากรโลกจะมีจำ�นวนเกือบ
9 พันล้านคน เพิ่มขึ้นจาก 7 พันล้านคนในปัจจุบัน ในประเทศ OECD นั้น อัตราการเกิดที่ตํ่าและองค์ประกอบอื่นๆ ส่งผลให้
เปอร์เซ็นต์ของประชากรสูงอายุเพิ่มสูงขึ้น จีนซึ่งจะมีจำ�นวนประชากรเข้า
แต่อัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรจะลดลง เนื่องจากหลายประเทศใน สู่จุดสูงสุดในช่วงปี 2030 นั้นจะมีประชากรในวัยทำ�งานลดลงอย่างรวดเร็ว
OECD รวมทั้งจีน – จำ�นวนประชากรจะเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเมื่อถึง และเมือ่ นำ�มาผนวกรวมกับนโยบายด้านขนาดครอบครัวแล้ว การเปลีย่ นแปลง
ปี 2040 และเมื่อนำ�ปัจจัยดังกล่าวมารวมกับผลดีของการใช้พลังงานที่มี นี้จะอธิบายได้ว่าเหตุใดอัตราการเติบโตของผลผลิตมวลรวมในประเทศ
ประสิทธิภาพจะทำ�ให้การเพิ่มขึ้นของความต้องการพลังงานมีสัดส่วนลด (GDP) และความต้องการพลังงานของจีน จะลดลงสู่ระดับปานกลางใน
น้อยลงอย่างเห็นได้ชัดในระยะหลายทศวรรษ ตัวอย่างเช่น เอ็กซอนโมบิล ทศวรรษอันใกล้
พบว่าความต้องการพลังงานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้น 20% ระหว่างปี 2010-2025
แต่จะเพิ่มเพียง 10% ในช่วงปี 2025-2040 ขณะเดียวกัน อินเดียจะมีจำ�นวนประชากรเพิ่มสูงขึ้นไปพร้อมๆ กับกลุ่ม
ประชากรในวัยทำ�งาน เช่นเดียวกันกับแอฟริกา แนวโน้มสัดส่วนประชากรนี้
จะเกื้อหนุนให้ทั้งอินเดียและแอฟริกาก้าวขึ้นสู่การเป็นสองภูมิภาคที่มี
อัตราการเติบโตของ GDP สูงที่สุดในปี 2040

สัดสวนประชากรตามภูมิภาค
พันลานคน
2.00
การเพ�่มข�้นของประชากรวัยทำงาน ประชากรในแอฟร�กาจะเพ�่มข�้น
1.75 ของอเมร�กาเหนือไมสามารถทดแทนดวย มากกวาภูมิภาคอื่น หร�อ
การลดลงของประชากรวัยทำงาน เกือบราว 800 ลานคน
ของประเทศอื่นในกลุม OECD ได
1.50 จีน แอฟร�กา
อินเดีย
OECD
1.25
อายุ 65 ปข�้นไป
1.00

0.75
อายุ 15-65 ป
0.50

0.25

อายุ 0-14 ป
0
2010 2025 2040 2010 2025 2040 2010 2025 2040 2010 2025 2040
ที่มา : ธนาคารโลก

6 exxonmobil.com/energyoutlook
“เราไม่อาจทำ�อะไรได้หากไร้ซึ่งพลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และความต้องการพลังงานนั้นสำ�คัญ เช่นเดียวกับการมีอยู่ของแหล่งพลังงานที่ใช้ ได้ ในเชิง
เศรษฐกิจ”
Maria van der Hoeven
กรรมการบริหาร องค์การพลังงานระหว่างประเทศ

ความต้องการพลังงานของกลุ่ม OECD นั้นจะคงที่ไปจนถึงปี 2040 ซึง่ บางอย่างจะได้มาจากเทคโนโลยีทอ่ี ยูใ่ นระหว่างการพัฒนา และการ


แต่ประเทศ Non OECD จะมีความต้องการเพิ่มขึ้น 60% โดยจะมี บริหารจัดสรรพลังงาน บางอย่างจะได้รับการกระตุ้นจากนโยบายค่าปรับ
การพัฒนาประสิทธิภาพพลังงานในทั่วทุกภูมิภาค จากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (ดูหน้า 30)

เศรษฐกิจโลกยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่ด้วยอัตราที่แตกต่างกันไป พลังของความมีประสิทธิภาพเห็นได้ชัดเจนจากระบบเศรษฐกิจที่มีความ


เอ็กซอนโมบิลคาดว่าเศรษฐกิจของกลุ่ม OECD จะขยายตัวเฉลี่ยประมาณ มั่นคงสูงกว่าของกลุ่ม OECD ที่ความต้องการพลังงานจะคงที่ไปจนกระทั่ง
2% ต่อปีไปจนถึงปี 2040 ขณะที่สหรัฐอเมริกา ยุโรป และประเทศอื่นๆ ปี 2040 แม้ว่า GDP จะเพิ่มเป็นเกือบสองเท่า
จะค่อยๆ ฟื้นตัวและกลับมาเติบโตอย่างยั่งยืน สำ�หรับประเทศ
Non OECD นั้นจะเติบโตรวดเร็วกว่ามากโดยคิดเป็น 4.5% ต่อปี ความมีประสิทธิภาพจะส่งผลกระทบต่อกลุ่มประเทศ Non OECD เช่นกัน
แต่ประโยชน์จากประสิทธิภาพที่ได้รับยังมิอาจทดแทนความต้องการ
การเติบโตทางเศรษฐกิจนี้ – รวมถึงมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พลังงานที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ประมาณ 5 ใน 6 ส่วนของประชากรโลกจะ
– ทำ�ให้ต้องการพลังงานมากขึ้น เอ็กซอนโมบิลคาดว่าความต้องการ เร่งเพิ่มคุณภาพชีวิตของตนและมีความเจริญมั่งคั่งมากขึ้น เอ็กซอนโมบิล
พลังงานทัว่ โลกในปี 2040 จะสูงกว่าในปี 2010 อยูป่ ระมาณ 30% ขณะทีก่ าร คาดว่าความต้องการพลังงานของประเทศ Non OECD จะสูงขึ้นเกือบ
เพิม่ ขึน้ อย่างมีนัยสำ�คัญนี้จะต้องอาศัยการลงทุนและเทคโนโลยีพลังงาน 60% แม้เมื่อเข้าสู่ปี 2040 แล้ว แม้ว่าการใช้พลังงานต่อประชากร
ขัน้ สูงมูลค่านับล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ การใช้พลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ นีจ้ ะมีปริมาณ 1 คนในประเทศเหล่านี้จะตํ่ากว่าประชากรในกลุ่ม OECD อยู่ 60% ก็ตาม
สูงขึ้นอีกกว่า 4 เท่าหากไม่ได้พัฒนาประสิทธิภาพของการใช้พลังงานใน
ทุกๆ ภูมิภาคทั่วโลก

GDP โลก ตามภูมิภาค ความตองการพลังงานกลุม OECD ความตองการพลังงาน Non OECD


ลานลานเหร�ยญ (มูลคาป 2005) พันลานลาน BTU พันลานลาน BTU
120 500 500

หากไรซึ่งการพัฒนาประสิทธิภาพ
100 และมูลคาพลังงานแลวความตองการ Non OECD
400 จาก OECD จะเติบโตรวม 90% และ 400 อื่นๆ
Non OECD อีกกวา 250% รัสเซีย/
Non OECD แคสเปยน
80
300 300 แอฟร�กา

ตะวันออก
60 กลาง
ลาติน
200 OECD อื่นๆ 200 อเมร�กา
40 อินเดีย
OECD ยุโรป
OECD
100 100
20
อเมร�กาเหนือ จีน

0 0 0
1990 2000 2010 2020 2030 2040 1990 2015 2040 1990 2015 2040

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 7


พลังงานโลกจะยังคงพัฒนาต่อไป
ก๊าซธรรมชาติจะก้าวขึ้นเป็นพลังงานอันดับสองของโลกเนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงนี้จะนำ�โดยกลุ่ม OECD แม้กระทั่งจีนซึ่งในทุกวันนี้ใช้
ความต้องการพลังงานที่มีคาร์บอนตํ่า เชือ้ เพลิงถ่านหินเกือบครึง่ หนึง่ ของการใช้ถา่ นหินทัว่ โลก จีนจะใช้ถา่ นหินลด
ลงกว่า 10% จนถึงปี 2040 นับเป็นก้าวแรกของการลดการใช้ถ่านหินใน
แม้จะมีความก้าวหน้าในการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ แต่การเพิ่ม ระยะยาวนับแต่เริ่มการปฏิวัติอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม นํ้ามัน ก๊าซ
ขึ้นของประชากรและการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะส่งผลให้ความต้องการ ธรรมชาติ และถ่านหินรวมกันคิดเป็นประมาณ 4 ใน 5 ของเชื้อเพลิงรวม
พลังงานโดยรวมของโลกพุ่งขึ้นสูง ความต้องการพลังงานในทุกรูปแบบจะ ทุกประเภท ตลอดการรายงานภาพรวมพลังงานฉบับนี้
เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยปีละ 0.9% นับแต่ปี 2010 จนถึง 2040
ความต้องการทั่วโลกสำ�หรับเชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่าที่สุด เช่น ก๊าซธรรมชาติ
นํ้ามันจะยังคงเป็นแหล่งพลังงานอันดับหนึ่งของโลก นำ�โดยความต้องการ พลังงานนิวเคลียร์ และพลังงานหมุนเวียนจะเพิม่ ขึน้ มากกว่าอัตราโดยเฉลีย่
พลังงานปิโตรเลียมเหลวที่เติบโตกว่า 70% ของประเทศ Non OECD พลังงานนิวเคลียร์จะเติบโตต่อไปในอัตราเฉลีย่ ต่อปีประมาณ 2.2% แต่ยงั คง
ก๊าซธรรมชาติจะเป็นแหล่งพลังงานหลักทีเ่ ติบโตเร็วทีส่ ดุ กล่าวคือจะมี ตํ่ากว่าที่วางแผนไว้สืบเนื่องจากเหตุการณ์สึนามิในปี 2011 ที่สร้างความ
ความต้องการทัว่ โลกสูงขึน้ ราว 60% ในช่วงปี 2010-2040 และในปี 2025 เสียหายต่อโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะในญี่ปุ่น
ก๊าซธรรมชาติจะก้าวขึ้นเป็นแหล่งพลังงานที่มีการใช้มากที่สุดเป็น
อันดับสองของโลก พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ และเชือ้ เพลิงชีวภาพจะเติบโตอย่างมาก
เช่นกัน ในปี 2040 พลังงานเหล่านี้คิดเป็น 4% ของความต้องการพลังงาน
ในทางกลับกัน ความต้องการถ่านหินจะสูงสุดในปี 2025 และจะเริ่มลดลง ทั่วโลก พลังงานลมจะเติบโตรวดเร็วเป็นพิเศษ และเป็นแหล่งพลังงาน
อันมีผลมาจากการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานที่ต้องการพลังงานที่มี ที่เติบโตเร็วที่สุดในรายงานฉบับนี้ คือ เติบโตราว 8% ต่อปี หรือสูงกว่า
ส่วนผสมของคาร์บอนตา่ํ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาคการผลิตไฟฟ้า (หน้า 28) 900% ในช่วงระยะเวลาที่รายงานฉบับนี้ครอบคลุมถึง

60%
คือความต้องการนํ้ามันและ
ความตองการพลังงานโลก ตามประเภทเชื้อเพลิง
พันลานลาน BTU
250

ก๊าซธรรมชาติทั่วโลก 2040

200
จนถึงปี 2040 นํ้ามันและก๊าซธรรมชาติจะ
2010 เมื่อข�้นสูจ�ดสูงสุดในป 2025
เป็นแหล่งพลังงานสองอันดับแรกของโลก ถานหินเร�่มลดลงมากกวา 10%
คิดเป็น 60% ของความต้องการทั่วโลก ในป 2040
เมื่อเทียบกับ 55% ในปัจจุบัน ก๊าซจะเป็น 150
แหล่งเชื้อเพลิงหลักที่เติบโตเร็วที่สุด คือ
เติบโต 1.6% ต่อปีนับจากปี 2010 ถึง 2040
การลงทุนและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ริเริ่มใช้ 100
ลาตินอเมร�กาและจีนเปนผูใช
ตลอดหลายปี ที่ผ่านมา ทั่วทุกภูมิภาคจะ พลังงานน้ำอันดับหนึ่ง คิดเปน 80%
ทำ�ให้การค้นหาพลังงานเติบโตและมีความ ของการจัดหาพลังงานน้ำ/ใตพ�ภพ
หลากหลายขึน้ (ดูหน้า 36)
50

0
น้ำมัน กาซ ถานหิน นิวเคลียร พลังงานชีวมวล/ ลม/แสงอาทิตย/ น้ำ/ใตพ�ภพ
อื่นๆ เชื้อเพลิงชีวภาพ

8 exxonmobil.com/energyoutlook
แนวโน้มพลังงานโลก :
ชี้นำ�ทางการลงทุนของเราได้อย่างไร?

การลงทุนหลักทุกประเภทของเอ็กซอนโมบิลมีรากฐานมาจากรายงานแนวโน้มพลังงานโลก ตัวอย่างเช่น ในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา เราลงทุนกว่า


10,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ในการขยายโรงกลั่นและการผลิตปิโตรเคมีในสิงคโปร์ เนื่องจากเราคาดว่าการเติบโตของเศรษฐกิจในภูมิภาค
เอเชียแปซิฟิกจะเพิ่มความต้องการเชื้อเพลิงในภาคขนส่งและการใช้ผลิตภัณฑ์เคมีสำ�หรับอุตสาหกรรมพลาสติกและอื่นๆ

การตัดสินใจของเราเมื่อทศวรรษก่อนในการลงทุนร่วมกับกาตาร์ ปิโตรเลียม เพื่อพัฒนาการสำ�รองก๊าซธรรมชาติในกาตาร์ มาจากวิสัยทัศน์ของเรา


ว่าความต้องการก๊าซธรรมชาติทั่วโลกจะพุ่งทะยานอย่างรวดเร็ว เช่นกันกับการที่เอ็กซอนโมบิลซื้อ XTO Energy มูลค่ากว่า 41,000
ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2010 และความต้องการของภาคขนส่งเชิงพาณิชย์ที่เติบโตขึ้นอย่างเข้มแข็ง ผนวกกับมาตรฐานการปล่อยก๊าซที่สูงขึ้น
ส่งผลให้ในปี 2008 เราตัดสินใจลงทุนกว่า 1 พันล้านเหรียญสหรัฐเพื่อขยายการผลิตดีเซลสะอาดในสหรัฐอเมริกาและยุโรป

เอ็กซอนโมบิลลงทุนกว่า 125,000 ล้านเหรียญในโครงการพลังงานต่างๆ ตลอด 5 ปีทผ่ี า่ นมา และดังเช่นทีอ่ งค์กรพลังงานระหว่างประเทศคาดการณ์


ไว้ว่า เพื่อจะตอบสนองความต้องการพลังงานโลก การลงทุนพื้นฐานพลังงานจะต้องเติบโตเฉลี่ย 1.5 ล้านล้านเหรียญต่อปี (ค่าเงินในปี 2010)
ไปจนกระทั่งปี 2035 ทั้งนี้ครึ่งหนึ่งของการลงทุนจะเกี่ยวข้องกับนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ

สิ่งที่รายงานนี้จะบอกเราอีกก็คือว่าต้องทำ�อย่างไรจึงจะรองรับความต้องการผู้บริโภคพลังงานในอนาคตได้ดีที่สุด? การพยากรณ์ของเราบอกว่า
แหล่งพลังงานโลกจะขยายตัวในหลากหลายรูปแบบยิ่งขึ้น และการลงทุนของเราก็สอดคล้องดังรายงาน นอกจากการลงทุนเพื่อผลิตนํ้ามันและก๊าซ
ตามแบบดั้งเดิม เอ็กซอนโมบิลได้ลงทุนจำ�นวนมากในทรายนํ้ามัน การผลิตในน่านนํ้าลึกและอาร์กติก รวมถึงแหล่งนํ้ามันและก๊าซที่พบได้ในชั้นหิน

ความต้องการพลังงานที่ไว้วางใจได้พร้อมกับราคาที่ทุกคนจ่ายได้นั้นเกิดขึ้นทุกวันในทุกหนแห่ง เพื่อจะตอบสนองสิ่งนี้ เราต้องการวิสัยทัศน์และ


การวางแผนระยะยาวที่มีประสิทธิภาพ ตามด้วยการลงทุนมหาศาล และเป็นเวลาหลายปีในการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อผลิตและขนส่ง
พลังงานและผลิตภัณฑ์เคมีต่างๆ นอกจากนี้ ยังต้องการความเข้าใจและการจัดการความเสี่ยงในเชิงเทคนิค การเงิน ภูมิรัฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
ในโลกพลวัตนี้ รายงานแนวโน้มพลังงานคือเครื่องมือที่จำ�เป็นที่จะช่วยเราจัดหาพลังงานสำ�หรับก้าวต่อไปของมนุษยชาติ

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 9


ภาคครัวเรือน/
การพาณิชย์
ภาคครัวเรือนและการพาณิชย์เป็นภาคส่วน
ที่สำ�คัญของความต้องการพลังงานโลก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาถึงการใช้
ไฟฟ้า กระทั่งปี 2040 การขยายตัวทาง
เศรษฐกิจ ความมั่งคั่ง และการเพิ่มจำ�นวนของ
บ้านพักอาศัยทั่วโลกจะต้องการพลังงาน
เพิ่มขึ้น 25% ในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์
ซึ่งผันแปรไปสู่การใช้ ไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติ

1010 exxonmobil.com/energyoutlook
exxonmobil.com/energyoutlook
40%
เมื่อถึงปี 2040 ไฟฟ้าจะมีสัดส่วน 40% ของ
ความต้องการพลังงานในภาคครัวเรือนและ
การพาณิชย์

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 11


ความมั่งคั่งและประชากรที่เพิ่มขึ้นจะขยายความ
ต้องการพลังงานในภาคครัวเรือนและการพาณิชย์
ความต้องการพลังงานในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ทั้งที่แอฟริกาและจีนซึ่งมี จวบจนปี 2040 อัตราการเติบโตจำ�นวนครัวเรือนที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกจะสูงกว่า
จำ�นวนครัวเรือนเพิ่มขึ้นคิดเป็น 50% ของทั่วโลก การพัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคครัวเรือน ส่งผลให้มีความ
ต้องการพลังงานในภาคนี้สูงขึ้น สำ�หรับเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่าง
ในปี 2040 โลกเราจะมี 2,800 ล้านครัวเรือน เพิ่มขึ้นเกือบ 50% ผู้คนที่พักอาศัย และพลังงานที่ใช้นั้นพึงระลึกว่ามีความแตกต่างกันใน
เทียบจากปี 2010 ครัวเรือนเหล่านี้ต้องการพลังงานสำ�หรับแสงสว่าง แต่ละภูมิภาค
การทำ�ความร้อน หุงต้ม นํ้าร้อน ทำ�ความเย็น เช่นเดียวกับการใช้ไฟฟ้า
ในทุกอย่างตั้งแต่คอมพิวเตอร์จนถึงเครื่องปรับอากาศ ตัวอย่างเช่น แม้ว่าอินเดียและแอฟริกาจะมีประชากรมากที่สุดในปี 2040
แต่จะมีจำ�นวนครัวเรือนน้อยกว่าจีน อย่างไรก็ตามขณะที่จำ�นวนครัวเรือน
ทุกภูมิภาคจะมีครัวเรือนเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนในปี 2040 แต่จะมากเป็น ในแอฟริกา จีนและอินเดียจะเพิม่ ขึน้ รวมกันเป็น 60% ของการเพิม่ ขึน้
พิเศษในแอฟริกา จีน อินเดียและลาตินอเมริกา ด้วยเหตุผลแตกต่างกันไป ของครัวเรือนทั่วโลก อัตราการใช้พลังงานเฉลี่ยต่อหัวของประเทศ
ในแอฟริกานั้นจำ�นวนประชากรจะเพิ่มสูงขึ้น จีนจะมีความมั่งคั่งขึ้นทำ�ให้ Non OECD ยังคงตํ่า กระทั่งปี 2040 ก็ยังคิดเป็นเพียง 2 ใน 3
จำ�นวนครอบครัวขนาดใหญ่ลดลง ในอินเดียและลาตินอเมริกาจะมีทั้งสอง ของการใช้พลังงานเฉลี่ยของครัวเรือนในกลุ่ม OECD
เหตุผลประกอบกัน ในปี 2040 ทั้ง 4 ภูมิภาคจะมีจำ�นวนครัวเรือนคิดเป็น
60% ของทั้งโลก

