Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

SCOPE OF PUBLIC

ADMINISTRATION

โดย รศ.ดร.กมลพร สอนศรี


หลัก สู ต รรัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณ ฑิต
สาขานโยบายสาธารณะและการจัด การภาครัฐ
ภาควิช าสัง คมศาสตร์ คณะสัง คมศาสตร์แ ละมนุ ษ ยศาสตร์
มหาวิท ยาลัย มหิด ล
Paradigm of Public Administration

Robert T. Golembiewski (1977)

• เสนอแนวคิด เรื่ อง Locus และ Focus มาใช้ในการตรวจสอบ


พัฒนาการความรู ้และจัดหมวดหมู่ขอบข่ายความรู ้ของรัฐ
ประศาสนศาสตร์
• Locus is the institutional where of the field
• Focus is the specialized what of the field
Paradigm of Public Administration
Nicholas Henry (1995) traces the paradigm of PA as follows;

◦ The Beginning

◦ Paradigm 1: Politics-administration dichotomy (1900-1926)

◦ Paradigm 2: Public administration as principles of administration (1927-1937)


◦ The Challenge (1938-1947)
◦ Reactions to the challenge (1947-1950)

◦ Paradigm 3: Public administration as political science (1950-1970)

◦ Paradigm 4: Public administration as administrative science (1956-1970)

◦ Paradigm 5: Public administration as Public administration


(maturation/ self-aware PA) (1970- ปัจจุบนั )

◦ Paradigm 6: Public administration as Governance(1990- ปัจจุบนั )


The beginning
◦ Woodrow Wilson (ค.ศ.1856-1924) “The Study of Administration” (ค.ศ.1887)
◦ Wilson บิดาแห่งวิชารัฐประศาสนศาสตร์
◦ การเมืองกับการบริหารต้องแยกออกจากกัน จะทาให้เกิดประสิทธิภาพในระบบราชการ
◦ การเมืองเป็ นเรื่องของการออกกฏหมายและนโยบาย ฝ่ ายบริหารเป็ นผูน้ ากฎหมายมาปฏบัติ
◦ข้อคิด
▪ ประเทศทีม่ คี วามเจริญก้าวหน้าต้องมีการปกครองทีด่ ี คือมีฝ่ายรัฐบาล (บริหาร) ทีเ่ ข็มแข็ง และมีระบบราชการที่
มีประสิทธิภาพ มีเหตุผล
▪ การบริหารของรัฐเป็ นวิชาทีส่ อนกันได้ และการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ผลิตเจ้าหน้าที่
ของรัฐ
▪ การศึกษาวิชาการบริหาร สามารถสร้างหลักการทีเ่ ป็ นสากลได้
▪ เหตุผลทีเ่ ราสร้างหลักการบริหารขึ้นมาได้ ก็เพราะการบริหารแยกออกจากการเมือง
▪ หลักการบริหารงานต้องมีลกั ษณะเป็ นวิทยาศาสตร์
แนวคิดทางการบริหารของ Woodrow Wilson
◦ ประเทศที่เจริญก้าวหน้าจะต้องมีการบริหาร (ปกครอง)ที่ดี
◦ มีระบบราชการทีม่ ปี ระสิทธิภาพและมีเหตุผล
◦ มีการพัฒนาระบบการบริหารทีม่ คี ุณภาพ (good administration)
◦ มีรฐั บาลหรือฝ่ ายบริหารทีเ่ ข้มแข็ง
◦ สังคมควรพยายามจัดระบบการบริหารของรัฐให้เข้มแข็ง เพือ่ เป็ นกลไกในการพัฒนาประเทศไปสู่ทศิ ทางทีต่ อ้ งการ
◦ การพัฒนาทางการเมืองการปกครอง จาเป็ นทีจ่ ะต้องมีการพัฒนาระบบบริหารมารองรับ และสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นในหมู่
ประชาชน