จำนวนครัวเร�อนตามภูมิภาคในป 2040 การใชพลังงานในที่พักอาศัยตอครัวเร�อน


ลานครัวเร�อน ลาน BTU ตอครัวเร�อน
700 80

70
600
OECD
60
500
ครัวเร�อนในป 2010
50
400
Non OECD
40

300
30

200
20 ขณะที่ Non OECD เพ�่มข�้นเกือบ 800
ลานครัวเร�อน – มากกวาจำนวน
ครัวเร�อนทั้งหมดใน OECD ในป 2040 –
100 10 เราคาดวาการใชพลังงานตอครัวเร�อน
จะลดลงราว 15%

0 0
อเมร�กา OECD OECD จีน อินเดีย ลาติน ตะวันออก แอฟร�กา รัสเซีย/ Non OECD 1990 2015 2040
เหนือ ยุโรป อื่นๆ อเมร�กา กลาง แคสเปยน อืน่ ๆ

12 exxonmobil.com/energyoutlook
พลังงานทีใ่ ช้ ในอาคารพาณิชย์ในสหรัฐอเมริกาแตกต่างกันอย่างมาก คิดเฉลีย่ เป็น
100,000 BTU ต่อตารางฟุตต่อปี สำ�หรับครัวเรือนนั้นจะใช้พลังงานน้อยกว่านี้ครึ่งหนึ่ง
กระทรวงพลังงานสหรัฐฯ
เอกสารข้อมูลพลังงานสิ่งก่อสร้าง 2010

กิจกรรมทางเศรษฐกิจกระตุ้นความต้องการพลังงานในธุรกิจ จีน ซึ่งวันนี้เป็นหนึ่งในผู้ใช้พลังงานสูงสุดในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์จะ


ให้เพิ่มขึ้น นำ�โดยประเทศ Non OECD มีความต้องการคงที่ในภาคนี้หลังจากปี 2025 เนื่องจากประชากรใกล้จะ
ถึงจำ�นวนสูงสุดแล้ว (ดูหน้า 6) และประสิทธิภาพของพลังงานจะพัฒนา
คาดว่าภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ต้องการพลังงาน รวมทั้งไฟฟ้า เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง แต่ในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ของแอฟริกา อินเดีย และ
ราว 25% ในช่วงปี 2010-2040 ซึ่งแท้จริงแล้วมาจากประเทศ Non OECD ประเทศกำ�ลังพัฒนาอื่นๆ จะต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นอย่างมาก รวมทั้ง
และพลังงานที่ต้องการเกือบทั้งหมดก็คือ กระแสไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติ ตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(ดูหน้า 14)
ในประเทศกลุ่ม OECD ความต้องการในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์จะ
เมื่อดูเป็นกลุ่มย่อยแล้ว ความต้องการพลังงานในครัวเรือนจะเพิ่มขึ้นจนถึง เปลี่ยนแปลงเล็กน้อยในปี 2040 การเติบโตของประชากรและเศรษฐกิจ
ปี 2030 และจะคงที่เนื่องจากในช่วงเวลานั้นการเพิ่มจำ�นวนครัวเรือน ชดเชยด้วยผลดีของการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ
และประชากรจะช้าลง ในทางกลับกัน ภาคการพาณิชย์จะยังคงต้องการ
พลังงานต่อไปตามการพัฒนาของโลกจนถึงปี 2040 เนื่องจากการเติบโต
ทางเศรษฐกิจของประเทศ Non OECD ซึ่งต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น
โดยเฉพาะไฟฟ้าสำ�หรับร้านค้า โรงพยาบาล โรงเรียนและสถานที่ธุรกิจ
ต่างๆ

ความตองการภาคครัวเร�อน/การพาณิชย
ตามภาคสวน
พันลานลาน BTU
ความตองการภาคครัวเร�อน/การพาณิชย
ตามภูมิภาค
พันลานลาน BTU
25%
คือความต้องการพลังงาน
150 150 ในส่วนของอินเดียและแอฟริกา
ในปี 2040
125 125 Non OECD
การพาณิชย อื่นๆ อินเดียและแอฟริกาจะเป็นสองแห่งที่
ความต้องการพลังงานในภาคครัวเรือน/
100 100 การพาณิชย์เติบโตเร็วที่สุด ทั้งสอง
อินเดียและแอฟร�กา ภูมิภาคนี้ต้องการพลังงานคิดเป็น 25%
ของในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ในปี
75 75
2040 เพิ่มขึ้นจากที่เคยน้อยกว่า 20%
จีน ในปี 2010 ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มจำ�นวน
50 50 ครัวเรือนอย่างมหาศาล รวมทั้งการเติบโต
ครัวเร�อน ของร้านค้าปลีกและกิจกรรมธุรกิจอื่นๆ
ซึ่งในปี 2040 ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์
25 25 OECD ของแอฟริกาจะต้องการพลังงานเกือบ
เทียบเท่ากับจีน

0 0
1990 2015 2040 1990 2015 2040

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 13


ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์จะเปลี่ยนความต้องการ
ไปหากระแสไฟฟ้า
การใช้เชื้อเพลิงชีวมวลแบบเดิมจะลดลงอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนเข้าหาพลังงานไฟฟ้าในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์เกิดขึ้น
ในประเทศ Non OECD ทุกแห่งบนโลก ต่างกันไปหลายเหตุผล ในประเทศกลุ่ม OECD พลังงาน
ไฟฟ้าเกือบจะทดแทนนํ้ามัน ขณะที่สภาวะเศรษฐกิจและองค์ประกอบอื่น
บางทีองค์ประกอบที่สำ�คัญในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์มิใช่เรื่องของ ส่งผลให้ผู้บริโภคหันหลังให้กับเชื้อเพลิง เช่น ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)
ปริมาณพลังงานที่จะใช้ในบ้านเรือนและธุรกิจในอีก 30 ปีข้างหน้า นํา้ มันก๊าด หรือผลิตภัณฑ์จากนํา้ มันดิบ สำ�หรับการทำ�ความร้อนและหุงต้ม
แต่เป็นเรื่องของประเภทของพลังงาน เอ็กซอนโมบิลคาดการณ์ว่าทั่วโลก
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์จะแปรเปลี่ยนความต้องการพลังงานเข้าสู่ไฟฟ้า สำ�หรับประเทศ Non OECD พลังงานไฟฟ้าจะมีการใช้เพิ่มขึ้นหรือทดแทน
และลดการใช้เชื้อเพลิงโดยตรงของผู้บริโภค แนวโน้มนี้เติบโตมาหลาย เชื้อเพลิงชีวมวลแบบเดิม แนวโน้มนี้เติบโตขึ้นในหลายรูปแบบ เชื้อเพลิง
ทศวรรษแล้วแต่จะเห็นได้ชัดในช่วงเวลาที่รายงานนี้ครอบคลุมถึง ชีวมวลแบบเดิม เช่น ไม้หรือมูลสัตว์ทำ�ให้อากาศเป็นพิษและอันตราย
เมื่อใช้งาน โอกาสในการเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ช่วยแก้ไขความยากจน
ในปี 2040 ไฟฟ้าคิดเป็นสัดส่วน 40% ของพลังงานที่ใช้ในภาคครัวเรือน/ และเพิ่มพูนสุขอนามัย การศึกษา ความปลอดภัย และความก้าวหน้าของ
การพาณิชย์เมื่อเทียบกับสัดส่วนที่น้อยกว่า 30% ในปัจจุบัน สังคม แม้ในปัจจุบัน ประชากรกว่า 1.3 พันล้านคน หรือ 1 ใน 5 ของ
การเปลี่ยนแปลงนี้อธิบายว่าเหตุใดการผลิตไฟฟ้าจึงเป็นกิจกรรม ประชากรโลกยังไม่สามารถเข้าถึงไฟฟ้าได้
ที่มีความต้องการพลังงานเพิ่มรวดเร็วที่สุดจนถึงปี 2040 (ดูหน้า 26)

30%
คือ อัตราส่วนความ
สัดสวนการตลาดความตองการเชื้อเพลิง
ภาคครัวเร�อน/การพาณิชย ใน OECD
เปอรเซ็นต
สัดสวนการตลาดความตองการเชื้อเพลิง
ภาคครัวเร�อน/การพาณิชย ใน Non OECD
เปอรเซ็นต
100 100
ต้องการก๊าซของ OECD
ในปี 2040 ไฟฟา* ไฟฟา*
80 80
ก๊าซธรรมชาติคือเชื้อเพลิงยอดนิยม พลังงานหมุนเว�ยน
อันดับสองในภาคครัวเรือน/การพาณิชย์
ของประเทศพัฒนาแล้ว และในปี 2040 60 พลังงานหมุนเว�ยน 60
จะเพิ่มขึ้นเป็น 30% ก๊าซนั้นมีประโยชน์ พลังงานชีวมวล/ขยะ
มากมาย ทั้งการทำ�ความร้อนในอาคาร พลังงานชีวมวล/ขยะ
ผลิตนํ้าอุ่น ทำ�ความเย็นในเชิงพาณิชย์ 40 40
หุงต้ม อบแห้ง การทำ�ความร้อนและ ถานหิน ถานหิน
ใช้เป็นพลังงานในอาคารพาณิชย์
20 20 กาซ
กาซ

น้ำมัน น้ำมัน
0 0
1990 2015 2040 1990 2015 2040
*รวมถึงตลาดพลังงานความรอน

14 exxonmobil.com/energyoutlook
วัตถุดิบผลิตกระแสไฟฟ้า :
พลังงานพื้นฐานนำ�มาใช้ผลิตไฟฟ้า
ให้ผู้บริโภคได้อย่างไร
แหลงพลังงานพ�้นฐาน การพาณิชย

กาซธรรมชาติ

นิวเคลียร

ครัวเร�อน
ถานหิน

โรงไฟฟา อุตสาหกรรม
พลังงานหมุนเว�ยน

ไฟฟ้านั้นมองไม่เห็น เมื่อต้องการใช้ก็เพียงสับสวิตช์เท่านั้น จึงง่ายที่จะมองข้ามถึงที่มาของมัน ทว่าการเข้าใจแนวโน้มพลังงานนั้นต้องการความ


ใส่ใจว่าไฟฟ้าที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ – ทั้งที่บ้าน ที่ทำ�งาน และโรงงานอุตสาหกรรม – มาจากโรงผลิตไฟฟ้าซึ่งใช้พลังงานพื้นฐาน (ก๊าซธรรมชาติ
ถ่านหิน และอื่นๆ) มาผลิตพลังงานไฟฟ้า

เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าหลายประเภทใช้ความร้อนจากการเผาถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติหรือเชื้อเพลิงธรรมชาติ หรือความร้อนที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา


นิวเคลียร์หรือความร้อนใต้พิภพ เพื่อนำ�มาสร้างไอนํ้าสำ�หรับปั่นกังหัน หรือในอีกรูปแบบหนึ่งคือ ใช้พลังงานนํ้าหรือลมมาปั่นกังหันโดยตรง
ซึ่งทั้งสองแบบนั้นพลังงานกลจากกังหันจะถูกเปลี่ยนเป็นไฟฟ้าโดยใช้แม่เหล็ก สำ�หรับโซลาร์เซลล์นั้น แสงจะแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรง

ไม่ว่าจะใช้พลังงานจากแหล่งใด จำ�เป็นต้องใช้พลังงานมหาศาลเพื่อมาผลิตไฟฟ้า โลกของเราใช้พลังงานพื้นฐานกว่า 35% ต่อวันเพื่อมาผลิตไฟฟ้า

สิ่งสำ�คัญที่พึงทราบคือ พลังงานจำ�นวนมากสูญหายไประหว่างขั้นตอนการผลิตไฟฟ้า เช่น กังหันแบบใหม่ที่ใช้พลังงานถ่านหินหรือนิวเคลียร์


(ใช้ผลิตไฟฟ้า 55% ของทั้งโลก) ส่วนใหญ่แล้วจะมีประสิทธิผลราว 40% นั่นหมายความว่า ทุกๆ พลังงานพื้นฐาน 100 หน่วยที่ถูกส่งเข้าไปใน
โรงไฟฟ้านั้น มีเพียง 40 หน่วยหรือตํ่ากว่าที่ถูกแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังก๊าซธรรมชาติมีอัตราประสิทธิผลสูงกว่า คือ 60%

นอกจากในขั้นตอนการผลิตไฟฟ้าแล้ว ไฟฟ้าอีกจำ�นวนมากหายไปในระหว่างการส่งผ่านสายไฟฟ้าไปยังผู้บริโภค คิดเป็นจำ�นวน 10% ในประเทศ


กลุ่ม OECD และมากกว่า 15% ในประเทศ Non OECD การพัฒนาประสิทธิผลในการผลิตและการส่งพลังงานเป็นหนึ่งในโอกาสที่ยิ่งใหญ่ในการ
กำ�หนดการเติบโตของความต้องการพลังงานและการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในทศวรรษหน้า

ความท้าทายหนึ่งเกี่ยวกับไฟฟ้าซึ่งแตกต่างจากพลังงานอื่นๆ คือ ไม่สามารถประหยัดโดยเก็บสำ�รองเป็นจำ�นวนมากๆ ไว้ใช้ภายหลังได้ ด้วยเหตุนี้


แหล่งพลังงานประเภทลมและแสงอาทิตย์ซึ่งผลิตไฟฟ้าได้เฉพาะเมื่อมีลมพัดหรือพระอาทิตย์ขึ้นจะต้องบูรณาการเข้ากับแหล่งพลังงานประเภท
พร้อมใช้ เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน หรือนิวเคลียร์ ทั้งที่มีความท้าทายเหล่านี้ ความต้องการไฟฟ้ายังคงเพิ่มขึ้นด้วยเหตุที่เป็นพลังงานที่
อเนกประสงค์และพร้อมใช้สำ�หรับกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งในบ้าน ที่ทำ�งาน และโรงงานทั่วโลก

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 15


ภาคการขนส่ง
หนึ่งในการเปลี่ยนแปลงอย่างมากของการใช้
พลังงานจนถึงปี 2040 จะมาจากภาคขนส่ง
การเพิ่มจำ�นวนอย่างรวดเร็วของยานยนต์
ไฮบริดและลํ้าสมัยอื่นๆ – รวมถึงการพัฒนา
ประสิทธิภาพยานพาหนะแบบดั้งเดิม – ทำ�ให้
ความต้องการพลังงานคงที่ในภาคยานพาหนะ
ส่วนบุคคล ทั้งที่มีจำ�นวนยานพาหนะเพิ่มขึ้น
สองเท่า ในทางกลับกัน ความต้องการเชื้อเพลิง
ในภาคขนส่งทางพาณิชย์ – รถบรรทุก
เครื่องบิน รถไฟ และเรือ – จะทะยานสูงขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง

1616 exxonmobil.com/energyoutlook
exxonmobil.com/energyoutlook
90%
ในปี 2040 ประมาณ 90% ของการขนส่งทั่วโลก
จะใช้เชื้อเพลิงจากปิโตรเลียมเหลว เทียบกับสัดส่วน
95% ในวันนี้

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 17


ความต้องการภาคขนส่งเชิงพาณิชย์เพิ่มขึ้น
ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก
ขณะที่ยานพาหนะส่วนบุคคลเพิ่มประสิทธิภาพด้านเชื้อเพลิง จากนั้นความต้องการเชื้อเพลิงทั่วโลกสำ�หรับยานพาหนะส่วนบุคคลจะ
การเติบโตของความต้องการภาคขนส่งมาจากรถบรรทุก เรือ และ สูงสุดและเริม่ ลดลง สาเหตุมาจากการเพิม่ อย่างมากของการประหยัดนํา้ มัน
เครื่องบิน ในยานพาหนะโดยเฉลี่ย สืบเนื่องจากมาตรการที่เข้มข้นของรัฐบาล
เอ็กซอนโมบิลคาดว่าในปี 2040 ยานยนต์ทันสมัยและไฮบริดจะมีจำ�นวน
อีก 30 ปีข้างหน้า เอ็กซอนโมบิลคาดว่ารถยนต์ไฮบริดจะได้รับความนิยม 50% ของยานพาหนะเบาทั้งหมด เทียบกับ 1% ในปัจจุบัน (ดูหน้า 20)
เป็นหลัก ผลก็คือ แนวโน้มพลังงานในภาคขนส่งจะต่างไปจากอดีต โดย
ความต้องการเชื้อเพลิงภาคขนส่งส่วนบุคคลจะเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ในทางกลับกัน ความต้องการในภาคขนส่งเชิงพาณิชย์ – ส่วนใหญ่คือ
ขณะที่ในภาคขนส่งเชิงพาณิชย์จะยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รถบรรทุก รวมถึงเครือ่ งบิน เรือและรถไฟ – คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ ในทุกภูมภิ าค
ของโลก แม้ว่าจะได้ประโยชน์จากการพัฒนาประสิทธิภาพก็ตาม โดย
ยานพาหนะส่วนบุคคลหรือขนาดเล็ก เช่น รถเก๋ง รถ SUV และรถกระบะ ทั่วไปแล้วความต้องการทั่วโลกในภาคขนส่งจะเพิ่มขึ้นราว 45% ในช่วง
เล็กที่ผู้คนขับขี่ในชีวิตประจำ�วัน นับจากวันนี้จนถึง 2040 จำ�นวนของ 2010-2040
ยานพาหนะส่วนบุคคล – หรือที่เราเรียกว่า ”ขบวนยานพาหนะของโลก”
จะมีจำ�นวนเพิ่มเป็นสองเท่า – จนถึง 1.6 พันล้านคัน ไม่น่าแปลกใจที่
ส่วนใหญ่จะมาจากประเทศ Non OECD ซึ่งรํ่ารวยขึ้นอย่างรวดเร็วและ
จำ�นวนการครอบครองรถยนต์ในวันนี้ยังค่อนข้างตํ่าอยู่

ความตองการขนสงทางถนนทั่วโลก ความตองการขนสงสวนบุคคล ความตองการขนสงเชิงพาณิชย


เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน
50 50 50
เชิงพาณิชย ขณะที่ความตองการดานการขนสง
ขนาดหนักเพ�่มข�้น เราคาดวามูลคา
พลังงานของกิจกรรมขนสงสินคา
ทางรถยนตจะพัฒนาข�้น 30% รถไฟ
40 40 40
เร�อ
Non OECD
30 30 30
เคร�่องบิน

สวนบุคคล
20 20 20

OECD
10 10 พาหนะสวนบุคคล 10 พาหนะในภาคขนสง

0 0 0
2010 2040 2010 2040 1990 2015 2040 1990 2015 2040

18 exxonmobil.com/energyoutlook
การขนถ่ายสินค้าพาณิชย์ทั่วโลกเพิ่มขึ้นสองเท่านับจากปี 1980 เป็นมากกว่า
40 ล้านล้านตัน-ไมล์ต่อปี* ส่วนใหญ่แล้วขนส่งทางเรือ
*World Bank World Development Indicators 2010,
Maritime International Secretariat Services Limited (Marisec)

กิจกรรมเศรษฐกิจทั่วโลก นำ�โดยประเทศ Non OECD แซงหน้า โดยในปี 2040 ความต้องการเชื้อเพลิงสำ�หรับงานหนักจะเพิ่มขึ้น 60%


ประโยชน์ที่ได้จากประสิทธิภาพของยานพาหนะภาคพาณิชย์ เทียบกับปี 2010
การเติบโตของเศรษฐกิจโลกขับเคลื่อนความต้องการพลังงานให้พุ่งสูงขึ้น ความเปลี่ยนแปลงสะท้อนออกมาในตลาดเชื้อเพลิงขนส่ง ความต้องการ
ในการขนส่งเชิงพาณิชย์ ขณะที่กิจกรรมทางการพาณิชย์และรายรับที่ ดีเซล – เชื้อเพลิงยอดนิยมของรถสำ�หรับใช้งานหนัก – จะเพิ่มขึ้น 85%
สูงขึ้นก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวของสินค้าทั้งภายในและระหว่างประเทศ จนถึงปี 2040 ขณะที่นํ้ามันเบนซินจะลดลงราว 10%
ในช่วง 2010-2040 ความต้องการพลังงานในภาคขนส่งเชิงพาณิชย์จะ
เพิ่มขึ้น 70% ส่วนใหญ่มาจากยานพาหนะที่ใช้งานหนัก ซึ่งรวมถึง การเติบโตของการขนส่งเชิงพาณิชย์มิได้จำ�กัดเพียงยานยนต์บนท้องถนน
รถบรรทุกสินค้าทุกชนิด รถบัส รถฉุกเฉินและรถใช้งานหนัก เท่านั้น ความต้องการเชื้อเพลิงในการขนส่งทางอากาศและทางเรือรวมกัน
จะเพิ่มเป็นสองเท่าในอีก 30 ปีข้างหน้า
เอ็กซอนโมบิลคาดว่ารถบรรทุกหนักจะมีการประหยัดเชื้อเพลิงมากขึ้นใน
อีก 30 ปีข้างหน้า อย่างไรก็ตามการพัฒนานี้บางส่วนจะถูกองค์ประกอบ ความต้องการพลังงานของภาคขนส่งเชิงพาณิชย์จะเพิ่มขึ้นทั่วทุกมุมโลก
อื่นมาลดทอนลง เช่น การจราจรที่ติดขัดมากขึ้นและแนวโน้มการขนส่งที่ ในปี 2040 และจะสูงสุดในประเทศ Non OECD ซึ่งเศรษฐกิจจะขยายตัว
ค่อยๆ เติบโตขึน้ ส่งผลให้ในปี 2030 โลกจะใช้เชือ้ เพลิงกับรถบรรทุกทีใ่ ช้ เร็วกว่าของประเทศ OECD ความต้องการจากการเติบโตของการขนส่ง
งานหนักและพาหนะในภาคขนส่งมากกว่ายานพาหนะส่วนตัวทุกประเภท เชิงพาณิชย์กว่า 80% มาจากประเทศกำ�ลังพัฒนา

การเปลี่ยนแปลงความตองการของยานยนตที่ใชงานหนัก ความตองการเชื้อเพลิงเพ�่อการขนสง
เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน
40 70
ไฟฟา อื่นๆ
กาซธรรมชาติ
35 60
ประสิทธิภาพ น้ำมันเตา
รถบรรทุก ทำให น้ำมันเคร�่องบิน
30 ความตองการ
GDP เพ�่มข�้น เชื้อเพลิงลดลง 50
ทำใหความตองการ
25 ขนสงสินคาและ
เชื้อเพลิงเพ�่มข�้น
40
ปจจัยการ
20 ดีเซล
รถบรรทุก ปฏิบัติงานอื่นๆ
ขนาดใหญข�้น เพ�่มความตองการ 30
ลดความตองการ เชื้อเพลิง
15 เชื้อเพลิงในอนาคต
20
10

10 เบนซิน
5

0 0
2010 2040 1990 2015 2040

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 19


ยานพาหนะส่วนบุคคลจะประหยัดนํ้ามันขึ้น
ในปี 2040
การใช้งานยานยนต์ ไฮบริดที่สูงขึ้นจะช่วยให้หลายๆ ประเทศบรรลุ ส่วนใหญ่จะเป็นไฮบริดซึ่งใช้นํ้ามันเบนซินเป็นหลักควบคู่กับพลังงาน
เป้าหมายการประหยัดเชื้อเพลิง ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ คิดเป็นจำ�นวน 40% ของยานยนต์ทั่วโลก ในปี 2040
เอ็กซอนโมบิลคาดว่าทั่วโลกจะเห็นการเติบโตของยานยนต์ไฮบริดแบบ
รถยนต์บนท้องถนนในโลกปี 2040 จะหลากหลายกว่าในปัจจุบัน Plug-in และรถยนต์ไฟฟ้า ควบคู่กับรถยนต์ที่ใช้ CNG (Compressed
การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นสืบเนื่องจากนโยบายรัฐที่กำ�หนดการประหยัด Natural Gas) และ LPG (Liquefied Petroleum Gas) ซึ่งก็คิดเป็นเพียง
นํ้ามันของยานยนต์ส่วนบุคคล 5% ของยานยนต์ทั่วโลกในปี 2040 เนื่องจากการเติบโตจำ�กัดด้วยราคา
และการใช้งาน
ยานยนต์แบบดัง้ เดิมทีใ่ ช้นา้ํ มันเบนซินและดีเซลจะมีประสิทธิภาพสูงขึน้ เรือ่ ยๆ
ในทศวรรษหน้า อย่างไรก็ตาม ประโยชน์ที่ได้นี้ไม่เพียงพอตามที่รัฐบาล มากกว่านั้น หากต้องการบรรลุเป้าหมายการประหยัดเชื้อเพลิงแล้ว
ต้องการ ส่งผลให้ยานยนต์แบบดั้งเดิมซึ่งทุกวันนี้มีจำ�นวน 98% ของทั้งโลก ยานยนต์ส่วนบุคคลจะต้องเล็กและเบากว่าปัจจุบัน การลดขนาดยานยนต์
จะลดลงราว 50% และมีรถยนต์ใหม่ขายออกเพียง 35% ในปี 2040 นับเป็นหนึง่ ในสามของโครงการการพัฒนาเพื่อประหยัดเชื้อเพลิง
ในปี 2040 เอ็กซอนโมบิลคาดว่าทั่วโลกจะมีรถยนต์ที่มีอัตราการเผาผลาญ
ในทางกลับกัน เอ็กซอนโมบิลคาดว่าจวบจนปี 2040 ยานยนต์ทันสมัย 48 ไมล์ต่อแกลลอน (MPG) เทียบกับ 27 ไมล์ต่อแกลลอน (MPG)
และไฮบริดจะมีจำ�นวนเกือบ 50% ของยานยนต์ขนาดเบาบนท้องถนน ในปี 2010
เทียบกับเพียงแค่ประมาณ 1% ในปัจจุบัน

พาหนะสวนบุคคลแบงตามประเภท ประสิทธิภาพเฉลี่ยของรถยนต ใหมบนทองถนน


พันลานคัน ไมลตอแกลลอน
1.6 60
กาซธรรมชาติ/LPG เปาหมายอนาคต
รถ Plug-in/รถไฟฟา (วันแตกตางกันไป
1.4 แตละประเทศ)
50
2040
1.2
ไฮบร�ด
40
1.0
ดีเซลแบบดั้งเดิม
0.8 30

0.6 2010
20

0.4 เบนซินแบบดั้งเดิม
10
0.2

0 0
2000 2020 2040 สหรัฐอเมร�กา ยุโรป จีน ญี่ปุน อินเดีย

20 exxonmobil.com/energyoutlook
ประสิทธิภาพยานยนต์ :
ราคามีผลต่อการเลือกของผู้บริโภค

เมื่อผู้บริโภควางแผนจะซื้อรถยนต์ใหม่นั้น ราคาและการใช้งานคือข้อพิจารณาอันดับต้นๆ ผู้ซื้อไม่เพียงจะคำ�นึงถึงราคาเท่านั้น หากรวมถึงราคา


ของเชื้อเพลิงที่ต้องจ่ายตลอดอายุการใช้งาน ฉะนั้นเมื่อผลิตรถยนต์และพาหนะที่ใช้งานขนาดเบาให้มีประสิทธิภาพ – และลดการปล่อยก๊าซ –
ซึ่งเป็นเป้าหมายร่วมกันทั่วโลก ผู้บริโภคทั่วไปจะเลือกรถยนต์ที่ตรงความต้องการซึ่งมีราคาตํ่าสุด โดยจนถึงปี 2040 เอ็กซอนโมบิลคาดว่าแนวโน้ม
ทางเลือกผู้บริโภคจะมีอยู่ 3 แบบ

■ เทคโนโลยีที่ทำ�ให้รถยนต์แบบดั้งเดิมมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เนื่องจากการปรับปรุงประสิทธิภาพยานยนต์ปัจจุบันมีแนวโน้มที่ถูกลง ซึ่งเป็น


ทางเลือกเดียวของผู้บริโภคในการประหยัดนํ้ามันในช่วงห้าปีแรกหลังจากซื้อรถ ซึ่งจะเท่ากับหรือมากกว่าราคาที่ต้องจ่ายเพิ่มอยู่แล้ว เทคโนโลยี
เช่น เทอร์โบชาร์จ เกียร์อัตโนมัติความเร็วสูง การออกแบบด้วยหลักอากาศพลศาสตร์ที่ดีขึ้น และการลดนํ้าหนักรถยนต์ช่วยประหยัดนํ้ามันและ
ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ได้กว่า 30% เราคาดว่าผู้ผลิตรถยนต์จะใช้เทคโนโลยีเหล่านี้มากขึ้นเพื่อสนองนโยบายประหยัด
เชื้อเพลิงของรัฐ

■ รถยนต์ไฮบริด เทียบกับเทคโนโลยีรถยนต์ขั้นสูงอื่นๆ แล้ว ไฮบริดเป็นตัวเลือกที่ราคาดีที่สุดสำ�หรับผู้บริโภคในปัจจุบัน ในปี 2030 เอ็กซอนโมบิล


คาดว่าโดยเฉลี่ยแล้วยานยนต์ไฮบริด (เช่น โตโยต้า พรีอุส) มีราคาสูงกว่ารถยนต์แบบดั้งเดิมในขนาดเดียวกันราว 1,500 เหรียญ ในขณะที่
รถยนต์ที่ใช้ CNG จะแพงกว่าราว 4,000 เหรียญ และรถยนต์ไฟฟ้า (เช่น นิสสัน Leaf) จะแพงกว่า ราว 12,000 เหรียญ สำ�หรับรถยนต์
พลังงานไฟฟ้านั้นจะไม่คุ้มค่าภายใน 5 ปีหากราคานํ้ามันเบนซินไม่สูงกว่า 10 เหรียญต่อแกลลอน นอกจากนั้น การปล่อย CO2 ของรถไฮบริด
แบบ Plug-in และรถยนต์ไฟฟ้านั้นขึ้นอยู่กับแหล่งพลังงานที่ผลิตไฟฟ้านั่นเอง

■ รถยนต์ขนาดเล็กลง ไม่ว่าจะใช้รถยนต์แบบดั้งเดิมหรือทันสมัย ผู้บริโภคสามารถประหยัดเชื้อเพลิงได้กว่า 35% โดยหันมาใช้รถยนต์ที่เล็กและ


เบาลง

การตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ของผู้บริโภคนี้จะเปลี่ยนตามราคาขึ้นลงของเชื้อเพลิง – นํ้ามันเบนซิน ดีเซล ก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้า ผู้บริโภคก็ต้อง


พิจารณาองค์ประกอบอื่นด้วย เช่น ระยะทางขับขี่ เนื่องจากนํ้ามันเบนซินและดีเซลคือ “พลังงานหนาแน่นสูง” ซึ่งได้พลังงานต่อการเติมหนึ่งครั้ง
สูงกว่าเอทานอล CNG หรือรถยนต์พลังงานไฟฟ้าแบตเตอรี่ ซึ่งสร้างความสะดวกสบายให้กับผู้บริโภคมากกว่าโดยลดความถี่ในการแวะเติม
เชื้อเพลิง และที่ทรงพลังยิ่งคือ การเลือกของผู้บริโภคซึ่งจะเป็นตัวกำ�หนดการพัฒนาความต้องการพลังงานของยานยนต์โลกในทศวรรษหน้า

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 21


ภาคอุตสาหกรรม
จุดกำ�เนิดของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและตำ�แหน่งงาน
ภาคอุตสาหกรรมใช้พลังงานเพื่อผลิตวัสดุและสินค้า
ที่สร้างสรรค์ชีวิตยุคใหม่ โดยในช่วง 30 ปีข้างหน้า
ความต้องการพลังงานภาคอุตสาหกรรมจะเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง เมื่อคาดว่าความต้องการในจีนที่
คาดว่าจะเริ่มอยู่ตัวนั้น ไม่สามารถทดแทนได้กับการ
เติบโตในภาคอุตสาหกรรมของอินเดีย แอฟริกา
และประเทศ Non OECD

2222 exxonmobil.com/energyoutlook
exxonmobil.com/energyoutlook
25%
ในวันนี้ จีนมีความต้องการพลังงาน
ภาคอุตสาหกรรมคิดเป็น 1 ใน 4 ของทั้งโลก
กระทั่งปี 2040 การเติบโตจะเริ่มคงที่
ขณะที่อินเดียและประเทศอื่นในเอเชียแปซิฟิก
รวมถึงแอฟริกาและลาตินอเมริกาจะมีความ
ต้องการเพิ่มสูงขึ้น

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 23


ภาคการผลิตและเคมีภัณฑ์จะเป็นผู้นำ�ในการเติบโต
ของความต้องการพลังงานภาคอุตสาหกรรม
ความต้องการภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 30% นำ�โดยประเทศ ประมาณ 90% ของความต้องการพลังงานภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นจะ
Non OECD มาจาก 2 ส่วนย่อยคือ การผลิตและเคมีภัณฑ์ อันมีปัจจัยกระตุ้นความ
ต้องการคือ การผลิตโลหะ เหล็ก และซีเมนต์ ซึง่ คาดว่าจะเพิม่ เป็นเท่าตัวใน
เมื่อเทียบกับภาคการขนส่งและภาคครัวเรือน/การพาณิชย์แล้ว ปี 2040
ภาคอุตสาหกรรมอาจดูเกี่ยวข้องกับชีวิตผู้บริโภคน้อยกว่า แต่เป็น
อุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานเพื่อผลิตสินค้าจำ�เป็น รวมถึงพลาสติก โลหะ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ ความต้องการภาคอุตสาหกรรมจะเพิ่มเร็วขึ้น
และสิ่งทอ ในภาคนี้ ยังครอบคลุมถึงพลังงานที่ใช้ในการเกษตรกรรม อีกมากหากไม่ได้ประโยชน์จากการเพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงาน อันที่
เช่นเดียวกับพลังงานเพื่อผลิตนํ้ามัน ก๊าซธรรมชาติและถ่านหิน จริงแล้ว อีกส่วนย่อยทีส่ �ำ คัญในภาคอุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมพลังงาน
โลกซึ่งความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นเพียง 5% เป็นผลมาจากการพัฒนา
อันที่จริงแล้ว ภาคอุตสาหกรรมบริโภคพลังงานและไฟฟ้าเกือบเท่ากับ ประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานและการลดการเผาก๊าซธรรมชาติทิ้งได้
ภาคการขนส่งและภาคครัวเรือน/การพาณิชย์รวมกัน ความต้องการ เป็นจำ�นวนมาก
ในภาคอุตสาหกรรมทัว่ โลกสำ�หรับพลังงานและกระแสไฟฟ้านัน้ จะเติบโตราว
30% ในช่วงปี 2010-2040 ขณะที่ประเทศ Non OECD เป็นผู้นำ�การเติบโต
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตาม อัตราการเติบโตนี้คิดเป็น
เพียงครึ่งหนึ่งของอัตราการเติบโตในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา ซึ่งส่วนใหญ่
มีผลจากการปรับปรุงประสิทธิภาพและความต้องการในภาคอุตสาหกรรมจีน
ที่เริ่มอยู่ตัว (ดูหน้า 25)

ความตองการภาคอุตสาหกรรม แบงตามสวน
พันลานลาน BTU
250

เคมีภัณฑ
200

150 การผลิต

100
อุตสาหกรรม
พลังงาน

50

อื่นๆ

0
1990 2000 2010 2020 2030 2040

24 exxonmobil.com/energyoutlook
โลหะรีไซเคิลคิดเป็นจำ�นวน 35% ของการผลิตโลหะทั่วโลกในปัจจุบัน และยังใช้พลังงานตํ่ากว่า
การผลิตโลหะใหม่ประมาณ 60% ต่อตัน
สมาคมโลหะโลก IEA

ขณะที่ความต้องการภาคอุตสาหกรรมของจีนคงที่ ประเทศ Non ทว่าราวๆ ปี 2030 เอ็กซอนโมบิลคาดว่าความต้องการพลังงาน


OECD อื่น จะเป็นผู้นำ�การเติบโต ภาคอุตสาหกรรมของจีนจะเริ่มเข้าสู่จุดสูงสุดเมื่อจำ�นวนประชากรเริ่มคงที่
(ดูหน้า 6) เศรษฐกิจเติบโตเต็มที่ และโครงสร้างพื้นฐานขยายตัวด้วยอัตรา
เฉกเช่นที่เป็นมาหลายปี การเติบโตของความต้องการพลังงาน มากกว่าเดิม
ภาคอุตสาหกรรมจะยังคงมาจากประเทศ Non OECD อย่างไรก็ตาม
โดยการขยายรายงานแนวโน้มพลังงานโลกถึงปี 2040 ฉบับนี้ เราได้จับ ในเวลาเดียวกัน อินเดียและแอฟริกา พร้อมด้วยประเทศ Non OECD อื่น
แนวโน้มสำ�คัญบางประการที่เกิดขึ้นในประเทศ Non OECD คือ รวมทั้งลาตินอเมริกา ตะวันออกกลาง และประเทศเอเชียอื่นๆ เช่น
ความต้องการอุตสาหกรรมในจีนจะคงที่ และพบการเติบโตในประเทศ อินโดนีเซีย ไทย และเวียดนาม จะกลายเป็นผู้นำ�การเติบโตในภาค
เช่น อินเดียและแอฟริกา อุตสาหกรรม โดยในอินเดียจะต้องการพลังงานภาคอุตสาหกรรมเพิ่มเป็น
สามเท่าตัวจากปี 2010 ถึง 2040
สืบเนือ่ งจากการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเร่งรีบและการปรับปรุงโครงสร้าง
พื้นฐานในสามทศวรรษที่ผ่านมา ทำ�ให้จีนในวันนี้เป็นผู้นำ�เพียงหนึ่งเดียว ใน OECD ความต้องการพลังงานภาคอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะไม่
ในการใช้พลังงานเพื่อการอุตสาหกรรม ความต้องการพลังงาน เปลี่ยนแปลงจวบจนปี 2040 ซึ่งมิได้หมายความว่ากิจกรรมอุตสาหกรรม
ภาคอุตสาหกรรมในจีนยังคงเติบโตตลอดสองทศวรรษหน้าราว 20% จะลดลงใน OECD ในห้วงเวลาดังกล่าว หากแต่ความต้องการพลังงานทีเ่ พิม่
ขึน้ จะถูกชดเชยด้วยการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานและการก้าวเข้าสู่
อุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานตํ่าลง

75%
ความตองการภาคอุตสาหกรรม การเติบโตของเชื้อเพลิงภาคอุตสาหกรรม
แบงตามภูมิภาค ชวง 2010-2040
พันลานลาน BTU พันลานลาน BTU
250 70 คือ สัดส่วนของความต้องการ
พลังงานโลกของประเทศ
60
อื่นๆ Non OECD ในปี 2040
200 Non OECD
อื่นๆ
50
กาซ ในปี 2040 ประเทศ Non OECD จะต้องการ
40 พลังงานภาคอุตสาหกรรมของโลกเกือบ 75%
150
อินเดียและแอฟร�กา
ซึ่งสูงขึ้นจาก 65% ในวันนี้ โดยประเทศเหล่านี้
30 มีการเติบโตส่วนใหญ่ในไฟฟ้า นํ้ามัน และ
น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ส่วนถ่านหินจะลดลง
100 และความต้องการกระแสไฟฟ้าในภาค
20
จีน อุตสาหกรรมโลกจะสูงขึ้นราว 80% จนถึงปี
2040 การเติบโตอย่างแข็งแกร่งยังคงเห็นได้
10
50
ไฟฟา ในนํ้ามัน (สูงขึ้นราว 25% จากความต้องการ
ผลิตภัณฑ์พื้นฐานเคมีี) และก๊าซธรรมชาติ
OECD 0 ซึ่งความต้องการภาคอุตสาหกรรมจะเพิ่มขึ้น
ถานหิน
ราว 50% จนถึงปี 2040
0 –10
1990 2015 2040 OECD Non OECD