วิชารัฐประศาสนศาสตร์มีลกั ษณะเป็ นวิชาที่สามารถฝึ กสอนกันได้


◦ วิชารัฐประศาสนศาสตร์ เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับการนานโยบายไปปฏิบตั ิ
◦ วิชารัฐประศาสนศาสตร์มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ผลิตเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐทีม่ คี ุณภาพและมีทกั ษะในการปฏิบตั ติ ามนโยบายของ
ผูบ้ ริหาร และสนองตอบความต้องการของประชาชน
◦ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐไม่ใช่หุ่นยนต์ (passive instru-ment) แต่มคี วามปรารถนาทีจ่ ะสร้างสรรค์วธิ ีการทางานเพือ่ บรรลุจดุ หมาย
◦ ข้าราชการต้องผ่านการฝึ กอบรม เพือ่ ฝึ กทักษะในการบริหารงาน ขณะที่ประชาชนควรได้รบั การศึกษาเพือ่ เพิม่ พูนความรู/้
ความเข้าใจ และทาหน้าทีใ่ นการถ่วงดุลย์กบั เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
แนวคิดทางการบริหารของ Woodrow Wilson
การศึกษาวิชาการบริหารสามารถสร้างหลักการที่เป็ นสากลได้
◦ ในวิธกี ารศึกษาเกี่ยวกับวิชาการบริหารนัน้ เราสามารถสร้างหลักการทางการบริหาร ขึ้นมาได้
◦ หลักการบริหารต่างๆ จะช่วยให้การบริหารงานภาครัฐทุกแห่งมีคุณภาพสูงขึ้น
◦ หลักการบริหารต่างๆ เหล่านี้ สามารถนาไปใช้ได้กบั ทุกสังคม (สากล)
◦ ประเทศต่างๆ อาจจะมีระบอบการปกครองทีแ่ ตกต่างกัน แต่การบริหารภาครัฐทีด่ จี ะมีหลักการทีเ่ หมือนกัน
◦ เราจึงสามารถอาศัยความรู ้ จากการใช้หลักการศึกษาระบบบริหารเปรียบเทียบระหว่างประเทศ เพือ่ นามาประยุกต์ใช้ใน
แต่ละสังคมตามความเหมาะสม

การบริหารสามารถแยกออกจากการเมืองได้
◦ เหตุทเ่ี ราสามารถสร้างหลักการบริหารได้ เพราะการบริหารแยกออกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด ไม่กา้ วก่ายกัน
◦ การเมืองเป็ นเรื่องของการออกกฎหมายและการกาหนดนโยบาย (หน้าทีข่ องนักการเมืองทีม่ ตี ่อประชาชน)
◦ เมือ่ การบริหารสามารถแยกจากการเมือง การศึกษาวิชา รปศ. จึงสามารถศึกษาแบบวิทยา-ศาสตร์ได้
(Science of public dministration)
◦ การบริหารเป็ นเรื่องของการนากฎหมายและนโยบายไปปฏิบตั ใิ ห้บงั เกิดผล (กลไกขับเคลือ่ น)ซึง่ เป็ นหน้าทีข่ อง
ข้าราชการ (ตามหลักการและหลักเกณฑ์ทก่ี าหนด)
แนวคิดทางการบริหารของ Woodrow Wilson
หลักการบริหารงานแบบวิทยาศาสตร์
◦ ทุกสังคมประกอบด้วยระบบการปกครองทีม่ ศี ูนย์กลางรวมอานาจสูงสุดไว้
◦ สังคมทีม่ ศี ูนย์กลางรวมอานาจอย่างเข้มแข็ง จะทาให้มคี วามรับผิดชอบในการใช้อานาจ
◦ รัฐธรรมนู ญ จะกาหนดส่วนประกอบของศูนย์กลางแห่งอานาจและโครงสร้างของกลไกในการใช้อานาจของฝ่ าย
ต่างๆ
◦ การเมืองจะเป็ นตัวกาหนดหน้าทีข่ องการบริหารแต่การทางานด้านการบริหาร และการศึกษาเรื่องการบริหารไม่
อยู่ในขอบข่ายของการเมือง
◦ รัฐบาลทีท่ นั สมัยจะมีระบบการบริหารทีม่ โี ครงสร้าง และหน้าทีซ่ ง่ึ คล้ายคลึงกัน
◦ การบริหารงานทีด่ ี ต้องมีการจัดลาดับชัน้ ของเจ้าหน้าทีต่ ามความชานาญพิเศษ
◦ การจัดลาดับชัน้ ทีด่ จี ะส่งผลให้เกิดประสิทธิ-ภาพสูงสุดในการบริหารองค์การ
◦ การบริหารงานทีด่ เี ป็ นปัจจัยทีจ่ าเป็ นต่อความก้าวหน้าของอารยธรรม และคุณภาพชีวติ ของมนุษย์
Paradigm 1: Politics-administration dichotomy (1900-1926)
Franck J. Goodnow “ Politics and Administration ”เสนอแนะว่า
◦ การปกครองด้วยหน้าที่ 2 ประการ คือ
◦ หน้าทีข่ องการเมือง หมายถึง การกาหนดนโยบายและการแสดงออกซึง่ เจตนารมณ์ของรัฐ
◦ หน้าทีข่ องการบริหาร หมายถึง การบริหารและการปฏิบตั ติ ามนโยบายของรัฐให้บรรลุผล
◦ หน้าทีท่ งั้ 2 ประการ แยกจากกันอย่างเด็ดขาดตามหลัก Separation of powers
◦ โดยฝ่ ายนิตบิ ญั ญัติ และฝ่ ายตุลาการ จะมีหน้าทีก่ ารกาหนดนโยบาย (รวมถึงการออกกฎหมาย)และฝ่ าย
บริหารจะมีหน้าทีป่ ฏิบตั ติ าม หรือนานโยบายไปปฏิบตั ิ
◦ ในการปฏิรูปทางการเมืองการปกครอง ต้องเข้าใจว่า หน้าทีก่ ารเมืองและหน้าทีก่ ารบริหาร แยกจากกันได้
◦ การบริหารภาครัฐ ไม่ควรอยู่ภายใต้การเมืองและผลประโยชน์
◦ วิชารัฐประศาสนศาสตร์เป็ นการศึกษาเรื่องระบบราชการ หรือระบบการบริหารงานภาครัฐ
◦ วิชาการบริหารสามารถศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ได้ โดยสามารถแสวงหาหลักการบริหารทีเ่ ป็ นสากลได้ โดยเชื่อ
การบริหารงานทุกอย่างจะมีวธิ ที ด่ี ที ส่ี ุดอยู่
Paradigm 1: Politics-administration dichotomy (1900-1926)