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 25


การผลิต
กระแสไฟฟ้า
ภาคการผลิตกระแสไฟฟ้านั้นจำ�เป็นต่อการตอบสนอง
ความต้องการพลังงานยุคใหม่ อุปกรณ์และหน่วยผลิต
กระแสไฟฟ้าทัง้ หลายแปลงพลังงานพืน้ ฐานหลากหลาย
ประเภท – ทุกอย่างตั้งแต่ก๊าซธรรมชาติไปถึง
ถ่านหิน ลม และพลังงานนํ้า ผลิตไฟฟ้า – มาเป็น
กระแสไฟฟ้าสำ�หรับใช้ในบ้านและธุรกิจ จนถึงปี 2040
ความต้องการกระแสไฟฟ้าทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ขณะที่เชื้อเพลิงที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจะเริ่มเปลี่ยนเป็น
เชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่า เช่น ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ และ
แหล่งเชื้อเพลิงหมุนเวียน

2626 exxonmobil.com/energyoutlook
exxonmobil.com/energyoutlook
80%
ในปี 2040 ความต้องการกระแสไฟฟ้าทั่วโลก
จะสูงขึ้น 80% เทียบกับในปี 2010

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 27


ความต้องการกระแสไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน/การพาณิชย์จะเป็นตัวนำ�ใน อย่างไรก็ตาม เรายังคาดหวังว่าภาคการผลิตกระแสไฟฟ้าจะมี
ความต้องการกระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าปัจจุบัน ทุกวันนี้เราต้องใช้พลังงานพื้นฐาน
3 หน่วยเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า 1 หน่วย แต่การเพิ่มขึ้นของโรงงานไฟฟ้า
การผลิตกระแสไฟฟ้าจะเป็นแหล่งที่ต้องการพลังงานโลกที่ใหญ่ที่สุดและ พลังงานก๊าซธรรมชาติใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูง รวมทั้งพลังงานลมและ
เติบโตเร็วที่สุด ซึ่งมากกว่าจำ�นวนของพลังงานพื้นฐานที่ใช้ในภาคการ พลังงานแสงอาทิตย์นั้นจะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตกระแสไฟฟ้า
ขนส่งและภาคครัวเรือน/การพาณิชย์รวมกัน มากขึ้น โดยในปี 2040 นั้น จะใช้พลังงานพื้นฐานเพียง 2 หน่วยเพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้า 1 หน่วย เรายังคาดว่าจะมีการลดความสูญเสียกระแสไฟฟ้า
ความต้องการกระแสไฟฟ้ายังคงเพิ่มขึ้นทุกแห่งหนในโลก จำ�นวน ในสายส่งระหว่างโรงไฟฟ้ากับผู้ใช้อีกด้วย (ดูหน้า 15)
ประชากรที่เพิ่มขึ้นและการขยายตัวทางเศรษฐกิจคือสองสาเหตุหลัก
ในเรื่องความต้องการเชื้อเพลิงอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้น แต่ในเรื่องกระแสไฟฟ้านั้น ด้วยเหตุนี้ แม้ความต้องการกระแสไฟฟ้าทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นกว่า 80%
มีปัจจัยอื่นเพิ่มเติมอีก คือ การผลิตกระแสไฟฟ้าที่แปลงจากพลังงาน ในช่วง 2010-2040 ก็ตาม ความต้องการเชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจะ
รูปแบบอื่น เช่น นํ้ามัน หรือพลังงานชีวมวล สำ�หรับการให้แสงสว่าง เพิ่มขึ้นเพียงราวๆ 45% เท่านั้น ซึ่งกว่า 90% ของความต้องการเชื้อเพลิง
และความร้อนในครัวเรือน (ดูหน้า 14) หรือถ่านหินสำ�หรับ ที่เติบโตขึ้นจะมาจากจีนและประเทศ Non OECD อื่นๆ
ในภาคอุตสาหกรรม (ดูหน้า 25)

80%
ความต้องการกระแสไฟฟ้า
ความตองการไฟฟา แบงตามภาคสวน
พันเทราวัตตชั่วโมง *
35
เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา
ลานลาน BTU
300

ทั่วโลกสูงขึ้น การขนสง ลม
30
250 พลังงาน
ในปี 2040 ความต้องการกระแสไฟฟ้า หมุนเว�ยนอื่นๆ
ทั่วโลกจะสูงกว่าวันนี้ราว 80% เมื่อกระจาย 25
ออกมาในแต่ละภาคส่วนแล้ว การเติบโต 200 นิวเคลียร
จะมาจากภาคอุตสาหกรรม (45%) ครัวเร�อน/
ภาคครัวเรือน (30%) และภาคการพาณิชย์ 20 การพาณิชย
(20%) การใช้กระแสไฟฟ้าในภาคขนส่งนั้น 150
แม้จะเติบโตขึ้นแต่ก็ยังคงจำ�กัดอยู่ 15 ถานหิน
ในขณะเดียวกันเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิต
กระแสไฟฟ้าจะเริ่มเปลี่ยนจากถ่านหิน 100
มาเป็นแหล่งเชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่า เช่น 10

ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์และแหล่งเชื้อเพลิง
หมุนเวียน อุตสาหกรรม 50
5 กาซ

0 0 น้ำมัน
1990 2015 2040
* Thousand of Terawat hours

28 exxonmobil.com/energyoutlook
“ผลกระทบของการบริโภคพลังงานที่เพิ่มมากขึ้นสามารถบรรเทาลงได้โดยการใช้พลังงานอย่างมี
ประสิทธิภาพและเปลี่ยนไปสู่แหล่งพลังงานสะอาดที่เชื่อถือได้ รวมทั้งพลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยี
ของเชือ้ เพลิงดัง้ เดิมทีช่ ว่ ยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เช่น การเปลีย่ นจากถ่านหินเป็นก๊าซธรรมชาติ”
“พลังงานเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน”
คณะที่ปรึกษาเลขาธิการสหประชาชาติ
ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพลังงานและภูมิอากาศ

ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ และพลังงานหมุนเวียน จะมีการเติบโต ในอีกแง่มุมหนึ่ง แหล่งพลังงานคาร์บอนตํ่าจะได้ประโยชน์ในส่วนนี้


อย่างรวดเร็วจวบจนปี 2040 ขณะที่โรงไฟฟ้าเปลี่ยนมาใช้แหล่ง ก๊าซธรรมชาติซึ่งปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ตํ่ากว่าถ่านหินอยู่
พลังงานคาร์บอนตํ่า 60% เมื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้านั้นจะได้ประโยชน์มากที่สุด ในปี 2040
ก๊าซธรรมชาติจะถูกนำ�มาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าทั่วโลกราว 30%
เนื่องจากกระแสไฟฟ้านั้นสามารถผลิตขึ้นได้จากหลายแหล่ง และ เมือ่ เทียบกับกว่า 20% ในปัจจุบนั เชือ้ เพลิงหมุนเวียนจะเติบโตอย่างมีนยั สำ�คัญ
เนื่องจากเศรษฐศาสตร์ในการผลิตกระแสไฟฟ้านั้นมีปัจจัยกระทบมากมาย นำ�โดย พลังงานลม แม้ว่าศักยภาพของพลังงานลมนั้นจะจำ�กัดด้วยความ
– ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี นโยบายสิ่งแวดล้อม มูลค่าการลงทุนสุทธิ ไม่ต่อเนื่อง และในกรณีถ้าใช้ลมทะเลจะจำ�กัดด้วยราคา ปริมาณของกระแส
และราคาเชื้อเพลิง – การใช้เชื้อเพลิงที่หลากหลายในการผลิตกระแส ไฟฟ้าที่ผลิตด้วยพลังงานลมจะเติบโตกว่าสิบเท่าในปี 2040
ไฟฟ้าเป็นตัวแปรที่ใหญ่ที่สุดในด้านภาพรวมพลังงานในหลายทศวรรษหน้า
(ดูหน้า 31) พลังงานนิวเคลียร์จะเติบโตอย่างมีนัยสำ�คัญเช่นกัน เอ็กซอนโมบิลมองว่า
การเติบโตของนิวเคลียร์จะสูงขึน้ กว่า 80% ในปี 2040 คิดเป็นการเติบโตเฉลีย่
ในหลายประเทศ ถ่านหินนับเป็นเชื้อเพลิงที่ถูกเลือกใช้งานมาแต่ดั้งเดิม 2% ต่อปี อย่างไรก็ตาม อัตราเติบโตนี้ตํ่ากว่าครึ่งเปอร์เซ็นต์ของที่เราคาดไว้
ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ทว่านโยบายสิ่งแวดล้อมจะกระตุ้นให้มีการ ในอดีต เนื่องจากการปิดและชะลอตัวของโครงการพัฒนานิวเคลียร์สืบเนื่อง
เปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดขึ้น ซึ่งภายในปี 2030 ความต้องการ จากเหตุการณ์ที่เมืองฟุกุชิมะในญี่ปุ่น
ถ่านหินทั่วโลกจะเริ่มลดลงในระยะเวลายาวนานเป็นครั้งแรก
ในประวัติศาสตร์โลกยุคใหม่ (ดูหน้า 8)

30%
ความตองการขนสงทางถนนทั่วโลก
เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน
20
ราคาของไฟฟาจากแสงอาทิตยแตกตางไปข�้นกับขนาด ในปี 2040 กระแสไฟฟ้าทั่วโลก
ของโรงไฟฟา โดยเฉลี่ยแลว ราคาของไฟฟาที่ผลิตจาก
โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยขนาดหลายลานเมกะวัตต ตํ่ากว่า 30% จะผลิตขึ้น
จะถูกกวาแผงโซลารเซลลตามหลังคาบานราวๆ 40 เซ็นต จากถ่านหิน ลดลงจาก 40%
15
ในปัจจุบัน
60 เหร�ยญ โดยทั่วไปแลว ราคาของลมทะเล นโยบายรัฐที่ระบุราคาของการปล่อยก๊าซ CO2
สำหรับกาซ จะแพงกวาลมบนชายฝงราว
CO2 1 ตัน
50% คือ สูงกวา 10 เซ็นต ในรูปของภาษี ข้อบังคับ เงินอุดหนุน หรือ
10 ตอกิโลวัตตชั่วโมง มาตรการอื่นๆ เป็นตัวเร่งให้ลดการใช้ถ่านหิน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่พัฒนาแล้ว
ไมเสียคา
แผนภูมินี้ช่วยอธิบายว่า เหตุใดถ่านหินซึ่ง
CO2 ปกติเป็นหนึ่งในทางออกที่ประหยัดต้นทุน
5 การผลิตกระแสไฟฟ้า แต่ด้วยราคาของ CO2
ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือ 60 เหรียญต่อตัน
(คือสิ่งที่เอ็กซอนโมบิลคาดว่าจะได้เห็นใน
ประเทศ OECD ในปี 2030) จะทำ�ให้ถ่านหิน
0
มีราคาแพงกว่าก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์และ
ถานหิน กาซ นิวเคลียร ลมบน ถานหิน/ กาซ/CCS ความรอน โซลาร ความรอน
พลังงานลม ซึ่งเชื้อเพลิงทั้งสามจะเติบโต
*สำหรับลมและแสงอาทิตย ราคาไมรวมคา
ชายฝง* CCS ใตพ�ภพ เซลล* จากแสงอาทิตย* อย่างมากจนถึงปี 2040
การเก็บสำรองพลังงานและสายสงไฟฟา

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 29


เชื้อเพลิงสำ�หรับผลิตกระแสไฟฟ้า
ต่างกันไปตามภูมิภาค
สหรัฐอเมริกาและยุโรปเปลี่ยนไปใช้แหล่งพลังงานคาร์บอนตํ่าเพื่อ กระแสไฟฟ้าของจีนจะเพิม่ กว่าสองเท่าในปี 2040 อย่างไรก็ตามเราคาดว่า
ผลิตกระแสไฟฟ้า การใช้ถ่านหินในจีนลดลงหลังปี 2030 จีนจะกระทำ�แบบเดียวกับที่สหรัฐฯ และยุโรปกำ�ลังกระทำ�อยู่ กล่าวคือ
ลดการใช้ถ่านหินในการผลิตกระแสไฟฟ้า
แม้ว่าเชื้อเพลิงที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้านั้นแตกต่างกันมากมายในแต่ละ
ภูมิภาค แต่ทุกภูมิภาคเริ่มหันเข้าหาแหล่งเชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่า ยุโรปได้ บทสรุปของการคาดการณ์เหล่านีค้ อื ความคาดหวังว่ารัฐบาลจะตัง้ นโยบาย
ครองตำ�แหน่งผู้นำ�ในเรื่องนี้เรียบร้อยแล้ว วันนี้เกือบครึ่งหนึ่งของ กำ�หนดราคาการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) (ดูหน้า 29)
กระแสไฟฟ้าในยุโรปผลิตจากนิวเคลียร์และเชื้อเพลิงหมุนเวียน และจะมี เอ็กซอนโมบิลมองเห็นว่า ราคา CO2 ในประเทศ OECD จะขึ้นไปอยู่ที่
อัตราเพิ่มขึ้นเป็นเกือบ 65% ในปี 2040 ส่วนใหญ่มาจากการใช้พลังงานลม 80 เหรียญต่อตันในปี 2040 ส่วนประเทศ Non OECD จะเริ่มตั้งนโยบาย
เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่งจะคิดเป็น 20% ของพลังงานในยุโรป โดยเพิ่มขึ้น ประมาณปี 2030 เมื่อถึงปี 2040 เราจะเห็นจีนตั้งราคาที่ 30 เหรียญต่อตัน
จากในปัจจุบันซึ่งมีสัดส่วนเพียง 5% และประเทศ Non OECD ตั้งราคาราว 20 เหรียญต่อตัน
สหรัฐอเมริกาก็มีแนวโน้มแบบเดียวกัน แม้ว่าก๊าซธรรมชาติในสหรัฐฯ จะ เอ็กซอนโมบิลคาดว่าพลังงานความร้อนใต้พิภพและพลังงานแสงอาทิตย์
มีอัตราการเติบโตสูงกว่ามาก นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งมาจากการเติบโต ทั่วโลกจะมีส่วนบ้างแต่ค่อนข้างจำ�กัด เนื่องจากราคายังแพงอยู่ แม้ว่า
มหาศาลของก๊าซจากแหล่งที่แตกต่างจากเดิมภายในประเทศ (ดูหน้า 45) จะคำ�นวณร่วมกับราคา CO2 ที่ 60 เหรียญต่อตันหรือสูงกว่าแล้วก็ตาม
อีกทั้งเทคโนโลยีจำ�กัดการปล่อยก๊าซ คือ การดักจับและกักเก็บคาร์บอน
สำ�หรับจีน เมื่อดูในช่วงแรกมีทีท่าว่าจะมีภาพต่างออกไปมาก เนื่องด้วย (Carbon capture and storage – CCS) จะมีราคาลดลงในประเทศ
ความต้องการกระแสไฟฟ้าเติบโตเร็วกว่ามาก แท้ที่จริงแล้วความต้องการ OECD ในปี 2040

การผลิตไฟฟา แบงตามเชื้อเพลิง
พันเทราวัตตชั่วโมง
อีก 30 ปขางหนา เราคาดวาจีนจะเพ�่มการใช
8 พลังงานนิวเคลียรมากกวา 150 กิกะวัตต คิดเปน
1.5 เทาของนิวเคลียร ในสหรัฐฯ
7
ลม
ในป 2040 สหรัฐฯ และยุโรปรวมกันจะใชพลังงานลมเกือบ
6
550 กิกะวัตต คิดเปน 50% ของทั้งโลก
พลังงาน
หมุนเว�ยนอื่นๆ
สหรัฐอเมร�กา จีน
5
นิวเคลียร
ยุโรป ถานหิน/CCS
4

3
ถานหิน
2

1
กาซ/CCS
กาซ
0 น้ำมัน
1990 2015 2040 1990 2015 2040 1990 2015 2040

30 exxonmobil.com/energyoutlook
การผลิตกระแสไฟฟ้า :
เลือกเชื้อเพลิงที่ใช่

Photo courtesy of General Electric Company

ลองจินตนาการว่าคุณคือ CEO ของบริษทั ไฟฟ้าทีก่ �ำ ลังสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ คุณจะเลือกใช้เชือ้ เพลิงอะไรสำ�หรับโรงไฟฟ้า? ทางเลือกของคุณขึน้ อยูก่ บั


หลายปัจจัย และมีเป้าหมายเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าที่เชื่อถือได้สำ�หรับลูกค้าด้วยราคาที่ซื้อหาได้ไปอีกหลายทศวรรษ เมื่อเอ็กซอนโมบิลจัดเตรียม
รายงานแนวโน้มพลังงานโลก เพื่อที่จะประมาณการความต้องการเชื้อเพลิง เราต้องพิจารณาปัจจัยเดียวกันเทียบประเทศต่อประเทศดังต่อไปนี้

■ ราคา ความพร้อมใช้งาน และความหลากหลายของเชือ้ เพลิง ในประเทศส่วนใหญ่ทกุ วันนี้ ก๊าซธรรมชาติและถ่านหินเป็นทางเลือกทีป่ ระหยัดทีส่ ดุ


สำ�หรับใช้ในโรงไฟฟ้า ตามด้วยนิวเคลียร์และลม เศรษฐกิจยังมีผลจากอัตรากำ�ลังการผลิตอีกด้วย เนื่องจากในขณะที่โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้กำ�ลังการผลิตราว 90% อัตรากำ�ลังการผลิตจากลมและแสงอาทิตย์ยังตํ่ากว่ามากเนื่องจากเป็นแหล่งพลังงานที่ไม่ต่อเนื่อง
ฉะนั้นความพร้อมใช้งานและความหลากหลายของแหล่งพลังงานจึงมีความสำ�คัญ เพราะทุกประเทศต่างแสวงหาความมั่นคงทางพลังงาน
เช่นเดียวกัน

■ นโยบายลดการปล่อย CO2 และก๊าซอื่นๆ เอ็กซอนโมบิลคาดว่าภายในปี 2040 ประเทศ OECD ทั้งทางตรงและทางอ้อม จะตั้งราคา CO2
ไว้ที่ 80 เหรียญต่อตัน จีนจะเริ่มตั้งมาตรการรัดกุมยิ่งขึ้นประมาณปี 2030 ตามด้วยประเทศ Non OECD อื่นๆ ความต้องการปรับปรุงคุณภาพ
อากาศจะกระตุ้นให้มีการใช้ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ และพลังงานหมุนเวียนในประเทศ Non OECD มากขึ้น

■ ราคาและระยะเวลาการก่อสร้าง การสร้างโรงไฟฟ้าขนาด 1 กิกะวัตต์แห่งใหม่ใช้เงินกว่า 1 พันล้านเหรียญ โรงไฟฟ้าถ่านหินและนิวเคลียร์


ใช้เวลามากกว่าห้าปีในการขออนุญาตและก่อสร้าง แต่ในประเทศ Non OECD มีค่าแรงตํ่า ซึ่งเป็นปัจจัยที่แข่งขันในเรื่องราคาอย่างมาก ขณะที่
โรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซธรรมชาติและพลังงานหมุนเวียนใช้เวลาขออนุญาตและก่อสร้างไม่ถึง 2 ปี

■ เทคโนโลยีและทัศนคติของผู้บริโภค เทคโนโลยีใหม่ทำ�ให้ราคาลดลงได้ เช่น การผลิตก๊าซธรรมชาติแบบใหม่ในสหรัฐอเมริกา ความรู้สึกของ


สาธารณชนเป็นเรื่องสำ�คัญเช่นกัน ตัวอย่างเช่น วิกฤติการณ์ฟุกุชิมะที่ญี่ปุ่นทำ�ให้การเติบโตของนิวเคลียร์ทั้งโลกลดลง

เมื่อนำ�มารวมกัน ปัจจัยเหล่านี้บ่งบอกถึงการเปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่า โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติ ซึ่งปล่อย CO2 น้อยกว่าถ่านหินถึง


60 เปอร์เซ็นต์เมื่อนำ�มาผลิตกระแสไฟฟ้า อีกทั้งยังมีความปรับเปลี่ยนได้ง่าย เชื่อถือได้ ราคาเหมาะสม และมีจำ�นวนมากพอที่จะนำ�มาผลิตกระแส
ไฟฟ้าเพื่อรองรับความต้องการมหาศาลบนโลก โรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซใช้เทคโนโลยีทพ่ี สิ จู น์แล้ว สามารถก่อสร้างได้รวดเร็วและมีราคาเหมาะสม
ซึง่ ต่างจากทางเลือกบางประเภทอื่นๆ ที่มิได้ปล่อยก๊าซเลย
2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 31
การปล่อยก๊าซ
เอ็กซอนโมบิลคาดว่าการปล่อยก๊าซประเภท CO2
ทั่วโลกจะคงที่ราวๆ ปี 2030 แม้ว่ายังคงมีการใช้
พลังงานเพิ่มขึ้นเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ
การเติบโตของประชากรทั่วโลก

แนวโน้มการปล่อยก๊าซนี้เป็นผลมาจากการปรับปรุง
ประสิทธิภาพพลังงาน ผนวกเข้ากับ
การหันมาใช้กา๊ ซธรรมชาติและเชือ้ เพลิงคาร์บอนตํา่ อืน่ ๆ
ล้วนเป็นความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะบริหาร
ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

3232 exxonmobil.com/energyoutlook
exxonmobil.com/energyoutlook
20%
การปล่อย CO2 ได้เริ่มลดลงแล้วใน
สหรัฐอเมริกา ยุโรป และประเทศ OECD
โดยในปี 2040 การปล่อยก๊าซในประเทศ
OECD จะลดลง 20% เมื่อเทียบกับปี 2010

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 33


การปล่อยก๊าซประเภท CO2
จะคงที่ในหลายทศวรรษหน้า
การปล่อยก๊าซที่เพิ่มขึ้นมาหลายสิบปีจะเข้าสู่จุดสูงสุดราวปี 2030 การที่จีนลดการปล่อยก๊าซส่งผลให้มีแนวโน้มเดียวกันที่เกิดขึ้นในประเทศ
ประเทศ OECD จะลดการปล่อยก๊าซลง 20% OECD ในทุกวันนี้ โดยปัจจัยที่สำ�คัญที่สุดคือการพัฒนาประสิทธิภาพ
ยานยนต์ประหยัดเชื้อเพลิงยิ่งขึ้น โรงไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงขึ้น พร้อมด้วย
ความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงที่เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ เทคโนโลยีและวิธีการใหม่ๆ ที่ช่วยประหยัดพลังงานในด้านของผู้ใช้
กระตุ้นเตือนให้หลายประเทศหาแนวทางจำ�กัดการปล่อย CO2 การก้าวสู่เชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคการผลิต
การปล่อยก๊าซที่เพิ่มขึ้นนั้นได้เริ่มชะลอตัวแล้วในระดับโลก และลดลงใน กระแสไฟฟ้ามีส่วนสำ�คัญ ในจีนก็เช่นเดียวกับประเทศ OECD
อเมริกาเหนือ ยุโรป และประเทศ OECD แต่นับจากบัดนี้จนถึงปี 2040 แนวโน้มสัดส่วนประชากรได้ช่วยบรรเทาความต้องการพลังงานและ
หลายปัจจัยจะมาประกอบรวมกันนำ�สู่ก้าวที่สำ�คัญ เอ็กซอนโมบิลคาดว่า การปล่อยก๊าซ (ดูหน้า 6)
การปล่อยก๊าซประเภท CO2 ทั่วโลกจะเริ่มคงที่ประมาณปี 2030 และไม่
เปลี่ยนแปลงนับแต่ปี 2030-2040 เนื่องด้วยความมีประสิทธิภาพและการหันไปใช้เชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่า
ในช่วง 2010 ถึง 2040 อัตราการเพิม่ การปล่อยก๊าซ CO2 ทัว่ โลกจะเพิม่ ขึน้
อะไรคือสาเหตุที่การปล่อย CO2 ทั่วโลกเริ่มคงที่? ในประเทศ OECD เพียงครึ่งหนึ่งของอัตราการเติบโตความต้องการพลังงาน อย่างไรก็ตาม
การปล่อยก๊าซคาดว่าจะลดลง 20% ตลอดช่วงเวลาในรายงาน อีกปัจจัย การลดลงของการปล่อยก๊าซในประเทศ OECD และจีน จะถูกทดแทนด้วย
หนึ่งที่สำ�คัญคือ จีน ซึ่งปัจจุบันปล่อยก๊าซกว่า 1 ใน 4 ของทั่วโลก การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากประเทศ Non OECD เช่น อินเดีย
โดยการปล่อยก๊าซของจีนจะเริ่มลดลงหลังปี 2025 สิ้นสุดหลายทศวรรษ
แห่งการเพิ่มขึ้นมหาศาลของ CO2 อันมีผลมาจากการเร่งรีบพัฒนา
เศรษฐกิจและการอุตสาหกรรม

70%
คือ สัดส่วนของการปล่อย
การปลอย CO2 จากการใชพลังงาน
แบงตามภูมิภาค
พันลานตัน
การปลอย CO2 จากการใชพลังงาน
แบงตามภาคสวน
พันลานตัน
40 40
CO2 ของประเทศ Non OECD
ในปี 2040 35 35 ครัวเร�อน/
การพาณิชย
Non OECD
30 อื่นๆ 30
การเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจและ การขนสง
ความต้องการพลังงานจะเป็นแรงหนุนให้มีการ 25 25
ปล่อยก๊าซประเภท CO2 สูงขึ้นในประเทศ อินเดียและ
Non OECD ส่วนใหญ่ ยกเว้นแต่ประเทศจีน แอฟร�กา
20 20
ซึ่งคาดว่าจะลดการปล่อยก๊าซลงในราว อุตสาหกรรม
ปี 2025 หลังจากที่เพิ่มขึ้นสูงติดต่อกันหลาย
15 จีน 15
ทศวรรษ โดยในปี 2040 ประเทศ Non OECD
จะปล่อย CO2 คิดเป็น 70% ของทั่วโลก
เทียบกับ 60% ในปี 2010 10 10

การผลิตไฟฟา
5 5
OECD

0 0
1990 2015 2040 1990 2015 2040

34 exxonmobil.com/energyoutlook
ทุกอย่างล้วนมีร่องรอยของคาร์บอน นมหนึ่งแกลลอนก่อให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์เกือบ
7 ปอนด์ และปล่อย GHG รวม 17 ปอนด์ ตั้งแต่เริ่มเดินทางจากฟาร์มมาวางบนโต๊ะ

มหาวิทยาลัยอาร์คันซอ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมิชิแกน

แนวโน้มการปล่อยก๊าซต่อหัวประชากรในปี 2040 นั้น ประเทศ OECD ขณะที่การปล่อยก๊าซต่อหัวประชากรในสหรัฐอเมริกายังคงสูงที่สุดในโลก


จะลดลง จีนเข้าสูู่ในระดับสูงสุด และประเทศอื่นๆ ยังเพิ่มขึ้น แต่พวกเขาคาดว่าจะลดลงอย่างมากในปี 2040 ยุโรปซึ่งปัจจุบันมีระดับ
การปล่อยก๊าซต่อหัวเพียงครึ่งหนึ่งของสหรัฐฯ ก็จะมีการลดลงเช่นกัน
ตลอดช่วงของการรายงานฉบับนี้ เราพบว่าประเทศต่างๆ มีระดับการ การปล่อยก๊าซต่อหัวประชากรในจีน ซึ่งพุ่งขึ้นสูงมากในหลายทศวรรษ
ใช้พลังงานแตกต่างกันไปตามสภาพการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยประชาชน ที่ผ่านมาจะเข้าสู่ระดับเดียวกับยุโรป และเริ่มลดลงหลังปี 2030
ที่อาศัยอยู่ในประเทศที่รํ่ารวยมีแนวโน้มการใช้พลังงานต่อหัวสูงกว่า
เนื่องจากพวกเขาใช้รถยนต์ส่วนตัว อาศัยอยู่ในบ้านหลังใหญ่กว่า อีกนัยหนึ่ง หลายๆ ประเทศซึ่งวันนี้มีการปล่อยก๊าซต่อหัวประชากร
การใช้กระแสไฟฟ้าจำ�นวนมาก และมีภาคอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งใช้พลังงานสูง ตํ่ามาก จะเริ่มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนถึงปี 2040 เนื่องจากเศรษฐกิจ
และมีการบริการธุรกิจรวมทั้งการศึกษาและบริการการแพทย์ที่ก้าวหน้า เติบโตเร็วกว่าการทดแทนด้วยประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ตัวอย่างเช่น อินเดีย
จะมีการปล่อยก๊าซต่อหัวเพิ่มขึ้นเกือบ 70% อย่างไรก็ตามแม้จะถึง
แนวโน้มนี้ได้สะท้อนถึงรูปแบบของการปล่อยก๊าซประเภท CO2 ปี 2040 แล้ว การปล่อยก๊าซต่อหัวในอินเดียจะยังคงตํ่ากว่าครึ่งหนึ่งของ
แต่อย่างไรก็ตาม รูปแบบการปล่อย CO2 ต่อหัวประชากรกำ�ลังเปลี่ยนไป ระดับที่จีนเป็นอยู่ การเพิ่มขึ้นอย่างมากนี้เกิดขึ้นในแอฟริกาและ
ลาตินอเมริกาเช่นกัน

การปลอย CO2 จากการใชพลังงาน ตอหัวประชากร


ตันตอคน
18 2010
40%
คือ การลดลงของการปล่อย
ก๊าซต่อหัวประชากรใน
15 2025 สหรัฐฯ ช่วงปี 2010-2040

สะท้อนถึงการพัฒนาเศรษฐกิจขั้นสูง
12
2040 สหรัฐอเมริกามีการปล่อยก๊าซต่อหัว
ประชากรสูงที่สุด คือ สามเท่าของจีน และ
9
สิบเท่าของอินเดีย แต่สหรัฐอเมริกา
คาดหวังจะปรับปรุงอย่างมากในเรื่องนี้
โดยการลดการปล่อยก๊าซต่อหัวลง 40%
6 ภายใน 30 ปีข้างหน้า ซึ่งส่วนใหญ่จะมา
จากการปรับปรุงประสิทธิภาพในทุกภาค
เศรษฐกิจ
3

0
สหรัฐอเมร�กา ยุโรป จีน อินเดีย

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 35


การจัดหาพลังงาน
และเทคโนโลยี
เพื่อให้มนุษย์และเศรษฐกิจก้าวหน้าต่อไป การจัดหา
พลังงานจะต้องเติบโตขึ้นเพื่อสนองความต้องการ
ดังกล่าว จวบจนปี 2040 การปรับปรุงเทคโนโลยีจะ
ขยายการจัดหานํ้ามันและก้าวทันต่อความต้องการ
ก๊าซธรรมชาติที่คาดว่าจะสูงขึ้น การก้าวสู่
แหล่งเชื้อเพลิงคาร์บอนตํ่าจะสนับสนุนการเติบโต
ของนิวเคลียร์และเชือ้ เพลิงหมุนเวียน และเป็นครัง้ แรก
ที่มีการลดการใช้ถ่านหินลง

36 exxonmobil.com/energyoutlook
การขนส่งพลังงานต้องการความมุ่งมั่น

กว่าทศวรรษ ก่อนที่พลังงานจะมาถึง
มือผู้บริโภค กลุ่มนักวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรเริ่มจากการค้นพบและประเมิน
แหล่งนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติสำ�รอง

การสำ�รวจและการประเมินผล
ภาพถ่ายธรณีวิทยา 3 มิติ ดำดิ�งสูทะเลลึก
ตรวจวัดการสะท้อนของคลื่นเสียง
หลายไมล์ใต้ดินเพื่อพิสูจน์ทราบ ความลึก
ฟ�ต
ตำ�แหน่งของแหล่ง 0
ไฮโดรคาร์บอน
2,000

4,000

6,000
เทคโนโลยีใต้ทะเลลึก
ทำ�ให้สามารถขุดลงไป
ยังหลุมเจาะที่อยู่ในนํ้า 8,000

ลึกกว่า 10,000 ฟุต โดยใช้ผลการประเมินหลุมเจาะและภาพธรณีวิทยา 3 มิติ วิศวกร


ซึ่งลึกขึ้นกว่า 10 เท่า 10,000
และนักธรณีวิทยาสร้างภาพจำ�ลองคอมพิวเตอร์ของแหล่งพลังงาน
นับตั้งแต่ทศวรรษ 1960
ทศวรรษ 1960 วันนี้ เพื่อเพิ่มศักยภาพการค้นหานํ้ามันและก๊าซธรรมชาติให้ได้มากที่สุด
อันจะนำ�สู่ความเข้าใจถึงตำ�แหน่งที่ดีที่สุดที่จะทำ�การขุดเจาะ

37 exxonmobil.com/energyoutlook
นระยะยาวเพื่อการลงทุนและเทคโนโลยี

ภายหลังจากที่นํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ ระยะเวลาที่ต้องการในการพัฒนาและ
ถูกค้นพบและประเมินค่าเรียบร้อยแล้ว เริ่มแหล่งขุดเจาะนั้นแตกต่างกันไป
จะใช้เวลาหลายปีในการกำ�หนดกรอบ โดยปกติแล้วจะใช้เวลา 3 ปีหรือ
ของโครงการรวมถึงในเรื่องเทคโนโลยี มากกว่านั้นเพื่อขอรับใบอนุญาต
และการลงทุนที่ต้องการใช้ เพื่อก่อสร้างอุปกรณ์ และแท่นขุดเจาะ
สำ�หรับการผลิตขึ้นมา

การพัฒนาและการขุดเจาะ
การขุดเจาะแบบกำ�หนดทิศทางทำ�ให้สามารถเจาะแนวนอนไปหาแหล่งพลังงานที่อยู่ห่าง
ออกไปหลายไมล์จากพื้นที่ขุดเจาะ หลุมเจาะที่นับว่ายาวที่สุดทำ�สำ�เร็จในปี 2011 ซึ่งมี
ความยาวรวม 8 ไมล์และขยายแนวนอนออกไปกว่า 7 ไมล์

หน่วยผลิตจะส่งก๊าซธรรมชาติเหลว
ไปยังตลาดโลก โดยหน่วยผลิตที่สร้างขึ้นในปัจจุบัน
มีขนาดใหญ่กว่า 20 เท่าของแห่งแรกที่สร้าง
ในทศวรรษ 1960

หัวเจาะเพชรถูกออกแบบมาโดยเฉพาะ การใช้แรงดันนํ้าฉีดไปยังรูพรุนในชั้นหินและ
เพื่อให้ทนต่อความร้อนและแรงมหาศาล การขุดเจาะแนวนอนทำ�ให้สามารถขุดเจาะ
วัสดุทันสมัยที่ทนทานทำ�ให้สามารถเจาะได้เร็วขึ้นและ นํ้ามันและก๊าซธรรมชาติได้จากแหล่งชั้นหินที่
ลึกยิ่งขึ้น แข็งราวคอนกรีต

38
หลังจากหลายสัปดาห์ที่ได้ขุดพบ
และนำ�ขึ้นมาแล้ว นํ้ามันดิบและก๊าซ
ธรรมชาติจะถูกขนส่งไปยังหน่วยที่จะ
ดำ�เนินการต่อ ผ่านทางเรือ รถบรรทุก
รถไฟ หรือทางท่อ

การนำ�ขึ้นมาใช้และการขนส่ง
ในโครงการน่านนํ้าลึกหลายแห่ง เรือสำ�หรับการผลิต เก็บกัก และขนถ่าย เทคโนโลยีทันสมัยทำ�ให้สามารถผลิตพลังงานได้ในสภาวะแวดล้อม
(Floating vessel for production, storage and offloading-FPSO) ที่เลวร้ายที่สุดของโลกได้ – อุณหภูมิตํ่ากว่าศูนย์ หรือระยะทาง
สามารถผลิตได้กว่า 250,000 บาร์เรลต่อวัน และเก็บนํ้ามันไว้ หลายร้อยไมล์จากชายฝั่ง
เป็นการลดความจำ�เป็นที่จะต้องสร้างท่อส่งขึ้นไปบนฝั่ง เรือ FPSO นั้น
บ่อยครั้งถูกสร้างขึ้นจากการรีไซเคิลโครงสร้างของเรือบรรทุกนํ้ามัน

เรือโครงสร้างสองชั้นจะนำ�ก๊าซธรรมชาติเหลวมายังตลาดโลก
เรือประเภทนี้ที่ใหญ่ที่สุดชื่อ เรือบรรทุก Q-Max ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้อยลงเพียง
1/3 และสามารถบรรทุกก๊าซธรรมชาติที่เพียงพอต่อความต้องการ
ของ 70,000 ครัวเรือนเป็นเวลา 1 ปี

เมื่อนำ�ท่อส่งนํ้ามัน ก๊าซ และปิโตรเลียมทั่วโลก


มาต่อกันจะมีความยาวเท่ากับระยะทางไปกลับจากโลก
ไปยังดวงจันทร์ 5 เที่ยว
39
เมื่อนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติมาถึงยังหน่วยผลิต
พวกมันจะถูกแปรสภาพอย่างรวดเร็วมาเป็น
ผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคใช้อยู่ในชีวิตประจำ�วัน
ตัวอย่างเช่น โรงกลั่นจะแปรสภาพนํ้ามันดิบ
ออกมาเป็นนํ้ามันเบนซิน ดีเซล และเคมีภัณฑ์

การกลั่น กระบวนการ และการผลิต


ผลิตภัณฑจากโรงกลั่น นํ้ามันเครื่องสังเคราะห์แท้ การพัฒนาสารเร่งปฏิกิริยา
เปอรเซ็นต แบบใหม่ช่วยยืดอายุเครื่องยนต์ metallocene ที่ดีขึ้น ทำ�ให้มี
เพิ่มสมรรถภาพ และจะเปลี่ยน บรรจุภัณฑ์สำ�หรับอาหารและ
น้ำมันหลอลื่น, ถานโคก, อื่นๆ 11% ก็ต่อเมื่อถึง 15,000 ไมล์ ได้ช่วย สินค้าที่แข็งแรงและเบาขึ้น
เคมีภัณฑ 3% ลดการทิ้งนํ้ามันใช้แล้ว
ข�้ผึ้ง/ยางมะตอย 2%
น้ำมันเตา 4%
LPG 4%
เชื้อเพลิงเคร�่องบิน 9%
ดีเซล 25%