◦ Leonard D. white “ Introduction to the study of Public Administration ”


◦ ถือเป็ นตาราเล่มแรกของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ทาให้ รปศ.ได้รบั ความชอบธรรมว่ามีฐานะเป็ น
สาขาวิชา
◦ Leonard D. white เสนอว่า
◦ การบริหารงานภาครัฐ เป็ นเรื่องของการจัดการเกี่ยวกับคนและวัตถุ เพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมายบางประการ
ของรัฐ
◦ การเมืองไม่ควรเข้าแทรกแซงการบริหาร
◦ เราสามารถนาวิธกี ารศึกษาทางวิทยาศาสตร์มาใช้กบั การบริหารและการจัดการ
◦ วิชารัฐประศาสนศาสตร์เป็ น facts และ value-free ส่วนการเมืองเป็ นเรื่องของค่านิยม
◦ เป้ าหมายการบริหารคือประสิทธิภาพ ประหยัด รัฐสามารถนาการบริหารเอกชนมาปรับเข้ากับโครงสร้าง
ของรัฐ
Paradigm 2: The Principles of Administration (1927-1937)
◦W.F. Willoughby – Principle of Public administration
◦ หลักการบริ หารที่เป็ นวิทยาศาสตร์
◦สานักการจัดการบริ หาร - เน้นการบริ หารระดับบน
◦ Mary Parker Follet – Creative Experience
◦ Henri Fayol – Industrial and General Management
◦ James D. Mooney and Alan C. Reiley – Principles of Organization
◦เกิดความคิดที่จะแยก รปศ.เป็ นสาขาหนึ่ง โดยรวมศาสตร์ท้งั หมดไว้ดว้ ยกัน ทาให้
รปศ. สร้างหลักสู ตรขึ้นมาโดยไม่สนใจว่าจะนาไปใช้ที่ใด
◦เกิดสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์อเมริ กนั (American Society for Public
Administration ASPA) ซึ่ งเป็ นหน่วยงานทีให้ทุนตีพิมพ์วารสาร Public
Administration Review ซึ่ งเป็ นวารสารที่เก่าแก่ที่สุดของ รปศ.
◦ความรู้หลักที่มีชื่อเสี ยงที่สุดคือ POSBCORB ของ Luther H. Gulick and Lyndall
Urwick
The Challenge (1938-1947)
◦ การแยกการเมืองจากการบริหารออกจากกันเป็ นเรื่องยาก
◦ Fritz Morstein Marx – Elements of Public Administration 1946
◦ การตัดสินใจทางการบริหารที่เกีย่ วกับเงิน คน เป็ นเรื่องการเมือง ซึ่งผู้บริหารภาครัฐก็เป็ นผู้ตดั สินใจ
ทางการเมืองและกาหนดนโยบายเช่ นเดียวกับฝ่ ายนินิบัญญัติ
◦ หลักการบริหารไม่ค่อยมีเหตุผล
◦ Chester I. Barnard – The Function of the Executive 1938
◦ Herbert A. Simon – Administrative Behavior 1946 - รุนแรงที่สุด
◦ Robert A. Dahl - The Science of Public Administration: Three Problems 1947
◦ การสร้ างหลักบริหารมีองค์ประกอบอยู่ 3 ประการ คือ องค์การมีค่านิยม คนมีบุคลิกภาพต่างกัน สังคมมี
วัฒนธรรมต่ างกัน
◦ Dwight Waldo – The Administrative State 1948
◦ จากการโต้แย้งต่างๆ ทาให้นกั วิชาการเลิกสนใจหลักการบริ หารและการแยกการบริ หาร
◦ ออกจากการเมือง (ช่วงปี 1950) ทาให้ รปศ. สูญเสียความเป็ นเอกลักษณ์ของวิชา
Reaction to The Challenge