กันชนรถยนต์ ถังนํ้ามัน
เบนซิน 42%
และชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์
ผลิตจากพลาสติกรีไซเคิล
ที่ทนต่อแรงกระแทก ช่วย
ลดนํ้าหนักรถยนต์ลง 10%
โรงพลังงานความร้อนร่วมเป็นแนวทางที่มี เทคโนโลยียางบิวทิว (Butyl) ช่วยยืดอายุยางรถยนต์และ และเพิ่มประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าและ เก็บลมยางได้นานกว่า ซึ่งส่งผลให้ดีขึ้นทั้งสมรรถนะ เชื้อเพลิง
ไอนํ้าสำ�หรับอุตสาหกรรมและผู้บริโภค ความปลอดภัย และการประหยัดเชื้อเพลิง
โดยอาศัยความร้อนที่ถูกปล่อยทิ้งออกมา
2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 40
2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 41
เทคโนโลยีจะช่วยให้การจัดหาเชื้อเพลิงเหลวก้าวหน้า
และมีความหลากหลาย
การผลิตนํ้ามันดิบแบบเดิมเริ่มคงที่ ในขณะที่การหานํ้ามันดิบจาก นอกจากท้องทะเลลึกแล้ว ยังมีการเติบโตมหาศาลในการผลิตจากทราย
แหล่งทะเลลึกและแหล่งที่แตกต่างจากเดิมจะเพิ่มมากขึ้น นํ้ามันทั้งในแคนาดาและเวเนซุเอลา ในปี 2040 ทรายนํ้ามันจะมีสัดส่วน
คิดเป็น 25% ของแหล่งเชื้อเพลิงเหลวในอเมริกาเหนือและใต้
ขณะทีน่ า้ํ มันและเชือ้ เพลิงเหลวจะยังคงเป็นแหล่งพลังงานทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก
ในปี 2040 และตอบสนองความต้องการได้ราว 1 ใน 3 แต่ทั่วโลกแล้ว นํ้ามันจากแหล่งที่หายาก และก๊าซธรรมชาติเหลว (NGLs) จะเติบโตขึ้น
ความต้องการเชื้อเพลิงเหลวจะเติบโตกว่า 30% ภายใน 30 ปี อย่างสูงจนถึงปี 2040 เชื้อเพลิงแต่ละชนิดนี้เป็นผลจากการใช้เทคนิคใหม่
ข้างหน้า เกือบ 80% ของความต้องการที่เพิ่มขึ้นนี้เกี่ยวเนื่องกับ ที่สามารถสกัดนํ้ามันและก๊าซจากหินนํ้ามันและชั้นหินแข็งประเภทต่างๆ
ภาคการขนส่ง (ดูหน้า 16) เทคโนโลยีเหล่านี้ทำ�ให้มีการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลในสหรัฐอเมริกา
และกำ�ลังกระจายออกไปทั่วโลก เชื้อเพลิงชีวภาพก็จะเริ่มมีส่วนร่วม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำ�คัญในการจัดหาเชื้อเพลิงเหลว โดยเพิ่มขึ้นเป็น 5% ของเชื้อเพลิงเหลวทั้งหมด ขณะที่การทำ�ถ่านหินเป็น
ได้มากขึ้น ขณะที่การผลิตนํ้ามันดิบแบบดั้งเดิมจะคงที่ไปจนถึงปี 2040 ของเหลว ก๊าซเป็นของเหลว และปริมาตรสารอื่นๆ ที่ได้จากกระบวน
โดยมีแหล่งพลังงานใหม่ๆ มาตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้น ประโยชน์ การกลั่นจะเพิ่มขึ้นแต่ตํ่ากว่า 5% ของเชื้อเพลิงที่มี
สูงสุดที่ได้คือการผลิตจากท้องทะเลลึกทั่วโลกซึ่งสูงขึ้นกว่าเดิมสองเท่า
จนถึงปี 2040 การเติบโตนีช้ ี้ให้เห็นถึงพลังของเทคโนโลยีใหม่ๆ แม้ว่า ผลจากการการเติบโตของแหล่งพลังงานใหม่ๆ เหล่านี้ ทำ�ให้ภายในปี
เมื่อสิบปีก่อนเทคโนโลยีการผลิตจากท้องทะเลลึกยังเพิ่งเริ่มต้นขึ้นเท่านั้น 2040 นํ้ามันดิบแบบเดิมจะมีจำ�นวนเพียง 60% ของเชื้อเพลิงเหลว
แต่ในปี 2025 จะมีบทบาทช่วยจัดหาเชื้อเพลิงเหลวได้ 10% ของทั้งโลก ซึ่งลดตํ่าลงจาก 80% ในปี 2010

55%
ปร�มาณเชื้อเพลิงเหลว แหลงน้ำมันดิบและ
แบงตามประเภท คอนเดนเสททั่วโลก
เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน ลานลานบารเรล

คือ แหล่งนํ้ามันโลกที่ยัง 120 5

ไม่ได้ทำ�การผลิตในปี 2040 เชื้อเพลิงชีวภาพ


100 กาซธรรมชาติเหลว
4

องค์ประกอบของเชื้อเพลิงเหลวกำ�ลัง แหลงทะเลลึก แหลงที่เหลืออยู


เปลี่ยนแปลงไป แต่สิ่งหนึ่งที่ยังเหมือนเดิม 80 น้ำมันแหลงที่แตกตาง
คือ โลกยังคงรักษาแหล่งนํ้ามันที่สำ�คัญ จากเดิม
3
ทรายน้ำมัน
ไปจนกระทั่งปี 2040 เอ็กซอนโมบิล ถานหิน/กาซเหลว
ประมาณการว่านํ้ามันทั่วโลกน้อยกว่าครึ่ง 60 และผลิตผลจาก
การกลั่น
จะเข้าสู่การผลิต และพึงระลึกไว้ว่า
2
เมื่อเทคโนโลยีพัฒนาขึ้น จะต้องประเมิน
40
ขนาดของแหล่งพลังงานโลกใหม่เช่นกัน
น้ำมันดิบแบบดั้งเดิม ผลรวมการผลิต
และคอนเดนเสท จนถึงป 2040
1
20

0 0
1990 2015 2040
ที่มา: แหลงพลังงานสุทธิจาก IHS Inc
โดยไดรับอนุญาตจาก IHS

42 exxonmobil.com/energyoutlook
นับจากปี 2000 นํ้ามันทุกๆ หนึ่งบาร์เรลที่ผลิตได้ขึ้นทั่วโลก จะมีการค้นพบแหล่งนํ้ามันใหม่ขึ้นอีกกว่า
2.5 บาร์เรล

วารสาร Oil and Gas

การค้นพบนํ้ามันใหม่ๆ ในวันนี้มาจากแหล่งที่ทำ�การผลิตมา ขณะที่ความต้องการเพิ่มขึ้น เทคโนโลยีทันสมัยช่วยนำ�สู่แหล่งพลังงาน


หลายยุคสมัย ใหม่เพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น หลุมขุดเจาะนอกชายฝั่งแห่งแรกสร้างสำ�เร็จในปี
1947 วันนี้หลุมเจาะสามารถลงไปใต้นํ้าลึกได้เกือบ 10,000 ฟุต นอกจาก
ความสนใจจำ�นวนมากมุ่งไปที่เทคโนโลยีพลังงานใหม่ซึ่งเป็นเหตุผลที่ดี นี้แล้วเทคโนโลยีใหม่สามารถฟื้นสภาพ Tight Oil แหล่งนํ้ามันอาร์กติก
แต่ก็สำ�คัญที่ควรทราบว่าเชื้อเพลิงเหลวส่วนใหญ่ในปัจจุบันมาจากแหล่ง และทรายนํ้ามัน และการค้นพบที่มีศักยภาพสูง เช่น การสกัดเชื้อเพลิง
ที่ได้ผลิตมาหลายทศวรรษแล้ว มากกว่า 95% ของนํ้ามันดิบที่ผลิตในวันนี้ เหลวจากพืชที่มิใช่อาหาร และจากสาหร่าย เป็นต้น
ถูกค้นพบก่อนปี 2000 และประมาณ 75% ค้นพบก่อนปี 1980
ตั้งแต่หลุมแรกที่ถูกขุดเจาะในเพนซิลเวเนียเมื่อปี 1859 ธุรกิจพลังงานได้
แหล่งพลังงานขนาดใหญ่หลายแห่งเป็นแหล่งพลังงานมาแล้วหลาย พิสูจน์ตัวเองว่าเป็นธุรกิจระยะยาว การตัดสินใจเมื่อหลายสิบปีก่อนเพื่อ
ทศวรรษ ตัวอย่างเช่น แหล่ง Ghawar ในซาอุดีอาระเบียซึ่งค้นพบในปี ลงทุนในเทคโนโลยี การสำ�รวจ และการพัฒนานั้น มีความสำ�คัญในการ
1948 เริ่มทำ�การผลิตในปี 1951 และในปัจจุบันยังคงทำ�การผลิตได้เกือบ ตอบสนองความต้องการพลังงานในปัจจุบัน และการตัดสินใจในวันนี้จะ
5 ล้านบาร์เรลต่อวัน ช่วยตอบรับต่อความต้องการในอนาคตอีกด้วย
เทคโนโลยีใหม่ยังช่วยต่ออายุให้แหล่งพลังงานได้อีกด้วย ในเวสต์เท็กซัส
เอ็กซอนโมบิลใช้วิธีการค้นหานํ้ามันที่ดีขึ้นจนสามารถได้นํ้ามันเพิ่มขึ้น
หลายล้านบาร์เรลจากแหล่ง Means ซึ่งค้นพบในทศวรรษ 1930
และได้ทำ�การผลิตไปแล้วกว่า 300 ล้านบาร์เรล

75%
การผลิตน้ำมันทั่วโลก แบงตามชวงเวลาที่คนพบ
เทียบเทาลานบารเรลน้ำมันตอวัน
100
ของนํ้ามันในวันนี้ถูกค้นพบ
2000s ก่อนปี 1980
80
1990s
การตอบสนองความต้องการพลังงานอย่าง
1980s
ต่อเนื่อง – อย่างปลอดภัยและมีผลกระทบ
60 ต่อธรรมชาติน้อยที่สุดนั้นมีความสำ�คัญและ
1970s
เทคโนโลยีทันสมัยมีส่วนสำ�คัญยิ่ง ตัวอย่าง
เช่น การสร้างภาพธรณีวิทยา 3 มิติทำ�ให้
40 1960s สามารถค้นหาแหล่งนํ้ามันและก๊าซได้โดยไม่
ต้องลงมือขุดเจาะ และเทคโนโลยีการขุดเจาะ
แนวนอนทำ�ให้พฒ ั นาหลายๆ แหล่งได้จาก
1950s จุดเดียวในหลายรูปแบบเทคโนโลยีช่วยลด
20 ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกับการ
1940s ตอบสนองพลังงานต่อมนุษยชาติ
1930s
0 Before 1930
1965 1970 1975 1980 1985 1990 1995 2000 2005 2010
ที่มา: การประมาณการของเอ็กซอนโมบิลอางตามขอมูลของ Wood Mackenzies Limited & Nehring Associates

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 43


ก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้นสูงอย่างมากในปี 2040
ความพยายามลดการปล่อยก๊าซผลักดันให้ก๊าซธรรมชาติก้าวขึ้น ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงอเนกประสงค์และปัจจัยที่กระตุ้นความต้องการ
เป็นเชื้อเพลิงอันดับสองของโลก มีความต่างกันไปตามภูมภิ าค ในอเมริกาเหนือ ก๊าซธรรมชาติเป็นทางเลือก
ที่สำ�คัญเพื่อทดแทนถ่านหินในการผลิตกระแสไฟฟ้าภายใต้นโยบาย
และเติบโตเร็วที่สุดจนถึงปี 2040 ด้วยความต้องการที่สูงขึ้นกว่า 60% ค่าปรับสำ�หรับเชื้อเพลิงคาร์บอนสูง (ดูหน้า 30) ความก้าวหน้า
ความต้องการส่วนมากมาจากโรงไฟฟ้าและผู้บริโภคอื่นๆ ที่เลิกใช้ถ่านหิน ในการผลิตก๊าซธรรมชาติจากแหล่งที่แตกต่างจากเดิมในสหรัฐฯ คาดว่า
เพื่อลดการปล่อย CO2 ภายในปี 2025 ก๊าซธรรมชาติซึ่งปล่อย CO2 จะสนองความต้องการภายในประเทศในอนาคตได้
ตา่ํ กว่าถ่านหินถึง 60% ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จะก้าวขึน้ มาเป็นเชือ้ เพลิง
ยอดนิยมอันดับสองรองจากนํ้ามันแทนที่ถ่านหิน การเติบโตของความต้องการก๊าซธรรมชาติในจีนสามารถแยกออกได้เป็น
ภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ ซึ่งการจัดจำ�หน่ายจะ
คาดกันว่าจะมีความต้องการก๊าซธรรมชาติในทุกส่วนของโลก โดยเฉพาะ ขยายตัวอย่างรวดเร็วและก๊าซจะแข่งขันอย่างสูงกับก๊าซปิโตรเลียมเหลว
อย่างยิ่งในประเทศ Non OECD ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกซึ่งต้องการ (LPG) ในอินเดียประมาณครึ่งหนึ่งของการเติบโตของความต้องการ
ก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่าภายใน 30 ปีข้างหน้า ความต้องการใน ก๊าซธรรมชาติในปี 2040 จะมาจากภาคอุตสาหกรรม ส่วนในตะวันออกกลาง
ตะวันออกกลางก็จะเติบโตขึ้นมากเช่นกัน ขณะที่ความต้องการในรัสเซีย/ นั้นความต้องการจะมาจากการผลิตกระแสไฟฟ้าและภาคอุตสาหกรรม
แคสเปียนจะคงที่

30%
คือส่วนแบ่งการตลาดของ
ความตองการกาซธรรมชาติ
แบงตามภูมิภาค
พันลานลูกบาศกฟ�ตตอวัน
ความตองการกาซธรรมชาติ
แบงตามประเภท
พันลานลูกบาศกฟ�ตตอวัน
600 600
ก๊าซจากแหล่งที่แตกต่าง
จากเดิม ในปี 2040 500 500
Non OECD
อื่นๆ
แหลงที่แตกตางจากเดิม
ส่วนแบ่งที่เพิ่มขึ้นของความต้องการ รัสเซีย/
400 แคสเปยน 400
ก๊าซธรรมชาติทั่วโลกจะมาจากหินนํ้ามันและ
หินแข็งประเภทอื่นซึ่งหมายถึงก๊าซจากแหล่งที่
แตกต่างจากเดิมนั่นเอง ในปี 2040 ก๊าซจาก ตะวันออกกลาง
300 300
แหล่งที่แตกต่างจากเดิมคิดเป็น 30% ของ
เอเชียแปซิฟ�ก
การผลิตทั่วโลก เพิ่มขึ้นจาก 10% ในปี 2010 Non OECD
เทคโนโลยีสำ�หรับแหล่งพลังงานที่แตกต่าง 200 200
จากเดิมนี้ช่วยให้มีแหล่งก๊าซสำ�หรับทั่วโลก แหลงเดิม
ไปได้อีก 250 ปีในระดับความต้องการปัจจุบัน OECD อื่นๆ
100 100

อเมร�กาเหนือ
0 0
1990 2015 2040 2000 2010 2020 2030 2040

44 exxonmobil.com/energyoutlook
“เราทราบจากประวัติศาสตร์นับศตวรรษว่าพลังงานที่เชื่อถือได้และราคาเหมาะสมนั้นสำ�คัญยิ่งต่อ
ความก้าวหน้าของมนุษย์ เพื่อรักษาความยั่งยืนนี้ เราต้องขยายอุปทานพลังงานโลกออกไปอย่าง
ปลอดภัย พัฒนาแนวทางการบริโภคพลังงาน และกำ�หนดความท้าทายในการรักษาสิ่งแวดล้อม”

Rex Tillerson ประธานและผู้บริหารสูงสุด เอ็กซอนโมบิล

การพัฒนาก๊าซจากแหล่งที่แตกต่างจากเดิม ได้กระจายออกไปทั่วโลก เทคโนโลยีเหล่านี้มีใช้มากว่าทศวรรษแล้ว แต่เมื่อนำ�มารวมกัน สหรัฐฯ ได้


ขณะที่ LNG จะช่วยตอบสนองความต้องการในเอเชียและยุโรป พบกับการผลิตก๊าซภายในประเทศแนวใหม่ เพราะวิธีการผลิตนี้ถูกนำ�ไป
ใช้ในรูปแบบใหม่ๆ และแหล่งหินนํ้ามันนี้ก็อาจอยู่คนละพื้นที่กับผู้ผลิต
ก๊าซธรรมชาติที่ผลิตตามแบบเดิมอาจจะกำ�ลังเติบโตในหลายภูมิภาคแต่ นํ้ามันและก๊าซแบบเดิม แนวทางการพัฒนาในอนาคตจะขึ้นอยู่กับ
ลดลงในยุโรปและสหรัฐฯ ในสหรัฐฯ นั้น การลดลงนี้จะชดเชยกับการ อุตสาหกรรม รัฐบาล และชุมชนท้องถิ่นที่ร่วมกันทำ�งานเพื่อสร้างความ
เติบโตของก๊าซจากแหล่งที่แตกต่างจากเดิม เช่น ก๊าซธรรมชาติที่พบใน เข้าใจถึงประโยชน์ของการผลิตก๊าซจากแหล่งที่แตกต่างจากเดิม พร้อมกับ
หินนํ้ามันและชั้นหินต่างๆ ซึ่งครั้งหนึ่งพบว่าไม่คุ้มค่าที่จะทำ�การผลิต ช่วยรักษาแหล่งนํ้าและคุณภาพอากาศ พร้อมทั้งลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม
หลายปีที่ผ่านมา การใช้แรงดันนํ้าฉีดรูพรุนในชั้นหินและการขุดเจาะ
แนวนอนทำ�ให้อุตสาหกรรมพลังงานสามารถเข้าถึงและผลิตก๊าซนี้ได้ ในประเทศอื่นๆ ก็เช่นเดียวกัน แม้ว่าจะยังมีความไม่แน่ใจว่าการผลิตก๊าซ
คุ้มค่ายิ่งขึ้น การใช้แรงดันนํ้านั้นใช้นํ้าและทรายผสมกับสารเคมีเล็กน้อย จากแหล่งที่แตกต่างจากเดิมนี้จะนำ�ไปประยุกต์ใช้นอกสหรัฐฯ ได้หรือไม่
ฉีดเข้าไปในหินเพื่อเปิดรอยแยกเล็กๆ จนสามารถปล่อยก๊าซข้างในให้ เอ็กซอนโมบิลคาดว่าก๊าซจากแหล่งนี้จะมีบทบาทที่สำ�คัญในเอเชียแปซิฟิก
ไหลออกมารวมอยู่ในหลุมได้ ลาตินอเมริกา และยุโรปในอีกหลายทศวรรษข้างหน้า การผลิตจากแหล่งที่
แตกต่างจากเดิมจะลดความต้องการนำ�เข้าในหลายภูมิภาค แม้ว่าเอเชีย
และยุโรปจะยังคงมีการนำ�เข้าจำ�นวนมาก ทั้งทางท่อและเรือบรรทุก LNG
เพื่อสนองความต้องการ

การเติบโตของการจัดหากาซแบงตามภูมิภาค จากป 2010 – 2040


พันลานลูกบาศกฟ�ตตอวัน
100
ความตองการกาซของ
15%
คือ ความต้องการก๊าซ LNG
จีนจะเติบโตมากที่สุด
ในชวง 2010 -2040 ทั่วโลกในปี 2040
เทียบไดกับคร�่งหนึ่งของ
75 การเติบโตของประเทศ
Non OECD LNG
ในเอเชียแปซิฟ�ก ประเทศต่างๆ พึ่งพาแหล่งพลังงานหลากหลาย
ประเภทเพื่อสนองความต้องการก๊าซธรรมชาติ
50
ในแผนภูมิด้านซ้าย กราฟแนวตั้งจะแสดง
ทางทอ
การเติบโตหรือสูญเสียโดยสุทธิของแหล่งก๊าซ
แหลงที่แตกตางจากเดิมในทองถิ�น
ธรรมชาติในภูมิภาคหลักของโลกในช่วง 2010
– 2040 ความต้องการที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดคือ
25 เอเชียแปซิฟิก ซึ่งเป็นผู้นำ�เข้าอันดับหนึ่งของ
LNG ตามด้วยยุโรป ซึ่งก๊าซจากแหล่ง
ที่แตกต่างจากเดิมจะมีบทบาทสูงขึ้นในการ
0 สนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นในอเมริกาเหนือ
เอเชียแปซิฟิก ลาตินอเมริกา และยุโรป
แหลงเดิมในทองถิ�น

–25
อเมร�กาเหนือ ยุโรป เอเชีย ลาติน ตะวันออกกลาง แอฟร�กา รัสเซีย/
แปซิฟ�ก อเมร�กา แคสเปยน