◦Herbert A. Simon
◦การพัฒนาไปสู่ ศาสตร์ ของการบริหารที่บริสุทธิ์
◦กาหนดวิธีปฏิบัติทางนโยบายสาธารณะ
◦ผลกระทบ
◦เกิดความคิดที่จะเชื่อมโยงรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์เข้าด้วยกัน คือ ศึกษา
กระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะโดยถือว่ารัฐประศาสนศาสตร์ ศึกษากระบวน
ภายในนโยบาย เช่น การกาหนดนโยบาย ส่ วนรัฐศาสตร์ ศึกษากระบวนการภายนอก
เช่น แรงกดดันทางการเมือง/ สังคม
◦การเน้นการสร้างเครื่ องมือเพื่อเป็ นศาสตร์บริ สุทธิ์ ทาให้เสี ยโอกาสการรับรู้ความ
เป็ นจริ งทางการเมืองและสังคม
Paradigm 3: Public Administration As a Political Science (1950-1970)

◦ นัก รปศ. ยอมรับว่า รปศ. คือ รัฐศาสตร์ เนื่องจากเกิดแรงกดดันของนักรัฐศาสตร์ และ รปศ.มีปัญหา


เกี่ยวกับทิศทางในการพัฒนาของรปศ. เอง
◦ กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์และรัฐศาสตร์ข้ ึนใหม่ แต่เชื่อมโยงถึงความรู้สาขา
อื่นในแง่ที่เป็ นจุดสนใจและเป็ นความเชี่ยวชาญที่จาเป็ น
◦ เกิดความสับสนในเนื้อหาวิชา รปศ. ซึ่ง มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกาหนดไม่เหมือนกัน
◦ เกิดการพัฒนา 2 เรื่ อง คือ
◦ เกิดการพัฒนาเรื่ องระเบียบวิธีวิทยา (กรณีศึกษา) - ปัญหาการบริ หารและวิธีการแก้ไข
◦ ในปี ค.ศ.1962 ASPA ได้ก่อตั้งกลุ่มศึกษาการบริ หารเปรี ยบเทียบ (Comparative Administration Group : CAG) ขึ้น
จากการสนับสนุนทุนของมูลนิธิฟอร์ด โดยมีจุดเน้นคือการศึกษาวิจยั รัฐประศาสนศาสตร์เปรี ยบเทียบในการหา
แนวทางปรับปรุ งความสามารถของรัฐบาลประเทศกาลังพัฒนา จนก่อให้เกิดวิชาการบริ หารการพัฒนา (Development
Administration)
◦ การพัฒนาสาขาย่อยของรัฐประศาสนศาสตร์ (การบริ หารเปรี ยบเทียบและการบริ หารการพัฒนา – รปศ.ข้าม
วัฒนธรรม) – ปัจจัยทางวัฒนธรรมทาให้การบริ หารภาครัฐที่หนึ่งต่างจากอีกที่หนึ่ง
◦ ขาดเอกลักษณ์
Paradigm 4: Public Administration As a Management (1956-1970)

◦ ทฤษฎีองค์การเป็ นกระบวนทัศน์ของรัฐประศาสนศาสตร์
◦กลุม่ ทีเ่ น้นเป้ าหมายส่วนรวม จะแยกการจัดการภาครัฐออกจาก
เอกชน
◦กลุม่ ทีม่ ององค์กรทัง้ หมดในเชิงเปรียบเทียบจะไม่แยก
◦ขาดเอกลักษณ์ เพราะยึดแนวคิดทีใ่ หญ่กว่า
Forces of separatism (1965-1970)

◦ช่วงกระบวนทัศน์ท่ี 3-4 เกิดความรูใ้ หม่


◦วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนโยบายสาธารณะ
◦รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
◦การสร้างความภูมใิ จแก่ผูป้ ฏิบตั งิ าน
◦เกิดการตระหนักถึงความเป็ นสาขาวิชาของตนเอง

◦มีการแยกสาขาวิชาออกเป็ นอิสระเมือ่ ปี 1970


การเกิดขึน้ ของรัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ (The New Public Administration) ในปี 1968

◦ นาเสนอการตีความและการสังเคราะห์รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่เป็ นผลจากการประชุมมินนาวบรูก


(Minnowbrook) ของกลุ่มเครื อข่ายนักวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ที่พบว่า รัฐประศาสนศาสตร์ในยุคดั้งเดิม
(Classic Public Administration) นั้นมีจุดเน้นที่การศึกษาประสิ ทธิภาพ (Efficiency) และความประหยัด (Economy) อัน
ล้วนเป็ นแนวทางในการส่งเสริ มทาให้การบริ หารมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
◦ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ได้เพิ่มเติมจุดเน้นในเรื่ องความเท่ าเทียมกันในสังคม (Social Equity) อันหมายถึงการ
สนับสนุนให้ชนกลุ่มน้อยในสังคมเกิดพลังอานาจทางการเมืองและทางเศรษฐกิจเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน และมีความ
พยายามที่จะอธิบายว่า การวางตัวเป็ นกลาง (Neutral) ของผูบ้ ริ หารนั้น ไม่สามารถสร้างความเท่าเทียมกันในสังคมให้
เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้ ยังเสนอความสาคัญของการเปลี่ยนแปลง (Change) โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงนโยบายและ
โครงสร้างบริ หาร รวมถึงการหารู ปแบบที่จะมีความยืดหยุน่ และส่งเสริ มต่อการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ ยังมีการ
เปลี่ยนแปลงการยึดค่านิยมการศึกษาแบบปฏิฐานนิยม (Positivism) ตามแนวทางพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioralism) ซึ่ ง
เน้นข้อเท็จจริ งตามหลักการบริ หารของรัฐประศาสนศาสตร์ด้ งั เดิม แต่ท้งั นี้รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ได้เสนอให้มี
การศึกษาแบบปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology) ที่จะสอดคล้องกับสังคมมากกว่า
◦ จากการประชุมมินนาวบรูกที่เกิดขึน้ ผสมผสานกับการกาเนิดรัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ ส่ งผลให้ รัฐประศาสนศาสตร์
ก้าวเข้ าสู่ กระบวนทัศน์ ต่อไปที่รัฐประศาสนศาสตร์ เข้ าใกล้ความเป็ นศาสตร์ เฉพาะอย่ างแท้ จริง
Paradigm 5: Public Administration As Public Administration (1970- 1990)

◦การตั้งสมาคม NASPAA (National Association of Schools of Public Affairs and


Administration) ในอเมริ กา

◦สมาชิกประกอบด้วยวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยที่เปิ ดสอนรัฐประศาสนศาสตร์

◦แสดงถึงการแยกตัวของนักรัฐประศาสนศาสตร์ และความเชื่อมัน่ ต่อสาขาวิชาของ


ตนเอง
Paradigm 6: Public Administration As Governance (1990- ปัจจุบนั )