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 45


การจัดหาพลังงานเกิดขึ้นทุกวัน
ขณะที่เทคโนโลยีทันสมัยยิ่งขึ้น การผสมผสานของพลังงานโลกจะ ก้าวหน้าของการผลิตในน่านนํ้าทะเลลึกและแหล่งที่แตกต่างจากเดิม โดย
ซับซ้อนขึ้นและมีคาร์บอนลดน้อยลง คาดว่า ในปี 2040 นํ้ามัน ก๊าซ และถ่านหินจะยังมีสัดส่วนการใช้ประมาณ
80% ของความต้องการพลังงานโลก ปริมาณและการซื้อหาได้ของเชื้อเพลิง
เมื่อพิจารณาว่าเมื่อ 100 ปีก่อน พลังงานโลกส่วนใหญ่มาจากไม้และ เหล่านี้ทำ�ให้สามารถเป็นแหล่งพลังงานหลักในระยะยาวไปอีกหลายทศวรรษ
ถ่านหิน ซึ่งชัดเจนว่าการจัดหาพลังงานจะแปรเปลี่ยนไปตามกาลเวลา
ขณะที่นโยบายรัฐและความพึงพอใจของผู้บริโภคมีบทบาทสูงใน พลังงานนิวเคลียร์ จะเป็นพลังงานทีส่ �ำ คัญอีกประเภทหนึง่ ในศตวรรษล่าสุด
วิวัฒนาการนี้ ปัจจัยที่สำ�คัญที่สุดคือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ซึ่งเป็น โดยจะยังคงเติบโตอย่างมีนัยสำ�คัญจวบจนปี 2040 การขยายตัวของ
ผู้กำ�หนดความต้องการพลังงานและการจัดหาเพื่อตอบสนองความต้องการ พลังงานนิวเคลียร์ได้รับแรงสนับสนุนจากความต้องการที่จะลดการปล่อย
ดังกล่าว ปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ และการที่สามารถซื้อหาได้นั้น มีความ ก๊าซ และการมีเทคโนโลยีใหม่ที่จะรับประกันความปลอดภัยของพลังงาน
สำ�คัญที่จะทำ�ให้เชื้อเพลิงใดๆ มีปริมาณมากพอที่จะเข้ามาในตลาดได้ นิวเคลียร์ได้
ใน 30 ปีข้างหน้า ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะพลิกโฉมพลังงานของ ขณะเดียวกัน เราจะพบว่าเชื้อเพลิงหมุนเวียน มีการเติบโตอย่างสำ�คัญ
โลก เชื้อเพลิงจะมีส่วนผสมของคาร์บอนลดลงและมีความหลากหลาย โดยพลังงานลมจะมีอัตราส่วนมากที่สุด รวมทั้งแสงอาทิตย์
มากขึ้น เชื้อเพลิงชีวภาพ และพลังงานความร้อนใต้พิภพ ความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีมคี วามจำ�เป็นทีจ่ ะทำ�ให้เชือ้ เพลิงเหล่านี้ใช้ได้จริงและประหยัดกว่า
การจัดหาเชื้อเพลิงที่จำ�เป็นที่สุดของโลกสองประเภท คือ นํ้ามันและก๊าซ เพื่อให้ขยายตัวเข้าสู่ตลาดผู้บริโภค โดยในปี 2040 เชื้อเพลิงหมุนเวียน
ธรรมชาติ จะขยายตัวตามการนำ�ไปใช้ของเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมทั้งความ รูปแบบใหม่จะคิดเป็น 7% ของความต้องการพลังงานโลก เมื่อเทียบกับ
3% ในปี 2010

สัดสวนของเชื้อเพลิงโลกในแตละทศวรรษ
เปอรเซ็นต
100 พลังงาน
หมุนเว�ยนอื่นๆ
นิวเคลียร
น้ำ
80

กาซ

60

40 น้ำมัน

20
ถานหิน

0 เชื้อเพลิง
ธรรมชาติ
1800 1850 1900 1950 2000 2040
Source: Smil, Energy Transitions (1800-1960)

46 exxonmobil.com/energyoutlook
แนวโน้มพลังงานโลก:
เราเปรียบเทียบกับสถานการณ์ของ IEA
อย่างไร

เอ็กซอนโมบิลถูกตั้งคำ�ถามว่าเราจะเปรียบเทียบรายงานแนวโน้มพลังงานโลกกับการพยากรณ์ของแหล่งอื่นอย่างไร ขณะที่เราใช้รายงานชิ้นนี้เป็น
รากฐานยุทธศาสตร์ธุรกิจและการลงทุนของเรา องค์กรอื่นๆ ก็พัฒนาการวางแผนพลังงานระยะยาวขึ้นมาเช่นกัน หนึ่งในนั้นคือรายงานประจำ�ปี
เกี่ยวกับแนวโน้มพลังงานโลกขององค์กรพลังงานระหว่างประเทศ (International Energy Agency-IEA)
การเปรียบเทียบรายงานของเอ็กซอนโมบิลกับรายงาน IEA ปี 2011 พบความคล้ายคลึงกันหลายประการ IEA ยกสถานการณ์ 3 เรื่องครอบคลุมถึง
ผลการวิเคราะห์ที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ในสถานการณ์กลางที่เรียกว่า “New Policies Scenario” IEA คาดการณ์แบบเดียวกับเอ็กซอนโมบิลว่า จะมี
การเติบโตของความต้องการพลังงานอย่างมาก แม้ว่าประสิทธิภาพจะดีขึ้นมากก็ตาม IEA พบว่าความต้องการพลังงานโลกจะเติบโต 40% ระหว่าง
ปี 2009-2035 ขณะที่เอ็กซอนโมบิลระบุ 35% ในห้วงเวลาเดียวกัน รายงานทั้งสองชิ้นระบุว่าความต้องการพลังงานมหาศาลจะมาจากประเทศ
Non OECD
IEA คาดว่าความต้องการนํ้ามันจะเพิ่มขึ้น คงความเป็นแหล่งพลังงานที่ถูกนำ�มาใช้มากที่สุดไปอีกหลายทศวรรษ แม้ว่าทางเลือกที่ใช้คาร์บอนตํ่า
เช่น ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ และเชื้อเพลิงหมุนเวียนจะเติบโตขึ้นมากเช่นกัน มุมมองหนึ่งที่สำ�คัญที่เกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติ คือ เอ็กซอนโมบิล
มองความต้องการก๊าซของโลกเติบโตเฉลี่ย 1.9% ต่อปี ตั้งแต่ 2009-2035 ใน New Policies Scenario ของ IEA มองอัตราตํ่ากว่าเล็กน้อยคือ 1.7%
รายงานทั้งสองชิ้นยกให้ก๊าซธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานสำ�คัญที่เติบโตขึ้นมาช่วยสนองความต้องการกระแสไฟฟ้าและอื่นๆ ที่หลากหลายออกไป
ในบางหัวข้อก็แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น เอ็กซอนโมบิลมองส่วนแบ่งการตลาดของถ่านหินลดลงเร็วกว่าของ IEA ส่งผลให้การเติบโตของการปล่อย
CO2 จากพลังงานโลกของเอ็กซอนโมบิลตํ่ากว่าเล็กน้อย คือ เฉลี่ย 0.8% ต่อปีในช่วง 2009 - 2035 เทียบกับ 0.9% ของ IEA
ความแปรผันต่างๆ อาจเกิดขึ้นได้ระหว่างรายงานแนวโน้มพลังงานโลกกับสถานการณ์ของ IEA เนื่องด้วยมีการตัดสินปัจจัยการตลาด การพัฒนา
ทางเทคโนโลยี และนโยบายรัฐในอีกหลายทศวรรษข้างหน้า แต่สิ่งที่อาจจะสำ�คัญที่สุดคือความจริงที่ว่าการพยากรณ์ทั้งสองมีผลการวิเคราะห์หลักๆ
คล้ายกัน รวมทั้งความจำ�เป็นพื้นฐานในการขยายและสร้างความหลากหลายของการจัดหาพลังงาน ความจำ�เป็นของการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และความท้าทายที่กำ�ลังก้าวไปในเรื่องการจัดการความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม ความสำ�เร็จในอันที่จะเผชิญความท้าทายเหล่านี้ต้องการนวัตกรรม
ที่หลากหลายและการลงทุนมหาศาลในหลายทศวรรษข้างหน้า

2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 47


บทสรุป
การพยากรณ์พลังงานในรายงานแนวโน้มพลังงานฉบับนี้ได้รับการพัฒนา เศรษฐกิจที่คาดไม่ถึงหรือเหตุการณ์ทางภูมิรัฐศาสตร์อาจมีผลอย่างมากต่อ
โดยทีมผู้เชี่ยวชาญในเอ็กซอนโมบิล และพยายามอย่างดีที่สุดเพื่อสะท้อน
อุปสงค์และอุปทานพลังงาน เทคโนโลยีคือสิ่งหนึ่งที่คาดเดาไม่ได้ ตัวอย่าง
ภาพพลังงานอนาคตที่จะเกิดขึ้นจริงในปี 2040 การวิเคราะห์แบบนี้ เช่น การค้นพบที่ยิ่งใหญ่ของกระแสไฟฟ้าที่ราคาถูกและเก็บสำ�รองไว้ได้
นับว่าท้าทายอย่างเห็นได้ชัด แต่นั่นคือสิ่งที่เราภาคภูมิใจหลังจากการ
จำ�นวนมากจะช่วยเสริมความคาดหวังที่มีต่อลมและแสงอาทิตย์ในการ
พัฒนารายงานนี้มากว่า 50 ปี ผลิตกระแสไฟฟ้า การที่แบตเตอรี่ราคาลดลงเร็วกว่าที่คาด อาจทำ�ให้
รถยนต์ไฟฟ้ามีส่วนสำ�คัญจนถึงปี 2040 มากกว่าที่เราคาด และแน่นอน
การวิเคราะห์ของเราพิจารณาจากหลายปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์และอุปทาน ที่สุด การรวมตัวกันของเทคโนโลยีปัจจุบันอาจส่งผลการเปลี่ยนแปลงที่
ของพลังงานในระดับโลก ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ รวมทั้ง ยิ่งใหญ่ เช่น การผลิตก๊าซจากแหล่งที่แตกต่างจากเดิมที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน
■ การขยายความมั่งคั่งขณะที่ประชากรโลกเพิ่มมากขึ้น
■ ราคาและการมีอยู่ของพลังงานหลายรูปแบบ การพิจารณาทุกมุมมองของอนาคตพลังงานไม่ใช่การฝึกหัดด้านวิชาการ
■ การพัฒนาและการนำ�ไปใช้ชองเทคโนโลยีใหม่ ของเอ็กซอนโมบิล แต่เราได้ลงทุนหลายพันล้านเหรียญในหลากหลาย
■ นโยบายรัฐและความพึงพอใจของสาธารณชน โครงการแต่ละปี โดยอ้างอิงจากการพยากรณ์ในรายงานแนวโน้มพลังงานโลก
ในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้นของเรา รวมทั้งบรรดาพนักงาน หุ้นส่วนใน
โดยธรรมชาติแล้ว อนาคตขึ้นอยู่กับการพัฒนาต่างๆ มากมายซึ่งเรามิอาจ การทำ�งาน และประเทศและสังคมต่างๆ ที่เราทำ�งานอยู่ เรามีเดิมพัน
พยากรณ์ได้แม่นยำ� อย่างแรกคือ นโยบาย “ราคาของ CO2” ที่เราคาดว่า ที่ยิ่งใหญ่ในอันที่จะต้องทำ�ให้ถูกต้องแม่นยำ�
จะมีผลอย่างสูงต่อแนวโน้มพลังงานไปจนถึงปี 2040 นั้นยังไม่มีบทสรุป
ในหลายประเทศ รายละเอียดเหล่านั้นจะมีผลกระทบอย่างมากต่อ เมื่อพูดถึงเรื่องพลังงาน อนาคตนั้นไม่สามารถกำ�หนดได้ล่วงหน้า การจะดู
เศรษฐศาสตร์ของการบริโภคพลังงานและการผสมผสานเชือ้ เพลิงในอนาคต ว่าพลังงานของโลกจำ�นวนเท่าไรและประเภทใดที่จะนำ�มาใช้จนถึงปี 2040
หรือเลยไปกว่านั้น จะขึ้นอยู่กับการกระทำ�ที่มิใช่จากเอ็กซอนโมบิลเท่านั้น
หากแต่คือทุกๆ คน รวมทั้งผู้กำ�หนดนโยบายและผู้บริโภค เอ็กซอนโมบิล
หวังว่าการแบ่งปันรายงานแนวโน้มพลังงานโลกต่อสาธารณชนนี้ จะช่วยให้
เราทุกคนสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตพลังงานของเราได้
“การให้บริการด้านพลังงานสมัยใหม่ช่วยบรรเทา
ความยากจน พัฒนาโอกาสทางการศึกษาสำ�หรับ
เด็กๆ และส่งเสริมความทัดเทียมทางเพศด้วย”
Nobuo Tanaka
อดีตผู้อำ�นวยการบริหาร
องค์กรพลังงานระหว่างประเทศ

48 exxonmobil.com/energyoutlook
ตารางข้อมูล
โลก การเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยต่อปี % การเปลี่ยนแปลง
ความต้องการพลังงาน (พันล้านล้าน BTU) 2010- 2025- 2010- 2010- 2025- 2010- สัดส่วนสุทธิ
ภูมิภาค 1990 2000 2010 2025 2040 2025 2040 2040 2025 2040 2040 2010 2025 2040
โลก 360 415 525 633 692 1.3% 0.6% 0.9% 21% 9% 32% 100% 100% 100%
OECD 189 224 227 234 224 0.2% -0.3% -0.1% 3% -4% -2% 43% 37% 32%
Non OECD 171 191 298 400 469 2.0% 1.1% 1.5% 34% 17% 57% 57% 63% 68%
แอฟริกา 17 22 29 44 62 2.9% 2.2% 2.6% 55% 39% 115% 5% 7% 9%
เอเซียแปซิฟิก 91 125 205 267 301 1.8% 0.8% 1.3% 30% 12% 47% 39% 42% 43%
จีน 33 44 102 132 138 1.7% 0.3% 1.0% 29% 4% 35% 19% 21% 20%
อินเดีย 13 19 28 45 61 3.3% 2.1% 2.7% 62% 37% 122% 5% 7% 9%
ยุโรป 74 79 81 82 78 0.1% -0.3% -0.1% 2% -4% -3% 15% 13% 11%
สหภาพยุโรป 68 72 73 73 69 0.0% -0.4% -0.2% 0% -6% -6% 14% 12% 10%
ลาตินอเมริกา 15 20 26 36 45 2.2% 1.5% 1.8% 39% 24% 73% 5% 6% 7%
ตะวันออกกลาง 11 18 30 42 51 2.3% 1.3% 1.8% 41% 21% 71% 6% 7% 7%
อเมริกาเหนือ 95 114 113 118 112 0.3% -0.3% 0.0% 4% -4% -1% 22% 19% 16%
สหรัฐอเมริกา 81 96 94 96 90 0.1% -0.4% -0.2% 2% -6% -5% 18% 15% 13%
รัสเซีย/แคสเปียน 57 38 42 43 43 0.3% 0.0% 0.1% 4% -1% 3% 8% 7% 6%

ประเภทพลังงาน
พื้นฐานโลก 360 415 525 633 692 1.3% 0.6% 0.9% 21% 9% 32% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 136 156 177 206 220 1.0% 0.4% 0.7% 16% 7% 24% 34% 32% 32%
ก๊าซ 72 89 115 157 186 2.1% 1.1% 1.6% 37% 18% 62% 22% 25% 27%
ถ่านหิน 86 90 138 148 130 0.5% -0.8% -0.2% 7% -12% -6% 26% 23% 19%
นิวเคลียร์ 21 27 29 37 55 1.7% 2.7% 2.2% 29% 50% 94% 5% 6% 8%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 36 41 48 53 53 0.6% 0.0% 0.3% 10% 0% 10% 9% 8% 8%
ลม 7 9 12 15 18 1.9% 1.2% 1.5% 32% 20% 58% 2% 2% 3%
พลังงานหมุนเวียนอื่นๆ 1 3 7 17 30 6.4% 3.7% 5.0% 154% 73% 338% 1% 3% 4%

ผู้ใช้ปลายทางทั่วโลก
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์
รวม 87 98 116 136 145 1.1% 0.4% 0.7% 17% 6% 25% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 13 16 15 16 16 0.3% -0.3% 0.0% 5% -4% 1% 13% 12% 11%
ก๊าซ 16 21 25 30 32 1.3% 0.4% 0.9% 21% 7% 29% 22% 22% 22%
ถ่านหิน 8 4 5 4 2 -1.7% -4.0% -2.8% -23% -46% -58% 4% 3% 1%
ไฟฟ้า 16 23 32 47 59 2.6% 1.6% 2.1% 47% 26% 86% 27% 34% 41%
อื่นๆ 33 35 39 39 36 0.0% -0.6% -0.3% 0% -9% -9% 34% 29% 25%

ภาคการขนส่ง
รวม 65 80 97 122 139 1.5% 0.9% 1.2% 25% 14% 43% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 64 79 93 114 124 1.3% 0.6% 1.0% 22% 10% 34% 95% 93% 89%
อื่นๆ 1 1 4 8 15 4.4% 3.8% 4.1% 92% 75% 236% 5% 7% 11%

ภาคอุตสาหกรรม
รวม 138 148 193 232 251 1.2% 0.5% 0.9% 20% 8% 30% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 45 50 59 68 74 0.9% 0.5% 0.7% 15% 8% 24% 31% 29% 29%
ก๊าซ 31 37 44 58 67 1.8% 1.0% 1.4% 31% 16% 51% 23% 25% 27%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 8 9 11 14 16 1.7% 0.8% 1.2% 29% 12% 45% 6% 6% 6%
ไฟฟ้า 18 21 30 43 53 2.5% 1.4% 2.0% 45% 24% 79% 15% 19% 21%
อื่นๆ 37 30 49 49 41 0.0% -1.1% -0.6% 0% -15% -15% 25% 21% 17%

ภาคการผลิตไฟฟ้า
พื้นฐานโลก 118 144 193 247 283 1.6% 0.9% 1.3% 28% 15% 47% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 15 12 10 8 6 -1.3% -1.4% -1.4% -18% -19% -34% 5% 3% 2%
ก๊าซ 24 31 45 67 84 2.8% 1.5% 2.1% 50% 24% 87% 23% 27% 30%
ถ่านหิน 48 61 91 102 94 0.8% -0.6% 0.1% 13% -8% 3% 47% 42% 33%
นิวเคลียร์ 21 27 29 37 55 1.7% 2.7% 2.2% 29% 50% 94% 15% 15% 20%
นํ้า 7 9 12 15 18 1.9% 1.2% 1.5% 32% 20% 58% 6% 6% 6%
ลม 0 0 1 6 11 12.2% 4.1% 8.1% 460% 82% 921% 1% 2% 4%
พลังงานหมุนเวียนอื่นๆ 3 4 6 11 15 3.5% 2.2% 2.9% 68% 40% 135% 3% 4% 5%

ความต้องการไฟฟ้า (เทราวัตต์ชั่วโมง)
โลก 10147 13175 18233 26651 33446 2.6% 1.5% 2.0% 46% 25% 83% 100% 100% 100%
OECD 6630 8560 9488 11402 12399 1.2% 0.6% 0.9% 20% 9% 31% 52% 43% 37%
Non OECD 3517 4616 8745 15249 21047 3.8% 2.2% 3.0% 74% 38% 141% 48% 57% 63%

การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงาน (พันล้านตัน)
โลก 21.3 23.5 30.9 35.7 35.7 1.0% 0.0% 0.5% 15% 0% 16% 100% 100% 100%
OECD 11.2 12.7 12.7 12.1 10.0 -0.3% -1.3% -0.8% -4% -18% -21% 41% 34% 28%
Non OECD 10.1 10.8 18.3 23.6 25.8 1.7% 0.6% 1.2% 29% 9% 41% 59% 66% 72%