◦ เป็ นช่วงของการเปลี่ยนผ่านการบริ หารโดยให้มีการลดบทบาทการบริ หารงานของภาครัฐลง


และมีการเสนอคาว่า “การบริ หารปกครอง” (Governance) เพื่อใช้อธิบายการบริ หารในมิติ
ของการมีส่วนร่ วมจากทุกฝ่ ายในลักษณะเครื อข่าย (Network) รวมถึงในมิติการจัด
โครงสร้างองค์การที่เปลี่ยนจากการบริ หารตามลาดับขั้น (Hierarchical Government)
กลายเป็ น การบริ หารในแนวราบ (Horizontal Governing) ที่หน่วยงานอื่นๆนอกจากภาครัฐ
สามารถเข้าร่ วมในการบริ หารจัดการได้ อาทิ ในหลายๆประเทศ ในการจัดบริ การสาธารณะ
ให้แก่ประชาชน ไม่ได้เป็ นบทบาทของภาครัฐอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยงั มีบทบาทของภาคส่ วน
ต่างๆเข้ามามีส่วนร่ วม ในรู ปของการเซ็นสัญญาจ้าง (Contract Out) เช่น ความร่ วมกัน
ระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnerships) หรื อผูป้ ระกอบการ องค์กรไม่
แสวงหากาไร เป็ นต้น จึงส่ งผลให้รัฐประศาสนศาสตร์ในช่วงนี้ มีจุดเน้นที่ประสิ ทธิภาพ
ของการจัดบริ การสาธารณะและความพึงพอใจของประชาชนในฐานะลูกค้า (Clients)
Paradigm of Public Administration
by Nicholas Henry (Cont.)

Paradigm Locus Focus


การบริ หารแยกจากการเมือง ศึกษาระบบราชการของรัฐ ไม่ชดั เจนว่าจะศึกษาอะไร
หลักการบริ หาร ไม่สาคัญว่าจะนาหลักการ ใช้หลักการบริ หาร
บริ หารไปใช้ที่ไหน
รัฐประศาสนศาสตร์ในรู ปของ ศึกษาระบบราชการของรัฐ ไม่ได้ให้คาตอบว่าควรจะศึกษา
รัฐศาสตร์ อะไร
รัฐประศาสนศาสตร์ในรู ปของ ไม่แน่ใจว่าความเป็ นสาธารณะ ทฤษฎีองค์การ เทคนิคทาง
ศาสตร์การบริ หาร ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์อยู่ วิทยาศาสตร์ การจัดการ เช่น OD,
ตรงไหน OR
รัฐประศาสนศาสตร์ในรู ปของ ทุกข์สุขของประชาชน ทฤษฎีองค์การ เทคนิคการบริ หาร
รัฐประศาสนศาสตร์ กิจกรรมสาธารณะของรัฐ นโยบายวิเคราะห์ สหวิชา เน้นเรื่ อง
ค่านิยมและสิ่ งที่ควรจะเป็ น
ขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์
ทัศนะของ วรเดช จันทรศร (2543:7-89);
◦ วิทยาการจัดการ - การนาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และควบคุมการ
ทางานให้เป็ นระบบและมีประสิ ทธิภาพโดยเน้นเทคนิคต่างๆ
◦ พฤติกรรมองค์กร - ศึกษาในแนวทางทฤษฎีองค์การ และมนุษย์พฤติกรรม โดยพิจารณาจากตัวแปร 4
ตัว คือ บุคคล ระบบสังคมขององค์การ องค์การอรู ปนัย และสภาพแวดล้อม
◦ การบริ หารเปรี ยบเทียบและการบริ หารพัฒนา –
❑ การบริ หารเปรี ยบเทียบ – การศึกษาการบริ หารรัฐกิจและพื้นฐานของการเปรี ยบเทียบ
❑ การบริ หารพัฒนา – การบริ หารการเปลี่ยนแปลงที่ได้มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า
◦ การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ - การศึกษาการนานโยบายไปปฏิบตั ิ
◦ ทางเลือกสาธารณะ
❑การนาหลักเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการวินิจฉัยสัง่ การในภาครัฐ
❑วิชาที่นาความรู ้เกี่ยวกับพฤติกรรมของตลาด อธิบายถึงพฤติกรรมการตัดสิ นใจที่เกิดขึ้นใน
❑ภาครัฐ ตลอดจนมุ่งที่จะนาเอากลไกของตลาดมาปรับปรุ ง เพื่อให้การตัดสิ นใจภาครัฐเป็ นไป
❑อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ขอบข่ายทางรัฐประศาสนศาสตร์โดย วรเดช จันทรศร
ขอบข่าย Locus Focus
วิทยาการจัดการ ขาดความชัดเจน เทคนิค วิธีการ เครื่ องมือใหม่ๆทางการบริ หาร
พฤติกรรมองค์กร ไม่ชดั เจน การปรับปรุ งการบริ หารเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ขององค์การ
การบริ หารเปรี ยบเทียบและ กิจกรรมสาธารณะ ความสนใจในเรื่ องการบริ หารนโยบาย แผนงาน
การบริ หารพัฒนา ประโยชน์สาธารณะ และโครงการ
การวิเคราะห์นโยบาย กิจกรรมสาธารณะ การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
สาธารณะ ประโยชน์สาธารณะ
ทางเลือกสาธารณะ กิจกรรมสาธารณะ การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เพื่อก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อการตัดสิ นใจ
ขอบข่ายทางรัฐประศาสนศาสตร์
Dwight Waldo (1971)
- ขอบข่ายการศึกษาทางรัฐประศาสน ทัศนะของ อุทยั เลาหวิเชียร
ศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว
- เข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างงาน
◦การเมืองและนโยบายสาธารณะ
สาธารณะใน หน่วยงานสาธารณะ และ ◦ทฤษฎีองค์การ
งานบุคคล ในภาคเอกชน
- กลุม
่ ทฤษฎีทอ่ี าศัยการใช้หลักเหตุผล
- กลุม่ ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมของคน
Nicholas Henry (1980)
- กลุม่ ทฤษฎีระบบเปิ ด
- - รัฐประศาสนศาสตร์มีขอบข่าย
ครอบคลุมกระบวนการบริ หารนโยบาย ◦เทคนิคการบริหาร
สาธารณะและพฤติกรรมองค์การ
วิวฒั นาการของรัฐประศาสนศาสตร์โดยนักวิชาการไทย
❑ อุทยั เลาหวิเชียร (2540)
◦ สมัยที่ 1: จาก Wilson ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
◦ - การบริ หารแยกจากการเมือง - การปฏิรูประบบบริ หาร
◦ - การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ - ระบบราชการ
◦ - ความคิดมนุษยสัมพันธ์
◦ สมัยที่ 2: หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึง 1970
◦ ยุคพฤติกรรมศาสตร์ – การบริ หารรัฐกิจเปรี ยบเทียบ และการบริ หารพัฒนา
ทฤษฎีองค์การ - ศาสตร์การบริ หาร
◦ สมัยที่ 3: 1970-ปัจจุบนั
◦ - New Public Administration - Policy Analysis
◦ - Political Economy - Organization Humanism
วิวฒั นาการของรัฐประศาสนศาสตร์โดยนักวิชาการไทย
❑ พิทยา บวรวัฒนา (2541);
• สมัยทฤษฎีดงั้ เดิม (1887-1950)
◦ - การบริการแยกจากการเมือง - ระบบราชการ
◦ - วิทยาศาสตร์การจัดการ - หลักการบริหาร
• สมัยทฤษฎีทา้ ทาย (1950-1960)
◦ - การบริหารคือการเมือง - ระบบราชการแบบไม่เป็ นทางการ
◦ - มนุษยสัมพันธ์ - ศาสตร์การบริหาร
• สมัยวิกฤติการณ์ดา้ นเอกลักษณะครัง้ ที่ 2 (1960-1970)
◦ - แนวความคิดทางพฤติกรรมศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่
• สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสศาสตร์สมัยใหม่ (1970-ปัจจุบนั )
◦ - นโยบายสาธารณะ - ทางเลือกสาธารณะ
◦ - เศรษฐศาสตร์การเมือง - ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน
◦ - การจัดการแบบประหยัด - การออกแบบองค์การสมัยใหม่

You might also like