GDP (พันล้านล้านเหรียญ ค่าเงินในปี 2005)
โลก 30 40 51 81 119 3.1% 2.6% 2.9% 58% 47% 133% 100% 100% 100%
OECD 25 32 38 53 70 2.3% 1.9% 2.1% 40% 33% 87% 73% 65% 59%
Non OECD 6 8 14 28 49 5.0% 3.8% 4.4% 108% 74% 263% 27% 35% 41%
แอฟริกา 1 1 1 2 4 4.2% 3.8% 4.0% 85% 74% 223% 2% 3% 3%
เอเซียแปซิฟิก 6 9 14 26 43 4.3% 3.4% 3.8% 89% 64% 210% 27% 32% 36%
จีน 1 1 4 10 19 6.7% 4.2% 5.4% 163% 85% 387% 7% 12% 16%
อินเดีย 0 1 1 3 6 6.1% 5.0% 5.6% 145% 109% 410% 2% 4% 5%
ยุโรป 11 14 16 21 27 2.0% 1.7% 1.9% 35% 29% 74% 31% 26% 23%
สหภาพยุโรป 10 13 14 19 24 1.9% 1.6% 1.8% 33% 27% 69% 28% 23% 20%
ลาตินอเมริกา 1 2 2 4 6 3.6% 2.9% 3.3% 71% 54% 163% 5% 5% 5%
ตะวันออกกลาง 1 1 1 2 4 4.1% 3.1% 3.6% 83% 58% 188% 3% 3% 3%
อเมริกาเหนือ 9 13 15 23 32 2.7% 2.3% 2.5% 48% 40% 108% 30% 28% 27%
สหรัฐอเมริกา 8 11 13 19 27 2.6% 2.2% 2.4% 47% 39% 105% 26% 24% 23%
รัสเซีย/แคสเปียน 1 1 1 2 3 3.6% 2.8% 3.2% 71% 52% 159% 2% 3% 3%

มูลค่าพลังงาน (พัน BTU ต่อเหรียญ)
โลก 11.9 10.4 10.3 7.8 5.8 -1.8% -2.0% -1.9% -24% -26% -44%
OECD 7.6 7.0 6.1 4.4 3.2 -2.1% -2.2% -2.1% -27% -28% -47%
Non OECD 30.7 25.3 22.0 14.2 9.5 -2.9% -2.6% -2.7% -36% -33% -57%

การปัดเศษตัวเลขในรายงานฉบับนี้อาจมีผลต่อความแตกต่างระหว่างตัวเลขสุทธิและผลรวมในแต่ละรายการ
2012 แนวโน้มพลังงานโลก - ภาพรวมถึงปี 2040 49
ตารางข้อมูล
ความต้องการพลังงาน (พันล้านล้าน BTU ยกเว้นระบุเป็นหน่วยอื่น) การเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยต่อปี % การเปลี่ยนแปลง
2010- 2025- 2010- 2010- 2025- 2010- สัดส่วนสุทธิ
ภูมิภาค 1990 2000 2010 2025 2040 2025 2040 2040 2025 2040 2040 2010 2025 2040
แอฟริกา
พลังงานพื้นฐาน 17 22 29 44 62 2.9% 2.2% 2.6% 55% 39% 115% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 4 5 7 12 17 3.6% 2.4% 3.0% 71% 42% 142% 25% 27% 28%
ก๊าซ 2 4 4 7 11 3.5% 2.7% 3.1% 66% 50% 149% 15% 17% 18%
ถ่านหิน 3 3 4 8 13 5.2% 3.3% 4.3% 114% 64% 250% 13% 18% 21%
นิวเคลียร์ 0 0 0 0 1 3.1% 9.0% 6.0% 58% 266% 476% 0% 0% 1%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 8 10 13 16 18 1.2% 0.8% 1.0% 20% 13% 36% 45% 35% 29%
นํ้า 0 0 0 1 1 6.3% 3.2% 4.7% 149% 59% 297% 1% 2% 2%
เชื้อเพลิงหมุนเวียนอื่นๆ 0 0 0 0 1 13.2% 5.9% 9.5% 539% 136% 1410% 0% 1% 1%

ความต้องการฝั่งปลายทาง (รวมกระแสไฟฟ้า)
รวม 15 20 25 37 49 2.5% 2.0% 2.2% 44% 34% 93% 100% 100% 100%
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 7 9 13 18 22 2.2% 1.7% 1.9% 38% 28% 77% 50% 48% 46%
ภาคการขนส่ง 2 3 4 6 9 3.3% 2.6% 3.0% 63% 48% 141% 15% 17% 19%
ภาคอุตสาหกรรม 6 8 9 13 17 2.4% 2.1% 2.3% 43% 37% 96% 35% 35% 35%
ความต้องการไฟฟ้า 1 1 2 5 9 6.6% 4.2% 5.4% 160% 85% 380% 8% 14% 19%

เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า 3 4 5 13 22 6.1% 3.6% 4.9% 144% 70% 316% 18% 29% 35%

,
การปล่อยก๊าซ CO2 พันล้านตัน 0.7 0.9 1.1 2.0 3.1 4.1% 2.7% 3.4% 83% 50% 175%

เอเชียแปซิฟิก
พลังงานพื้นฐาน 91 125 205 267 301 1.8% 0.8% 1.3% 30% 12% 47% 100% 100% 100%
นํ้า มัน 28 43 56 74 87 1.9% 1.1% 1.5% 33% 18% 56% 27% 28% 29%
ก๊าซ 7 12 21 38 55 4.0% 2.5% 3.2% 81% 44% 160% 10% 14% 18%
ถ่านหิน 32 42 94 108 97 1.0% -0.8% 0.1% 15% -11% 3% 46% 41% 32%
นิวเคลียร์ 3 5 6 13 23 5.1% 4.1% 4.6% 110% 83% 283% 3% 5% 8%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 19 21 23 23 21 0.1% -0.6% -0.3% 1% -9% -8% 11% 9% 7%
นํ้า 1 2 4 5 7 2.6% 1.7% 2.1% 46% 29% 88% 2% 2% 2%
เชื้อเพลิงหมุนเวียนอื่นๆ 0 1 2 6 11 7.6% 4.2% 5.9% 200% 86% 459% 1% 2% 4%

ความต้องการฝั่งปลายทาง (รวมกระแสไฟฟ้า)
รวม 76 98 151 199 222 1.8% 0.7% 1.3% 32% 12% 47% 100% 100% 100%
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 29 33 42 52 55 1.4% 0.4% 0.9% 24% 5% 31% 28% 26% 25%
ภาคการขนส่ง 11 18 25 40 51 3.0% 1.6% 2.3% 56% 28% 100% 17% 20% 23%
ภาคอุตสาหกรรม 36 47 84 108 117 1.6% 0.6% 1.1% 28% 9% 39% 56% 54% 53%
ความต้องการไฟฟ้า 7 12 24 39 50 3.3% 1.7% 2.5% 63% 30% 111% 16% 19% 22%

เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า 23 40 80 111 132 2.2% 1.2% 1.7% 38% 19% 65% 39% 41% 44%

การปล่อยก๊าซ CO2, พันล้านตัน 5.3 7.3 13.7 17.0 17.3 1.4% 0.1% 0.8% 24% 2% 26%

ยุโรป
พลังงานพื้นฐาน 74 79 81 82 78 0.1% -0.3% -0.1% 2% -4% -3% 100% 100% 100%
นํ้า มัน 30 32 30 29 26 -0.4% -0.7% -0.6% -6% -10% -16% 38% 35% 33%
ก๊าซ 13 17 20 24 23 1.2% -0.3% 0.5% 19% -4% 15% 25% 29% 29%
ถ่านหิน 19 14 12 9 5 -2.3% -3.7% -3.0% -30% -43% -60% 15% 11% 6%
นิวเคลียร์ 8 10 10 9 11 -0.2% 1.3% 0.5% -3% 21% 18% 12% 12% 15%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 2 3 4 5 5 1.0% -0.8% 0.1% 17% -11% 3% 6% 6% 6%
นํ้า 2 2 2 2 2 0.4% 0.3% 0.4% 7% 5% 13% 2% 3% 3%
เชื้อเพลิงหมุนเวียนอื่นๆ 0 0 2 4 7 5.9% 3.3% 4.6% 137% 63% 285% 2% 5% 8%

ความต้องการฝั่งปลายทาง (รวมกระแสไฟฟ้า)
รวม 57 61 63 65 63 0.2% -0.2% 0.0% 3% -3% -1% 100% 100% 100%
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 17 18 20 21 20 0.2% -0.2% 0.0% 3% -4% 0% 32% 32% 32%
ภาคการขนส่ง 14 17 19 19 19 0.3% 0.0% 0.2% 4% 1% 5% 29% 30% 31%
ภาคอุตสาหกรรม 26 25 24 24 23 0.0% -0.4% -0.2% 0% -6% -5% 39% 38% 37%
ความต้องการไฟฟ้า 9 10 11 13 14 1.1% 0.5% 0.8% 18% 7% 26% 18% 21% 23%

เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า 27 29 31 33 32 0.4% -0.2% 0.1% 6% -3% 3% 39% 40% 41%

การปล่อยก๊าซ CO2, พันล้านตัน 4.5 4.4 4.3 4.0 3.3 -0.4% -1.4% -0.9% -6% -19% -23%

ลาตินอเมริกา
พลังงานพื้นฐาน 15 20 26 36 45 2.2% 1.5% 1.8% 39% 24% 73% 100% 100% 100%
นํ้า มัน 7 10 12 16 18 1.8% 0.9% 1.3% 30% 14% 48% 47% 44% 40%
ก๊าซ 3 4 5 9 13 3.4% 2.7% 3.0% 64% 49% 145% 21% 24% 29%
ถ่านหิน 1 1 1 1 1 2.1% 0.6% 1.4% 38% 10% 51% 3% 3% 3%
นิวเคลียร์ 0 0 0 0 0 2.9% 1.7% 2.3% 53% 29% 97% 1% 1% 1%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 3 3 4 5 5 1.0% 0.4% 0.7% 16% 5% 22% 16% 14% 11%
นํ้า 1 2 2 3 4 2.5% 1.1% 1.7% 44% 17% 68% 9% 9% 9%
เชื้อเพลิงหมุนเวียนอื่นๆ 0 0 1 2 3 5.1% 3.9% 4.5% 112% 77% 275% 3% 4% 6%

ความต้องการฝั่งปลายทาง (รวมกระแสไฟฟ้า)
รวม 14 18 23 32 40 2.2% 1.5% 1.8% 38% 24% 71% 100% 100% 100%
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 3 3 4 5 6 1.8% 1.0% 1.4% 30% 16% 50% 18% 17% 16%
ภาคการขนส่ง 4 5 7 10 13 2.4% 1.4% 1.9% 43% 24% 77% 31% 32% 32%
ภาคอุตสาหกรรม 7 9 12 16 21 2.1% 1.7% 1.9% 37% 28% 75% 51% 51% 52%
ความต้องการไฟฟ้า 1 2 3 5 7 3.3% 2.3% 2.8% 63% 41% 130% 13% 16% 18%

เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า 3 4 6 9 12 3.0% 1.9% 2.5% 57% 33% 109% 23% 26% 27%

การปล่อยก๊าซ CO2, พันล้านตัน 0.7 0.9 1.2 1.6 2.0 2.2% 1.4% 1.8% 39% 23% 71%

50 exxonmobil.com/energyoutlook
ตารางข้อมูล
ความต้องการพลังงาน (พันล้านล้าน BTU ยกเว้นระบุเป็นหน่วยอื่น) การเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยต่อปี % การเปลี่ยนแปลง
2010- 2025- 2010- 2010- 2025- 2010- สัดส่วนสุทธิ
ภูมิภาค 1990 2000 2010 2025 2040 2025 2040 2040 2025 2040 2040 2010 2025 2040
ตะวันออกกลาง
พลังงานพื้นฐาน 11 18 30 42 51 2.3% 1.3% 1.8% 41% 21% 71% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 7 11 16 20 23 1.5% 0.9% 1.2% 26% 14% 43% 54% 48% 45%
ก๊าซ 4 7 13 21 25 3.1% 1.4% 2.2% 57% 23% 93% 44% 49% 50%
ถ่านหิน 0 0 0 0 0 0.2% 0.4% 0.3% 3% 6% 10% 1% 1% 1%
นิวเคลียร์ 0 0 0 0 1 – 9.4% – – 283% – 0% 1% 3%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 0 0 0 0 0 5.4% 5.9% 5.6% 119% 135% 416% 0% 0% 1%
นํ้า 0 0 0 0 0 5.1% 3.4% 4.2% 111% 65% 248% 0% 0% 0%
เชื้อเพลิงหมุนเวียนอื่นๆ 0 0 0 0 0 3.4% 4.7% 4.0% 66% 98% 228% 0% 0% 0%

ความต้องการฝั่งปลายทาง (รวมกระแสไฟฟ้า)
รวม 9 15 24 33 41 2.3% 1.3% 1.8% 41% 21% 72% 100% 100% 100%
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 1 3 5 7 9 3.0% 1.7% 2.4% 55% 30% 101% 19% 21% 23%
ภาคการขนส่ง 3 4 6 9 11 2.3% 1.4% 1.8% 40% 22% 71% 27% 27% 27%
ภาคอุตสาหกรรม 5 8 13 17 20 2.1% 1.1% 1.6% 37% 18% 61% 53% 52% 50%
ความต้องการไฟฟ้า 1 1 2 4 6 4.0% 2.2% 3.1% 80% 39% 151% 10% 13% 15%

เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า 3 5 9 13 16 2.8% 1.6% 2.2% 51% 26% 91% 29% 31% 32%

การปล่อยก๊าซ CO2, พันล้านตัน 0.7 1.1 1.8 2.3 2.6 1.7% 0.9% 1.3% 30% 14% 48%

อเมริกาเหนือ
พลังงานพื้นฐาน 95 114 113 118 112 0.3% -0.3% 0.0% 4% -4% -1% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 42 48 47 46 40 -0.2% -0.9% -0.5% -3% -13% -15% 42% 39% 36%
ก๊าซ 21 26 28 34 34 1.3% 0.1% 0.7% 22% 1% 23% 24% 29% 30%
ถ่านหิน 20 23 21 16 10 -1.6% -3.2% -2.4% -21% -38% -51% 18% 14% 9%
นิวเคลียร์ 7 9 10 10 14 0.5% 2.1% 1.3% 8% 37% 48% 9% 9% 13%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 3 4 3 4 3 0.9% -0.5% 0.2% 15% -7% 6% 3% 3% 3%
นํ้า 2 2 2 2 2 0.5% 0.2% 0.4% 7% 4% 11% 2% 2% 2%
เชื้อเพลิงหมุนเวียนอื่นๆ 1 1 2 5 8 5.7% 3.0% 4.4% 131% 57% 262% 2% 4% 7%

ความต้องการฝั่งปลายทาง (รวมกระแสไฟฟ้า)
รวม 73 86 87 90 87 0.3% -0.3% 0.0% 4% -4% 0% 100% 100% 100%
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 18 22 23 24 24 0.4% -0.1% 0.1% 5% -1% 4% 27% 27% 28%
ภาคการขนส่ง 25 31 32 33 31 0.2% -0.3% -0.1% 3% -5% -3% 37% 36% 36%
ภาคอุตสาหกรรม 30 34 32 33 32 0.3% -0.3% 0.0% 5% -5% 0% 36% 37% 36%
ความต้องการไฟฟ้า 11 15 16 20 22 1.4% 0.7% 1.1% 24% 11% 37% 18% 22% 25%

เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า 33 42 43 47 48 0.7% 0.1% 0.4% 11% 1% 12% 38% 40% 42%

การปล่อยก๊าซ CO2, พันล้านตัน 5.6 6.6 6.5 6.3 5.2 -0.2% -1.2% -0.7% -3% -17% -20%

รัสเซีย/แคสเปียน
พลังงานพื้นฐาน 57 38 42 43 43 0.3% 0.0% 0.1% 4% -1% 3% 100% 100% 100%
นํ้ามัน 18 8 9 9 9 0.2% -0.1% 0.1% 3% -1% 2% 21% 20% 20%
ก๊าซ 23 20 23 25 25 0.4% 0.1% 0.2% 6% 1% 7% 55% 57% 58%
ถ่านหิน 13 7 6 5 4 -1.3% -1.8% -1.5% -17% -23% -37% 15% 12% 9%
นิวเคลียร์ 2 2 3 3 4 1.5% 0.5% 1.0% 25% 7% 34% 7% 8% 8%
เชื้อเพลิงธรรมชาติ/ขยะ 1 0 0 0 1 1.8% 2.4% 2.1% 30% 44% 87% 1% 1% 2%
นํ้า 1 1 1 1 1 0.7% 0.6% 0.6% 11% 9% 21% 2% 2% 2%
เชื้อเพลิงหมุนเวียนอื่นๆ 0 0 0 0 0 11.3% 8.1% 9.7% 402% 221% 1508% 0% 0% 1%

ความต้องการฝั่งปลายทาง (รวมกระแสไฟฟ้า)
รวม 46 29 33 34 33 0.2% -0.1% 0.0% 2% -2% 1% 100% 100% 100%
ภาคครัวเรือน/การพาณิชย์ 12 9 9 9 8 -0.4% -0.8% -0.6% -5% -11% -16% 28% 26% 23%
ภาคการขนส่ง 6 3 4 5 5 0.9% 0.2% 0.6% 15% 3% 18% 12% 14% 14%
ภาคอุตสาหกรรม 28 17 20 20 21 0.2% 0.1% 0.2% 3% 2% 5% 60% 60% 62%
ความต้องการไฟฟ้า 5 3 4 5 6 1.7% 0.9% 1.3% 30% 14% 48% 12% 16% 18%

เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า 27 19 19 20 21 0.4% 0.0% 0.2% 6% 0% 6% 46% 47% 48%

การปล่อยก๊าซ CO2, พันล้านตัน 3.9 2.3 2.4 2.4 2.3 -0.1% -0.4% -0.2% -1% -6% -7%

อภิธานศัพท์
รายงานภาพรวมพลังงานโลกของเอ็กซอนโมบิลแสดงภาพของโลก วัตต์ หน่วยวัดพลังงานไฟฟ้า เท่ากับหนึ่งจูลส์ต่อวินาที โรงไฟฟ้าขนาด
จวบจนปี 2040 ในรายงานชิ้นนี้ เราใช้หน่วยมาตรฐานในการวัดพลังงาน 1 กิกะวัตต์สามารถรองรับความต้องการกระแสไฟฟ้าได้มากกว่า 500,000
หลังในสหรัฐอเมริกา (กิโลวัตต์(KW) = 1,000 วัตต์; กิกะวัตต์ (GW) =
พันล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่อวัน (BCFD) ใช้ส�ำ หรับวัดปริมาตรของก๊าซธรรมชาติ 1,000,000,000 วัตต์; เทราวัตต์ (TW) = 1,000,000,000,000 วัตต์)
ก๊าซธรรมชาติขนาดหนึ่งพันล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวันสามารถทำ�ความร้อน สามร้อยเทราวัตต์เท่ากับประมาณ 1 พันล้านล้าน BTU (Quad)
ให้กบั บ้านประมาณ 5 ล้านหลังในสหรัฐฯ ตลอดระยะเวลา 1 ปี
ก๊าซธรรมชาติขนาดหกพันล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวันเทียบเท่ากับหนึ่งล้าน เทียบเท่าล้านบาร์เรลนํ้ามันต่อวัน (MBDOE) คือ คำ�ที่ใช้สำ�หรับหน่วย
บาร์เรลนํ้ามันต่อวัน มาตรฐานเพื่อวัดหลายประเภทของพลังงานที่แตกต่างกัน (นํ้ามัน,
ก๊าซ, ถ่านหิน ฯลฯ) เทียบกับพลังงานที่ให้เทียบเท่ากับนํ้ามันหนึ่งบาร์เรล
BTU หน่วยวัดความร้อนของอังกฤษ BTU คือหน่วยมาตรฐานที่ใช้ในการวัด หนึ่งล้านบาร์เรลนํ้ามันต่อวันเพียงพอที่จะเป็นเชื้อเพลิงให้กับ 5% ของ
แหล่งพลังงานทุกประเภท จะต้องใช้ประมาณ 400,000 BTU ต่อวันโดยเฉลีย่ รถยนต์ที่วิ่งบนท้องถนนทั่วโลกวันนี้
สำ�หรับกิจกรรมครัวเรือนในอเมริกาเหนือ (Quad หมายถึง พันล้านล้าน BTU)
2012 แนวโน้มพลังงานโลก – ภาพรวมในปี 2040 51
Corporate Headquarters
5959 Las Colinas Blvd.
Irving, Texas 75039-2298
exxonmobil.com

แปลและเรียบเรียงโดย ฝ่ายกิจกรรมองค์กรและรัฐกิจสัมพันธ์
บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) SP-128
ปี 2555

You might also like